Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวสอน วิชาการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี

แนวสอน วิชาการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี

Published by art-weerasak, 2023-01-05 01:48:20

Description: แนวสอน วิชาการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี

Search

Read the Text Version

แนวสอน วิชาการปฏบิ ตั งิ านของ หนว่ ยทหารสอื่ สารทางยทุ ธวธิ ี แผนกวชิ าทหารสื่อสาร กองการศึกษา โรงเรียนทหารสื่อสาร กรมการทหารส่ือสาร พ.ศ.๒๕๖๔

สารบญั หน้า เรอื่ ง 1 2 - 52 บทที่ 1 กลา่ วนำ 52 - 75 บทที่ 2 การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยทหารส่อื สารทางยุทธวิธีในระดับกองพล 76 - 110 บทที่ 3 การปฏิบัติงานของหนว่ ยทหารสอ่ื สารทางยทุ ธวิธีในระดบั กองทัพภาค 111 - 116 บทที่ 4 การปฏิบตั ิงานของหน่วยทหารสอ่ื สารทางยุทธวิธีในระดบั กองทัพบก 117 บทที่ 5 บทสรปุ บรรณานกุ รม

-1- บทที่ 1 กลา่ วนำ แนวสอนการปฏิบัติงานของหน่วยทหารส่ือสารทางยุทธวิธี ซ่งึ เป็นเอกสารท่ีใช้สำหรับสอนนายทหาร นักเรียน หลักสูตรช้ันนายพัน เหล่า ส. เนื่องจากเอกสารดังกล่าวนั้นได้เคยมีการจัดทำเอกสาร ครั้งล่าสุดเมือ่ พ.ศ.๒๕๔๓ ดังนั้น แผนกวิชาทหารสือ่ สาร จึงได้ริเริ่มทำการปรับปรงุ โดยเห็นว่า หลักสูตรการเรียนการสอน ใน รร.ส.สส. ควรจะมีความรู้ของการปฏิบัติงานของหน่วยทหารสื่อสารทางยุทธวิธี ที่มีความทันสมัย ในระดับ กองพล กองทัพภาค และกองทัพบก เป็นอย่างดี เป็นหลักสูตรตามแนวทางรับราชการ ซึ่งเม่ือผา่ นหลักสูตรน้ี แล้ว จะสามารถอำนวยการด้านการสื่อสารได้อย่างกว้างขวาง โดยความร่วมมือของคณะอาจารย์ รร.ส.สส. ทใ่ี หข้ ้อมลู ประกอบดว้ ย 1. พ.ท. บุญมา หดั เจรญิ 2. พ.ท. เฉลิมพล หลาบเจรญิ 3. พ.ต. แดนชาย สุดเจริญ 4. พ.ต. สัญญา ก้อนทอง 5. พ.ต. สามารถ เถินมงคล 6. ร.อ. ไพรชั สร้อยภู่ระย้า 7. ร.อ.อนรุ กั ษ์ วงษ์พระจันทร์ โดยได้รับการสนับสนนุ และคำแนะนำจาก พ.อ. สิริชัย สบายจิต ผอ.กศ.รร.ส.สส. เอกสารแนวสอน ฉบับนี้อาจจะยังมีข้อบกพร่อง และน่าจะได้รับการปรับปรุงในโอกาสต่อไป ซึ่งคณะทำงานได้พยายาม ใช้ความสามารถ ประสบการณ์รวบรวมอย่างดีที่สุดเพื่อให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระ โดยสอดคล้องกับจำนวน ชว่ั โมงท่ีกำหนดไว้ อย่างไรก็ตาม เอกสารแนวสอนฉบับนี้ จะทำให้นายทหารนักเรียนได้รับความรู้อย่างกว้างขวาง เป็นระบบ และสามารถนำความรไู้ ปวางแผนการสื่อสาร ใหก้ บั หน่วยทหารสื่อสารขนาดใหญไ่ ด้ คณะผจู้ ัดทำ แผนกวิชาทหารส่อื สาร กศ.รร.ส.สส. 1. พ.อ. กิตติศักดิ์ พนั ธบุ รรยงก์ 7. จ.ส.อ. พิเชษ จนั ทรแ์ สง 2. พ.ท. เสกสรร สมลา 8. จ.ส.อ. ศุภรชั ฏ หมอกสุข 3. พ.ต. อโนชา ทาคณู 9. จ.ส.ท. อดศิ ร พนั กระจัด 4. ร.อ. สุนทร จอมทอง 10. ส.อ. ไชยพร รกั ษากุล 5. ร.อ. ณัฐชัย พันธ์นอ้ ย 11. ส.ท. ภาณพุ งษ์ ใจเฉือ่ ย 6. ร.ท. ไมตรี บุญเหลอ่ื ม

หนา้ 2 บทท่ี 2 การปฏิบัตงิ านของหนว่ ยทหารส่อื สารทางยทุ ธวธิ ใี นระดับกองพล (กองพันทหารส่ือสารกองพล) ตอนที่ 1 การจัดและภารกิจ 1. ผงั การจดั กองพันทหารสื่อสารกองพล (อจย.11 – 35) เป็นหน่วยในอัตราของกองพล กองพันนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของ หน่วยผสมเหล่า ให้การสนับสนุนการรบด้วยการสื่อสารแก่กองพล การจัดกองพันทหารสื่อสารกองพล ประกอบด้วย กองบังคับการกองพันและกองร้อยกองบังคับการ กองร้อยวิทยุและศูนย์ข่าว กองร้อยสายและ วิทยถุ ่ายทอด กองพันทหารสอื่ สารกองพล บก.และร้อย บก. กองร้อยวทิ ยุ กองร้อยสาย และศนู ย์ขา่ ว และวิทยถุ ่ายทอด รูปที่ 1 ผังการจัด กองพนั ทหารสือ่ สารกองพล 2. ภารกจิ 1.1 จดั การสอื่ สารให้แก่กองบัญชาการกองพล รวมทง้ั การสื่อสารไปยังหนว่ ยต่างๆ ท่ปี ฏิบัติการภายใตก้ าร บงั คบั บัญชาของกองบัญชาการกองพล

หน้า 3 1.2 จัดบรกิ ารการภาพให้กบั กองพล ตอนท่ี 2 ขดี ความสามารถและขดี จำกดั 1. ขีดความสามารถ ขีดความสามารถของกำลังพลเต็มอัตรา เพื่อให้บรรลุความต้องการตามภารกิจ ( ข้อ 2 ) กองพันทหาร ส่ือสารกองพลมีขีดความสามารถ ดังนี้ 1.1 การวางแผนของฝ่ายอำนวยการกำกับดูแลการฝกึ การปฏบิ ตั ิการส่ือสารและกิจการสอ่ื สารอน่ื ๆ 1.2 ตดิ ตงั้ ปฏบิ ัติการ และดำรงการสอ่ื สารประเภทสายและวิทยไุ ปยังหน่วยตา่ ง ๆ ท่ปี ฏบิ ัตงิ าน ภายใต้ การบงั คับบญั ชาของกองบัญชาการกองพล 1.3 ปฏิบตั ิการส่อื สารดว้ ยวทิ ยถุ ่ายทอดให้แก่กองพล รวมทง้ั การเชื่อมต่อการสอ่ื สารของกองพล เขา้ กบั ระบบโทรคมนาคมในพ้นื ท่ตี ามความจำเป็น 1.4 บรกิ ารส่งกำลงั และซ่อมบำรงุ ขั้นหน่วย แกย่ ทุ โธปกรณ์ในอตั รา รวมทง้ั สง่ กำลงั และซอ่ มบำรุง ขนั้ สนามอยา่ งจำกัด แก่เครอ่ื งสื่อสารของกองพัน และกองบญั ชาการกองพล 1.5 บรกิ ารศนู ยก์ ารสอื่ สารใหแ้ กก่ องบัญชาการกองพล และบรกิ ารนำสารดว้ ยยานยนต์ 1.6 บริการภาพนิ่ง รวมท้ังลา้ ง อดั ขยายภาพน่ิง 1.7 ทำการรบอย่างทหารราบเมอื่ จำเปน็ 2. บริการสนบั สนุนท่ตี อ้ งการ กองพนั ทหารสือ่ สารกองพล อาศยั หน่วยอื่นๆ ของกองพลในเรื่องบริการ ดังจะกล่าวต่อไปน้ี 2.1 หน่วยอน่ื ๆ ของกองพลในเรอื่ งของการรกั ษาพยาบาล และการขนสง่ เพิม่ เติม 2.2 รอ้ ยบนิ กองพล หรอื หน่วยอน่ื ๆ ในเรอ่ื งเครอ่ื งบนิ และนกั บนิ เพือ่ การปฏบิ ัติการสื่อสาร 2.3 การส่อื สารระบบโทรคมนาคมพลเรอื นและทางทหาร ในพน้ื ที่ที่กองพลเขา้ ไปปฏิบตั กิ าร 3. ขีดความสามารถทางการรบบนพืน้ ดนิ ทหารแต่ละคนในกองพันทหารสื่อสารกองพล ได้รับการฝึกให้ทำการรบแบบทหารราบได้ เมื่อต้องการ เพราะฉะนั้น กองพันทหารสือ่ สารกองพล ก็ยอ่ มจะมขี ดี ความสามารถอยบู่ า้ งในการป้องกนั ตนเองตอ่ การโจมตีทาง พื้นดินของข้าศึก แต่อย่างไรก็ตามส่วนของกองพันทหารสือ่ สาร ย่อมไม่อาจป้องกันตนเองได้ จึงต้องอาศัยหน่วยที่ รับการสนับสนุนใหช้ ว่ ย ป้องกันสถานท่ตี ั้งของตน

หนา้ 4 กองบังคับการและกองรอ้ ยกองบังคับการ ตอนที่ 1 การจัดและภารกิจ 1. การจัดกองบงั คบั การและกองรอ้ ยกองบงั คบั การ กองบังคบั การและกองร้อยกองบังคับการ (อจย.11 – 36) ประกอบดว้ ยผู้บงั คบั บญั ชา และฝา่ ยอำนวยการ อันจำเป็นสำหรับการควบคุมทางการบงั คบั บญั ชา และสำหรับการสนับสนนุ ทางธุรการ และทางการสง่ กำลังบำรุง ของกองพันทหารสื่อสาร นอกจากนั้นยังมีตอนซ่อมบำรุงยานยนต์ของกองพัน ตอนส่งกำลังและซ่อมบำรุงสาย สอื่ สาร และตอนการภาพ กร็ วมอย่ใู น กองรอ้ ยนี้ดว้ ย (รูปที่ 2) กองบงั คบั การ และ กองรอ้ ยกองบงั คับการ บก.พนั . ร้อย บก. บก.ร้อย ตอนธุรการและ ตอนยุทธการ ตอนทหาร ตอนซ่อมบำรงุ ยานยนต์ ตอนสง่ กำลงั กำลังพล และการขา่ ว สอ่ื สารกองพล กองพนั กองพัน ตอนซอ่ มบำรุง ตอ-นก6า-รภาพ สายสอ่ื สาร รปู ท่ี 2 ผังการจัด กองบังคับการและกองรอ้ ยกองบังคับการ

หน้า 5 2. ภารกจิ 2.1 ควบคุม และประสานการปฏบิ ตั ิ และการฝึกภายในกองพันทหารส่ือสาร และจัดใหม้ ีอุปกรณส์ ำหรบั กองบังคับการ เพอ่ื การควบคมุ และบังคบั บัญชากองพนั 2.2 วางแผน อำนวยการ กำกับดแู ล และประสานการปฏิบตั กิ ารสอ่ื สารของกองพล 2.3 จัดบรกิ าร การภาพ การสง่ กำลงั และซ่อมบำรุงสายสื่อสารใหแ้ ก่กองพล 2.4 สนับสนุนการส่งกำลงั สำหรบั กองบงั คับการและกองร้อยกองบงั คบั การและกองร้อยตา่ ง ๆ ของกองพนั 3. ขีดความสามารถ 3.1 วางแผนบงั คบั บัญชา ควบคุม ประสานการปฏิบตั ขิ องกองพนั 3.2 บริการส่งกำลงั บำรุง และซอ่ มบำรงุ เครอื่ งส่ือสาร ประเภทการซ่อมบำรุงในสนาม อยา่ งจำกดั สำหรับ กองพนั และกองบัญชาการกองพล 3.3 บรกิ าร ถา่ ย ล้าง อัดขยาย ภาพน่ิง 3.4 สนบั สนนุ งานธรุ การ การส่งกำลังภายในกองพนั รวมทั้งการจดั การกำลังพลเป็นส่วนรวม 3.5 ดำเนนิ การซ่อมบำรงุ ขน้ั หน่วย ของกองพนั เปน็ สว่ นรวม 3.6 ทำการรบอย่างทหารราบ เมื่อจำเป็น

หนา้ 6 กองรอ้ ยวทิ ยแุ ละศูนย์ขา่ ว ตอนที่ 1 การจดั และภารกิจ 1. การจดั กองร้อยวทิ ยแุ ละศนู ย์ข่าว เป็นหน่วยในอัตราของกองพันทหารสอ่ื สารกองพล กองร้อยวทิ ยแุ ละศูนย์ข่าว บก.รอ้ ย. หมวดวิทยุ หมวดศนู ยข์ ่าวและ นำสาร บก.หมวด ชดุ วิทยุสนบั สนนุ ชดุ วทิ ยโุ ทรพมิ พ์เคลอื่ นที่ ชุดวทิ ยกุ ำลงั ชุดวทิ ยุควบคมุ (เต็ม 3 ชดุ ) (ลด 3 ชดุ ) ปานกลาง อากาศยาน ทางอากาศ (1 ) (เตม็ 9 ชดุ ) (เต็ม 5 ชดุ ) (ลด 4) (ลด 7 ชุด) ชุด) บก.หมวด ตอนศูนย์ข่าว ตอนอักษรลบั ตอนนำสาร รปู ที่ 3 ผังการจัด กองร้อยวิทยแุ ละศนู ย์ข่าว 2. ภารกจิ ภารกิจของกองร้อยวิทยุและศูนย์ข่าว คือ จัดการสื่อสารประเภทวิทยุและศูนย์ข่าว ให้แก่กองบัญชาการ กองพล รวมทง้ั การส่อื สารประเภทวิทยไุ ปยงั หนว่ ยต่าง ๆ ท่ีปฏบิ ัตงิ านภายใต้การบงั คบั บญั ชาของกองพล

หนา้ 7 ตอนท่ี 2 ขีดความสามารถและขีดจำกดั 3. ขีดความสามารถ กองรอ้ ยวทิ ยุและศนู ย์ข่าว มขี ีดความสามารถท่ีจะปฏิบัติใหบ้ รรลคุ วามตอ้ งการตามภารกจิ ทีก่ ำหนด ดังต่อไปน้ี 3.1 ติดตั้ง ปฏิบัติการและดำรงการสื่อสารประเภทวิทยุไปยังหน่วยต่างๆ ที่ปฏิบัติงานภายใต้ กองบญั ชาการกองพล 3.2 บริการศนู ย์ขา่ วใหแ้ กก่ องบญั ชาการกองพล และบรกิ ารนำสารดว้ ยยานยนต์ 3.3 ทำการรบอย่างทหารราบเมอ่ื จำเปน็ 4. ขีดจำกดั กองร้อยวิทยุและศูนย์ข่าว จำเป็นต้องอาศัยบริการสนับสนุนที่ต้องการจากหน่วยอื่นใน กองพันทหาร ส่อื สาร

หนา้ 8 กองรอ้ ยสายและวทิ ยุถา่ ยทอด ตอนที่ 1 การจดั และภารกจิ 1. การจดั กองร้อยสายและวิทยุถา่ ยทอด เป็นหนว่ ยในอัตราของกองพันทหารสอื่ สารกองพล 2. ภารกจิ ภารกิจของกองร้อยสายและวิทยุถา่ ยทอด คือ จัดใหม้ ีการส่ือสารประเภทสายและวทิ ยุถ่ายทอด ให้แก่ กองบัญชาการกองพล และไปยงั หนว่ ยรองของกองพลดว้ ย กองร้อยสายและวิทยุถ่ายทอด บก.รอ้ ย หมวดสาย หมวดวทิ ยุถ่ายทอด บก.หมวด ตอน ชดุ สรา้ งสาย ชดุ สร้างสายสนาม บก.หมวด ชุดวิทยุ โทรศัพท์ เคเบ้ิลสนาม (เต็ม 5 ชดุ ) ถ่ายทอด (2 ชุด) เตม็ = ลด (ลด 4 ชดุ ) (8 ชดุ ) (เตม็ = ลด) ชุดวิทยุปลายทางและเครอ่ื งคลื่นพาห์ (เต็ม 12 ชดุ ) (ลด 10 ชดุ ) รปู ที่ 4 ผังการจดั กองรอ้ ยสายและวทิ ยุถา่ ยทอด

หน้า 9 ตอนที่ 2 ขีดความสามารถและขดี จำกดั 3. ขดี ความสามารถ กองรอ้ ยสายและวิทยถุ า่ ยทอด มีขีดความสามารถที่จะปฏบิ ตั ติ ามภารกิจท่ีกำหนดดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 ปฏบิ ัติการและดำรงการสือ่ สารประเภทสาย ไปยังหนว่ ยตา่ ง ๆ ทีป่ ฏบิ ตั งิ านภายใต้การบงั คับ บญั ชาของกองพล 3.2 จดั การส่ือสารด้วยวิทยถุ า่ ยทอดให้แก่กองพล 3.3 ทำการรบอย่างทหารราบเม่อื จำเปน็ 4. ขีดจำกัด กองร้อยสายและวิทยุถ่ายทอด จำเป็นต้องอาศัยบริการสนับสนุนที่ต้องการจากหน่วยอื่น ในกองพัน ทหารสอ่ื สาร

หนา้ 10 การปฏิบตั งิ านของกองพนั ทหารสอื่ สารกองพล ตอนท่ี 1 การปฏบิ ตั งิ านของ บก.รอ้ ย และ ร้อย บก. 1. กลา่ วทว่ั ไป เนื่องจากอัตราการจัดตาม อจย. ได้แยกอัตรากำลังพลนายทหารให้ขึ้นอยู่กับ บก.พัน. และส่วน ปฏิบัติงานให้ขึ้นอยู่กับ ร้อย.บก. ตามหลักการจัดของกรมยุทธการทหารบก ซึ่งถ้าเป็นดังนั้นแล้วจะเกิดปัญหา ในทางปฏิบัติงานข้ึน เพราะนายทหารเหล่านั้นไม่มีหน่วยปฏิบตั ิงานภายใต้การบังคับบัญชาของตน และในทำนอง เดียวกันหน่วยงานต่างๆ ก็จะไม่มีนายทหารทำการบังคับบัญชาโดยใกล้ชิด แม้ว่าจะแก้ไขด้วยการควบคุมทางการ ปฏิบัติ และกำกับดูแลแล้ว แต่เป็นวิธีการที่ยังไม่เหมาะสม ซึ่งจะนำไปสู่ความยุ่งยากในการปฏิบัติงานได้ ดังน้ัน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านของกองบังคับการและกองร้อยกองบังคับการ ให้เกิดผลดี และมีความแน่นแฟน้ ในการบังคับบัญชาและความคล่องตัวสูง จึงควรจัดเพื่อการปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ โดยจัดนายทหารและส่วน ปฏิบัติงานให้อยู่ด้วยกันตามความเหมาะสมของภารกิจ แล้วจึงแบ่งส่วนปฏิบัตงิ านเหล่านัน้ ให้ขึ้นกับ บก.พัน. และ ร้อย.บก. โดยพิจารณาถึงชนิดของงานในหน้าที่ ระดับ และขอบเขตในการปฏิบัติงาน ความแน่นแฟ้นในการ บงั คบั บญั ชา ตลอดจนความคลอ่ งตัวของหนว่ ยน้นั ๆ ซ่ึงมีรูปการจัดดงั น้ี กองบังคบั การและกองร้อยกองบังคับการ บก.พัน. รอ้ ย.บก. ตอน บก.พนั . ตอนทหารสื่อสาร กองพล บก.รอ้ ย ตอนซ่อมบำรงุ ยานยนตก์ องพัน ตอนการภาพ ตอนธรุ การ ตอนยทุ ธการ ตอนส่งกำลงั ตอนซ่อมบำรงุ และกำลงั พล และการขา่ ว กองพัน สายส่ือสาร รปู ที่ 5 ผงั การจัด กองบังคบั การและกองรอ้ ยกองบงั คบั การ

หนา้ 11 การจดั กองบงั คับการและกองร้อยกองบงั คบั การ เพ่อื การปฏิบัตงิ าน 2. กองบงั คับการกองพนั กองบังคับการกองพัน ประกอบด้วย ผู้บังคับกองพัน ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้บังคับทหารสื่อสารของกองพล ประกอบด้วย ผู้บังคับทหารสื่อสารของกองพล (ผบ.ส.พล.), รองผู้บังคับกองพัน, รองผู้บังคับทหารสื่อสารกองพล (รอง ผบ.ส.พล.), นายทหารฝ่ายยุทธการและการข่าว ( ฝอ.3 ), นายทหารฝ่ายส่งกำลังบำรุง ( ฝอ.4 ), นายทหาร ทหารการภาพ และนายทหารฝ่ายการเงิน กองบังคับการกองพัน จัดตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้บังคับกองพัน หรือ ผบ.ส.พล. ในด้านการบงั คบั บญั ชาและการกำกับดแู ลทางฝ่ายอำนวยการต่อหน่วยในอัตรากองพนั 3. ตอนกองบงั คบั การกองพนั ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่นายสิบ ที่จำเป็นเพื่อช่วยผู้บังคับกองพัน และฝ่ายอำนวยการของผู้บังคบั กองพนั ทหารสื่อสาร และฝ่ายอำนวยการของผู้บังคบั กองพันทหารสื่อสาร ในการปฏิบัตงิ านท้ังทางธรุ การ และการจัดการ กำลังพล ยุทธการและการฝึก และการส่งกำลังบำรุงของกองพัน เจ้าหน้าที่เหล่านี้ปฏิบัติงาน ภายใต้การควบคุม ทางการปฏิบตั ิและการกำกับดแู ลของ รองผูบ้ ังคับกองพัน (รอง ผบ.พัน.) โดยมนี ายทหารฝา่ ยอำนวยการ ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ช่วย คือ นายทหารฝ่ายธุรการและกำลังพล นายทหารฝ่ายยุทธการ นายทหารฝ่ายส่งกำลังบำรุง นายทหารฝ่ายการเงิน เจ้าหน้าที่ในตอนนี้ ประกอบด้วยนายสิบกำลังพล นายสิบยุทธการและการข่าว นายสิบ ส่งกำลัง ชา่ งเขียนแบบ เสมยี น และเสมียนการเงิน 4. ตอนทหารส่ือสารกองพล 4.1 ตอนทหารสื่อสารกองพล ประจำอยู่ที่ บก.พล. ตอนนี้ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ นายสิบที่จำเป็น เพ่ือ ชว่ ยเหลอื ผบ.ส.พล. ในการปฏบิ ตั ิงาน เจา้ หนา้ ทเ่ี หลา่ นป้ี ฏิบัตงิ านภายใต้การควบคุมทางการปฏิบัติและการกำกับ ดูแลของ รอง ผบ.ส.พล. ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยโดยตรงของ ผบ.ส.พล. ในการกำกับดูแลการปฏิบัติการสื่อสาร ทงั้ ปวงของกองพล เจา้ หนา้ ท่ใี นตอนนี้ ประกอบดว้ ย นายสบิ สอื่ สาร และเสมียน 4.2 พันธกจิ นอกจากท่ีไดก้ ลา่ วมาแล้ว ตอนทหารส่ือสารกองพล ยงั มคี วามรับผิดชอบในเรื่องตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 4.2.1 การผลิตและการแจกจา่ ยคำแนะนำการสือ่ สารประจำ (นสป.), คำแนะนำปฏิบตั ิการ สื่อสาร (นปส.) 4.2.2 จดั ทำคำส่ัง/แผน บางส่วนของขอ้ 4 (การช่วยรบ) ซง่ึ เก่ยี วกบั การสอื่ สาร และ ข้อ 5 ของคำส่งั / แผนยทุ ธการของกองพล รวมท้ังผนวกการสื่อสารประกอบคำสงั่ /แผนยทุ ธการของกองพล 5. กองรอ้ ยกองบงั คับการ กองร้อยกองบังคับการ จัดตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติงานทางด้านธุรการ การส่งกำลัง การเลี้ยงดู ให้แก่ กองพัน นอกจากนี้ยังปฏบิ ัติงานดังต่อไปนี้ 5.1 บรกิ ารส่งกำลงั และซอ่ มบำรุงสนับสนนุ โดยตรงสายสอ่ื สารแก่เครื่องมือสอ่ื สารของกองพล 5.2 บริการภาพน่ิง รวมท้ังการลา้ ง อัด ขยาย ภาพนง่ิ (ขาวดำ)

หน้า 12 5.3 ดำเนินการซ่อมบำรุงยานยนต์ของกองพนั เปน็ ส่วนรวม 6. กองบงั คับการกองร้อย กองบังคับการกองร้อยเป็นผู้จัดงานบังคับบัญชาควบคุมและประสานงานของกองร้อย งานของ กองบังคบั การกองร้อย ไดแ้ ก่ การบังคบั บญั ชาตอนต่าง ๆ ของกองรอ้ ย ดำเนนิ งานทางด้านธุรการ การสง่ กำลังของ กองรอ้ ย และการเลี้ยงดใู ห้แก่กองพัน การซ่อมอาวุธข้ัน จำหนา่ ยของกองพนั เจา้ หน้าทใ่ี นกองบังคบั การกองร้อยนี้ ประกอบด้วย ผบ.ร้อย, รอง ผบ.ร้อย, จ่ากองร้อย, ช่างอาวุธ, นายสิบสูทกรรม, พลสูทกรรม, เสมียนธุรการ นายสบิ สง่ กำลงั และนายสบิ พยาบาล 7. ตอนซอ่ มบำรงุ ยานยนตก์ องพนั ประกอบด้วย นายสิบยานยนต์, ช่างยานยนต์ล้อ, ผู้ช่วยช่างยานยนต์ล้อ และเครื่องอุปกรณ์ในการ ซ่อมบำรุงประจำหน่วยสำหรับยานยนต์ทั้งกองพัน เจ้าหน้าที่ของตอนซ่อมบำรุงยานยนต์ มีนายทหาร ซ่อมบำรุง ยานยนตข์ องกองพัน เปน็ ผูบ้ ังคบั บญั ชา 8. ตอนซ่อมบำรงุ สายสอื่ สาร 8.1 ตอนน้มี ี นายสบิ , พลทหาร และเครือ่ งอุปกรณ์ตามความจำเปน็ เพอื่ บรกิ ารการส่งกำลังโดยทำการ จัดหา เก็บรักษา แจกจ่าย ยุทโธปกรณ์สายสื่อสารให้กับหน่วยต่าง ๆ ของกองพล และหน่วยที่มาสมทบ นอกจากนั้นยังปฏิบัติงานในเรื่องการซ่อมบำรุงประเภทการซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง สายสื่อสารแก่บรรดา เครื่องมือสื่อสารของกองพลอีกด้วย ตลอดจนทำการตรวจสอบทางเทคนิคต่อเครื่องสื่อสารของหน่วยต่าง ๆ ใน กองพลและหน่วยทมี่ าสมทบ 8.2 โดยทัว่ ไปตอนซ่อมบำรุงสายสือ่ สาร จดั เป็นหนว่ ยปฏิบัตงิ านหน่วยเดียว ปฏบิ ตั ิงานที่ บก.พัน.ส.พล. แต่อาจจะจัดเจ้าหน้าที่ซ่อมบางส่วนให้ไปสนับสนุน กรมทหารราบ หรืออาจจะจัดชุดซ่อมเคลื่อนที่ โดยใช้รถซ่อม ทม่ี อี ย่ใู นอัตรา 3 คนั ไปทำการตรวจทางเทคนิคและซ่อมเคลอื่ นที่ในพน้ื ที่ของกรมก็ได้ 8.3 เจา้ หน้าท่ีในตอนนป้ี ระกอบด้วย หวั หนา้ ตอน เสมยี นสง่ กำลงั สายส่ือสาร หวั หนา้ ช่างช่างซอ่ ม ช่างซ่อมเครื่องคลื่นพาห์ ช่างซ่อมโทรศัพท์ ช่างซ่อมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เสมียนพลคลัง ซึ่งปฏิบัติงานภายใต้การ บงั คบั บัญชาของนายทหารซอ่ มบำรุงสายสอื่ สาร 9. ตอนการภาพ ตอนการภาพทำการถ่ายภาพนิ่ง การล้าง อัดขยายภาพนิ่ง ให้แก่กองพล เครื่องมือตามอัตราได้แก่ กล้องถ่ายภาพน่ิง และห้องล้างภาพนิง่ เคลื่อนที่ เพื่อล้างฟิล์มให้แก่หน่วยตา่ งๆ ของกองพล กิจกรรมต่างๆ ที่ได้รับ การสนับสนุน ตอนการภาพนี้ไม่มีขีดความสามารถที่จะล้างฟิล์มภาพสี เจ้าหน้าที่ในตอนนี้ประกอบด้วย หัวหน้าตอน ช่างถ่ายภาพนิ่ง และนายสิบห้องล้างภาพซ่ึงปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของนายทหาร การภาพ

หน้า 13 ตอนท่ี 2 หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของนายทหารใน บก. และ ร้อย บก. 10. หน้าที่ ผบ.ส.พล. ก. ทำประมาณการสื่อสาร ข. ทำแผนการสอื่ สาร ค. อำนวยการทำ นปส., นสป. และ รปจ.การสอื่ สาร ง. เสนอแนะ ผบ.พล. และฝา่ ยอำนวยการในเรื่องเกย่ี วกบั การส่ือสาร จ. จดั ทำคำแนะนำทางเทคนิคให้แก่ ผบ.ส.พล. ฝา่ ยอำนวยการ และนายทหารฝ่ายการสื่อสารของ หนว่ ยที่เก่ียวขอ้ งกับการใช้เครือ่ งมือสอื่ สาร ฉ. ตรวจเครอ่ื งมอื ส่ือสารทางเทคนคิ ช. กำกับดูแลระบบการสือ่ สารของหนว่ ยรอง ซ. สนธิระบบการสื่อสารสำหรับกองพล ฌ. อำนวยการให้สว่ นตา่ งๆ ของ พนั .ส.พล. ปฏิบัตงิ าน ญ. อำนวยการกจิ การภาพในกองพล ฎ. ควบคุมการสง่ กำลังสายส่ือสารในกองพล ฏ. อำนวยการกิจการซ่อมบำรุงประเภทการซอ่ มในสนามสายสือ่ สารของกองพล ฐ. อำนวยการและกำกับการฝึกการสื่อสารของ พนั .ส. ฑ. กำกับการฝกึ การส่ือสารของหนว่ ยรองทางเทคนิค ฒ. ทำแผนการฝึกเจา้ หนา้ ทเ่ี พ่อื การต่อต้านการรบกวนทางวิทยขุ องข้าศึก ณ. กำกบั ดูแลการรักษาความปลอดภัยทางการส่ือสารในระบบการสอื่ สาร ด. วางแผนการสอื่ สารและการส่งกำลงั สายส่อื สารเพื่อสนองความต้องการของผ้บู ังคบั บัญชา ต. ใหข้ ้อเสนอแนะในการจัดหาเจา้ หน้าท่ีสื่อสารและหน่วยส่อื สาร ถ. อำนวยการใหม้ ีการบนั ทึกและรายงานอยูต่ ลอดเวลา ท. อำนวยการเกีย่ วกบั กจิ การทางธุรการของ บก.พัน. และตอน บก.พนั . ป. ตรวจท่ตี ้งั ทางการสอ่ื สารให้มีความปลอดภัยเพยี งพอ 11. หนา้ ที่ ผบ.พัน. ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ผู้บังคับกองพันปฏิบัติพันธกิจสองประการ คือ เป็น ผบ.ส.พล. และ ผบ.พัน.ส. ในฐานะทเ่ี ปน็ ผบ.พนั .ส. จะส่ังการต่อฝา่ ยอำนวยการจดั ทำ รปจ. และคำสง่ั ตามภารกจิ (MISSION TYPE ORDER) เพื่อให้กองร้อยต่างๆ ของกองพันปฏิบัติการได้ การควบคุมตามปกตินั้น คงกระทำผ่านตามสาย การบังคับบัญชา ส่วนคำแนะนำทางเทคนิคบางอย่าง เช่น การแบ่งมอบและการเปลี่ยนแปลงวงจร การกำหนดและการเปลี่ยนแปลง

หน้า 14 ความถี่วิทยุ การปรับสิ่งต่าง ๆ ให้เหมาะกับระบบการสื่อสาร และคำแนะนำเกี่ยวกับการสื่อสาร ในลักษณะ เดียวกันนั้น ฝ่ายอำนวยการที่รับผิดชอบอาจจะส่งโดยตรงไปยังส่วนปฏิบัติงานของกองพัน คำแนะนำเหล่าน้ี คือ การควบคุมทางเทคนิค และผู้บังคับกองพันควรจะต้องอธิบายให้แจ่มแจ้งไว้ใน รปจ. ของกองพันทหารสื่อสาร ในการปฏบิ ตั ิพันธกจิ ทางการบงั คับบัญชาใหเ้ ปน็ ผลสำเรจ็ ผู้บังคับกองพนั จะต้องดแู ลในเรอื่ งต่อไปน้ี 11.1 การกำลังพล ขวัญ วินยั 11.2 งานธรุ การและเคหรกั ษ์ (HOUSE KEEPING) 11.3 เรื่องการส่งกำลังบำรุง 12. หนา้ ที่ รอง ผบ.พนั .ส. 12.1 ทำการแทน ผบ.พัน.ส. เม่ือ ผบ.พัน.ส. ไมอ่ ยู่ 12.2 เปน็ หัวหน้าที่ปรึกษาและมหี น้าท่ีประสานเรื่องราวตา่ งๆ อนั เกย่ี วกับประสิทธิภาพของกองพัน 12.3 เรื่องอ่ืนๆ ตามที่ ผบ.พัน. มอบหมาย 12.4 กำกับดูและทางธรุ การของกองพัน 12.5 เขียน รปจ. ของ บก.พนั . และ ตอน บก.พัน. 13. หน้าที่ รองผู้บงั คบั ทหารส่ือสารกองพล พันธกิจของรองผบู้ งั คบั ทหารส่ือสารกองพลมีหนา้ ทเ่ี ป็นผชู้ ่วยเหลอื และใหข้ ้อเสนอแนะแก่ ผบ.ส.พล. 13.1 ช่วย ผบ.ส.พล. ในการวางแผนการสอ่ื สารในอนาคตของกองพล 13.2 รบั ผิดชอบในการทำเอกสาร รปจ. ของตอน รปจ.สอ่ื สาร นปส., นสป. และคำส่ังการสอ่ื สารอื่น ๆ ในการอำนวยการของ ผบ.ส.พล. 13.3 อำนวยการในการสนธเิ คร่อื งอปุ กรณ์การสื่อสารทัง้ ปวงในกองพล 13.4 เตรยี มผนวกการสื่อสารประกอบคำส่ังยุทธการของกองพล 13.5 ทำหน้าที่เปน็ หัวหนา้ ชุดของส่วนสือ่ สารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ของ ศปย.พล. เมือ่ จัดต้งั ขึ้น 13.6 รบั ผิดชอบการปฏิบัติงานของตอนทหารสื่อสารกองพล 13.7 กำกบั การบนั ทึกและรายงานตา่ งๆ เป็นประวัตขิ องหน่วยและรายงานหลังจากปฏิบัตงิ านแล้ว 13.8 เตรียมทำคำสง่ั ชแ้ี จงนโยบายการฝึกการส่ือสารสำหรับกองพล 13.9 ทำการแทน ผบ.ส.พล. เม่ือ ผบ.ส.พล. ไม่อยู่ 14. หน้าที่ นายทหารฝ่ายธุรการและกำลงั พล (ฝอ.1) มีความรับผิดชอบทางอำนวยการเกี่ยวกับการดำรงรักษา กำลังพลขวัญ วินัย และกฎข้อบังคับและคำส่ัง ของหน่วย นอกจากน้นั ยงั รบั ผดิ ชอบการจัดกองบงั คบั การจดั การกำลงั พล และหนา้ ท่ีเบด็ เตล็ดอน่ื ๆ 14.1 มีความรบั ผดิ ชอบโดยทางออ้ มในการทำหลักฐานและรายงานกำลงั พล รวมทั้งรายงานการสูญเสีย และการบรรจกุ ำลงั พลทดแทน หมายเหตุ โดยท่วั ไปใหน้ ายทหารธรุ การและกำลังพล (ฝอ.1) ทำหนา้ ทส่ี ่วนมากเหมือน ๆ กบั นายทหาร

หน้า 15 ฝ่ายอำนวยการ ซง่ึ ไมม่ ี ฝอ.1 อยู่ในฝ่ายอำนวยการของหน่วยทหารขนาดเล็ก 14.2 ติดตามเรื่องการเล่ือน การลด การปลด การแบ่งประเภทใหม่ และการประเมินค่ากำลงั พล แนะนำ ผู้บงั คับบญั ชาในเรอ่ื งต่างๆ เกยี่ วกบั ศาลทหารและกรรมการอื่นๆ 14.3 กำหนดทต่ี ้งั ท่แี น่นอนของกองบังคบั การ (ทก.) ภายหลังไดร้ บั ข้อเสนอเกี่ยวกบั พื้นที่ท่วั ๆ ไป จาก ฝอ.3 และ ฝอ.1 รับผิดชอบในการจัดระเบียบภายใน และความปลอดภัยของ ทก. และการแบ่งที่พัก ภายใน ทก. ด้วย 14.5 ดำรงรักษาบนั ทกึ ประจำวนั ตามนโยบายของหนว่ ย และแจ้งขอ้ มลู ท่ีเปดิ เผยใหผ้ ูเ้ กยี่ วข้องทราบ 15. หน้าท่ี นายทหารฝา่ ยยทุ ธการและการข่าว (ฝอ.3) เป็นฝ่ายอำนวยการของ ผบ.พัน.ส. มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการฝึก และรายงานทางยุทธการของ พัน.ส. ซ่ึงได้แก่ 15.1 ช่วยเหลอื ผบ.พนั .ส. ในการทำคำส่งั ท่ีเกีย่ วกับงานทางดา้ นยทุ ธการและการฝกึ ของ พนั .ส. 15.2 ปรับปรุงการสอื่ สารของพัน.ส.พล. ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพดีย่งิ ขึ้น 15.3 วางแผนการเคลอ่ื นยา้ ยของพัน.ส.พล. ในระหวา่ งการฝกึ การยทุ ธ 15.4 วางแผนเพือ่ ฝกึ ชดุ ปฏบิ ตั ิงานและการฝึกของหน่วย 15.5 รายงานให้ ผบ.พนั .ส. ทราบถึงสถานการณฝ์ กึ ตา่ งๆ การเปลีย่ นแปลงคำสง่ั และคำช้แี จงในเร่อื ง เกี่ยวกบั การฝึก 15.6 ให้ขอ้ เสนอแนะถงึ ลำดับความเร่งด่วนในการบรรจุเจา้ หนา้ ท่ี และยทุ โธปกรณภ์ ายในหนว่ ย 15.7 อำนวยการ กำกบั การ ใหบ้ นั ทกึ สถานภาพการส่ือสาร แผนภาพแสดงข่ายการสื่อสารใหท้ ันสมัย อยู่เสมอ 15.8 รับรองสำเนาคำสัง่ ปฏิบัตกิ ารสอื่ สารของหนว่ ยทหารสือ่ สาร 16. หนา้ ที่ นายทหารฝ่ายสง่ กำลังบำรุง (ฝอ.4) มีความรับผิดชอบทางการอำนวยการในเรื่องการวางแผน การประสาน และการกำกับดูแลการปฏิบัติ ของกิจการส่งกำลังบำรุงต่างๆ ความรับผิดชอบหลักของ ฝอ.4 ได้แก่ การส่งกำลัง การขนส่ง และการซ่อมบำรุง ไดแ้ ก่ 16.1 ทำประมาณการ การส่งกำลังบำรงุ และบางส่วนของแผนและคำส่ัง 16.2 รับผดิ ชอบในเรอื่ งที่ต้งั การทำงาน และความปลอดภยั ภายในทต่ี งั้ การสนบั สนุนต่างๆ ของหน่วย 16.3 กำกับดแู ลหน้าท่ที ง้ั ปวงในทางส่งกำลงั บำรุง 16.4 ทำแผนควบคุมความเสยี หายเป็นพื้นท่ีของหน่วย ฝอ.4 สนธแิ ผนความเสียหายเปน็ พน้ื ท่ีของหนว่ ย เขา้ กบั แผนของหนว่ ยเหนือ 17. หนา้ ท่ี นายทหารซ่อมบำรงุ สายส่ือสาร

หน้า 16 รับผิดชอบ ผบ.ส.พล. ในเรื่องการปฏิบัติการของตอนซ่อมบำรุงสายสื่อสาร และรับผิดชอบต่อ ผบ.ร้อย.บก. ในเรื่องสวสั ดกิ ารของเจ้าหน้าทใี่ นทางธุรการของตน โดยท่วั ไป และจะต้องมหี นา้ ท่ี 17.1 จัดทำ รปจ. ของตอนซ่อมบำรุงสายสือ่ สาร 17.2 เตรียมจัดทำแผนการสง่ กำลังสายสอื่ สาร และการสง่ กำลังเพ่มิ เติมให้แก่กองพล 17.3 เตรียมแผนและอำนวยการซ่อมบำรุงขั้นสนามสายสื่อสารให้กับกองพล 17.4 ประสานงานกับตำบลส่งกำลงั สายสื่อสารของหน่วยเหนือ และหน่วยสนบั สนุนการซอ่ มบำรุง สายสอื่ สาร 17.5 วางระเบยี บการเสนอใบเบิกของหนว่ ยต่าง ๆ และอำนวยการรวบรวมเสนอหน่วยเหนอื 17.6 อำนวยการให้มกี ารบนั ทกึ เก่ยี วกับการรับและจา่ ยเครื่องมือส่อื สารและอปุ กรณ์สายสื่อสาร 17.7 อำนวยการรบั เกบ็ รักษา ซอ่ มบำรุง และแจกจา่ ยอุปกรณ์สายสื่อสาร 17.8 อำนวยการตรวจ และการสำรวจอุปกรณ์สายสอ่ื สาร 17.9 ประสานกับ ผบ.พัน. และ ผบ.ร้อย.บก. ในเรื่องการเคล่ือนย้ายตอน 17.10 ประสานงานอยา่ งใกล้ชดิ กบั นายทหารส่งกำลงั ของ นขต. กองพล 17.11 อำนวยการจดั ทำและเสนอรายงานส่งกำลงั บำรงุ และซอ่ มบำรุงสายสือ่ สาร ตามทีห่ นว่ ยเหนือ ตอ้ งการ 17.12 จดั การรกั ษาความปลอดภัยของตอนส่งกำลงั และซ่อมบำรงุ 17.13 เสนอแนะเกี่ยวกับทีต่ ้งั ของรถซ่อม 17.14 เตรยี มแผนการซอ่ มบำรุงในสนามสายส่ือสารเพ่อื สนับสนนุ หน่วยต่างๆ 17.15 อำนวยการทำใบเบกิ สง่ิ อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการซ่อมบำรงุ 17.16 อำนวยการรับ-เก็บ-ทำบญั ชีคุม และแจกจา่ ยอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการซอ่ มบำรุงให้กบั ช่างซอ่ ม 17.17 ดำเนนิ การให้มนั่ ใจได้วา่ สิ่งอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการซ่อมบำรงุ มอี ยู่ตามระดบั ท่ีไดร้ ับอนุมตั ิ 17.18 อำนวยการรับ-ซอ่ มบำรงุ และส่งเคร่ืองสอื่ สารกลับไปยังหนว่ ยใช้ 17.19 ตรวจตราการซ่อมบำรุงสายสื่อสารให้ไดผ้ ลเปน็ ทพี่ งึ พอใจ 17.20 ดำเนินการสง่ เคร่ืองสอื่ สารที่เกินขั้นการซอ่ มบำรงุ ของตน กลบั ไปขา้ งหลังโดยไมช่ กั ช้า 17.21 แจ้งให้ ฝอ.4 และ ฝสส. ของหนว่ ยทราบสถานภาพยุทโธปกรณส์ าย ส. ต้องสง่ ซ่อมข้ันสงู กวา่ 17.22 กำกับการบันทึกและรายงานการซ่อม 17.23 ตรวจทางเทคนิคต่อยุทโธปกรณส์ าย ส. ของกองพล ในความอำนวยการของ ผบ.ส.พล. 17.24 ประสานงานทั้งทางปฏบิ ตั ิ และธรุ การกบั นายทหารฝา่ ยส่งกำลงั บำรุง (ฝอ.4) 17.25 ทำบนั ทึกอัตราการสูญเสียของยทุ โธปกรณ์สาย ส. และสิ่งอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการซอ่ ม 17.26 วางระเบยี บปอ้ งกันอุบตั ิเหตจุ ากเพลงิ ไหม้และอันตรายอน่ื ๆ 17.27 ประสานงานทางธรุ การกบั ผบ.ร้อย.บก. 17.28 ควบคุมให้มกี ารใช้สง่ิ อุปกรณโ์ ดยประหยดั

หนา้ 17 20. หนา้ ที่ นายทหารยานยนต์ รบั ผดิ ชอบในเร่อื งการปฏิบัติการของแหลง่ รวมรถของกองพัน หน้าทโี่ ดยทว่ั ไปมดี ังนี้ 20.1 จัดทำ รปจ. ของตอน 20.2 อำนวยการฝกึ พลขับ ทั้งขน้ั ตน้ และทางยทุ ธวิธี 20.3 อำนวยการฝกึ ชา่ งยานยนต์ข้นั ต้นทางเทคนิคและข้นั สงู 20.4 กำกบั การซ่อมบำรุงยานยนตท์ างเทคนคิ ในกองพัน 20.5 ประสานกับนายทหารฝ่ายสง่ กำลงั บำรงุ เรอ่ื งตำบลจา่ ย และโรงงานซอ่ มสาย สพ. ตลอดจน คลังน้ำมนั ของพลาธกิ าร 20.6 ดแู ลให้มนี ้ำมนั เช้อื เพลิงหลอ่ ลนื่ ในสว่ นต่าง ๆ ของกองพนั อยา่ งเพียงพอ 20.7 ทำการตรวจซ่อมยานยนต์ของ พัน.ส.พล. ตามห้วงเวลาการปรนนิบัติบำรุง แล้วรายงานผล การตรวจพรอ้ มขอ้ เนอแนะตา่ งๆ ให้กองรอ้ ยตา่ ง ๆ และ ผบ.พัน. ทราบ 20.8 ตรวจตราใหม้ ชี น้ิ สว่ นอะไหลข่ องยานยนตอ์ ยูใ่ นระดบั อัตราอยเู่ สมอ 20.9 อำนวยการซ่อมบำรงุ ประจำหน่วย ณ แหลง่ รวมรถ 20.10 ตรวจการปฏิบตั กิ ารซ่อมบำรงุ ของช่างยานยนตข์ องหนว่ ย 20.11 ควบคุมการใชย้ านยนต์ของ พนั .ส.พล. ใหเ้ รียบรอ้ ย 20.12 ดูแลใหย้ านยนต์ได้หมุนเวียนเขา้ มารบั การซอ่ มบำรุงตามกำหนดเวลา 20.13 เตรยี มแผนการเคล่ือนย้าย พัน.ส.พล. ด้วยยานยนต์ 20.14 เป็นนายทหารควบคุมการจราจรของกองพนั ในระหว่างการเคลอ่ื นย้ายดว้ ยยานยนต์ 20.15 อำนวยการทำบนั ทึกและรายงาน 20.16 วางระเบยี บกวดขนั ป้องกนั อันตรายอันอาจจะเกิดจากเพลงิ ไหม้ อบุ ัติเหตุ และอนั ตรายจาก สง่ิ อนื่ ใด และให้แน่ใจว่าพลขับทุกนายมีใบขับขีโ่ ดยถกู ต้อง 21. หน้าท่ี นายทหารการภาพ รับผิดชอบตอ่ ผบ.ส.พล. ในเรอ่ื งการปฏบิ ัติงานของตอนการภาพ และรบั ผิดชอบต่อ ผบ.รอ้ ย.บก. ในเร่อื งสวัสดกิ ารของเจ้าหน้าท่ี ตลอดจนงานทางดา้ นธรุ การด้วย โดยทัว่ ไปมหี น้าทด่ี งั น้ี 21.1 จดั ทำ รปจ. ของตอนการภาพ 21.2 ประสานการเลอื กทีต่ งั้ ของตอนการภาพ 21.3 เปน็ ทปี่ รกึ ษาเทคนิคในดา้ นการภาพของ ผบ.ส.พล. 21.4 ต้องทราบสถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ีของหนว่ ยโดยประสานกับ ผบ.ส.พล. โดยใกล้ชดิ 21.5 ประสานกบั นายทหารฝา่ ยข่าวกรองของกองพลในเรื่องการภาพทางอากาศและทางยุทธวธิ ี 21.6 อำนวยการมอบงานใหแ้ ก่ชา่ งภาพ 21.7 ประสานกบั นายทหารฝา่ ยข่าวกรองของกองพล ในเรอ่ื งกจิ การภาพท่จี ะสง่ ใหห้ นว่ ยต่างๆ

หน้า 18 21.8 ประสานกับนายทหารฝา่ ยกำลังพลของกองพล ในเรือ่ งบัตรรปู ถา่ ย ของเจ้าหน้าท่ใี นกองพล และ ของเชลยศึก 21.9 ดำรงการติดตอ่ กับชา่ งภาพในสนามดว้ ยการพบปะ หรือผา่ นนายทหารการข่าวกรองของหนว่ ยน้ันๆ 21.10 เสนอแนะตอ่ ผบ.ส.พล. และ ผบ.รอ้ ย บก. เกยี่ วกบั การเคลอื่ นย้ายของตอนการภาพ 21.11 กำกับดแู ล เตรยี มงานซอ่ มบำรุง เสนอบนั ทึกและรายงานเก่ยี วกับการภาพทีจ่ ำเป็น 21.12 ดำรงการประสานกบั ผบ.ร้อย.บก. ใหท้ ราบถึงความตอ้ งการ เพ่อื การมุง่ หมายท่จี ะปฏิบตั ิงาน อย่เู สมอ 21.13 ออกระเบยี บข้อบังคบั ของตอน เพื่อควบคมุ การใช้อุปกรณ์ให้ไดผ้ ลคุ้มค่า และประหยดั 21.14 การประชาสมั พันธข์ องกองพล 22. หนา้ ที่ นายทหารฝา่ ยการเงิน โดยทั่วไปมีหน้าที่อำนวยการและประสานการจ่ายเงิน และการทำบัญชีของหน่วยขึ้นตรงกองพล หรือ เทียบเท่าขึ้นไป และทำหน้าที่เป็นผู้ให้คำแนะนำต่อผู้บังคับบัญชาในเรื่องทั้งปวงเกี่ยวกับการเงิน และเรื่องราว เก่ยี วกบั เจา้ หน้าทก่ี ารเงนิ ของหน่วยการเงิน หนา้ ท่เี ฉพาะมีดงั ตอ่ ไปนี้ 22.1 ปฏิบตั ิการทำบญั ชีเงนิ ท้ังปวงของทางราชการ ตลอดจนบัญชีเงนิ ของกิจการตา่ งๆ ซ่ึงส่วนราชการ นนั้ ๆ เป็นผู้รบั ผิดชอบดำเนินการ 22.2 ควบคุม ตรวจสอบ การรบั -จ่ายเงิน 22.3 ควบคุม เก็บรักษาเงนิ หลกั ฐานการเงินและการบัญชี 22.4 อำนวยการเกย่ี วกบั การรับ-จา่ ยเงินราชการ และเงินทุกประเภทที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ย 22.5 ใหค้ ำแนะนำในเร่ืองการใชเ้ งินราชการ 22.6 ประสานงานกับฝ่ายอำนวยการอืน่ ๆ ในเร่ืองท่เี ก่ยี วข้องกบั ด้านการเงิน 22.7 ใหค้ ำแนะนำชว่ ยเหลือทางวิชาการ กำกับดูแลการปฏิบตั ิหนา้ ที่เกีย่ วกับการเงิน ตลอดจนการ บัญชีของหน่วย โดยใหส้ อดคล้องกับนโยบายของทางราชการ 22.8 รวบรวม วิเคราะห์และสรปุ รายงานกจิ การเงินท้ังปวงตามทที่ างราชการกำหนด 22.9 พิจารณาแก้ไข ปรบั ปรุง ตามคำแนะนำและข้อทักท้วงของเจ้าหนา้ ทต่ี รวจกจิ การเงินและบัญชเี งิน 23. หนา้ ท่ี ผบ.ร้อย บก. โดยทั่วไปแล้ว ผบ.ร้อย.บก. รับผิดชอบต่อ ผบ.พัน.ส. ในการสนับสนุนกำลังพลที่ปฏิบัติงานในส่วนต่างๆ ของ บก. และ ร้อย บก. การเคหรักษ์ เพื่อเปิดโอกาสให้ฝ่ายอำนวยการเกี่ยวข้องกับการเคหรักษ์แต่น้อยที่สุด รวมทั้งการบริการและสนับสนุนด้านการส่งกำลังบำรุงให้ส่วนต่างๆ เหล่านั้นสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ส่วนการสนับสนุนทางดา้ นสทู กรรมใหบ้ รกิ ารเปน็ ส่วนรวมทัง้ กองพัน หนา้ ทีต่ ่างๆ มีดงั น้ี 23.1 อำนวยการทำ รปจ. ของกองรอ้ ย 23.2 อำนวยการในเรื่องการสง่ กำลังซอ่ มบำรงุ ยานยนต์ สูทกรรมและกจิ กรรมทางธุรการอื่นๆ

หน้า 19 23.3 อำนวยการในเรอ่ื ง การฝกึ ศึกษา การกีฬา และขวัญ 23.4 อำนวยการและกำกับการฝึกในเรอ่ื งทรี่ บั ผดิ ชอบ 23.5 จดั การระวงั ปอ้ งกนั ภายใน 23.6 ดูและให้ยทุ โธปกรณต์ ามอตั ราของส่วนปฏิบตั กิ ารต่างๆ อยู่ในสภาพท่ใี ชง้ านได้ 23.7 ประสานการปฏบิ ตั กิ บั กองรอ้ ยตา่ งๆ ใน พนั .ส.พล. เพื่อจัดเจ้าหนา้ ทใี่ ห้พอเพยี งแกก่ ารปฏิบัตงิ าน 23.8 ใหม้ ่นั ใจว่า มีการปรนนิบัตบิ ำรงุ ยุทโธปกรณ์ใน พนั .ส.เปน็ ประจำ 23.9 จัดทำเสนอบันทึกและรายงานตามความต้องการของหนว่ ยเหนอื 23.10 ติดต่อกบั ผบ.ส.พล. ตลอดเวลา 23.11 ตรวจตราให้เจา้ หนา้ ท่ไี ด้รบั เครือ่ งแต่งกาย การเลี้ยงดู และการปอ้ งกนั อนั ตรายอย่างถูกตอ้ ง 23.12 แบง่ พืน้ ทีพ่ ักแรมใหแ้ กส่ ว่ นตา่ งๆ ของ พัน.ส. และของ รอ้ ย.บก. 23.13 แจ้งเรือ่ งราวทางธรุ การใหน้ ายทหาร นายสิบ ใน พัน.ส. ทราบ 23.14 ควบคมุ ให้มีการใชส้ ่งิ อปุ กรณโ์ ดยประหยัด 24. หน้าที่ รอง ผบ.ร้อย บก. เป็นผู้ช่วยเหลือ ผบ.ร้อย. ในทางธุรการ โดยทั่วไปรับผิดชอบในเรื่องการส่งกำลังกองร้อย การเลี้ยงดู ทำหน้าทแี่ ทน ผบ.ร้อย. เมื่อ ผบ.ร้อย. ไมอ่ ยู่ โดยท่ัวไปมหี นา้ ท่ี 24.1 ทำ รปจ. ของกองรอ้ ย 24.2 วางแผนการสง่ กำลงั และการเบกิ ทดแทนการสะสมและการแจกจา่ ย 24.3 ตรวจสภาพการส่งกำลังและยทุ โธปกรณ์ทใ่ี ชง้ านได้เทา่ ทม่ี ีอยู่ ทำรายงานเสนอแนะเก่ียวกบั ผล การตรวจตอ่ ผบ.ร้อย. 24.4 ตรวจสอบหลักฐานการเบิกจ่ายอปุ กรณ์ของกองร้อย 24.5 ตรวจและรักษาบัญชีพสั ดุของกองร้อย 24.6 ตรวจสอบการเขยี นใบเบิกต่างๆ ของกองรอ้ ย 24.7 อำนวยการเกีย่ วกับพืน้ ทก่ี ารส่งกำลังโดยทวั่ ไป 24.8 กำกบั ดแู ลการปฏบิ ตั ิงานธุรการของกองร้อย 24.9 ตรวจสอบการรับเสบียงตา่ งๆ 24.10 ปฏิบัติงานดา้ นธุรการอ่นื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมายจาก ผบ.ร้อย. 24.11 ควบคุมใหม้ กี ารใช้ส่ิงอุปกรณโ์ ดยประหยดั

หน้า 20 กองพันทหารส่อื สารกองพล อัตราการจัดและยทุ โธปกรณ์ หมายเลข 11 - 35 (25 ก.ค.27) ทค่ี วรทราบ หน่วย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เคร่อื งมอ่ื สื่อสารและ ยทุ โธปกรณ์ทจ่ี ำเป็น กองบังคับการ ผบู้ งั คับกองพัน พ.ท. (1) กองพัน รอง ผบู้ ังคบั กองพัน พ.ต. (1) รอง ผู้บงั คับกองพนั พ.ต. (1) ทหารสือ่ สารกองพล นายทหารฝ่ายธรุ การ และกำลงั พล ร.อ. (1) นายทหารฝ่ายยทุ ธการ และการขา่ ว พ.ต. (1) ผู้ช่วยนายทหารฝา่ ย ยทุ ธการและการข่าว ร.อ. (1) นายทหารฝา่ ยการสง่ กำลังบำรุง ร.อ. (1) ผู้ชว่ ยนายทหารฝ่าย ส่งกำลังบำรงุ ร.อ. (1) นายทหารยานยนต์ ร.อ. (1) นายทหารซ่อมบำรุงสายสือ่ สาร ร.ท. (1) นายทหารการภาพ ร.ท. (1) นายทหารฝ่ายการเงิน เหล่า กง. ร.อ. (1) กองบังคบั การ ผบู้ ังคบั กองรอ้ ย ร.อ. (1) รยบ.1/4 ตนั (1) กระโจมทบี่ งั คับการ (2) กองร้อย รอง ผบ.ร้อย ร.ท. (1) รยบ.2 1/2 ตนั กระโจมทัว่ ไปขนาดกลาง (3) จา่ กองร้อย จ.(พ) (1) สัมภาระ (2) กระโจมใช้ประกอบอาหาร (2) ชา่ งอาวุธ จ. (1) รยบ.2 1/2 ตนั แผ่นผ้าสัญญาณหมายหน่วย (2) นายสบิ สทู กรรม จ. (1) มกี ว้าน (1) ถงั ใส่อาหารชนดิ เกบ็ ความรอ้ นได้ (12) พลสูทกรรม ส.อ. (3) รถพ่วง 1/4 ตนั ชุดเลี้ยงดูทหาร (3) รถพว่ ง 1 ตัน พลสูทกรรม ส.ต. (3) สมั ภาระ (2) ชุดเคร่ืองมือสูทกรรม (9) พลสูทกรรม พลฯ (16) รถพ่วง 1 ตนั

หน้า 21 หนว่ ย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เคร่ีองมอื ส่ือสารและ ตอน บก.พัน. ยุทโธปกรณท์ จี่ ำเปน็ ตอนทหารสอื่ สาร เสมียนธุรการ ส.อ. (1) (บรรทุกน้ำ) (1) กองพล ตอนซ่อมบำรงุ ทหารบริการ พลฯ (13) ยานยนต์กองพัน นายสบิ สง่ กำลัง จ. (1) รยบ.1/4 ตนั (1) ชดุ วทิ ยุ AN/VRC-47 (1) ตอนซ่อมบำรงุ สายส่อื สาร นายสิบยทุ ธการและการข่าวจ.(พ) สัมภาระ (2) เครื่องบงั คบั ไกล จ. (พ) (1) AN/GRA-39 (1) นายสิบส่งกำลงั จ. (1) ชุดสายอากาศ RC-292 (1) ช่างเขยี นแบบ จ. (1) เคร่อื งตรวจทนุ่ ระเบิด (1) เสมียน ส.อ. (1) กระโจมทบ่ี ังคบั การ (1) เสมยี นการเงิน จ. (1) เครอ่ื งเขยี นแบบชุดกองพนั ภาพสงั เขปและแผน่ บริวาร (1) นายสบิ สื่อสาร จ.(พ) (1) รยบ. 1/4 ตนั (1) เสมยี น ส.อ. (1) รถพ่วง 1/4 ตนั (1) สมั ภาระ นายสบิ ยานยนต์ จ.(พ) (1) รยบ.2 1/2 ตัน (1) เครอื่ งมอื ชดุ ช่างท่ัวไป (6) ช่างยานยนต์ลอ้ จ. (2) มกี ว้าน เครื่องมอื ชุดซ่อมบำรงุ ส.อ. (4) หมายเลข 1 (1) ผช.ชา่ งยานยนต์ลอ้ ส.ต. (1) เครื่องมอื ชดุ ช่างเช่อื ม (1) พลฯ (3) เครือ่ งมอื ชุดช่างท่วั ไป (6) หน.ตอน จ.(พ) (1) รยบ.1/4 ตนั วิทยุ AN/ARC-73 (1) เสมยี นสง่ กำลังสาย ส. ส.อ. (4) สมั ภาระ (1) วิทยุ AN/ARC-131 (1) หวั หนา้ ชา่ ง จ.(พ) (1) รยบ.2 1/2 ตัน วิทยุ AN/GRC-87 (2) ชา่ งซ่อมวทิ ยุ จ.(พ) (2) มีกว้าน (2) วทิ ยุ AN/GRC 106 (2) จ. (4) รถโรงงาน วทิ ยุทดแทน AN/RCC-6 (11) ส.อ. (6) 2 1/2 ตนั (3) วทิ ยุ AN/PRC-77 (10) ส.ต. (2) รถพว่ ง 1/4 ตัน(1) วิทยุ AN/VRC-12 (1) ช่างซอ่ มเคร่ืองคลืน่ พาห์ จ. (พ) (1) สมั ภาระ วทิ ยุ AN/VRC-24 (1) รถพว่ ง 1 ตัน (6) วทิ ยุ AN/VRC-34 (2) จ. (1) สัมภาระ วิทยุ AN/VRC-46 (7) ชา่ งซอ่ มโทรศัพท์ จ.(พ) (1) วทิ ยุ AN/VRC-47 (5) จ. (1) วทิ ยุ AN/VRC-49 (4)

หนา้ 22 หน่วย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครอี่ งมอื ส่ือสารและ ตอนการภาพ ยทุ โธปกรณ์ท่ีจำเปน็ กองบังคับการ เครอ่ื งรบั วิทยุ R-390/URR (1) กองร้อยวิทยแุ ละ ศนู ย์ข่าว เคร่ืองโทรศัพท์ TA-312/PT กองบังคับการ หมวดวทิ ยุ ชา่ งซ่อมเครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ กระโจมทัว่ ไปขนาดกลาง(2) ชุดวิทยุสนับสนุน ทางอากาศ จ.(พ) (1) เครอื่ งประจุไฟฟ้า ส.อ. (1) PP-34/MSM (3) เสมียน ส.อ. (1) ชุดเคร่ืองตรวจแบตเตอร่ี TS-183/U (1) หวั หนา้ ตอน จ.(พ) (1) รยบ.1/4 ตนั (1) ชดุ กล้องถา่ ยรปู KS-4 (2) ช่างถา่ ยภาพน่งิ จ. (1) รยบ.2 1/2 ตนั (1) ชุดกลอ้ งถ่ายรูป KS-15 (2) ส.อ. (2) สัมภาระ หอ้ งมืด AN/TFQ-7 (1) นายสิบล้างภาพ จ. (1) รถพ่วง 1/4 ตนั (1) เครอื่ งวดั แสง LM-46A (2) ส.อ. (1) สมั ภาระ เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า 10 KW(1) รถพ่วง 1 ตนั (1) สัมภาระ ผบ.รอ้ ย ร.อ. (1) รยบ. 1/4 ตนั (1) กระโจมที่บังคับการ (1) รอง ผบ.ร้อย ร.ท. (1) รถพว่ ง 1/4 ตนั (1) จ่ากองร้อย จ.(พ) (1) สัมภาระ เสมยี น ส.อ. (1) ทหารบรกิ าร พลฯ (1) ผู้บงั คบั หมวดวิทยุ ร.ท. (1) กระโจมทบ่ี ังคบั การ (1) พนกั งานวทิ ยุความเร็วสงู จ. (พ) (1) เครือ่ งฝึกเลขสัญญาณ ส.อ. (1) AN/GSC-T1 (1) ทหารบรกิ าร พลฯ (1) หน.ชุดวทิ ยโุ ทรพิมพ์ จ.(พ) (1) รยบ.3/4 ตนั (1) สายอากาศ RC-292 (1) สมั ภาระ เคร่ืองบังคบั วิทยุ พนักงานวิทยโุ ทรพมิ พ์ ส.อ. (3) รถพ่วง 1 ตนั (2) AN/GSA-7 (1) สมั ภาระ วทิ ยุ AN/GRC-106 (1) พนักงานวทิ ยุความเรว็ ปานกลาง วิทยุ AN/GRC-122 (1) ส.อ. (3) วิทยุ AN/GRR-5 (1) ส.ต. (1) วิทยุ AN/VRC-24 (1)

หน้า 23 หน่วย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เครอื่ งมอื ส่ือสารและ ชดุ วิทยโุ ทรพิมพ์ เคลือ่ นท่ี ยทุ ธปกรณ์ท่ีจำเป็น ชุดวทิ ยุกำลัง ปานกลาง วิทยุ AN/VRC-47 (1) (1) ชุดวทิ ยคุ วบคุม ตสู้ ลับสาย SB-22/PT (1) อากาศยาน (3) บก.มว.ศูนย์ข่าว หน.ชุดวทิ ยุโทรพิมพ์ จ. (3) รยบ.2 1/2 ตนั (3) วิทยุ AN/ARC-73 (1) ตอนอักษรลบั พนักงานวทิ ยุโทรพมิ พ์ ส.อ. (9) สมั ภาระ วิทยุ AN/GRC-122 (9) รถพ่วง 1 ตนั (3) วทิ ยุ AN/VRC-24 (2) (9) สมั ภาระ (2) (7) หน.ชดุ วิทยกุ ำลงั ปานกลาง จ. (9) รยบ. 3/4 ตัน (9) ชุดสายอากาศ RC-292 (2) สมั ภาระ ชดุ เครอื่ งบังคบั วทิ ยุ (9) (2) พนักงานวทิ ยุความเร็วปานกลาง รถพว่ ง 1 ตนั (9) AN/GSA-7 (5) (5) ส.อ.(18) สมั ภาระ วิทยุ AN/GRC-106 (5) ส.ต.(9) วิทยุ AN/GRR-5 (9) (3) วิทยุ AN/VRC-47 (2) (2) วิทยุ AN/VRC 49 (1) เครือ่ งบงั คบั ไกล (1) AN/GRA-39 ตู้สลบั สาย SB-22/PT หน.ชุดวิทยคุ วบคมุ อากาศยาน จ. (5) รยบ.3/4 ตนั (5) วิทยุ AN/ARC-73 พนกั งานวทิ ยุควบคุม ส.อ. (5) สัมภาระ วิทยุ AN/VRC-24 อากาศยาน รถพว่ ง 1 ตนั (5) วิทยุ AN/VRC-64 สัมภาระ ผบ.มว. ร.ท. (1) รยบ.3/4 ตัน (1) แผ่นผ้าสญั ญาณ นายทหารศูนยข์ า่ ว ร.ท. (1) สมั ภาระ หมายหนว่ ย ผช.นายทหารศูนย์ข่าว ร.ท. (1) รยบ.2 1/2 ตนั (1) นาฬกิ าตั้งโตะ๊ สมั ภาระ กระโจมที่บงั คับการ นายทหารการอกั ษรลับ ร.ท. (1) รถพ่วง 1 ตัน (2) กระโจมทว่ั ไปขนาดกลาง ทหารบริการ พลฯ (4) หน.ตอน จ. (1) รยบ.3/4 ตนั (1) กระโจมที่บงั คับการ นายสิบการอักษรลับ จ. (2) สมั ภาระ เคร่อื งเข้า-ถอดรหสั ส.อ. (2) รถพ่วง 1 ตนั (1) C-62 สัมภาระ

หนา้ 24 หนว่ ย ตำแหน่ง ยานพาหนะ เครือ่ งมอื สื่อสารและ ตอนนำสาร หน.ตอน ยุทโธปกรณ์ทีจ่ ำเปน็ กองบังคับการ พลนำสารยานยนต์ กองร้อยสายและ ผช.พลนำสารยานยนต์ จ. (1) รยบ.1/4 ตนั (5) กระเปา๋ ผา้ ใบใสเ่ อกสาร วิทยถุ า่ ยทอด พลนำสาร ผบ.ร้อย ส.อ. (4) สำหรับพลนำสาร (5) กองบังคับการ รอง ผบ.รอ้ ย หมวดสาย จา่ กองร้อย ส.ต.(5) เสมียน ตอนโทรศัพท์ ทหารบรกิ าร พลฯ (3) ผบู้ ังคับหมวดสาย นายสิบการสาย ร.อ. (1) รยบ.1/4 ตนั (1) กระโจมทบ่ี งั คบั การ (1) ผช.นายสบิ การสาย ทหารบรกิ าร ร.ท. (1) รถพว่ ง 1/4 ตัน(1) นายทหารโทรศัพท์ หน.การสาย จ.(พ) (1) สมั ภาระ ผช.หน.การสาย พนักงานสลบั สายโทรศัพท์ ส.อ. (1) หน.ชา่ งซอ่ มและตดิ ตัง้ พลฯ (2) โทรศพั ท์ ร.ท. (1) รยบ.1/4 ตนั (1) กระโจมทีบ่ งั คบั การ (1) พนักงานสลับสายโทรศัพท์ จ.(พ) (1) รถพว่ ง 1/4 ตนั (1) ชุดเครอ่ื งมือปอกสาย ชา่ งซ่อมและติดตั้งโทรศพั ท์ ส.อ. (1) สัมภาระ TE-33 (3) ทหารบรกิ าร พลฯ (1) สว่านเจาะดิน 8X14 นว้ิ (1) ร.ท. (1) รยบ.3/4 ตัน (2) ชุดเครือ่ งมือ TE-21 (8) จ.(พ) (1) สมั ภาระ ชดุ เครื่องมือ TE-33 (15) ส.อ. (2) รยบ.2 1/2 ตนั (1) ตะเกียงเจา้ พายุ (4) สมั ภาระ หลกั ดนิ MX148/G (3) จ. (1) รถพว่ ง 1 ตนั (3) ลอ้ สาย RL-39 (3) จ. (1) สมั ภาระ ตู้สลับสาย SB-86/P (4) เครื่องขยายโทรศัพท์กลางทาง EE-89 (10) ส.ต. (5) โทรศพั ท์ TA-312/PT (116) พลฯ (6) โทรศัพท์ TA-264/PT (10) แผงหมุด TA-125/G (20) จ. (2) ชุดเครอื่ งตรวจ TS-27/TSM ส.อ. (2) ชุดเครอื่ งมือ TE-49 (1) ส.ต. (2) สายโทรศัพท์ WD-1/TT พลฯ (2) พลฯ (1) ในล้อ DR-8 (ไมล)์ (5)

หน้า 25 หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครื่องมือส่ือสารและ ชุดสรา้ งสายเคเบิ้ล หน.ชดุ สรา้ งสายเคเบิ้ลสนาม ยุทโธปกรณท์ จ่ี ำเปน็ พลสร้างสายเคเบล้ิ สนาม จ. (2) รยบ.2 1/2 ตนั (1) ชุดเครือ่ งมือ TE-21 (6) ชดุ สร้างสายสนาม หน.ชุดสรา้ งสายสนาม พลสรา้ งสายสนาม สัมภาระ เครอ่ื งวัดเครื่องปีเสา (2) ส.อ. (2) รยบ.2 1/2 ตัน (1) TL-144 ส.ต. (2) มกี วา้ น ชุด TE-33 (14) พลฯ (8) รถพ่วง 1 ตนั สายเคเบิ้ล CX-1512/U (22) สมั ภาระ สายเคเบ้ิลโทรศัพท์ CX-1065/G (160) สายเคเบิล้ โทรศพั ท์ CX-1606/G (12) คอลย์ CU-260/G (180) ลอ้ มว้ นสาย RL-26 (2) ล้อมว้ นสาย RL-31 (2) แผงหมุดปลายสาย TA-125/G (6) จ. (1) รยบ.3/4 ตัน (5) สว่านเจาะดนิ 8X14 นว้ิ (4) ส.อ. (5) สมั ภาระ เคร่อื งวดั เครื่องปนี เสา (5) ส.ต. (5) รถพว่ ง 1 ตนั (5) TL-144 พลฯ (15) สัมภาระ ชดุ TE-21 (25) ชุด TE-33 (30) ล้อสาย DR-8 (15) ลอ้ สาย RL-159/U (10) RL-26 (5) RL-27 (5) RL-31 (5) RL-39 (5) แผงหมดุ ต่อสาย TA-125/G 38 สาย WD-1/TT ในลอ้ RL-159/U (ไมล์) (185) กองบังคบั การหมวด นายทหารวทิ ยุถา่ ยทอด ร.ท. (1) รยบ.3/4 ตัน (1) เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า 1.5 KW วทิ ยุถา่ ยทอด หน.พนักงานวิทยถุ ่ายทอด จ. (พ) สมั ภาระ PE-75 (2)

หนา้ 26 หนว่ ย ตำแหนง่ ยานพาหนะ เครือ่ งมือสื่อสารและ ชุดวิทยปุ ลายทาง และเคร่ืองคล่นื พาห์ ยทุ โธปกรณ์ทจ่ี ำเปน็ ชุดวิทยถุ า่ ยทอด ช่างซ่อมเครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟา้ จ. (1) รถพ่วง 1 ตนั (1) เครอ่ื งคลืน่ พาหโ์ ทรศัพท์ ผช.ช่างซอ่ มเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า สัมภาระ AN/TCC-3 (2) ส.อ. (1) ชุดเชอื่ มต่อระบบ ทหารบรกิ าร พลฯ (1) โทรคมนาคม (2) กระโจมทบี่ ังคบั การ (1) หน.ชดุ วทิ ยุปลายทาง จ. (12) รยบ.3/4 ตนั (12) สายเคเบล้ิ CX-162/G (5 คู่ 200 พนักงานวทิ ยุถ่ายทอด ส.อ. (24) สัมภาระ ฟุต) (24) รถพว่ ง 1 ตนั (12) สายเคเบลิ้ CX-163/G (5 คู่ 200 สมั ภาระ ฟุต) (48) เครือ่ งเปลย่ี นสัญญาณ โทรศพั ท์ TA-182/ (48) หลักดิน MX-148/G (12) วิทยุ AN/GRC-39 (12) โครงลอ้ ม้วนสาย RL-31 (12) แผงหมุดปลายสาย TA-125/G (24) ชดุ AN/TCC-3 (12) ชดุ TK-101 (12) หน.ชดุ วิทยถุ า่ ยทอด จ. (8) รยบซ3/4 ตัน (8) หลกั ดนิ MX-148/G (8) พนกั งานวิทยุถ่ายทอด ส.อ. (16) สมั ภาระ เครือ่ งวัดรวม TS-352/U (8) รถพ่วง 1 ตัน (8) วทิ ยุ AN/GRC-40 (8) เครอื่ งตรวจหลอด TV-7/U (8) ชุด TK-101 (8) แผน่ ผ้าสัญญาณหมายหน่วย (24)

หนว่ ย สรุปยอดกำลงั พล รวม หนา้ 27 บก.และรอ้ ย บก. 110 นายทหาร นายสบิ พล ฯ หมายเหตุ 13 58 39 พ.ท. 1 พ.ต. 3 กองร้อยวทิ ยุและศูนย์ข่าว 7 77 32 116 ร.อ. 6 ร.ท. 1 กองร้อยสายและวทิ ยุถา่ ยทอด 5 90 50 145 จ. 29 ส.อ. 29 ร.อ. 1 ร.ท. 6 จ. 25 ส.อ. 52 ร.อ. 1 ร.ท. 4 จ. 36 ส.อ. 54 รวม 25 225 121 371 หนว่ ย รยบ. รยบ. สรปุ ยอดยานพาหนะ รถพว่ ง รถพว่ ง 1/14 ตนั 3/4 ตัน 1 ตนั 1 ตนั บก.และ ร้อย บก. รยบ. รยบ. รยบ. รถพ่วง บรรทกุ สมั ภาระ 21/2 ตัน 2 1/2 ตนั 2 1/2 ตัน 1/4 ตนั สมั ภาระ นำ้ สัมภาระ มีกว้าน โรงงาน สัมภาระ 5- 10 1 533 5 กองร้อยวิทยแุ ละ 6 17 5 - - 1 22 ศูนย์ข่าว กองร้อยสายและ 2 28 2 1 - 2 31 วิทยถุ า่ ยทอด รวม 13 54 12 4 3 8 63 1

หนา้ 28 การปฏิบตั งิ านของกองรอ้ ยวิทยุและศนู ยข์ ่าว ตอนที่ 1 หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบของสว่ นตา่ งๆ ในรอ้ ยวิทยแุ ละศนู ย์ขา่ ว 1. กองบงั คบั การกองรอ้ ย บก.ร้อย ประกอบไปด้วย ผบู้ ังคบั กองร้อย รองผบู้ ังคับกองร้อยและเจา้ หน้าที่ (จ่ากองรอ้ ย) 2. กองบงั คบั การหมวดวทิ ยุ ประกอบด้วย ผู้บังคับหมวด รองผู้บังคับหมวด นายทหารวิทยุและเจ้าหน้าที่ (พนักงานวิทยุความเร็วสูง และทหารบริการ) เพ่ือการบงั คบั บญั ชา ควบคุมและประสานการปฏิบตั ขิ องหมวด 3. ชดุ วทิ ยสุ นบั สนุนทางอากาศ ชุดวิทยุสนับสนุนทางอากาศ เป็นผู้จัดการสื่อสารให้แก่หน่วยสนับสนุนทางอากาศทางยุทธวิธี (TACTICAL AIR SUPPORT ELEMENT) ของศูนย์ปฏิบัติการทางยุทธวิธีของกองพลซึ่งตั้งอยู่ภายในที่บัญชาการ หลักของกองพล นายทหารอากาศติดต่อ สามารถใช้ชุดวิทยุนี้สำหรับยุทธการอากาศพื้นดินด้วยหากชุดสนับสนุน อากาศโดยตรง (ชสอต.) ของกองทัพอากาศจัดมาประจำกองพลแลว้ ชดุ วิทยสุ นบั สนุนทางอากาศนี้ อาจใช้สำหรับ การขอรับการสนับสนนุ ทางอากาศตามแผนก็ได้ชุดวทิ ยุสนับสนนุ ทางอากาศจะปฏิบัติงานในข่ายคำขอทางอากาศ กองพล กองทัพภาค กองทัพบก และขา่ ยเครอ่ื งรับรายงานขณะปฏิบตั ิ 4. ชดุ วิทยโุ ทรพิมพเ์ คลอ่ื นท่ี ชุดวิทยุโทรพิมพ์เคลื่อนที่ปฏิบัติการสื่อสารในข่ายบังคับบัญชา และข่ายการส่งกำลังบำรุงกองทัพภาค เพื่อให้กองทัพภาคสามารถควบคุมการบังคับบัญชารวมทั้งสนับสนุนการส่งกำลังบำรุงให้แก่กองพล ได้อย่าง แนน่ แฟน้ 5. ชดุ วทิ ยกุ ำลงั ปานกลาง ชุดวิทยุกำลังปานกลาง ปฏิบัติงานเป็นสถานีบังคับข่ายของข่ายวิทยุกองบัญชาการกองพล นอกจากนั้น ยังสามารถปฏิบัติการเป็นสถานีสนธิวิทยุ/สาย สนับสนุนที่บัญชาการหลักและท่ีบัญชาการยุทธวิธีของกองพล ได้อีกด้วย ชุดวิทยุกำลังปานกลางปฏิบัติงานในข่ายวิทยุต่าง ๆ ของกองพล คือข่ายบังคับบัญชา/ยุทธการกองพล ข่าย ผบ.พล./บังคับบัญชากองพล ข่ายการข่าวกองพล ข่ายธุรการ/สง่ กำลังบำรุงที่ 1 กองพล ข่ายธุรการ/ส่งกำลงั บำรงุ ที่ 2 กองพล ขา่ ยเตอื นภัยและการกระจายข่าวกองพลและข่ายลาดตระเวนกองพล 6. ชุดวทิ ยคุ วบคมุ ทางอากาศยาน ชุดวิทยุควบคุมอากาศยานเป็นชุดวิทยุที่กองพล จะส่งไปสมทบกับหน่วยใดหน่วยหนึ่งของกองพล เพื่อประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วยภาคพื้นดินกับอากาศยาน หรือมอบให้นายทหารควบคุมอากาศยานหน้า เมื่อต้องการ

หนา้ 29 7. กองบงั คับการหมวดศนู ย์ขา่ วและนำสาร ประกอบดว้ ยผ้บู ังคบั หมวด นายทหารศูนยข์ ่าว ผ้ชู ว่ ยนายทหารศูนย์ข่าว นายทหารรหสั เพ่ือ การบงั คบั บัญชา ควบคุม และประสานการปฏิบตั ขิ องหมวด 8. ตอนศูนยข์ ่าว ตอนศูนย์ข่าวปฏิบัติงานเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์การสื่อสารของกองพล ซึ่งทำหน้าที่ดำเนินกรรมวิธี ต่อบรรดาข่าวเข้าและข่าวออกทั้งสิ้นของกองบัญชาการ ได้แก่ การลงสถิติประจำวันของข่าวหรือลงทะเบียนข่าว การเลือกวิธีส่งข่าว แสดงเส้นทางรวมทั้งบันทึกเวลารับส่งข่าวเสร็จ ทำการรบั มอบและส่งข่าวแสดงเส้นทาง รวมท้ัง เวลารับ - ส่งข่าวเสร็จ ทำการรับมอบและส่งข่าวโดยตรงกับศูนย์รับ – ส่ง ของกองบัญชาการกองพล หรือกรณี พเิ ศษ อาจส่งถงึ ตวั ผรู้ บั เลย เมอื่ ไดร้ บั อนมุ ตั ิ 9. ตอนอกั ษรลับ ตอนอักษรลับ ปฏิบัติงานเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์การสื่อสารของกองพล ซึ่งทำหน้าที่เข้าถอดอักษรลับ ตอ่ ขา่ วทมี่ ชี ้นั ความลับทั้งสิ้นของกองบัญชาการกองพล 10. ตอนนำสาร ตอนนำสาร ปฏิบัติงานเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์การส่ือสารของกองพล ซึ่งทำหน้าที่บรกิ ารนำสารทางพื้นดนิ เป็นหลัก เมื่อได้รับการสนับสนุนอากาศยานนำสาร อาจมีการนำสารทางอากาศเพิ่มขึ้นด้วย ตามปกติจะมี การนำสารด้วยยานยนต์ตามกำหนดเวลา ระหว่างกองบัญชาการกองพลไปยงั กองบังคับการหน่วยรอง เป็นประจำ และเพมิ่ เตมิ ดว้ ยการนำสารพเิ ศษตามความจำเป็น ตอนท่ี 2 หน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของนายทหารในกองร้อยวทิ ยุและศูนยข์ ่าว 11. ผบ.รอ้ ยวทิ ยแุ ละศูนยข์ ่าว ทำหน้าที่บังคับบัญชากองร้อย รับผิดชอบต่อ ผบ.พัน.ส. ในเรื่องการฝึก การยุทธ และการอำนวยการ กำกับดูแลการปฏิบัติการทางการสื่อสารด้วยวิทยุ และศนู ย์การสอื่ สารของกองพลทจ่ี ัดตัง้ ขน้ึ โดยทั่วไป มีหนา้ ที่ 11.1 อำนวยการทำ รปจ. ของกองร้อย 11.2 อำนวยการในเร่ืองการส่งกำลงั ซ่อมบำรงุ ยานยนต์ และกจิ กรรมทางธรุ การของกองร้อย 11.3 อำนวยการในเรอ่ื ง การศึกษา การกีฬา และขวญั 11.4 อำนวยการและกำกับการฝึก และการปฏิบัติการทางการยทุ ธในด้านสื่อสารด้วยวทิ ยุ และ ศนู ย์การส่อื สาร 11.5 ดแู ลให้ยทุ โธปกรณต์ ามอัตราของสว่ นปฏบิ ัตกิ ารต่างๆ อยใู่ นสภาพทใ่ี ชง้ านได้ 11.6 จดั การระวังป้องกนั ภายในกองรอ้ ย 11.7 ใหม้ น่ั ใจว่าไดม้ ีการปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ยุทโธปกรณ์ในกองรอ้ ยวิทยแุ ละศูนย์ขา่ วเปน็ ประจำ 11.8 จัดทำเสนอบนั ทกึ และรายงานความต้องการของหน่วยเหนือ

หน้า 30 11.9 ตดิ ต่อกบั ผบ.พัน.ส.พล. ตลอดเวลา 11.10 ตรวจตราใหเ้ จา้ หน้าทใ่ี นกองร้อยได้รับเครอ่ื งแตง่ กาย การเล้ียงดู และป้องกนั อนั ตราย อยา่ งถูกต้อง 11.11 รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกับพัสดุตา่ งๆ ของกองร้อย 11.12 แบ่งพนื้ ท่ีพักแรมใหแ้ กส่ ว่ นตา่ งๆ ของกองร้อย 11.13 แจง้ เรอ่ื งราวทางธรุ การใหน้ ายทหาร นายสิบ ในกองร้อยทราบ 11.14 ควบคมุ ให้มกี ารใช้สิ่งอปุ กรณโ์ ดยประหยดั 12. รอง ผบ. ร้อยวทิ ยุและศนู ย์ข่าว เป็นผู้ช่วยเหลือ ผบ.ร้อย. ในทางธุรการ โดยทั่วไปรับผิดชอบในเรื่องการส่งกำลังกองร้อย การเลี้ยงดู ทำหนา้ ทีแ่ ทน ผบ.รอ้ ย เมอื่ ผบ.รอ้ ย. ไมอ่ ยู่ โดยทว่ั ไปมหี น้าท่ี 12.1 ทำ รปจ. ของกองร้อย 12.2 วางแผนการสง่ กำลังและการเบกิ ทดแทน การสะสมและการแจกจ่าย 12.3 ตรวจสภาพการส่งกำลงั และยทุ โธปกรณท์ ใี่ ช้งานไดเ้ ทา่ ทีม่ ีอยู่ ทำรายงานและเสนอแนะเกี่ยวกบั ผลการตรวจตอ่ ผบ.ร้อย. 12.4 ตรวจสอบหลกั ฐานการเบกิ จ่ายอปุ กรณ์ของกองร้อย 12.5 ตรวจและรกั ษาบญั ชพี ัสดุของกองร้อย 12.6 ตรวจสอบการเขียนใบเบกิ ต่างๆ ของกองร้อย 12.7 อำนวยการเกยี่ วกบั พน้ื ทีก่ ารส่งกำลงั โดยทว่ั ไป 12.8 กำกบั ดแู ลการปฏิบัตงิ านของธุรการกองร้อย 12.9 ตรวจสอบการรับเสบียงต่าง ๆ 12.10 การปฏบิ ัตงิ านดา้ นธุรการอื่นๆ ตามท่ีได้รับมอบหมายจาก ผบ.ร้อย 12.11 ควบคมุ ใหม้ กี ารใชส้ ิ่งอปุ กรณ์โดยประหยัด 13. ผบ.มว. วทิ ยุ มีหนา้ ทป่ี กครองบงั คับบัญชาหมวดวิทยุ และมหี น้าทดี่ ังตอ่ ไปน้ี 13.1 อำนวยการปฏบิ ัตงิ านขา่ ยวิทยขุ องกองพล 13.2 ทำ รปจ. ของหมวดวทิ ยุ 13.3 อำนวยการติดต้ังและซ่อมบำรงุ เครอื่ งรบั วทิ ยุของหมวด 13.4 ประสานการปฏิบตั ิงานของวิทยุกับ ฝสส. ของหน่วยรอง 13.5 ประสานกับนายทหารศนู ยข์ า่ วในการดำเนินการเกีย่ วกับขา่ วทรี่ บั - สง่ ทางวิทยุ 13.6 ตดิ ตัง้ ขา่ ยวทิ ยใุ หร้ วดเร็ว ให้การส่ือสารดำเนินไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ใหม้ กี ารรกั ษาความปลอดภัย และวนิ ยั การสือ่ สารอยา่ งกวดขนั

หนา้ 31 13.7 ตดิ ตอ่ ทางการปฏบิ ตั กิ ับ ผบ.พัน.ส.พล. 13.8 ติดต่อทางธุรการตอ่ ผบ.รอ้ ย 13.9 รกั ษาความปลอดภยั ภายใน 13.10 อำนวยการทำการรักษาและเสนอบันทึกรายงานตามนโยบายของ ผบ.ส.พล. 13.11 ตรวจเยยี่ มสถานวี ทิ ยุทีแ่ ยกไปปฏิบตั ิงาน เพ่ือดแู ลการปฏิบัตแิ ละแก้ไขข้อบกพร่อง 13.12 เตรียมการและดำเนินการฝึกเจ้าหน้าทีพ่ ิเศษ เพื่อเพิ่มพนู ประสทิ ธภิ าพ 13.13 เฝ้าฟงั ในข่ายวิทยขุ องกองพล 13.14 ควบคมุ ให้มกี ารใชส้ ิง่ อุปกรณ์โดยประหยดั 14. ผบ.มว. ศูนยข์ า่ วและนายทหารศูนย์ขา่ ว รับผิดชอบต่อ ผบ.ร้อย. ในเรื่องการใช้ศูนย์ข่าวทางยุทธวิธี เป็นผู้ได้รับความไว้วางใจในวัสดุการอักษรลับ ทอ่ี ยูใ่ นขั้นสงู ๆ เปน็ ผทู้ ำหนา้ ท่นี ายทหารรกั ษาความปลอดภยั ทางการอักษรลบั ของกองพล โดยท่ัวไปมหี น้าที่ 14.1 ปกครองบงั คบั บัญชาของหมวดศนู ย์ข่าว 14.2 อำนวยการทำ รปจ. ของ มว. 14.3 วางแผนทำลายทางการอักษรลับ 14.4 เลือกวิธสี ่งขา่ วให้ไดผ้ ลดที ี่สดุ 14.5 ควบคุมใหบ้ ันทึกประจำวนั และรายงานต่างๆ เป็นไปด้วยความถกู ต้อง 14.6 ทำการฝกึ เจา้ หน้าท่ีในบังคบั บญั ชาทางเทคนิคให้ทนั สมยั อยเู่ สมอ 14.7 ตดิ ตอ่ กับ ผบ.พนั .ส. ตลอดเวลา 14.8 ตดิ ตอ่ กบั ผบ.รอ้ ย. และแจ้งใหท้ ราบถงึ การปฏบิ ัตอิ ยู่ตลอดเวลา 14.9 จดั หาอปุ กรณ์ท่ีจำเปน็ แกศ่ นู ยข์ ่าวให้สามารถปฏบิ ัติงานได้ตลอดเวลา 14.10 รกั ษาความปลอดภยั เกยี่ วกบั เครอ่ื งมือทางการอกั ษรลับอย่างเครง่ ครดั 14.11 ควบคมุ ให้มีการใชส้ ่งิ อปุ กรณ์โดยประหยัด หมายเหตุ สำหรับนายทหารศูนย์ขา่ วต้องปฏิบตั ิหนา้ ท่แี ทน ผบ.มว. ศนู ย์ข่าวเมอ่ื ไมอ่ ยู่ 15. ผู้ชว่ ยนายทหารศนู ย์ขา่ วและนายทหารการรหัส มีหน้าที่กำกับดูแลศูนย์ข่าวและทำหน้าที่เกี่ยวกับการอักษรลับในชุดนั้น ๆ ต้องเป็นผู้ได้รับความไว้วางใจ ทางการอกั ษรลับ โดยท่ัวไปมีหนา้ ท่ี 15.1 รกั ษาความปลอดภัย เครือ่ งมอื ทางการอักษรลบั ในความรับผิดชอบอยา่ งกวดขัน 15.2 ตรวจสอบขา่ วทีฝ่ า่ ฝืนการรักษาความปลอดภัยทางการอักษรลบั 15.3 จดั ทำหลักฐาน บันทกึ และรายงาน ของศนู ย์ข่าว 15.4 เสนอแนะการเปล่ียนแปลงวิธีปฏิบตั งิ าน กำหนดความรบั ผดิ ชอบแกเ่ จา้ หนา้ ทช่ี ้ันรองลงมา และ ดำเนนิ งานเกย่ี วกับข่าวทตี่ อ้ งการรักษาความปลอดภัยทางการอกั ษรลบั

หน้า 32 15.5 ควบคมุ ใหม้ ีการใช้สงิ่ อปุ กรณโ์ ดยประหยดั การปฏิบตั ิงานของกองรอ้ ยสายและวิทยถุ ่ายทอด ตอนที่ 1 หนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบของสว่ นตา่ งๆ ในรอ้ ยสายและวิทยุถ่ายทอด 1. กองบงั คบั การของกองรอ้ ย กองบังคับการกองรอ้ ย ประกอบด้วย ผู้บังคบั กองรอ้ ย รองผู้บังคบั กองร้อย และเจ้าหนา้ ที่ (จ่ากองร้อย เสมียนและทหารบริการ) เพอ่ื การบังคับบญั ชา ควบคมุ และประสานการปฏบิ ตั งิ านของกองรอ้ ย 2. กองบังคบั การหมวดสาย กองบังคับการหมวดสาย ประกอบด้วย ผู้บังคับหมวดและเจ้าหน้าที่ (นายสิบการสาย ผู้ช่วยนายสิบ การสาย และทหารบริการ) เพื่อการบังคับบัญชา ควบคุมและประสานการปฏิบัติของหมวดในการสร้าง และ บำรุงรักษาวงจรทางสายใหญ่ระหว่างส่วนต่าง ๆ ของกองบัญชาการกองพลไปยังกองบังคับการของหน่วยขึ้นตรง หน่วยรอง หน่วยขึ้นสมทบและไปยังหน่วยทางข้างตามความจำเป็น นอกจากนั้นยังบริการติดตั้งโทรศัพท์และ เครอื่ งสลับสาย ณ ส่วนต่าง ๆ ของกองบญั ชาการกองพล ตลอดจนการปรับปรุงและเกบ็ สายโทรศพั ท์ตา่ งๆ ในพ้นื ที่ กองพลด้วย 3. ตอนโทรศัพท์ ตามธรรมดาตอนโทรศัพท์นี้จะแบ่งออกเป็นหลายพวกเท่ากับจำนวนต่าง ๆ ของกองบัญชาการกอง พล แต่ละพวกมีขนาดไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของส่วนต่างๆ ของกองบัญชาการกองพล แต่ละพวกมีขนาด ไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของสว่ นต่างๆ ของกองบัญชาการกองพลที่ทำงานอยู่ และความต้องการที่จะขยาย การสื่อสารให้กว้างขวางขึ้นเพียงไร ชุดพนักงานสลับสายโทรศัพท์จะทำการติดตั้งปฏบิ ัติงานเกี่ยวกับการสลับสาย โทรศัพท์ให้กับส่วนต่างๆ ของกองบัญชาการกองพล ช่างซ่อมและติดตั้งโทรศัพท์ จะติดตั้งและปฏิบัติงานต่าง ๆ เกย่ี วกบั โทรศัพท์ และวงจรทางสายยอ่ ยภายในส่วนตา่ งๆ ของกองบัญชาการกองพล 4. ชุดสร้างสายเคเบลิ้ สนาม ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ 2 ชุด ที่จะสร้างและบำรุงรักษาสายรวมสนาม (สายรวมสี่เกลียว) ซึ่งใช้วางระหว่างเครื่องคลื่นพาห์แทนเครื่องวิทยุถ่ายทอด ได้เมื่อจำเป็นและเหมาะสม ตลอดจนการปรับปรุงและ เกบ็ สายรวมสนามในพ้ืนทกี่ องพลดว้ ย (ปัจจบุ นั ไม่มกี ารจดั สนบั สนุนแล้ว) 5. ชุดสรา้ งสายสนาม ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ 5 ชุด ที่จะสร้างและซ่อมบำรุงโทรศัพท์สนามตลอดจนการปรับปรุง และเกบ็ สายโทรศัพท์สนามในพื้นที่กองพลดว้ ย 6. กองบังคบั การหมวดวิทยุถ่ายทอด ประกอบด้วย ผู้บังคับหมวด รองผู้บังคับหมวดวิทยุถ่ายทอดและเจ้าหน้าที่ (หัวหน้าพนักงานวิทยุ ถ่ายทอดช่างซ่อมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ผู้ช่วยช่างซ่อมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ผู้ช่วยช่างซ่อมเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและ

หน้า 33 ทหารบริการ เพื่อการบังคับบัญชาควบคุมส่งกำลังและประสานการปฏิบัติของหมวด ในการวางระบบ การสื่อสาร ด้วยวิทยุถ่ายทอดที่จะใช้เสริมหรือเพิ่มเติมการสื่อสารทางสายโดยเฉพาะสถานการณ์ที่จำเป็นต้องใช้วิทยุถ่ายทอด ก็คือเมื่อมีเวลาจำกัดและการสร้างสายนั้น กระทำได้ยาก ระบบวิทยุถ่ายทอดนั้น ถือว่ารวมอยู่ในระบบทางสาย ของ กองพลหมวดวิทยุถ่ายทอดนี้จะวางการสื่อสารแบบหลายช่องการสื่อสารระหว่างที่บัญชาการกองพล และ จากทบี่ ัญชาการกองพลไปยังหนว่ ยรอง การใช้ชดุ ตา่ ง ๆ ของหมวดวทิ ยุถ่ายทอด มีดังนี้ 6.1 เพือ่ วางระบบการสอ่ื สารก่อนท่สี ร้างทางสาย 6.2 เพ่อื จะเสรมิ หรอื เพิม่ เตมิ การสื่อสารทางสายในเมื่อมคี วามต้องการช่องการส่ือสารเพิ่มมากข้ึน 6.3 เปน็ การสื่อสารสำรอง 6.4 เสมือนหนง่ึ เปน็ ชว่ งตอ่ ไปในพื้นที่ซ่งึ การสื่อสารทางสายเขา้ ไปยังไม่ถงึ 7. ชุดวิทยุปลายทางและคลื่นพาห์ ชุดวิทยุปลายทางและคลื่นพาห์ จำนวน 12 ชุด อาจได้รับมอบภารกิจให้ไปสนับสนุนหรือขึ้นสมทบ กองบญั ชาการกองพลส่วนตา่ ง ๆ หรือกองบงั คบั การกรม เพ่ือจดั วางระบบการส่ือสารตามภารกจิ ที่รับมอบ 8. ชุดวิทยถุ ่ายทอด ชุดวทิ ยถุ า่ ยทอด 8 ชดุ จะได้รับมอบภารกิจในการวางชดุ วิทยุถา่ ยทอดกลางทาง เมอ่ื เกนิ ขดี ความสามารถ ของชุดวิทยุปลายทาง จะทำการติดต่อกันได้ ระบบใดจะใช้ชุดวิทยุถ่ายทอดเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับระยะทางทั้งส้ิ น ภายในระบบ ภมู ิประเทศในพนื้ ท่ีปฏิบัตงิ านและคุณลกั ษณะของชุดวิทยุถ่ายทอด ตอนท่ี 2 หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของนายทหารในร้อยสายและวทิ ยุถ่ายทอด 9. ผบ.รอ้ ยสายและวิทยุถา่ ยทอด ทำหน้าที่ปกครองบังคับบัญชากองร้อย รับผิดชอบต่อ ผบ.พัน.ส. ในเรื่องการฝึกการยุทธและอำนวยการ กำกบั ดูแลการปฏบิ ัติการทางการสอ่ื สารทางสายและวิทยุถ่ายทอด โดยทั่วไปมหี นา้ ท่ี 9.1 อำนวยการ รปจ. ของกองร้อย 9.2 อำนวยการในเรื่องการส่งกำลงั ซอ่ มบำรงุ ยานยนต์ และกิจกรรมทางธุรการของกองร้อย 9.3 อำนวยการในเรือ่ ง การศกึ ษา การกฬี า และขวัญ 9.4 อำนวยการและกำกับการฝึก และการปฏบิ ตั ิการทางการยทุ ธในด้านสือ่ สารทางสายและวทิ ยุ ถา่ ยทอด 9.5 ดูแลใหย้ ุทโธปกรณต์ ามอัตราของส่วนปฏบิ ตั ิการตา่ งๆ อยูใ่ นสภาพท่ใี ช้งานได้ 9.6 จดั การระวังป้องกันภายในกองร้อย 9.7 ใหม้ ่นั ใจวา่ ไดม้ กี ารปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ยทุ โธปกรณใ์ นกองร้อยสายและวิทยุถ่ายทอดเป็นประจำ 9.8 จัดทำเสนอบันทกึ และรายงานตามท่หี นว่ ยเหนือระบุ 9.9 ตดิ ตอ่ กบั ผบ.พัน.ส.พล. ตลอดเวลา

หน้า 34 9.10 ตรวจตราให้เจ้าหนา้ ทใ่ี นกองรอ้ ยใหไ้ ดร้ ับเคร่ืองแตง่ กาย การเล้ยี งดู และปอ้ งกนั อันตรายอย่าง ถกู ต้อง 9.11 รบั ผิดชอบเกย่ี วกับพสั ดุตา่ งๆ ของกองรอ้ ย 9.12 แบ่งพื้นท่ีพกั แรมใหแ้ กส่ ว่ นต่างๆ ของกองร้อย 9.13 แจง้ เรอ่ื งราวทางธรุ การให้นายทหาร นายสบิ ในกองร้อยทราบ 9.14 ควบคมุ ใหม้ กี ารใช้สง่ิ อุปกรณ์โดยประหยดั 10. รอง ผบ.ร้อยสายและวิทยุถา่ ยทอด เป็นผู้ช่วยเหลือ ผบ.ร้อย. ในทางธุรการ โดยทั่วไปรับผิดชอบในเรื่องการส่งกำลังกองร้อย การเลี้ยงดู ทำหนา้ ท่ีแทน ผบ.รอ้ ย เม่ือ ผบ.รอ้ ย. ไมอ่ ยู่ โดยทวั่ ไปมีหน้าที่ 10.1 ทำ รปจ. ของกองร้อย 10.2 วางแผนการส่งกำลังและการเบิกทดแทน การสะสมและการแจกจา่ ย 10.3 ตรวจสภาพการส่งกำลงั และยุทโธปกรณ์ทใ่ี ชง้ านได้เทา่ ท่มี ีอยู่ ทำรายงานและเสนอแนะเกย่ี วกบั ผลการตรวจตอ่ ผบ.รอ้ ย. 10.4 ตรวจสอบหลกั ฐานการเบกิ จา่ ยอุปกรณ์ของกองร้อย 10.5 ตรวจและรกั ษาบญั ชพี สั ดขุ องกองรอ้ ย 10.6 ตรวจสอบการเขียนใบเบิกตา่ งๆ ของกองร้อย 10.7 อำนวยการเกี่ยวกบั พน้ื ท่ีการสง่ กำลงั โดยท่ัวไป 10.8 กำกับดูแลการปฏิบัตงิ านของกองรอ้ ย 10.9 ตรวจสอบการรบั เสบยี งต่างๆ 10.10 ปฏิบตั ิงานดา้ นธุรการอื่นๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจาก ผบ.รอ้ ย. 10.11 ควบคมุ ให้มกี ารใชส้ ่ิงอุปกรณ์โดยประหยดั 11. ผบ.มว.สาย รับผิดชอบต่อ ผบ.พัน.ส.พล. ในเรื่องของประสิทธิภาพของหมวดสาย และรับผิดชอบด้านสวัสดิการ ของเจ้าหน้าที่ต่อ ผบ.ร้อย. รวมทั้งหน้าที่ทางธุรการด้วย ผบ.มว.สาย ทำหน้าที่กำกับการสร้าง การบำรุงรักษา ระบบทางสายโทรศัพท์ กำกับดูแลการติดตั้งและการซ่อมบำรุงเครื่องโทรศัพท์และเครื่องสลับสาย ณ ส่วนต่าง ๆ ของกองบญั ชาการกองพล ตาม รปจ. และตามนโยบายของ ผบ.ส.พล. โดยทว่ั ไปมหี นา้ ทดี่ ังน้ี 11.1 ทำ รปจ.ของ มว. 11.2 อำนวยการสรา้ งและซอ่ มบำรงุ ระบบสายสนามให้ พนั .ส. 11.3 ประสานการสรา้ งทางสายกับ ฝสส. ของหนว่ ยรองและนายทหารโทรศัพทข์ องหน่วยขา้ งเคียง 11.4 ประสานการสร้างทางสายกับนายทหารโทรศพั ท์ 11.5 ตดิ ต่อทางการปฏบิ ัติกบั ผบ.พนั .ส.พล. 11.6 ตดิ ตอ่ ทางธรุ การกบั ผบ.รอ้ ย.

หน้า 35 11.7 ดำเนินการฝึกทั้งทางเทคนิคและทางยุทธวธิ ีใน มว. 11.8 สำรวจเสน้ ทางสายในพน้ื ท่ีปฏิบตั กิ ารของกองพล 11.9 จัดการสร้างและบำรงุ รกั ษาระบบทางสายตาม รปจ. 11.10 เกบ็ รักษาบันทกึ ระบบทางสายใหถ้ กู ต้องและทนั สมยั อยู่เสมอ 11.11 ประสานกบั นายทหารฝ่ายส่งกำลังบำรุง ในเรือ่ งความตอ้ งการเกี่ยวกบั ปริมาณของสายสนาม มกี ารเตรียมสำรองไว้สำหรับกรณีฉกุ เฉนิ ให้เพียงพอ รวมทั้งความตอ้ งการ สิ่งอุปกรณ์ตา่ งๆ ของ มว.โทรศพั ทด์ ้วย 11.12 เตรียมเยีย่ มชุดสรา้ งสายท่จี ดั ประจำกรม เพือ่ สอบผลการปฏิบัตงิ าน ให้คำแนะนำตรวจตรา ทงั้ เจ้าหนา้ ที่และเคร่ืองมอื รวมท้งั หมนุ เวียนเจา้ หนา้ ท่เี มื่อเห็นสมควร 11.13 จดั การรกั ษาความปลอดภยั ใน มว.สาย 11.14 ควบคุมให้มีการใช้สงิ่ อุปกรณโ์ ดยประหยัด 12. นายทหารโทรศพั ท์ รบั ผิดชอบต่อ ผบ.มว.สาย เกยี่ วกบั ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติงานของตอนโทรศัพทแ์ ละการสวัสดิการ แก่เจา้ หน้าที่ในการบงั คับบัญชา โดยท่วั ไปมหี น้าท่ี 12.1 ทำ รปจ. ของตอน 12.2 เตรียมตารางการปฏิบัติงานของพนักงานเครอื่ งสลบั สาย 12.3 อำนวยการฝึกเจา้ หนา้ ที่ภายในตอน 12.4 อำนวยการติดต้ังและใชเ้ คร่อื งมือ 12.5 อำนวยการซ่อมบำรงุ เครือ่ งมือ 12.6 เสนอความต้องการส่ิงอุปกรณ์และเคร่ืองสื่อสาร 12.7 ทำหน้าทีท่ งั้ ทางเทคนคิ และทางธรุ การ 12.8 ช่วยทำบญั ชโี ทรศัพทข์ องกองพล 12.9 กำกับการทำลายเครอื่ งมือตามคำสั่ง 12.10 ตดิ ตอ่ เรื่องการปฏบิ ัติงานและทางธุรการกบั ผบ.มว.สาย 13. ผบ.มว.วิทยุถา่ ยทอด รบั ผิดชอบตอ่ ผบ.พัน.ส.พล. ในเรื่องการปฏบิ ัติงานของหมวดวทิ ยถุ า่ ยทอดและรับผิดชอบตอ่ ผบ.ร้อย. ในเรื่องการสวัสดิการของเจ้าหน้าท่ี ตลอดจนกิจการทางธรุ การ โดยท่ัวไปมหี นา้ ที่ 13.1 ทำ รปจ. ของ มว. 13.2 ประสาน กำกับดแู ล ผลการปฏิบตั งิ านของหมวด 13.3 อำนวยการฝกึ เจ้าหนา้ ทใ่ี นหมวดวิทยถุ ่ายทอด ทงั้ ทางเทคนคิ และทางยทุ ธการ 13.4 เสนอข้อคิดเห็นต่อ ผบ.พนั .ส.พล และ ผบ.ร้อย ในเร่ืองข้อบกพรอ่ งและความเพียงพอเก่ียวกบั เจา้ หน้าทีห่ รอื เคร่ืองมือ 13.5 ออกระเบียบวธิ กี ารปฏิบัตงิ านในเรอื่ ง การตดิ ตง้ั ปฏิบตั ิงาน และการซ่อมบำรงุ ระบบวทิ ยุ

หน้า 36 ถ่ายทอด 13.6 กำกับดูแลการปฏิบตั กิ ารอยา่ งตอ่ เนือ่ งเพอื่ มิใหข้ าดการติดต่อ 13.7 อำนวยการซ่อมบำรุงประจำหน่วยต่อเครื่องมือภายในหมวด 13.8 ตรวจเย่ยี มชุดวิทยุถ่ายทอดและชุดวทิ ยุปลายทางและคลืน่ พาหเ์ ปน็ ครัง้ คราว กำกบั ดูแลการ ปฏบิ ัติงาน 13.9 ติดต่อทางการปฏิบตั งิ านกบั ผบ.พนั .ส.พล. 13.10 ควบคุมใหม้ กี ารใชส้ ง่ิ อุปกรณ์โดยประหยัด

หน้า 37 การสอ่ื สารของกองพล ตอนท่ี 1 การสอื่ สารของกองพล (ทบ.ไทย) 1. การสื่อสารของกองพล (DIV.COMMUNICATION) หมายถึง การสื่อสารทั้งหมดของทุก ๆ หน่วยที่อยู่ ในอำนาจบังคับบัญชาของ ผบ.พล. ซึ่ง ผบ.พล. เป็นผู้รับผิดชอบและมี ผบ.ส.พล. เป็นผู้ช่วยเหลือในฐานะ นายทหารฝ่ายอำนวยการสื่อสารของกองพล หน่วย ส. และเจ้าหน้าที่สื่อสาร ณ ระดับต่างๆ เป็นผู้ร่วมกันจัดให้มี การส่อื สารของกองพลขนึ้ 2. การสื่อสาร ณ ระดับกองพล ( COM.AT.DIV.LEVEL ) หมายถึง การส่อื สารภายใน ทก.พล. การสอ่ื สาร ระหว่าง ทก.พล. (เมื่อมี ทก.พล. มากกว่า 1 ทก.) และการสื่อสารระหว่าง ทก.พล. กับ ทก. ของหน่วยรองถัดไป 1 ระดับ ผบ.พล. เป็นผู้รับผิดชอบและมี ผบ.ส.พล. เป็นผู้ช่วยเหลือในฐานะนายทหารฝ่ายอำนวยการสื่อสาร ของกองพล พนั .ส.พล. เปน็ ผจู้ ัดใหม้ ี โดยการตดิ ตั้งใช้งานและบำรุงรักษา ตอนท่ี 2 พนั .ส.พล.(อจย.11 – 35) ลง 25 ก.ค.27 1. พัน.ส.พล. แบ่งเปน็ 1.1 ส่วนบังคับบัญชาและส่วนอำนวยการ คือ 1.1.1 ตอน บก.พนั . และตอนทหารส่ือสารกองพล 1.2 สว่ นสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานของ พัน.ส.พล. 1.2.1 บก.ร้อย ของ ร้อย บก. 1.2.2 ตอนซ่อมบำรงุ ยานยนต์กองพัน 1.2.3 ตอนส่งกำลังกองพนั 1.3 ส่วนปฏบิ ัตกิ ารส่ือสาร 1.3.1 หมวดศนู ยข์ า่ วและนำสาร กองร้อยวิทยุและศูนยข์ า่ ว 1.3.2 หมวดวิทยุ กองร้อยวทิ ยุและศนู ยข์ า่ ว 1.3.3 หมวดสาย กองร้อยสายและวิทยุถ่ายทอด 1.3.4 หมวดวิทยถุ ่ายทอด กองรอ้ ยสายและวิทยถุ า่ ยทอด 1.4 ส่วนบริการกิจกรรมของเหล่า ส. แกก่ องพล 14.1 ตอนการภาพของ ร้อย.บก.พัน.ส. 14.2 ตอนซ่อมบำรุงสายส่ือสารของ ร้อย.บก.พัน.ส. 2. ภารกิจของ พัน.ส.พล. 2.1 จดั การส่อื สารใหแ้ ก่ ทก.พล. รวมทัง้ การส่ือสารไปยังหน่วยตา่ ง ๆ ท่ปี ฏบิ ัติงานภายใต้การบังคบั บญั ชา

หน้า 38 ของ ทก.พล. 2.2 จัดบริการการภาพ การสง่ กำลังและซอ่ มบำรุงสาย ส. แกเ่ ครอื่ งมือสื่อสารของกองพล 3. ขีดความสามารถของ พนั .ส.พล. 3.1 การวางแผนของฝ่ายอำนวยการ กำกับดูแลการฝกึ ปฏบิ ัติการส่อื สารและกิจการส่ือสารอ่ืนๆ 3.2 ติดต้งั ปฏบิ ตั ิการและดำรงการสื่อสารประเภทสายและวิทยไุ ปยงั หนว่ ยต่างๆ ท่ีปฏบิ ัติงานภายใต้ การบงั คับบญั ชาของ ผบ.พล. 3.3 ปฏบิ ัตกิ ารสือ่ สารด้วยวิทยุถ่ายทอดให้แก่กองพล รวมทั้งการเชื่อมตอ่ การสอ่ื สารของกองพลให้เขา้ กับ ระบบโทรคมนาคมในพื้นทีต่ ามความจำเปน็ 3.4 บริการศนู ยก์ ารส่อื สารให้แก่ บก.พล. และบริการนำสารด้วยยานยนต์ 3.5 บริการสง่ กำลงั และซ่อมบำรงุ ประเภทซ่อมบำรุงในสนาม สาย ส. ได้แก่ เครื่องสอ่ื สารของกองพล 3.6 บริการภาพนิง่ รวมท้ัง ลา้ ง อัด และขยายภาพนง่ิ 3.7 ทำการรบอยา่ งทหารราบเมอื่ จำเปน็ 4. การปฏิบตั ิงานของ พัน.ส.พล. 4.1 โดยทั่วไปในการปฏบิ ัติงานของ พัน.ส.พล. นนั้ พัน.ส.พล. จะจัดเป็นชุดปฏบิ ตั ิงาน 4.1.1 ชุดปฏิบตั ิงานประจำ ทก.พล.หลกั 4.1.2 ชุดปฏบิ ัตงิ านประจำ ทก.พล.หลัง 4.1.3 ชุดปฏบิ ัติงานสำหรบั สมทบหรือสนับสนนุ หน่วยอน่ื 4.1.4 ชุดปฏบิ ตั งิ านสำรองหรืออะไหล่ 4.2 ชุดปฏิบตั งิ านต่างๆ จะต้องจดั ผลัดการปฏบิ ตั ิๆงานให้สามารถปฏิบัตงิ านไดต้ ลอด 24 ชม. 4.3 ชุดประจำ ทก.พล.หลัก จะต้องพรอ้ มท่ีจะแยกไปสนับสนุน ทก.พล. ทีจ่ ัดข้ึนใหม่ เช่น ทก.พล.ยทุ ธวธิ ี หรือ ทก.พล. ส่วนล่วงหนา้ 4.4 นายทหารบางนายใน พัน.ส.พล. จะต้องรบั ผิดชอบทงั้ การงานในหน้าทโ่ี ดยตรงตามตำแหน่งและยงั ต้อง รับผดิ ชอบในฐานะเปน็ ฝ่ายอำนวยการของ ผบ.ส.พล. ด้วย (ฐานะเป็นฝ่ายอำนวยการจะต้องรับผิดชอบในการ ใหข้ ้อเสนอแนะวางแผนประสานงานและกำกบั ดูแล) 4.5 ฝา่ ยอำนวยการของ ผบ.พนั .ส. 4.5.1 รอง ผบ.พัน. ชว่ ยเหลอื ในฐานะเทยี บเทา่ หวั หน้าฝา่ ยอำนวยการของ ผบ.พนั .ส. (หรอื อีก นัยหนงึ่ คอื เปน็ เสนาธกิ ารของหนว่ ย) 4.5.2 นายทหารยุทธการและการข่าว ช่วยเหลอื ในเร่ืองการใช้หนว่ ย ส.และการฝกึ ของหน่วย ส. ตา่ งๆ ภายในกองพล การรวบรวมทำคำส่ังตา่ งๆ ทีจ่ ะเตรยี มให้ ผบ.พล. ลงชอื่ และท่ี ผบ.ส.พล. ลงชอื่ ตลอดจนงานดา้ นการขา่ วกรอง 4.5.3 ผบ.ร้อย. ของ ร้อย.บก. ช่วยเหลือในเรอื่ งดา้ นธุรการของกองพัน งานด้านกำลังพล ของกองพัน การฝกึ งานของ พัน.ส.พล.

หนา้ 39 4.5.4 รอง ผบ.รอ้ ย. ช่วยเหลอื ในเร่ืองงานด้านการส่งกำลงั ของกองพนั 4.5.5 นายทหารยานยนต์ ช่วยเหลอื ในเรื่องการเคลือ่ นย้ายและการขนสง่ ของกองพัน ฯลฯ 4.5.6 นายทหารสง่ กำลังสายส่อื สาร ช่วยเหลือในเรื่องการส่งกำลงั สาย ส. ของกองพลการเตรียม รปจ. ฯลฯ 4.5.7 นายทหารซอ่ มบำรงุ สายสอ่ื สาร ช่วยเหลือในเร่อื งการซ่อมบำรงุ สาย ส. ของกองพล การเตรียม รปจ.การขา่ วกรองส่ือสารทางเทคนิค ฯลฯ 4.5.8 นายทหารการภาพ ชว่ ยเหลือในเร่ืองการภาพของกองพล การเตรียม รปจ. ฯลฯ 4.5.9 นายทหารศูนยข์ า่ วภายใต้ความรับผดิ ชอบของ ผบ.รอ้ ยวิทยุและศูนยข์ ่าว ช่วยเหลือในเรื่อง การบรกิ ารสอื่ สารเกีย่ วกบั การรบั - ส่งข่าว การเตรยี ม นปส. และ รปจ. ฯลฯ 4.5.10 ผบู้ ังคับหมวดวทิ ยุ ภายใตค้ วามรับผิดชอบของ ผบ.ร้อยวิทยแุ ละศูนย์ขา่ ว ช่วยเหลอื ในเร่ือง บรกิ ารสื่อสารด้วยวิทยุการเตรียม นปส., นสป. และ รปจ. ฯลฯ 4.5.11 นายทหารโทรศัพท์ ภายใต้ความรับผิดชอบของ ผบ.ร้อยสายและวิทยุถ่ายทอด ช่วยเหลือใน เรอื่ งการบริการตดิ ต้ังโทรศัพท์ การเตรียม นปส., นสป. และ รปจ. ฯลฯ 4.5.12 นายทหารวทิ ยุถา่ ยทอดภายใต้ความรับผิดชอบของ ผบ.ร้อย ชว่ ยเหลอื ในเรอื่ งบริการสอ่ื สาร ดว้ ยวิทยุถ่ายทอด การเตรยี ม นปส., นสป. และ รปจ. ฯลฯ 4.6 โดยปกติ การปฏบิ ัติงานของ พนั .ส.พล. 4.6.1 มักทำตาม รปจ. ของ พัน.ส.พล. (ทำ รปจ.ไวล้ ่วงหนา้ ) 4.6.2 รปจ. ของ พัน.ส.พล. ตอ้ งคล้อยตาม รปจ. ของกองพล 4.6.3 นายทหารยทุ ธการของ พัน.ส.พล. จะร่าง รปจ. ของ พัน.ส.พล. เป็นส่วนรวม ๆ ตามนโยบาย ของ ผบ.ส.พล. ในขณะเดยี วกันก็ให้กองร้อย และหมวดตอนตา่ งๆ เตรยี มทำ รปจ. ภายในกองร้อย และหมวด ของตน ตาม รปจ. ท่ีนายทหารยุทธการรา่ ง เพื่อรวบรวมทำเปน็ รปจ. ของ พัน.ส.พล. แล้วให้ ผบ.หน่วย ลงชือ่ 4.6.4 รปจ. ของ พัน.ส. อาจมหี ลายเรอื่ ง เช่น การปรนนิบตั ิในท่ตี งั้ ปกติ การฝึกเคลือ่ นยา้ ย การปฏบิ ัติตามสถานการณ์ทางยุทธวธิ ีตา่ งๆ เปน็ ตน้ 4.6.5 บางครัง้ เมื่อ ผบ.ส.พล. ได้ข่าวสารเพ่ิมเตมิ พัน.ส.พล. จะปฏิบตั กิ ารอะไรบางอยา่ งก็อาจ สัง่ ทำ รปจ. สำหรบั การนนั้ ได้ 4.6.5 รปจ.ของ พนั .ส.พล. ต้องทำเปน็ ลายลักษณ์อักษร 4.7 เมอ่ื พัน.ส.พล. มงี านจะต้องทำ (มีภารกจิ ) ผบ.ส.พล. ทง้ั ในฐานะนายทหารฝ่ายอำนวยการ ทางการสอื่ สารของกองพล และในฐานะ ผบ.หนว่ ย ของ พนั .ส.พล. ก็จะต้องกำหนดภารกิจทางการสื่อสาร แลว้ ทำประมาณการส่อื สาร ทำแผนการส่อื สาร (ดูแลขั้นตอนทางการวางแผน) โดยการช่วยเหลอื ของ ฝ่ายอำนวยการของตนแล้ว ผบ.ส.พล. ในฐานะนายทหารฝา่ ยอำนวยการของกองพล และในฐานะ ผบ.หน่วย กจ็ ะให้ข้อตกลงใจ แล้วสงั่ การแก่ผ้ใู ตบ้ งั คบั บญั ชาของตน หมวด ตอนต่าง ๆ ก็สั่งการแกห่ มวด ตอน (ถา้ มี รปจ. อยู่แลว้ กจ็ ะช่วยใหก้ ารสั่งการและการปฏิบัตกิ ารต่างๆ รวดเร็วข้ึน)

หนา้ 40 4.8 ที่ตงั้ ของ พัน.ส.พล. 4.8.1 เมอื่ มีการปฏิบตั งิ านตามภารกิจ พัน.ส.พล. จะไม่รวมเป็นกลุ่มก้อน 4.8.2 ถา้ กองพลมี ทก. แหง่ เดยี ว พัน.ส.พล. เกือบทงั้ หมด (เว้นส่วนสนับสนนุ หน่วยอ่ืน) จะรวม อยใู่ นบริเวณแห่งเดยี ว 4.8.3 ถา้ ทก.พล. แบง่ เป็น ทก.พล.หลัก และ ทก.พล.หลัง ชุดปฏิบัตงิ านประจำ ทก.พล.หลัก (ซ่ึงจะเปน็ สว่ นใหญ่ของ พัน.ส.พล.) จะอย่บู ริเวณ ทก.พล.หลกั 4.8.4 ทต่ี ั้ง พนั .ส.พล.สว่ นประจำ ทก.พล.หลกั อาจอยู่ในบริเวณ ทก.พล.หลัก หรือแยกไปอยู่ ต่างหากก็ได้ (โดยปกตไิ มค่ วรหา่ ง ทก.พล. เกิน 5 กม.) 4.8.5 เจ้าหนา้ ที่ผลดั ทำงาน จะไปประจำทบี่ ริเวณ ทก.พล. เช่น เจ้าหนา้ ที่ศูนย์ขา่ ว เจ้าหนา้ ท่ี เครอื่ งสลบั สาย เป็นต้น 4.8.6 เจ้าหนา้ ทย่ี ังไมเ่ ขา้ ผลดั ทำงาน คงประจำอยู่ท่ี พนั .ส.พล. 4.8.7 เมือ่ ทก.พล.หลกั จะจัด ทก.พล. ยทุ ธวธิ ี หรอื ทก.พล. สว่ นล่วงหนา้ ก็จดั แบง่ ใหเ้ จา้ หน้าที่ ส่ือสาร พร้อมด้วยเครือ่ งมือจากชดุ ปฏิบัตงิ านประจำ ทก.พล.หลกั ไปสนบั สนุน ทก.พล.ทจี่ ัดต้งั ขึน้ ใหม่ 4.8.8 ที่ต้ัง พนั .ส.พล. ส่วนประจำ ทก.พล. หลัง (ซง่ึ เปน็ สว่ นน้อยของ พัน.ส.พล.) จะต้งั อยู่ใน บริเวณ ทก.พล.หลัง 4.8.9 ท่ตี ั้ง พัน.ส.พล. ส่วนสมทบ หรือส่วนสนับสนนุ หนว่ ยอน่ื ๆ นั้น ถ้ายงั ไม่ถึงเวลาแยกไป สมทบหรอื ไปสนบั สนุน มักจะรวมกบั ชดุ ปฏบิ ตั งิ านประจำ ทก.พล. หลกั และเมื่อเวลาไปขน้ึ สมทบ หรอื สนบั สนุนกจ็ ะแยกไปปฏิบัติภารกจิ 4.8.10 ที่ตัง้ สำนกั งานของ ผบ.ส.พล. (ตอนทหารส่ือสารกองพล) น้ัน อาจจะตง้ั ใน ทก.พล. ทัง้ นส้ี ดุ แต่ ผบ.ส.พล. จะตกลงใจโดยปกตแิ ล้วมักจะตง้ั อย่ทู ี่ ทก.พล.หลกั ทัง้ นส้ี ดุ แต่ ผบ.ส.พล.จะตกลงใจ 4.8.11 ทีต่ ้ังของ ร้อย บก. โดยปกตจิ ะตัง้ ณ บรเิ วณ พนั .ส.พล. ส่วนประจำ ทก.พล.หลัก เพ่ือให้ การสนับสนุนแก่ พนั .ส.พล. ไดอ้ ยา่ งเต็มที่ แตอ่ าจแบง่ ส่วนน้อยให้ไปรว่ มกบั ชุดประจำ ทก.พล.หลัง เพือ่ ให้ การสนบั สนนุ กับชดุ ประจำ ทก.พล.หลงั 4.8.12 ทีต่ ง้ั ของตอนซ่อมบำรุงยานยนต์ โดยปกติจะต้งั ณ บริเวณ พัน.ส.พล. ส่วนประจำ ทก.พล.หลัก เพ่อื ใหก้ ารสนบั สนนุ แก่ พนั .ส.พล. ไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ แต่อาจแบง่ สว่ นนอ้ ยให้ไปรว่ มกับชุดประจำ ทก.พล.หลัง เพื่อให้การสนับสนุนกับชดุ ประจำ ทก.พล.หลัง นอกจากน้ันอาจมีชดุ เคลอ่ื นที่ ที่จะคอยให้การ สนบั สนนุ แก่สว่ นของ พนั .ส.พล. ทีอ่ อกไปปฏบิ ตั ิงานนอก พนั .ส.พล. เชน่ สถานีวิทยุถ่ายทอด เป็นตน้ ตอนซอ่ มบำรงุ ยานยนตจ์ ะจดั แหล่งรวมรถของ พัน.ส.พล. ขึน้ 4.8.13 ทีต่ ั้งของ มว.ศนู ย์ขา่ วและนำสาร โดยปกติแลว้ สว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นบริเวณ พัน.ส. ส่วนประจำ ทก.พล.หลกั แต่อาจมีสว่ นน้อยทแ่ี บ่งไปร่วมกับชุดประจำ ทก.พล.หลัง 4.8.14 ทตี่ ัง้ ของ มว.วทิ ยุ โดยปกติ บก.มว.วทิ ยสุ ว่ นใหญ่ของ มว.วิทยุ จะตั้ง ณ บรเิ วณ พนั .ส.พล. ส่วนประจำ ทก.พล.หลกั สว่ นน้อยจะจัดไปร่วมชุดประจำ ทก.พล.หลัง และส่วนหนึง่ จะไปสนับสนนุ หรือ

หน้า 41 สมทบหนว่ ยอนื่ (เมื่อจำเป็น) สว่ นท่ปี ฏิบัตงิ าน ณ ทก.พล.หลกั อาจจำเป็นต้องแยกไปต้ังอีกพน้ื ท่ีหนึง่ ก็ได้ ในเมอื่ มีปัญหาเร่ืองการเลือกท่ีต้ังสายอากาศ 4.8.15 ที่ตั้งของ มว.สาย โดยตามปกติ บก.มว.สาย และสว่ นใหญ่ของ มว.สาย จะอยู่ ณ บรเิ วณ พนั .ส.พล. สว่ นประจำ ทก.พล.หลัก สว่ นน้อยจะจัดไปรว่ มกับชดุ ประจำ ทก.พล.หลังและอีกส่วนจะจัดไปสมทบ หรือสนับสนุนหนว่ ยอน่ื ๆ (เมื่อจำเป็น) 4.8.16 ทต่ี ั้งของ มว.วิทยุถา่ ยทอด โดยปกติ บก.มว.วทิ ยถุ า่ ยทอด และส่วนใหญ่ของ มว.วทิ ยุถ่าย ทอด ตั้ง ณ บรเิ วณ พนั .ส.พล. ประจำ ทก.พล.หลัก สว่ นอ่ืนจะแยกไปอยู่กับ ทก.พล.หลัง, ทก.กรม.ร., ทก.กรม.ป. และต้ังอยูร่ ะหว่างทาง (สถานีวิทยุถ่ายทอดกลางทาง) 4.8.17 ทต่ี ง้ั ของตอนการภาพ โดยปกตติ อนการภาพจะต้ังอยู่ ณ ปฏบิ ตั งิ านกับ ทก.พล.หลัง และ ในบางคร้ังอาจส่งช่างภาพไปสนับสนุนหน่วยรองของกองพลดว้ ย 4.8.18 ทต่ี งั้ ของตอนซ่อมบำรงุ สายสื่อสาร โดยปกตจิ ะตั้งอยู่ ณ บริเวณ พัน.ส.พล. ส่วนประจำ ทก.พล.หลกั แตใ่ นบางสถานการณ์อาจต้ังอยกู่ บั ทก.พล.หลงั แล้วจดั สว่ นหนงึ่ ให้ไปปฏิบตั ิงาน ณ ทก.พล.หลัก นอกจากนั้นบางสถานการณอ์ าจจำเปน็ ต้องตัง้ ตอนน้ีอยใู่ กลเ้ คยี งกบั สพบ.พล. ก็ได้ อยา่ งไรก็ตามมีข้อควรระลกึ วา่ เมอ่ื จะเลอื กทีต่ ัง้ ของตอนสง่ กำลงั แลว้ ก็ควรจะตัง้ อยนู่ าน ๆ เพราะการเคลื่อนยา้ ย ตอนซอ่ มบำรุง ส. บอ่ ยๆ จะมีปัญหาเรอ่ื งการเคลื่อนย้าย โดยเฉพาะทเ่ี ก่ียวกบั การขนส่ง ตอนที่ 3 การปฏบิ ตั ขิ องส่วนอำนวยการและบงั คับบญั ชา 3.1 เมอื่ เลือกทต่ี ้ังไว้แล้ว รอง ผบ.ส.พล. และนายทหารยุทธการและการข่าวจะเปน็ ผชู้ ่วยในการจัดสำนักงาน 3.2 งานในสำนักงานของ ผบ.ส.พล. จะแบ่งออกเปน็ สว่ น (แยกกันอยา่ งเดด็ ขาด) คือ งานฝ่ายอำนวยการ ทางการส่ือสารของกองพล และงานดา้ นบงั คับบัญชา พัน.ส.พล. 3.3 งานท่คี วรสนใจคือ การควบคุม การกำกับดูแลตลอดจนการทำแผนผังตา่ งๆ ตอนท่ี 4 การปฏิบตั ิงานของสว่ นสนบั สนุน 4.1 เลอื กท่ีตง้ั บก.ร้อย ของ ร้อย บก. ใหส้ ะดวกแกก่ ารสนับสนุน เช่น การประกอบเลี้ยง ท่ีพักอาศยั ทีพ่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจ, การจดั สำนักงาน, การดำเนินงานดา้ นการสง่ กำลงั ตลอดจน การควบคุมกำลงั พล สวสั ดิการ, การฝึกของ พัน.ส.พล. การอำนวยการป้องกันท่ตี ้งั ของ พัน.ส.พล. สว่ นทีป่ ระจำ ทก.พล. หลกั 4.2 เลอื กทีต่ ง้ั ตอนซอ่ มบำรุงยานยนต์ใหส้ ะดวกแกก่ ารจัดแหล่งรวมรถ เพอ่ื ควบคุมและการซ่อมบำรุง ยานยนตต์ า่ งๆ ของกองพนั ท้ังท่ีอยู่ในบริเวณ พัน.ส.พล. และท่แี ยกยา้ ยกันอยูใ่ นท่ตี ่างๆ ท้ังน้ีเพอ่ื สง่ เสริม ประสิทธิภาพของ พนั .ส.พล. ในดา้ นยานยนต์ 4.3 งานทีค่ วรสนใจคือ การกระตือรือร้นท่ีจะใหบ้ ริการสนบั สนุนสว่ นต่างๆ ของ พัน.ส.พล. เพื่อสง่ เสริม

หน้า 42 กำลงั ใจในการปฏิบตั งิ านของ พัน.ส.พล. เปน็ ส่วนรวม ตอนที่ 5 การปฏิบัตงิ านของส่วนบรกิ ารกิจกรรมของเหลา่ ส. แกก่ องพล 5.1 เลอื กทีต่ ้ังของตอนการภาพให้สะดวกแก่การบรกิ ารแก่กองพล 5.2 งานบรกิ ารการภาพ เปน็ งานท่คี วรใชค้ วามริเร่ิมมากกวา่ เป็นงานท่จี ะคอยรบั คำสงั่ 5.3 งานบรกิ ารการภาพจะมที ง้ั ในดา้ น ยุทธการ, การข่าว, การสง่ กำลงั บำรุง, การกำลงั พลและงานประชาสมั พันธ์ 5.4 เลอื กทีต่ ั้งตอนสง่ กำลังและซ่อมบำรุงสายส่ือสารใหส้ ะดวกแกก่ ารบริการแก่กองพล 5.5 ในด้านการส่งกำลังอาจะตรยี มต้ังตำบลจา่ ยของกองพล แต่ในบางสถานการณ์อาจจำเป็นตอ้ งส่งกำลัง ถึงทีต่ ัง้ หน่วยก็ได้ 5.6 ขอ้ ยงุ่ ยากในด้านการซ่อมบำรุง คือ การสง่ คืนหนว่ ยและการรวบรวมสง่ ซอ่ มหน่วยเหนือ แล้วส่งคืนหน่วย 5.7 ในดา้ นการซ่อมบำรุงอาจต้องทำการซ่อมบำรุงเคลื่อนท่ี ถงึ ท่ตี ั้งหน่วยก็ได้ 5.8 สำหรบั งานในด้านการข่าวกรองสอ่ื สารทางเทคนิคนั้น จะทำเมอ่ื ไดร้ บั คำสงั่ ตอนท่ี 6 การปฏบิ ัติงานของสว่ นปฏิบัติการส่อื สารแกก่ องพล 6.1 การปฏิบัตงิ านในด้านการสอ่ื สาร พัน.ส.พล. จะปฏิบัตงิ านในรูปของศนู ย์การสอื่ สารของกองพล โดยการรวบรวมงานบางส่วนของกองร้อยทั้งสอง เข้าดว้ ยกัน 6.2 กองร้อยทง้ั สอง เลือกที่ต้ังของตนทั้งทีต่ ้ังสำหรับปฏิบตั งิ าน และสำหรบั อยู่อาศยั ของผลดั พัก 6.3 หมวดศูนยข์ ่าวและนำสารจดั ต้ังสำนกั งานศนู ย์ขา่ ว ซึ่งเป็นสว่ นหนงึ่ ของศนู ย์การสือ่ สารของกองพล (ศูนย์ขา่ วนคี้ วรเรียกศนู ย์ขา่ วของกองพล มใิ ช่เรียกวา่ ศนู ย์ขา่ วของ พัน.ส.พล.) และจดั บรกิ ารนำสาร ด้วยยานยนต์ ( ทั้งการนำสารตามกำหนดเวลาและการนำสารพเิ ศษ ) ถ้าจำเป็นก็อาจจัดตัง้ ตำบลส่งต่อ ก็ได้ หมวดศูนย์ข่าวและนำสารนีต้ อ้ งพร้อมทจี่ ดั ชุดศนู ยข์ ่าวประจำ ทก.พล.ยทุ ธวธิ ี หรือ ทก.พล. สว่ นลว่ งหนา้ (เม่อื ผบ.พล. ตอ้ งการจดั ทก.พล. เพิ่มขึน้ ) 6.4 หมวดสาย จะแบง่ งานออกเป็น 4 ส่วน 6.4.1 จดั ตัง้ และให้บริการเครื่องสลบั สายแก่กองพล 6.4.2 วางสายและตดิ ตั้งการส่อื สารดว้ ยโทรศัพท์ภายใน ทก.พล.(เคร่ืองโทรศัพท์บางเคร่ืองเป็นของ ในอัตราหนว่ ยอน่ื ) 6.4.3 วางสายไปยัง ทก. หนว่ ยรองท่ีอยู่ในการบังคบั บัญชา ของ ทก.พล. (วางไปยงั เคร่ืองสลับสายของ หนว่ ยรองๆ) 6.4.4 บำรงุ รักษาทางสาย

หนา้ 43 6.5 หมวดวทิ ยุ จะแบง่ งานดังน้ี 6.5.1 ส่วนหนงึ่ จัดเปน็ สถานวี ทิ ยุลกู ขา่ ยทที่ ำงานในขา่ ยของหน่วยเหนอื 6.5.2 ส่วนหนงึ่ จดั เปน็ สถานวี ิทยบุ งั คับขา่ ยท่ีทำงานในข่ายกับหน่วยรองเปน็ ข่ายของกองพล 6.5.3 ส่วนหนง่ึ จดั ไปประจำหนว่ ยอ่นื เม่ือทำงานในขา่ ยของหน่วยรอง 6.5.4 ส่วนหนง่ึ ไปสนับสนนุ หนว่ ยรอง (ตามความจำเปน็ ) เพอื่ ทำงานในข่ายของหนว่ ยรอง 6.5.5 ส่วนหนงึ่ จัดไวอ้ ะไหล่ หรอื สำรอง 6.5.6 สถานวี ิทยทุ ่ที ำงาน ณ บรเิ วณ ทก.พล. เปน็ ตอนเคร่ืองมือของศูนย์การสือ่ สารของกองพล 6.5.7 การทำงานอาจเปน็ ได้ทงั้ วิทยุโทรศพั ท์ วทิ ยโุ ทรเลข วิทยโุ ทรพิมพ์ 6.6 หมวดวทิ ยถุ ่ายทอด จะแบ่งออกดงั น้ี 6.6.1 ส่วนใหญ่จะตง้ั เปน็ สถานวี ทิ ยตุ น้ ทางท่ี ทก.พล. 6.6.2 ส่วนหน่ึงจะแยกเปน็ สถานีปลายทาง ทก.พล.หลงั , ทก.กรม.ร. หรอื ทก.กรม.ป. 6.6.3 ส่วนหนึง่ จะตง้ั สถานวี ทิ ยุถา่ ยทอดกลางทาง 6.6.4 ส่วนหนงึ่ ท่มี ไิ ด้ใช้งานจะจดั เปน็ อะไหล่หรือสำรอง 6.6.5 ณ สถานีต้นทางหรอื ปลายทางจะต่อเข้ากับเครื่องคลื่นพาห์ เพื่อใชเ้ ป็นโทรศัพท์หรือโทรพมิ พ์ และจากเครอื่ งคล่นื พาหจ์ ะตอ้ งต่อเข้ากบั เครอ่ื งสลับสาย 6.6.6 ถ้าใชเ้ ป็นโทรพิมพ์กจ็ ะตดิ ตั้งเครอ่ื งโทรพิมพ์ไวใ้ นบรเิ วณศูนย์การสอ่ื สารของกองพล 6.6.7 ถ้าใชเ้ ป็นโทรศัพท์ เครื่องโทรศัพทก์ ็คงวางอยู่ทเี่ ดิม 6.7 การปฏิบตั งิ านตา่ งๆ จะต้องมีลักษณะใหเ้ กิดความเชอื่ ถอื ได้มคี วามปลอดภัย มีความรวดเร็วมีความ อ่อนตัว และสามารถตอบสนองได้ทันที พนั ธกิจการสนับสนนุ ของกองพนั 1. การเล้ยี งดูในสนาม ในสนามนั้นมีวิธีการจัดอุปกรณ์เลี้ยงดูสำหรับกองพันทหารสื่อสารของกองพล เป็นดุลยพินิจของ ผู้บังคับบัญชา ซึ่งจะแตกต่างไปตามแต่ละกองพัน และภารกิจเฉพาะ ตามปกติแล้ว ฝอ.4 จะได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบทางฝ่ายอำนวยการ ในการประสานการเลี้ยงดู ผบ.ร้อย.บก. รับผิดชอบในการอำนวยการใช้อุปกรณ์ การเลี้ยงดู ซึ่งในอัตราของ ร้อย.บก. ในระหว่างการรบ อุปกรณ์เหล่านี้จะถูกส่งไปสนับสนุน ณ พื้นที่ ซึ่งอยู่ใน สว่ นใหญข่ องทหารสื่อสารของกองพลไปปฏบิ ัตงิ านอยู่ ต่อไปนเี้ ป็นข้อเสนอวิธเี ลีย้ งดู 1.1 กองบงั คับการกองพันและกองร้อยตา่ ง ๆ ของกองพนั โดยปกติแลว้ จะไดร้ บั การสนบั สนนุ การเลี้ยงดู จากกองร้อยกองบังคบั การเป็นสว่ นรวม 1.2 ในกรณีที่กองบัญชาการกองพลจัดตง้ั ขนึ้ เป็นหลายสว่ น อุปกรณ์การเลย้ี งดจู ะต้องแยกไปตั้งปฏบิ ตั ิการ อยู่ใกลเ้ คียงกนั กำลังสว่ นของของทหารสอื่ สารท่ปี ฏบิ ตั งิ านสนับสนนุ การส่ือสารให้กบั กองบญั ชาการแตล่ ะสว่ นน้นั

หนา้ 44 1.3 ทบ่ี ญั ชาการหลักของกองพล อปุ กรณเ์ ลยี้ งดูของสว่ นน้ีจะตั้งปฏบิ ตั ิงานอยู่ในบรเิ วณเดียวกนั กบั ท่ีตั้ง บก.พนั .ส.และ นขต. อนั เป็นที่รวมของกำลงั พลส่วนใหญ่ของกองพันทหารส่ือสารท่ีปฏิบัติการสนับสนุนการสื่อสาร ให้กับกองพลนนั้ 1.4 ทบี่ ญั ชาการยทุ ธวิธขี องกองพล อุปกรณเ์ ลีย้ งดูสว่ นนี้ อาจตัง้ ปฏบิ ตั ิการอยใู่ กล้ศนู ยก์ ารส่อื สารทางยทุ ธวิธี อันเป็นที่รวมของกำลังพลทหารสื่อสารที่ปฏิบัติงานสนับสนุนการสื่อสาร ให้กับที่บัญชาการนั้น ส่วนเสบียง อาจได้รับจากตำบลจ่าย ที่ได้กำหนดขึ้นเพื่อสนับสนุนที่บัญชาการนั้นหรือจากพืน้ ที่สมั ภาระ ของกองพล ตามที่ รปจ. ของกองพล และ รปจ.ของกองพัน จะกำหนด 1.5 กองบัญชาการส่วนหลงั ของกองพล อปุ กรณเ์ ล้ยี งดูสว่ นน้ีอาจต้ังปฏบิ ตั กิ ารอยใู่ กลศ้ ูนย์การสื่อสารของ กองบญั ชาการส่วนหลังของกองพล ฉะนั้นจงึ อาจเบิกเสบยี งได้โดยตรงจากตำบลส่งกำลงั ของกองบัญชาการกองพล ส่วนหลงั 2. การส่งกำลงั ของกองพัน การสง่ กำลังของกองพันทหารส่ือสารน้นั ฝอ.4 กองพนั เป็นผู้กำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ การปฏิบัติการ ส่งกำลังทั้งสิ้นจะต้องกระทำตามข้อบังคับกองทัพบก และ รปจ. ของกองพล และ ของกองพันทหารสื่อสาร แนวทางปฏิบัตเิ กย่ี วกบั การส่งกำลังในกองพันทหารส่อื สารของกองพลนนั้ ไดก้ ลา่ วไวด้ งั น้ี 2.1 ในกรณีท่กี องบญั ชาการกองพลจัดต้งั ขึ้นเปน็ หลายส่วน นายทหารผู้รบั ผดิ ชอบศนู ย์การส่ือสาร ที่สนบั สนนุ กองบัญชาการนั้น ซ่ึงไม่ได้ต้ังอยู่ในพ้นื ท่ีของกองพัน จะตอ้ งแต่งตัง้ เจา้ หนา้ ท่ีที่เหมาะสมข้ึนมาทำหน้าที่ รับผิดชอบทางด้านการส่งกำลัง โดยจะรับอุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ จากตำบลจ่าย ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุน กองบัญชาการนั้น ในกรณีที่ตั้งของศูนย์การสื่อสารนั้นไม่ห่างไกลจากที่ตั้ง กองพันจนเกินไป การส่งกำลัง อาจกระทำตรงจากกองพนั มาเลยกไ็ ด้ ท้ังน้ขี ึ้นอยู่กบั ดุลยพนิ จิ ของ ผบ.พนั .ส.ทีจ่ ะตกลงใจโดยมี ฝอ.4 เปน็ ผกู้ ำกับ ดูแลทางฝา่ ยอำนวยการ 2.2 การรวมการส่งกำลงั ในบางสถานการณ์ เชน่ ในสภาพส่ิงแวดล้อมของการป้องกัน และพฒั นาภายใน กิจกรรมต่างๆ ของกองบัญชาการกองพล อาจจะรวมกันเข้าและปฏิบัติการจากฐานร่วม ของกองพล แห่งหนึ่ง (COMMON DIVISION BASE) การรวมการส่งกำลังอาจจะกระทำได้ อย่างหนึ่งอย่างใดนั้น ควรกระทำเม่ือ ท่ีบัญชาการหลักของกองพล และที่บัญชาการส่วนหลังของกองพล อยู่ในพื้นที่รวมหรืออยู่ใกล้กัน ในสถานการณ์ เช่นนัน้ การสง่ กำลังส่วนใหญ่ของกองพันทหารส่ือสาร ตามที่ตอ้ งการน้นั อาจจะได้รับจากตำบลจ่ายต่างๆ ในพื้นที่ สนบั สนุนของกองพล 2.3 การซ่อมบำรงุ ยานยนต์ของกองพนั 2.3.1 การซอ่ มบำรุงยานยนต์ของกองพัน อย่ใู นการกำกบั ดแู ลทวั่ ไปของนายทหารยานยนต์ของ กองพันและในการกำกับดูแลโดยตรงของนายสบิ ยานยนต์ ซงึ่ อยู่ในตอนซอ่ มบำรุงยานยนต์กองพนั 2.3.2 การซอ่ มบำรุงยานยนตก์ องพัน จำกดั อยู่เพียงแต่การซอ่ มยานยนต์ล้อระดบั หน่วย ซ่งึ เปน็

หนา้ 45 การเพิ่มเติมขีดความสามารถของกองร้อยในอัตรา การซ่อมบำรุงนั้นควรจะกระทำ ณ ที่ตั้งซ่อมเท่าที่จะปฏิบัติได้ ในการกระทำเช่นนี้ตอนซ่อมบำรุงยานยนต์ จะมีรถ 2 ½ ตัน 1 คัน พร้อมชุดเครื่องมือเพื่อการจัดตั้งเป็น ทซ่ี อ่ มยานยนต์ 2.4 การส่งกำลังและซ่อมบำรุงสายสื่อสาร ตอนซ่อมบำรุงสายสื่อสาร ซึ่งจัดตั้งอยู่ใน ร้อย บก. เป็นผู้ให้ การสนับสนุนด้านการส่งกำลังและซ่อมบำรุงสายสื่อสารเป็นส่วนรวมต่อกองพล โดยมีนายทหารซ่อมบำรุงสื่อสาร กำกับดูแล การสนับสนุนการซ่อมบำรุงอื่น ๆ นอกจากการซ่อมบำรุงได้ดังกล่าวข้างต้นแล้ว กองพันทหารสื่อสาร ยังได้รับการสนับสนุนโดยตรงจากหน่วยซ่อมบำรงุ ของสายยุทธบริการต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุนทางการซ่อมบำรงุ แก่กองพลนนั้ ๆ ตามขอ้ บังคับของกองทัพบกและ รปจ. ของกองพล 2.3.3 พ้นื ที่สนับสนนุ ของกองพล หนว่ ยตา่ งๆ ของกองพันทหารส่ือสารท่อี ยู่ ณ ท่บี ัญชาการหลกั ที่บัญชาการยุทธวิธี และที่บัญชาการส่วนหลังจะได้รับการซ่อมบำรุงสนับสนุนโดยตรง และการสนับสนุนชิ้นส่วน อะไหล่จากหน่วย ซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละสายยุทธบริการที่ให้การสนับสนุนกองพลนั้นอยู่ การให้การสนับสนุน กระทำได้ 2 วิธีดังต่อไปนี้คือ โดยทางชุดซ่อมบำรุงเคลื่อนที่ ทำการเยี่ยมเยือนหน่วยที่จะได้รับการสนับสนุน เพอ่ื การซอ่ มบำรุงถึงที่ตัง้ หรือโดยทำการซอ่ มในโรงซ่อมบำรุงของกองร้อย 2.5.1.1 เนอื่ งจากความสำคัญของเครอื่ งสอื่ สาร ท่ปี ระจำตามทีบ่ ัญชาการตา่ ง ๆ ดังกล่าวแล้ว ข้างตน้ และความจำเปน็ ท่จี ะต้องปฏิบตั ิตลอด 24 ชม. ฉะนน้ั จงึ ต้องจดั ใหม้ ีการซ่อมบำรุงสนับสนนุ โดยตรงถึงท่ีตั้ง ใหม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ที่จะทำได้ ชุดซอ่ มบำรงุ ของหนว่ ยให้การสนับสนุนการซ่อมบำรงุ ของกองพล อาจทำการซ่อมเคร่ือง (ซึ่งไม่ใช่สายสื่อสาร) ถึงที่ตั้งได้ด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะแห่งความสำคัญของเครื่องมือ ความง่ายของการซ่อม บำรงุ ถงึ ทตี่ ้งั และขีดความสามารถของหนว่ ยซอ่ มบำรุง 2.5.1.2 ถ้าท่บี ัญชาการของกองพลสว่ นหลัง ต้งั อยู่ข้างหลังพ้ืนท่ีของกองพล ก็จะไดร้ บั การ ซอ่ มบำรงุ สนับสนุนโดยตรง จากหนว่ ยซ่อมบำรุงถึงทตี่ ั้งทจี่ ัดจากกองบัญชาการ ชว่ ยรบขึ้นมาสนับสนนุ ก็ได้ เพ่ือให้ แน่ใจวา่ อปุ กรณ์สอ่ื สารทส่ี ำคญั นนั้ สามารถปฏบิ ัติงานได้ ตลอด 24 ชม. 2.5.1.3 ใหด้ รู ายละเอยี ดเร่ืองการซ่อมบำรงุ และการสนับสนุนชิ้นส่วนอะไหล่ ในวิชา การส่งกำลงั และซ่อมบำรุงสายสือ่ สาร 2.5.1.4 พนื้ ทส่ี ัมภาระของกรมในแนวหนา้ การปฏบิ ตั ิงานของกองกำลังพล สว่ นนีต้ ามปกติ แล้วปฏิบัติงานอยู่ใกล้พื้นที่สัมภาระ หรือพื้นที่ส่วนหน้าของกรมในแนวหน้า จะได้รับการสนับสนุนการซ่อมบำรุง จากชดุ ซอ่ มบำรุงเคลอื่ นทข่ี องหน่วยซอ่ มบำรงุ ทีใ่ ห้การสนับสนนุ ของกองพล

หนา้ 46 ข่ายวิทยขุ องกองพล ตอนที่ 1 กล่าวท่วั ไป 1. ข่ายวิทยุปรุงคลื่นทางช่วงสูง และปรุงคลื่นทางความถี่เป็นส่วนหนึ่งของระบบการสื่อสารของกองพล รูปร่างของข่ายวิทยุของกองพลตามแบบอย่างแสดงไว้ในรูป อย่างไรก็ตามผู้บังคับทหารสื่อสารของกองพล เป็นผู้กำหนดครั้งสุดท้ายในเรื่องลักษณะรูปร่างของข่ายวิทยุ โดยอาศัยสถานการณ์ทางยุทธวิธีความถี่ และเครื่อง ที่มีอยู่ ตลอดจนความต้องการของผู้บัญชาการกองพล เป็นหลักในการพิจารณาการจัดข่ายวิทยุใดๆ ก็ตามจะต้อง ให้ออ่ นตวั ได้เพยี งพอเพอื่ ให้สามารถเผชิญกบั ความเปลยี่ นแปลงอนั มิได้คาดถึงในการใชท้ างยุทธวิธี 2. ตามปกติแล้วชุดวิทยุ ปส. และ ปถ. นั้นใช้เมื่อจัดตั้งการสื่อสารในขั้นเริ่มต้นระหว่างกองบังคับการ ต่าง ๆ ในเมอ่ื มอี ุปกรณ์วิทยุถ่ายทอดและอปุ กรณท์ างสาย พรอ้ มทจ่ี ะใช้งานได้แลว้ ความต้องการในการใชว้ ิทยุก็จะ ลดลง อย่างไรก็ตามในสถานการณ์เคลือ่ นทเี่ รว็ วิทยเุ ท่าน้ัน มกั จะเปน็ มชั ฌิมการส่อื สาร ที่เหมาะในทางปฏิบัติ 3. ถึงแม้ข่ายวิทยุต่าง ๆ จะได้กำหนดไว้เป็นข่ายๆ ตามพันธกิจ เช่น การบังคับบัญชา การส่งกำลังบำรุง การข่าวกรอง แล้วก็ตามแต่ปริมาณของข่าวและสถานการณ์อื่นๆ ก็อาจจะบังคับให้จำเป็นต้องรวมข่ายต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื ใช้งานกบั ขา่ วหลายๆ ชนดิ ตอนที่ 2 ข่ายวทิ ยภุ ายในกองพล มีรายละเอียดดังข้างลา่ งน้ี 1. ข่ายบงั คบั บญั ชา/ยทุ ธการกองพล (ปส./คม.) 1.1 ขา่ ยวทิ ยุขา่ ยน้ี ใช้ควบคุมบงั คบั บญั ชาในการยทุ ธของกองพล สถานบี ังคับข่ายตั้งอยู่ที่ ทก.หลัก ของกองพล พนั .ส.พล. จดั เจ้าหน้าทเ่ี ข้าปฏบิ ัติงาน ณ สถานบี ังคับขา่ ยน้ี 1.2 สถานีวิทยใุ นขา่ ยน้ี ประกอบดว้ ยสถานวี ิทยทุ ี่ ทก.หลักของกองพล ทก. ทางยทุ ธวธิ ขี องกองพล ทำการส่ือสารไปยัง ทั้ง 3 กรม ร. , กรม ป.พล., พัน.ถ., พนั .ช.

หน้า 47 2. ขา่ ย ผบ.พล./บงั คบั บญั ชากองพล (ปถ./คำพูด) 2.1 ขา่ ยวทิ ยุข่ายนี้ เปน็ ข่ายสอ่ื สารโดยตรงระหว่าง ผบ.พล. กับ ผบ.หน่วยขนึ้ ตรงของกองพล พนั .ส.พล. จะเปิดสถานีควบคมุ ขา่ ยท่ี ทก.หลักของกองพล สถานวี ทิ ยใุ นขา่ ยน้ปี ฏบิ ตั ิงานเต็มทีต่ ลอดเวลา 2.2 สถานีวิทยใุ นข่ายน้ี ประกอบดว้ ย สถานวี ทิ ยทุ ่ี ทก.หลกั ของกองพล ทก.ทางยุทธวธิ ขี องกองพล สือ่ สารไปยงั ทั้ง 3 กรม ร., กรม ป.พล. และ พนั .ถ. 3. ขา่ ยการขา่ วกองพล ( ปส./คม. ) 3.1 ขา่ ยวิทยขุ ่ายนใ้ี ชใ้ นการส่งขา่ วสาร และข่าวกรองเกย่ี วกับข้าศึก สถานีบังคบั ขา่ ยต้ังอยู่ท่ี ทก.หลกั ของกองพล และทำงานรับส่งข่าวให้ สธ.2 เป็นหลัก พัน.ส.พล. เป็นผู้จัดตั้งเจ้าหน้าที่ และเครื่องมือปฏิบัติการ ในสถานีบังคบั ข่ายน้ี 3.2 สถานวี ิทยใุ นขา่ ยน้ปี ระกอบด้วย สถานีวทิ ยุท่ี ทก.หลกั ของกองพล ทก.ทางยุทธวิธีของกองพล สื่อสารไปยงั ท้งั 3 กรม ร. ,กรม.ป.พล., กอง ลว.พล. และ รอ้ ย.ลว.ไกล

หนา้ 48 4. ข่ายธรุ การ/ส่งกำลงั บำรงุ ที่ 1 กองพล (ปส./คม.) 4.1 สถานีบังคับข่ายทต่ี ้งั อยู่ท่ี ทก.หลกั ของกองพล และทำงานในการสอ่ื สารหลักสำหรบั สธ.1 และ สธ.4 พนั .ส.พล. เปน็ ผ้จู ดั สถานีบงั คับข่ายตลอดจนเจา้ หนา้ ท่ีปฏิบตั งิ าน 4.2 สถานีวทิ ยใุ นข่ายน้ี ประกอบดว้ ย สถานวี ทิ ยุที่ ทก.หลกั ของกองพล และ ทก.หลงั ของกองพล ทำการส่ือสารไปยงั กอง สพบ.พล., พนั .สร.พล., กอง พธ.พล., ร้อย สห.พล., ฝา่ ยการสารวัตรกองพล สำหรับสถานี รองท่ที ั้ง 3 กรม ร. กอง ลว.พล. และ รอ้ ย ลว.ระยะไกล เขา้ ข่ายนี้ตามความต้องการ โดยเปลีย่ นจาก ข่ายการข่าว กองพล สถานีรองที่ กรม. ป.พล., พัน.ถ.และ พนั .ช. เขา้ ขา่ ยนี้ตามความต้องการโดยเปล่ียนจาก ข่ายบังคับบัญชา/ ยุทธการกองพล 5. ข่ายธุรการ/สง่ กำลงั บำรงุ ท่ี 2 กองพล (ปถ./คำพดู ) 5.1 ข่ายวทิ ยขุ ่ายน้ีใช้ส่งขา่ วธรุ การและส่งกำลังบำรงุ ระหว่าง ทก.หลกั ของกองพล กับ ทก.หลัง ของ กองพล พนั .ส.พล. จดั ชดุ เจ้าหนา้ ทไ่ี ว้ท่ี ทก.หลัก และ ทก.หลัง (สถานีบังคับขา่ ยตัง้ อยทู่ ่ี ทก.หลงั ) 5.2 สถานีวิทยใุ นข่ายนี้ประกอบด้วยสถานีวทิ ยุที่ ทก.หลกั ของกองพล และ ทก.หลังของกองพล