Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย บทบาทของครู

งานวิจัย บทบาทของครู

Published by saiyibo, 2020-08-23 22:34:45

Description: งานวิจัย บทบาทของครู

Keywords: ครูที่ดีเป็นอย่างไร

Search

Read the Text Version

136 ตารางที่ 4.39 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพอ่ื หาความแตกตางทศั นะของนักศกึ ษาตอ บทบาท ของครดู า นผนู าํ ทางคุณธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามรายไดข องมารดาตอ เดอื น ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 5 2019.269 403.854 1.196 0.310 ภายในกลมุ 394 133022.241 337.620 399 135041.510 รวม สมมติฐานที่ 15 นักศึกษาท่ีมีความเกี่ยวของกับครูที่แตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาทของ ครดู านผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกตางกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีความเกี่ยวของกับครูที่แตกตางกัน แบงออกเปน 3 กลุม คือ ไมมีญาติประกอบอาชีพครู, มีญาติประกอบอาชีพครู 1 คน, มีญาติประกอบอาชีพครู 2 คน ขึ้นไป , มีคา เฉลย่ี เทา กบั 3.80, 3.93, 3.93, ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.40) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.000 แสดงวาความ เกี่ยวของกับครูแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ีแตกตางกัน อยางมนี ยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที่ 15 (ตารางที่ 4.41) เม่ือทดสอบความแตกตา งของคา เฉล่ยี รายคู โดยวธิ ี Scheffe’ พบวา กลมุ ตัวอยางที่ไมมีญาติ ประกอบอาชีพครู มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางจากกลุมผูท่ีมี ญาตปิ ระกอบอาชพี ครู 1 คน และมีญาตปิ ระกอบอาชีพครู 2 คน (ตารางท่ี 4.42) ตารางท่ี 4.40 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ความเกี่ยวของกับครู ความเกี่ยวของกบั ครู จํานวน X SD 0.74 ไมม ีมีญาติประกอบอาชีพครู 212 3.80 0.73 0.87 มีญาตปิ ระกอบอาชพี ครู 1 คน 159 3.93 0.78 มญี าตปิ ระกอบอาชีพครู 2 คน/ มากกวา 2 คนขนึ้ ไป 29 3.83 รวม 400 3.88

137 ตารางท่ี 4.41 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพือ่ หาความแตกตา งทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาท ของครดู า นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามความเก่ยี วขอ งกับครู ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวา งกลมุ 4 13550.860 3387.715 11.014 0.000 ภายในกลุม 395 121490.650 307.571 399 135041.510 รวม ตารางที่ 4.42 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดานผนู ําทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จาํ แนกตามความเกี่ยวขอ งกบั ครู ความเกย่ี วขอ งกับครู 1 23 1. ไมมมี ีญาติประกอบอาชีพครู 2. มีญาตปิ ระกอบอาชพี ครู 1 คน * 3. มญี าติประกอบอาชีพครู 2 คน * สมมติฐานท่ี 16 นักศึกษาที่เขารวมกิจกรรมพิเศษที่แตกแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาท ของครูดา นผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ระหวางผูเขารวมกิจกรรม และ ผูไมเคยเขารวมกิจกรรม มีคาเฉล่ีย เทากับ 3.85 และ 3.91 ตามลําดบั วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ T-test ไดคา Sig. 2-tail = 0.00 แสดงวาเขา รวมกิจกรรมพิเศษแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตาง กนั อยางมีนยั สําคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05 จึงยอมรบั สมมติฐานที่ 16 (ตารางท่ี 4.43)

138 ตารางท่ี 4.43 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม กิจกรรมพเิ ศษ กิจกรรม จํานวน X SD t Sig. 2-tail ไมเคยเขารวม 151 0.80 -3.817 0.00 กิจกรรม 3.85 เ ค ย เ ข า ร ว ม 249 0.76 -3.682 กจิ กรรม 3.91 400 0.78 รวม 3.88 สมมติฐานท่ี 17 นักศึกษาที่มีความชื่นชอบในอาชีพครูที่แตกแตกตางกันจะมีทัศนะตอ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตา งกัน ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีความช่ืนชอบในอาชีพครูที่แตกตางกัน แบง ออกเปน 4 กลุม คือ มากที่สุด, มาก, ปานกลาง, นอย/ไมชอบเลย, มีคาเฉล่ียเทากับ 4.01, 4.02, 3.63, 3.86, ตามลาํ ดับ (ตารางท่ี 4.44) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.00 แสดงวามีความ ช่ืนชอบในอาชีพครแู ตกตา งกนั มที ัศนะตอบทบาทของครูดานผนู าํ ทางคุณธรรมจริยธรรมที่แตกตาง กนั อยางมีนัยสําคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05 จงึ ยอมรับสมมตฐิ านที่ 17 (ตารางท่ี 4.45) เม่ือทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางที่ชื่นชอบ ในอาชีพครู ระดับมากที่สุด มีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางจาก กลุมผูท่ีมีความชื่นชอบในอาชีพครู ระดับปานกลาง และมีความช่ืนชอบในอาชีพครู ระดับนอย/ไม ชอบเลย (ตารางที่ 4.46)

139 ตารางท่ี 4.44 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม ความชื่นชอบในอาชพี ครู ความชื่นชอบในอาชพี ครู จาํ นวน X SD มากท่ีสดุ 49 4.01 0.68 มาก 224 4.02 0.75 ปานกลาง 69 3.63 0.83 นอย/ไมช อบเลย 58 3.86 0.86 รวม 400 3.88 0.78 ตารางท่ี 4.45 ผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่อื หาความแตกตางทศั นะของนักศึกษาตอ บทบาท ของครูดานผนู าํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามความชน่ื ชอบในอาชพี ครู ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 4 34709.882 8677.471 34.163 0.000 ภายในกลุม 395 100331.628 254.004 399 135041.510 รวม ตารางท่ี 4.46 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดา นผนู าํ ทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามความชื่นชอบในอาชพี ครู ความช่นื ชอบในอาชพี ครู 1 234 1. มากท่ีสดุ 2. มาก * 3. ปานกลาง * 4. นอย/ ไมช อบเลย สมมติฐานที่ 18 นักศึกษาท่ีมีการรับรูขอมูลขาวสารท่ีแตกตางกันจะมีทัศนะตอบทบาท ของครดู านผนู ําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแตกตา งกนั

140 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอดุ มศึกษาของกลมุ ตัวอยางทม่ี ีการรบั รูขอ มูลขา วสารที่แตกตางกัน แบงออกเปน 13 กลุม คือ โทรทัศน อินเตอรเน็ต อินเตอรเน็ต,วิทยุ หนังสือพิมพ,โทรทัศน หนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต โทรทัศน, อินเตอรเน็ต โทรทัศน,หนังสือพิมพ, วารสารตางๆ โทรทัศน, อินเตอรเน็ต, วารสารตางๆ วิทยุ, โทรทัศน, หนังสือพิมพ โทรทัศน, หนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต วิทยุ, อินเตอร, หนังสือพิมพ วิทยุ, โทรทัศน, หนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต วารสารตางๆ,โทรทัศน,หนังสือพิมพ, อินเตอรเน็ต มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.91, 3.77, 3.81, 3.89, 3.67, 3.95, 3.92, 3.98, 3.94, 3.87, 3.89, 3.85, 3.97 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.47) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.085 แสดงวามีการ รับรูขอมูลขาวสารแตกตางกันมีทัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมท่ีแตกตาง กนั อยา งไมม นี ัยสาํ คัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั 0.05 จงึ ปฏิเสธสมมตฐิ านท่ี 18 (ตารางท่ี 4.48) ตารางที่ 4.47 ทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาทของครดู า นผนู ําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จําแนกตาม การรบั รูขอ มูลขา วสาร การรบั รขู อมลู ขาวสาร จํานวน X SD 0.71 โทรทัศน 23 3.91 0.75 0.72 อนิ เตอรเ น็ต 23 3.77 0.80 0.77 อินเตอรเนต็ , วิทยุ 18 3.81 0.83 0.83 หนงั สอื พมิ พ, โทรทัศน 27 3.89 0.78 0.82 หนงั สือพิมพ, อินเตอรเนต็ 27 3.67 0.76 0.80 โทรทศั น, อนิ เตอรเน็ต 44 3.95 0.76 0.76 โทรทัศน, หนงั สือพมิ พ, วารสารตา งๆ 47 3.92 0.78 โทรทัศน, อนิ เตอรเน็ต, วารสารตางๆ 17 3.98 วทิ ย,ุ โทรทศั น, หนังสือพิมพ 41 3.94 โทรทศั น, หนงั สือพมิ พ, อินเตอรเนต็ 30 3.87 วทิ ย,ุ อนิ เตอร, หนังสอื พมิ พ 38 3.89 วิทย,ุ โทรทศั น, หนงั สอื พิมพ, อินเตอรเ นต็ 40 3.85 วารสารตา ง ๆ,โทรทัศน, หนงั สือพิมพ, อินเตอรเ น็ต 25 3.97 รวม 400 3.88

141 ตารางที่ 4.48 ผลการวิเคราะหค วามแปรปรวน เพ่อื หาความแตกตางทศั นะของนกั ศึกษาตอ บทบาท ของครดู า นผูนําทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จําแนกตามการรบั รูข อมูลขาวสาร ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวา งกลุม 12 6436.623 536.385 1.614 0.085 ภายในกลมุ 387 128604.887 332.312 399 135041.510 รวม สมมติฐานท่ี 19 นักศึกษาที่มีทัศนะตอความสําคัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษาที่ แตกตา งกันจะทศั นะตอบทบาทของครดู านผนู ําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตา งกนั ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาของกลุมตัวอยางท่ีมีมีทัศนะตอความสําคัญในการผลิตบุคลากร ทางการศึกษา ท่ีแตกตางกัน แบงออกเปน 3 คือ เห็นดวยอยางยิ่ง, เห็นดวย, ไมแนใจ/ ไมเห็นดวย/ ไมท ราบ มีคา เฉล่ยี เทา กบั 3.91, 3.77, 3.96 ตามลาํ ดับ (ตารางที่ 4.49) วิเคราะหความแตกตางของคาเฉล่ีย โดยใชสถิติ F-test ไดคา Sig. = 0.000 แสดงวามีทัศนะ ตอความสําคัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษาแตกตา งกนั มที ัศนะตอบทบาทของครูดานผูนําทาง คุณธรรมจริยธรรมที่แตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานท่ี 19 (ตารางท่ี 4.50) เมื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธี Scheffe’ พบวา กลุมตัวอยางที่เห็นดวย กับการพัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหไดครูดี ครูเกง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมวี ทิ ยฐานะสงู ขึ้น ของรัฐบาลปจจบุ นั ในระดับเหน็ ดว ยอยา งย่งิ มที ศั นะตอบทบาทของครดู า น ผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกตางจากกลุมผูท่ีเห็นดวยกับการพัฒนาครู อาจารย และบุคลากร ทางการศึกษา เพ่ือใหไดครูดี ครูเกง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ของรัฐบาล ปจจุบัน ในระดับเห็นดวย และ ไมแนใจ/ไมเห็นดวย/ไมทราบกับการพัฒนาครู อาจารย และ บุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใหไดครูดี ครูเกง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงข้ึน ของ รัฐบาลปจ จบุ นั (ตารางที่ 4.51)

142 ตารางท่ี 4.49 ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตาม นโยบายของรฐั บาลปจจุบัน ความชื่นชอบในอาชพี ครู จํานวน X SD เหน็ ดว ยอยางยง่ิ 89 0.83 เห็นดว ย 226 3.91 0.73 ไมแ นใ จ/ ไมเ ห็นดว ย/ ไมทราบ 85 3.77 0.78 3.96 รวม 400 3.88 0.78 ตารางที่ 4.50 แสดงผลการวิเคราะหความแปรปรวน เพ่ือหาความแตกตางทัศนะของนักศึกษาตอ บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามนโยบายของรัฐบาล ปจจบุ นั ความแปรปรวน DF SS MS F Sig. ระหวางกลุม 31.904 0.000 ภายในกลุม 4 32975.232 8243.808 รวม 395 102066.278 258.396 399 135041.510 ตารางที่ 4.51 การทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธีการ Scheffe’ ทัศนะของนักศึกษาตอบทบาท ของครูดานผูนําทางคณุ ธรรมจริยธรรม จาํ แนกตามนโยบายของรฐั บาลปจ จบุ นั ความเก่ยี วขอ งกบั ครู 1 23 1. เหน็ ดว ยอยางยิง่ 2. เห็นดวย * 3. ไมแนใ จ/ ไมเ ห็นดวย/ ไมทราบ *

143 4.6 ขอเสนอแนะอน่ื ๆ 4.6.1 ครูบางคนประพฤติตนไมเปนแบบอยางท่ีดีแกนักเรียน เชน การด่ืมสุรา เปนประจํา ท้ังตอหนาและลับหลังนักเรียน ควรปรับกฎหมายใหมาควบคุมความประพฤติครูที่ขาดจรรณยา บรรณ และขาดความมรี ะเบยี บวินยั ใหมบี ทลงโทษท่ชี ดั เจน 4.6.2 ครูควรเขารวมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมรวมกับนักเรียน ท่ีทางโรงเรียนหรือ หนวยงานจัดขึ้นไมควยปลอยใหนักเรียนเขารับการอบรมหรือทํากิจกรรมกันเอง ครูตองมีสวนรวม ในการทาํ กิจกรรมใหมากขนึ้ 4.6.3 ครบู างคนไมส นใจในการสอน ขาดสอนเปน ประจํา เพราะคิดวาไมสอนก็มีเงินเดือน ใชจะ ไมมคี วามเหมาะสมกับวชิ าชีพครู บอกนกั เรยี นนักศึกษาไมใหกระทําความผิดศีลธรรม แตครู ทําผิดศีลธรรมเสียเอง ครูบางคนแนะนําใหกระทําในสิ่งท่ีไมดีอีกดวย จึงสงผลตอศรัทธาของ นักศึกษาในตัวครูและอาจารย ท่ีไมมีความเหมาะสมกับความเปนครู ตัวอยางท่ีดีมีคากวาคําสอน ปจจุบันจติ วญิ ญาณความเปน ครเู รม่ิ หายไปจากวงการศึกษาของไทย 4.6.4 ครูบางคนยังขาดความกระตือรือรนในการปฏิบัติงานดานการเรียนการสอน ควร ปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น และหนวยงานท่ีเกี่ยวของควรมีการประเมินครู เปนรายบุคคล ถาหากครูคน ไหนขาดการกระตอื รือรนในการสอน และไมมีการพัฒนาตนเอง ควรมีบทลงโทษ หรือใหออกจาก ความเปนครู เพอ่ื จะไดส รรหาบคุ ลากรทีม่ คี ุณภาพเขา มาทํางานแทน 4.6.5 บทบาทของครูดานคุณธรรมจริยธรรมยังเปนภาพลักษณที่ดีในสายตาของนักศึกษา อยู นักศึกษาสวนใหญยังมองครูวาครูยังเปนแบบอยางที่ดีของนักเรียน อีกท้ังยังคิดวา ครู คือ ผูให ความรูแกน กั เรยี น และเปน ผูทีม่ ีความเสียสละ 4.6.6 การพัฒนาครูยังไมทั่วถึง เพราะครูในชนบทยังขาดประสิทธิภาพในหลายๆ ดาน บางสว นยงั ไมไ ดร ับขอมูลขาวสารดานการศึกษายังไมถูกตอง สงผลตอการเขาในผิดตอวิชาชีพของ ครู

บทที 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาวจิ ัยเรือง “บทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษา ระดับอดุ มศกึ ษา” มวี ัตถุประสงค์ในการศึกษา 1. เพือศึกษาบทบาทของครูดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริ ยธรรมในทศั นะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา 2. เพือศึกษาปัจจยั ทีมีอิทธิพลต่อทัศนะของนักศึกษาต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรม 3. เพือศึกษาบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริ ยธรรมในทศั นะของนักศึกษา ระดับอุดมศกึ ษาในปัจจุบัน การศกึ ษาวจิ ัยครั งนไี ด้ทําการรวบรวมข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่าง คือ นักศกึ ษามหาวิทยาลัยใน จังหวัดอบุ ลราชธานี ทั งหมด4 สถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ อบุ ลราชธานี มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น แบ่งเป็ น สถาบันการศึกษาละ 100 คน รวมเป็ น 400 คนโดยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จากนักศกึ ษานักทั งหมดแบบสอบถามเป็ นเครืองมือทีใช้เก็บรวบรวมข้อมูลและนําข้อมลู ทีได้มา วิเคราะห์ประมวลผล โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows Version 16 สถิติทีใช้ในการ วเิ คราะห์ข้อมูลมดี ังนี 1. สถติ ิเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลทัวไปได้แก่ ค่าความถี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลีย (Arithmetic Mean) และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถติ ิเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เพอื ทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test และ F-test

145 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.1.1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบคุ คล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มชี ่วงอายรุ ะหว่าง 18-21 ปี จบชั นมัธยมศึกษาปี ที6 มี ผลการเรียนในเทอมสุดท้าย 2.50-3.00 กําลังศกึ ษาอยู่ชั นปี ท2ี ศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ภูมิลําเนาอยู่ ทีจังหวัดอบุ ลราชธานี 5.1.2 ข้อมูลปัจจัยส่วนครอบครัว กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ การศึกษาของบิดาและมารดาอยู่ระดับประถมศึกษาบิดาและมารดา ประกอบอาชีพเกษตรกร รายได้ของบิดาและมารดาส่วนใหญ่ตํากวา่ 5,000 บาทต่อเดือน 5.1.3 ข้อมูลปัจจัยส่วนอืนๆ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่มีญาติทีประกอบอาชีพครู นักศึกษาไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรม คุณธรรมจริยธรรมทีทางมหาวิทยาลัยจดั ขึ นมีความชืนชอบในอาชีพครูอยู่ในระดับมาก การรับรู้ ข้อมลู ข่าวสารจากวิทย,ุ โทรทัศน,์ หนังสือพิมพ์ เห็นด้วยกับนโยบายการพัฒนาครู อาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษา เพือให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรมมีคุณภาพและมวี ิทยฐานะสูงขึ นของรัฐบาล ปัจจุบัน 5.1.4 ทัศนะของนกั ศึกษาต่อบทบาทของครูด้านผู้นาํ ทางคุณธรรมจริยธรรม ผลการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่นักศึกษามีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมอยู่ในระดับเห็นด้วย โดยมีค่าเฉลยี เท่ากับ 3.88 เมอื พิจารณารายละเอยี ดข้อมูลเป็นรายด้าน ทั ง3 ด้าน ไดแ้ ก่ เห็นด้วยกับคุณธรรมจริยธรรมด้านวิชาชีพ มีค่าเฉลีย เท่ากับ 3.92 เห็นด้วยกับ คุณธรรมจริยธรรมด้านผู้เรียน มคี ่าเฉลียเท่ากับ 3.85 เห็นด้วย กับ คุณธรรมจริยธรรมด้านชุมชน มี ค่าเฉลยี เท่ากับ 3.87 5.2 ผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที 1 นักศกึ ษาทีมเี พศตา่ งกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมแตกต่างกัน

146 ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีเพศต่างกันมที ัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมไมแ่ ตกต่างกัน จึงปฏเิ สธสมมติฐานที 1 สมมติฐานที 2 นักศึกษาทีมีอายุต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาทของครูดา้นผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีอายุต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรม จริยธรรมไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที 2 สมมติฐานที 3 นักศึกษาทีจบสาขาก่อนเข้าศึกษาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศึกษาจบสาขาก่อนเข้าศึกษาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 3 สมมติฐานที 4 นกั ศึกษาทีมีผลการเรียนในเทอมสุดท้ายทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาท ของครูด้านผนู้ ําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศกึ ษาพบวา่ นักศึกษามีผลการเรียนในเทอมสุดท้ายต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของ ครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 4 สมมติฐานที 5 นักศกึ ษาทีมรี ะดับชั นปี ทีศึกษาทตี ่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศกึ ษาพบวา่ นกั ศึกษามีระดับชั นปี ทีศึกษาต่างกันมีมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมไมแ่ ตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที 5 สมมติฐานที 6 นักศกึ ษาทีศึกษาคณะกําลังศกึ ษาต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบทา ของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศกึ ษาทีศกึ ษาคณะกําลังศกึ ษาต่างกันมที ัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 6 สมมติฐานที 7 นักศกึ ษาทีอยู่สถาบันการศึกษาทีต่างกันจะมที ัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศกึ ษาพบว่า นักศึกษาอยู่สถาบันการศึกษาต่างกันมที ัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 7 สมมติฐานที 8 นักศึกษาทีมภี ูมลิ ําเนาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูดา้นผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีภูมิลําเนาต่างกนั มีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นาํ ทาง คุณธรรมจริยธรรม ไมแ่ ตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที 8

147 สมมติฐานที 9 นักศกึ ษาทีมรี ะดับการศกึ ษาของบิดาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผนู้ ําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศกึ ษาพบว่า นักศึกษามีระดับการศึกษาของบิดาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม ไมแ่ ตกต่างกัน จึงปฏเิ สธสมมติฐานที 9 สมมติฐานที 10 นักศึกษาทีมีระดับการศึกษาของมารดาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาท ของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศึกษามีระดับการศกึ ษาของมารดาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม ไมแ่ ตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที 10 สมมตฐิ านที 11 นักศึกษาทีมีอาชีพของบิดาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศึกษามอี าชีพของบิดาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 11 สมมติฐานที 12 นักศกึ ษาทีมอี าชีพของมารดาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศกึ ษาพบว่า นักศกึ ษามีอาชีพของมารดาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 12 สมมติฐานที 13 นกั ศึกษาทีมีรายได้ของบิดาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูดา้ น ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีรายได้ของบิดาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน คุณธรรมจริยธรรม ไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที 13 สมมติฐานที 14 นักศึกษาทีมรี ายได้ของมารดาทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคณุ ธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศกึ ษามรี ายได้ของมารดาต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรม ไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที 14 สมมติฐานที 15 นักศกึ ษาทีมคี วามเกียวข้องกับครูทตี ่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศกึ ษามีความเกียวข้องกับครูต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 15 สมมติฐานที 16 นักศึกษาทีเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน

148 ผลการศึกษาพบวา่ นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 16 สมมติฐานที 17 นักศึกษาทีมคี วามชืนชอบในอาชีพครูทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของ ครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศกึ ษาพบวา่ นักศกึ ษามคี วามชืนชอบในอาชีพครูต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานที 17 สมมติฐานที 18 นักศึกษาทีมกี ารรับรู้ข้อมูลข่าวสารทีต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบวา่ นักศกึ ษามกี ารรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม ไมแ่ ตกต่างกัน จึงปฏเิ สธสมมติฐานที 18 สมมติฐานที 19 นกั ศึกษาทีมีทัศนะต่อความสําคัญในการผลติ บุคลากรทางการศึกษาที ต่างกันจะทัศนะต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีทัศนะต่อความสําคัญในการผลิตบุคลากรทางการศึกษา ต่างกันมีทัศนะต่อบทบาทของครดู ้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐาน ที 19 5.3 อภิปรายผล 5.3.1 จากผลการศึกษาบทบาทของครูด้านผู้นาํ ทางคุณธรรมจริยธรรมในทศั นะของ นักศึกษาระดับอุดมศกึ ษารวมทุกด้าน ผลการศกึ ษา พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีทัศนะต่อบทบาทครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม อยู่ในระดับเห็นด้วย(ค่าเฉลยี เท่ากับ 3.88) ทั งนเีพราะว่านักศึกษา ยังมที ัศนะทีดีต่อบทบาทของครูในปัจจุบัน และอาชีพครูยังเป็นทียอมรับของคนในสังคม ถือว่าเป็ น แบบอย่างทีดีในสายตาของนักเรียนนักศกึ ษา ส่วนใหญ่ครูยังเป็นผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในด้าน การประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างทีดีน่าให้ความเคารพนับถือมคี วามเมตตากรุณา เอืออาทรต่อ ความเป็ นอยู่ของศิษย์ คอยช่วยเหลือเมือศิษย์มีปัญหา มีความอดทนและเสียสละ ช่วยทะนุบํารุง รักษาพระศาสนาใหม้ ีความมันคงควบคู่กับสถาบันชาติและพระมหากษัตริยม์ ีความเลือมใสและ ศรัทธาในศาสนาทีนับถอื ปฏบิ ัติตามหลักธรรมและปฏบิ ัติศาสนกิจเป็นประจํานอกจากนี ครูจะต้อง ช่วยส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมของชาติใหม้ ันคงถ่ายทอดวัฒนธรรมอันดีงามใหแ้ ก่เด็ก ช่วย อนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมอันดีงานของชาตอิ กี ทั งครูมีการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถใน การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาโดยมีการพัฒนาตนเองหลาย รูปแบบ เช่น

149 การศึกษาต่อ การทําผลงานทางวิชาการ การเข้ารับการฝึ กอบรมคุณธรรมจริยธรรม การเข้าร่วม ประชุมสัมมนาทางวิชาการ การศึกษาดูงาน และการพัฒนาตนเองให้เป็ นแบบอยา่ งทีดีแก่ศิษย์ ทํา ตัวใหศ้ ิษย์เคารพนับถือ ฉะนั นครูในฐานะแม่พิมพ์ของชาติ จึงจําเป็ นอย่างยิงทีต้องพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งทีดีให้กับลูกศิษย์ เสียสละต่อส่วนร่วม มีนํ าใจดีงามให้ความช่วยเหลือศิษย์ มีความ ยุติธรรม วางตัวเป็นกลางไมเ่ อนเอียงข้างหนึงข้างใด เห็นอกเห็นใจลูกศิษยแ์ ละวางตัวเหมาะสมใน ทุกเหตุการณ์ สอดคล้องกับงานวิจัยของสุพัฒน์ เรือเรือง,พระ (2551: 125 - 136) ได้ทําการวิจัย เรือง บทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนตามทัศนะของนักเรียนและ ผู้ปกครองในช่วงชั นท3ี โรงเรียนหน้าพระลาน (พิบูลสงเคราะห์) จังหวัดสระบุรี พบว่า บทบาท ของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนตามทัศนะของนกั เรียนและผู้ปกครอง ในช่วงชั นที3 โรงเรียนหน้าพระลาน (พิบูลสงเคราะห์) จังหวัดสระบุรี นกั เรียนและผู้ปกครองมี ความคิดเห็นเกียวกับบทบาทของพระสงฆ์โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านความ กตัญ กู ตเวทีอยู่ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ด้านความซือสัตย์ ด้านความอุตสาหะ การรักษา ระเบียบวินัย ความประหยัด ความยุติธรรม ความเมตตากรุณา ความมีเหตุผล ความรับผิดชอบ ความเสียสละ และความสามัคคี ตามลําดับ เมือพิจารณาผลการศึกษาบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุ ณธรรมจริ ยธรรมในทัศนะของ นักศึกษาระดับอดุ มศึกษาในแต่ละด้านปรากฏว่า 1) คุณธรรมจริยธรรมด้านวิชาชีพ พบว่า อยู่ในระดับเห็นด้วย มีค่าเฉลียเท่ากับ 3.92 ทั งนี เป็นเพราะครูส่วนใหญ่ยังเป็นผู้ทียังรักษาไว้ซึงจรรยาบรรณความเป็ นครู มีความเป็ นผู้นํา ในทางทีถูกทีควร ไม่ประพฤติตนให้เกิดความเสือมเสียแก่วิชาชีพครู ซึงครูจะเป็ นแม่แบบ และเป็ น แบบอย่างทีดีในการแสดงออก หรือการถ่ายทอดใหน้ ักศึกษาได้รับรู้ถึงคุณลักษณะของความเป็ น ผู้นาํ (Leadership) เพือให้เกิดการเรียนรู้และสามารถนาไปประพฤติปฏิบัติได้ด้วยตนเอง มี คุณลักษณะของความเป็นผู้นําทีดีในการประกอบอาชีพ ต่อไปในภายภาคหน้าของชาติ ซึงครูเป็ น ผู้ทําหน้าทีอันประเสริฐ ครูเป็นผู้นาํ ทางวิญญาณของสัตว์โลกไปสู่จดุ มุ่งหมายปลายทางทีพึง ปรารถนา ครูเป็นสถาบันใหญ่ทีครองโลก ครูเป็นผู้อํานวยการศึกษา ครูเป็นปูชนียบุคคลเป็ นเจ้าหนี ทียิงใหญ่ ครูเป็นทีเคารพสักการะของมนุษย์ เป็นผู้ปั นโลกให้งดงาม ให้ความสงบสุขและให้มีค่า 2) คุณธรรมจริยธรรมด้านผู้เรียน พบว่า อยู่ในระดับเห็นด้วยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.85 ทั งนี เป็ นเพราะครูเป็ นผู้คอยใหก้ ารสนบั สนุนการเรียนการสอน (Facilitator) ของผู้เรียนให้ สอดคล้องกับบริบทประเพณีและวัฒนธรรมไทย ครูจึงเปรียบเหมือน“พ่อ-แม่” คนทีสองของเด็ก ดังนั น“ครู” จึงถูกคาดหวังให้ช่วยอบรมบ่มนิสัย ดูแลทุกข์สุข ของผู้เรียนด้วยครูจึงจําเป็ นจะต้อง ตอบคําถามของตนเองให้ได้ว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างให้ให้ได้ทั งความรู้ คู่คุณธรรม ไม่ใช่จะ

150 ทําอย่างไรให้ได้ค่าตอบแทนทีมากซึงสอดคล้องกับงานวจิ ัยของชานนท์ เสาเกลียว (2552: 71 - 81) ไดท้ ําวิจัยเรือง คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครูธุรกิจ ตามทัศนะของนักศึกษาประเภทวิชา บริหารธุรกิจ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั นสูง ชั นปี ที 2 ปี การศึกษา 2551 โรงเรียนไทย บริหารธุรกิจและพณิชยการ กรุงเทพมหานคร พบว่า ระดับทัศนะต่อคุณลักษณะทีพงึ ประสงคข์ อง ครูธุรกิจ ของนักศกึ ษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั นสูงมีทัศนะโดยรวมอยู่ในระดับมากและมี ทัศนะในรายด้านและรายข้ออยู่ในระดับมากและผลการจัดอันดับคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ของครู ธุรกิจ ตามทัศนะของนักศึกษา โดยรวมอันดับหนึ งด้านบุคลิกภาพและความเป็ นผู้นํา(X̅ = 3.37 ) อันดับสองด้านคุณธรรมของครู(X̅ = 3.35 ) อันดับสามด้านการวัดผลและประเมินผล(X̅ = 3.19 ) อันดับสีด้านทักษะและเทคนิคการสอน(X̅ = 3.16 ) และอันดับห้าด้านวิชาการ(X̅ = 3.11 ) 3) คุณธรรมจริยธรรมด้านชุมชน พบว่า อยูใ่ นระดับเห็นดว้ ย มีค่าเฉลียเท่ากับ 3.87 อาจเป็ นเพราะว่าการพฒั นาประเทศจะให้เกิดความสมดุลนั น ทุกสิงทุกอย่างต้องพัฒนาไป พร้อมกันในทุกๆ ด้าน ไม่ใช่พัฒนาไปเฉพาะด้านใดด้านหนึง อาจจะเกิดความไมส่ มดุลของประเทศ ได้ หัวใจหลักในการพัฒนาทีสําคัญก็คือพัฒนาการศึกษา ซึงปัจจัยทีจะทําให้ประเทศชาตินําไปสู่ ความเจริญได้ ฉะนั น ครูจึงได้เป็ นบุคคลหนึ งทีมีบทบาทต่อการพัฒนาตลอดจนเป็ นแบบอย่างทีดี ของบุคคลในสงั คม เนืองจากครูเป็ นผู้ทีเกียวข้องกับการใหก้ ารศึกษาติดต่อสมั พันธก์ ับนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยตรงครูจึงเป็ นปัจจัยสําคัญทีจะก่อให้เกิดการเปลียนแปลงในตัวผู้เรียน และเกิดการเปลยี นแปลงต่างๆ ในทิศทางทีพึงประสงค์แกค่ นในชุมชนท้องถินรวมทั งโรงเรียนด้วย นอกจากนี บทบาทของครูกับการพัฒนาชุมชน โดยการใหค้ วามรู้แก่คนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็ น ความรู้วชิ าสามัญหรือวิชาชีพก็ตาม เพราะจะทําให้คนในชุมชนมีพืนฐานการศึกษาอันจะนําไปสู่ ความรู้และความเข้าใจในเรืองต่างๆ รอบๆ ตัวได้ง่ายขึ น จากการทีไดก้ ล่าวในข้างต้นบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมใน ทัศนะของนักศึกษาระดับอดุ มศกึ ษา ซึงถือได้ว่า ครูยังเป็นผู้มบี ทบาทสําคัญยิงทีจะทําใหก้ ารศึกษา เป็นกลไกในนําการพัฒนาไปสู่คุณภาพคนของประเทศได้ ดังนั นปัญหาเกวียกับ“ครู” และ “วิชาชีพ ครู” จําเป็นทีจะต้องเร่งดําเนินการปรับปรุง แก้ไขพัฒนาโดยเร่งด่วนเพอืให้การศกึ ษาสามารถพัฒนา คุณภาพ “ครู” ได้สมตามเจตนารมณ์ทีตั งไวต้ ลอดจนการนําพาหลักวิชาชีพครูไปสู่ความเจริญยั งยืน ต่อไปภายในอนาคต 5.3.2 จากการศกึ ษาพบว่า สาขาทีจบก่อนเข้าศกึ ษา มีความสัมพันธต์ ่อบทบาทของครูด้าน ผู้นาํ ทางคุณธรรมจริยธรรมในทศั นะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยผู้ทีจบการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาปี ที6 มที ัศนะทีแตกต่างจาก จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ(ปวช.) และจบ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั นสูง(ปวส.) ทั งนเีพราะว่า นกั เรียนทีจบการศึกษาสาย

151 อาชีวศกึ ษา จะมองวา่ ครูเป็นผทู้ ีค่อยอํานวยความสะดวกในการเรียนการสอนเพราะนักเรียนส่วน ใหญ่เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติมากว่าจากทฤษฏี ไม่ค่อยใหค้ วามสําคัญในการเรียนการสอน ภายในหอ้ งเรียนเท่าใดนัก อีกทั งครูสายอาชีวศึกษามคี วามเป็ นอิสระมากกว่าครูสายสามัญศึกษา ไม่ได้เคร่งครัดด้านพฤติกรรมเท่าทีควร เช่น ครูชวนนกั เรียนไปดืมสุรา ไปเทียวกลางคืน เป็ นต้น จนส่งผลต่อการว่ากล่าวตักเตือนของครู ในด้านพฤติกรรมทีไม่เหมาะสมของนักเรียน อกี ทั งครสู าย อาชีวศกึ ษาไมค่ ่อยให้ความสําคัญในการสอดแทรกกิจกรรมทางคุณธรรมจริยธรรมใหก้ ับนกั เรียน นักศกึ ษาเท่าทีควร จึงทําให้นักเรียนทีเรียนระดับอาชีวศึกษามีพฤติกรรมทีค่อนข้างจะรุ่นแรง เช่น ยกพวกตีกัน ทะเลาะววิ าท เป็นต้น ตามทีได้พบเห็นอยู่เป็นประจํา ว่านกั ศึกษาระดับอาชีวศึกษายก พวกตีกันกับนักเรียนนกั ศึกษาต่างสถาบัน และการเรียนการสอนส่วนใหญ่ของระดับอาชีวศึกษา ไมไ่ ด้มงุ่ เน้นเรืองคุณธรรมจริยธรรมมากนัก เน้นไปในทางปฏิบัติ อีกทั งครูทีทําการเรียนการสอน ในระดับอาชีวศึกษานั น ไม่ได้เรียนจบสายครูโดยตรง แต่จบสายอาชีพซึงมีผลต่อจรรยาบรรณ ความเป็ นครู ในด้านการพฤติปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่างทีดีให้กับลูกศิษย์ พร้อมทั งครูนั นไม่ให้ ความสาํ คัญเรืองของภาพลักษณ์การเป็ นแบบอย่างทีดีให้กับนักเรียนนักศึกษา ซึงแตกต่างจาก นักเรียนทีจบสายสามัญ หรือ มัธยมศกึ ษาปี ท6ี เป็นแบบอย่างทีดี น่าเคารพนบั ถือ เนืองจากว่า การ เรียนการสอนส่วนใหญ่จะอยใู่ นห้องเรียน และครูจะปลกู ฝังเรืองคุณธรรมจริยธรรมใหก้ ับเรียนอยู่ เป็นประจํา และครูยังเป็นบุคคลทีมีความน่าเชือถือในสายตาของพอ่ แมผ่ ู้ปกครองนักเรียน สามารถ ในการเปลียนนิสัยพฤติกรรมของนักเรียนให้เป็นคนดี ตลอดจนพัฒนาสติปัญญา ผู้ถ่ายทอดความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ด้วยความตั งใจ ทั งวิชาการ วิชาชีพ และดําเนินชีวิตเป็ นแบบอยา่ งทีดี มี อารมณ์มั นคง พูดจาไพเราะมีความรัก เมตตาต่อศษิ ย์ 5.3.3 จากผลการศึกษาพบว่า ผลการเรียนในเทอมสุดท้าย ความสัมพันธ์ต่อบทบาทของครู ด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาทั งนเีพราะว่า นักเรียนทีมี ผลการเรียนในเทอมสุดท้ายตํากวา่ 2.50 ครูจะไม่ค่อยให้ความสําคัญกับนักเรียน เนืองจาก ครูมองวา่ นักเรียนทีมผี ลการเรียนในเทอมสุดท้าย ตํากวา่ 2.50 เรียนหนังสือไมเ่ ก่ง และไม่ค่อยให้ความสนใจ ในการเรียนการสอนเท่าทีควร จึงทําให้ครูเกิดการมองข้ามศักยภาพของนักเรียนกลมุ่ นี อีกทั งเวลา มีกิจกรรมเกียวการเรียนการสอนครูก็จะคอยแนะนําและให้คําปรึกษากับนักเรียนทีมผี ลการเรียนสูง กวา่ จึงส่งผลต่อทัศนะเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมของครู ทีว่า ครูควรยดึ มันในคุณธรรม มีใจ รัก และเมตตา ต่อศษิ ย์ เอาใจใส่ต่อการเรียนความประพฤติและความเป็ นอยูข่ องศิษย์อยู่เสมอ และ ครู ต้องเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของศิษย์ ซึงแตกต่างจากนกั เรียนทีมีผลการเรียนในเทอม สุดท้าย ตั งแต2่ .51-3.00 ขึ นไป จะมองว่าครูเป็นบุคคลทีควรแก้การเคารพนับถอื น่าศรัทธาเลือมใส ครูเป็ นแม่พิมพ์ทีดีทั งด้านความรู้สึกและความประพฤติ ครูเป็ นผู้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และ

152 ค่านิยมให้แก่นักเรียน และสนใจในการทีครูถ่ายทอดความรู้ความสามารถให้ จึงส่งผลต่อทัศนะใน ทางบวกสําหรับครู ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของยินดี รักสนิท (2545: 67 - 71)ได้ทําวิจัยเรือง บทบาทของครูในการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในทัศนะของนกั เรียน: ศึกษาเฉพาะ กรณี โรงเรียนบ้านนิคมสร้างตนเองธารโต อําเภอธารโต จังหวัดยะลาพบว่า บทบาททีครูปฏิบัติใน ทัศนะของนักเรียนอยู่ในระดับปานกลางนักเรียนมคี วามคาดหวังในเกียวกับบทบาทครูในระดับสูง เพราะในทัศนะของนักเรียนจะมองวา่ ครูเป็นผู้ทีทําตัวเป็นแบบอย่างทีดี มีพฤติกรรมทีเหมาะสม ทั ง ในการจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนความมรี ะเบียบวนิ ัยในตนเอง เพราะการเป็นครูไม่ควรมีความ ลําเอยี ง เลือกทีรักมักทีชัง ครูควรใหค้ วรใหค้ วามช่วยเหลือลกู ศิษยใ์ หก้ ําลังใจศิษยใ์ นการทํางาน สนับสนุนให้ค้นคว้าหาความรู้ทีหลากหลายตลอดจนการแสดงความเมตาต่อศิษยอ์ ย่างเท่าเทียมกัน 5.3.4 จากการศึกษาพบว่า คณะทีกําลังศึกษา มีความสมั พันธต์ ่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาทั งนเีพราะไม่ว่านักศึกษาจะศึกษา คณะใดกต็ าม ย่อมได้รับการปลูกฝังเรืองคุณธรรมจริยธรรมในสาขาอาชีพนั น แต่ทัศนะในการมอง บทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมก็จะแตกต่างกันไป ตามฐานความรู้ทีตนเองได้ศกึ ษา มาในแต่ละคณะ ซึงปัจจัยทีส่งผลต่อทัศนะของคน อันดับแรกมาจากกระบวนการเรียนรูแ้ ละนําไป สู้การเลยี นแบบ เช่น นักศึกษาทีเรียนสายสงั คมศาสตร์ก็จะมองว่า ครูต้องเป็ นนักจัดกระบวนการ เรียนรู้ทีเป็นรูปธรรมในการศึกษา พร้อมทั งสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมให้นักเรียนเกิดจิตสํานึก ในการช่วยเหลอื สังคม อกี ทั งการพัฒนาการศกึ ษาในระดับท้องถินถอื วา่ เป็นบทบาทโดยตรงของครู เพราะการให้การศกึ ษา เป็นหน้าทีโดยตรงสําหรับคนทีมวี ชิ าชีพครูจะกระทําไดโ้ ดยการพยายามใช้ ความรู้ความสามารถและใช้ประโยชน์จากวัสดุและอุปกรณ์ทีมีอยู่ในโรงเรียนและชุมชนแนวทางใน การจัดการศกึ ษาเพือแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชุมชน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้เน้นการจัดการศกึ ษาของชุมชน ชุมชนจะต้องรับผิดชอบจัดการศกึ ษา รวมทั งเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการศกึ ษาและระดมทรัพยากรต่างๆ มาช่วยการจัดการศกึ ษา การจัดการศกึ ษาจะต้องจัดสาระ การเรียนรู้ทีจะสร้างให้คนในชุมชนพึงตนเองได้ และสามารถอนุรักษแ์ ละพัฒนาภูมิปัญญาของ ท้องถิน ครูจึงเป็นผู้ทีมีความสําคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของประชาชนในชุมชน ตัวอย่าง กิจกรรมเหล่านี เช่น การรณรงคก์ ารรักษาความสะอาด การจัดกิจกรรมรณรงคต์ ่อต้านยาเสพย์ติด การจัดเวทีการเรียนรู้เรืองปัญหาของชุมชน เป็ นต้น ปัจจุบันนี ถือว่าครูเป็ นผู้นาํ ชุมชนในการ เชือมโยงข่าวสารข้อมูลต่างๆ เข้ามาผนวกกับชุมชน ซึงสอดคล้องกับงานวจิ ัยของบุษบา แดงวิจิตร (2550: 67-71) ได้ทําการวจิ ัยเรืองทัศนะของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาควบคู่สามัญ: ศึกษากรณีโรงเรียนอิสลามสนั ติชน เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร พบวา่ สภาพแวดล้อมของนักเรียน โดยรวมมีสภาพแวดล้อมอยู่ในระดับดีมาก เคร่งครัดในศาสนา

153 ของผู้ปกครอง ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ความเคร่ งครัดในศาสนาของนักเรี ยนและ สภาพแวดล้อมของนักเรียนทีอยู่ในระดับดีปานกลาง ได้แก่ กิจนิสยั ในการเรียน ความคิดเห็นของ นักเรียนเกียวกับการจัดการการเรียนการสอน โดยรวมมคี วามคิดเห็นวา่ การจัดการเรียนการสอนอยู่ ในระดับเหมาะสมมาก เมือพจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่า ความคิดเห็นของนักเรียนต่อการจัดการเรียน การสอนในหลักสูตรศาสนาควบคู่สามัญทีอยู่ในระดับเหมาะสมมากคือ ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รองลงมาคือ ด้านการจัดการแบบเรียน ด้านการวัดและประเมินผล ระดับเหมาะสมปานกลางคือ ด้านการจดั สิงทีเอือต่อการเรียนการสอน ด้านการจดั ครูเข้าสอน และดา้ นการจัดตารางเรียน นอกจากนี การศกึ ษาทีดีจะต้องสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนืองตลอดชีวิตและสอดคล้องกับบริบท ของชุมชน เพราะชุมชนเป็ นทั งกลุ่มคนทีติดต่อสัมพันธ์กัน มีรากฐานความเชือ วิถีดํารงชีวิตที คล้ายคลงึ กันมีการสือสารถ่ายทอดความรู้ ความเชือและแนวทางการปฏบิ ัติอย่างต่อเนืองตลอดชีวติ 5.3.5 จากการศึกษาพบว่า สถาบันการศึกษา มีความสมั พันธต์ ่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา ทั งนี เพราวะา่ นักเรียนทีเข้าศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษาต่างกันจะมีทัศนะต่อบทบาทของครูดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมต่างกัน เนืองว่า วิธีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของครู และการอบรมกิริยามารยาท ตลอดจนกาปลูกฝัง ลักษณะนิสัยใหก้ ับนักเรียน ให้ตั งอยู่ในครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรมทีดีงาม ซึงครูในแต่ละ โรงเรียนก็มีความแตกต่างกันไปตามบริบทของสงั คมและชุมชน อีกทั งกระบวนการรับรู้และการ เรียนรู้ของนักเรียนก็จะมีผลต่อทศั นะของนักเรียนนักศึกษาด้วย เช่น มีข่าวคราวทีสร้างความ เสียหายให้กับวงการครูและบุคลากรทางการศึกษาอยู่บ่อยๆ ครูทีเคยทําหน้าทีอบรมสังสอนศิษย์ให้ มคี ุณธรรมจริยธรรม กลับมาเป็นผู้กระทําผิดตกเป็นข่าวคราวเสียเอง เช่น ครูมหี นี สินลน้ พ้นตัวครู ลงโทษนักเรียนเกินกว่าเหตุ ครูหลอกลวงข่มขืนศิษย์ ครูขายยาเสพติด เป็ นต้น สิงเหล่านี ส่งผล กระทบต่อความเชือมั นในความเป็นครใู นการรับรู้ข้อมลู ข่าวสารเกียวกับบาทของครูทีมีลักษณะดี กับครูทีทําให้วงการครูเกิดความเสือมเสียซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของวัลภา ลิมสกุล(2547: 54 - 62) ได้ทําการวิจัยเรือง บทบาทอาจารย์ทีปรึกษาในทัศนะของนักศึกษา คณะธุรกิจการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผลการศึกษาพบว่า ความคาดหวังทีมีต่ออาจารย์ทีปรึกษาด้านวิชาการอยู่ใน ระดับมาก คือ ให้คําแนะนําและช่วยเหลือนกั ศึกษาเพือแก้ไขอุปสรรคปัญหาในการเรียน ด้านการ ให้คําปรึกษาอยูใ่ นระดับมาก คือ เก็บรักษาข้อมูลส่วนตัวของนกั ศึกษาเป็ นความลับ ด้านการให้ ความช่วยเหลือนักศึกษาอยูใ่ นระดับมาก คือ มีการแจ้งข้อมลู ข่าวสารความเคลือนไหวต่างๆ ให้ นักศกึ ษาทราบทันต่อเหตุการณ์ตลอดเวลา ด้านบุคลิกภาพอยูใ่ นระดับมากคือ เป็ นผู้มีความตั งใจ ปฏบิ ัติหน้าทีอาจารย์ทีปรึกษา ด้านการพัฒนานกั ศึกษาอยู่ในระดับมากคือ ส่งเสริมนักศึกษาใหม้ ี ความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ดังนั น การเป็ นครูทีดีต้องเนน้ คุณลักษณะพืนฐาน

154 กค็ ือ มคี วามขยันมั นเพียรในการพัฒนาวิชาอาชีพครูให้เจญริ ก้าวหน้า มีความรักเมตากรุณาต่อศิษย์ ตลอดจนการสร้างเครือข่ายกัลยาณมิตรครูทีดี เพือเป็ นการขับเคลือนวิชาชีพครูใหเ้ กิดความเจริญ งอกงาม ตามทีสังคมได้คาดหวังไว้ และเพือเป็นการสร้างภาพลักษณ์ของความเป็นครูดีเพือพัฒนา ศักดิ ศรีของอาชีพครูสืบไป 5.3.6 จากการศกึ ษาพบว่า อาชีพของบิดาและอาชีพของมารดา มคี วามสัมพันธ์ต่อบทบาท ของครูดา้ นผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทศั นะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ทั งนี เพราะว่า สถาบันครอบครัวซึงเป็นสถาบันพืนฐานในการพัฒนามนุษย์การเรียนรู้ของเด็กเริ มต้นเกิดขึ นใน ครอบครัว ครัวทีมีความสุขความอบอนุ่ ตลอดจนการอบรมสังสอน เลียงดจู ะช่วยให้เด็กเติบโตเป็ น ประชากรทีมีคุณภาพ ครอบครัวไทยในปัจจุบันกําลังเผชิญปัญหามากขึ น เนืองจากสังคมมีการ เปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว ความเจริญทางวัตถุมากขึ น โครงสร้างของครอบครัวเปลียนไปพ่อแม่มี เวลาใหล้ กู น้อยลง แต่สิงเหล่านี อาจจะไม่ส่งผลกระทบมากเท่าใดนัก เพราะปัจจัยสาํ คัญในการ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับเดก็ ย่อมขึ นอยู่กับพ่อแม่ผู้ปกครองเอง หรือผู้ทีเลียงดู ให้คําแนะนํา กับเด็กอยา่ งไร ซึ งผลการศึกษาพบว่า การประกอบอาชีพของบิดาและมารดา ทีเป็ นข้าราชการ ทํางานในหน่วยงานของภาครัฐ มีทัศนะทีแตกต่างจาก บิดาและมารดาประกอบอาชีพเป็ นพนักงาน เอกชน หรือ ทํางานธุรกิจส่วนตัวซึงทัศนคติในการเลียงลูกของผเู้ ป็ นทีรู้ๆ กันว่าทัศนคติของแม่มี ผลต่อลูก แต่พอ่ แม่แต่ละคนทําได้แค่ไหนนันกอ็ กี เรืองหนึง ซึงการประกอบอาชีพก็มีส่วนสําคัญใน การอบรมเลียงดูลูก ยกตัวอย่างเช่น พอ่ แม่ ประกอบอาชีพข้าราชการ ก็จะคอยอบรมสังสอนใหล้ กู รู้จักการวางระเบียบแบบแผนชีวติ ของตนเอง รู้จักเสียสละ รู้จักให้กับผู้อืน และคอยดูและอบรมให้ อยู่ในแนวทางทีพ่อแม่ได้ว่างไว้ให้ ถ้าหากพ่อแม่ผู้ปกครองประกอบอาชีพครู ก็จะส่งผลต่อการ อบรมเลี ยงดูลูกอยากมาก เพราะความเป็ นครู เป็ นทั งผู้นําทางจิตวิญญาณ และผู้นําทางความคิด ฉะนั น จะเห็นได้ว่า ลูกทีมพี อ่ แม่ประกอบอาชีพครู จะเป็นบุคคลทีมีระเบียบวินยั ในตนเองสูง เป็ น คนทีมคี วามเสียสละ เห็นอกเห็นใจเพือน และทีสําคัญมคี วามตั งอกตงัใจในการเรียนรู้อยูต่ ลอดเวลา ซึงอาจจะมีความแตกต่างจาก ลกู ทีมีพ่อแม่ผู้ปกครองประกอบอาชีพเป็ นนักธุรกิจและพนักงาน เอกชน ทีมีการอบรมเลียงดูแบบให้ลูกช่วยเหลอื ตนเองและก็จะคอยแนะนําให้รู้จักการหาผลกําไร จากการประกอบอาชีพธุรกิจของตนเอง ตลอดจนมีอยากให้ลูกเจริญรอยตามเหมือนกับตนเอง และ บริหารธุรกิจส่วนตัว ไมอ่ ยากให้รับราชการ เพราะกลุ่มคนเหลา่ นี มองว่า เป็นอาชีพทีไมค่ ่อยมีความ กระตืนรืนร้น ทํางานช้า และมกี ระบวนการขั นตอนเยอะแยะ จนทําให้เกิดการล้าช้าในการทํางาน ซึงมีความแตกต่างจากธุรกิจส่วนตัว มีความแข็งขันสูง ทํางานรวดเร็ว และกระบวนการทํางานก็ไม่ ค่อยสลับซับซ้อนเท่าใดหนัก เป็นต้น

155 5.3.7 จากการศึกษาพบวา่ ความเกียวข้องกับครู มคี วามสัมพันธ์ต่อบทบาทของครูด้านผู้นํา ทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนกั ศึกษาระดับอุดมศึกษา ทั งนี เพราะว่านกั ศึกษาทีไม่มีญาติ ประกอบอาชีพครู ก็จะไมค่ ่อยให้ความสนใจเกยี วกับการประพฤติปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่างทีดี และ เป็นผู้เสียสละให้กับผู้อนื โดยไมห่ วังผลตอบแทน ซึงข้อแตกต่างระหว่างอาชีพครูกับอาชีพอืน ๆ มี ความแตกต่างกันอยา่ งมาก เพราะ ในกระบวนการปลูกฝังเกียววิชาชีพครูมีความเข้มงวดมากว่า เพราะครูต้อง อบรมสังสอนให้นักเรียนปเ ็ นคนดี ฉะนั น นักศึกษาทีมีญาติประกอบอาชีพครูก็จะมี ทัศนะเกียวกับคณุ ธรรมจริยธรรมทีแตกต่างกันด้วยส่วนของนักศึกษาทีมีญาติประกอบอาชีพครู ก็ จะมกี ระบวนการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกียวกับการเป็นครู ซึงได้รับรู้รับฟังกระบวนอบรมสังสอนทีมี ระบบระเบียบและเน้นไปในทางคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนได้มีความใกล้ชิดสนิทสนมกับญาติที ประกอบอาชีพครู จนนําไปสู่ทัศนคติทีดีต่อครูซึงจากองค์ประกอบของทัศนคติ แบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านความรู้ 2. ด้านความรู้สึก 3. ด้านการกระทํา ซึงองค์ประกอบทั ง3 ด้านนี เป็ น ปัจจัยหลักทีส่งผลการกระบวนรับรู้ และนําไปสู่การเรียนแบบของนักศกึ ษาทีมญี าติประกอบอาชีพ ครู ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของชชู ีพ ไวกสิกรรม (2552: 57 - 63)ได้ทําวิจัยเรืองคุณลักษณะครูที ปรึกษาทีพึงประสงค์ ตามทัศนะของนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมอื พิจารณาเป็นรายด้านพบวา่ ด้านมนุษยสมั พันธม์ ีค่าเฉลียเป็ นอันดับแรก รองลงมาได้แก่ ด้านการบริการ ส่วนด้วนวิชาการมี ค่าเฉลียในระดับมากเป็ นอันดบั สุดทา้ ย จะเห็นได้ว่าอาชีพครูจึงมีความสําคัญอย่างยิงทีจะทําให้ การศึกษาเป็ นกลไกในนําการพัฒนาไปสู่คุณภาพคนของประเทศได้ ดังนั นปัญหาเกียวกับ“ครู” และ “วชิ าชีพครู” จําเป็นทีจะต้องเร่งดําเนินการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาโดยเร่งด่วนเพือใหก้ ารศึกษาสามารถพัฒนาคุณภาพ “ครู” ได้สมตามเจตนารมณ์ทีตั งไว้ ตลอดจนการนําพาหลักวิชาชีพครูไปสู่ความเจริญยั งยนื ต่อไปภายในอนาคต จากปัญหาใหญ่ของ การศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันนี คุณภาพของคนคือกุญแจทีจะไขไปสู่ความสําเร็จในการ พัฒนาแบบยั งยนื แต่คุณภาพของคนต้องขึ นอยูก่ ับคุณภาพของการศึกษา คุณภาพของการศึกษา ย่อมขึ นอยู่กับคุณภาพของครูเป็นสําคัญ 5.3.8 จากการศึกษาพบว่า กิจกรรมพิเศษ มีความสัมพันธ์ต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทาง คุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาทั งนี เพราะการร่วมทํากิจกรรรมทีทาง คณะจัดขึ นก็เป็ นสิงหนึ งทีมีส่วนในการปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับนกั ศึกษา เพราะทําให้ นักศึกษาได้สัมผัสสงิ ทีอยู่นอกเหนือจากตํารา ได้รู้จักการทําความดี มคี วามเคยชินกับการทําความดี มีปฏิสมั พันธก์ ับบุคคลภายนอก รู้จักปัญหาและวิธีการแก้ไข สิงเหล่านี ล้วนแล้วแต่เป็ นสิงทีเพิม ประสบการณ์ให้แก่นักศึกษาเพราะเนือหาและความรู้ทีได้จากการเรียนในหอ้ งเรียนนั นยังไม่พอ

156 นกั ศกึ ษามีความจําเป็นทีจะต้องสะสมประสบการณ์ไปพร้อมๆ กับการเรียนด้วยซึงสอดคล้องกับ งานวิจัยของ กฤษฏา นนั ทเพชร,พระมหา (2540: 154 - 157)ได้ทําการวิจัยเรือง ทัศนคติของ พระสงฆ์ต่อบทบาทการพัฒนาสังคม ผลการศึกษาพบว่า พระสงฆ์ทีเข้าร่ วมกิจกรรมทีทาง สถาบันการศกึ ษาได้จัดขึ น เพอื หาประสบการณ์และเพิมพูนความรู้ เป็นการฝึกงาน ช่วยเหลือสังคม และสถาบัน กิจกรรมส่วนใหญ่เป็นการเผยแผ่ธรรมะและส่งเสริมการปฏิบัติธรรม วิชาการอืนๆ ซึง ในปัจจุบันสภาพปัญหาดา้ นคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนนักศึกษา เป็ นปัจจยั สําคัญทีส่งผล กระทบต่อการจัดการศึกษาเพือพัฒนานักเรียนนักศึกษาให้ใช้ชีวิตในสงั คมได้อย่างปลอดภัยและมี ความสุข จากข่าวปัจจุบันในสังคมจะเห็นว่านักศึกษาขาดคุณธรรมจริยธรรมมากขึ น เช่น นกั ศึกษา ค้ายาเสพติด เสพสิงเสพติด เป็ นต้น เป็ นสิงสะท้อนใหต้ ระหนกั ถึงการแก้ปัญหาอยา่ งเร่งด่วนของ พฤติกรรมของคนในสังคม โดยเริ มตน้ ทีระบบการศึกษาในการพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา ดังนั นการทีนักศกึ ษาได้เข้าร่วมกิจกรรมทางคุณธรรมจริยธรรมทีทางมหาวิทยาลัยได้จัด ขึ นจึงมีผลต่อทัศนะของนกั ศึกษาต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม จากการที นักศึกษาได้รับการปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรมโดยผา่ นกิจกรรมทีได้ทางมหาวิทยาลัยได้จัดขึ นนั น จะทําให้นักศึกษาเกิดความตระหนักในการประกอบคุณงานความดี ไม่อาฆาตพยาบาท เบียดเบียน คนอนื และทําให้ผู้อืนเดือดร้อนในการกระทําของตน ซึงสิงเหล่านี ต้องได้รับการอบรมสังสอนจาก ครูผู้สอนด้วยเพราะชีวิตของครูประสบความสําเร็จในอาชีพการงาน คือ สอนศิษย์ให้เป็ นคนดี คน เก่ง มีคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และประสบความสําเจร็ในอาชีพ ส่วนตัว ชีวิตครอบครัว มีความสุขและเป็ นทียอมรับของสังคม ครูจึงเป็ นบุคคลทีแสดงให้เห็นว่า เป็นผู้ทเีสียสละต่อประโยชน์ส่วนร่วม ครูทีมนี ํ าใจดีงามให้ความช่วยเหลือศิษย์ ครูทีมคี วามยุติธรรม วางตวั เป็ นกลางไม่เอนเอียงข้างหนึ งขา้ งใด เห็นอกเห็นใจลูกศิษย์ และวางตัวเหมาะสมในทุก เหตุการณ์ นอกจากนี ครูจะต้องช่วยส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมของชาติให้มันคง ถ่ายทอด วัฒนธรรมอันดีงามให้แก่เด็กช่วยอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมอันดีงานของชาติ อีกทั งครูมีการพัฒนา ตนเองให้มคี วามรู้ความสามารถในการจัดการศกึ ษาให้สอดคล้องกับการปฏริ ูปการศึกษาโดยมีการ พัฒนาตนเองหลายรูปแบบ เช่น การศึกษาต่อ การทําผลงานทางวิชาการ การเข้ารับการฝึ กอบรม คุณธรรมจริยธรรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนาทางวิชาการการศึกษาดูงาน และการพัฒนาตนเองให้ เป็นแบบอย่างทีดีแก่ศษิ ย์ ทําตัวให้ศิษย์เคารพนับถอื ในด้านการพัฒนาสังคมครูได้ถ่ายทอดความรู้ แก่คนในชุมชน ให้คําปรึกษาแนะนําในทางทีดี ช่วยเหลอื กิจกรรมส่วนร่วมของชุมชน ไม่ว่าจะเป็ น ความรู้วิชาสามัญหรือวิชาชีพก็ตาม เพราะจะทําใหค้ นในชุมชนมีพืนฐานการศึกษาอันจะนําไปสู่ ความรู้และความเข้าใจในเรืองต่างๆ รอบๆ ตัวได้ง่ายขึ น นอกจากนั นครูยังมีส่วนช่วยในการริเริ ม

157 ส่งเสริมและแนะนําในเรืองการประกอบอาชีพ ความเป็นอยู่และการพัฒนาชุมชนให้มีความเป็ นอยู่ ทีดี สิงทีสําคัญทีสุดของความเปน็ ครูนั นกค็ ือ“คุณธรรมจริยธรรม” ฉะนั นครูทีดีและผู้ทีจะเป็ นครู ในอนาคตจึงควรศึกษาหลักธรรมในพทุ ธศาสนาให้เข้าใจ และนําไปปฏิบัติให้ได้ผลดีต่อตนเองต่อ ลูกศิษย์และต่อประเทศชาติ 5.3.9 จากการศึกษาพบวา่ ความชืนชอบในอาชีพครู มีความสัมพนั ธ์ต่อบทบาทของครูด้าน ผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดบั อุดมศึกษา ทั งนี เพราะว่าครูเป็ นผู้ให้ ถา่ ยทอดความรู้ความสามารถให้กบั นักเรียนโดยไม่ได้หวังผลตอบแทนและอยากให้ลูกศิษย์ทุกคน เป็นคนดีมคี วามสามารถไปประกอบอาชีพเลียงตนเองและครอบครัวซึงบุคลิกและลักษณะของครู เป็นบุคคลทีน่าเคารพนับเช่น เช่น การพูดคุยกับนักเรยี น การวางตัวเหมาะสมความเป็ นครู และทํา ตัวเป็นแบบอย่าทีดีของนักเรียน และทีสําคัญนั น ครูยังมคี วามเมตตาและกรุณาสูงต่อลูกศิษย์สคูงรู จึงได้รับการยกย่องวา่ เป็นวิชาชีพชั นสูง เนืองด้วยเป็นอาชีพทีตอ้งมใี บประกอบวิชาชีพ และจะต้อง ประกอบวิชาชีพเพือบริการสาธารณชน เพือส่วนร่วม และยังมีบทบาทสําคัญต่อสังคมและความ เจริญก้าวหน้าของประเทศ ดังนั น การทําให้บุคคลทัวไปทุกระดับจึงได้มีความรู้สึกทีดีต่ออาชีพครู เพราะการทีการทีจะเป็ นครูได้นั นต้องมีความศรัทธาในอาชีพครู การเห็นคุณค่าและความสําคัญ ของความเป็นครู ซึงเป็นรากฐานทีจะช่วยให้การประกอบวิชาชีพครูเป็นไปได้ด้วยดี มคี วามสุข และ ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ใหก้ ับสงั คมและผู้ทีเกียวข้องทั งหลาย ตลอดจนทําใหป้ ระสบความสําเร็จใน การประกอบอาชีพ และการดําเนินชีวติ เพราะความศรัทธาในอาชีพครูและมองเห็นคุณค่าเป็ นสิงที ต้องปลูกฝัง เพอื ให้เกิดความศรัทธาทีถูกต้อง เป็นไปในทางสร้างสรรค์ เครืองมอื ทีช่วยให้การสร้าง ทัศนคติทีดีของความเป็ นครูอีกอย่างคือ \"หลักธรรมทางศาสนา\" ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธีรพัฒน์ คําคูบอน(2548: 104 - 106)ได้ทําการวิจัยเรือง ทัศนคติของข้าราชการครูสงั กัดสํานักงาน การศกึ ษาขั นพืนฐาน ต่อใบประกอบวิชาชีพครู: กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของข้าราชการครูทีมตี ่อใบประกอบวิชาชีพครู ในภาพรวมอยู่ในระดับดีทั งในด้าน การ สนบั สนุน การบริหารจัดการโรงเรียน การเห็นความสําคัญใบประกอบวิชาชีพครู และการเห็น ความสําคัญของใบประกอบวิชาชีพครู ซึ งใน พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู ถึงจะได้รับการรับรองจากครุสภา ตลอดจนมี การปรับวิทยฐานของครูให้สูงขึ น และมงุ่ เน้นครูทีมีคุณภาพ มคี ุณธรรมจริยธรรม เนืองจากครูเป็นผู้ ทีมภี าวะความเป็นผู้นําทางความคิดและทางปฏิบัติมากกว่าอาชีพอืนๆ อีกทั งการแบกรับภาระใน การพัฒนาเยาวชนของชาติให้เป็นคนดี มคี วามรู้ ควบคู่คุณธรรม จึงจําเป็ นอยา่ งยิงทีจะต้องให้ครูมี ใบประกอบวิชาชีพ เพือเป็ นการรับรองความเป็ นครูและผ่านกระบวนการปลกู ฝังทางวินัยอย่าง เข้มงวด

158 5.3.10 จากการศกึ ษาพบว่า ความสําคัญในการผลติ บุคลากรทางการศึกษา มีความสัมพันธ์ ต่อบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรมในทัศนะของนกั ศึกษาระดับอุดมศึกษา ทั งนี เพราะ นกั ศึกษาทีมี เห็นด้วยอยา่ งยิง มีทัศนะทีดตี ่อการ พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการ ศึกษา เพือให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรมมคี ุณภาพ และมวี ิทยฐานะสูงขึ นของรัฐบาลปัจจุบัน ซึงจาก การทีกระทรวงศึกษาธิการ มแี นวนโยบายและทิศทางการผลิตครู ซึงเป็นแนวทางการปฏิรูปครูและ บุคลากรทางการศกึ ษาอยู่บน 3 แนวทาง คือ 1) จะทําอย่างไรทีเราจะจงู ใจให้คนดีคนเก่ง เข้ามาสู่วชิ าชีพครู 2) การพัฒนาสถาบันการผลิตครูให้มีประสิทธิภาพ 3) การพัฒนาครูของครูให้มีความทันสมัย ทั งนี การผลิตครูเพือแก้ปัญหาการขาดแคลนครู ทีรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการได้ ดําเนินการอยูใ่ นปัจจุบันนี เป็ นการดําเนินการผ่านโครงการต่างๆ เช่น นโยบายครูพันธ์ใหม่ หลักสูตร 4+1 ปี คือ นักศึกษาทีจบสาขาวิชาอืน ไปเรียนใบประกอบวิชาชีพครู 1 ปี เพือใหไ้ ด้ใบ ประกอบวิชาชีพจากครุสภา ยังพบวา่ นโยบายดังกล่าวยังขาดความชัดเจนอยู่พอสมควร เช่น มีการ ซือใบประกาศวิชาชีพครู ตามสถาบันการศึกษาทั งของรัฐและเอกชน เป็ นต้น สิงเหล่านี ส่งความ ผิดพลาดด้านนโยบายทีไม่คลอบคลุมการรองรับความผดิ พลาด อีกทั งยังขาดการประสานงานใน การกําหนดเป้ าหมายทั งเชิงปริมาณและคุณภาพของหน่วยงานทีเกียวข้อง จบทําให้การผลิตครูทีมี คุณภาพไม่เกิ ดตามนโยบายที รัฐบาลได้วางไว ้และย ังขาดการควบคุมการด ําเนิ นการผลิตครู ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานและคุณภาพทําได้ไม่ถึงเกณฑ์ ขาดการสร้างแรงจูงใจใหค้ นเก่งคนดีเข้ามา เรียนครู การส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาสถาบันผลิตครูมีนอ้ ยและไม่เพียงพอกระบวนการผลิต ครูในปัจจุบันไม่เอืออํานวยทีจะทําใหค้ รูมีคุณภาพโดยเฉพาะในด้าน คุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะของความเป็นครู ซึงควรมีการส่งเสริมสนับสนุนสถาบันการผลิตครูใหม้ ีความเข้มแข็ง มีองค์กรทีสามารถกําหนดวางแผนการผลติ และพัฒนาครูประจําการทีเป็นระบบมกี ารประสานงาน กับสถาบันทีมคี วามรับผิดชอบมีกองทุนสําหรับการผลติ ครู และควรกําหนดเป้ าหมายของคณะครุ ศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ทีชัดเจน รวมทั งควรมีการปรับรื อระบบการเลือนวิทยฐานะของครูให้มี คุณภาพให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนการสอน และควรมกี ระบวนการตรวจประเมินวิทยฐานะ ทีชัดเจน มากกว่านี เนืองจากสถานการณ์ปัญหาทีผ่านมา ครูบางคนไปวา่ จ้างให้คนอนื ทําวทิ ยฐานะ เพอื ให้ตนเองได้มวี ทิ ยฐานทีสูงขึ นแต่ผลสัมฤทธิ ทางการเรียนของนักเรียนกลับสวนทางกันซึงไม่ สอดคล้องกับข้อเท็จจริง ฉะนั น รัฐบาล หรือหน่วยงานทีเกียวข้อง ควรดําเนินการเร่งรัดการกบั ผู้กระทําความผดิ ใหร้ วดเร็ว มีการลงโทษอย่างหนัก มีการประเมินผลเชิงประจักษ์ และไม่ควร มุ่งเน้นผลงานทางวชิ าการมากนัก จนทําให้การกระบวนผลติ ครูและบุคลากรทางการศึกษามปี ัญหา

159 5.4 ข้อเสนอแนะทีได้จากการศึกษา 5.4.1 กระทรวงศึกษาธิการควรประกาศเป็ นนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พัฒนาการเรียนการสอนทีมุ่งเน้น “ความรู้คู่คุณธรรม” มุ่งให้มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชาทีสอน พร้อมทั ง กําหนดใหม้ ีการประเมินผลงานการเรียนการสอนด้าน คุณธรรมจริยธรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น จัดทําแบบประเมินก่อนหลังการเรียนการสอน จัดทําเป็ น รายวิชาคุณธรรมจริยธรรมเฉพาะ เป็ นตน้ เพือใหน้ กั เรียนเกิดความตระหนกั ถึงคุณค่าคุณธรรม จริ ยธรรมต่อตนเองและผูอ้ ืน ส่งเสริมให้ครูได้ศึกษาคน้ คว้าและจดั ทําผลงานทางวิชาการที สอดคล้องกับผู้เรียน ไม่ใช่สอดคล้องกับวิทยฐานะของครูและบุคลากรทางการศึกษาเพียงเท่านั น แต่ต้องสอดคล้องกับนักเรียนด้วยโดยให้มีการประเมนิ ผลผ่านกลุ่มนักเรียนตัวอยา่ งตามประเด็นที ศึกษาว่านักเรียนได้เกิดการเปลยี นแปลงทางด้านคุณธรรมจริยธรรม มากนอ้ ยเพียงใด และนําไปใช้ ประโยชนก์ ับตนเองและผู้อนื บ้างหรือไม่ 5.4.2 สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาควรมีการคัดเลือกครูต้นแบบในแต่ละปี การศึกษา ซึง คัดเลอื กจากครูหรือบุคลากรทางการศกึ ษาทีมคี ุณลักษณะพึงประสงค์ตามเกณฑต์ ัวชี วัดคุณธรรม8 ประการและผู้ทีมคี วามประพฤติตามคุณธรรมจริยธรรมตามมาตรฐานวชิ าชีพครู เพือเป็ นแบบอย่าง ทีดีให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาอนื สนับสนุนส่งเสริมให้ครูได้มกี ารพัฒนาตนเองตามเกณฑ์ มาตรฐานวชิ าชีพครู และเพือกระตุ้นใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดความต้องการเพิมทักษะ ความสามารถรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพต่อผู้เรียน เช่น การเข้ารับการอบรมเกียวกับการ พัฒนาสือการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกับนักเรียน ซึงจะทําให้ครูสามารถผลิตสือการเรียนการ สอนทีเหมาะสมตามว ัยของผู้ เรี ยนเป็ นต้น 5.4.3 ผู้บริหารสถานศึกษา ควรนําหลักปรัชญาของโรงเรียน นํามาปฏิบตั ิให้เห็นเป็ น รูปธรรม พร้อมทั งจัดทําแผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียนเน้นการปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรมใหก้ ับครู และนักเรียน โดยทําคู่มอื รูปแบบการบริหารจัดการบทบาทของครูด้านผู้นําทางคุณธรรมจริยธรรม ให้กับครูทุกๆ คน เพอื เป็นการสร้างความตระหนักถึงประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งทีดีให้แก่นักเรียน ตลอดจนให้ครูได้ตระหนักถึงเรืองการให้ความรู้ควบคู่ไปกับคุณธรรมในแต่ละรายวิชาทีสอน โดย ผู้บริหารสถานศึกษามีการติดตามประเมินผลเป็ นระยะๆ เพือจะทําให้ครูได้เกิดการเปลียนแปลง และพัฒนาตนเองให้อยู่ในกรอบของคุณธรรมจริยธรรม 5.4.4 สถาบันการศึกษาทีผลิตบณั ฑิตครูทุกๆ แห่ง ควรเน้นกระบวนการด้านคุณธรรม จริยธรรมทั งในทางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติไปควบคู่กันด้วย เช่น การจัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา ชุมชนให้นักศกึ ษา โดยเน้นกระบวนการทางด้านคุณธรรมจริยธรรมเกียวกบั ความเป็ นครู เป็ นผู้ให้ เป็นผู้เสียสละต่อส่วนร่วม คํานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนร่วมมากกวา่ ส่วนตน

160 5.4.5 ครูและบุคลากรทางการศึกษา ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน เช่น การเชิญปราชญ์ชาวบา้ นหรือทีเรียกว่า “ครูภูมิปัญญา” มาให้ความรู้กบั นักเรียน ในเรืองของภูมิ ปัญญาท้องถิน วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน เพือเป็ นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของ โรงเรียนและชุมชนให้มากขึ น และเป็ นการสร้างความตระหนกั ให้กับนักเรียนในการอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาอันดีงามของชุมชนไม่ให้จางหายไปกับกาลเวลา พร้อมทั งนําภูมปิัญญาทีมีอยูข่ องชุมชนเขา้ มาบรู ณาการใน การเรียนการสอน เช่น การนําเอาอาชีพของชุมชนมาถ่ายทอดให้นักเรียนได้เรียนรู้ เช่น เครืองจักรสาน ทอผ้าไหม เลียงหมู เลี ยงวัว และอืนๆ ทีมีในชุมชน เพือเป็ นการสร้างบรรยาย ใหน้ ่าสนใจในการเรียนรู้ของนกั เรียน พร้อมทั งเป็ นการแลกเปลียนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูใน ระบบ กับ ครูภมู ิปัญญา อกี ด้วย 5.5 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครังต่อไป 5.5.1 ควรศึกษาวิจัยเปรียบเทียบบทบาทของครูด้านผู้นําคุณธรรมจริยธรรมโรงเรียนรัฐ และโรงเรียนเอกชน 5.5.2 ควรมกี ารวจิ ัยเกียวกับความต้องการพัฒนาตนเองตามหลักคุณธรรมจริยธรรมของ ข้าราชการครู เพือเป็นข้อมูลสนับสนุนส่งเสริมให้ครูได้มกี ารพัฒนาตนเองได้ตรงกับความต้องการ ของหลักวชิ าชีพ และความคาดหวังของคนในสังคม 5.5.3 ควรมีการวิจัยบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาด้านคุณธรรมจริยธรรม เพือเป็ นต่อ ยอดงานวิจัยนี และเป็นการสะท้อนความคิดเห็นต่อครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหต้ ระหนักถึง คุณธรรมจริยธรรมในการทํางานมากขึ น 5.5.4 ควรศึกษาวิจัยความต้องการของครูในด้านการใช้เทคโนโลยีและสือการสอน 5.5.5 ควรศึกษาวิจัยเกียวกับปัจจัยทีส่งผลต่อการศกึ ษาในการประกอบวิชาชีพครู 5.5.6 ควรศกึ ษาวิจัยทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศกึ ษาทีมีต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ ของครูในสถาบันการศกึ ษาของรัฐ 5.5.7 ควรศึกษาวจิ ัยความต้องการของผู้ปกครองนกั เรียนทีมีต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ ของครูในระดับมัธยมศกึ ษา

บรรณานกุ รม กรมการศาสนา. สาํ นักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม. 2550. คมู อื โครงการพระสอนศีลธรรมใน โรงเรียน (การเรยี นการสอน). กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2521. หลักการวิธีการจดั จรยิ ศกึ ษาและหัวขอ จรยิ ธรรมสาํ หรบั ใชอ บรมสั่ง สอนนกั เรียน นกั ศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรสุ ภาลาดพราว. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2526. คณุ ลักษณะนกั เรยี นท่ีพงึ ประสงคต ามหลกั สตู รมธั ยมศึกษาตอนตน พ.ศ. 2524. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พก ารศาสนา. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2543. กิจกรรมสง เสริมการอาน. พมิ พคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค รุ สุ ภา ลาดพราว. กฤษฏา นนั ทเพชร, พระมหา. 2540. ทศั นคตขิ องพระสงฆต อบทบาทการพัฒนาสงั คม. วิทยานิพนธปริญญามหาบณั ฑติ สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร. กวี วงศพ ฒุ . 2539. ภาวะผนู ํา. พิมพค รง้ั ท่ี 4. กรงุ เทพฯ: ศูนยส งเสรมิ วชิ าชพี บัญช.ี กัญญวรรณ ปน เงิน. 2548. ทศั นะของพระสงฆต อ บทบาทการพฒั นาคนพกิ าร. ภาคนพิ นธ ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพฒั นาสังคมและส่ิงแวดลอม สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริ หารศาสตร. กิตตนิ นั ท ยงู ทอง. 2544. ทัศนะของนสิ ติ ตอบทบาทการสอนของอาจารย: ศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณร าชวทิ ยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. ภาคนพิ นธ ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพฒั นาสังคมและสงิ่ แวดลอม สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริ หารศาสตร. กรี ติ บุญเจือ. 2538. ชดุ พ้ืนฐานปรชั ญาจรยิ ศาสตรส าํ หรบั ผูเ ร่ิมเรียน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานชิ . จงกลณี มณีเดช. 2544. การปฏบิ ัตติ ามบทบาทอาจารยท ป่ี รึกษาในทศั นะของนักศกึ ษา คณะ ศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม. สารนิพนธศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขา บรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.

162 จํานงค อัญญวรวทิ ย. 2546. บทบาทหนา ทคี่ าดหวงั และบทบาททีเ่ ปน จรงิ ในการบรหิ ารงาน วิชาการของผบู ริหารสถานศกึ ษา สงั กัดสาํ นักงานการประถมศึกษาจงั หวัดยะลา. ภาคนพิ นธศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพฒั นาสงั คมและส่งิ แวดลอม สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร. จาํ เรยี ง ภาวิจติ ร. 2536. สาธารณมิต:ิ เอกสารการสอนชดุ วิชาสงั คมศกึ ษา 4. กรุงเทพฯ: สาร มวลชน. จิตราภรณ ทองไทย. 2552. ปจ จยั ดานวฒั นธรรมท่สี งผลตอการจดั การความรใู น สถาบนั อดุ มศกึ ษา: กรณีศกึ ษา สถาบันอุดมศกึ ษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานพิ นธปรญิ ญามหาบัณฑติ สถาบันบณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร. จริ วฒั น วงศส วสั ดิวัฒน. 2536. ทศั นคติ ความเชอ่ื พฤตกิ รรม: การวดั การพยากรณ และการ เปล่ยี นแปลง. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยอัสสมั ชัญ. เฉลียว บุรีภกั ดี และคณะ. 2520. รายงานผลการวจิ ัยเร่ืองลกั ษณะของครูทดี่ .ี กรุงเทพ ฯ : โรงพมิ พตํารวจ. ชานนท เสาเกลยี ว. 2552. คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของครธู ุรกจิ ตามทศั นะของนกั ศึกษา ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู ชัน้ ปท ี่ 2 ปการศึกษา 2551 โรงเรียนไทยบริหารธุรกจิ และพณิชยการ กรงุ เทพมหานคร. สารนพิ นธ การศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าธรุ กจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. ชาํ เลอื ง วุฒจิ นั ทร. 2524. การพฒั นาจรยิ ธรรมสําหรับนกั เรียนในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โอ เดียนสโตร. ชูชพี ไวกสกิ รรม. 2552. คุณลักษณะครูท่ปี รกึ ษาทีพ่ งึ ประสงค ตามทศั นะของนกั ศกึ ษา ศนู ย การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภออรัญประเทศ จังหวดั สระแกว . สารนพิ นธการศกึ ษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ฑติ ยา สวุ รรณะชฎ. 2527. สังคมวทิ ยา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ . ดิลก ถอื กลา . 2547. การบรหิ ารคน. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัทการจดั การธุรกจิ . ทศพร อินจําปา, พระมหา. 2547. บทบาทมหาวิทยาลัยสงฆใ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย กรณีศกึ ษาบัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . ภาคนิพนธ โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย สถาบันบัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร. ธงชยั สันติวงษ. 2540. พฤติกรรมองคการ: การศึกษาการบริหารพฤตกิ รรมองคการเชิงบริหาร. พิมพค รง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ .

163 ธรี พฒั น คาํ คูบอน. 2548. ทัศนคตขิ องขา ราชการครูสงั กัดสํานักงานการศึกษาขั้นพน้ื ฐานตอ ใบ ประกอบวชิ าชพี ครู: กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร. ภาคนพิ นธศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต คณะพัฒนาสงั คมและสงิ่ แวดลอ ม สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร. นพพงษ บุญจติ ราดลุ . 2551. หลกั การ และทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรงุ เทพฯ: เทียมฟา . นอ งนชุ ประสมคํา. 2546. บทบาทเยาวชนดเี ดน อาสาสมคั รในงานพฒั นาสงั คม. วทิ ยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจา พระยา. นริ นั ดร กมลาพร. 2549. บทบาทของครใู นการอนรุ กั ษท รพั ยากรปาไม ศึกษากรณีเขตพนื้ ที่ลุม แมนํา้ สรวย ตาํ บลวาวี อําเภอสรวย จงั หวดั เชียงราย. ภาคนพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหา บณั ฑิต คณะพฒั นาสงั คมและสงิ่ แวดลอม สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร. เนตรพ ัณณา ยาวริ าช. 2550. ภาวะผูนาํ และผูนาํ เชงิ กลยทุ ธ. กรุงเทพฯ: เซน็ ทรัลเอ็กซเพรส. บุญสง หาญพานชิ . 2546. การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารจัดการความรูใ นสถาบนั อดุ มศกึ ษาไทย. วิทยานิพนธด ษุ ฎีบัณฑติ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย. บุษบา แดงวจิ ติ ร. 2550. ทศั นะของนักเรยี นตอการจัดการเรยี นการสอนในโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาควบคสู ามัญ: ศึกษากรณี โรงเรียนอิสลามสันตชิ น เขตวงั ทองหลาง กรงุ เทพมหานคร. ภาคนพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพัฒนาสงั คมและ สิง่ แวดลอ ม สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร. ประพนั ธ ผาสุกยดื . 2541. ทางเลือก ทางรอด. กรุงเทพฯ: เอเอาร อินฟอรเ มช่ัน แอนด พับบลิเคชน่ั . ประภาศรี สีหอาํ ไพ. 2535. พน้ื ฐานการศึกษาทางศาสนาและจรยิ ธรรม. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลัย. ประภาศรี สีหอาํ ไพ. 2543. พ้นื ฐานการศกึ ษาทางศาสนา และจรยิ ธรรม. พมิ พค รั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั . ปยนุช คนื คงด.ี 2546. ความคดิ เหน็ ของขาราชการครตู อ การดาํ เนนิ งานตามนโยบายปฏริ ปู การศกึ ษา ศกึ ษาเฉพาะขาราชการครู สหวทิ ยาเขตวังทองหลาง กรมสามญั ศึกษา. ภาคนพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ คณะพฒั นาสงั คมและสง่ิ แวดลอม สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. พงศ หรดาล. 2546. จติ วทิ ยาอตุ สาหกรรม. พิมพครง้ั ท่ี 5. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. พรทิพย อยั ยมิ าพันธ. 2547. การบรหิ ารคน. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยุตโฺ ต). 2539. ศาสนาและเยาวชน. กรงุ เทพฯ: มูลนิธิพทุ ธธรรม. พระราชวรมนุ .ี 2518. ศาสนา: หนทางรอดของชีวิต. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพก รมศาสนา.

164 พระราชวรมุน.ี 2528. ปรัชญาการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพเคลด็ ไทย. พระราชวรมุนี (ประยทุ ธ ปยตุ .โต). 2528. พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม มหา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . กรงุ เทพฯ: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . เพญ็ ศรี พมุ เทย่ี ง. 2545. บทบาทการพ่ึงตนเองของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 6 ในครอบครัว สมัยใหม เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สถาบันราชภฏั สวนสมเดจ็ เจาพระยา. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหา. 2531. วนิ ยั สําหรับนักปฏบิ ตั งิ าน พระบรม ราโชวาทและพระราชดาํ รสั . กรงุ เทพฯ: โรงพิมพก รงุ เทพ. มลั ลิกา ตนสอน. 2544. พฤติกรรมองคก าร. กรุงเทพฯ: ดา นสทุ ธาการพิมพ. มาลี ควรคะนงึ . 2545. วัฒนธรรมโรงเรยี นทสี่ ง ผลตอ บทบาทที่ปฏบิ ัตจิ รงิ ของผูบรหิ ารโรงเรียน มัธยมศึกษาสงั กัดกรมสามญั ศึกษาจังหวดั นครปฐม. วทิ ยานพิ นธปริญญามหาบณั ฑติ สถาบันราชภัฎบา นสมเด็จเจาพระยา. มุกดา สุนทรรัตน. 2547. การสรา งคนไปสูผนู ําขององคก รในอนาคต. การบริหารคน. กรงุ เทพฯ: ม.ป.พ. ยนต ชุมจิต. 2546. การศึกษาและความเปน ครูไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ยนิ ดี รักสนิท. 2545. บทบาทของครูในการเรียนการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสาํ คัญในทศั นะของ นักเรียน: ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนบา นนคิ มสรางตนเองธารโต อําเภอธารโต จงั หวดั ยะลา. ภาคนพิ นธศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพฒั นาสังคมและสิ่งแวดลอ ม สถาบัน บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร. รงั สรรค ประเสริฐศร.ี 2544. ภาวะผูนาํ . กรุงเทพฯ: ธนธชั การพิมพ. รงั สรรค วรรณศรี. 2541. ทัศนะของตํารวจสนั ตบิ าลทม่ี ีตอ การใชเทคโนโลยสี มยั ใหมในการ สบื สวนหาขา ว. สารนพิ นธ คณะรฐั ศาสตร สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รตั นวดี โชติกพนชิ . 2550. จริยธรรมและจรรยาบรรณในวชิ าชพี ครู. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง. ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2524. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. ราชบัณฑติ ยสถาน. 2525. พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพก ารศาสนา. ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2530. พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พการศาสนา. ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2544. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานฉบบั นกั เรียน พ.ศ.2544. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพการศาสนา.

165 ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2547. พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ฉบับมตชิ น. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นา พานิช. รุง แกว แดง. 2543. ปฏิวตั กิ ารศึกษาไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย. วศนิ กาญจนวณิชยกุล. 2549. กฎหมายการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลัยมหา จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. วลั ภา ล่ิมสกลุ . 2547. บทบาทอาจารยท ป่ี รกึ ษาในทัศนะของนักศกึ ษา คณะธุรกจิ การเกษตร มหาวทิ ยาลัยแมโ จ. ทนุ สนับสนุนจากกองทนุ สนับสนุนงานวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยแมโ จ. วิภาดา คุปตานนท. 2544. การจัดการและพฤตกิ รรมองคการ. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั รังสติ . ศศิพรรณ บวั ทรพั ย. 2547. ความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลยั รามคําแหงตอปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง. ภาคนพิ นธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคมและ ส่งิ แวดลอ ม สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร. สมบูรณ พรรณนาภพ. 2526. จรยิ ศาสตรศ กึ ษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร. สมยศ นาวกี าร. 2540. การบริหารและพฤตกิ รรมองคการ. กรุงเทพฯ: ผจู ัดการ. สมยศ นาวกี าร. 2544. การบริหารแบบมีสว นรวม. กรุงเทพฯ: บรรณกจิ 1991. สมศักดิ์ ดลประสทิ ธ.์ิ 2543. คณุ ธรรมและจิตสาํ นึกของขา ราชการคร.ู พมิ พครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ: ศรีเมอื งการพิมพ. สมหมาย ลกู อินทร. 2550. ความคิดเหน็ ของประชาชนตอการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาทข่ี อง เทศบาลในการพัฒนาทอ งถิ่น: ศึกษากรณี เทศบาลตาํ บลคอกชาง ตําบลแมหวาด อาํ เภอธารโต จังหวัดยะลา. ภาคนิพนธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพฒั นาสงั คมและ ส่ิงแวดลอม สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร. สรอยตระกลู (ตวิ ยานนท) อรรถมานะ. 2543. พฤติกรรมองคการ: ทฤษฎีและการประยกุ ต. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร. สายรงุ นนั ตะรตั น. 2550. ปจจัยท่ีมคี วามสัมพันธก บั ทศั นะของนักเรียนมัธยมปลายตอ พฤติกรรม กา วรา ว: กรณีศึกษาโรงเรียนสามัคควี ทิ ยาคม อาํ เภอเมอื ง จังหวัดเชยี งราย. ภาค นิพนธศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต คณะพัฒนาสงั คมและส่งิ แวดลอ ม สถาบนั บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร. สารานุกรมเสรี. 2553. สถาบันอุดมศึกษา. คน วนั ท่ี 20 เมษายน 2553 จาก http://th.wikipedia.org/สถาบนั อดุ มศกึ ษา.

166 สาํ นกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา. 2541. เกณฑมาตรฐานวชิ าชีพคร.ู กรงุ เทพฯ: โรงพิมพครุสภุ า ลาดพรา ว. สาํ นักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา. 2544. แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณคร.ู กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ คุรุสภา ลาดพรา ว. สุจิตรา ชน้ิ อาภรณ. 2546. การศึกษาบทบาทของอาจารยทป่ี รกึ ษาในการทําหนา ทีแ่ นะแนวตาม ทศั นะของนักเรยี นระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี และทศั นะของอาจารยท ีป่ รึกษา โรงเรียนพานชิ ยการ ราชดําเนนิ ธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร. วิทยานพิ นธป ริญญา การศึกษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. สเุ ทพ พงศศรีวฒั น. 2545. ภาวะผนู าํ : ทฤษฎีการปฏบิ ัต.ิ กรุงเทพฯ: บคุ ลงิ้ ค. สพุ รรณี ไชยอาํ พร. 2550. รูปแบบแหลงเรยี นรูดานคณุ ธรรมเพอ่ื การพัฒนาชุมชนอยางยง่ั ยนื . กรุงเทพฯ: ศนู ยส ง เสรมิ และพฒั นาพลงั แผน ดนิ เชิงคณุ ธรรม. สภุ ลกั ษณ พฆนิ กลุ . 2546. ทัศนคติตอ การศกึ ษาตอ ระดบั อุดมศึกษาของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษา ปท ี่ 6 โรงเรียนวเิ ชยี รกลิ่นสคุ นธอ ุปถมั ภ อาํ เภอวังนอ ย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา. ภาคนพิ นธศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต คณะพฒั นาสงั คมและสง่ิ แวดลอ ม สถาบันบณั ฑติ พฒั น บรหิ ารศาสตร. สุรางค โคว ตระกูล. 2541. จติ วิทยาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: สํานักพมิ พแ หงจฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลัย. สวุ มิ ล จรี ะทรงศร.ี 2552. ผลสัมฤทธ์ขิ องการกวดวชิ าและการสอบคดั เลอื กเขา สถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ. วทิ ยานิพนธป รญิ ญามหาบณั ฑติ สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร. เสนาะ ตเิ ยาว. 2543. หลักการบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร. เสริมศกั ด วิศาลาภรณ. 2530. ภาวะผนู าํ และความขัดแยง . วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒประสานมิตร. อนุชา มลู คาํ . 2548. ความคิดเหน็ ของประชาชนในการบริหารงานขององคก ารบริหารสวนตําบลท่ี มกี ารบริหารจัดการทด่ี :ี ศกึ ษาเฉพาะกรณอี งคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง อาํ เภอแมฟา หลวง จงั หวัดเชยี งราย. ภาคนพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพฒั นา สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร. อนุธดิ า อนชุ าติสันต.ิ 2551. การสอนคณุ ธรรมจรยิ ธรรมแกน ักกฎหมาย: กรณศี ึกษานักศกึ ษา คณะนิตศิ าสตร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร. สารนพิ นธ วทิ ยาลยั ศาสนศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหดิ ล.

167 อัปสร ยิ่งเจริญ. 2543. ทศั นะของนักเรียนตอบทบาทของครูในการเรยี นการสอนแบบเนน ผูเรียน เปนศนู ยกลาง. ภาคนิพนธศ ลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต คณะพัฒนาสงั คมและสิง่ แวดลอม สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร. อนิ ถา ศิริวรรณ. 2544. พืน้ ฐานการศึกษา. กรุงเทพฯ: สตู รไพศาล. อินถา ศิริวรรณ. 2551. ความเปน คร.ู กรงุ เทพฯ: คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณร าช วิทยาลัย. Gibson, J.L.; Ivancevich, J.M. and Donnelly, J.H. 1997. Organization Behavior Structure Process. 9th ed. New York : McGraw-Hill. Graen, G. B. and Hui, C. 1999. Transcultural Global Leadership in the Twenty-first Century: Challenges and Implications for Development. In Advances in Global Leadership. Vol. 2. W. H. Mobley (Ed.). Stamford, CT: JAI Press. Pp. 9-26. Graen, G. B.; Hui, C.; Wakabayashi, M. and Wang, Z. M. 1997. Cross-cultural Research Alliances in Organizational Research. In Perspectives on International Industrial/Organizational Psychology. P. C. Earley and M. Erez (Eds.). San Francisco, CA: Jossey-Bass. Pp. 160-189. Hartog, D.N. and Koopman, P.L. 2001. Leadership in Organization: Handbook of Industrial, Work, and Organizational Psychology. Vol. 2. Organizational Psychology. London: Sage. House, R. J. and Aditya, R. N. 1997. The Social Scientific Study of Leadership: Quo vadis Journal of Management 23(3): 409-473. House, R. J.; Hanges, P.; Ruiz-Quintanilla, S. A. and Dickson, M. W. 1997. The Development and Validation of Scales to Measure Societal and Organizational Culture. Under review. House, R. J.; Wright, N. S. and Aditya, R. N. 1997. Cross-cultural Research on Organizational Leadership: A Critical Analysis and a Proposed Theory. In New Perspectives in International Industrial Organizational Psychology. P. C. Earley and M. Erez (Eds.). San Francisco, CA: New Lexington Press. Pp. 535-625. Muchinsky, P.M. 2003. Psychology Applied to Work: an Introduction to Industrial and Organizational Psychology. 7th ed. North Carolina: Wadsworth.

168 Nelson, D.L. and Quick, J.C. 1997. Organizational Behavior: Foundations Realities, and Challenges. New York: West. Webster, N. 1967. Webster’s New World Dictionary. New York: World.

ภาคผนวก

แบบสอบถาม เรื่อง บทบาทของครดู า นผนู าํ ทางคุณธรรมจรยิ ธรรมในทัศนะของนักศกึ ษา ระดับอุดมศกึ ษา คาํ ช้แี จง แบบสอบถามฉบับนเ้ี ปนสวนหน่ึงของการวิจัยเรื่อง “บทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรม จริยธรรมในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี” คําตอบท่ีทานใหมี ความสําคญั อยางยิ่งตอการวิจัยและการพัฒนาทางการศึกษา กรุณาตอบแบบสอบถามตามความเปน จรงิ ตามความคดิ เหน็ ของทาน ขอมูลตางๆ ทีท่ านตอบ ผูว ิจัยจะถือวาเปนความรับ เพ่ือการใชในการ วิจยั คร้ังนี้เทาน้ันและขอขอบพระคณุ อยางสูงท่ีไดท า นกรณุ าเวลาใหค วามรว มมอื ดว ยเปน อยางดี แบบสอบถามฉบับนีแ้ บงออกเปน 5 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ขอ มูลปจ จัยดา นบคุ คลเกีย่ วกับผตู อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ขอมูลปจจยั ดานครอบครวั เก่ียวกบั ผตู อบแบบสอบถาม ตอนที่ 3 เปนขอ มลู ปจ จัยดานอื่น ๆ เกี่ยวกบั ผตู อบแบบสอบถาม ตอนที่ 4 ขอมูลเก่ียวกับทัศนะของนักศึกษาตอบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรม จรยิ ธรรม แบง ออกเปน 3 ดาน คือ 1. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอ วิชาชีพ 2. คุณธรรมจริยธรรมตอ ผเู รียน 3. คุณธรรมจรยิ ธรรมตอ ชุมชน ตอนท่ี 5 ปญหาอุปสรรค ขอเสนอแนะขอคิดเห็นตางๆ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุง แกไข ในดานบทบาทของครูดานผูนําทางคุณธรรมจริยธรรมใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนตลอดจนเปน ผลสะทอ นใหครไู ดป รับปรุงแกไ ขดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมมากข้นึ

171 สวนที่ 1 ขอมูลปจจยั สวนบคุ คลเก่ยี วกับผูตอบแบบสอบถาม คาํ ช้ีแจง กรณุ ากาเครอื่ งหมาย 9 ลงใน ( ) และกรอกขอ ความลงในชองวางตรงกบั การปฏิบัตติ าม ความเปน จริง 1. เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย 2. อาย.ุ ....................ป 3. สาขาทจี่ บกอ นเขาศกึ ษา ( ) ปวช. ( ) จบมธั ยมศกึ ษาปที่ 6 ( ) อ่นื ๆ (โปรดระบุ).............................. ( ) ปวส. 4. ผลการเรยี นเฉลย่ี ในปส ดุ ทายกอนเขาศกึ ษาตอ .................................................................... 5. ปจ จบุ นั กําลงั ศึกษาอยูชั้นปท.่ี ............................................................................................ 6. คณะท่กี าํ ลงั ศึกษาอยใู นปจ จบุ ัน......................................................................................... 7. สถาบนั อดุ มศกึ ษาทกี่ าํ ลงั ศกึ ษา ( ) มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี ( ) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี ( ) มหาวิทยาลยั ราชธานี ( ) มหาวิทยาลัยการจดั การและเทคโนโลยอี สี เทิรน 8. ภมู ลิ าํ เนาของทา นกอ นเขา ศึกษา ( ) จังหวดั ศรสี ะเกษ ( ) จังหวดั อบุ ลราชธานี ( ) จังหวดั ยโสธร ( ) จงั หวดั อํานาจเจรญิ ( ) อน่ื ๆ (โปรดระบุ).................................... ( ) จงั หวดั มุกดาหาร  

172 สวนท่ี 2 ขอ มูลปจจัยดานครอบครัวเก่ยี วกบั ผูต อบแบบสอบถาม 9. ระดบั การศกึ ษาของบดิ า ( ) ไมไ ดศ กึ ษา ( ) สาํ เรจ็ การศกึ ษาประถมศึกษา ( ) สาํ เร็จการศึกษามัธยมศกึ ษาตอนตน ( ) สําเร็จการศกึ ษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย ( ) สาํ เร็จการศกึ ษาระดับอนปุ ริญญา ( ) สาํ เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี ( ) อ่ืนๆ (โปรดระบุ).................................... 10. ระดบั การศึกษาของมารดา ( ) ไมไ ดศกึ ษา ( ) สําเร็จการศึกษาประถมศึกษา ( ) สาํ เรจ็ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาตอนตน ( ) สาํ เร็จการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ( ) สาํ เร็จการศกึ ษาระดบั อนุปรญิ ญา ( ) สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญาตรี ( ) อืน่ ๆ (โปรดระบ)ุ .................................... 11. อาชีพของบิดา ( ) พนกั งานองคก รของรัฐ/รฐั วสิ าหกจิ ( ) ขา ราชการ ( ) ธุรกิจสวนตัว ( ) พนกั งานองคก รเอกชน ( ) คา ขาย ( ) เกษตรกร ( ) อน่ื ๆ (โปรดระบุ)...................... 12. อาชพี ของมารดา ( ) พนกั งานองคกรของรัฐ/รฐั วสิ าหกจิ ( ) ขาราชการ ( ) ธุรกิจสว นตัว ( ) พนกั งานองคกรเอกชน ( ) คา ขาย ( ) เกษตรกร ( ) อน่ื ๆ (โปรดระบุ)..................... 13. รายไดของบิดาตอ เดอื น..........................................................................บาท 14. รายไดของมารดาตอ เดอื น.......................................................................บาท  

173 สวนท่ี 3 คําถามเกี่ยวกบั ปจ จยั ดานอื่นๆ ของผตู อบแบบสอบถาม 15. ญาติพี่นอ งของทานประกอบอาชีพขา ราชการครูกีค่ น ( ) ไมมี ( ) 1 คน ( ) 2 คน ( ) 3 คน ( ) 4 คน ( ) 5 คน 16. ทานเคยเขา รวมกจิ กรรมเกีย่ วกับคุณธรรมจริยธรรมของมหาวิทยาลยั ท่ีจดั ขน้ึ หรือไม ( ) ไมเคยเขา รวมกิจกรรม ( ) เคยเขา รว มกจิ กรรม 17. ทานมีความชนื่ ชอบในอาชพี ครูมากนอ ยเพยี งใด ( ) มากทส่ี ดุ ( ) มาก ( ) ปานกลาง ( ) นอ ย ( ) นอ ยทีส่ ุด ( ) ไมช อบเลย 18. ทา นรบั รูขอ มูลขาวสารจากส่อื ประเภทใดบา ง (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ) ( ) วิทยุ ( ) โทรทศั น ( ) หนังสอื พิมพ ( ) อนิ เตอรเ นต็ ( ) วารสารตางๆ ( ) อ่นื ๆ (โปรดระบุ)......................... 19. ทานเห็นดวยหรอื ไมก บั นโยบายการ พัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื ใหไ ด ครูดี ครเู กง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมวี ทิ ยฐานะสงู ขน้ึ ของรฐั บาลปจจบุ ัน ( ) เหน็ ดว ยอยา งยิง่ ( ) เหน็ ดว ย ( ) ไมแ นใ จ ( ) ไมเห็นดว ย ( ) ไมเหน็ ดว ยอยา งยงิ่ ( ) ไมท ราบ  

174 สวนท่ี 4 ขอ มูลเก่ียวกบั ทัศนะของนักศึกษาตอ บทบาทของครดู า นผนู ําทางคณุ ธรรม จรยิ ธรรม โดยแบงออกเปน 3 ดาน คือ 1. คุณธรรมจรยิ ธรรมตอ วิชาชีพ 2. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอ ผูเรยี น 3. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอชมุ ชน คําชี้แจง กรณุ ากาเคร่อื งหมาย 9 ลงใน ( ) ทีต่ รงกับความคดิ เห็นของทานตอบทบาทของครทู ไี่ ด ปฏิบตั ใิ นปจ จบุ นั ระดบั ความคดิ เห็น บทบาทของครู เห็นดว ย เหน็ ดว ย ไม ไมเ หน็ ไมเห็น อยางยงิ่ แนใ จ ดว ย ดวย ดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอวชิ าชพี อยางย่ิง 1. ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวชิ าการเกยี่ วกับ การพัฒนาวิชาชพี ครอู ยูเ สมอ 2. ตดั สินใจปฏิบตั กิ จิ กรรมตางๆ โดย คํานึงถึงผลทจ่ี ะเกดิ แกผูเรยี น 3. มุงมัน่ พฒั นาผูเ รยี นใหม พี ฒั นาการ อยา งเต็มที่ 4. พัฒนาแผนการเรียนรใู หส ามารถ ปฏบิ ตั ไิ ดเ กดิ ผลจรงิ 5. พัฒนาส่อื การเรยี นการสอนใหมี ประสิทธิภาพอยูเสมอ 6. จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดย มงุ เนนไดเกดิ ผลสัมฤทธกิ์ บั ผูเรียน 7. รายงานผลการพฒั นาคุณภาพของ ผูเ รียนไดอ ยา งมรี ะบบ 8. ปฏบิ ัตติ นเปนแบบอยา งท่ดี ีแกน กั เรยี น  

175 ระดับความคดิ เหน็ บทบาทของครู เห็นดว ย เห็นดว ย ไม ไมเ ห็น ไมเหน็ อยา งยิง่ แนใ จ ดวย ดว ย อยางยิ่ง 9. มปี ฏิสัมพนั ธใ นสถานศึกษาอยาง สรา งสรรค 10. แสวงหาและใชขอมูลขาวสารโดยการ ใชเ ทคโนโลยสี มยั ใหมมาพฒั นาการเรียน การสอนใหทนั สมัยอยตู ลอดเวลา 11. สรางโอกาสใหผเู รียนไดเรยี นรูตาม อัธยาศัยไดตลอดเวลา 12. พัฒนาศกั ยภาพตนเองโดยเขารบั การ อบรม สัมมนา ของ หนวยงาน หรือ องคกรตาง ๆ 13. พฒั นาตนเอง เพื่อกาวสคู วามเปน ผูนําทางการศกึ ษาของประเทศ ดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอผเู รียน 14. ใหการอบรมสั่งสอนคณุ ธรรม จริยธรรมนักเรยี นควบคูกบั กิจกรรมการ เรยี นการสอน 15. จดั การเรยี นการสอนจาก ประสบการณต รง หรอื บทบาทสมมุติ 16. จัดการเรยี นการสอนมงุ เนนให นกั เรียนศกึ ษาคนควาขอ มลู และอภิปราย พรอ มสรุปผล 17. ใหการยกยองชมเชย หรือ ใหขวัญ และกาํ ลังใจแกน กั เรยี น  

176 ระดับความคดิ เหน็ บทบาทของครู เห็นดว ย เห็นดว ย ไม ไมเ ห็น ไมเ หน็ อยา งย่งิ แนใ จ ดวย ดว ย อยางย่งิ 18.มที กั ษะการพดู ใหน กั เรยี นมีกําลังใจ มุงมน่ั ทจ่ี ะพฒั นาตนเองใหเ ปน คนดี 19.มีความอดทนตอพฤตกิ รรมตา งๆ ของ ผเู รยี นไมวา จะเปนดานบวกหรอื ดา นลบ 20.ใหการอบรมส่ังสอนลูกศษิ ยด ว ยความ เมตตา 21.มีจติ วทิ ยาของความเปน ครู ท่จี ะชวย แกป ญหาทกุ ดา นใหแ กลูกศษิ ย 22.มีความมงุ ม่นั ต้งั จรงิ ใจตอ การอบรมส่งั สอนคณุ ธรรมจริยธรรมนักเรียน 23.ครผู สู อนประพฤติตนเปน แบบอยา งท่ี ดีในเรอ่ื งคณุ ธรรมจริยธรรม ดา นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอ ชมุ ชน 24. ครูเปน ผูใหความชว ยเหลือมีความเอ้อื อาทรแกชมุ ชน 25. ครปู ระพฤติเปนแบบอยางท่ดี ี เปน คนมคี วามสุภาพออ นโยนตอ สาธารณชน 26. ครเู ปนศาสนิกชนทด่ี ีตามหลักศาสนา ของตน 27. ครูเปน ผใู หความรักและเมตตาตอทกุ คน ปฏบิ ตั ิตามกฎของสังคมในการอยู รว มกนั  

177 ระดบั ความคดิ เห็น บทบาทของครู เหน็ ดว ย เห็นดว ย ไม ไมเหน็ ไมเหน็ อยางยง่ิ แนใ จ ดวย ดว ย อยา งยง่ิ 28. ครเู ปนผมู ีจิตใจหนกั แนน ไมหว่ันไหว ตอทุกสถานการณ 29. ครเู ปนผมู ีความอดทนและมคี วาม เพยี รในการเผยแผค วามรูใ หแ กชมุ ชน 30. ครูใหความรวมมอื และเขารว ม กจิ กรรมตางๆ ทท่ี างชุมชนจดั ขึ้น 31. ครูเปนผมู สี ว นรวมในการอนรุ กั ษ และพัฒนาภมู ปิ ญญาทองถิน่ 32. ครูมีบุคลิกภาพความเปน ผนู าํ ในการ อนรุ กั ษว ัฒนธรรมไทย 33. ครูวางตัวเปนกลางในทกุ เหตกุ ารณท ี่ เกดิ ขน้ึ ในชุมชน 34.ครูมคี วามยตุ ิธรรมในการตัดสนิ ปญหา ท่ีเกดิ ขึน้ ในชมุ ชน มีจติ ใจทเี่ ปน กลางไม เอนเอยี งฝายใดฝายหน่งึ 35. ครูเปน ผูมีความศรทั ธาในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ   

178 ตอนท่ี 5 ปญ หาอุปสรรค/ ขอเสนอแนะตอ บทบาทของครดู า นผูน าํ ทางคุณธรรม จรยิ ธรรม 1. ปญ หาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. ขอ เสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ขอขอบคุณทก่ี รณุ าตอบแบบสอบถาม  

ช่ือ – นามสกุล ประวตั ิผูเขียน ประวตั กิ ารศกึ ษา นายอทุ ิศ ทาหอม ประสบการณท าํ งาน พ.ศ. 2553 – ปจจบุ ัน พทุ ธศาสตรบ ัณฑติ (ครศุ าสตร สาขาสงั คมศกึ ษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณร าชวทิ ยาลยั ปที่สาํ เร็จการศกึ ษา 2551 นักวจิ ัย สํานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย (สกว.) ฝาย ทอ งถิ่น ศูนยป ระสานงานนกั วชิ าการจังหวดั อบุ ลราชธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook