Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 740_บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาการจ

740_บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาการจ

Published by cancer stom, 2021-02-03 10:42:05

Description: 740_บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาการจ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกบั วิทยาการจดั การเรียนรู้

ความรพู้ ้ืนฐานเกี่ยวกบั วิทยาการจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้เป็นการต้ังใจกระทาให้เกิดการเรียนรู้ การจดั การเรยี นรู้ทด่ี ียอ่ มทาให้เกิดการเรียนรู้ทดี่ ี ผสู้ อนเป็นผู้ท่มี ี บทบาทสาคญั ในการทาใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้ กระบวนการเรียนร้มู ิได้จากดั ว่าจะต้องเกดิ ข้ึน เฉพาะในหอ้ งเรียนเทา่ นั้น ดงั นน้ั การจัดการเรยี นรู้ หรือที่ เรียกกันวา่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จงึ เปน็ สิ่งท่ีสาคญั

ความหมายของวิทยาการจดั การเรียนรู้ หมายถึง ความรแู้ ขนงต่างๆ นามาบรู นาการเขา้ ดว้ ยกนั ตามท่ีผสู้ อนนามาใชเ้ พ่ือใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ เรียกไดว้ ่า เป็ นการจดั การเรียนรู้

นกั การศึกษาหลายท่าน ไดใ้ หค้ วามหมายของ การจดั การเรียนรใู้ นทศั นะต่างๆ ดงั น้ี ฮูและดนั แคน (Hough & Duncan, 1970: 144) อธิบายความหมายของการจดั การเรียนรวู้ ่า หมายถึง กิจกรรมของบคุ คลซึ่งมีหลกั และเหตุผล เป็ นกิจกรรมทบี่ คุ คล ไดใ้ ชค้ วามรูข้ องตนเองอย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อสนบั สนุนใหผ้ ูอ้ ่ืนเกิดการเรียนรู้ และความผาสกุ ดงั นนั้ การจดั การเรียนรจู้ ึงเป็ นกิจกรรมในแง่มมุ ต่างๆ 4 ดา้ น คือ 1. ดา้ นหลกั สตู ร (Curriculum) หมายถึงการศึกษาจุดมงุ่ หมาย ของการศึกษา ความเขา้ ใจในจุดประสงคร์ ายวิชาและการตงั้ จุดประสงคก์ าร จดั การเรียนรทู้ ี่ชดั เจน ตลอดจนการเลือกเน้ือหาไดเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั ทอ้ งถิ่น

2. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ (Instruction) หมายถึง การเลือกวิธีสอนและเทคนิคการจดั การเรียนรทู้ ่ีเหมาะสม เพื่อ ช่วยใหผ้ เู้ รียนบรรลุถึงจดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ ่ีวางไว้ 3. ดา้ นการวดั ผล (Measuring) หมายถึงการเลือก วิธีการวดั ผลที่เหมาะสมและสามารถวิเคราะหผ์ ลได้ 4. ดา้ นการประเมินผลการจดั การเรียนรู้ (Evaluating) หมายถึงความสามารถในการประเมินผล ของการจดั การเรียนรทู้ ง้ั หมดได้

กดู๊ (Good, 1975: 588) ไดอ้ ธิบายความหมายของการจดั การเรียนรวู้ ่าการจดั การเรียนรู้ คือ การกระทาอนั เป็ นการอบรมสงั่ สอนผูเ้ รียนใสถาบนั การศึกษา ฮิลล์ (Hills, 1982: 266) ใหค้ าจากดั ความของการจดั การเรียนรไู้ วว้ ่าการจดั การ เรียนรคู้ ือกระบวนการใหก้ ารศึกษาแก่ผูเ้ รียน ซ่ึงตอ้ งอาศยั ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียน นอกจากนน้ั ยงั มีผใู้ หค้ วามหมาย ของการจดั การเรียนรไู้ ว้ อีกหลายทศั นะ เช่น

การจดั การเรียนรู้ คือ การจดั สถานการณ์ สภาพการณ์ หรือ กิจกรรมการเรียนรู้ ใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ ีประสบการณ์ อนั ก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ ไดง้ ่าย ซ่ึงจะส่งผลใหผ้ ูเ้ รียนมีความเจริญงอกงาม และพฒั นาการทงั้ ทาง กายและทางสมอง อารมณแ์ ละสงั คม การจดั การเรียนรู้ คือ การอบรมผูเ้ รียนโดยการจดั กิจกรรม อุปกรณ์ และการแนะแนวใหก้ บั ผูเ้ รียน การจดั การเรียนรู้ คือ การจดั ประสบการณใ์ หแ้ ก่ผูเ้ รียน การจดั การเรียนรู้ คือ การช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรูแ้ ละ ความสามารถในการนาความรนู้ น้ั ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ การจดั การเรียนรู้ คือ การจดั กิจกรรมต่างๆ ใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ ีส่วนร่วม การจดั การเรียนรู้ คือ การแนะแนวทางใหผ้ ูเ้ รียนคน้ พบความรดู้ ว้ ย ตนเอง การจดั การเรียนรู้ คือ การจดั สรรประสบการณท์ ี่เลือกสรรแลว้ เป็ น อย่างดี ใหก้ บั ผูเ้ รียน

จากความหมายของการจดั การเรียนรทู้ ่ีกล่าวมาน้ี จะเห็นไดว้ ่าการจดั การเรียนรมู้ ีความหมายครอบคลุมทง้ั ดา้ น วิธีการ กระบวนการและตวั บุคคล ดงั นน้ั จึงอาจสรปุ ความหมายของการจดั การเรียนรไู้ ด้ ว่าการจดั การเรียนรู้ คือ กระบวนการปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ อน กบั ผูเ้ รียนเพื่อท่ีจะทาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรตู้ ามวตั ถปุ ระสงค์ ของผสู้ อน

ความสาคญั ของการจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรเู้ ปรียบเสมือนเครื่องมือที่ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนรกั การ เรียน ตง้ั ใจเรียน และเกิดการเรียนรขู้ ้ึน หากผสู้ อนรจู้ กั เลือกใชว้ ิธีการ จดั การเรียนรทู้ ่ีดีและเหมาะสมแลว้ ย่อมจะมีผลดีต่อการเรียนของผเู้ รียน ดงั น้ี คือ 1. มีความรแู้ ละความเขา้ ใจในเน้ือหาวิชา หรือกิจกรรมที่เรียนรู้ 2. เกิดทกั ษะหรือมีความชานาญในเน้ือหาวิชา หรือกิจกรรมท่ีเรียนรู้ 3. เกิดทศั นคติท่ีดีต่อส่ิงที่เรียน 4. สามารถนาความรทู้ ี่ไดไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ 5. สามารถนาความรไู้ ปศึกษาหาความรเู้ พิ่มเติมต่อไปอีกได้

ลกั ษณะของการจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรมู้ ีลกั ษณะที่เด่นชดั อยู่ 3 ลกั ษณะ คือ 1. การจดั การเรียนรเู้ ป็ นกระบวนการปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียน ซึ่งหมายความ ว่าการจดั การเรียนรจู้ ะเกิดข้ึนไดน้ น้ั ทงั้ ผสู้ อนและผเู้ รียนตอ้ งมีปฏิสมั พนั ธต์ ่อกนั และเป็ น ปฏิสมั พนั ธ์ ท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง เป็ นไปตามลาดบั ขน้ั ตอนเพ่ือทาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ 2. การจดั การเรียนรมู้ ีจุดประสงคใ์ หผ้ เู้ รียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตาม จุดประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ โดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมน้ีเป็ นพฤติกรรมทง้ั 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 2.1 ดา้ นความรูค้ วามคิด หรือดา้ นพทุ ธิพิสยั 2.2 ดา้ นทกั ษะกระบวนการ หรือดา้ นทกั ษะพิสยั 2.3 ดา้ นเจตคติหรือดา้ นจิตพิสยั

ลกั ษณะของการจดั การเรียนรู้ 3. การจดั การเรียนรจู้ ะบรรลจุ ดุ ประสงคไ์ ดด้ ีตอ้ งอาศยั ทง้ั ศาสตร์ และศิลป์ ของผูส้ อน ซ่ึงหมายความว่าการจดั การเรียนรจู้ ะบรรลุ จุดประสงคไ์ ดห้ รือไม่นน้ั ตอ้ งอาศยั ความรคู้ วามสามารถของ ผสู้ อนทง้ั ดา้ นวิชาการ(ศาสตร)์ ทกั ษะและเทคนิคการจดั การ เรียนรู้ (ศิลป์ )เป็ นสาคญั จากที่กล่าวมาน้ีสรปุ ไดว้ ่าการจดั การเรียนรจู้ ะเกิดข้ึนได้ จะตอ้ งมีกระบวนการปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียน มี จุดประสงคใ์ นการจดั การเรียนรแู้ ละการจดั การเรียนรจู้ ะประสบ ผลสาเร็จไดด้ ี ผสู้ อนตอ้ งมีทง้ั ความรแู้ ละเทคนิคการจดั การเรียนรู้

องคป์ ระกอบของการจดั การเรียนรู้ ผสู้ อนตอ้ งศึกษาขอ้ มลู หลายประการเพ่ือนามาช่วย เสริมสรา้ งการจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรไู้ ม่ว่าระดบั ใดก็ ตามข้ึนอยู่กบั องคป์ ระกอบ 3 ประการคือ 1. ผเู้ รียน 2. บรรยากาศทางจิตวิทยาท่ีเอ้ืออานวยต่อการเรียนรู้ 3. ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผเู้ รียนกบั บรรยากาศทางจิตวิทยา ในชนั้ เรียน

องคป์ ระกอบของการจดั การเรียนรู้ (ต่อ) 1. ผเู้ รียน ธรรมชาติของผูเ้ รียนเป็ นสิ่งที่ผสู้ อนจะตอ้ งคานึงถึงเป็ น อนั ดบั แรก เก่ียวกบั ความสามารถทางสมอง ความถนดั ความสนใจ พฒั นาการทางร่างกาย อารมณแ์ ละจิตใจความตอ้ งการพ้ืนฐานเป็ น ส่ิงที่ผสู้ อนจะตอ้ งคานึงถึง และจะละเลยไม่ได้ 2. บรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอ้ืออานวยต่อการเรียนรู้ ผสู้ อนเป็ นส่วนท่ีสาคญั และเป็ นส่วนหนึ่งที่จะกาหนดบรรยากาศใน ชน้ั เรียนใหเ้ ป็ นไปในรปู แบบท่ีตอ้ งการ ความเป็ นประชาธิปไตย ความเคร่งเครียด ความช่ืนบานของผูเ้ รียน

องคป์ ระกอบของการจดั การเรียนรู้ (ต่อ) 3. ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผเู้ รียนกบั บรรยากาศทางจิตวิทยาใน ชนั้ เรียนปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ อนและผเู้ รียนจะเป็ นเคร่ืองช้ีบ่ง ถึงเงื่อนไขหรือสถานการณว์ ่า ผูเ้ รียนจะประสบความสาเร็จ หรือความลม้ เหลวต่อการเรียนรู้

หลกั พ้ืนฐานในการจดั การเรียนรู้ นกั การศึกษาหลายท่านไดก้ ล่าวถึงหลกั การพ้ืนฐานในการ จดั การเรียนรไู้ วค้ ลา้ ยๆ กนั สรปุ ได้ 4 ประการ คือ 1. หลกั การเตรียมความพรอ้ มพ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ การเตรียมตวั ผสู้ อนดา้ นความรู้ ทกั ษะการจดั การเรียนรแู้ ละการแกป้ ัญหา 2. หลกั การวางแผนและเตรียมกา ไดแ้ ก่การเตรียมเขียนแผน การจดั การเรียนรู้ การผลิตสื่อ แบบทดสอบและซอ้ มสอน

หลกั พ้ืนฐานในการจดั การเรียนรู้ (ต่อ) 3. หลกั การใชจ้ ิตวิทยาการเรียนรู้ เช่น หลกั ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล หลกั การเรา้ ความสนใจ หลกั การเสริมแรง 4. หลกั การประเมินผลและรายงานผล ซ่ึงเก่ียวกบั การกาหนด จดุ ประสงคก์ ารจดั การเรียนรู้ การสรา้ งและการใชเ้ ครื่องมือการ ประเมิน การตีความหมายและการรายงานผลการประเมิน

ทองคณู หงสพ์ นั ธ์ (2542: 9) ไดใ้ หห้ ลกั การจดั การเรียนรโู้ ดยกล่าวไวเ้ ป็ นบญั ญตั ิ 20 ประการของการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี 1. ศึกษาหลกั สตู รใหก้ ระจ่าง 2. วางแผนการจดั การเรียนรอู้ ย่างดี 3. มีกิจกรรม/ทาอปุ กรณ์ 4. สอนจากง่ายไปหายาก 5. วิธีสอนหลายหลากมากชนิด 6. สอนใหค้ ิดมากกว่าจา

ทองคณู หงสพ์ นั ธ์ (2542: 9) (ต่อ) 7. สอนใหท้ ามากกว่าท่อง 8. แคล่วคล่องเรื่องส่ือสาร 9. ตอ้ งชานาญการจงู ใจ 10. อย่าลืมใชจ้ ิตวิทยา 11. ตอ้ งพฒั นาอารมณข์ นั 12. ตอ้ งผกู พนั ห่วงหาศิษย์ 13. เฝ้ าตามติดพฤติกรรม 14. อย่าทาตวั เป็ นทรราช

ทองคณู หงสพ์ นั ธ์ (2542: 9) (ต่อ) 15. สรา้ งบรรยากาศไม่น่ากลวั 16. ประพฤติตวั ตามท่ีสอน 17. อย่าตดั รอนกาลงั ใจ 18. ใชเ้ ทคนิคการประเมิน 19. ผเู้ รียนเพลินมีความสขุ 20. ผสู้ อนสนุกกบั การเรียน

จากหลกั การจดั การเรียนรดู้ งั กล่าวขา้ งตน้ จะเห็นไดว้ ่าเป็ น แนวทางในการจดั การเรียนรซู้ ึ่งสามารถสรปุ เป็ นหลกั การพ้ืนฐาน ดงั น้ี 1. สอนจากส่ิงท่ีอย่ใู กลต้ วั ออกไป 2. สอนจากสิ่งท่ีง่ายไปหาสิ่งท่ียาก 3. สอนจากตวั อย่างไปหากฎเกณฑ์ 4. สอนจากส่ิงที่รไู้ ปหาส่ิงท่ีไม่รู้ 5. สอนจากรปู ธรรมไปหานามธรรม 6. สอนจากการทดลองไปหาการสรปุ ตง้ั กฎเกณฑ์

จากหลกั การจดั การเรียนรดู้ งั กล่าวขา้ งตน้ จะเห็นไดว้ ่าเป็ น แนวทางในการจดั การเรียนรซู้ ่ึงสามารถสรปุ เป็ นหลกั การพ้ืนฐาน ดงั น้ี (ต่อ) 7. สอนโดยคานึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 8. สอนโดยคานึงถึงหลกั จิตวิทยา 9. สอนโดยยึดจุดหมายของการจดั การศึกษา 10. สอนโดยยึดความม่งุ หมายของหลกั สตู รและบทเรียน เป็ นหลกั ในการจดั การเรียนรนู้ นั้ ผสู้ อนจะตอ้ ง ยึดผลการเรียนรู้ ที่คาดหวงั ของหลกั สตู รที่กาหนดไวเ้ ป็ นหลกั

ลกั ษณะการจดั การเรียนรทู้ ่ีดี ผูส้ อนที่ดี จะตอ้ งจดั การเรียนรโู้ ดยมีหลกั ในการดงั น้ี 1. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชค้ วามคิดอย่เู สมอ 2. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีประสบการณต์ รงใหม้ ากท่ีสดุ ดว้ ยการ เรียนโดยการกระทาดว้ ยตนเอง (Learning by Doing) 3. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนทางานเป็ นกล่มุ (Group Working) 4. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนรจู้ กั แกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง 5. มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการจดั การเรียนรอู้ ยู่เสมอ

ลกั ษณะการจดั การเรียนรทู้ ี่ดี (ต่อ) 5. มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการจดั การเรียนรอู้ ย่เู สมอ 6. มีการเตรียมการจดั การเรียนรไู้ วล้ ่วงหนา้ 7. เปิ ดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดแ้ สดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม 8. มีการประเมินผลอยู่ตลอดเวลา 9. มีส่ือการจดั การเรียนรู้ เพ่ือช่วยใหผ้ เู้ รียนสนใจและเขา้ ใจ 10. มีการจงู ใจในระหว่างการจดั การเรียนรู้ 11. มีกิจกรรมใหผ้ เู้ รียนทาหลายอย่างเพ่ือเรา้ ความสนใจ

ลกั ษณะการจดั การเรียนรทู้ ่ีดี (ต่อ) 12. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีพฒั นาการในทุกดา้ น 13. ส่งเสริมความสมั พนั ธห์ รือการบรู ณาการระหว่างวิชา 14. มีการสรา้ งบรรยากาศในการจดั การเรียนรู้ 15. สอนแบบเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั (Child Center) 16. สอนโดยส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนไดใ้ ชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ 5 รปู รส กล่ิน เสียง สมั ผสั 17. สอนตามกฎแห่งการเรียนรโู้ ดยจดั บทเรียนใหเ้ หมาะสม 18. สอนโดยส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามแบบประชาธิปไตย

ความหมายของการเรียนรู้ การเรียนรู้ (Learning) เป็ นกระบวนการที่บคุ คลเกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการพฒั นาความคิดและความสามารถ โดยอาศยั ประสบการณ์ และปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผูเ้ รียนและส่ิงแวดลอ้ มมี 3 ดา้ น คือ 1. ดา้ นพทุ ธิพิสยั (Cognitive Domain) หมายถึงพฒั นาการดา้ น สติปัญญาและความคิด 2. ดา้ นจิตพิสยั (Affective Domain) หมายถึงพฒั นาการ ทางดา้ นคามรสู้ ึกนึกคิดความสนใจ ค่านิยม ความซาบซ้ึง การปรบั ตวั และ เจตคติต่างๆ 3. ดา้ นทกั ษะพิสยั (Psychomotor Domain) หมายถึงการ พฒั นาทกั ษะในทางปฏิบตั ิไดแ้ ก่ทกั ษะในการใชอ้ วยั วะต่างๆ เข่น การ เคล่ือนไหว การลงมือทางาน การทาการทดลอง

ความหมายของการเรียนรู้ (ต่อ) ดา้ นพทุ ธิพิสยั (Cognitive Domain) พฤติกรรมพุทธิพิสยั แบ่ง ออกเป็ น 6 ระดบั ดงั น้ี 1. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการท่ีจะจดจา และระลึกไดเ้ กี่ยวกบั ความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปแลว้ 2. ความเขา้ ใจ (Comprehension) สามารถใหค้ วามหมาย แปล สรปุ หรือเขียนเน้ือหาท่ีกาหนดใหม่ได้ โดยที่สาระหลกั ไม่เปลี่ยนแปลง 3. การนาไปใช้ (Application) สามารถนาวสั ดุ วิธีการ ทฤษฏี แนวคิด มาใชใ้ นสถานการณท์ ี่แตกต่างจากที่ไดเ้ รียนรมู้ า

ความหมายของการเรียนรู้ (ต่อ) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถแยก จาแนก องคป์ ระกอบที่ สลบั ซบั ซอ้ นออกเป็ นส่วนๆ ใหเ้ ห็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่วนย่อยต่างๆ 5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการ รวบรวม หรือนาองคป์ ระกอบหรือส่วนต่างๆ เขา้ มารวมกนั เพื่อใหเ้ กิดเร่ือง ใหม่หรือสิ่งใหม่ 6. การประเมินค่า (Evaluation) สามารถตดั สิน ตีราค่าคณุ ภาพ ของสิ่งต่างๆ โดยมีเกณฑห์ รือมาตรฐานเป็ นเครื่องตดั สิน เช่น การตดั สิน กีฬา ตดั สินคดี หรือประเมินว่าส่ิงนนั้ ดี ไม่ดีถกู ตอ้ งหรือไม่ โดยประมวลมา จากความรูท้ งั้ หมดที่มี

แนวคิด Cognitive Domain ของแอนเดอรส์ นั ในช่วง ปี 1990-1999 แอนดอรส์ นั (Anderson) ซึ่งเป็ นลูก ศิษยค์ นหนึ่งของบลูม (Bloom)และ แครทโวทล์ (Krathwohl) ซึ่งเป็ น หน่ึงในคณะท่ีไดร้ ่วมกาหนดจุดมุ่งหมายเดิม ไดร้ วบรวมนกั จิตวิทยา นกั ทฤษฎีหลกั สตู ร นกั วิจยั ทางการศึกษา มาร่วมกนั ไดท้ าการปรบั ปรงุ การจาแนกจดุ ม่งุ หมายทางการศึกษาใหม่เพื่อใหง้ ่ายต่อการนาไปใช้ แอนดอรส์ นั และ แครทโวทล์ เป็ นการปรบั เปลี่ยนจดุ ประสงค์ ทางการดา้ นพุทธิปัญญา ในสองประเด็น คือ การปรบั เปล่ียนขน้ั ตอน และคาศพั ทท์ ี่ใชใ้ นกระบวนการพทุ ธิปัญญา และเพิ่มโครงสรา้ งจากมิติ เดียวเป็ นสองมิติ ดงั น้ี

แนวคิด Cognitive Domain ของแอนเดอรส์ นั (ต่อ) ตารางท่ี 1.1 กระบวนการและคาศพั ทท์ ี่ใชใ้ นกระบวนการพุทธิปัญญา ของบลมู แบบดงั้ เดิมและแบบปรบั ปรุงใหม่

กาเย่ (Gagne, 1970) ไดเ้ สนอเงื่อนไขของ การเรียนรู้ ไว้ 8 ประการคือ 1. การเรียนรเู้ มื่อไดร้ บั สญั ญาณ 2. การเรียนรใู้ นลกั ษณะของการกระตนุ้ -ตอบสนอง 3. การเรียนรโู้ ดยการเช่ือมโยงการกระตุน้ -ตอบสนอง 4. การเรียนรโู้ ดยสรา้ งความสมั พนั ธก์ ระตนุ้ -ตอบสนองดว้ ยภาษา 5. การเรียนรแู้ บบแยกแยะ 6. การเรียนรใู้ นแนวความคิดหลกั (Concept Learning) 7. การเรียนรใู้ นกฎเกณฑ์ 8. การเรียนรเู้ ชิงแกป้ ัญหา (Problem Solving)

ลกั ษณะของการเรียนรู้ การจดั การเรียนรขู้ องผูส้ อนจะไดผ้ ลดีนนั้ ผสู้ อนตอ้ งมีทกั ษะในการ จดั การเรียนรู้ มีความเขา้ ใจในระบบการจดั การเรียนรู้ เน้ือหาวิชาท่ี เก่ียวขอ้ ง และการใชจ้ ิตวิทยา แครอล (Caroll, 1963) ไดก้ ล่าวถึง ความสาเร็จในการเรียนรขู้ อง ผูเ้ รียนว่าข้ึนอย่กู บั องคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ 1. ความถนดั ทางการเรียนของผูเ้ รียน 2. ความสามารถส่วนตวั ของผูเ้ รียนที่จะเขา้ ใจการจดั การเรียนรขู้ องผสู้ อน 3. ความพยายามในการเรียนของผูเ้ รียน 4. เวลาท่ีใชใ้ นการเรียนของผูเ้ รียน 5. คณุ ภาพการจดั การเรียนรขู้ องผสู้ อน

ลกั ษณะของการเรียนรู้ (ต่อ) จากหลกั การจดั การเรียนรแู้ ละแนวคิดเก่ียวกบั ทฤษฎีพฒั นาการ ทางสติปัญญาของเปี ยเจต์ จะมีประโยชนต์ ่อผสู้ อน ในการจดั การ จดั การเรียนรดู้ งั น้ี 1. ผูส้ อนควรคานึงถึงพฒั นาการทางสติปัญญาของผเู้ รียนว่า ผเู้ รียนทกุ คนจะผ่านขน้ั พฒั นาการทางสติปัญญาทงั้ สี่ขน้ั ตามลาดบั 2. ผูส้ อนควรใชห้ ลกั สตู รและการจดั การเรียนรบู้ นพ้ืนฐานทฤษฎี พฒั นาการทางสติปัญญา กล่าวคือในการจดั การเรียนรผู้ ูส้ อนตอ้ งไม่ เนน้ แต่เพียงขอ้ เท็จจริงเท่านน้ั การจดั การเรียนรตู้ อ้ งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนใช้ ศกั ยภาพของตนเองใหม้ ากท่ีสุด

ลกั ษณะของการเรียนรู้ (ต่อ) นอกเหนือจากแนวคิดตามทฤษฎีของเปี ยเจตแ์ ลว้ แนวคิดที่สามารถนา มาประยุกตใ์ ชก้ บั การจดั การเรียนรไู้ ดด้ ีอีกแนวคิดหน่ึงคือแนวคิดของ บรเู นอร์ ซึ่งสอนใหผ้ ูเ้ รียนคน้ พบดว้ ย ตนเองตามลาดบั ดงั น้ี 1) นาเสนอปัญหา 2) ใหผ้ ูเ้ รียนมีโอกาสทาใหค้ วามเขา้ ใจกบั ปัญหา 3) ใหผ้ ูเ้ รียนแกป้ ัญหาพรอ้ มกบั กาหนดวสั ดอุ ุปกรณม์ าให้ 4) ใหผ้ ูเ้ รียนแสดงผลการแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง 5) อธิบายเพ่ิมเติมโดยผูเ้ รียนและผูส้ อนในเรื่องที่เกี่ยวกบั การแกป้ ัญหา 6) สรุปผลท่ีไดจ้ ากการแกป้ ัญหา

ลกั ษณะของการเรียนรู้ (ต่อ) การสอนโดยวิธีสอนแบบคน้ พบดว้ ยตนเองจะเป็ นประโยชนต์ ่อผเู้ รียน ดงั น้ี คือ 1) เป็ นการเพิ่มพนู ศกั ยภาพทางสติปัญญาของผูเ้ รียน 2) ก่อใหเ้ กิดแรงจงู ใจภายใน 3) ผูเ้ รียนไดฝ้ ึ กความคิดและการกระทา ทาใหไ้ ดเ้ รียนรวู้ ิธีจดั ระบบ ความคิดและวิธีการเสาะแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง 4) ทาใหม้ ีความรูค้ งทนและถ่ายโยงการเรียนรไู้ ด้ 5) ทาใหผ้ ูเ้ รียนเป็ นศนู ยก์ ลางของการจดั การเรียนรู้ 6) ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาความคิดและมีความเช่ือมนั่ ในตนเองเพิ่มมากข้ึน 7) ฝึ กใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนโดยใชก้ ระบวนการแสวงหาความรู้ ไม่ไดเ้ รียน โดยการท่องจา

ลกั ษณะของการเรียนรู้ (ต่อ) หลกั การสาคญั ที่เกี่ยวกบั การจดั การเรียนรนู้ นั้ บรเู นอรไ์ ดเ้ สนอไวด้ งั น้ี 1) เน้ือหาวิชาควรจดั แบ่งแยกเป็ นส่วนย่อยๆ และจดั ลาดบั ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน 2) การจดั การเรียนรตู้ อ้ งคานึงถึงความพรอ้ มของผเู้ รียนและแรงจงู ใจ 3) ขนั้ ของการเสนอการเรียนรู้ แบ่งเป็ น 3 ขน้ั คือ ขน้ั ลงมือปฏิบตั ิกบั ของจริงขนั้ เรียนรจู้ ากรูปแบบของภาษาและจินตนาการ 4) วิธีสอนท่ีจะใหผ้ ูเ้ รียนมีความรคู้ งทนและถ่ายโยงการเรียนรไู้ ด้ คือ วิธีสอนแบบ คน้ พบดว้ ยตนเอง 5) การจดั กิจกรรมและประสบการณก์ ารเรียนตอ้ งสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มใหม่ท่ีทา้ ทาย ความคิดและจดั ใหม้ ีกิจกรรมที่ผูเ้ รียนตอ้ งใชก้ ระบวนการคิดเพื่อแกป้ ัญหา 6) การเรียนรกู้ ระบวนการมีความสาคญั และจาเป็ นมากกว่าการเรียนรเู้ น้ือหาดา้ น ความรู้ เพราะ บรเู นอรถ์ ือว่าความรูเ้ ป็ นกระบวนการ ไม่ใช่เป็ นผลิตผล กล่าวคือ ทา อย่างไรจึงจะช่วยใหผ้ เู้ รียนมีส่วนในการแสวงหาความรูน้ นั้ ๆ

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการจดั การเรียนรู้ และการเรียนรู้ 1. การจดั การเรียนรแู้ ละการเรียนรเู้ ป็ นกระบบ ตอ้ งมีการเรียนรคู้ วบคู่ กนั ไปแยกกนั ไม่ได้ 2. การจดั การเรียนรแู้ ละการเรียนรเู้ ป็ นกระบวนการท่ีผูส้ อนกบั ผเู้ รียน ตอ้ งร่วมมือกนั จึงจะช่วยใหก้ ารจดั การเรียนรปู้ ระสบผลสาเร็จตามความ ม่งุ หมาย 3. การจดั การเรียนรทู้ ่ีดีช่วยใหก้ ารเรียนรดู้ าเนินไปดว้ ยดี ทาใหก้ าร เรียนน่าสนใจสนุกสนานและผเู้ รียนเกิดความพอใจในการเรียน 4. การจดั การเรียนรทู้ ี่ดีย่อมทาใหผ้ ูเ้ รียนบรรลุจุดมุ่งหมายของผูส้ อน 5. การจดั การเรียนรทู้ ี่ดีย่อมเสริมใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรเู้ ป็ นอย่างดี

หลกั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ สาหรบั ผูเ้ รียน ผสู้ อนจึงมีหลกั เกณฑท์ ่ีจะเป็ นแนวทางในการเลือกจดั ประสบการณก์ าร เรียนรดู้ งั น้ี 1. เลือกประสบการณท์ ่ีสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั การเรียนรู้ 2. เลือกประสบการณท์ ่ีผเู้ รียนพึงพอใจ สนุก น่าสนใจ ไม่ซา้ ซาก 3. เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกบั ความสามารถทางดา้ นร่างกายและควร คานึงถึงประสบการณเ์ ดิมเพ่ือจดั กิจกรรมใหม่ไดต้ ่อเน่ือง 4. เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริมจดุ ม่งุ หมายในการจดั การเรียนรหู้ ลายๆ ดา้ น 5. คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คล

หลกั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ สาหรบั ผูเ้ รียน จากหลกั เกณฑด์ งั กล่าวผสู้ อนจึงควรจดั ประสบการณใ์ หแ้ ก่ผูเ้ รียนตาม ลาดบั ความสาคญั จากรปู ธรรม (Concrete) ไปส่นู ามธรรม (Abstract) ซ่ึง เอดการ์ เดล (Edgar Dale) นกั การศึกษา ชาวอเมริกนั ไดจ้ ดั ลาดบั ความสาคญั ของการใหป้ ระสบการณแ์ ก่ผูเ้ รียนไว้ 10 พวกต่อกนั เป็ นชน้ั รปู กรวย เรียกว่า กรวยประสบการณ์ (Cone of Experience) แสดงไดด้ งั ภาพท่ี 1.2

หลกั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ สาหรบั ผูเ้ รียน

จากแผนภาพกรวยประสบการณ์ อธิบายไดด้ งั น้ี 1. ประสบการณต์ รง คือ การเรียนรทู้ ี่ตอ้ งใชข้ องจริงหรือการใหผ้ ูเ้ รียนได้ ลงมือคน้ ควา้ ทดลอง หรือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง ซ่ึงจะทาใหผ้ ูเ้ รียนไดร้ บั ประสบการณต์ รง ผูเ้ รียนไดใ้ ชป้ ระสาทสมั ผสั ทง้ั 5 2. ประสบการณร์ อง หมายถึง เมื่อผูส้ อนไม่สามารถ จดั ประสบการณต์ รงจากของจริงใหผ้ ูเ้ รียนไดส้ มั ผสั ดว้ ยประสาทสมั ผสั ทงั้ 5 มาใหผ้ ูเ้ รียนไดส้ มั ผสั ซึ่งคลา้ ยคลึงกบั ประสบการณต์ รงมากท่ีสดุ 3. ประสบการณน์ าฏการ คือ การแสดงละครในหอ้ งเรียนหรือที่เรียกว่า บทบาทสมมุติ ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในการแสดงทาใหม้ ีการเรียนรจู้ ากการกระทา ผูแ้ สดงย่อมเขา้ ใจเร่ืองราว จาเรื่องได้ ส่วนผูด้ กู ็จะจาไดด้ ีและสนใจมากกว่า การเรียนดว้ ยวิธีอ่ืนๆ 4. การสาธิตไดแ้ ก่ การแสดงใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ ห็นเป็ นลาดบั ขนั้ ไป เช่นการ ทดลองวิทยาศาสตร์ การประกอบอาหาร ฯลฯ บางกรณีอาจใหผ้ ูเ้ รียนมีส่วน ร่วมในการสาธิตดว้ ยซ่ึงจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนมีความเขา้ ใจไดด้ ีเช่นเดียวกนั

จากแผนภาพกรวยประสบการณ์ อธิบายไดด้ งั น้ี (ต่อ) 5. การศึกษานอกสถานที่ นบั เป็ นประสบการณท์ ี่ทาใหผ้ ูเ้ รียนมีโอกาสไดด้ ู ไดเ้ ห็น ไดซ้ กั ถาม ไดใ้ ชป้ ระสาทสมั ผสั ต่างๆ มาก ก่อใหเ้ กิดความคิด 6. นิทรรศการ การใหผ้ ูเ้ รียนไดร้ ่วมจดั นิทรรศการหรือการนาผเู้ รียนไปชม เป็ นประสบการณท์ ่ีทาใหผ้ ูเ้ รียนไดด้ ู ไดเ้ ห็น ไดส้ มั ผสั จบั ตอ้ ง 7. ภาพยนตรแ์ ละโทรทศั น์ เป็ นประสบการณท์ ี่มีความเป็ นรูปธรรมท่ีมีทง้ั ภาพและเสียงใกลเ้ คียงของจริงมากที่สุด 8. การบนั ทึกเสียง วิทยุ และภาพน่ิง 9. ทศั นสญั ลกั ษณ์ ไดแ้ ก่แผนที่ แผนภมู ิ 10. สญั ลกั ษณข์ องภาษา หรือ วจนสญั ลกั ษณ์ ไดแ้ ก่ คาพดู และตวั หนงั สือ

กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษา แห่งชาติ (TQF: HEd) กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF: HEd) หมายถึงกรอบที่แสดงระบบคณุ วฒุ ิ การศึกษาระดบั อดุ มศึกษาของประเทศซ่ึงประกอบดว้ ยระดบั คณุ วฒุ ิการ แบ่งสายวิชาความเช่ือมโยงต่อเน่ืองจากคณุ วฒุ ิระดบั หนึ่งไปส่รู ะดบั ที่ สงู ข้ึน

กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษา แห่งชาติ (TQF: HEd) หลกั การสาคญั 1. ยึดหลกั ความสอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 2. มุ่งเนน้ ท่ีมาตรฐานผลการเรียนรขู้ องบณั ฑิต (Learning Outcomes) ซ่ึงเป็ นมาตรฐานขนั้ ตา่ เชิงคุณภาพเพ่ือประกนั คุณภาพ บณั ฑิต 3. มุ่งที่จะประมวลกฎเกณฑแ์ ละประกาศต่างๆ ท่ีไดด้ าเนินการไวแ้ ลว้ เขา้ ดว้ ยกนั และเช่ือมโยงเป็ นเรื่องเดียวกนั 4. มุ่งใหค้ ุณวฒุ ิหรือปริญญาของสถาบนั อุดมศึกษาใดๆ ของประเทศ ไทยเป็ นท่ียอมรบั และเทียบเคียงกนั ไดก้ บั สถาบนั อุดมศึกษาท่ีดีทง้ั ในและ ต่างประเทศ

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือเป็ นกลไกหรือเครื่องมือในการนาแนวนโยบายการพฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาตามที่กาหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 2. เพ่ือกาหนดเป้ าหมายในการผลิตบณั ฑิตใหช้ ดั เจนโดยกาหนด มาตรฐานผลการเรียนรขู้ องบณั ฑิตที่คาดหวงั ในแต่ละคุณวฒุ ิ/ปริญญาของ สาขา/สาขาวิชาต่างๆ 3. เพ่ือเชื่อมโยงระดบั ต่างๆ ของคณุ วฒุ ิในระดบั อุดมศึกษาใหเ้ ป็ นระบบ เพ่ือบุคคลจะไดม้ ีโอกาสเพ่ิมพนู ความรูไ้ ดอ้ ย่างต่อเนื่อง 4. เพ่ือช่วยใหเ้ กิดวฒั นธรรมคณุ ภาพในสถาบนั อุดมศึกษาและเป็ นกลไก ในการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในของสถาบนั อุดมศึกษาทกุ แห่งและ ใชเ้ ป็ นกรอบอา้ งอิงสาหรบั ผูป้ ระเมินย

วตั ถปุ ระสงค์ (ต่อ) 5. เพ่ือเป็ นกรอบของการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพในการสรา้ งความเขา้ ใจ และความมนั่ ใจในกลุ่มผูท้ ี่เก่ียวขอ้ ง อาทิ นกั ศึกษา ผูป้ กครองผูป้ ระกอบการ ชุมชนสงั คมและสถาบนั อื่นๆ 6. เพื่อประโยชนใ์ นการเทียบเคียงมาตรฐานคุณวฒุ ิระหวา่ ง สถาบนั อุดมศึกษาทงั้ ในและต่างประเทศ ในการยา้ ยโอน นกั ศึกษาระหว่าง สถาบนั อุดมศึกษา การลงทะเบียนขา้ มสถาบนั และการรบั รองคณุ วฒุ ิ ผูส้ าเร็จการศึกษาทงั้ ในและต่างประเทศ 7. เพ่ือใหก้ ารกากบั ดแู ลคุณภาพการผลิตบณั ฑิตกนั เองของแต่ละสาขา/ สาขาวิชา 8. เพื่อนาไปส่กู าร ลด ขน้ั ตอน/ระเบียบ ( Deregulation) การ ดาเนินการ ใหก้ บั สถาบนั อุดมศึกษาท่ีมีความเขม้ แข็ง

โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของกรอบ มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศีกษาแห่งชาติ 1. ระดบั คณุ วฒุ ิ (Levels of Qualifications) ระดบั ของคณุ วฒุ ิแสดงถึงการเพ่ิมข้ึนของระดบั สติปัญญาที่ตอ้ งการ และความ ซบั ซอ้ นของการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั คณุ วฒุ ิระดบั อุดมศึกษาเร่ิมตน้ ที่ระดบั ที่ 1 อนุปริญญา (3 ปี ) และส้ินสุดท่ีระดบั ที่ 6 ปริญญาเอกดงั น้ี ระดบั ที่ 1 อนุปริญญา (3 ปี ) ระดบั ท่ี 2 ปริญญาตรี ระดบั ที่ 3 ประกาศนียบตั รบณั ฑิต ระดบั ที่ 4 ปริญญาโท ระดบั ที่ 5 ประกาศนียบตั รบณั ฑิตชนั้ สูง ระดบั ท่ี 6 ปริญญาเอก

โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของกรอบ มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อุดมศีกษาแห่งชาติ (ต่อ) การเรียนรแู้ ละมาตรฐานผลการเรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั อุดมศึกษาของประเทศไทย กาหนดผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั ใหบ้ ณั ฑิตมีอย่างนอ้ ย 5 ดา้ นดงั น้ี 1) ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม (Ethics and Moral) หมายถึงการ พฒั นานิสยั ในการประพฤติอย่างมีคณุ ธรรม 2) ดา้ นความรู้ (Knowledge) หมายถึงความสามารถในการ เขา้ ใจ การนึกคิดและการนาเสนอขอ้ มลู 3) ดา้ นทกั ษะทางปัญญา (Cognitive Skills) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละใชค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจ

โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของกรอบ มาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศีกษาแห่งชาติ (ต่อ) 4) ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ (InterpersonalSkills and Responsibility) หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็ นกลุ่ม 5) ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลขการสื่อสารและการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ (NumericalAnalysis,Communication and Information Technology Skills) หมายถึงความสามารถในการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลขความสามารถในการใช้ เทคนิคทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติ ความสามารถในการส่ือสารทงั้ การพดู การเขียนและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

มาตรฐานผลการเรียนรแู้ ต่ละดา้ นของคุณวฒุ ิระดบั ปริญญาตรี 1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม สามารถจดั การปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใชด้ ุลยพินิจทางค่านิยมความรสู้ ึก 2. ดา้ นความรู้ มีองคค์ วามรใู้ นสาขาวิชาอย่างกวา้ งขวางและเป็ นระบบ ตระหนกั รูห้ ลกั การและทฤษฎีในองคค์ วามรทู้ ่ีเก่ียวขอ้ ง 3. ดา้ นทกั ษะทางปัญญาสามารถคน้ หาขอ้ เท็จจริง ทาความเขา้ ใจและ สามารถประเมินขอ้ มลู แนวคิดและหลกั ฐานใหม่ๆ จากแหล่งขอ้ มูลที่ หลากหลาย 4. ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผิดชอบ มีส่วนช่วยและเอ้ือต่อการแกป้ ัญหาในกลุ่มไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ 5. ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศสามารถศึกษาและทาความเขา้ ใจในประเด็นปัญหา สามารถ เลือกและประยุกตใ์ ช้

มาตรฐานผลการเรียนรแู้ ต่ละดา้ นของคุณวฒุ ิระดบั ปริญญาโท 1. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม สามารถจดั การปัญหาทางคณุ ธรรม จริยธรรมท่ีซบั ซอ้ นเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ 2. ดา้ นความรูม้ ีความรูแ้ ละความเขา้ ใจอย่างถ่องแท้ ในเน้ือหาสาระหลกั ของสาขาวิชา ตลอดจนหลกั การและทฤษฎีที่สาคญั และนามาประยุกตใ์ น การศึกษาคน้ ควา้ 3. ดา้ นทกั ษะทางปัญญาใชค้ วามรทู้ างภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิในการ จดั การบริบทใหมท่ ่ีไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ 4. ทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบสามารถแกไ้ ข ปัญหาท่ีมีความซบั ซอ้ น หรือความยุ่งยากระดบั สงู ทางวิชาชีพไดด้ ว้ ยตนเอง 5. ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศสามารถคดั กรองขอ้ มลู ทางคณิตศาสตรแ์ ละสถิติเพื่อนามาใชใ้ น การศึกษาคน้ ควา้ ปัญหาสรุปปัญหาและเสนอแนะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook