86 เรียนสูงกว่าผู้ทีไมเ่ รียนกวดวชิ า10 เท่า อย่างไรก็ตาม ผลการสอบคัดเลือกฯ ยังขึ นอยู่กับปัจจัยอืนๆ ด้วย ได้แก่ ประเภทของโรงเรียนทีจบการศึกษา และการมีเทคนิคการอา่ นและเทคนิคการจํา จิตราภรณ์ ทองไทย (2552: 102-105) ได้ทําการวิจัยเรืองปัจจัยด้านวัฒนธรรมทีส่งผลต่อ การจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการศกึ ษาพบว่าบุคลากรมีความคิดเห็นเกียวกับปัจจัยด้านวัฒนธรรมทีส่งผลต่อการจัดการความรู้ ในสถาบันอุดมศึกษาโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ทั งในด้านการวางแผนด้านการเปลียนแปลงและ นวัตกรรมด้านการมสี ่วนร่วม ด้านการเรียนรู้ ด้านความร่วมมือและเครือข่ายความรู้ และด้านการ กระตุ ้นและการให้รางว ัล เมือเปรี ยบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรจ ําแนกตามข้อมูลส่ วนบุคคล พบว่าบุคลากรทีมีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกียวกับปัจจัยด้าน วัฒนธรรมทีส่งผลต่อ การจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศกึ ษาแตกต่างกัน ในด้านการเปลยี นแปลงและนวัตกรรมทีระดับ นัยสําคัญ0.05 และบุคลากรทีอยู่ใสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนมคี วามคิดเห็นเกียวกับปัจจัย ด้านวัฒนธรรมทีส่งผลต่อการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศกึ ษาแตกต่างกันในด้านการกระตุ้นและ การให้รางวัลทีระดับนัยสําคัญ0.05 นอกจากนั นผลการการศึกษายังพบว่าในการดําเนินงานด้าน การจัดการความรู้ของสถาบันอดุ มศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครมีปัญหาอุปสรรคด้านวัฒนธรรม เกิดขึ นทั ง 6 มิติ โดยปัญหาอุปสรรคด้านการมีส่วนร่วมเป็ นปัญหาอุปสรรคทีเกิดขึ นมากทีสุด รองลงมา ได้แก่ ปัญหาอปุ สรรคด้านการเรียนรู้ปัญหาอปุ สรรคด้านการเปลียนแปลงและนวัตกรรม ปัญหาอุปสรรคด้านความร่วมมือและเครือข่ายความรู้ ปัญหาอุปสรรคด้านการวางแผนและปัญหา อุปสรรคด้านการกระตุ้นและการให้รางวัล ตามลําดับ ซึ งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการ ดําเนินงานด้านการจดั การความรู้ของสถาบันอดุ มศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ 1. ขั นตอนและกระบวนการ ดําเนินงาน2. บุคลากร 3. ความรู้และนวัตกรรมและ 4. งบประมาณ กัญญวรรณ ปิ นเงิน ( 2548: 116-119) ได้ทําการวิจัยเรือง ทัศนะของพระสงฆ์ต่อบทบาท การพัฒนาคนพิการ ผลการศกึ ษาพบวา่ 1) ทัศนะพืนฐานของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคนพิการ กลุ่มตวั อย่างมีทัศนะ พืนฐานต่อการพัฒนาคนพิการโดยภาพรวมอยู่ในระดบั เห็นดว้ ยมาก เมือพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า ด้านทีเห็นด้วยระดับมาก ได้แกอ่ ันดับที1 บุคคลหรือหน่วยงานทีควรใหก้ ารช่วยเหลือด้าน การสงเคราะหแ์ ละบุคคลหรือหน่วยงานทีควรให้การช่วยเหลอื ด้านการฟื นพูสมรรถภาพ อันดับที2 บุคคลหรือหน่วยงานทีควรให้การช่วยเหลอื ด้านการจดั สภาพแวดล้อม อันดับที 3 ความจําเป็ นของ คนพกิ ารในการได้รับความช่วยเหลอื อับดับท4ี ความจําเป็นทีต้องพัฒนาจิตในคนพิการ อับดับที 5 รูปแบบการช่วยเหลือด้านฟื นฟูสมรรถภาพความพิการเป็ นสิงปกติหรือผิดปกติในสังคม ล้านที
87 เห็นด้วยระดับปานกลาง ได้แก่ อับดับท1ี สาเหตุของความพกิ าร อันดับที2 รูปแบการช่วยเหลือ ด้านการสงเคราะห์ อับดับท3ี รูปแบบการช่วยเหลือด้านการจัดสภาพแวดล้อม 2) ทัศนะต่อบทบาทของพระสงฆ์ กลุ่มตัวอย่างมที ัศนะต่อบทบาทของพระสงฆ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากทุกด้าน ได้แก่ อับดับท1ี บทบาทพระสงฆ์ในการใหค้ วาม ช่วยเหลือคนพิการด้านฟื นฟูสมรรถภาพทางสังคม อับดับที2 บทบาทพระสงฆ์ในดารใหค้ วาม ช่วยเหลอื คนพกิ ารด้านการฟื นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา อับดับที3 บทบาทพระสงฆ์ในการให้ ความช่วยเหลือคนพิการด้านการสงเคราะห์ อับดับที 4 บทบาทพระสงฆ์ในการพัฒนาจิตใจคน พิการ อับดับที 5 บทบาทพระสงฆ์ในการให้ความช่วยเหลือคนพิการด้านการฟื นฟูสมรรถภาพ ทางการแพทย์ อันดบั ที 6 บทบาทพระสงฆ์ในการให้ความช่วยเหลือคนพิการด้านการฟื นฟู สมรรถภาพทางอาชีพ และอับดับที7 บทบาทพระสงฆ์ในการให้ความช่วยเหลือคนพิการด้านการ จัดสภาพแวดล้อม นิรันดร์ กมลาพร (2549: 90-95) ได้ทําการวิจัยเรือง บทบาทของครูในการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าไม:้ ศึกษากรณี เขตพืนทีลุม่ นํ าแมส่ รวย ตําบลวาวี อําเภอแมส่ รวย จังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบวา่ การไดร้ ับข้อมูลข่าวสารเกียวกับการอนุรักษท์ รัพยากรป่ าไม้ ในภาพรวมมคี วามถปี านกลางโดยการได้รับข้อมูลข่าวสารจากทุกแหล่ง มคี วามถปี านกลางเช่นกัน ยกเว้นจากสือโทรทัศน์ ซึงมีความถมี าก ความรู้ความเข้าใจเกียวกับการอนุรกั ษท์ รัพยากรป่ าไม้อยู่ในระดับสูงบทบาทใน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ในภาพรวมและทุกด้านอยูใ่ นระดับปานกลางโดยดา้ นทีครูมีบทบาท มากทีสุดได้แก่ ด้านการสอนเรืองการอนรุ ักษ์ทรัพยากรป่ าไม้แก่นักเรียน รองลงมา ได้แก่ด้านการ เป็ นผูน้ ําในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ และด้านการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ ตามลําดับ ปัจจัยทีมีผลต่อบทบาทของครูในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ ได้แก่ อายุ ประสบการณ์ในการสอน รายได้ และการได้รับข้อมูลข่าวสารเกียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ โดยที เพศ สถานภาพสมรถ การศึกษา สาขาวิชาทีจบ จํานวนทีสอน และความรู้ความเข้าใจ เกียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ เป็นปัจจัยทีไม่มผี ลต่อบทบาทของครูในการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่ าไม้ ธีรพัฒน์ คําคูบอน (2548: 104-106) ได้ทําการวิจัยเรือง ทัศนคติของข้าราชการครูสงั กัด สํานักงานการศึกษาขั นพืนฐานต่อใบประกอบวิชาชีพครู: กรณีศึกษา กรุ งเทพมหานคร ผล การศกึ ษาพบว่า
88 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นข้าราชการครูสงั กัดสํานกั งานการศึกษาขั น พืนฐานจํานวน218 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหวา่ ง 41 - 50 ปี อายุราชการส่วนใหญ่ 21 ปี ขึ นไปการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ส่วนใหญ่เป็ นข้าราชการระดับขั น(ซี) 7 - 9 ส่วนใหญ่มตี ําแหน่งเป็นครูผู้สอนและมรี ายได้ต่อเดือน 15,000 - 30,000 บาท 2) ผลการศกึ ษาความคิดเห็นของข้าราชการครูทีมีต่อใบประกอบวิชาชีพครู ใน ภาพรวมอยู่ในระดับดีทั งในด้าน การสนับสนุน การบริหารจัดการโรงเรียน การเห็นความสําคัญใบ ประกอบวิชาชีพครู และการเห็นความสําคัญของใบประกอบวิชาชีพครู 3) ปัจจัยทีมีผลต่อทัศนคติของข้าราชการครูทีมีต่อใบประกอบวิชาชีพครูจากการ ทดสอบสมมติฐานพบว่า อายุ อายุราชการ อัตราเงินเดือน อนุชา มูลคํา (2548: 95–97) ไดท้ ําการวิจัยเรือง ความคิดเห็นของประชาชนในการ บริหารงานขององค์การบริหาร ส่วนตําบลทีมกี ารบริหารจดั การทีดี: ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การ บริหารส่วนตําบลแม่ฟ้ าหลวง อําเภอแม่ฟ้ าหลวง จังหวัดเชียงรายผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นโดยรวม อยูใ่ นระดับเห็นด้วยอยา่ งยิงในหลักการบริหาร จัดการทีดีขององค์การบริหารส่วนตําบลแมฟ่ ้ าหลวงโดยประชาชนได้จัดลําดับความสําคัญในการ ให้ความคิดเห็นจากมากทีสุดตามลําดับ ดังนี ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบด้านหลัก คุณธรรม ด้านหลักการบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ และเกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน หลักความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ด้านหลักการมสี ่วนร่วม และ หลักความโปร่งใส ตามลําดับ 2) ด้านความรู้ ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกียวกับอํานาจหน้าทีขององค์การ บริ หารส่วนต ํ าบลในระดับต ํ า 3) ปัจจัยด้านระดับการศึกษา มีผลต่อความคิดเห็นในการบริหารจัดการทีดีของ องค์การบริหารส่วน ตําบลแม้ฟ้ าหลวง ปัจจัยด้านอืนๆ ไม่มีผลต่อความคิดเห็น อนุธิดา อนุชาติสันติ (2551: บทคัดย่อ) ได้ทําการวิจัยเรือง การสอนคุณธรรมจริยธรรมแก่ นักกฎหมาย กรณีศึกษา: นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทาลัยธรรมศาสตร์ เกียวกบั คุณธรรมจริยธรรมทีควรปลูกฝัง และรูปแบบวิธีการสอนคุณธรรมจริยธรรม โดยภาพรวม พบวา่ อยู่ในระดับมากคุณธรรมทีควรปลกู ฝังอยู่ในระดับสูงสุด คือ ความซือสตั ย์สุจริตต่อตนเอง และผู้อืน มีความมุ่งมันในการค้นหาความจริง ไม่สร้างหลักฐานหรือข้อมูลเท็จ มีความกล้าหาญ อดทน ไม่ยอมจํานนตอ่ ความลําบากและคุณธรรมทีควรปลูกฝังอยู่ในระดับตําสุดคือ มีความเมตตา กรุณา จริยธรรมทีควรปลูกฝังอยู่ในระดับสูงสุด คือความเสมอภาค พึงมีความเสมอภาคในการใช้
89 มาตรการทางการเมอื งกับประชาชนโดยรอบคอบและเป็นธรรม ปฏบิ ัติต่อผู้เสียหายและพยานอย่าง เสมอภาค และปฏิบัติงานโดยปราศจากอคติ และจริยธรรมทีควรปลูกฝังอยู่ระดับตําทีสุดก็ คือ อุทิศ เวลาแก่ทางราชการ โดยปฏิบัติงานตรงตามเวลาและไม่เบียดเบียนเวลาราชการไปประกอบธุรกิจ หรือเพอื ประโยชนส์ ่วนตัว สําหรับรูปแบบและวิธีการสอนคุณธรรมจริยธรรมทีอยู่ในระดับสูงสุด คือ การมีครู อาจารย์ประพฤติตนเป็ นแบบอยา่ งทีดีแก่นักศึกษา และระดบั ตํ าทีสุด คือ การให้ นักศึกษาท่องจํา ซึงนักศกึ ษาแต่ละชั นปี และแต่ละคนจะมีความคิดเห็นทีแตกต่างกันตามเหตุผลและ การจัดลําดับความสําคัญของแต่ละบุคคล สุภลักษณ์ พฆินกุล (2546: 69-73) ได้ทําการวิจัยเรื อง ทัศนคติต่อการศึกษาต่อ ระดับอดุ มศึกษาของนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปี ท6ี โรงเรียนวิเชียรกลินสุคนธ์อปุ ถัมภ์ อําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง และมีผลการเรียนเฉลียใน ระดับชั นมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในช่วง2.51 - 3.00 คาดว่าจะไปประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท และลูกจ้างเอกชนมีพีน้อง 2 คน บิดาและมาดามีรายได้ต่อเดือนอยูใ่ นช่วง 3,001 - 6,000 บาท และ รายได้รวมของครอบครัวต่อเดือนจะอยู่ในช่วงทีตํากว่า6,000 บาท ทั งบิดาและมารดาประกอบ อาชีพรับจ้าง และมกี ารศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา ระดับปัจจัยด้านความสัมพนั ธ์ในครอบครัวของนักเรี ยนโดยรวมของนักเรี ยนชั น มัธยมศึกษาปี ที6 โรงเรียนวิเชียรกลินสุคนธ์อปุ ถัมภอ์ ําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยูใ่ น ระดับปานกลาง ระดับปัจจัยด้านทัศนคติต่อการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาโดยรวมของนักเรี ยนชั น มัธยมศึกษาปี ที6 โรงเรียนวิเชียรกลินสุคนธ์อุปถัมภ์อําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยู่ใน ระดับปานกลาง ระดับปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อการศึกษาต่อจากคนใกล้ชิดนกั เรียนโดยรวมของนักเรียนชั น มัธยมศึกษาปี ที6 โรงเรียนวิเชียรกลินสุคนธ์อปุ ถัมภอ์ ําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยู่ใน ระดับปานกลาง ปัจจัยทีมีผลต่อทัศนคติต่อการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา พบว่า เพศ ฐานะทางเศรษฐกิจ ของครอบครัว ความสัมพันธ์ในครอบครัวผทู้ ีมอี ิทธิพลต่อการศกึ ษาต่อจากคนใกล้ชิดนักเรียนเป็ น ปัจจัยทีมผี ลต่อทัศนคติต่อการศกึ ษาต่อระดับอุดมศึกษา ยินดี รักสนิท (2545: 67-71) ได้ทําการวิจัยเรือง บทบาทของครูในการเรียนการสอนแบบ เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ในทัศนะของนักเรียน: ศึกษาเฉพาะกรณี โรงเรียนบ้านนิคมสร้างตนเองธาร โต อําเภอธารโต จังหวัดยะลา ผลการศึกษาได้ดังนี
90 1) บทบาทจริ งทีทีปฏิบัติในทศั นะของนักเรียนอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ค่าเฉลียเท่ากบั 2.77ขณะทีนักเรียนมคี วามคาดหวังของครูในระดับสูง คือมีค่าเฉลียเท่ากับ3.32 2) ปัจจยั ทีมีผลต่อทัศนะของนักเรียนพบว่า นักเรียนทีมีผลการเรียนดีมีความ คาดหวังต่อบทบาทของครูในการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็ นสําคัญมากกว่านักเรียนทีมีผล การเรี ยนต ํ าส่วนปัจจัยทีมีผลต่อทัศนะของนักเรี ยนต่อบทบาทของครู ในการเรี ยนการสอนแบบเน้น ผู้เรียนเป็นสําคัญคือ เพศ อายุ อาชีพของบิดาและอาชีพของมารดา 3) ระดับของบทบาททีเป็ นจริงของครูในการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็ น สําคัญในทัศนะของนักเรี ยนมีระดับสูงอยู่สองบทบาทคือ ครูทีจัดกิจกรรมทีสอดคล้องกับ สถานการณ์เพือใหน้ กั เรียนกล้าแสดงออก และการเรียนมีกิจกรรมทีหลากหลายสนุก นอกจากนี แล้วอยู่ในระดับทั งหมดคือ ครูส่งเสริมให้นกั เรียนสรุปการเรียน ครูส่งเสริมใหม้ ีการว่างแผนก่อน การเรียน ครูเป็ นแบบอย่างทีดีในดา้ นคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมจาก ปัญหาและประสบการณ์จริง วิธีการเรียนสนุกไมน่ ่าเบือและน่าสนใจ ครูส่งเสริมใหน้ กั เรียนได้ให้ นักเรียนได้ชืนชมผลงานร่วมกัน ครูส่งเสริมใหน้ กั เรียนได้ฝึ กคิด ฝึ กทําและปรับปรุงตัวเอง ครูมี การกระตุ้นส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้ นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเป็ นรายกลุ่ม ครู ส่งเสริมให้นักเรียนมีการประเมินผลพฤติกรรมตนเอง ครูได้ช่วยเหลือนักเรียนในการแสวงหา ความรู้ สายรุ้ง นันตะรัตน์ (2550: 98-111) ได้ทําการวิจัยเรืองปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กับทัศนะของ นักเรียนมัธยมตอนปลายต่อพฤติกรรมก้าวร้าว: กรณีศึกษาโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ผลการศกึ ษา กลุม่ ตัวอย่างทีศกึ ษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหวา่ ง15 - 16 ปี 6 เดือน การศึกษาระดับมัธยมศึกษาปี ที 4 เกรดเฉลียปี การศึกษาทีผ่านมาอยู่ในช่วง 3.01 - 4.00 ค่าใช้จ่ายต่อเดือนของนักเรียน 1,000 – 3,000 บาท พักอาศัยอยู่กับบิดา-มารดา เกมทีเลือกเล่นเป็ น เกมประเภทบู๊ ยิงต่อสู้และเกมผจญภัยฝ่ าด่าน บ้านเป็นสถานทีในการเล่นเกม การอบรมเลี ยงดูโดย ร่วมอยู่ในระดับปานกลาง(X̅ = 2.29 จากคะแนนเตม็ 4) เมอื พจิ ารณารายด้านพบว่าการอบรมเลี ยงดู แบบประชาธิปไตยในระดับสูง (X̅ = 3.14) การเลียงดูแบบปลอ่ ยปะละเลยอยู่ในระดับตํา(X̅ = 1.67) และการอบรมเลียงดแู บบเข้มงวดกวดขันอยู่ในระดับปานกลาง(X̅ = 2.04) ได้รับการสนับสนุนจาก เพือนในการเล่นเกมคอมพิวเตอร์อยู่ในระดับ(X̅ = 2.26) ได้รับอิทธิพลของสืออยู่ในระดับตํา(X̅ = 1.19) มลี ักษณะการมงุ่ อนาคตควบคุมตนเองอยู่ในระดับปานกลาง(X̅ = 4.20 จากคะแนนเตม็ ) ทัศนะของนักเรียนมัธยมปลายต่อพฤติกรรมก้าวร้าว โดยรวมอยู่ในระดับต(ําX̅ =2.17) จาก คะแนนเต็ม 5 เมือพิจารณารายด้าน พบว่า ทศั นะต่อพฤติกรรมกา้ วร้าวทางท่าทางทศั นะต่อ พฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจา และทัศนะต่อพฤติกรรมก้าวร้าวทางกาย อยู่ในระดับ
91 ปัจจัยทีมรี ะดับความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ0.05 กับ ทัศนะของนกั เรียน มัธยมปลายต่อพฤติกรรมก้าวร้าว คือ เพศ ระดับการศึกษา ค่าใช้จ่ายต่อเดือนของนักเรียน สถานที เลน่ เกมคอมพวิ เตอร์ การอบรมเลี ยงดูแบบประชาธปิ ไตย การเลี ยงดูแบบปล่อยปะละเลยและการ เลียงดูแบบเข้มงวดกวดขัน การสนับสนุนทางสังคมจากเพือนในการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ อิทธิพล ของสือ และการมุ่งอนาคตควบคุมตนเอง ตัวแปรทีไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนะของนักเรียนต่อ พฤติกรรมก้าวร้าวคือ อายุ เกรดเฉลีย ทีพักอาศัยของนกั เรียน และประเภทของเกมคอมพิวเตอร์ที เล่น กิตตินันท์ ยูงทอง (2544: 76-80) ได้ทําการวิจัยเรืองทัศนะของนิสิตต่อบทบาทการสอน ของอาจารย:์ ศกึ ษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ผล การศึกษา ผลการศกึ ษา พบว่า ระดับทัศนะของนิสิตต่อบทบาทการสอนของอาจารย์ทีเป็ นจริง โดย ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย3.24 และมที ัศนะมากในด้านปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งอาจารย์กับ นิสิต ส่วนทัศนะของนิสิต ต่อบทบาทของการสอนของอาจารย์ทีนิสิตต้องการอยู่ในระดับมากทีสุด ทุกด้าน มีค่าเฉลีย 4.34 ส่วนการทดสอบสมมุติฐาน ผลการศึกษาพบว่า บทบาทการสอนของ อาจารย์ทีเป็ นจริงกับทีคาดหวังของนิสิตแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ0.05 ส่วน สมณเพศ อายุ จํานวนปี ทีบวช คณะทีเรียน ระดับชั นทีเรียน ผลการเรียนและความตั งใจเรียนของ นิสิต ทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทการสอนทีไมแ่ ตกต่างกนั อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 บุษบา แดงวิจิตร (2550: 67-71) ได้ทําการวจิ ัยเรืองทัศนะของนักเรียนต่อการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาควบคู่สามัญ: ศึกษากรณี โรงเรียนอิสลามสนั ติชน เขตวัง ทองหลาง กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง ร้อยละ 51.9 เป็นรักเรียนชั นมัธยมศึกษาปี ที3 ร้อยละ 53.6 ร้อยละ 36.2 เป็ นนักเรียนทีมีผลการเรียนปานกลาง ส่วนใหญ่บิดา-มารดาอาศัยอยูร่ ่วมกัน ร้อยละ86.1 ร้อยละ78.3 พักอาศัยอยูก่ ับบิดามารดา ร้อยละ 28.9 บิดาจบการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา ร้อยละ36.2 มารดาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 32.8 บิดาประกอบอาชีพคา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 37.9 มารดาประกอบอาชีพค้าขาย/ธุรกิจ ส่วนตัว สภาพแวดล้อมของนักเรียน โดยรวมมีสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลีย 3.72 เคร่งครัดในศาสนาของผู้ปกครอง (ค่าเฉลีย 4.23) ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว (ค่าเฉลีย3.89) ความเคร่งครัดในศาสนาของนักเรียน (ค่าเฉลีย 3.76) และสภาพแวดล้อมของนักเรียนทีอยูใ่ นระดับ ดีปานกลาง ได้แก่ กิจนิสัยในการเรียน(ค่าเฉลีย 3.35) ความคิดเห็นของนักเรียนเกียวกับการจัดการการเรียนการสอน โดยรวมมีความคิดเห็นว่า การจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับเหมาะสมมาก(ค่าเฉลีย 3.77) เมือพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า
92 ความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรศาสนาควบคู่สามัญทีอยูใ่ นระดับ เหมาะสมมากคือ ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(ค่าเฉลยี 3.99) รองลงมาคือ ด้านการจัดการแบบเรียน (ค่าเฉลีย 3.93) ด้านการวัดและประเมินผล(ค่าเฉลีย 3.89) ระดับเหมาะสมปานกลางคือ ด้านการจัด สิงทีเอือต่อการเรียนการสอน(ค่าเฉลยี 3.63) ด้านการจัดครูเข้าสอน(ค่าเฉลยี 3.60) และด้านการจัด ตารางเรียน (ค่าเฉลยี 3.56) จงกลนี มณีเดช (2544: 62-73) ได้ทําการวิจัยเรือง การปฏิบัติตามบทบาทของอาจารย์ที ปรึกษาในทัศนะของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลการศึกษา พบว่า การ ปฏบิ ัติตามบทบาทอาจารย์ทีปรึกษาตามทัศนะของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ในภาพรวมอยูใ่ น ระดับมากเมือพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า การปฏิบัติตามบทบาทของอาจารย์ทีปรึกษา ด้านทีมี ค่าเฉลยี สูงสุด คือ ด้านบุคลิกภาพ รองลงมามีการปฏิบัติในระดับปานกลาง คือ ด้านการใหค้ วาม ช่วยเหลอื นักศกึ ษา ส่วนการปฏบิ ัติทีมคี ่าเฉลียตําสุด คือ ด้านวิชาการ สําหรับความคาดหวงั ของนักศึกษาต่ออาจารย์ทีปรึกษา เมือพจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่าโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมือพจิ ารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความคาดหวังของนักศึกษาต่ออาจารย์ที ปรึกษาด้านทีมีค่าเฉลยี สูงสุดคือ ด้านบุคลิกภาพ รองลงมาคือ ด้านการพัฒนานักศึกษา ส่วนความ คาดหวังต่ออาจารย์ทีปรึกษาทีมคี ่าเฉลียตําสุด คือ ด้านวิธีให้คําปรษึกา สุจิตรา ชินอาภรณ์ (2546: 71-75) การศกึ ษาบทบาทของอาจารย์ทีปรึกษาในการทําหนา้ ที แนะแนวตามทัศนะของนักเรียนระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ และทัศนะของอาจารย์ทีปรึกษา โรงเรียนพานิชยการราชดําเนินธนบุรี กรุงเทพมหานครผลการศกึ ษา พบว่า 1) ทัศนะของนักเรียนต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึกษาในการทําหน้าทีแนะแนว ตามทีปฏิบัติจริ ง อยู่ในระดับปานกลาง เมือแยกเป็ นรายด้านพบว่า บริ การสาํ รวจข้อมูลเป็ น รายบุคคล บริการสนเทศ บริหารใหค้ ําปรึกษา บริการจัดวางตัวบุคคลอยใู่ นระดับปานกลาง และ บริการติดตามผลอยู่ในระดับมาก 2) ทัศนะของนักเรียนต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึกษาตามทีนักเรียนคาดหวัง ต้องการให้ปฏิบัติในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมอื แยกเป็นรายด้าน พบวา่ บริการสํารวจข้อมลู เป็ น รายบุคคล บริการสนเทศ บริหารให้คําปรึกษา บริการจัดวางตัวบุคคล และบริการติดตามผลอยูใ่ น ระดับมาก 3) อาจารย์ทีปรึกษามที ัศนะต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึกษาในการทําหนา้ ทีแนะ แนวตามทีตามทีปฏิบัติจริง และตามทีคาดหวัง ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เมือแยกเป็ นรายด้าน พบว่า บริการสํารวจข้อมลู เป็ นรายบุคคล บริการสนเทศ บริหารใหค้ ําปรึกษา บริการจัดวางตัว บุคคล และบริการติดตามผลอยู่ในระดับมาก อยู่ในระดับมาก
93 วัลภา ลิมสกุล (2547: 54-62) ได้ทําการวิจัยเรืองบทบาทอาจารย์ทีปรึกษาในทัศนะของ นักศกึ ษา คณะธุรกิจการเกษตร มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ ผลการศกึ ษาพบวา่ บทบาททีปฏิบัติจริงด้านวิชาการอยู่ในระดับปานกลาง คือ ให้คําแนะนําหรืตอักเตือนเมือมี ผลการเรียนตําลงและใหค้ ําแนะนําและช่วยเหลือนักศึกษาเพือแก้ไขอุปสรรคปัญหาในการเรียน ด้านการให้คําปรึกษาอยู่ในระดับปานกลาง คือ เก็บรักษาข้อมลูส่วนตัวของนักศึกษาเป็ นความลับ ด้านการให้ความช่วยเหลือนักศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง คือ ใหค้ ําแนะนําและช่วยเหลือเกียวกับ การผ่อนผันการลงทะเบียนแก่นักศึกษา ด้านบุคลิกภาพอยูใ่ นระดับมากคือ เป็ นผู้ทีมีความตั งใจ ปฏิบัติหน้าทีในฐานะอาจารย์ทีปรึกษา ด้านการพัฒนานักศึกษาอยู่ในระดบั มาก คือ ส่งเสริ ม นักศึกษาให้มีความกระตืนรือร้นในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และในระดับปานกลางคือ ให้ คําแนะนําการปฏบิ ัติตนให้อยู่ในระเบียบวนิ ัยของนักศึกษา ความคาดหวังทีมีต่ออาจารย์ทีปรึกษาด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก คือ ให้คําแนะนําและ ช่วยเหลือนักศกึ ษาเพือแก้ไขอปุ สรรคปัญหาในการเรียน ด้านการให้คําปรึกษาอยู่ในระดับมาก คือ เก็บรักษาข้อมูลส่วนตัวของนักศึกษาเป็นความลับ ด้านการให้ความช่วยเหลือนักศึกษาอยูใ่ นะรดับ มาก คือ มีการแจ้งขอ้ มูลข่าวสารความเคลือนไหวต่างๆ ให้นักศึกษาทราบทันต่อเหตุการณ์ ตลอดเวลา ดา้ นบุคลิกภาพอยูใ่ นระดับมาก คือ เป็ นผู้มีความตั งใจปฏิบัติหน้าทีอาจารย์ทีปรึกษา ด้านการพัฒนานักศึกษาอยู่ในระดับมากคือ ส่งเสริมนักศึกษาให้มีความกระตือรือร้นในการพฒั นา ตนเองอยู่เสมอ ปัญหาทีพบคือ นักศกึ ษาขาดข้อมลู ข่าวสารทางวชิ าการในเรืองใหมๆ่ นักศกึ ษาเกรงใจ/ ไม่ กล้าทีจะเข้าพบอาจารย์ทีปรึกษา ไมม่ ปี ฏิทินการนัดพบนักศกึ ษา อาจารย์ไม่ค่อยมีเวลาใหน้ กัศึกษา ได้เข้าพบ สําหรับปัญหาอืนๆ คือ ตั งแต่เปิ ดภาคเรียนไม่เคยพบหน้าอาจารย์ทีปรึกษาเลย นักศึกษา ไมก่ ล้าเข้าพบอาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์ทีปรึกษาบางคนมีภารกิจมากไม่ค่อยมเี วลาให้กับนักศกึ ษา ชชู ีพ ไวกสิกรรม (2552: 57-63) ได้ทําวจิ ัยเรือง คุณลักษณะครูทีปรึกษาทีพึงประสงค์ ตาม ทศั นะของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วผลการศกึ ษาพบวา่ 1) คุณลักษณะครูทีพงึ ประสงค์ตามทัศนะของนักศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว โดยรวม มีค่าเฉลียอยูใ่ นระดับมาก เมอื พิจารณาเป็นรายด้านพบวา่ ด้านมนุษยสัมพันธ์มีค่าเฉลยี เป็นอันดับแรก รองลงมาได้แก่ ด้านการ บริการ ส่วนด้วนวิชาการมีค่าเฉลียในระดับมากเป็นอันดับสุดท้าย 2) คุณลักษณะทีปรึกษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วระหว่างเพศชายกับเพศหญิง โดยรวม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ
94 3) คุณลักษณะครูทีปรึกษาพึงประสงค์ตามทศั นะของนักศึกษา ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จําแนกตามระดับ ประถมศึกษามัธยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายโดยรวม มีทัศนะต่อคุณลักษณะครูที พงึ ประสงค์แตกต่างกันอย่างมนี ัยสําคัญทางสถติ 0ิ .05 ชานนท์ เสาเกลียว (2552: 71-81) ได้ทําวิจัยเรือง คุณลักษณะทีพึงประสงคข์ องครูธุรกิจ ตามทัศนะของนักศกึ ษาประเภทวชิ าบริหารธุรกิจระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั นสูงชั นปี ที2 ปี การศึกษา 2551โรงเรียนไทยบริหารธุรกิจและพณิชยการ กรุงเทพมหานคร.ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดบั ทัศนะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงคข์ องครูธุรกิจ ของนกั ศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั นสูงมที ัศนะโดยรวมอยู่ในระดับมากและมีทัศนะในรายด้านและรายข้อ อยู่ในระดับมาก 2) ผลการจัดอันดบั คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครูธุรกิจ ตามทัศนะของ นักศึกษา โดยรวมอันดับหนึงด้านบุคลิกภาพและความเป็ นผู้นํา (X̅ = 3.37 ) อันดับสองด้าน คุณธรรมของครู (X̅ = 3.35 ) อันดับสามด้านการวัดผลและประเมินผล(X̅ = 3.19 ) อันดับสีด้าน ทักษะและเทคนิคการสอน (X̅ = 3.16 ) และอันดับห้าด้านวชิ าการ(X̅ = 3.11 ) 3) ผลการเปรียบเทียบทัศนะ ต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครูธุรกิจ จําแนก ตามตัวแปรอิสระ พบว่า นักศึกษาเพศต่างกัน มีทัศนะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงคข์ องครูธุรกิจ แตกต่างกันอย่างไมม่ ีนัยสําคัญทางสถิติ นักศึกษาทีศกึ ษาสาขาวชิ าต่างกันมที ัศนะต่อคุณลักษณะที พึงประสงคข์ องครูธุรกิจ แตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดบั 0.05 และนักศึกษาทีมี ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนต่างกันมีทัศนะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครูธุรกิจแตกต่างกันอยา่ ง ไม่มีนัยสําคัญทางสถติ ิ สุพัฒน์ เรือเรือง,พระ (2551: 125-136) ได้ทําการวิจัยเรืองบทบาทของพระสงฆ์ต่อการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนตามทัศนะของนักเรียนและผู้ปกครองในช่วงชั นท3ี โรงเรียน หน้าพระลาน (พิบลู สงเคราะห)์ จังหวัดสระบุรีผลการศกึ ษาพบวา่ 1) บทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนตามทัศนะ ของนักเรียนและผู้ปกครองในช่วงชั นท3ี โรงเรียนหน้าพระลาน (พิบูลสงเคราะห์) จังหวัดสระบุรี นักเรียนมคี วามคิดเห็นเกียวกับบทบาทของพระสงฆ์โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากโดย ด้านความกตญั ูกตเวทีอยู่ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ด้านความซือสตั ย์ ด้านความอุตสาหะ การรักษาระเบียบวินัย ความประหยัด ความยุติธรรม ความเมตตากรุณา ความมีเหตุผล ความ รับผิดชอบ ความเสียสละ และความสามัคคี ตามลําดับ
95 2) บทบาทพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนตามทัศนะของ นักเรียนในช่วงชั นท3ี โรงเรียนหน้าพระลาน (พิบูลสงเคราะห์) จังหวัดสระบุรี ผู้ปกครองมีความ คิดเห็นเกียวกับบทบาทของพระสงฆโ์ ดยภาพรวมและรายดา้ นอยูใ่ นระดับมากโดย ดา้ นความ ซือสัตย์ ด้านความอตุ สาหะ การรักษาระเบียบวนิ ัย ความประหยัด ความยุติธรรม ความเมตตากรุณา ความมเี หตุผล ความรับผิดชอบ ความเสียสละ และความสามัคคี ตามลําดับ
บทที 3 กรอบแนวความคิด และวิธีการศึกษา กรอบแนวคิดและวธิ ีการศกึ ษา เรือง “บทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา” ประกอบไปด้วยหัวข้อต่างๆ ดงั นี 3.1 กรอบแนวความคิดในการศึกษา 3.2 นิยามศัพท์เชิงปฏบิ ัติการ 3.3 สมมตุ ิฐานทางการศกึ ษา 3.4 ประชากรในการศกึ ษาและการสุ่มตัวอย่าง 3.5 เครืองมือทีใช้ในการศึกษา 3.6 การทดสอบเครืองมือทีใช้ในการศกึ ษา 3.7 การรวบรวมข้อมูล 3.8 การวเิ คราะห์ข้อมูล 3.1 กรอบแนวความคิดในการศึกษา จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวจิ ัยทีเกียวข้อง ผู้ศึกษาได้กําหนดตวั แปรอิสระและตัว แปรตาม โดยนํามาเป็นกรอบแนวคิดในการศกึ ษา ดังนี 3.1.1 ตัวแปรอิสระ(Independent Variables) ประกอบด้วย 1) ปัจจัยด้านบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สาขาทีจบก่อนเขา้ ศึกษา ผลการเรียนใน เทอมสุดท้าย ระดับชั นปี ทีศึกษา คณะทีกําลังศกึ ษา สถาบันทีกําลังศึกษา และภมู ลิ ําเนา 2) ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่ ระดับการศึกษาของบิดา ระดับการศึกษาของ มารดา อาชีพของบิดา อาชีพของมารดา รายได้ของบิดา และรายได้ของมารดา 3) ปัจจัยด้านอืนๆ ได้แก่ ความเกียวข้องกบั ครู กิจกรรมพิเศษ ความชืนชอบใน อาชีพครู การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และความสําคัญในการผลติ บุคลากรทางการศกึ ษา
97 3.1.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ บทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอดุ มศึกษา จากตัวแปรอสิ ระและตัวแปรตามสามารถกําหนดเป็นกรอบแนวความคิดในการวจิ ัยได้ตาม ภาพที 3.1 ตัวแปรอิสระ ตวั แปรตาม (Independent Variables) (Dependent Variables) 1. ปัจจัยด้านบุคคล 3. ปัจจัยด้านอืนๆ - เพศ - ความเกียวข้องกับครู - อายุ - กิจกรรมพิเศษ - สาขาทีจบก่อนเข้าศึกษา - ความชืนชอบในอาชีพครู - ผลการเรียนในเทอมสุดท้าย - การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร - ระดับชั นปี ทีศึกษา - ความสําคัญในการผลิต - คณะทกี ําลังศึกษา บุคลากรทางการศึกษา - สถาบันทีกําลังศกึ ษา - ภูมลิ ําเนา บทบาทของครูด้านผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของ 2. ปัจจัยด้านครอบครัว นกั ศึกษาระดับอุดมศกึ ษา - ระดับการศกึ ษาของบิดา - ระดับการศึกษาของมารดา - คุณธรรมจริยธรรมต่อวชิ าชีพ - อาชีพของบิดา - คุณธรรมจริยธรรมต่อผู้เรียน - อาชีพของมารดา - คุณธรรมจริยธรรมต่อชุมชน - รายได้ของบิดา - รายได้ของมารดา ภาพที 3.1 แสดงกรอบแนวความคิดในการศึกษา
98 3.2 นิยามศัพท์เชิงปฏิบตั ิการ เพศ หมายถงึ เพศของผู้กรอกแบบสอบถาม เป็นเพศชายหรือเพศหญิง อายุ หมายถงึ อายุของผู้กรอกแบบสอบถาม โดยระบุหน่วยเป็นปี สาขาทีจบก่อนเข้าศึกษา หมายถึง วุฒิการศึกษาของนกั ศึกษาก่อนเข้าศึกษาต่อในระดับ สถาบันอุดมศึกษา ผลการเรียนในเทอมสุดท้าย หมายถึง ระดบั คะแนนของนักศึกษาทีมีเกรดเฉลียเทอม สุดท้ายก่อนเข้าศกึ ษาต่อระดับอดุ มศกึ ษา ระดับชั นปี ทีศกึ ษา หมายถงึ ชั นปี ทีนักศกึ ษากําลังศึกษาอยู่ในขณะนั น คณะทีกําลังศึกษา หมายถึง คณะทีนักศึกษาทีกําลังศึกษาอยู่ในปัจจุบัน อดุ มศึกษา หมายถงึ การศกึ ษาสูงกวา่ มัธยมศกึ ษาตอนปลายขึ นไปทีนกั ศึกษากําลังศึกษา อยู่ในปัจจุบัน ภูมลิ ําเนา หมายถงึ สถานทีของนกั ศึกษาตามสําเนาทะเบียนบ้านก่อนเข้าศึกษาในระดับ สถาบันอดุ มศกึ ษา ระดับการศึกษาของบิดา หมายถึง ระดับการศึกษาสูงสุดของบิดา แบ่งออกเป็น 3 ระดับ 1) ระดับการศึกษาตํ า หมายถึง บิดาหรื อมารดาจบการศึกษาตํ ากว่าชั น ประถมศกึ ษาปี ที 6 หรือ มัธยมศกึ ษาปี ที3 2) ระดับการศึกษาปานกลาง หมายถึง บิดามารดาจบการศึกษาชั นมัธยมศกึ ษาปี ที 3 หรือ มัธยมศึกษาปี ที6 หรือเทียบเท่า 3) ระดบั การศึกษาสูงสุด หมายถึง บิดามารดาจบการศึกษาระดบั อนุปริญญา หรือ ปริญญาตรีขึ นไป ระดับการศึกษาของมารดา หมายถึง ระดบั การศึกษาสูงสุดของมารดา แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับการศึกษาตํ า หมายถึง บิดาหรื อมารดาจบการศึกษาตํ ากว่าชั น ประถมศกึ ษาปี ที 6 หรือ มัธยมศึกษาปี ที3 2) ระดับการศึกษาปานกลาง หมายถงึ บิดามารดาจบการศึกษาชั นมัธยมศกึ ษปาี ที 3 หรือ มัธยมศกึ ษาปี ที6 หรือเทียบเท่า 3) ระดับการศึกษาสูงสุด หมายถึง บิดามารดาจบการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือ ปริญญาตรีขึ นไป
99 อาชีพของบิดา หมายถึง อาชีพทีบิดาประกอบอาชีพในปัจจุบัน โดยแบ่งออกเป็น อาชีพรับ ราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัท ค้าขาย และเกษตรกร อาชีพของมารดา หมายถึง อาชีพทีมารดาประกอบอาชีพในปัจจุบัน โดยแบ่งออกเป็ น อาชีพรับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัท ค้าขาย และเกษตรกร รายได้ของบิดา หมายถึง รายได้ของบิดาทีได้รับในแต่ละเดือน เงินเดือนประจําหรือ รายได้ด้านอนื จากการประกอบอาชีพ รายได้ของมารดา หมายถึง รายได้ของมารดาทีได้รับในแต่ละเดอื น เงินเดือนประจําหรือ รายได้ด้านอืนจากการประกอบอาชีพ ความเกียวข้องกับครู หมายถงึ ญาติพีน้องหรือบุคคลใกล้ชิดประกอบอาชีพข้าราชการครู กิจกรรมพิเศษ หมายถึง การเข้าร่วมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมของสถาบันการศึกษา ความชืนชอบในอาชีพครู หมายถึง ความนิยมชมชอบ ให้ความสนใจ ใส่ใจ ในการ ประกอบอาชีพข้าราชการครู การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร หมายถึง การได้ยิน ได้ฟัง ได้เห็น หรือไดอ้ ่านจากหนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ เกียวกับบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม ความสาํ คัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง นโยบายของภาครัฐทีมีการ ส่งเสริมในประกอบอาชีพข้าราชการครู บทบาท หมายถึง พฤติกรรมทีมนุษย์แสดงออกมาตามหนา้ ทีหรือสถานภาพของแต่ละ บุคคล ซึงเป็ นพฤติกรรมทีสังคมกําหนดและคาดหมายให้มนุษย์ปฏิบัติตามตามบทบาทของตน อย่างเหมาะสม ครู หมายถึง ผู้ทีทําหน้าทีทําการสอน ถา่ ยทอดความรู้ให้กับผู้เรียน ปฏิบัติหน้าทีใน โรงเรียน ผู้นํา หมายถงึ บุคคลทีมอี ทิ ธิพลต่อบุคคลอนื สามารถชี แนะ อบรม ตักเตือน ให้บุคคลอืน ปฏิบัติตามอย่างเต็มใจ น่าเชือถือ ทาํ ให้งานประสบความสําเร็จได้ตามเป้ าหมายทีวางไว้ คุณธรรมจริยธรรม หมายถงึ คุณงามความดีทีอยู่ภายในจิตใจของมนุษย์ทีเป็ นแนวทางใน การประพฤติปฏิบัติในทางทีดีในทางทีชอบ เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสงั คม รู้จักผดิ ชอบชัวดี ตามทํานองคลองธรรม ทัศนะ หมายถึง ความรู้สึกหรือท่าทีทีจะกระทําต่อบางสิงบางอย่างในสิงแวดล้อมรอบตัว เรา เพอื สนับสนุนหรือตอ่ ต้านกับสิงเหลา่ นั น นักศึกษา หมายถึง ผู้ทีเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษา และระดับบัณฑิตศกึ ษา
100 คุณธรรมจริยธรรมต่อวิชาชีพ หมายถึง ประมวลมาตรฐานความประพฤติของครูจะต้อง ถือประพฤติปฏิบัติ เพือดํารงเกียรติและศักดิ ศรีของวิชาชีพครู ใหเ้ ป็ นทีเคารพนบั ถือของนักเรียน และบุคคลทัวไปเป็นผู้แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ โดยการ อบรม สมั มนาทางวิชาการ ในการทีจะนํา ความรู้มาพัฒนาคุณภาพในทางการศกึ ษา ตลอดจนใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาสือการเรียน การสอนให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพือเป็ นการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามอัธยาศยั คุณธรรมจริยธรรมต่อผู้เรียน หมายถึง ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างทีดี ทั งด้านวาจา ความคิด บุคลกิ ภาพ ทีจะทําให้ลูกศษิ ย์ปฏิบัติตามถา่ ยทอดความรู้ให้แก่ศษิ ย์เรียนด้วยด้วยความเตม็ ใจ เป็นผู้ไมแ่ สวงหาผลประโยชนจ์ ากนักเรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ดย้วตนเอง ครู เป็นผู้ให้คําเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาทีเกิดจากการเรียน ตลอดจนใช้ทักษะในการพดู ทีคอย ให้กําลังใจกับนักเรียนทีเกิดปัญหาทางการเรียน โดยนําหลักจิตวิทยาสําหรับครูในการแก้ไขปัญหา ของนักเรียน โดยการยกประสบการณ์ทางตรงหรือทางอ้อมให้นักเรียนได้เห็นเป็นรูปธรรมทีชัดเจน คุณธรรมจริยธรรมต่อชุมชน หมายถึง ประพฤติตนเป็ นแบบอยา่ งทีดีแก่ชุมชน เป็ นผู้มี ความสุภาพออ่ นโยน และใหก้ ารช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาของสงั คมหรือชุมชน วางตัวเป็ นกลาง ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ ง มีจิตในหนักแน่ไม่ไหวต่อเหตุการณ์ทีเกิดขึ นทุกสถานการณ์ ให้ ความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน และเป็ นผู้ทมี ีจิตใจทีเสียสละต่อส่วนร่วมเป็ นหลัก ไม่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว ถ่ายทอดความรู้ความสามารถทีมีอยู่ใหก้ ับชุมชน เป็ นผู้อนุรักษร์ ักษา ศิลปวัฒนธรรมไทย ตลอดจน พัฒนาภูมิปัญญาท้องถินให้คนรุ่ นหลงั ได้สืบทอดและเห็น ความสําคัญของความเป็นไทย เทิดทนู ในสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ 3.3 สมมติฐานทางการศึกษา สมมติฐานที 1 นักศกึ ษาทีมีเพศต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 2 นักศึกษาทีมีอายุต่างกันจะมที ัศนะตอ่ บทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 3 นักศึกษาทีจบสาขาก่อนเข้าศกึ ษาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 4 นักศึกษาทีมีผลการเรียนในเทอมสุดท้ายทีแตกต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาท ของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน
101 สมมติฐานที 5 นักศึกษาทีมีระดับชั นปี ทีศึกษาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมตฐิ านที 6 นักศึกษาทีกําลังศึกษาคณะแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 7 นักศกึ ษาทีอยสู่ ถาบันการศึกษาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 8 นักศกึ ษาทีมีภูมิลําเนาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 9 นักศึกษาทีมีระดับการศึกษาของบิดาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาท ของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 10 นักศึกษาทีมีระดับการศกึ ษาของมารดาทีแตกต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาท ของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 11 นักศกึ ษาทีมอี าชีพของบิดาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 12 นักศึกษาทีมีอาชีพของมารดาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 13 นักศึกษาทีมีรายได้ของบิดาทีแตกต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 14 นักศกึ ษาทีมีรายได้ของมารดาทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 15 นักศกึ ษาทีมีความเกียวข้องกับครูทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของ ครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 16 นักศกึ ษาทีเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของ ครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 17 นักศกึ ษาทีมคี วามชืนชอบในอาชีพครูทีแตกต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาท ของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 18 นักศกึ ษาทีมกี ารรับรู้ข้อมูลข่าวสารทีแตกต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาทของ ครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน สมมติฐานที 19 นักศึกษาทีมีทัศนะต่อความสําคัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษาที แตกต่างกันจะทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน
102 3.4 ประชากรในการศึกษา 3.4.1 ประชากร ประชากรทีศึกษา คือ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน จังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี 7,352 คน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 11,300 คน มหาวิทยาลัย ราชธานี 2,378 คน และมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยอี ีสเทิร์น 3,494 คน ทีกําลังศึกษา ในสถาบันการศึกษาทั ง 4 สถาบันรวมนักศึกษาทั ง4 สถาบัน จํานวนทั งสิน24,524 คน 3.4.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษาครั งนี ได้แกน่ ักศึกษาระดับอุดมศึกษาทั ง4 แห่ง ในเขต จังหวัดอบุ ลราชธานที ีกําลังศึกษาในระดับอุดมศึกษา ชั นปี ท1ี - 4 โดยกําหนดกลมุ่ ตัวอย่าง จํานวน 400 คน จากจํานวนนักศึกษาทั งสิ น24,524 คน วิธีการทีผู้ศึกษาได้ดําเนินการรวบรวมข้อมูลแบบ บังเอญิ (Accidental Sampling) โดยใช้กลมุ่ ตัวอย่างสถาบันการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาละ100 คน จากนั นผู้ศกึ ษานําแบบสอบถามแจกให้แก่นกั ศึกษาในพืนทีทีคาดว่าจะมีจํานวนนกั ศึกษา หนาแน่น และนักศึกษาก็มีเวลาทีจะกรอกแบบสอบถามให้ เช่น โรงอาหาร ใตต้ ึกอาคารเรียน ห้องสมดุ มหาวทิ ยาลัย เป็นต้นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษามจี ํานวนทั งสิน400 คน โดยผู้ศึกษาได้แบ่ง จํานวนกลมุ่ ตัวอย่างจําแนกตามมหาวิทยาลัย ดังนี มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี จํานวน 100 คน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี จํานวน 100 คน มหาวิทยาลัยราชธานี จํานวน 100 คน มหาวทิ ยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น จํานวน 100 คน 3.5 เครืองมอื ทีใช้ในการศึกษา 3.5.1 แบบสอบถาม เครืองมือทีใช้ในการศึกษาครั งนี คือแบบสอบถาม (Questionnaires) เป็ นการสอบถาม ทัศนะของนักศึกษาเกียวกับบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนกั ศึกษา ระดับอดุ มศึกษา โดยผู้ศึกษาได้แบ่งแบบสอบถามออกเป็น 5 ส่วน ส่วนที 1 เป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนที 2 เป็นแบบสอบถามปัจจัยด้านครอบครัว
103 ส่วนที 3 เป็นแบบสอบถามปัจจัยด้านอนื ๆ ส่วนที 4 เป็ นแบบสอบถามเกียวกับทัศนะของนกั ศึกษาต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรม ส่วนที 5 เป็นคําถามปลายเปิ ดเพือให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นเกียวกับบทบาทของครู ดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริ ยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาและปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆในส่วนขององค์ประกอบแต่ละด้าน สามารถจําแนกได้ ดังนี แบบสอบถามส่วนที 1 เป็ นข้อมลู ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอยา่ ง คือ เพศ อายุ ผลการ เรียนระดับมัธยมศกึ ษา ระดับชั นปี ทีศึกษาสถาบันทีกําลังศกึ ษาและภูมิลําเนา แบบสอบถามส่วนที 2 เป็ นข้อมูลปัจจัยส่วนครอบครัวของกลุ่มตัวอย่าง คือ ระดับ การศึกษาของบิดา ระดับการศกึ ษาของมารดา อาชีพของบิดา อาชีพของมารดา รายได้ของบิดา และ รายได้ของมารดา แบบสอบถามส่วนที 3 เป็นข้อมูลปัจจัยส่วนอนื ๆ ของกลมุ่ ตัวอย่างคือ ความเกียวข้องกับ ครู กิจกรรมพิเศษ ความชืนชอบในอาชีพครู การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และความสําคัญในการผลิต บุคลากรทางการศกึ ษา แบบสอบถามส่วนที 4 เป็นคําถามเกียวกับทัศนะของนักศกึ ษาต่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรม แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ 1) คุณธรรมจริยธรรมต่อวิชาชีพ 2) คุณธรรมจริยธรรมต่อผู้เรียน 3) คุณธรรมจริยธรรมต่อชุมชน เกณฑ์การวัดระดบั ทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรม ในคําถามส่วนที4 จะใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยยดึ หลักการให้คะแนนดังนี เห็นด้วยอย่างยิง ให้ 5 คะแนน เห็นด้วย ให้ 4 คะแนน ไมแ่ น่ใจ ให้ 3 คะแนน ไมเ่ ห็นด้วย ให้ 2 คะแนน ไมเ่ ห็นด้วยอย่างยิง ให้ 1 คะแนน แบบสอบถามส่วนที 5 เป็ นคําถามปลายเปิ ดเพือใหผ้ ู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นเกียวกับ บทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนกั ศึกษาระดับอุดมศึกษาและปัญหา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เพอื เป็นแนวทางในการปรับปรุง แก้ไข ในด้านบทบาทของ
104 ครูดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมให้มีประสิทธิภาพยิงขึ นตลอดจนเป็ นผลสะท้อนให้ครูได้ ปรับปรุงแก้ไขด้านคุณธรรม จริยธรรมมากขึ น เกณฑ์การแปรผลของระดับคะแนนได้ดังนี ระดับความคิดเห็น ระดับคะแนน เห็นด้วย 3.68-5.00 ไม่แน่ใจ 2.34-3.67 ไมเ่ ห็นด้วย 1.00-2.33 3.6 การทดสอบเครืองมอื ทใี ช้ในการศึกษา ผู้ศึกษาไดน้ าํ แบบสอบถามไปทดสอบหาความเชือมัน (Reliability) กับกลุ่มตวั อย่างที คล้ายคลึงกัน จากนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จํานวน 20 ชุด เพือนําผลทีไดม้ า วิเคราะห์และปรับปรุงแบบสอบถามให้เหมาะสมยิงขึ นก่อนทจี ะนําไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไปซึง ได้คา่ ความเชือมั น เท่ากับ0.927 3.7 การรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษามุง่ ศึกษาปัจจัยต่างๆ ซึงมผี ลต่อการบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม ในทัศนะของนักศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา ในด้านปัจจัยส่วนบุคคลผู้ให้ข้อมูลสําคัญแต่ละคน ในด้าน ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านอืนๆ และด้านปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ เกียวกับการบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนกั ศึกษาระดับอุดมศึกษา ในการวบรวมขอ้ มูลผู้ศึกษาในดําเนินการรวบรวมขอ้ มูลในช่วงภาคการศึกษาที 1 ประจําปี การศึกษา 2553 จาก 2 แหล่งข้อมูล คือ 1) ข้อมลู ปฐมภมู ิ (Primary Data) ได้แก่ เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม 2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ข้อมูลทีค้นคว้าจากตํารา บทความ และ เอกสารงานวจิ ัยทีเกียวข้อง
105 3.8 การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนสมบรูณ์ของแบบสอบถาม เพือนํามาบันทึก ขอ้ มูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปSPSS for Windows Version 16 และใช้สถิติในการวิเคราะห์ดังนี 1) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวิเคราะห์ข้อมูลทัวไปได้แก่ ค่าความถี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลีย (Arithmetic Mean) และส่วนเบียงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) 2) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เพือทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test และ F-test
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา การศึกษาเร่ืองบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการรวบรวมขอมูล จากนักศึกษาท้ัง 4 สถาบันการศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีขนาดกลุมตัวอยาง จํานวน 400 คน ผูศึกษาไดนํา ขอมลู ทไี่ ดมาวเิ คราะหหาคา ทางสถติ ิ และไดนาํ เสนอผลการศกึ ษา โดยแบงเปน 6 สว น ดังนี้ 4.1 ขอ มลู ปจจยั ดา นบุคคลเกยี่ วกับผตู อบแบบสอบถาม 4.2 ขอมลู ปจจยั ดานครอบครวั เกีย่ วกับผูตอบแบบสอบถาม 4.3 ขอ มลู ปจ จัยดา นอืน่ ๆ เกย่ี วกับผตู อบแบบสอบถาม 4.4 ขอมูลเกี่ยวกับทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม แบงออกเปน 3 ดาน คือ 1) คณุ ธรรมจริยธรรมดานวิชาชพี 2) คุณธรรมจรยิ ธรรมดา นผเู รียน 3) คุณธรรมจริยธรรมดา นชุมชน 4.5 ทดสอบสมมติฐาน 4.6 ขอ เสนอแนะอ่นื ๆ 4.1 ขอมูลปจจยั สว นบุคคล กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งน้ี คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จํานวน 100 คน นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จํานวน 100 คน นักศึกษามหาวิทยาลัยราชธานี จํานวน 100 คน และนกั ศึกษามหาวิทยาลัยการจัดการเทคโนโลยีอีสเทิรน จํานวน 100 คน โดยแยกตามเพศ อายุ สาขาท่ีจบกอนเขาศึกษา ผลการเรยี นในเทอมสดุ ทา ย ระดับช้ันปท่ีศึกษา สาขาวิชาท่ีกําลังศึกษา คณะทีก่ ําลังศกึ ษา สถาบันท่ีกาํ ลังศกึ ษา และภมู ิลาํ เนา มรี ายละเอยี ดดังตอไปน้ี (ตารางที่ 4.1)
107 เพศ พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยทั้ง 4 สถาบันการศึกษา มีเพศชาย จํานวน 174 คน (รอย ละ 43.5) เพศหญงิ จํานวน 226 คน (รอยละ 56.5) อายุ พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยทั้ง 4 สถาบันการศึกษา สวนใหญ อายุ 18 - 21 ป จํานวน 232 คน (รอยละ 58.0) อายุ 22 - 25 ป จํานวน 168 คน (รอยละ 42.0) สาขาที่จบกอนเขาศึกษา พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยท้ัง 4 สถาบันการศึกษา สวนใหญ กอนเขาศึกษาตอระดับสถาบันอุดมศึกษา จบช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 269 คน (รอยละ 67.2) รองลงมา จบประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จํานวน 86 คน (รอยละ 21.5) และนอยที่สุดจบ การศกึ ษาประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ สงู (ปวส.) จาํ นวน 45 คน (รอยละ 11.2) ผลการเรียนในเทอมสุดทาย พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยทั้ง 4 สถาบันการศึกษา สวน ใหญ คะแนนเฉล่ียของเทอมสุดทายกอนเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาอยูที่ 2.50 - 3.00 จํานวน 191 คน (รอยละ 47.8) รองลงมา คะแนนเฉล่ียของเทอมสุดทา ยกอนเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา อยูที่ 3.01 - 3.50 จํานวน 120 คน (รอยละ 30.0) คะแนนเฉลี่ยของเทอมสุดทายกอนเขาศึกษาตอใน ระดับอดุ มศกึ ษาอยูที่ตํ่ากวา 2.50 จํานวน 76 คน (รอยละ19.0) และนอยที่สุดคะแนนเฉล่ียของเทอม สดุ ทา ยกอนเขา ศึกษาตอในระดับอุดมศกึ ษาอยูที่ 3.51 - 4.00 จํานวน 13 คน (รอ ยละ 3.3) ระดับชั้นปท่ีศึกษา พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยท้ัง 4 สถาบันการศึกษา สวนใหญกําลัง ศึกษาอยูช้ันปท่ี 2 จํานวน 132 คน (รอยละ 33.0) รองลงมากําลังศึกษาอยูช้ันปที่ 3 จํานวน 110 คน (รอยละ 27.5) กําลังศึกษาอยูช้ันปที่ 4 จํานวน 102 คน (รอยละ 25.5) และนอยท่ีสุดกําลังศึกษาอยู ช้ันปท ่ี 1 จาํ นวน 56 คน (รอยละ 14.0) คณะที่กําลังศึกษา พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยทั้ง 4 สถาบันการศึกษา สวนใหญกําลัง ศึกษาอยูคณะบริหารธุรกิจ จํานวน 83 คน (รอยละ 20.8) รองลงมาคณะการบัญชี จํานวน 56 คน (รอยละ 14.0) รองลงมาตามลําดับ คณะศิลปศาสตร จํานวน 49 คน (รอยละ 12.2) คณะครุศาสตร จํานวน 43 คน (รอยละ 10.8) คณะนิติศาสตร จํานวน 40 คน (รอยละ 40.0) คณะรัฐศาสตรและรัฐ ประศาสนศาสตร จํานวน 39 คน (รอยละ 9.8) คณะวิศวกรรมศาสตร จํานวน 32 คน (รอยละ 8.0) คณะวิทยาศาสตร จํานวน 31 คน และนอยท่ีสดุ คณะเภสัชศาสตร จํานวน 27 คน (รอ ยละ 6.8) สถาบันที่กําลังศึกษา พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยท้ัง 4 สถาบันการศึกษา ไดแก นักศึกษา มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี จํานวน 100 คน (รอ ยละ 25.0) นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จํานวน 100 คน (รอยละ 25.0) นักศึกษามหาวิทยาลัยราชธานี จํานวน 100 คน (รอยละ 25.0) นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั การจดั การและเทคโนโลยอี ีสเทริ น จํานวน 100 คน (รอ ยละ 25.0) ภูมิลําเนา พบวา นักศึกษามหาวิทยาลัยทั้ง 4 สถาบันการศึกษา สวนใหญ ภูมิลําเนาอยูท่ี จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 162 คน (รอยละ 40.5) รองลงมาจังหวัดศรีสะเกษ จํานวน 102 คน
108 (รอยละ 25.5) รองลงมาตามลําดับจังหวัดอํานาจเจริญ จํานวน 68 คน (รอยละ 17.0) จังหวัดยโสธร จํานวน 40 คน (รอยละ 10.0) จังหวัดมุกดาหาร จํานวน 17 คน (รอยละ 4.2) และนอยที่สุดจังหวัด อ่ืนๆ จาํ นวน 11 คน (รอ ยละ 2.8) ตารางท่ี 4.1 ขอ มูลปจจัยสว นบุคคล ปจจยั สวนบุคคล จํานวน รอยละ เพศ ชาย (N=400) (100.0) อายุ หญงิ 174 43.5 สาขาทีจ่ บกอ นเขา ศึกษา 18 – 21 226 56.5 ผลการเรยี นในเทอมสุดทาย 22 – 25 232 58.0 มัธยมศึกษาปท ่ี 6 168 42.0 ระดบั ชนั้ ปท ี่ศึกษา ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 269 67.2 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชนั้ สงู 86 21.5 คณะทก่ี าํ ลงั ศึกษา ตํ่ากวา 2.50 45 11.2 2.51 - 3.00 76 19.0 3.01 - 3.50 191 47.8 3.51 - 4.00 120 30.0 ชั้นปท ่ี 1 13 3.3 ช้ันปท ี่ 2 56 14.0 ชน้ั ปท ่ี 3 132 33.0 ชัน้ ปท่ี 4 110 27.5 คณะวทิ ยาศาสตร 102 25.5 คณะบริหารธรุ กจิ 31 7.8 คณะการบัญชศี าสตร 83 20.8 คณะครุศาสตร 56 14.0 คณะรัฐศาสตรแ ละรฐั ประศาสนศาสตร 43 10.8 คณะศิลปะศาสตร 39 9.8 คณะนติ ศิ าสตร 49 12.2 40 10.0
109 ตารางท่ี 4.1 (ตอ ) สถาบนั ท่ีกําลงั ศกึ ษา ปจ จัยสว นบคุ คล จํานวน รอยละ ภูมลิ าํ เนา (N=400) (100.0) คณะวศิ วกรรมศาสตร คณะเภสัชศาสตร 32 8.0 มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี 27 6.8 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 100 25.0 มหาวิทยาลยั ราชธานี 100 25.0 มหาวทิ ยาลัยการจัดการและเทคโนโลยี 100 25.0 100 25.0 อีสเทริ น จงั หวดั อบุ ลราชธานี 162 40.5 จังหวดั ศรสี ะเกษ 102 25.5 จงั หวดั อํานาจเจรญิ 68 17.0 จังหวดั ยโสธร 40 10.0 จงั หวดั มุกดาหาร 17 4.2 อ่ืนๆ 11 2.8 4.2 ขอมลู ปจ จัยดา นครอบครัว จากการที่ไดทําการศึกษาปจจัยสวนครอบครัว โดยจําแนกเปนระดับการศึกษาของบิดา ระดับการศึกษาของมารดา อาชีพของบิดา อาชีพของมารดา รายไดของบิดา รายไดของมารดา มี รายละเอียด ดงั นี้ตอไปน้ี (ตารางที่ 4.2) ระดับการศึกษาของบิดา สวนใหญสําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 121 คน (รอยละ 30.2) รองลงมา สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 106 คน (รอยละ 26.5) รองลงมาตามลําดับ คือ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 87 คน (รอยละ 21.8) สําเร็จ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 45 คน (รอยละ 11.2) สําเร็จการศึกษาระดับ อนุปรญิ ญา จํานวน 29 คน (รอยละ 7.2) และนอยที่สดุ คอื สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 12 คน (รอ ยละ 3.0)
110 ระดับการศึกษาของมารดา สวนใหญสําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 156 คน (รอยละ 39.0) รองลงมา สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 106 คน (รอยละ 26.5) รองลงมาตามลาํ ดับ สาํ เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 64 คน (รอ ยละ 16.0) สําเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 38 คน (รอยละ 9.5) สําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา จํานวน 33 คน (รอยละ 8.2) ไมไดศึกษา จํานวน 2 คน (รอยละ 0.5) และนอยท่ีสุด คือ สําเร็จการศึกษา การศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท จาํ นวน 1 คน (รอ ยละ 0.2) อาชีพของบิดา สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกร จํานวน 174 คน (รอยละ 43.5) รองลงมาประกอบอาชีพขาราชการ จํานวน 75 คน (รอยละ 18.8) รองลงมาตามลําดับ ประกอบ อาชีพคาขาย จํานวน 58 คน (รอยละ 14.5) ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว จํานวน 48 คน (รอย ละ 12.0) ประกอบอาชีพพนักงานองคกรของรัฐและรัฐวิสาหกิจ จํานวน 21 คน (รอยละ 5.2) ประกอบอาชีพพนักงานองคกรเอกชน จํานวน 19 คน (รอยละ 4.8) และนอยท่ีสุด คือ ประกอบ อาชีพ อน่ื ๆ จํานวน 5 คน (รอ ยละ 1.2) อาชีพของมารดา สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกร จํานวน 181 คน (รอยละ 45.2) รองลงมา ประกอบอาชีพคาขาย จํานวน 79 คน (รอยละ 19.8) รองลงมาตามลําดับ ประกอบ อาชีพธุรกิจสวนตัว จํานวน 54 คน (รอยละ 13.5) ประกอบอาชีพขาราชการ จํานวน 43 คน (รอย ละ 10.8) ประกอบอาชีพพนักงานองคกรเอกชน จํานวน 26 คน (รอยละ 6.5) ประกอบอาชีพ พนักงานองคกรของรัฐและรัฐวิสาหกิจ จํานวน 16 คน (รอยละ 4.0) และนอยที่สุด ประกอบอาชีพ อนื่ ๆ จํานวน 1 คน (รอยละ 0.2) รายไดของบิดา สวนใหญตํ่ากวา 5,000 บาทตอเดือน จํานวน 176 คน (รอยละ 44.0) รองลงมา 20,001-25,000 บาทตอเดือน จาํ นวน 61 คน (รอ ยละ 15.0) รองลงมาตามลําดับ 5,001- 10,000 บาทตอเดือน จาํ นวน 54 คน (รอยละ 13.5) 15,001-20,000 บาทตอเดือน จํานวน 45 คน (รอยละ 11.2) 10,001-15,000 บาทตอเดือน จํานวน 37 คน (รอยละ 9.2) 25,001-30,000 บาทตอ เดอื น จาํ นวน 23 คน (รอยละ 5.8) และนอยท่ีสุดคือ 30,001 บาทตอเดือนขึ้นไป จํานวน 4 คน (รอย ละ 1.0) รายไดของมารดา สวนใหญตํ่ากวา 5,000 บาทตอเดือน จํานวน 182 คน (รอยละ 45.5) รองลงมา 5,001-10,000 บาทตอ เดอื น จาํ นวน 74 คน (รอ ยละ 18.5) รองลงมาตามลําดับ 15,001- 20,000 บาทตอเดือน จํานวน 70 คน (รอยละ 17.5) 10,001-15,000 บาทตอเดือน จํานวน 44 คน (รอ ยละ 11.0) 20,001-25,000 บาทตอ เดือน จํานวน 26 คน (รอยละ 6.5) และนอยท่ีสุดคือ 25,001- 30,000 บาทตอ เดอื น จาํ นวน 4 คน (รอยละ 1.0)
111 ตารางท่ี 4.2 ขอมลู ปจ จยั ดา นครอบครวั ปจจัยสว นบคุ คล จํานวน รอยละ ระดบั การศกึ ษาของบิดา ประถมศกึ ษา (N=400) (100.0) ระดับการศกึ ษาของมารดา มัธยมศึกษาตอนตน 121 30.2 อาชีพของบดิ า มัธยมศึกษาตอนปลาย 106 26.5 อาชพี ของมารดา อนปุ รญิ ญา 45 11.2 ปรญิ ญาตรี 29 7.2 อนื่ ๆ 87 21.8 12 3.0 ไมไดศ ึกษา ประถมศึกษา 2 0.5 มธั ยมศึกษาตอนตน 156 39.0 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 106 26.5 อนุปรญิ ญา 38 9.5 ปริญญาตรี 33 8.2 อื่นๆ 64 16.0 ขา ราชการ 1 0.2 พนักงานองคกรรัฐ/รฐั วสิ าหกิจ 75 18.8 พนักงานองคกรเอกชน 21 5.2 ธุรกิจสว น 19 4.8 เกษตรกร 48 12.0 คา ขาย 174 43.5 อืน่ ๆ 58 14.5 ขา ราชการ 5 1.2 พนักงานองคก รรัฐ/รัฐวสิ าหกิจ 43 10.8 พนกั งานองคก รเอกชน 16 4.0 ธรุ กจิ สว น 26 6.5 เกษตรกร 54 13.5 คา ขาย 181 45.2 อ่นื ๆ 79 19.8 1 0.2
112 ตารางท่ี 4.2 (ตอ ) ปจจยั สวนบคุ คล จํานวน รอยละ รายไดของบิดาตอเดือน ต่ํากวา 5,000 (N=400) (100.0) รายไดข องมารดาตอเดอื น 5,001-10,000 176 44.0 10,001-15,000 54 13.5 15,001-20,000 37 9.2 20,001-25,000 45 11.2 25,001-30,000 61 15.2 30,001 ข้นึ ไป 23 5.8 ต่ํากวา 5,000 4 1.0 5,001-10,000 182 45.5 10,001-15,000 74 18.5 15,001-20,000 44 11.0 20,001-25,000 70 17.5 25,001-30,000 26 6.5 4 1.0 4.3 ขอมลู ปจ จัยดา นอ่ืนๆ จากการไดศ กึ ษาขอมูลของกลมุ ตัวอยา งใน ปจจัยดานอ่ืนๆ โดยจําแนกเปน ความเก่ียวของ กับครู กิจกรรมพิเศษ ความชื่นชอบในอาชีพครู การรับรูขอมูลขาวสาร ความสําคัญในการผลิต บุคลากรทางการศกึ ษา มีรายละเอยี ดดงั ตอ ไปนี้ (ตารางที่ 4.3) ความเกี่ยวขอ งกับครู พบวา นักศึกษาสวนใหญ ไมมีญาติท่ีประกอบอาชีพครู จํานวน 212 คน (รอยละ 53.0) รองลงมามีญาติประกอบอาชีพครู 1 คน จํานวน 159 คน (รอยละ 39.8) รองลงมา ตามลําดับ มีญาติประกอบอาชีพครู 2 คน จํานวน 25 คน (รอยละ 6.2) มีญาติประกอบอาชีพครู 3 คน จํานวน 3 คน (รอยละ 0.8) และนอยท่ีสุด คือ มีญาติประกอบอาชีพครู 5 คน จํานวน 1 คน (รอยละ 0.2) กิจกรรมพิเศษ พบวา นักศึกษาสวนใหญเคยเขารวมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมท่ีทาง มหาวิทยาลัยจัดข้ึน จํานวน 249 คน (รอยละ 62.2) ไมเคยเขารวมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมท่ี ทางมหาวทิ ยาลยั จดั ข้นึ จํานวน 151 คน (รอยละ 37.8)
113 ความชื่นชอบในอาชีพครู พบวา นักศึกษาสวนใหญ มีความชื่นชอบในอาชีพครู มาก จํานวน 224 คน (รอยละ 56.0) รองลงมา มีความช่ืนชอบในอาชีพครู ปานกลาง จํานวน 69 คน (รอยละ 17.2) รองลงมาตามลําดับ ไมช่ืนชอบในอาชีพครูเลย จํานวน 50 คน (รอยละ 12.5) มี ความชน่ื ชอบในอาชพี ครูมากทสี่ ุด จํานวน 49 คน (รอ ยละ 12.2) และนอ ยทสี่ ดุ คือ มคี วามช่นื ชอบ ในอาชีพครู นอ ย จาํ นวน 8 คน (รอยละ 2.0) การรับรูขอมูลขาวสาร พบวา นักศึกษาสวนใหญรับรูขอมูลขาวสารจากโทรทัศน, หนังสอื พิมพ, วารสารตา ง ๆ จาํ นวน 47 คน (รอ ยละ 11.8) รองลงมา โทรทศั น, อนิ เตอรเน็ต จํานวน 44 คน (รอยละ 11.0) รองลงมาตามลําดับ วิทยุ, โทรทัศน, หนังสือพิมพ จํานวน 41 คน (รอยละ 10.2) วิทยุ, โทรทัศน, หนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต จํานวน 40 คน (รอยละ 10.0) วิทยุ, อินเตอร, หนังสือพิมพ จํานวน 38 คน (รอยละ 9.5) โทรทัศน, หนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต จํานวน 30 คน (รอยละ 7.5) หนังสือพิมพ,โทรทัศน จํานวน 27 คน (รอยละ 6.8) และ หนังสือพิมพ,อินเตอรเน็ต จํานวน 27 คน (รอยละ 6.8) วารสารตาง ๆ,โทรทัศนหนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต จํานวน 25 คน (รอ ยละ 6.2) โทรทัศน จํานวน 23 คน (รอยละ 5.8) และ อินเตอรเน็ต จํานวน 23 คน (รอยละ 5.8) อนิ เตอรเน็ต,วทิ ยุ จาํ นวน 18 คน (รอยละ 4.5) และนอยที่สุด โทรทัศน,หนังสือพิมพ,วารสารตาง ๆ จํานวน 17 คน (รอยละ 4.2) ความสําคัญในการผลิตบุคลากร พบวา นักศึกษาสวนใหญ เห็นดวยกับนโยบาย การ พัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหไดครูดี ครูเกง มีคุณธรรม มีคุณภาพและมีวิทย ฐานะสูงขึ้นของรัฐบาลปจจุบัน จํานวน 226 คน (รอยละ 56.5) รองลงมาไมทราบ จํานวน 79 คน (รอยละ 19.8) รองลงมาตามลําดับ เห็นดวยอยางยิ่ง จํานวน 67 คน (รอยละ 16.8) ไมแนใจ จํานวน 22 คน (รอ ยละ 5.5) และไมเ ห็นดวย จาํ นวน 6 คน (รอ ยละ 1.5) ตารางที่ 4.3 ขอ มลู ปจจยั ดา นอืน่ ๆ ความเกยี่ วของกบั ครู ปจ จยั สว นบุคคล จาํ นวน รอ ยละ ไมม ีญาตปิ ระกอบอาชีพครู (N=400) (100.0) มีญาตปิ ระกอบอาชพี ครู 1 คน 212 53.0 มญี าติประกอบอาชพี ครู 2 คน 159 39.8 มญี าตปิ ระกอบอาชพี ครู 3 คน 25 6.2 มีญาติประกอบอาชีพครู 5 คน 3 0.8 1 0.2
114 ตารางที่ 4.3 (ตอ) กจิ กรรมพเิ ศษ ปจ จยั สว นบุคคล จํานวน รอยละ ความช่นื ชอบในอาชีพครู (N=400) (100.0) การรับรูข อ มูลขา วสาร ไมเคยเขารวมกิจกรรม 37.8 เคยเขารว มกจิ กรรม 151 62.2 ความสําคญั ในการผลติ มากทสี่ ุด 249 12.2 บุคลากรทางการศกึ ษา มาก 49 56.0 ปานกลาง 224 17.2 นอ ย 69 ไมช อบเลย 8 2.0 โทรทศั น 50 12.5 อินเตอรเนต็ 23 5.8 อินเตอรเ นต็ ,วทิ ยุ 23 5.8 หนงั สอื พิมพ, โทรทศั น 18 4.5 หนงั สอื พมิ พ, อินเตอรเน็ต 27 6.8 โทรทัศน, อินเตอรเ น็ต 27 6.8 โทรทศั น,หนงั สือพมิ พ, วารสารตา งๆ 44 11.0 โทรทัศน, อนิ เตอรเ นต็ , วารสารตางๆ 17 4.2 วิทย,ุ โทรทัศน, หนงั สือพิมพ 47 11.8 โทรทศั น, หนงั สือพมิ พ, อนิ เตอรเน็ต 41 10.2 วิทย,ุ อนิ เตอร, หนงั สือพมิ พ 30 7.5 วิทย,ุ โทรทศั น, หนังสือพิมพ, อนิ เตอรเ นต็ 38 9.5 วารสารตางๆ,โทรทศั น,หนงั สือพมิ พ, 40 10.0 อินเตอรเ น็ต เหน็ ดว ยอยา งยิง่ 25 6.2 เหน็ ดว ย 67 16.8 ไมแนใ จ 226 56.5 ไมเหน็ ดวย 22 5.5 ไมทราบ 6 1.5 79 19.8
115 4.4 ขอมูลเกี่ยวกับบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของ นักศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา 4.4.1 บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษารวมทุกดาน พบวา อยูในระดับ เห็นดวย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.88 เมื่อพิจารณาในแต ละดานปรากฏดังนี้ 1) คุณธรรมจริยธรรมดานวิชาชีพ พบวา นักศึกษามีทัศนะตอบทบาทครูดานผูนํา ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม อยใู นระดบั เหน็ ดว ย คา เฉล่ียเทากบั 3.92 2) คุณธรรมจริยธรรมดานผูเรียน พบวา นักศึกษามีทัศนะตอบทบาทครูดานผูนํา ทางคุณธรรมจรยิ ธรรม อยใู นระดบั เห็นดว ย คาเฉลย่ี เทากับ 3.85 3) คุณธรรมจริยธรรมดานชุมชน พบวา นักศึกษามีทัศนะตอบทบาทครูดานผูนํา ทางคุณธรรมจรยิ ธรรม อยใู นระดับเห็นดว ย คาเฉล่ียเทากับ 3.87 (ตารางท่ี 4.4) ตารางที่ 4.4 จาํ นวน คาเฉลีย่ คาเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั บทบาทของครดู านผนู าํ ทาง คณุ ธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา รายการ X SD ระดบั ความคดิ เห็น 1. ดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอวชิ าชพี 0.75 เหน็ ดว ย 2. ดา นคณุ ธรรมจริยธรรมตอผเู รยี น 3.92 0.81 เหน็ ดว ย 3. ดา นคณุ ธรรมจริยธรรมตอ ชมุ ชน 3.85 0.79 เหน็ ดว ย 3.87 รวม 3.88 0.78 เหน็ ดวย 4.4.2 ดา นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอ วชิ าชพี จากการศึกษาบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ดานวิชาชีพ พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนํา ทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาดานวิชาชีพ อยูในระดับเห็นดวย มี คาเฉล่ียเทากับ 3.92 เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา เห็นดวย กับจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย มุงเนนไดเกิดผลสัมฤทธ์ิกับผูเรียน มีคาเฉล่ีย 4.11 รองลงมา ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเก่ียวกับ การพัฒนาวิชาชีพครูอยูเสมอ มีคาเฉลี่ย 3.99 รองลงมาตามลําดับ ปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแก นักเรียน มีคาเฉลี่ย 3.97 พัฒนาศักยภาพตนเองโดยเขารับการอบรม สัมมนา ของ หนวยงาน หรือ
116 องคกรตาง ๆ มีคาเฉลี่ย 3.95 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมตางๆ โดยคํานึงถึงผลท่ีจะเกิดแกผูเรียน มี คาเฉลี่ย 3.94 และ มุงมั่นพัฒนาผูเรียนใหมีพัฒนาการอยางเต็มที่ คาเฉล่ีย 9.94 รายงานผลการ พัฒนาคุณภาพของผูเรียนไดอยางมีระบบ คาเฉล่ีย 3.92 มีปฏิสัมพันธในสถานศึกษาอยาง สรางสรรค คาเฉลี่ย 3.91 พัฒนาตนเอง เพื่อกาวสูความเปนผูนําทางการศึกษาของประเทศ คาเฉล่ีย 3.88 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพอยูเสมอ คาเฉล่ีย 3.87 รายงานผลการพัฒนา คุณภาพของผูเรียนไดอยางมีระบบ คาเฉลี่ย 3.85 และ แสวงหาและใชขอมูลขาวสารโดยการใช เทคโนโลยสี มยั ใหมมาพัฒนาการเรียนการสอนใหทันสมัยอยตู ลอดเวลา คาเฉล่ีย 3.85 และสุดทาย พัฒนาแผนการเรยี นรใู หสามารถปฏิบตั ไิ ดเกดิ ผลจริง มีคาเฉลี่ย 3.83 (ตารางที่ 4.5) ตารางที่ 4.5 บทบาทของครูดา นผูน าํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรมในทัศนะของนกั ศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา ดานวชิ าชพี จาํ แนกรายขอ คุณธรรมจรยิ ธรรมดา นวิชาชพี X SD ระดบั ความคดิ เหน็ 1. ปฏิบัตกิ ิจกรรมทางวชิ าการเก่ียวกบั การพฒั นา 3.99 0.58 เหน็ ดว ย วิชาชีพครูอยูเสมอ 2. ตดั สนิ ใจปฏิบตั กิ ิจกรรมตา งๆ โดยคาํ นงึ ถงึ ผลที่ 3.94 0.65 เห็นดว ย จะเกิดแกผ เู รยี น 3. มงุ มน่ั พฒั นาผเู รียนใหมพี ัฒนาการอยางเตม็ ท่ี 3.94 0.67 เห็นดว ย 4. พฒั นาแผนการเรียนรูใหปฏบิ ัติไดเกดิ ผลจรงิ 3.83 0.71 เห็นดว ย 5. พฒั นาสือ่ การเรียนการสอน ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ 3.87 0.75 เห็นดว ย อยูเสมอ 6. จดั กจิ กรรมการเรียนการ โดยมุง เนนไดเกดิ ผล 4.11 0.78 เหน็ ดว ย สัมฤทธกิ์ ับผเู รียน 7. รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพของผูเรยี นไดอ ยาง 3.85 0.79 เห็นดว ย มรี ะบบ 8. ปฏิบัตติ นเปนแบบอยา งทดี่ แี กน กั เรียน 3.97 0.84 เหน็ ดว ย 9. มีปฏสิ มั พันธในสถานศึกษาอยา งสรางสรรค 3.91 0.82 เหน็ ดว ย 10. แสวงหาและใชขอมูลขาวสารโดยการใช 3.85 0.84 เห็นดว ย เทคโนโลยีสมัยใหมมาพัฒนาการเรียนการสอนให ทันสมัยอยตู ลอดเวลา
117 ตารางที่ 4.5 (ตอ) คุณธรรมจรยิ ธรรมดานวชิ าชีพ X SD ระดับความคดิ เหน็ 11. สรางโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูตามอัธยาศัยได 3.92 เหน็ ดว ย ตลอดเวลา 12. พัฒนาศักยภาพตนเองโดยเขารับการอบรม 3.95 เห็นดว ย สัมมนา ของ หนว ยงานหรือองคกรตา งๆ 13. พฒั นาตนเอง เพ่ือกาวสูความเปนผูน าํ ทาง 3.88 เห็นดว ย การศึกษาของประเทศ คาเฉล่ยี ( X ) 3.92 0.75 เหน็ ดวย 4.4.3 คณุ ธรรมจรยิ ธรรมดานผูเรยี น จากการศึกษาบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ดานผูเรียน พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนํา ทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาดานผูเรียน อยูในระดับเห็นดวย มี คาเฉล่ียเทากับ 3.85 เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา เห็นดวย กับครูมีความมุงมั่นตั้งจริงใจตอการ อบรมสั่งสอนคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน มีคาเฉล่ีย 3.91 รองลงมา ครูผูสอนประพฤติตนเปน แบบอยา งท่ีดใี นเรอ่ื งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี าเฉลยี่ 3.90 รองลงมาตามลาํ ดับ ครูใหการอบรมส่ังสอน คุณธรรมจริยธรรมนักเรียนควบคูกับกิจกรรมการเรียนการสอน มีคาเฉลี่ย 3.89 ครูมีความมุงมั่นต้ัง จริงใจตอ การอบรมส่ังสอนคณุ ธรรมจริยธรรมนกั เรียน มคี า เฉลี่ย 3.86 และ ครจู ดั การเรียนการสอน มุงเนนใหนักเรียนศึกษาคนควาขอมูลและอภิปรายพรอมสรุปผล มีคาเฉลี่ย 3.86 ครูมีทักษะการพูด ใหนักเรียนมีกําลังใจมุงม่ันท่ีจะพัฒนาตนเองใหเปนคนดี มีคาเฉลี่ย 3.84 และ ครูใหการอบรมส่ัง สอนลูกศิษยดวยความเมตตา มีคาเฉล่ีย 3.84 ครูจัดการเรียนการสอนจากประสบการณตรง หรือ บทบาทสมมุติ มีคาเฉลี่ย 3.83 และ ครูใหการยกยองชมเชย หรือใหขวัญและกําลังใจแกนักเรียน มี คา เฉลย่ี 3.83 และสดุ ทาย ครูมีความอดทนตอพฤติกรรมตางๆ ของผูเรียนไมวาจะเปนดานบวกหรือ ดานลบ มีคา เฉลย่ี 3.78 (ตารางท่ี 4.6)
118 ตารางที่ 4.6 บทบาทของครูดา นผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในทัศนะของนกั ศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา ดา นผเู รียน จําแนกรายขอ คุณธรรมจรยิ ธรรมดา นผูเรยี น X SD ระดับความคดิ เห็น 1. ครใู หการอบรมส่ังสอนคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 0.78 เห็นดว ย นกั เรียนควบคกู บั กิจกรรมการเรยี นการสอน 3.89 0.85 เหน็ ดว ย 2. ครูจัดการเรียนการสอนจากประสบการณตรง 3.83 0.81 เหน็ ดว ย หรอื บทบาทสมมตุ ิ 3.86 0.82 เหน็ ดว ย 3. ครูจัดการเรียนการสอนมุงเนนใหนักเรียนศึกษา 3.83 0.87 เหน็ ดว ย คน ควาขอ มลู และอภปิ รายพรอมสรุปผล 3.84 0.83 เห็นดว ย 4. ครูใหการยกยองชมเชย หรือใหขวัญ และ 3.78 0.88 เหน็ ดว ย กําลงั ใจแกน กั เรียน 3.84 0.77 เหน็ ดว ย 5. ครูมีทักษะการพูดใหนักเรียนมีกําลังใจ มุงมั่นที่ 3.86 0.79 เห็นดว ย จะพฒั นาตนเองใหเปน คนดี 3.91 0.79 เห็นดว ย 6. ครูมีความอดทนตอพฤติกรรมตางๆ ของผูเรียน 3.90 0.81 เห็นดว ย ไมวา จะเปน ดานบวกหรอื ดานลบ 3.85 7. ครูใหการอบรมสั่งสอนลูกศิษย ดวยความมี เมตตา 8. ครูมีจิตวิทยาของความเปนครูที่จะชวยแกปญหา ทกุ ดานใหแกล กู ศิษย 9. ครูมีความมุงมั่นตั้งจริงใจตอการอบรมสั่งสอน คุณธรรมจรยิ ธรรมนกั เรียน 10.ครูผูสอนประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีในเรื่อง คณุ ธรรมจริยธรรม คา เฉล่ยี ( X ) 4.4.4 คุณธรรมจรยิ ธรรมดานชุมชน จากการศึกษาบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ดานชุมชน พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนํา ทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาดานชุมชน อยูในระดับเห็นดวย มี
119 คา เฉลี่ยเทากับ 3.87 เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา เห็นดวยกับครูเปนผูมีความศรัทธาในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ มคี าเฉล่ยี สูงสดุ 3.98 รองลงมาครูวางตัวเปนกลางในทุกเหตุการณท่ีเกิดข้ึน ในชุมชน มีคาเฉล่ีย 3.91 รองลงมาตามลําดับ ครูมีความยุติธรรมในการตัดสินปญหาท่ีเกิดขึ้นใน ชมุ ชน มีจิตใจทเ่ี ปนกลางไมเอนเอยี งฝา ยใดฝายหนง่ึ มคี าเฉล่ยี 3.89 และ ครูเปนผูม สี วนรวมในการ อนุรักษและพัฒนาภูมิปญญาทองถ่ิน มีคาเฉลี่ย 3.89 ครูใหความรวมมือและเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่ทางชุมชนจัดขึ้น มีคาเฉลี่ย 3.88 และครูเปนศาสนิกชนท่ีดีตามหลักศาสนาของตน มีคาเฉล่ีย 3.88 ครปู ระพฤตเิ ปนแบบอยา งท่ดี ี เปน คนมีความสภุ าพออนโยนตอ สาธารณชน มีคาเฉล่ีย 3.87 ครู เปนผูมีความอดทนและมีความเพียรในการเผยแผความรูใหแกชุมชน มีคาเฉลี่ย 3.86 ครูเปนผูให ความรักและเมตตาตอ ทุกคน ปฏิบัตติ ามกฎของสังคมในการอยูรว มกัน มีคาเฉล่ีย 3.86 และ ครูเปน ผูใหค วามชวยเหลือมีความเออื้ อาทรแกชุมชน มีคา เฉล่ีย 3.86 ครูเปน ผูม ีจติ ใจหนักแนนไมหว่ันไหว ตอทุกสถานการณ มีคาเฉล่ีย 3.82 และสุดทาย ครูมีบุคลิกภาพความเปนผูนําในการอนุรักษ วฒั นธรรมไทย มีคา เฉลีย่ 3.81 (ตารางที่ 4.7) ตารางท่ี 4.7 บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ดานชมุ ชน จาํ แนกรายขอ คุณธรรมจริยธรรมดา นชมุ ชน X SD ระดับความคดิ เห็น 1. ครูเปนผใู หค วามชว ยเหลอื มคี วามเออ้ื อาทร แกช มุ ชน 3.86 0.82 เห็นดว ย 2. ครูประพฤติเปนแบบอยางที่เปนคนมีความสุภาพ 3.87 0.80 เหน็ ดว ย ออ นโยนตอ สาธารณชน 3. ครูเปนศาสนิกชนทดี่ ตี ามหลกั ศาสนาของตน 3.88 0.75 เห็นดว ย 4. ครูเปนผูใหความรักและเมตตาตอทุกคน ปฏิบัติตาม 3.86 0.80 เหน็ ดว ย กฎของสังคมในการอยูรวมกนั 5. ครูเปนผมู ีจิตหนักแนน ไมห วัน่ ไหวตอทุกสถานการณ 3.82 0.81 เห็นดว ย 6. ครูเปนผูมีความอดทนและมีความเพียร ในการเผยแผ 3.86 0.84 เหน็ ดว ย ความรูใ หแ กชุมชน 7. ครูใหความรวมมือและเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่ทาง 3.88 0.78 เหน็ ดว ย ชมุ ชนจดั ขนึ้ 8. ครูเปนผูมีสวนรวมในการอนุรักษและพัฒนาภูมิ 3.89 0.79 เหน็ ดว ย ปญ ญาทอ งถน่ิ
120 ตารางที่ 4.7 (ตอ) คุณธรรมจรยิ ธรรมดานชุมชน X SD ระดับความคดิ เห็น 9. ครูมีบุคลิกภาพความเปนผูนําในการอนุรักษ 3.81 0.81 เหน็ ดว ย วัฒนธรรมไทย 10. ครูวางตัวเปนกลางในทุกขเหตุการณ ท่ีเกิดขึ้นใน 3.91 0.78 เห็นดว ย ชุมชน 11. ครูมีความยุติธรรมในการตัดสินปญหาท่ีเกิดข้ึนใน 3.89 0.80 เห็นดว ย ชุมชน มีจิตใจท่เี ปน กลางไมเอนเอยี งฝายใดฝายหน่งึ 12. ครูเปนผมู คี วามศรทั ธาในสถาบันชาติ ศาสนา 3.98 0.70 เหน็ ดว ย พระมหากษัตริย คา เฉลย่ี ( X ) 3.87 0.79 เหน็ ดว ย 4.5 การทดสอบสมมติฐาน สมมตฐิ านท่ี 1 นักศึกษาท่ีมีเพศตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรม จรยิ ธรรมแตกตางกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ระหวางเพศชาย กับ เพศหญิง มีคาเฉล่ียเทากับ 3.90 และ3.86 ตามลําดับ วเิ คราะหค วามแตกตา งของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ t-test ไดคา Sig. 2-tail = 0.589 แสดงวานัก ศึกที่มีเพศตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางกัน อยางไมมี นัยสาํ คญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05 จงึ ปฏเิ สธสมมติฐานที่ 1 (ตารางท่ี 4.8) ตารางท่ี 4.8 ทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาทของครูดานผูน ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามเพศ เพศ จาํ นวน X SD t Sig. 2-tail ชาย 174 3.90 0.73 -.540 .589 หญงิ 226 3.86 0.83 -.533 รวม 400 3.88 0.78
121 สมมติฐานที่ 2 นักศึกษาท่มี ีอายุตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครูแตกตา งกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ระหวางอายุ 18-21 กับ อายุ 22-25 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.90 และ3.88 ตามลําดับ วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ t-test ไดคา Sig. 2-tail = 0.649 แสดงวา นักศกึ ท่มี เี พศตา งกนั มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางกัน อยางไม มีนัยสําคัญทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 2 (ตารางที่ 4.9) ตารางที่ 4.9 ทศั นะของนักศกึ ษาตอบทบาทของครูดา นผนู ําทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามอายุ อายุ จาํ นวน X SD t Sig. 2-tail 18-21 ป 232 3.90 0.74 .456 0.649 22-25 ป 168 3.87 0.82 .451 รวม 400 3.88 0.78 สมมติฐานท่ี 3 นักศึกษาที่จบสาขากอนเขาศึกษาท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของ ครดู า นผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแตกตา งกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีจบสาขากอนเขาศึกษาที่แตกตางกัน แบงออกเปน 3 กลุม คือ มัธยมศึกษาปที่ 6 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีคาเฉล่ีย เทากบั 3.87, 3.90, 3.86 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.10) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.01 แสดงวานักศึกษา ที่จบสาขากอนเขาศึกษาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกตา งกัน อยา งมีนัยสําคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05 จึงยอมรบั สมมตฐิ านท่ี 3 (ตารางที่ 4.11) เม่ือทดสอบความแตกตางของคาเฉล่ียรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางที่จบ มัธยมศึกษาปที่ 6 มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตาง จากผูจบ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) และจบประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) (ตารางที่ 4.12)
122 ตารางท่ี 4.10 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม สาขาท่ีจบกอนเขาศึกษาตอ สาขาทจ่ี บกอ นเขา ศึกษาตอ จาํ นวน X SD ม.6 269 0.69 ปวช. 86 3.87 0.81 ปวส. 45 3.90 0.86 3.86 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.11 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวน เพอ่ื หาความแตกตา งทศั นะของนกั ศกึ ษาตอ บทบาท ของครูดานผูน าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามสาขาท่จี บกอ นเขาศกึ ษาตอ ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 2 7801.829 3900.914 12.171 0.000 ภายในกลมุ 397 127239.681 320.503 399 135041.510 รวม ตารางที่ 4.12 การทดสอบความแตกตา งรายคดู วยวิธกี าร Scheffe’ ทัศนะของนกั ศกึ ษาตอบทบาท ของครดู า นผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามสาขาทีจ่ บกอ นเขาศกึ ษาตอ สาขาที่จบกอนเขาศึกษาตอ 1 2 3 1. ม. 6 * 2. ปวช. * 3. ปวส. สมมติฐานที่ 4 นักศึกษาท่ีมีผลการเรียนในเทอมสุดทายท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอ บทบาทของครูดานผูน ําทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตางกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีผลการเรียนเฉลี่ยที่แตกตางกัน แบงออกเปน 3
123 กลุม คือ ต่ํากวา 2.50, 2.51-3.00, 3.01 ข้ึนไป มีคาเฉล่ียเทากับ 3.92, 3.85, 3.87 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.13) วิเคราะหค วามแตกตางของคาเฉลีย่ โดยใชส ถิติ F-test ไดค า Sig. = 0.004 แสดงวานักศกึ ษา ที่จบสาขากอนเขาศึกษาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกตา งกัน อยา งมนี ัยสําคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที่ 4 (ตารางท่ี 4.14) เมอ่ื ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางที่มีผลการ เรียนในเทอมสุดทาย ตํ่ากวา 2.50 มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกตา ง จากผมู ผี ลการเรยี นในเทอมสดุ ทาย 2.51-3.00 และผลการเรียนในเทอมสุดทาย 3.01 ขึ้นไป (ตารางที่ 4.15) ตารางที่ 4.13 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ผลการเรยี นในเทอมสุดทา ย ผลการเรยี นในเทอมสุดทา ย จาํ นวน X SD ตํา่ กวา 2.50 76 0.75 2.51-3.00 191 3.92 0.71 3.01 ข้ึนไป 133 3.85 0.88 3.87 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.14 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพื่อหาความแตกตางทัศนะของนักศึกษาตอ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามผลการเรียนในเทอม สุดทาย ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวา งกลุม 4.446 0.004 ภายในกลุม 3 4400.691 1466.897 รวม 396 130640.819 329.901 399 135041.510
124 ตารางที่ 4.15 การทดสอบความแตกตางรายคดู วยวธิ กี าร Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดา นผูน าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามผลการเรยี นในเทอมสดุ ทา ย ผลการเรยี นในเทอมสดุ ทา ย 1 2 3 1. ต่ํากวา 2.50 2. 2.51-3.00 * 3. 3.01 ขึ้นไป * สมมติฐานท่ี 5 นักศึกษาที่มีระดับชั้นปท่ีศึกษาที่แตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครู ดา นผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตา งกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางที่มีระดับชั้นปที่ศึกษาที่แตกตางกัน แบงออกเปน 4 กลุม คือ ช้ันปท่ี 1, ช้ันปท่ี 2, ช้ันปท่ี 3, และช้ันปท่ี 4 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.91, 3.85, 3.87, 3.89 ตามลาํ ดบั (ตารางที่ 4.16) วเิ คราะหความแตกตา งของคา เฉล่ยี โดยใชส ถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.308 แสดงวานกั ศึกษา ท่ีมีระดับช้ันปที่ศึกษาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ี แตกตา งกนั อยา งไมม นี ัยสาํ คญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05 จึงปฏเิ สธสมมติฐานที่ 5 (ตารางท่ี 4.17) ตารางท่ี 4.16 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ระดับช้ันป ระดับชน้ั ป จาํ นวน X SD ช้ันปท่ี 1 0.83 ชนั้ ปท ี่ 2 56 3.91 0.78 ชนั้ ปท ี่ 3 0.75 ชั้นปที่ 4 132 3.85 0.76 รวม 110 3.87 0.78 102 3.89 400 3.88
125 ตารางที่ 4.17 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพือ่ หาความแตกตา งทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาท ของครูดา นผนู ําทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามระดบั ชน้ั ป ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลมุ 3 1219.698 406.566 1.203 0.308 ภายในกลมุ 396 133821.812 337.934 399 135041.510 รวม สมมติฐานที่ 6 นักศึกษาที่ศึกษาคณะกําลังศึกษาแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครู ดานผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตางกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางที่มีคณะที่กําลังศึกษาแตกตางกัน แบงออกเปน 9 กลุม คือ คณะวิทยาศาสตร, คณะบริหารธุรกิจ, คณะการบัญชี, คณะครุศาสตร, คณะรัฐศาสตรและ รัฐประศาสนศาสตร, คณะศิลปศาสตร, คณะนิติศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร, เภสัชศาสตร มี คา เฉลีย่ เทากับ 3.94, 3.85, 3.86, 3.91, 3.86, 3.88, 3.85, 3.86, 3.91 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.18) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.01 แสดงวาคณะท่ี กําลังศึกษาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตางกัน อยา งมีนยั สําคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั 0.05 จงึ ยอมรับสมมติฐานท่ี 6 (ตารางที่ 4.19) เมื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางท่ีกําลัง ศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตาง จากกลุมผูทกี่ ําลงั ศึกษาในคณะวทิ ยาศาสตร คณะครุศาสตร คณะรฐั ศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร (ตารางที่ 4.20)
126 ตารางที่ 4.18 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม คณะท่ีกําลังศกึ ษา คณะท่กี าํ ลังศึกษา จาํ นวน X SD คณะวทิ ยาศาสตร 31 0.84 คณะบรหิ ารธรุ กจิ 83 3.94 0.73 คณะการบัญชี 56 3.85 0.72 คณะครศุ าสตร 43 3.86 0.75 คณะรฐั ศาสตรแ ละรัฐประศาสนศาสตร 39 3.91 0.78 คณะศิลปศาสตร 51 3.86 0.77 คณะนติ ิศาสตร 40 3.88 0.74 คณะวิศวกรรมศาสตร 32 3.85 0.86 คณะเภสัชศาสตร 27 3.86 0.83 3.91 รวม 400 0.78 3.88 ตารางท่ี 4.19 ผลการวเิ คราะหค วามแปรปรวน เพอ่ื หาความแตกตา งทัศนะของนกั ศึกษาตอ บทบาท ของครูดานผูนาํ ทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามคณะทกี่ าํ ลงั ศึกษา ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลมุ 8 13107.682 1638.460 5.254 .000 ภายในกลุม 391 121933.828 311.851 399 135041.510 รวม
127 ตารางท่ี 4.20 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดานผนู าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามคณะที่กาํ ลงั ศกึ ษา คณะท่กี ําลงั ศึกษา 1 2 3 4 5 6 7 89 1. คณะวทิ ยาศาสตร 2. คณะบรหิ ารธรุ กจิ 3. คณะการบัญชี 4. คณะครุศาสตร * 5. คณะรฐั ศาสตรและรฐั ประศาสนศาสตร * 6. คณะศลิ ปศาสตร 7. คณะนติ ศิ าสตร 8. คณะวิศวกรรมศาสตร * 9. คณะเภสัชศาสตร สมมติฐานที่ 7 นักศึกษาที่อยูสถาบันการศึกษาที่แตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครู ดานผูนาํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตา งกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมี สถาบันการศึกษาท่ีแตกตางกัน แบงออกเปน 4 กลุม คือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยราชธานี, มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิรน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.90, 3.85, 3.88,3.89 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.21) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.000 แสดงวาสถาบัน ที่กําลังศึกษาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ีแตกตางกัน อยา งมนี ยั สําคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.05 จึงยอมสมมตฐิ านท่ี 7 (ตารางท่ี 4.22) เมื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางท่ีกําลัง ศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกตางจากกลุมผูที่ศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีส เทริ น และกลมุ ตัวอยางท่ีกําลังศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีทัศนะตอบทบาทของ ครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางจากกลุมผูท่ีศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยอี ีสเทริ น (ตารางที่ 4.23)
128 ตารางท่ี 4.21 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม สถาบนั การศึกษา สถาบันการศกึ ษาทีก่ าํ ลังศึกษา จํานวน X SD มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี 100 3.90 0.82 มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี 100 3.85 0.73 มหาวิทยาลยั ราชธานี 100 3.88 0.84 มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอสี เทริ น 100 3.89 0.79 รวม 400 3.88 0.78 ตารางท่ี 4.22 ผลการวเิ คราะหค วามแปรปรวน เพื่อหาความแตกตา งทัศนะของนกั ศกึ ษาตอ บทบาท ของครดู า นผนู ําทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามสถาบนั การศกึ ษา ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 3 20113.210 6704.403 23.101 0.000 ภายในกลมุ 396 114928.300 290.223 399 286.377 รวม ตารางท่ี 4.23 การทดสอบความแตกตา งรายคดู ว ยวธิ ีการ Scheffe’ ทศั นะของนักศึกษาตอ บทบาท ของครูดานผนู าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามสถาบันการศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา 1 234 1. มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ** 3. มหาวทิ ยาลยั ราชธานี ** 4. มหาวทิ ยาลยั การจัดการและเทคโนโลยีอสี เทริ น สมมติฐานที่ 8 นักศึกษาท่ีมีภูมิลําเนาท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนํา ทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตา งกนั
129 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีภูมิลําเนาท่ีแตกตางกัน แบงออกเปน 3 กลุม คือ จังหวัดอุบลราชธานี, จังหวัดศรีสะเกษ, จังหวัดอํานาจเจริญ/ ยโสธร/ มุกดาหาร/ อ่ืนๆ มีคาเฉล่ีย เทา กับ 3.93, 3.90, 3.81, ตามลําดับ (ตารางที่ 4.24) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.114 แสดงวา ภูมิลําเนาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตางกัน อยาง ไมม ีนยั สําคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05 จงึ ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 9 (ตารางที่ 4.25) ตารางที่ 4.24 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ภูมลิ ําเนา ภมู ลิ ําเนา จาํ นวน X SD จังหวดั อุบลราชธานี 162 3.93 0.85 จังหวดั ศรีสะเกษ 102 3.90 0.69 จงั หวดั อํานาจเจริญ/ ยโสธร/ มกุ ดาหาร/ อ่นื ๆ 136 3.81 0.84 รวม 400 3.88 0.78 ตารางท่ี 4.25 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตางทัศนะของนักศึกษาตอ บทบาทของครูดา นผูน ําทางคุณธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามภมู ิลําเนา ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 5 2996.181 599.236 1.788 0.114 ภายในกลมุ 394 132045.329 335.140 399 135041.510 รวม สมมติฐานที่ 9 นักศึกษาที่มีระดับการศึกษาของบิดาที่แตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาท ของครดู านผูนาํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตา งกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีระดับการศึกษาของบิดาที่แตกตางกัน แบง
130 ออกเปน 4 กลุม คือ ประถมศึกษา, มัธยมศึกษาตอนตน, มัธยมศึกษาตอนปลาย/ อนุปริญญา, ปรญิ ญาตรี/ อ่นื ๆ, มคี า เฉลยี่ เทา กบั 3.93, 3.77, 3.81, 3.72, 4.04 ตามลําดบั (ตารางที่ 4.26) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.186 แสดงวาระดับ การศึกษาของบิดาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตาง กัน อยา งไมม นี ยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 10 (ตารางท่ี 4.27) ตารางท่ี 4.26 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ระดบั การศึกษาของบดิ า ระดับการศึกษาของบดิ า จาํ นวน X SD ประถมศกึ ษา 121 3.93 0.73 มัธยมศึกษาตอนตน 106 3.77 0.75 มัธยมศึกษาตอนปลาย/อนุปริญญา 74 3.81 0.84 ปรญิ ญาตรี/อนื่ ๆ 99 4.04 0.81 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.27 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวนเพื่อหาความแตกตางทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาท ของครดู านผูน ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนกตามระดบั การศึกษาของบดิ า ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 5 2535.517 507.103 1.508 0.186 ภายในกลมุ 394 132505.993 336.310 รวม 399 135041.510 สมมติฐานที่ 10 นักศึกษาท่ีมีระดับการศึกษาของมารดาท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอ บทบาทของครูดา นผูนําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแตกตา งกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีระดับการศึกษาของมารดาท่ีแตกตางกัน แบง ออกเปน 3 กลุม คือ ไมไดศึกษา/ประถมศึกษา, มัธยมศึกษาตอนตน/ตอนปลาย, อนุปริญญา/ ปรญิ ญาตร/ี อื่นๆ, มีคาเฉลีย่ เทากบั 3.96, 3.82, 3.86 ตามลาํ ดบั (ตารางท่ี 4.28)
131 วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.352 แสดงวาระดับ การศึกษาของมารดาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ี แตกตา งกนั อยางไมม ีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05 จึงปฏเิ สธสมมติฐานท่ี 10 (ตารางท่ี 4.29) ตารางที่ 4.28 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ระดบั การศกึ ษาของมารดา ระดบั การศึกษาของมารดา จํานวน X SD ไมไดศ ึกษา/ประถมศึกษา 158 3.96 0.69 มธั ยมศกึ ษาตอนตน/ ตอนปลาย 144 3.82 0.85 อนุปรญิ ญา/ปริญญาตรี/ อน่ื ๆ 98 3.86 0.80 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.29 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพื่อหาความแตกตางทศั นะของนักศึกษาตอ บทบาท ของครดู านผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนกตามระดับการศกึ ษาของมารดา ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 6 2263.680 377.280 1.117 0.352 ภายในกลมุ 393 132777.830 337.857 399 135041.510 รวม สมมติฐานท่ี 11 นักศึกษาที่มีอาชีพของบิดาท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครู ดา นผนู าํ ทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตา งกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีอาชีพของบิดาที่แตกตางกัน แบงออกเปน 4 กลุม คือ ขาราชการ/ พนักงานองคกรของรัฐ/ รัฐวิสาหกิจ, พนักงานองคกรเอกชน/ ธุรกิจสวนตัว, เกษตรกร, คาขาย/อื่นๆ, มคี า เฉล่ยี เทา กับ 4.09, 3.70, 3.88, 3.85 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.30) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.016 แสดงวาอาชีพ ของบดิ าแตกตา งกนั มที ัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตางกัน อยางมี นยั สําคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05 จงึ ยอมสมมตฐิ านที่ 11 (ตารางที่ 4.31)
132 เมื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีบิดา ประกอบอาชีพขาราชการ มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางจาก กลุมผูท่ีมีบดิ าประกอบอาชีพพนักงานองคกรเอกชน/ธุรกจิ สว นตวั (ตารางท่ี 4.32) ตารางท่ี 4.30 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม อาชพี ของบดิ า อาชพี ของบิดา จํานวน X SD ขา ราชการ/พนกั งานองคก รของรัฐ/ รัฐวสิ าหกิจ 96 4.09 0.78 พนักงานองคก รเอกชน/ธุรกิจสว นตวั 67 3.70 0.81 เกษตรกร 174 3.88 0.76 คา ขาย/อืน่ ๆ 63 3.85 0.77 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.31 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพอื่ หาความแตกตา งทศั นะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดา นผูนําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามอาชพี ของบดิ า ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลมุ 6 5256.159 876.027 2.653 0.016 ภายในกลุม 393 129785.351 330.243 399 135041.510 รวม ตารางที่ 4.32 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครดู านผนู ําทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามอาชพี ของบดิ า อาชีพของบิดา 1 234 1. ขาราชการ/ พนกั งานองคกรของรัฐ/ รฐั วิสาหกจิ * 2. พนักงานองคก รเอกชน/ ธรุ กจิ สวนตวั 3. เกษตรกร 4. คา ขาย/ อ่นื ๆ
133 สมมติฐานที่ 12 นักศึกษาท่ีมีอาชีพของมารดาท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครู ดานผนู าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตา งกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีอาชีพของมารดาที่แตกตางกัน แบงออกเปน 4 กลุม คือ ขาราชการ/ พนักงานองคกรของรัฐ/ รัฐวิสาหกิจ, พนักงานองคกรเอกชน/ ธุรกิจสวนตัว, เกษตรกร, คา ขาย/ อืน่ ๆ, มีคา เฉลีย่ เทากับ 3.97, 3.85, 3.84, 3.87 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.33) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.028 แสดงวาระดับ การศึกษาของมารดาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ี แตกตางกนั อยา งมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05 จึงยอมรบั สมมตฐิ านท่ี 12 (ตารางที่ 4.34) เมื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางที่มีมารดา ประกอบอาชีพขาราชการ มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางจาก กลุมผทู มี่ มี ารดาประกอบอาชพี พนักงานองคกรเอกชน/ธรุ กจิ สว นตวั (ตารางท่ี 4.35) ตารางที่ 4.33 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม อาชพี ของมารดา อาชพี ของมารดา จํานวน X SD ขา ราชการ/พนกั งานองคก รของรัฐ/ รฐั วสิ าหกจิ 59 3.97 0.78 พนกั งานองคก รเอกชน/ธุรกิจสวนตวั 80 3.85 0.78 เกษตรกร 181 3.84 0.80 คา ขาย/อ่ืนๆ 80 3.87 0.76 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.34 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพื่อหาความแตกตางทศั นะของนกั ศกึ ษาตอบทบาท ของครดู า นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามอาชีพของมารดา ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 6 4766.328 794.388 2.396 0.028 ภายในกลมุ 393 130275.182 331.489 399 135041.510 รวม
134 ตารางท่ี 4.35 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดานผนู าํ ทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามอาชีพของมารดา อาชีพของมารดา 1 234 1. ขา ราชการ/ พนกั งานองคกรของรฐั / รฐั วสิ าหกิจ * 2. พนกั งานองคกรเอกชน/ ธรุ กิจสว นตวั 3. เกษตรกร 4. คา ขาย/ อื่นๆ สมมตฐิ านท่ี 13 นักศึกษาที่มีรายไดของบิดาท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของครู ดา นผูน ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแตกตา งกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนกั ศึกษาระดบั อุดมศกึ ษาของกลมุ ตัวอยา งท่ีมีรายไดข องบิดาท่ีแตกตางกนั แบงออกเปน 3 กลุม คอื ตํ่ากวา 5,000, 5,001-15,000, 15,001 ข้ึนไป, มคี า เฉล่ยี เทากับ 3.87, 3.92,3.85, ตามลําดบั (ตารางที่ 4.36) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.183 แสดงวาระดับ รายไดของบิดาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ีแตกตางกัน อยา งไมม ีนยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั 0.05 จึงปฏเิ สธสมมติฐานท่ี 13 (ตารางที่ 4.37) ตารางที่ 4.36 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม รายไดของบิดาตอ เดือน รายไดข องบดิ าตอเดือน จาํ นวน X SD ต่ํากวา 5,000 176 3.87 0.68 5,001-15,000 91 3.92 0.80 15,001 ขน้ึ ไป 133 3.85 0.86 รวม 400 3.88 0.78
135 ตารางที่ 4.37 ผลการวเิ คราะหความแปรปรวน เพือ่ หาความแตกตางทศั นะของนักศึกษาตอ บทบาท ของครดู านผนู าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามรายไดข องบดิ าตอเดอื น ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลมุ 6 2989.513 498.252 1.483 0.183 ภายในกลมุ 393 132051.997 336.010 399 135041.510 รวม สมมติฐานท่ี 14 นกั ศึกษาทีม่ ีรายไดข องมารดาท่แี ตกตางกนั จะมที ัศนะตอ บทบาทของครู ดา นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตางกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีรายไดของมารดาท่ีแตกตางกัน แบงออกเปน 3 กลุม คือ ต่ํากวา 5,000, 5,001-15,000, 15,001 ข้ึนไป มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.89, 3.89, 3.86 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.38) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.310 แสดงวาระดับ รายไดของมารดาแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตาง กนั อยางไมม นี ัยสําคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05 จงึ ปฏเิ สธสมมติฐานที่ 14 (ตารางท่ี 4.39) ตารางท่ี 4.38 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม รายไดข องมารดาตอ เดอื น รายไดข องมารดาตอเดอื น จาํ นวน X SD ต่ํากวา 5,000 182 3.89 0.73 5,001-15,000 118 3.89 0.82 15,001 ข้นึ ไป 100 3.86 0.79 รวม 400 3.88 0.78
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194