Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านซับจำปา

หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านซับจำปา

Published by Sapchampa School, 2021-06-27 02:33:02

Description: 01หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านซับจำปา

Search

Read the Text Version



ข คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม บฉัฉ(วฒั นธรรม (บฉัฉปรัฉปรุง พ.ศ.๒๕๖๐( ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ัง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาส่ังสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (บฉัฉปรัฉปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐( โดยใหใ้ ช้ในช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ ตงั้ แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสตู รแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอฉทศิ ทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกัฉนโยฉายและเป้าหมายของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน โรงเรียนฉ้านซัฉจาปา จึงได้ทาการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( เพื่อนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอฉในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระฉวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิฉัติ โดยมีการกาหนด วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกัฉมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาส ให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดัฉตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอฉแกนกลางเป็นแนวทางที่ชดั เจนเพื่อตอฉสนองนโยฉายไทยแลนด์ ๔มีความพรอ้ มในการก้าวสูส่ ังคม ๐. ๒๑ตวรรษท่ี คณุ ภาพ มีความรู้อยา่ งแทจ้ รงิ และมที ักษะในศ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในเอกสารเล่มนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในทุกระดัฉ เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงาน ทีเ่ กี่ยวข้องในระดัฉท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทาใหก้ ารจัดทาหลักสูตรในระดัฉ สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงขึ้น อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียฉโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดัฉต้ังแต่ ระดัฉชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอฉทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแฉฉ และครอฉคลุม ผูเ้ รยี นทกุ กล่มุ เปา้ หมายในระดัฉการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานจะประสฉความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทกุ ฝา่ ยทีเ่ ก่ยี วข้อง ท้ังระดัฉชาติ ชุมชน ครอฉครัว และฉุคคล ต้องร่วมรัฉผิดชอฉ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระฉฉและต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ สง่ เสริม สนัฉสนุน ตรวจสอฉ ตลอดจนปรัฉปรุงแก้ไข เพ่ือพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่ คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่กี าหนดไว้

ข ควำมนำ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (บฉฉั ปรฉั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐( ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาสง่ั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (บฉัฉปรัฉปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐( โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ต้ังแตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลกั สตู รแกนกลาง ของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอฉทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกัฉ นโยฉายและเป้าหมายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนฉ้านซัฉจาปา จึงได้ทาการ ปรัฉปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ในกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใช้ในทุกระดัฉชั้น เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ และเป็นกรอฉในการวางแผนและพัฒนาหลักสตู ร ของสถานศึกษาและจัดการเรยี นการสอน อีกทั้งในปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนฉ้านซัฉจาปา ได้จัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้าง ทักษะอาชพี โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ให้มีกระฉวนการนาหลักสูตรไป สู่การปฏฉิ ัติ โดยมีการ กาหนดวสิ ัยทศั น์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญ ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มาตรฐานการ

1 ลกั ษณะของหลกั สตู รสถำนศึกษำโรงเรียนบ้ำนซับจำปำ พทุ ธศักรำช ๒๕๖๓ ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั รำช ๒๕๖๐) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( เป็นหลักสูตรที่โรงเรียนได้พัฒนาขึ้น เพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดัฉประถมศึกษา โดยยึดองค์ประกอฉหลักสาคัญ ๕ ส่วนคือ ๑( หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒( มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (บฉัฉปรัฉปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐( ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๓( นโยฉายการจัดการเรียน การสอนภาษาอังกฤษ และ ๔( สาระสาคัญ จุดเน้นที่โรงเรียนพัฒนาเพ่ิมเติม เป็นกรอฉในการจัดทารายละเอียด เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานที่กาหนดเหมาะสมกัฉสภาพชุมชนและท้องถิ่นและจุดเน้นของ โรงเรียน โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉฉั ปรัฉปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐( ท่ีพัฒนาข้ึนมีลกั ษณะของหลักสตู ร ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรเบพาะของโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา สาหรัฉจัดการศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พื้นฐานจดั ในระดฉั ประถมศกึ ษา ๒. เป็นหลักสูตรที่มีความเป็นเอกภาพสอดคล้องกัฉหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาหรัฉใหค้ รูผ้สู อนนาไปจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างหลากหลาย โดยกาหนดให้มีรายละเอยี ด ดงั น้ี ๒.๑ สาระการเรียนรู้ที่โรงเรียนใช้เป็นหลักเพ่ือสร้างพ้ืนฐานการคิด การเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ประกอฉด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๒ สาระการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทางาน ประกอฉด้วย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ( ๒.๓ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม โดยจัดทาเป็นรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามความเหมาะสม และสอดคล้องกัฉโครงสร้างเวลาเรยี น สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน ความต้องการของผูเ้ รยี น และฉรฉิ ทของโรงเรยี น และเพิ่มวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ให้สอดคล้องกัฉนโยฉายของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษาลพฉุรี เขต ๒ สานกั งานงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและกระทรวงศึกษาธิการดว้ ย ๒.๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างการเรยี นรนู้ อกจากกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๘ กลุ่ม และการพฒั นาตนตามศกั ยภาพ ๒.๕ การกาหนดมาตรฐานของโรงเรียนที่สอดคล้องกัฉมาตรฐานระดัฉต่าง ๆ เพื่อเป็นเป้าหมาย ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน จัดทารายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัดกระฉวนการเรียนรู้ ให้สอดคลอ้ งกัฉสภาพในชุมชน สงั คม และภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน ฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานเป็นตัวกาหนดเกี่ยวกัฉความรู้ ทักษะ

2 กระฉวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการประกันคุณภาพ การศึกษา โดยมกี ารกาหนดมาตรฐานไว้ดงั น้ี ๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตรโรงเรียน เกิดข้ึนจาก การจัดกิจกรรมตามโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมดของครู และใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอฉคุณภาพโดยรวม ของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดัฉ ซ่ึงโรงเรียนต้องใช้สาหรัฉการประเมินตนเองเพื่อจัดทารายงาน ประจาปีตามฉทฉัญญัตใิ นพระราชฉัญญัติการศึกษา เพ่ือนามาเป็นข้อมลู ใน การกาหนดแนวปฏิฉัติในการส่งเสริม กากัฉ ติดตาม ดูแล และปรฉั ปรุงคุณภาพ เพอ่ื ให้ได้ตามมาตรฐานท่ีกาหนด ๓.๒ มีตัวช้ีวัดช้ันปี เป็นเป้าหมายระฉุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิฉัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดัฉช้ันซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเบพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการ กาหนดเน้ือหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรัฉ การวัดประเมินผล เพ่ือตรวจสอฉคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอฉพัฒนาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระฉวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ และเป็นหลักในการเทียฉโอนความรู้และประสฉการณ์จากการศึกษาในระฉฉ นอกระฉฉ และตามอธั ยาศัย ๓.๓ มีความเป็นสากล ความเปน็ สากลของหลักสูตรโรงเรียน คอื มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ในเรื่องเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ มีคุณลกั ษณะทจ่ี าเป็นในการ อยใู่ นสังคมได้แก่ ความซอื่ สตั ย์ ความรัฉผิดชอฉ การตรงต่อเวลา การเสียสละ การเอ้อื เฟ้อื โดยอยูฉ่ นพ้ืนฐานของ ความพอดีระหวา่ งการเป็นผู้นา และผู้ตาม การทางานเปน็ ทีม และการทางานตามลาพัง การแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน การรัฉวัฒนธรรมต่างประเทศ และการ อนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมไทยการฝกึ ฝนทักษะเบพาะทาง และการฉูรณาการในลกั ษณะท่ีเปน็ องค์รวม ๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( เป็นหลักสูตรที่โรงเรียนจัดทารายละเอียดต่าง ๆ ข้ึนเอง โดยยึดโครงสร้างหลักท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอฉหลักสูตรระดัฉท้องถ่ิน เป็นขอฉข่ายในการจัดทา จึงทาให้ หลักสูตรของโรงเรียนมีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกัฉสภาพปัญหา และความต้องการของท้องถ่ิน โดยเบพาะอย่างยง่ิ มคี วามเหมาะสมกฉั ตวั ผูเ้ รยี น ๕. การวัดและประเมินผลเน้นหลักการพ้ืนฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและ เพ่ือตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รัฉการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้ฉรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดัฉไม่ว่าจะเป็นระดัฉชั้นเรียน ระดัฉสถานศึกษา ระดัฉเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ ระดัฉชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระฉวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และใช้ผลการประเมินเป็น ขอ้ มูลและสารสนเทศท่แี สดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูล ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ การส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดการพัฒนาและเรยี นรู้อยา่ งเต็มตามศักยภาพ

3 วิสัยทศั น์ของหลกั สูตรสถำนศึกษำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีสมฉูรณ์ มี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีทักษะชีวิต ร่วมสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมืองดี ยึดหลักศาสตร์พระราชา พัฒนาครูสู่มืออาชีพสู่ระดัฉสากล โดยมุ่งเน้น ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ฉนพน้ื ฐานความเชอ่ื วา่ ทกุ คนสามารถเรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร เป็นความสามารถในการรัฉและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสฉการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรัฉหรือไม่รัฉข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วธิ กี ารสอื่ สาร ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทฉทมี่ ีตอ่ ตนเองและสังคม ๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระฉฉ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกฉั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมฉนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมกี ารตดั สนิ ใจท่มี ีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทฉทเ่ี กิดขึ้นต่อตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม ๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระฉวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างฉุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรัฉตัวให้ทันกัฉการเปล่ยี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ ทสี่ ง่ ผลกระทฉต่อตนเองและผ้อู ่ืน ๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระฉวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

4 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนฉ้านซัฉจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ัน พ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (บฉัฉปรัฉปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐( มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยูร่ ว่ มกัฉผู้อื่นในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ๓๑ สาระ ๕๕ มาตรฐาน ดงั นี้ กลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน( สำระท่ี ๑ กำรอำ่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระฉวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ แก้ปัญหา ในการดาเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ยั รักการอา่ น สำระที่ ๒ กำรเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระฉวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เร่อื งราวในรูปแฉฉตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สำระที่ ๓ กำรฟงั กำรดแู ละกำรพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์ สำระที่ ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมฉตั ิ ของชาติ สำระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ ค่าและนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ

5 กลมุ่ สำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์ (๓ สาระการเรยี นรู้ ๗ มาตรฐานการเรยี นร(ู้ สำระท่ี ๑ จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระฉฉจานวน การดาเนินการ ของจานวน ผลทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการสมฉตั ขิ องการดาเนนิ การและนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ ฉฉรูป ความสัมพนั ธ์ ฟงั ก์ชนั ลาดัฉและอนุกรม และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิฉายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหา ท่ีกาหนดให้ สำระท่ี ๒ กำรวดั และเรขำคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกัฉการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัด และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมฉัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รปู เรขาคณติ และทฤษฎฉี ททางเรขาคณติ และนาไปใช้ สำระท่ี ๓ สถิติและควำมนำ่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระฉวนการทางสถติ ิและใช้ความรู้ทางสถิตใิ นการแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนัฉเฉ้ืองต้น ความนา่ จะเปน็ และนาไปใช้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐาน( สำระท่ี ๑ วิทยำศำสตร์ชีวภำพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระฉฉนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกัฉ สง่ิ มชี ีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมชี ีวิตกัฉส่งิ มีชวี ิตต่างๆ ในระฉฉนิเวศการถ่ายทอดพลังงานการเปลยี่ นแปลง แทนที่ในระฉฉนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทฉท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม รวมท้ังนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมฉัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชวี ิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระฉฉต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระฉวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ ส่งิ มชี ีวิต รวมทั้งนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ สำระท่ี ๒ วทิ ยำศำสตร์กำยภำพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมฉัติของสสาร องค์ประกอฉของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมฉัติของ สสารกัฉโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

6 มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาวัน ผลของแรงทีก่ ระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลือ่ นท่ีแฉฉตา่ งๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้องกัฉ เสยี ง แสง และคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สำระที่ ๓ วิทยำศำสตรโ์ ลกและอวกำศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอฉ ลักษณะ กระฉวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระฉฉสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระฉฉสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอฉและความสัมพันธ์ของระฉฉโลก กระฉวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลก และฉนผวิ โลก ธรณีพิฉตั ิภยั กระฉวนการเปล่ียนแปลงลม ฟ้า อากาศ และภูมอิ ากาศโลก รวมทั้งผลต่อ สง่ิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนา งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระฉวนการออกแฉฉเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย คานึงถึงผลกระทฉตอ่ ชีวิต สงั คม และสง่ิ แวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพฉในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระฉฉ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน( สำระที่ ๑ ศำสนำ ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รูแ้ ละเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ทต่ี นนัฉถือและศาสนาอนื่ มศี รทั ธาทถี่ กู ตอ้ ง ยดึ มัน่ และปฏฉิ ตั ติ ามหลกั ธรรม เพ่ืออยู่ร่วมกนั อยา่ งสันติสขุ มาตรฐาน ส๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิฉัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนัฉถือ สำระที่ ๒ หน้ำทพ่ี ลเมอื งวัฒนธรรมและกำรดำเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิฉัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงามและธารง รกั ษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่รว่ มกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอย่างสนั ตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระฉฉการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุฉันยึดมั่น ศรทั ธา และธารงรักษา ไว้ซึง่ การปกครองระฉอฉประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

7 สำระท่ี ๓ เศรษฐศำสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถฉริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการฉริโภคการใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวติ อยา่ งมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระฉฉ และสถาฉันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเปน็ ของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สำระที่ ๔ ประวัติศำสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใชว้ ิธกี ารทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่างๆ อย่างเปน็ ระฉฉ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุฉัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทฉทเ่ี กดิ ขนึ้ มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยมีความรัก ความภูมิใจและธารงความเปน็ ไทย สำระท่ี ๕ ภูมศิ ำสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมี ผลต่อกัน ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระฉวนการทาง ภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กัฉสิ่งแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ ย่ังยืน กลุม่ สำระกำรเรยี นรูส้ ุขศกึ ษำและพลศึกษำ (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน( สำระที่ ๑ กำรเจรญิ เตบิ โตและพฒั นำกำรของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติฉโตและพฒั นาการของมนุษย์ สำระที่ ๒ ชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน พ๒.๑เขา้ ใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอฉครัว เพศศึกษาและมที ักษะในการดาเนินชวี ิต สำระที่ ๓ กำรเคลือ่ นไหว กำรออกกำลังกำย กำรเลน่ เกม กฬี ำไทย และกีฬำสำกล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกฬี า มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิฉัติเป็นประจา อย่างสมา่ เสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี า้ ใจนักกีฬา มจี ติ วิญญาณในการแขง่ ขันและชื่นชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา สำระท่ี ๔ กำรสรำ้ งเสรมิ สุขภำพ สมรรถภำพและกำรป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมที กั ษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสขุ ภาพ การป้องกันโรค และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพอื่ สุขภาพ

8 สำระที่ ๕ ควำมปลอดภยั ในชีวติ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อุฉัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง สำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน( สำระที่ ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างทศั นศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรมเหน็ คุณค่างาน ทัศนศิลปท์ ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล สำระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรีอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของดนตรีที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและสากล สำระท่ี ๓ นำฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึกความคิดอย่างอสิ ระชืน่ ชมและประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศลิ ป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล กล่มุ สำระกำรเรียนร้กู ำรงำนอำชีพ (๒ สาระ ๒ มาตรฐาน( สำระท่ี ๑ กำรดำรงชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระฉวนการทางาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระฉวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพ่ือการดารงชีวิต และครอฉครัว สำระท่ี ๒ กำรอำชีพ มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสฉการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี เพอ่ื พฒั นาอาชพี มีคณุ ธรรมและมีเจตคตทิ ดี่ ีต่ออาชีพ

9 สำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน( สำระท่ี ๑ ภำษำเพือ่ กำรสื่อสำร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเร่ืองท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อยา่ งมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคดิ เหน็ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคดิ รวฉยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการ พูดและการเขยี น สำระท่ี ๒ ภำษำและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากัฉวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้ อยา่ งเหมาะสมกฉั กาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากฉั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม สำระที่ ๓ ภำษำกบั ควำมสมั พันธ์กับกลมุ่ สำระกำรเรียนรูอ้ นื่ มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กัฉกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น พน้ื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน สำระท่ี ๔ ภำษำกบั ควำมสมั พนั ธก์ บั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ ่างๆทง้ั ในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ การประกอฉอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนร้กู ฉั สงั คมโลก

10 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นซบั จาปา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านซับจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพ่อื ใหผ้ สู้ อนและผทู้ ี่เกี่ยวข้องในการจดั การเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศกึ ษามีแนวปฏิบัติ ดังน้ี ระดบั การศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านซับจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓) จดั ระดบั การศึกษา ดังน้ี ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษา ภาคบังคับ มงุ่ เนน้ ทกั ษะพื้นฐานดา้ นการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการคดิ พ้ืนฐาน การตดิ ตอ่ ส่ือสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุล ทัง้ ในดา้ นร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเนน้ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดเวลาเรยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านซับจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยจัดให้เหมาะสมตามบริบท จุดเน้นของโรงเรียน และสภาพ ของผูเ้ รียน ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ๖ ชั่วโมง โครงสร้างหลักสตู ร หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านซับจาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียน และโครงสรา้ งหลกั สตู รชั้นปี ดังน้ี ๑. เวลาเรียน เป็นโครงสร้างท่ีแสดงรายละเอียดในภาพรวม โครงสร้างเวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ที่เป็นเวลาเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม และเวลาในการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน จาแนกแตล่ ะชนั้ ปี ในระดับประถมศึกษา ดงั นี้

11 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านซับจาปา โครงสร้างเวลาเรยี น ระดบั ประถมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้/รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น : ชวั่ โมง/ปี ระดับประถมศกึ ษา  กล่มุ สาระการเรยี นรู้/วชิ าพื้นฐาน ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรยี น (รายวชิ าพน้ื ฐาน) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐  รายวิชาเพิ่มเติม ทกั ษะการอา่ นและการเขียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม คอมพวิ เตอร์ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษเพมิ่ เติม รวมเวลาเรียน (รายวชิ าเพ่มิ เติม) - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐  กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - -  กจิ กรรมแนะแนว  กิจกรรมนักเรยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐  ลกู เสือ/เนตรนารี  ชมุ นุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  กิจกรรมเพอ่ื สงั คม และสาธารณประโยชน์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลา (กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน) ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ รวมเวลาท้ังหมด ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑,๐๘๐ ช่ัวโมง ๑,๐๘๐ ช่ัวโมง

12 ๒. โครงสรา้ งหลกั สูตรช้ันปี เปน็ โครงสร้างท่แี สดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชากิจกรรม เพิ่มเตมิ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นจาแนกแต่ละชนั้ ปี ดงั นี้ โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านซับจาปา ระดับประถมศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ รำยวิชำ/กจิ กรรม เวลำเรยี น (ชว่ั โมง/ปี) (ช่วั โมง/สัปดำห์) รหัสวชิ ำ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๒ ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๑ ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ๑ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓ รหัสวิชำ รำยวิชำเพิม่ เติม ๑๒๐ ๓ ท๑๑๒๐๑ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี น ๔๐ ๑ อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่มิ เติม ๘๐ ๒ รหัสกจิ กรรม กิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น ๑๒๐ ๓ ก๑๑๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนกั เรยี น (๘๐( (๒( ก๑๑๙๐๒  ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๑๙๐๓  ชุมนมุ ๓๐ ๑ ก๑๑๙๐๔  กจิ กรรมเพ่ือสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกจิ กรรมชมุ นุม รวมเวลาเรยี นท้ังหมดตามโครงสร้างหลกั สูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

13 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านซบั จาปา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ รำยวชิ ำ/กจิ กรรม เวลำเรียน (ช่ัวโมง/ปี) (ชว่ั โมง/สัปดำห)์ รหสั วิชำ รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๒ ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๒ ส๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ ศ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ๑ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓ รหสั วชิ ำ รำยวชิ ำเพ่ิมเติม ๑๒๐ ๓ ท๑๒๒๐๑ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี น ๔๐ ๑ อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่มิ เติม ๘๐ ๒ รหัสกจิ กรรม กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รยี น ๑๒๐ ๓ ก๑๒๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนักเรียน (๘๐( (๒( ก๑๒๙๐๒  ลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๒๙๐๓  ชมุ นมุ ๓๐ ๑ ก๑๒๙๐๔  กิจกรรมเพ่ือสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกจิ กรรมชมุ นุม รวมเวลาเรยี นทงั้ หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

14 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านซบั จาปา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ รำยวชิ ำ/กจิ กรรม เวลำเรยี น (ช่ัวโมง/ปี) (ช่วั โมง/สัปดำห)์ รหสั วิชำ รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕ ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕ ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๒ ส๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ ๒ ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑ ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ๑ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓ รหสั วชิ ำ รำยวชิ ำเพ่ิมเติม ๑๒๐ ๓ ท๑๓๒๐๑ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี น ๔๐ ๑ อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่มิ เติม ๘๐ ๒ รหัสกจิ กรรม กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รยี น ๑๒๐ ๓ ก๑๓๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนักเรียน (๘๐( (๒( ก๑๓๙๐๒  ลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๓๙๐๓  ชมุ นมุ ๓๐ ๑ ก๑๓๙๐๔  กิจกรรมเพ่ือสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชมุ นุม รวมเวลาเรยี นทงั้ หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

15 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านซบั จาปา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ รำยวิชำ/กจิ กรรม เวลำเรยี น (ชว่ั โมง/ปี) (ชั่วโมง/สัปดำห)์ รหัสวชิ ำ รำยวิชำพนื้ ฐำน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ๔ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ ๓ ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๒ ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ๒ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๒ รหสั วิชำ รำยวชิ ำเพ่มิ เติม ๘๐ ๒ อ๑๔๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สาร ๔ ๔๐ ๑ ส๑๔๒๐๑ การป้องกนั การทจุ รติ ๔ ๔๐ ๑ รหสั กจิ กรรม กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน ๑๒๐ ๓ ก๑๔๙๐๑  กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนักเรียน (๘๐( (๒( ก๑๔๙๐๒  ลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๔๙๐๓  ชมุ นุม ๓๐ ๑ ก๑๔๙๐๔  กจิ กรรมเพื่อสงั คม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชมุ นุม รวมเวลาเรียนทัง้ หมดตามโครงสร้างหลกั สูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

16 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นซบั จาปา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ รำยวิชำ/กิจกรรม เวลำเรยี น (ชวั่ โมง/ปี) (ชัว่ โมง/สัปดำห)์ รหสั วิชำ รำยวชิ ำพื้นฐำน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ๔ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๒ ส๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๒ ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๒ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๒๐ ๓ รหัสวชิ ำ รำยวิชำเพมิ่ เติม ๑๒๐ ๓ ท๑๕๒๐๑ ทกั ษะการอา่ นและการเขียน ๔๐ ๑ ค๑๕๒๐๑ คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม ๔๐ ๑ ว๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐ ๑ รหสั กจิ กรรม กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รียน ๑๒๐ ๓ ก๑๕๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนกั เรยี น (๘๐( (๒( ก๑๕๙๐๒  ลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๕๙๐๓  ชุมนุม ๓๐ ๑ ก๑๕๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสังคม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชมุ นุม รวมเวลาเรยี นทัง้ หมดตามโครงสรา้ งหลกั สูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

17 โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นซบั จาปา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ รำยวิชำ/กิจกรรม เวลำเรยี น (ชวั่ โมง/ปี) (ชัว่ โมง/สัปดำห)์ รหสั วิชำ รำยวชิ ำพื้นฐำน ๘๔๐ ๒๑ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ๔ ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐ ๔ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๒ ส๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๒ ส๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๑ พ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๒ ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ๒ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ ๑ อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๒๐ ๓ รหสั วชิ ำ รำยวิชำเพมิ่ เติม ๑๒๐ ๓ ท๑๖๒๐๑ ทกั ษะการอา่ นและการเขียน ๔๐ ๑ ค๑๖๒๐๑ คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม ๔๐ ๑ ว๑๖๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐ ๑ รหสั กิจกรรม กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รียน ๑๒๐ ๓ ก๑๖๙๐๑  กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑  กิจกรรมนกั เรยี น (๘๐( (๒( ก๑๖๙๐๒  ลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐ ๑ ก๑๖๙๐๓  ชุมนุม ๓๐ ๑ ก๑๖๙๐๔  กิจกรรมเพื่อสังคม ๑๐ ผนวก และสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชมุ นุม รวมเวลาเรียนทัง้ หมดตามโครงสรา้ งหลกั สูตร ๑,๐๘๐ ๒๗

18 รำยวิชำ รำยวชิ ำพ้นื ฐำนและเพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย ระดบั ประถมศึกษำ รำยวชิ ำพืน้ ฐำน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง รำยวิชำเพม่ิ เติม/กิจกรรมเพมิ่ เติม ท๑๑๒๐๑ ทักษะการอ่านและการเขยี น ๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ท๑๒๒๐๑ ทักษะการอา่ นและการเขยี น ๒ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ท๑๓๒๐๑ ทักษะการอา่ นและการเขียน ๓ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง **************** รำยวิชำพ้นื ฐำนและเพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์ ระดบั ประถมศึกษำ รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง รำยวิชำเพ่ิมเติม/กิจกรรมเพมิ่ เตมิ ค๑๔๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพ่มิ เตมิ ๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ค๑๕๒๐๑ คณิตศาสตร์เพม่ิ เติม ๕ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ค๑๖๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ ๖ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ****************

19 รำยวิชำพื้นฐำนและเพ่ิมเติม กลมุ่ สำระกำรเรยี นวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ระดับประถมศกึ ษำ รำยวิชำพน้ื ฐำน ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง รำยวิชำเพ่ิมเตมิ /กจิ กรรมเพม่ิ เติม จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ว๑๔๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ว๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ว๑๖๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๖ **************** รำยวิชำพื้นฐำนและเพิ่มเตมิ กล่มุ สำระกำรเรยี นร้สู งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ระดบั ประถมศกึ ษำ รำยวชิ ำพน้ื ฐำน ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ส๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๓ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ส๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๔ จานวน ๘๐ ชัว่ โมง ส๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๕ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ส๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๖ จานวน ๘๐ ชั่วโมง ส๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ส๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ส๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๖ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง รำยวิชำเพ่มิ เตมิ /กจิ กรรมเพ่มิ เตมิ - ****************

20 รำยวิชำพ้นื ฐำนและเพิ่มเตมิ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ ระดับประถมศึกษำ รำยวิชำพน้ื ฐำน พ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง พ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง พ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง พ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง พ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๕ จานวน ๘๐ ชั่วโมง พ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๖ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง รำยวิชำเพมิ่ เตมิ /กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ - *************** รำยวิชำพน้ื ฐำนและเพ่ิมเตมิ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ ระดับประถมศกึ ษำ รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ จานวน ๘๐ ชั่วโมง รำยวชิ ำเพิ่มเตมิ /กิจกรรมเพ่ิมเติม - ****************

21 รำยวชิ ำพน้ื ฐำนและเพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชพี ระดับประถมศกึ ษำ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง **************** รำยวชิ ำพ้นื ฐำนและเพิ่มเตมิ กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำตำ่ งประเทศ(อังกัษ) ระดบั ประถมศึกษำ รำยวิชำพื้นฐำน อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จานวน ๑๒๐ ชัว่ โมง อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง อ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ จานวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ จานวน ๘๐ ช่วั โมง รำยวชิ ำเพ่มิ เตมิ /กิจกรรมเพ่ิมเติม จานวน ๘๐ ชว่ั โมง อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพมิ่ เตมิ ๑ จานวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพม่ิ เตมิ ๒ จานวน ๘๐ ชั่วโมง อ๑๓๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพม่ิ เตมิ ๓

22 คาอธิบายรายวชิ า หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านซบั จาปา พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กาหนดคาอธิบายรายวิชา ของวิชาต่าง ๆ ท่ีสอนในแต่ละปกี ารศกึ ษา ซงึ่ ประกอบดว้ ย ชื่อรหัสวชิ า ชื่อรายวิชา จานวนชวั่ โมงต่อปี ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวัง และสาระการเรยี นรู้รายปี คาอธิบายรายวชิ าจะช่วยให้ผ้สู อนจัดหนว่ ยการเรียนร้ใู นแต่ละช้ันปี ได้สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เนื่องจากคาอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรยี นรู้ท่ีผเู้ รียนต้องเรยี นรู้ตลอดทั้งปี กลุ่มของสาระการเรียนร้ตู ลอดปี จะมีจานวนมาก ดังนั้น การจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการเรียนรู้มีขนาดเล็กลง และบูรณาการไดห้ ลากหลายมากขน้ึ โรงเรยี นบ้านซับจาปา ไดก้ าหนดรายละเอียดของคาอธบิ ายรายวิชาเรียงตามลาดบั ไว้ ดังนี้ ๑. คาอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๒. คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๓. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นปร ะถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๔. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๕. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๖. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษา ปีท่ี ๖ ๗. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๘. คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๙. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๑๐. คาอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เติม วิชาทักษะการอ่านและการเขียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นประถมศกึ ษา ปีที่ ๓ ๑๑. คาอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม วิชาคณิตศาสตร์เพ่ิมเติม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ ถึงช้นั ประถมศกึ ษา ปีท่ี ๖ ๑๒. คาอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม วชิ าภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๑๓. คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๑๔. คาอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

23 คำอธิบำยรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย

ท๑๑๑๐๑ ภำษำไทย ๑ 24 ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ฉอกความหมายของคาและข้อความ ตอฉคาถาม เล่าเร่ืองย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ นาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน ฉอก ความหมายของเครือ่ งหมายหรอื สญั ลักษณส์ าคัญท่ีมักพฉเห็นในชีวิตประจาวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือ ด้วยตวั ฉรรจงเต็มฉรรทัด เขยี นสื่อสารดว้ ยคาและประโยคง่ายๆ มมี ารยาทในการเขียน ฝกึ ทักษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังง่ายๆและปฏิฉัติตาม ตอฉคาถาม เล่าเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็น และความรูส้ ึกจากเรอื่ งทีฟ่ ังและดู พดู สอื่ สารได้ตามวัตถปุ ระสงค์ เนน้ มารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและฉอกความหมายของคา เรียฉเรียงคาเป็นประโยคง่ายๆ ตอ่ คาคล้องจองง่ายๆ ฉอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรัฉเด็ก ฝึกท่องจาฉท อาขยานตามท่ีกาหนดและฉทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการ แสวงหาความรู้ กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคิด การฝึกปฏิฉัติ อธิฉาย ฉันทึก การต้ังคาถาม ตอฉคาถาม ใช้ ทักษะการฟัง การดแู ละการพดู พดู แสดงความคิดเหน็ กระฉวนการสร้างความคิดรวฉยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ ัฉชวี ิตประจาวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มำตรฐำนตัวชี้วดั / ท ๑ ๑.ป๘/๑.ป ,๗/๑.ป ,๖/๑.ป ,๕/๑.ป ,๔/๑.ป ,๓/๑.ป ,๒/๑.ป ,๑/๑. ๒.ท ๑ ป๓/๑.ป ,๒/๑.ป ,๑/๑. ๓.ท ๑ ป๕/๑.ป ,๔/๑.ป ,๓/๑.ป ,๒/๑.ป ,๑/๑. ๔.ท ๑ ป๔/๑.ป ,๓/๑.ป ,๒/๑.ป ,๑/๑. ท ๕ ๑.ป๒/๑.ป ,๑/๑. รวม ๕ มำตรฐำน ๒๒ ตวั ช้ีวัด

ท๑๒๑๐๑ ภำษำไทย ๑ 25 ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ คำอธบิ ำยรำยวิชำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย เวลำ ๒๐๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และฉทร้อยกรองง่ายๆ อธิฉายความหมายของคาและ ข้อความที่อ่าน ต้ังคาถาม ตอฉคาถาม ระฉุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน เหตุการณ์ เลอื กอา่ นหนงั สือตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอและนาเสนอเร่ืองที่อ่าน อ่านขอ้ เขียนเชงิ อธฉิ าย และ ปฏฉิ ัติตามคาส่งั หรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวฉรรจงเต็มฉรรทัด เขียนเร่ืองส้ันๆ เก่ียวกัฉประสฉการณ์ เขียนเรื่องส้ันๆ ตาม จินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังที่ซฉั ซ้อนและปฏิฉตั ิตาม เล่าเร่ือง ฉอกสาระสาคญั ของเรอ่ื ง ตั้ง คาถาม ตอฉคาถาม พดู แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มมี ารยาทใน การฟงั การดูและการพูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและฉอกความหมายของคา เรียฉเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร ฉอกลักษณะคาคลอ้ งจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกัฉกาลเทศะ ฝึกจัฉใจความสาคัญจากเร่ือง ระฉุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรัฉเด็ก เพ่ือ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ร้องฉทร้องเล่นสาหรัฉเด็กในท้องถิ่น ท่องจาฉทอาขยานตามที่กาหนดและฉทร้อย กรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการ แสวงหาความรู้ กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคิดวิเคราะห์ กระฉวนการส่ือความ กระฉวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิฉัติ อธิฉาย ฉันทึก การต้ังคาถาม ตอฉคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระฉวนการสร้างความคดิ รวฉยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กฉั ชีวิตประจาวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มำตรฐำนตัวชี้วดั / ท ๑ ๑.ป ๘/๒.ป ,๗/๒.ป ,๖/๒.ป ,๕/๒.ป ,๔/๒.ป ,๓/๒.ป ,๒/๒.ป ,๑/๒. ท ๒ ๑.ป ๔/๒.ป ,๓/๒.ป ,๒/๒.ป ,๑/๒. ท ๓ ๑.ป.ป ๕/๒.ป ,๔/๒.ป ,๓/๒.ป ,๒/๒.ป ,๑/๒.๒ ๗/๒.ป ,๖/ ท ๔ ๑.ป ,๑/๒.ป ,๒/๒.ป๕/๒.ป ,๔/๒.ป ,๓/๒. ท ๕ ๑.ป ๓/๒.ป ,๒/๒.ป ,๑/๒. รวม ๕ มำตรฐำน ๒๗ ตวั ชี้วัด

ท๑๓๑๐๑ ภำษำไทย ๓ 26 ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ คำอธบิ ำยรำยวิชำพน้ื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย เวลำ ๒๐๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงคา ข้อความ เร่ืองส้ัน ๆ และฉทร้อยกรองง่ายๆ อธิฉายความหมายของคาและ ข้อความที่อ่าน ต้ังคาถาม ตอฉคาถามเชิงเหตุผล ลาดัฉเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิด จากเร่ืองที่อ่าน เพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองท่ี อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิฉาย และปฏิฉัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิฉายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวฉรรจงเต็มฉรรทัด เขียนฉรรยาย เขียนฉันทึกประจาวัน เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด ฉอกสาระสาคัญ ตั้งคาถาม ตอฉคาถาม พูด แสดงความคดิ เหน็ ความร้สู กึ พูดสอื่ สารได้ชดั เจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและฉอกความหมายของคา ระฉุชนิด หน้าท่ีของคา ใช้ พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน และภาษาถ่ินได้เหมาะสมกฉั กาลเทศะ ระฉุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรม เพ่ือนาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน รู้จักเพลงพ้ืนฉ้าน เพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝังความช่ืนชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคิดเห็นเก่ียวกัฉวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาฉทอาขยานตามที่ กาหนดและฉทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการ แสวงหาความรู้ กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคิดวิเคราะห์ กระฉวนการส่ือความ กระฉวนการแก้ปญั หา การฝึก ปฏิฉัติ อธิฉาย ฉันทึก การตั้งคาถาม ตอฉคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระฉวนการสร้างความคดิ รวฉยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนาไปประยกุ ต์ใชก้ ัฉชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม มำตรฐำนตัวช้ีวัด/ ท ๑ ๑.ป ,๓/๓.ป ,๒/๓.ป ,๑/๓.ป ,๘/๓.ป ,๗/๓.ป ,๖/๓.ป ,๕/๓.ป ,๔/๓.ป๙/๓. ท ๒ ๑.ป ,๑/๓.ป ,๒/๓.ป ,๓/๓.ป ,๔/๓.ป ,๕/๓.ป ๖/๓. ท ๓ ๑.ป ๖/๓.ป ,๕/๓.ป ,๔/๓.ป ,๓/๓.ป ,๒/๓.ป ,๑/๓. ท ๔ ๑.ป ๖/๓.ป ,๕/๓.ป ,๔/๓.ป ,๓/๓.ป ,๒/๓.ป ,๑/๓. ท ๕ ๑.ป๔/๓.ป ,๓/๓.ป ,๒/๓.ป ,๑/๓. รวม ๕ มำตรฐำน ๓๑ ตัวชวี้ ดั

ท๑๔๑๐๑ ภำษำไทย ๔ 27 ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงฉทรอ้ ยแก้วและฉทร้อยกรอง อธิฉายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่ อ่าน อา่ นเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาท่ีกาหนดและตอฉคาถามจากเรื่องทอี่ ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรือ่ งท่ี อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่าน โดยระฉุเหตุผลประกอฉ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่าน เพื่ อ นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน เลอื กอ่านหนังสือทมี่ คี ุณคา่ ตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกัฉ เร่อื งที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคดั ลายมือด้วยตัวฉรรจงเต็มฉรรทดั และครึ่งฉรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อ ความจากเร่ืองส้ัน ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนฉันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝกึ ทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็นเร่ืองท่ีฟังและดู พูดสรุปจากการฟัง และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกย่ี วกฉั เร่ืองท่ีฟังและดู ตั้งคาถามและตอฉคาถามเชงิ เหตุผล จากเรื่องท่ีฟังและดู พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทใน การฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและฉอกความหมายของคาในฉริฉทต่าง ๆ ระฉุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลัก ภาษา แต่งฉทร้อยกรองและคาขวัญ ฉอกความหมายของสานวน เปรยี ฉเทยี ฉภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้ ระฉุข้อคิดจากนิทานพื้นฉ้านหรือนิทานคติธรรมอธิฉายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตจริงร้อง เพลงพื้นฉ้านท่องจาฉทอาขยานตามท่ีกาหนดและฉทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการแสวงหาความรู้ กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระฉวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระฉวนการสื่อความกระฉวนการแก้ปัญหาการฝึกปฏิฉัติอธิฉาย ฉันทึกการ ตง้ั คาถา ตอฉคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเหน็ กระฉวนการสร้างความคิดรวฉยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชว้ ิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้กฉั ชีวติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม มำตรฐำนตัวชี้วัด/ ท ๑ ๑.ป๘/๔.ป ,๗/๔.ป ,๖/๔.ป ,๕/๔.ป ,๔/๔.ป ,๓/๔.ป ,๒/๔.ป ,๑/๔. ท ๒ ๑.ป ๘/๔.ป ,๗/๔.ป ,๖/๔.ป ,๕/๔.ป ,๔/๔.ป ,๓/๔.ป ,๒/๔.ป ,๑/๔. ท ๓ ๑.ป ๖/๔.ป ,๕/๔.ป ,๔/๔.ป ,๓/๔.ป ,๒/๔.ป ,๑/๔. ท ๔ ๑.ป ๗/๔.ป ,๖/๔.ป ,๕/๔.ป ,๔/๔.ป ,๓/๔.ป ,๒/๔.ป ,๑/๔. ท ๕ ๑.ป๔/๔.ป ,๓/๔.ป ,๒/๔.ป ,๑/๔. รวม ๕ มำตรฐำน ๓๓ ตัวช้ีวดั

ท๑๕๑๐๑ ภำษำไทย ๕ 28 ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๕ คำอธิบำยรำยวิชำพน้ื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย เวลำ ๑๖๐ ช่ัวโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฝึกอ่านออกเสียงฉทร้อยแก้วและฉทร้อยกรอง อธิฉายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น การฉรรยายและการพรรณนา อธิฉายความหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความ คิดเห็น อา่ นงานเขียนเชงิ อธิฉาย คาสง่ั ขอ้ แนะนา และปฏิฉัตติ าม เลอื กอ่านหนังสือท่ีมคี ุณค่าตามความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวฉรรจงเต็มฉรรทัดและครึ่งฉรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแฉฉรายการตา่ ง ๆ เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคาถาม ตอฉ คาถาม วเิ คราะหค์ วาม พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด ระฉุชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอฉของประโยค เปรียฉเทียฉภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถ่นิ ใชค้ าราชาศพั ท์ ฉอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แตง่ ฉท ร้อยกรอง ใช้สานวนได้ถูกตอ้ ง สรุปเร่ืองจากวรรณคดหี รือวรรณกรรมที่อ่าน ระฉุความรู้ ข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมที่ สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง อธิฉายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ท่องจาฉทอาขยานตามที่กาหนดและฉท ร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการแสวงหาความรู้ กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคดิ วิเคราะห์และสรปุ ความ กระฉวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ กระฉวนการส่ือ ความ กระฉวนการแก้ปัญหา การฝกึ ปฏิฉัติ อธิฉาย ฉันทึก การต้ังคาถาม ตอฉคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การ ดูและการพูด พดู แสดงความคิดเหน็ กระฉวนการสร้างความคิดรวฉยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กัฉชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม มำตรฐำนตัวชี้วดั / ท ๑ ๑.ป๘/๕.ป ,๗/๕.ป ,๖/๕.ป ,๕/๕.ป ,๔/๕.ป ,๓/๕.ป ,๒/๕.ป ,๑/๕. ท ๒ ๑.ป ๙/๕.ป ,๘/๕.ป ,๗/๕.ป ,๖/๕.ป ,๕/๕.ป ,๔/๕.ป ,๓/๕.ป ,๒/๕.ป ,๑/๕. ท ๓ ๑.ป๕/๕.ป ,๔/๕.ป ,๓/๕.ป ,๒/๕.ป ,๑/๕. ท ๔ ๑.ป/๕.ป ,๔/๕.ป ,๓/๕.ป ,๒/๕.ป ,๑/๕.๕ ๗/๕.ป ,๖/๕.ป , ท ๕ ๑.ป ๔/๕.ป ,๓/๕.ป ,๒/๕.ป ,๑/๕. รวม ๕ มำตรฐำน ๓๓ ตัวช้ีวดั

29 ท๑๖๑๐๑ ภำษำไทย ๖ คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน ช้นั ประถมศึกษำปที ่ี ๖ กลมุ่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ฝึกอ่านออกเสียงฉทร้อยแก้วและฉทร้อยกรอง อธิฉายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็น โวหาร อ่านเรื่องส้นั ๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ จากเร่ืองที่อา่ น วิเคราะห์และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกัฉเร่ืองที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิงอธิฉาย คาสั่ง ข้อแนะนา และ ปฏิฉัติตาม อธิฉายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตาม ความสนใจและอธฉิ ายคุณค่าทไ่ี ด้รฉั มมี ารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวฉรรจงเต็มฉรรทัดและคร่ึงฉรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจน และ เหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรยี งความ เขยี นยอ่ ความ จากเรอื่ งอ่าน เขยี นจดสว่ นตัว กรอกแฉฉรายการต่าง ๆ เขยี นเรื่องตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ มีมารยาทใน การเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเร่ืองท่ีฟังและดู ต้ัง คาถามและตอฉคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเรื่องที่ฟังและดูสื่อโฆษณา อย่างมเี หตผุ ล พดู รายงานเรือ่ งหรอื ประเด็นทศี่ ึกษาค้นควา้ จากการฟัง การดแู ละการสนทนา พูดโน้มน้าวอยา่ งมี เหตุผลและนา่ เชอื่ ถือ มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพดู ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกัฉกาลเทศะและฉุคคล รวฉรวมและ ฉอกความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระฉลุ กั ษณะของประโยค แตง่ ฉทรอ้ ยกรอง วิเคราะห์ เปรยี ฉเทยี ฉสานวนทีเ่ ปน็ คาพงั เพยและสุภาษติ ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นฉ้านท้องถิ่นตนเองและนิทาน พน้ื ฉ้านของท้องถน่ิ อื่น อธิฉายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ นและนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง ทอ่ งจา ฉทอาขยานตามที่กาหนดและฉทร้อย โดยใช้กระฉวนการอ่าน กระฉวนการเขียน กระฉวนการแสวงหาความรู้ กระฉวนการกลุ่ม กระฉวนการคดิ วเิ คราะห์และสรุปความ กระฉวนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ กระฉวนการส่ือ ความ กระฉวนการแก้ปัญหา กระฉวนการสงั เกต กระฉวนกรแยกข้อเท็จจริง กระฉวนการคน้ คว้า กระฉวนการ ใช้เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระฉวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิฉัติ อธิฉาย ฉันทึก การต้ังคาถาม ตอฉ คาถาม ใชท้ กั ษะการฟัง การดแู ละการพูด พดู แสดงความคิดเหน็ กระฉวนการสรา้ งความคิดรวฉยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กฉั ชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

30 มำตรฐำนตวั ช้ีวัด/ ท ๑ ๑.ป๙/๖.ป ,๘/๖.ป ,๗/๖.ป ,๖/๖.ป ,๕/๖.ป ,๔/๖.ป ,๓/๖.ป ,๒/๖.ป ,๑/๖. ท ๒ ๑.ป๙/๖.ป ,๘/๖.ป ,๗/๖.ป ,๖/๖.ป ,๕/๖.ป ,๔/๖.ป ,๓/๖.ป ,๒/๖.ป ,๑/๖. ท ๓ ๑.ป๖/๖.ป ,๕/๖.ป ,๔/๖.ป ,๓/๖.ป ,๒/๖.ป ,๑/๖. ท ๔ ๑.ป ,๑/๖.ป๖/๖.ป ,๕/๖.ป ,๔/๖.ป ,๓/๖.ป ,๒/๖. ท ๕ ๑.ป๔/๖.ป ,๓/๖.ป ,๒/๖.ป ,๑/๖. รวม ๕ มำตรฐำน ๓๔ ตัวชี้วัด

31 คำอธบิ ำยรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์

32 ค๑๑๑๐๑ คณติ ศำสตร์ ๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี ๑ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ เวลำ ๒๐๐ ช่วั โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฉอกจานวนของสิ่งต่าง ๆ แสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจานวนที่กาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารฉิก ตัวเลขไทย แสดงจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ เปรียฉเทียฉจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลาดัฉจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน หาค่าของตัวไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการฉวกและประโยคสัญลักษณแ์ สดงการลฉของจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ แสดงวธิ ีหาคาตอฉของโจทย์ ปัญหาการฉวกและโจทย์ปัญหาการลฉของจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ระฉุจานวนท่ีหายไปในแฉฉรูปของ จานวนทเ่ี พิ่มข้นึ หรอื ลดลงทลี ะ ๑ และทีละ ๑๐ และระฉุรูปท่หี ายไปในแฉฉรปู ซ้าของรปู เรขาคณิตและรปู อื่น ๆ ที่ สมาชิกในแต่ละชุดที่ซา้ มี ๒ รูปวัดและเปรียฉเทียฉความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร วัดและเปรียฉเทยี ฉนา้ หนัก เป็นกิโลกรัม เป็นขีด และใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จาแนกรูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียม วงกลม วงรี ทรง สี่เหลี่ยมมุมบาก ทรงกลม ทรงกระฉอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอฉของโจทย์ ปัญหา เม่อื กาหนดรปู ๑ รูป แทน ๑ หน่วย มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวม ๕ มำตรฐำน ๑๐ ตัวชว้ี ดั

33 ค๑๒๑๐๑ คณิตศำสตร์ ๒ คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๒ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ เวลำ ๒๐๐ ช่ัวโมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฉอกจานวนของส่ิงต่าง ๆ แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจานวนท่ีกาหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารฉิก ตัวเลขไทย ตัวหนงั สือแสดงจานวนนัฉไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ เปรยี ฉเทียฉจานวนนัฉไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใชเ้ คร่อื งหมาย = ≠ > < เรียงลาดัฉจานวนนัฉไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตงั้ แต่ ๓ ถึง ๕ จานวนจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ หาค่าของตัว ไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการฉวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลฉของจานวนนัฉไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกัฉจานวนไม่เกิน ๒ หลัก หาค่าของตวั ไมท่ ราฉคา่ ในประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการหารทต่ี ัวตงั้ ไมเ่ กิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ท้ังหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การฉวก ลฉ คูณ หารระคน ของจานวนนัฉไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี หาคาตอฉของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจานวนนัฉไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกัฉเวลาที่มีหน่วยเด่ียวและเป็นหน่วยเดียวกัน วัดและเปรียฉเทียฉความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมท้ัง แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาการฉวก การลฉเก่ียวกัฉความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและ เปรียฉเทียฉน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวธิ ีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาการฉวก การลฉเก่ียวกัฉน้าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียฉเทียฉปริมาตรและความจุ เป็นลติ ร จาแนกและฉอกลักษณะของรูปหลายเหล่ียมและวงกลม ใช้ข้อมลู จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอฉของ โจทยป์ ัญหาเมอื่ กาหนดรปู ๑ รปู แทน ๒ หนว่ ย ๕ หน่วย หรือ ๑๐ หนว่ ย มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั ค ๑.๑ ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 ค ๒.๑ ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6 ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๔ มำตรฐำน ๑๖ ตัวชี้วดั

34 ค๑๓๑๐๑ คณติ ศำสตร์ ๓ คำอธบิ ำยรำยวิชำพื้นฐำน ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี ๓ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ เวลำ ๒๐๐ ชว่ั โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ อา่ นและเขียน ตัวเลขฮินดอู ารฉิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียฉเทียฉและเรียงลาดฉั จานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ ฉอก อ่าน และเขยี นเศษส่วน ที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด เปรียฉเทียฉเศษส่วนท่ีตัวเศษเท่ากัน โดยท่ีตัวเศษ นอ้ ยกว่าหรือเท่ากัฉตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการฉวกและการลฉของจานวนนัฉ ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกัฉจานวน ไม่เกิน ๔ หลกั และจานวน ๒ หลักกัฉจานวน ๒ หลัก หาค่าของตวั ไมท่ ราฉค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหาร ท่ีตัวต้ังไมเ่ กิน ๔ หลกั ตัวหาร ๑ หลกั และหาผลลัพธก์ ารฉวก ลฉ คูณ หารระคน และแสดงวธิ ีการหาคาตอฉของ โจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจานวนนัฉไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลฉวกและแสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหา การฉวกของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากันและผลฉวกไม่เกิน ๑ และหาผลลฉพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ ปัญหาการลฉของเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน ระฉุจานวนที่หายไปในแฉฉรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ ปัญหาเก่ียวกัฉเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใช้เคร่ืองมือความยาวท่ีเหมาะสม วัดและฉอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียฉเทียฉ ความยาวระหวา่ งเซนตเิ มตรกัฉมิลลิเมตร เมตรกัฉเซนตเิ มตร กิโลเมตรกัฉเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ แสดงวธิ ีหา คาตอฉของโจทย์ปัญหาเก่ียวกัฉความยาวท่ีมีหน่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตร และเมตร เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและฉอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเน น้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียฉเทียฉน้าหนักและแสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกัฉน้าหนักท่ีมี หน่วยเป็นกิโลกรัมกัฉกรัม เมตริกตันกัฉกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองตวงที่เหมาะสม วัดและ เปรียฉเทียฉปริมาตรความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร และแสดงวิธีหา คาตอฉของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกัฉปรมิ าตรและความจุท่ีมหี นว่ ยเป็นลติ รและมลิ ลเิ มตร ระฉุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูล จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคาตอฉของโจทย์ปัญหา เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลท่ีเป็นจานวนนัฉ และใช้ ข้อมลู จากตารางทางเดียวในการหาคาตอฉของโจทยป์ ัญหา มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1

35 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม ๕ มำตรฐำน ๒๘ ตัวชวี้ ดั

36 ค๑๔๑๐๑ คณติ ศำสตร์ ๔ คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๔ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ เวลำ ๑๖๐ ชัว่ โมง คำอธิบำยรำยวิชำ อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารฉิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนัฉที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ เปรยี ฉเทียฉและเรียงลาดัฉจานวนนัฉทีม่ ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ ฉอก อ่าน และเขียนเศษส่วน จานวนคละแสดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงสิง่ ตา่ ง ๆ ตามเศษสว่ น จานวนคละท่ีกาหนด เปรียฉเทียฉ เรยี งลาดัฉ เศษส่วนและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงปริมาณของส่ิงต่าง ๆ และแสดงส่ิงต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาหนด เปรียฉเทียฉและเรียงลาดัฉทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ จากสถานการณ์ต่าง ๆ ประมาณผลลัพธ์ของการฉวก การลฉ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการฉวกและการลฉของจานวนนัฉท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราฉค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวนหลายหลัก ๒ จานวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก หาผลลัพธ์ การฉวก ลฉ คูณ หารระคน ของจานวนนัฉ และ ๐ แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนัฉ ท่มี ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ข้ันตอนของจานวนนัฉ และ ๐ พร้อมท้ังหาคาตอฉ หาผลฉวก ผลลฉของเศษส่วนและจานวนคละที่ตวั ส่วนตัวหน่งึ เป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหา การฉวกและการลฉเศษส่วนและจานวนคละท่ีตัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลฉวก ผลลฉของทศนิยม ไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง และแสดงวิธหี าคาตอฉของโจทย์ปญั หาการฉวก การลฉ ๒ ขั้นตอนของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ แสดงวิธหี าคาตอฉของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกัฉเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกัฉความยาวรอฉรูปและ พ้ืนที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมบาก จาแนกชนิดของมุม ฉอกชื่อมุม ส่วนประกอฉของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สรา้ งรปู สเี่ หล่ียมมุมบากเม่อื กาหนดความยาวของดา้ น ใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู ิแทง่ ตารางสองทางในการหาคาตอฉของโจทยป์ ัญหา มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8, ป.4/9, ป.4/10, ป.4/11, ป.4/12, ป.4/13, ป.4/14, ป.4/15, ป.4/16 ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2 ค 3.1 ป.4/1 รวม ๔ มำตรฐำน ๒๒ ตัวชว้ี ัด

37 ค๑๕๑๐๑ คณิตศำสตร์ ๕ คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ เวลำ ๑๖๐ ชั่วโมง คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ เขียนเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเป็นตัวประกอฉของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอฉ ของโจทย์ปัญหาโดยใช้ฉัญญัติไตรยางศ์ หาผลฉวก ผลลฉ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธี หาคาตอฉของโจทย์ปัญหาการฉวก การลฉ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของทศนิยมท่ีผลคูณ เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หาผลหารท่ีตัวต้ังเป็นจานวนนัฉหรือทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และตัวหารเป็น จานวนนัฉ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาการฉวก การลฉ การคูณ การหารทศนยิ ม ๒ ขนั้ ตอน และแสดงวิธหี าคาตอฉของโจทยป์ ัญหารอ้ ยละไมเ่ กนิ ๒ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกัฉความยาว น้าหนัก ที่มีการเปล่ียนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาเก่ียวกัฉปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมบากและความจุของภาชนะทรงสี่เหล่ียม มุมบาก แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกัฉความยาวรอฉรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนานและรปู สเี่ หล่ยี มขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกัฉเส้นตรงหรือสว่ นของเส้นตรง ที่กาหนดให้ จาแนกรูปส่ีเหลีย่ มโดยพิจารณาจากสมฉัติของรูป สร้างรูปส่ีเหลี่ยมชนิดตา่ ง ๆ เมื่อกาหนดความยาว ของด้านและขนาดของมมุ หรอื เม่อื กาหนดความยาวของเสน้ ทแยงมุม และฉอกลกั ษณะของปริซึม ใช้ขอ้ มูลจากกราฟเสน้ ในการหาคาตอฉของโจทย์ปญั หา และเขียนแผนภูมิแทง่ จากข้อมลู ท่ีเป็นจานวนนฉั มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9 ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2 รวม ๔ มำตรฐำน ๑๙ ตวั ชวี้ ัด

38 คำอธบิ ำยรำยวิชำพน้ื ฐำน ค๑๖๑๐๑ คณติ ศำสตร์ ๖ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี ๖ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง คำอธิบำยรำยวิชำ เปรียฉเทียฉ เรียงลาดัฉเศษส่วนและจานวนคละ จากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียฉเทียฉ ปรมิ าณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยท่ปี รมิ าณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนฉั หาอัตราส่วนท่ีเท่ากัฉ อัตราส่วนท่ีกาหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไม่เกิน ๓ จานวน แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้ เก่ียวกัฉ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการฉวก ลฉ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ แสดงวิธีหา คาตอฉของโจทยป์ ัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ๒-๓ ข้ันตอน หาผลหารของทศนิยมท่ีตัวหารและผลหารเป็นทศนิยม ไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปัญหาการฉวก การลฉ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธี หาคาตอฉของโจทยป์ ัญหาอตั ราส่วน แสดงวธิ ีหาคาตอฉของโจทย์ปญั หาร้อยละ ๒-๓ ข้ันตอน และแสดงวิธีคิดและ หาคาตอฉของปัญหาเก่ียวกัฉแฉฉรูป แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทย์ปญั หาเก่ยี วกัฉปริมาตรของรปู เรขาคณิตสามมิติ ท่ีประกอฉด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมบาก แสดงวิธีหาคาตอฉของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกัฉความยาวรอฉรูปและพ้ืนท่ีของรูป หลายเหลี่ยม และความยาวรอฉรูปและพ้ืนท่ีของวงกลม จาแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมฉัติของรูป สร้างรูปสามเหล่ียมเมื่อกาหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม ฉอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิด ต่าง ๆ ระฉุรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอฉจากรูปคล่ี และระฉุรูปคล่ีของรูปเรขาคณิตสามมิติ ใช้ข้อมูลจาก แผนภูมริ ปู วงกลมในการหาคาตอฉของโจทย์ปัญหา มำตรฐำน/ตวั ช้ีวัด ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9, ป.6/10, ป.6/11 ค 1.2 ป.6/1 ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ค 3.1 ป.6/1 รวม ๕ มำตรฐำน ๒๐ ตวั ชีว้ ัด

39 คำอธบิ ำยรำยวิชำ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ และเทคโนโลยี

40 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน ว๑๑๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี ๑ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ เวลำ ๘๐ ชว่ั โมง คำอธิบำยรำยวิชำ ระฉุช่ือพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ฉริเวณต่าง ๆ จากข้อมลู ที่รวฉรวมได้ ฉอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกัฉการ ดารงชีวิตของสัตว์ในฉริเวณท่ีอาศัยอยู่ ระฉุช่ือ ฉรรยายลักษณะและฉอกหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพชื รวมทั้งฉรรยายการทาหนา้ ท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ในการทากิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูล ท่ีรวฉรวมได้ ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ อธิฉายสมฉัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุซึ่งทาจากวัสดุชนิดเดียว หรือหลายชนิดประกอฉกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระฉุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมฉัติที่สังเกตได้ ฉรรยายการเกิดเสียงและทิศทาง การเคล่ือนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระฉุดาวที่ปรากฏฉนท้องฟ้าใน เวลากลางวันและกลางคืนจากข้อมูลท่ีรวฉรวมได้ อธิฉายสาเหตุที่มองไม่เห็นดวงดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจาก หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิฉายลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเบพาะตัวที่สังเกตได้ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ การลองผดิ ลองถูก การเปรียฉเทียฉ แสดงลาดัฉขัน้ ตอนการทางานหรอื การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็ฉ เรียกใช้ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิฉัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแล รักษาอุปกรณ์เฉื้องต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2 ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 2.3 ป.1/1 ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 3.2 ป.1/1 ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 รวม ๗ มำตรฐำน ๑๕ ตวั ชว้ี ัด

41 คำอธิบำยรำยวิชำพ้นื ฐำน ว๑๒๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ๒ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง คำอธิบำยรำยวชิ ำ ระฉุว่าพืชต้องการแสงและน้า เพื่อการเจริญเติฉโต โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึง ความจาเป็นที่พืชต้องการได้รัฉน้าและแสงเพื่อการเจริญเติฉโต โดยดูแลพืชให้ได้รัฉส่ิงดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้างแฉฉจาลองที่ฉรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียฉเทียฉลักษณะสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตจากข้อมูลท่ีรวฉรวม ได้ เปรียฉเทียฉสมฉัติการดูดซัฉน้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และระฉุการนาสมฉัติการดูดซัฉน้าของ วสั ดุไปประยุกต์ใช้ในการทาวัตถุในชีวิตประจาวัน อธิฉายสมฉตั ิที่สังเกตได้ของวัสดุท่ีเกิดจากการนาวัสดุมาผสมกันโดย ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียฉเทียฉสมฉัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุ เพ่ือนามาทาเป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และอธิฉายการนาวัสดุที่ใช้แล้วกลัฉมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึงประโยชน์ของการนาวัสดุ ทใี่ ช้แล้วกลฉั มาใช้ใหม่ โดยการนาวสั ดุที่ใช้แล้วกลัฉมาใช้ใหม่ ฉรรยายแนวการเคล่ือนทข่ี องแสงจากแหล่งกาเนิดแสง และอธิฉายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดย เสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตรายจากการมองเห็นวัตถุในที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระฉุส่วนประกอฉของดิน และจาแนกชนิดของดินโดยใชล้ ักษณะเน้ือดนิ และการจัฉตัวเป็นเกณฑ์ อธฉิ ายการใชป้ ระโยชน์จากดนิ จากข้อมูลท่ี รวฉรวมได้ แสดงลาดัฉขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็ฉ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิฉัติตามข้อตกลง ในการใชค้ อมพวิ เตอร์ร่วมกนั ดแู ลรักษาอปุ กรณเ์ ฉือ้ งต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม มำตรฐำน/ตัวชี้วดั ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 ว 1.3 ป.2/1 ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ว 2.3 ป.2/1, ป.2/2 ว 3.2 ป.2/1, ป.2/2 ว 4.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 รวม ๖ มำตรฐำน ๑๖ ตัวชวี้ ดั

42 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน ว๑๓๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ๓ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี ๓ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง คำอธิบำยรำยวิชำ ฉรรยายส่ิงท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิต และการเจริญเติฉโตของมนุษย์และสัตว์โดยใช้ข้อมูลที่รวฉรวมได้ ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้า และอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รัฉสิ่งเหล่านี้อย่างเหมาะสม สร้างแฉฉจาลองท่ีฉรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์และเปรียฉเทียฉวัฏจักรชีวิตของสัตว์ฉางชนิด ตระหนักถึงคุณค่า ของชีวิตสัตว์โดยไม่ทาให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์เปล่ียนแปลง อธิฉายว่าวัตถุประกอฉขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่ง สามารถแยกออกจากกันได้และประกอฉกันเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิฉายการ เปล่ียนแปลงของวัสดุเมื่อทาให้ร้อนข้ึนหรือทาให้เย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระฉุผลของแรงที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียฉเทียฉและยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่ สัมผัสที่มีผลต่อการเคลื่อนท่ีของวัตถุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จาแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกัฉแม่เหล็กเป็น เกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระฉุข้ัวแม่เหล็กและพยากรณ์ผลท่ีเกิดขึ้นระหว่างขั้วแม่เหล็กเม่ือนามาเข้าใกล้กัน จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตัวอย่างการเปล่ียนพลังงานหน่ึงไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ฉรรยายการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและระฉุแหล่งพลังงานใน การผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวฉ รวมได้ ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟา้ โดยนาเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย อธิฉายแฉฉรูป เส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิฉายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การข้ึนและ ตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกาหนดทิศโดยใช้แฉฉจาลอง ตระหนักถึงความสาคัญของ ดวงอาทิตย์ โดยฉรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ระฉสุ ่วนประกอฉของอากาศ ฉรรยายความสาคัญ ของอากาศ และผลกระทฉของมลพิษทางอากาศต่อส่ิงมีชีวิตจากข้อมูลท่ีรวฉรวมได้ตระหนักถึงความสาคัญของ อากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏิฉตั ิตนในการลดการเกิดมลพษิ ทางอากาศ อธิฉายการเกิดลมจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ ฉรรยายประโยชนแ์ ละโทษของลมจากข้อมลู ที่รวฉรวมได้ แสดงอัลกอริทมึ ในการทางานหรือการแก้ปัญหา อย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวฉรวม ประมวลผล และนาเสนอข้อมลู โดยใช้ซอฟต์แวร์ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ปฏฉิ ตั ิตามขอ้ ตกลงในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

43 ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๗ มำตรฐำน ๒๕ ตวั ชี้วดั

44 คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน ว๑๔๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ๔ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๔ เวลำ ๘๐ ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฉรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใฉ และดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลท่ีรวฉรวมได้ จาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใช้ ความเหมือน และความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวฉรวมได้ จาแนกสัตว์ ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่ รวฉรวมได้ ฉรรยายลักษณะเบพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินฉก กลมุ่ สตั วเ์ ล้อื ยคลาน กลมุ่ นก และกลมุ่ สัตว์เลี้ยงลูกดว้ ยน้านม และยกตวั อยา่ งสิ่งมชี ีวิตในแต่ละกลุม่ เปรียฉเทียฉสมฉัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระฉุการนาสมฉัติเร่ืองความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวันผ่านกระฉวนการออกแฉฉชิ้นงาน แลกเปลี่ยนความคิดกัฉผู้อื่น โดยการอภิปรายเก่ียวกัฉสมฉัติทางกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียฉเทียฉสมฉัติของสสาร ทง้ั ๓ สถานะ จากข้อมูลทีไ่ ด้จากการสังเกตมวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและปรมิ าตรของสสาร ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปรมิ าตรของสสารทงั้ ๓ สถานะ ระฉุผลของแรงโนม้ ถว่ งทมี่ ีต่อวัตถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ใชเ้ ครือ่ งชง่ั สปริง ในการวัดน้าหนักของวัตถุ ฉรรยายมวลของวัตถุที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ จาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึฉแสง จากลักษณะการมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผา่ นวัตถุนน้ั เปน็ เกณฑโ์ ดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ อธิฉายแฉฉรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้างแฉฉจาลองที่อธิฉาย แฉฉรูป การเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ สร้างแฉฉจาลอง แสดงองค์ประกอฉของระฉฉสรุ ิยะ และอธฉิ ายเปรียฉเทียฉคาฉการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จากแฉฉจาลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิฉายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแฉฉ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา ความรู้ และประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล รวฉรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื แจ้งผู้เกีย่ วขอ้ งเม่อื พฉข้อมูลหรือฉุคคลท่ไี ม่เหมาะสม มำตรฐำน/ตัวช้ีวดั ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

45 ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวม ๗ มำตรฐำน ๒๑ ตวั ชว้ี ัด

46 คำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน ว๑๕๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ๕ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ ๕ เวลำ ๑๒๐ ชัว่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ ฉรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของสงิ่ มีชีวิตที่เหมาะสมกัฉการดารงชีวิต ซ่ึงเปน็ ผลมาจากการปรฉั ตวั ของ สิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ อธฉิ ายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ิตกัฉส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกัฉ ส่งิ ไมม่ ีชีวติ เพ่อื ประโยชน์ต่อการดารงชีวติ เขียนโซ่อาหารและระฉุฉทฉาทหนา้ ทขี่ องสิ่งมชี ีวิตทีเ่ ป็นผู้ผลิตและผฉู้ ริโภคใน โซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา สงิ่ แวดล้อม อธิฉายลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีมีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพชื สัตว์ และมนุษย์ แสดงความอยากรู้ อยากเหน็ โดยการถามคาถามเกี่ยวกัฉลักษณะทีค่ ล้ายคลึงกันของตนเองกฉั พ่อแม่ อธฉิ ายการเปล่ียนสถานะของสสาร เมื่อทาให้สสารรอ้ นข้ึนหรือเยน็ ลงโดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ อธิฉาย การละลายของสารในน้าโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมอ่ื เกิดการเปลยี่ นแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระฉุการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลัฉได้และการเปล่ียนแปลงท่ีผันกลัฉไม่ได้ อธิฉายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุในกรณีท่ีวัตถุอยู่นิ่งจากหลักฐาน เชิง ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทาต่อวัตถุท่ีอยใู่ นแนวเดียวกนั และแรงลพั ธ์ที่กระทาต่อวตั ถุ ใชเ้ คร่ืองชัง่ สปริง ในการวัดแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ระฉุผลของแรงเสียดทานท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ อธิฉายการได้ยินเสียง ผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระฉุตัวแปร ทดลอง และอธิฉายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า ออกแฉฉการทดลองและอธิฉายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย วัดระดัฉเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดัฉเสียง ตระหนกั ในคณุ ค่าของความรูเ้ รอ่ื งระดัฉเสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลย่ี งและลดมลพษิ ทางเสียง เปรียฉเทียฉความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแฉฉจาลอง ใช้แผนที่ดาวระฉุตาแหน่งและ เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ฉนท้องฟ้า และอธิฉายแฉฉรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ ฉนท้องฟ้าในรอฉปี เปรียฉเทียฉปริมาณน้าในแต่ละแหล่ง และระฉุปริมาณน้าที่มนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ จากข้อมูลที่รวฉรวมได้ ตระหนักถึงคุณค่าของน้าโดยนาเสนอแนวทางการใช้น้าอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้า สร้างแฉฉจาลองที่อธิฉายการหมุนเวียนของน้าในวัฏจักรน้า เปรียฉเทียฉกระฉวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง และน้าค้างแขง็ จากแฉฉจาลอง เปรยี ฉเทยี ฉกระฉวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และลกู เหฉ็ จากข้อมลู ที่รวฉรวมได้ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิฉายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแฉฉ และเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ต ค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล รวฉรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือฉริการฉนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิต ประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสทิ ธิของผู้อ่ืน แจ้งผูเ้ ก่ียวขอ้ งเม่อื พฉข้อมูลหรือฉุคคลท่ีไม่เหมาะสม

47 มำตรฐำน/ตวั ช้ีวดั ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ,ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑ ,ป.๕/๒ , ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวม ๘ มำตรฐำน ๓๒ ตัวชวี้ ดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook