36 2540: 205) ทั งนี เพราะภาวะผู้นํานั นเป็ นเรืองทีสมั พันธ์กบั ตัวแปรอีกมากมายซึ งไม่ได้หยุดนิง หากแต่เปลียนแปลง เคลือนไหวอยู่เสมอ 8) คุณลักษณะของผู้นําตามหลักพระพทุ ธศาสนา หากพจิ ารณาถงึ สังคมของประเทศไทย พระพทุ ธศาสนาถอื เป็นศาสนาหลักประจํา ชาติ การนําเอาหลักธรรมคําสังสอนของพระพุทธศาสนามาประยกุ ตใ์ ช้ก็น่าจะเอือกับวัฒนธรรม ไทยไม่มากกน็ ้อย การนําหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ก็เพือการเป็ นผู้นําทีดี และคําสังสอนทีสําคัญๆ ของพระพุทธองค์ทีแสดงให้เห็นถงึ ลักษณะของผู้นําทีดี หรือวถิ ที างของการทีจะเป็ นผู้นําทีดีเพือใช้ สําหรับเป็นแนวทางทีจะนําไปปฏบิ ัติ(พงศ์ หรดาล, 2546: 163) ได้แก่ ทศพิธราชธรรม10 ประการ, อธิษฐานธรรม 4, พรหมวหิ ารธรรม 4, อคติ 4, คหิสุข 4, สังคหะวัตถุ4, ขันติโสรัจจะ หิริโอตัปปะ, อิทธิบาท 4, เวสารัธชกรณะ 5, ยุติธรรม 5, อปริหานิยธรรม 7, นาถกรณธรรม 10, กัลยาณมติ รธรรม 7 และบารมี 10 ประการ (ทศบารม)ี ซึงสามารถนํามาประยุกต์ใช้กับการบริหราและจัดการสมัยใหม่ ไดใ้ ส่ข้อความทีไม่จัดรูปแบบทีนีโดยจะขอยกตัวอย่างเพียงบางหลักธรรมมาอธิบายดังนี อคติธรรม 4 (Prejudice) คือ ความโอนเอียงแห่งอารมณ์ ผดุ ขึ นมาจากความเหลือม ลํ าตําสูง และช่องว่างในสังคม4 ประการ 1) ฉันทาคติ (Prejudice Caused by Love or Desire) ลําเอียงโดย สนับสนุนพรรคพวกทีชอบพอ หรือผู้จ่ายสินจ้างแก่ตน 2) โทสาคติ (Prejudice Caused by Hatred or Enmity) ลําเอยี งเข้าข้างหรือ ลงโทษฝ่ ายทีตนเกลยี ดชังให้หนักกวา่ ฝ่ ายทีตนชอบพอ 3) โมหาคติ (Prejudice Caused by Delusion or Stupidity) ลําเอียงเสีย ความยุติธรรมเพราะโฉดเขลา ไม่รู้ทันเหตุการณ์ทีแท้จริง 4) ภยาคติ (Prejudice Caused by Fear) ขาดดุลยอมร่วมด้วยเพราะเกรง อํานาจอิทธิพลหรือกลัวจะขาดผลประโยชน์ สังคหวัตถุ4 (Base of Sympathy) ธรรมเพือให้ครูเป็นทีรักของคน ซึงได้แก่ 1) ทาน (Giving Offering) คือการให้ เสียสละ แบ่งปันแก่ผู้อืน เช่น การ ให้รางวัลสวัสดิการทีดี เป็นต้น 2) ปิ ยวาจา (Kindly Speech) คือ พูดจาด้วยถ้อยคําสุภาพ นุ่มนวล เหมาะ แก่บุคคล เวลา สถานที พูดในสิงทีเป็ นประโยชน์ พดู ในทางสร้างสรรค์ และเกิดกําลังใจ เช่น การ ควบคุม การจงู ใจ เป็นต้น 3) อัตถจริยา(Useful Conduct) ทําตนให้เป็นประโยชน์ ตามกําลังสติปัญญา ความรู้ความสามารถ กําลงั ทรัพย์ และเวลา เช่น การพัฒนาคน การบริหารงานตามวัตถุประสงค์ เป็ นต้น
37 4) สมานตั ตตา (Even and Equal Treatment) คือทําตนใหเ้ สมอต้นเสมอ ปลาย วางตนเหมาะสมกับ ฐานะ ตําแหน่งหนา้ ทีการงาน ไม่เอาเปรียบผู้อืน ร่วมทุกขร์ ่วมสุข เช่น การสือสาร การมอบอํานาจ เป็นต้น หลักธรรมทั งหลายนี หากผู้นําและบุคคลใดนําไปปฏิบัติก็จะเกิดความมันคงและ ก้าวหน้าในหน้าทีการงาน เป็นทีรักและเคารพของผู้อืน ผู้นําทีมปี ระสิทธิภาพในยุคโลกาภิวัตน์ 9) เครืองมอื ป้ องกันความล้มเหลวสําหรับผู้นํา(Skyhook for Leadership Model) มุกดา สุนทรรัตน์ (2547: 49-50) กล่าวว่า ACSG (THAILAND) CO., LTD ได้แสวงหารูปแบบการ พัฒนาภาวะผู้นําทีเหมาะสมกับองค์การ และเลือกใช้รูปแบบของSkyhook for Leadership Model ซึงเป็นผลงานวิจัยของJohn A Shtocren โดยได้ศึกษาผลงานและจากการเป็นทีปรึกษาใหก้ ับบริษัท ขนาดใหญ่ระดับโลกหลายๆ บริษัท อาทิ AT&T, Coca Cola, Ford, 3M, และUniversity of Michigan เป็นต้น แล้วสรุปแนวทางการบริหารเพือความสําเร็จ7 ขั นตอน ดังนี (1) การกาํ หนดวิสัยทัศน์ (Vision) ผู้นาํ ต้องมีความฝันและจุดมุ่งหมายที ชัดเจนเพอื จะสามารถนําทีมไปสู่จุดหมายนั นๆได้ (2) การให้ความน่าเชือถือแก่ทีม (Trust) ในการทํางานร่วมกันจะประสบ ผลสําเร็จได้ต้องมคี วามไว้วางใจซึงกันและกัน เชือมันในความสามารถของทีมงาน โดยยึดผลงาน เป็นหลัก(Production Oriented) และกระบวนการทํางานจะยึดพนักงานเป็นศูนย์กลาง โดยจะมีการ ให้ความรู้ในงานแก่พนักงานอย่างต่อเนือง (3) การสือสารแบบเปิ ด (Open Communication) คํานึงถึงความสําคัญของ การสือสาร สร้างระบบการทํางานทีสือสารข้อมูลให้พนักงานทราบถึงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และมีส่วน ร่วมในการกําหนดแผนงานและเป้ าหมายในการทํางาน (4) การสร้างงานใหม้ ีคุณค่า (Meaningful Work) ทั งกับตัวผู้นําและทีมงาน สนุกกับงานเพราะได้ปฏิบัติงานทีท้าทาย มอบหมายงานทีเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของ พนักงาน มกี ารจัดคนให้เหมาะกับงาน ประกอบกับผู้นําเป็ นผู้สอนงานทีดี ตลอดจนใหค้ําปรึกษา เมอื พนักงานเกิดปัญหา (5) การมอบอํานาจ(Empowerment) การให้พนกั งานได้รับผิดชอบงานแบบ เบ็ดเสร็จ โดยสร้างมาตรฐานระเบียบปฏิบัติทีชัดเจน ให้พนักงานมีส่วนร่วมในการบริหารงาน แสดงการยอมรับและเชือมั น ผู้นําต้องไมป่ ฏิบัติงานแบบRoutine แต่ต้องกระจายให้พนักงาน (6) การทาํ งานเป็ นทีม (Teamwork) เป็ นการผลักดันให้ผู้นําตระหนักถึง ความสําคัญของทีมงาน และพัฒนาทีมงานโดยการกําหนดแนวทางและขอบเขตการปฏบิ ัติงานอย่าง ชัดเจน เชือมันในความสามารถของทีมงาน ให้ความสาํ คญั กับการทํางานขา้ มสายงาน(Cross
38 Function) อีกทั งผู้นาํ ยังต้องสามารถประสานความแตกต่างของคนในทีมเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ย เพือ ประโยชน์สูงสุดแก่องค์การ (7) การรู้จกั เปลียนแปลงใหเ้ หมาะสม (Transformation) ผู้นาํ ตอ้ งวิเคราะห์ ช่องว่างระหว่างวิสัยทศั น์และสภาพการณ์ปัจจุบันขององค์การ เพือวางกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ นําไปสู่การเปลียนแปลงให้ไดต้ ามเป้ าหมาย มุกดา สุนทรรัตน์ (2547: 49 - 50) ได้สรุปว่า การ พ ั ฒนาภาวะผู้ นําเปรี ยบเสมือนการส่ งเสริ มความแข็งแกร่ งในการบริ หารงานแก่องค์การ“การนํา เครื องมือป้ องกันความล้มเหลว” มาประยุกต์ใช้จะเป็ นเครื องมือในการพฒั นาองค์การไปสู่ ความก้าวหน้าต่อไป 2.3.2 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับภาวะผู้นาํ 2.3.2.1 ความหมายของภาวะผู้นํา ภาวะผู้นํา(Leadership) หรือความเป็ นผู้นําซึงหมายถึง ความสามารถในการนํา จึง เป็ นสิงสําคัญยิงสําหรับความสําเร็จของผู้นํา ภาวะผู้นําได้รับความสนใจและมีการศึกษามาเป็ น เวลานานแล้ว เพอื ให้รู้วา่ อะไรเป็ นองคป์ ระกอบทีจะช่วยให้ผู้นํามีความสามารถในการนํา หรือมี ภาวะผู้นําทีมปี ระสิทธิภาพ การศกึ ษานั นได้ศึกษาตั งแต่คุณลักษณะ(Traits) ของผู้นําอํานาจ (Power) ของผู้นํา พฤติกรรม (Behavior) ของผู้นําแบบต่างๆ และอืนๆ ในปัจจุบันนี ก็ยังมีการศึกษาภาวะผู้นําอยู่ ตลอดเวลาและพยายามจะหาภาวะผู้นําทีมีประสิทธิภาพในแต่ละองค์การและในสถานการณ์ต่างๆ กัน ความหมายของภาวะผู้นาํ ได้มีผู้ใหค้ วามหมายของภาวะผู้นาํ ไว้หลากหลายและ แตกต่างกัน Bass (1981: 7-14 อ้างถงึ ในเสริมศักดิ วิศาลาภรณ, ์2530: 8–9) ได้รวบรวมความหมาย ของภาวะผู้นํา ตามทีมีผู้ให้ไว้และจําแนกคาวมหมายของภาวะผู้นําออกเป็น11 กล่มุ คือ 1) ภาวะผู้นําในฐานะทีเป็นกระบวนการกลุ่ม(Group Process) ภาวะผู้นําเป็น ผลของการเปลยี นแปลงของกลมุ่ และกิจกรรมของกลุ่ม 2) ภาวะผู้นําในฐานะเป็ นบุคลิกภาพและผลของบุคลิกภาพ ภาวะผู้นําเป็ น การผสมผสานของคุณลักษณะต่างๆ(Traits) ทีช่วยให้สามารถจูงใจบุคคลอืนให้ปฏบิ ัติภารกิจทีได้รับ มอบหมาย ให้สําเร็จ 3) ภาวะผู้นําในฐานะเป็ นศิลปะทีก่อให้เกิดการยินยอมตาม(Compliance) ภาวะผู้นําทีทําให้สมาชิกกลุ่มทําตามทีผู้นําต้องการ
39 4) ภาวะผู้นาํ ในฐานะทีเป็ นการใช้อิทธิพล เป็ นการทีผู้นํามีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมต่างๆของสมาชิกกลุม่ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นํากับผู้ตามเป็นไปตามความสมัครใจ มิใช่ การขู่เข็ญบังคับ 5) ภาวะผู้นําในฐานะทีเป็นพฤติกรรม ภาวะผู้นําเป็ นพฤติกรรมของบุคคลที เกียวข้องกับการควบคุม สังการกิจกรรมของกลุ่ม 6) ภาวะผู้นําในฐานะทีเป็นรูปแบบของการจูงใจ(Persuasion) ภาวะผู้นําเป็น ศิลปะในการเกลี ยกล่อม จูงใจหรือดลใจ สมาชิกของกลุ่มให้ร่วมมือในการปฏิบัติภารกิจเพือให้ บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นการจูงใจให้บุคคลอืนทําตามมิใช่บังคับขู่เขญ็ หรือใช้อํานาจ 7) ภาวะผู้นําในฐานะทีเป็นความสัมพันธ์ของอํานาจ(Power Relation) ภาวะ ผู้นําเป็นความแตกต่างระหว่างอํานาจของผู้นํากับผู้ตาม ผู้นําย่อมใช้อํานาจทางหนึ งทางใดใหผ้ ู้ตาม ปฏบิ ัติตาม 8) ภาวะผู้นําในฐานะเป็นเครืองมือในการบรรลเุ ป้ าหมาย ตามแนวคิดนี ภาวะ ผู้นําเป็นเครืองมือทีสําคัญและจําเป็นเพอื การบรรลุเป้ าหมายของกลุ่ม 9) ภาวะผู้นาํ ในฐานะทีเป็นผลของปฏิสัมพันธ์ ภาวะผู้นาํ เป็ นผลของการ กระทําของกลมุ่ ซึงเกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้นํากับผู้ตาม และปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งผู้ตามด้วยกัน 10) ภาวะผู้นําเป็ นความแตกต่างของบทบาท บทบาทของผู้นําแตกต่างจาก บทบาทของผู้ตาม บทบาทของภาวะผู้นําเป็ นการประสานความสมั พันธ์บทบาทตา่ งๆในกลุ่มและ ควบคุมชี นํา กิจกรรมของกล่มุ เพอื การบรรลเุ ป้ าหมาย 11) ภาวะผู้นําในฐานะทีส่งเสริมความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคล ผู้นําทําหน้าที กําหนดขอบข่ายและส่งเสริมความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคล กําหนดช่องทางและเครือข่ายของการ ติดต่อสือสาร ตลอดจนกระบวนการของการติดต่อสือสารระหว่างบุคคล ภาวะผู้นําเป็ นผลของ ปฏสิ ัมพันธ์ในกลมุ่ ประพันธ์ ผาสุกยืด(2541: 87) ได้ศึกษาเกียวกับ ความสามารถในการนําหรือภาวะ ผู้นําว่า เป็ นคุณสมบัติหรือทักษะส่วนตัวของแต่ละบุคคลทีสามารถสร้างขึ นได้ หากได้รับการ พัฒนาฝึกฝนผู้นําทีเราพบเห็นกันอยู่ทุกวันนี อาจะจไม่มคี วามสามารถในการนําทีดีพอก็ได้จึงทําให้ เกิดปัญหาขึ นมากมายทั งในระดับองคก์ รและในระดับประเทศ พูดง่ายๆ ก็คือคนทีทําหน้าทีเป็ น ผู้นํา(Leader) นั น ไม่ได้หมายความว่าเขาจะเพียบพร้อมซึงคุณสมบัติ แลการสามารถในการนํา (Leadership) เสมอไป แต่ในทางตรงกันข้าม ใครกามทีมีภาวะผู้นํา(Leadership) เขานั นแหละมี ความพร้อม และเหมาะสมอย่างยิงทีจะทําหน้าทีเป็นผู้นํา(Leader) ดังนั นถ้าจะกลา่ วถึงความหมายทัวไปของผู้นําทีประสบความสําเร็จในกระแสของ ความเปลียนแปลงคือ ผู้ทีจูงใจคนอนื ให้ทําบางสิงบางอย่างให้สําเร็จโดยการชี ให้เหน็ถึงประโยชน์
40 ของการบรรลุเป้ าหมายนั นและผู้นะยังต้องเป็ นผู้ชี ให้เห็นวิธีการทีจะทํางานนั นใหส้ ําเร็จอีกด้วย ความหมายทีลกึ ของผู้นํานั น มไิ ด้จํากัดอยู่แค่เพียงการกําหนดเป้ าหมาหยรือการกําหนดการปฏิบัติ วาเรน เบนนิส ผู้สอนภาวะเรืองผู้นําทีมหาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอเนีย กล่าวว่าพืนฐานของภาวะผู้นํา คือความสามารถในการเปลียนกรอบความคิดและจิตใจของผู้อืน ซึงก็คือผู้นําพาคนอืนไปใหถ้ ึง เป้ าหมายโดยการช่วยใหเ้ ขามองโลกด้วยมุมมองทีแตกต่างไปจากเดิมตามความหมายทีกล่าวโดย เบนนิส ผู้นํามคี วามหมายครบคุมกว้างขวางมากกว่าการมีตําแหน่งใหญ่โตในองค์เท่านั น 2.3.2.2 หน้าทีของผู้นํา(อ้างถึงในนพพงษ์ บุญจิตราดุล, 2551: 112-113) 1) ผู้รักษาหรือประสานให้สมาชิกในกลุ่มอยู่รวมกัน (Maintenance of Membership) หรือหมายถึง ผู้นําจะต้องอยู่ใกล้ชิดกับกล่มุ มคี วามสัมพันธ์และเป็นทียอมรับของคนใน กลุ่ม ทําใหก้ ลมุ่ มีความสามัคคีกลมเกลียวกัน 2) ผู้นํางานของกลมุ่ ให้บรรลุวัตถุประสงค(์Objective Attainment) หมายถึง ผู้นําจะต้องมีความรับผิดชอบในกระบวนวิธีการปฏิบัติงานด้วยความมั นคง เข้าใจได้และจะต้องทําให้ กลุ่มทํางานให้บรรลเุ ป้ าหมาย 3) ผู้อํานวยให้เกิดการติดต่อสัมพันธ์ในกมลุ่ (Group Interaction Facilitation) หมายถงึ จะต้องปฏิบัติงานในทางทีจะอํานวยความสะดวกให้เกิดการปฏิสมั พันธ์ และการปฏิบัติงาน ร่วมกันด้วยดีของสมาชิกในกลมุ่ การติดต่อสือสารทีดีเป็ นสิงสําคัญและจําเป็ นในการช่วยให้หน้าทีนี บรรลุเป้ าหมาย 2.3.2.3 ลักษณะประจําตัวผนู้ ํา(อ้างถึงในนพพงษ์ บุญจิตราดุล, 2551: 112-113) 1) ผู้นําจะต้องเป็ นผู้ทีมีความสามารถ(Capacity) ซึงประกอบด้วยความมี สติปัญญาไหวพริบการใช้เวลาและภาษาทีถกู ต้อเป็ นผู้ทีมีความคิดริเริ มสร้างสรรคแ์ ละเป็ นผู้มีการ ตัดสินปัญหาทีดี 2) ผู้นําจะต้องเป็นผู้ทีมคี วามสําเร็จ(Achievement) มีความสําเร็จทางด้าน วชิ าการ หรือด้านอืน ๆ 3) ผู้นาํ จะตอ้ งเป็ นผู้มีความรับผิดชอบ (Responsibility) จะต้องเป็ นผู้ที บุคคลอืนพึงพาได้ มีความสมําเสมอ อดทน กล้าพดู กล้าทํา มีความเชือมนัในตนเอง และมีความ ปรารถนาทีจะเป็นเลศิ หรือทะเยอทะยานในทางทีดี 4) ผู้นําจะต้องเป็นผู้ทีเข้าไปมีส่วนร่วม(Participation) ในด้านกิจกรรมด้าน สังคมจะต้องให้ความร่วมมือรู้จักปรับตัวและมอี ารมณ์ขัน 5) ผู้นําต้องเป็นผู้ทีมฐี านะทางสังคม(Status) มตี ําแหน่งฐานะทางสังคมเป็น ทีรู้จักทั วไป(Popularity)
41 6) ผู้นาํ ต้องเป็ นผู้รู้สภาพการณ์(Situation) รู้สภาวะทางจิตใจของบุคคล ระดับต่างๆรู้ความต้องการและความสนใจของผู้ใต้บังคับบัญชา รู้ในวัตถปุ ระสงค์ขององค์การจทะตี ้อง ทําให้สําเร็จมผี ู้กลา่ ววผ่า ู้นําทีดีจะต้องรจู้ ักการเป็นผู้ตามทีดีด้วย 2.3.2.4 วิเคราะห์ผนู้ าํ จากบทบาทและรูปแบบทีแสดงออก พิจารณาแหล่งทีมาของ อํานาจของผู้นําแบ่งเป็น3 ประเภทคือ (อ้างถงึ ในนพพงษ์ บุญจิตราดุล, 2551: 112-113) 1) ผู้นําตามกฎหมาย(Legal leader) เป็ นผู้นําทีมีอํานาจตามกฎหมาย เช่น ตําแหน่งตา่ งๆ ทีตั งขึ นมาตามกฎหมาย 2) ผู้นําตามบุคลิกภาพส่วนตัว(Charismatic leader) ผู้นําทีมอี ํานาจติดตัวมา เพราะมีบุคลิกดี การศึกษาสูง ฐานะและตระกูลดี ผู้นําประเภทนี ไม่จําเป็นต้องใช้อํานาจทางกหฎมายใน การโน้มน้าวจิตใจคน 3) ผู้นําทีเป็ นสัญลักษณ์ของกลุ่ม(Symbolic leader) ผู้นําประเภทนี เป็ น สัญลักษณ์ของกล่มุ ทีทุกคนยอมรับและยกย่องเทิดทนู ทํานองเดียวกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ซึงเป็ น ผู้นําสูงสุดของประเทศ และเป็นผู้นําทีจะรักและยึดกลุ่มของตนเป็นหลักด้วย ผู้นําประเภทนี จึงมอี ํานาจ และบารมมี าก 2.3.2.5 พจิ ารณาจากการใช้อํานาจของผู้นําแบ่งได้เป็น3 ประการ (อ้างถึงในนพพงษ์ บุญจิตราดุล, 2551: 112-113) คือ 1) ผู้นําแบบเผดจ็ การ (Autocratic) ผู้นําประเภทนี เป็นผู้สังงานเฉียบขาด ไม่ คํานึงถึงผู้อืน ไมม่ กี ารแบ่งงาน รวบอํานาจแบบเผดจ็ การจะตัดสินใจด้วยตนเอง ยึดมั นในความคิดของ ตนเองเป็นใหญ่ สร้างบรรยากาศแห่งความกลัวให้เกิดขึ นในหน่วยงาน 2) ผู้นําแบบตามสบาย(Laissez-Faire) ผู้นําประเภทนี จะให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏิบัติงานกันไปตามใจชอบ ตามบุญตามกรรม ไม่มีการนิเทศตรวจตราติดตามผลงาน การตัดสินใจ ขึ นอยู่กับผู้ใต้บังคับบัญชาทีจะเห็นดีเห็นชอบกันไป จะทําอย่างไรกไ็ ด้ตามใจชอบ ถ้าได้ลูกน้องดีงานก็ จะออกมาดีได้ ถ้าลูกน้องไม่ดีงานกเ็ สียหายและการปฏิบตั ิงานกท็ ํากันไปวันๆหนึง 3) ผู้นําแบบประชาธิปไตย(Democratic) ผู้นําประเภทนี จะใชอ้ ํานาจตาม วถิ ที างประชาธิปไตย การตัดสินใจจะถอื ความเห็นของส่วนใหญ่ มีการประชุมปรึกษาหารือก่อนการ ตัดสินใจ มกี ารกระจายอํานาจ รับฟังความคิดเห็น ไมใ่ ช่อํานาจกดขี การแก้ปัญหาก็เปิดโอกาสให้ทุกคน ไดร้ ่วมกันพิจารณา เคารพในสิทธิและหน้าทีของแต่ละบุคคล จากความหมายดังกล่าวข้างต้น พอสรุปได้ว่า ภาวะผู้นํา หมายถึง ความสามารถใน การนํา ชี แนะ สังการ หรืออํานวยการ ซึ งเป็ นกระบวนการของผู้นํา ต่อผู้อยู่ใตบ้ งั คับบัญชาให้ ปฏิบัติงานอย่างเตม็ ใจ เพือให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงานทีได้รับมอบหมายตลอดจนมีความ กระตือรือร้นในการปฏบิ ัติงานงานจบประสบความสําเร็จตามจุดมงุ่ หมายของหน่วยงาน
42 2.4 แนวคิดทฤษฏีเกียวกบั คุณธรรมจริยธรรม 2.4.1 ความหมายของคุณธรรมหรือศีลธรรม (Moral) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช2525 (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2525: 187) ให้ ความหมายของคุณธรรมไว้วา่ เป็นสภาพคุณงามความดี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานหลักคุณธรรมสําหรับคนไทยในพระราชพิธี บวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ ท้องสนามหลวง วนั จันทร์ที 5 เมษายน พ.ศ. 2525 ทงั นี เพือยึดถอื ปฏิบัตมิ ีอยู่ 4 ประการ คือ (ภมู พิ ลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2531: 6-9) ประการแรก คือการรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตัวเอง ทีจะประพฤติปฏิบัติแต่ สิงที เป็นประโยชน์และเป็นธรรม ประการทีสอง คือการรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเอง ให้ประพฤติปฏบิ ัติอยู่ในความ สัจ ความดีนั น ประการทีสาม คือ การอดทน อดกลั นและอดออม ทีจะไม่ประพฤติล่วงความสัจ สุจริต ไม่วา่ จะด้วยเหตุประการใด ประการทีสี คือ การรู้จักละวางความชัว ความสุจริตและรู้จักสละประโยชน์ส่วน น้อยของตนเพือประโยชนส์ ่วนใหญ่ของบ้านเมือง คุณธรรมทั ง4 ประการนี จะชว่ ยให้ประเทศชาติบังเกิดความสุขร่มเย็นโดยเฉพาะผู้ทีเปน็ ครู จําเป็นต้องยึดถือปฏบิ ัติเพือประโยชน์ของตนเองและผู้อนื พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), (2539: 18) กล่าวว่า จริยธรรม หมายถึง ระบบการดําเนิน ชีวติ ทีดีงามตามธรรมชาติ ซึงประกอบด้วยปัจจัย3 ประการ คือ 1) ด้านพฤติกรรมภายนอกทีมีสมั พันธก์ ับสิงแวดล้อมทั งทางด้านสังคมและวัตถุ ตลอดธรรมชาตินั นได้แก่ ศีล 2) ด้านจิตใจทีมันคง เพราะการมีจิตใจทีมันคงเป็ นแกนสําคัญในการพัฒนา ได้แก่ สมาธิ 3) ด้านความรู้ ความเข้าใจในความเป็นจริง การมองเหตุผลตลอดจนเข้าถึงความ เป็นจริงของธรรมชาติ ได้แก่ ปญั ญา ปัจจัย 3 ประการ นี จะส่งผลต่อกันและเสริมซึงกันและกันใน ระบบความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยในการดําเนินชีวติ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2543: 2) ให้ความหมาย คุณธรรม ไว้ว่าสิงทีบุคคลส่วนใหญ่ยอมรับ วา่ ดีงาม ซึงส่งผลให้เป็นประโยชนแ์ ละความดงี ามทีดีทีแทจ้ ริงต่อสังคม ส่วนจริยธรรม หมายถึง สิง ทีบุคคล หรือสังคมยึดถอื เป็นเครืองมอื ช่วยตัดสินและกําหนดการกระทําของตนเอง
43 กีรติ บุญเจือ (2538: 105) ได้ให้ความหมายว่า“คุณธรรม เป็นคุณสมบัติของบุคคล ซึงทําให้ ผู้มีคุณธรรมรู้จักแสวงหาคุณงามความดีและทําใหเ้ขาได้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายอันดีเลิศ ทั งในด้าน ความประพฤติทัวไปหรอื ขอบเขตทีจํากัดแห่งความประพฤต”ิ สมบรู ณ์ พรรณนาภพ (2526: 64) ได้ให้ความหมายของจริยธรรมและคุณธรรม ดังนี คําว่า “จริยธรรม” เป็นคําทีส่อแสดงถึงคุณภาพของจิตใจคน เป็ นเรืองทีอยูภ่ ายในคนซึงยาก แก่การที ผู้อืนจะหยังรู้ แต่ผู้อืนก็สามารถรับรู้ไดจ้ ากการได้ใกล้ชิด คบหาสมาคมหรือสังเกตได้จาก พฤติกรรมทีแสดงออกมา เช่น จากการพูด จากการแสดงความคิดเห็น การปฏบิ ัติต่อผู้อนื เป็ นต้น “คุณธรรม” หมายถึง คุณงามความดี เป็ นคําสอนทีส่อแสดงความหมายถึงคุณภาพของจิตใจ เช่นเดียวกับจริยธรรม แต่ขณะเดียวกันกส็ ่อแสดงถงึ ความมีตัวตนของมันเองอกี ด้วย ประภาศรี สีหอําไพ(2535: 25) ได้กล่าวไว้ว่าคุณธรรม คือ หลักธรรมจริยาทีสร้างความรู้สึก ผดิ ชอบชัวดีในทางศีลธรรม มีคุณงามความดีภายในจิตใจอยูใ่ นขั นสมบูรณ์จนเต็มเปี ยมไปด้วย ความสุขความยินดี การกระทําทีดีย่อมมีผลิตผลของความดี คือ การชืนชมยกย่องในขณะทีการ กระทําชัวย่อมนําความเจบ็ ปวดมาให้ การเป็ นผู้มีคุณธรรม คือ การปฏิบัติตนอยูใ่ นกรอบทีดีงาม ความเข้าใจเรืองการกระทําดีมีคุณธรรมเป็ นกฎเกณฑ์สากลทีตรงกัน เช่น การไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ เบียดเบียน ไมล่ ักขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม เป็ นต้น สภาพการณ์ของการกระทําความดี คือ ความเหมาะความควรต่อเหตุการณ์ทีเกิดขึ น สามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้อยา่ งเหมาะสมด้วย หลักจริยธรรมทีสามารถจําแนกความถกู ผิด สามารถสังสอนอบรมให้ปฏิบัติตามมาตรฐานของ พฤติกรรมทีถูกต้องมสี ติสัมปชัญญะ รับผิดชอบชัวดี ตามทํานองคลองธรรมมีจิตใจลักษณะนิสยั และความตั งใจหรือเจตนาทีดีงาม ศลี ธรรม คือ ข้อปฏบิ ัติอันเป็นผลผลติ ทางสังคมทีเกียวข้องกับความถกู ต้องในการปฏิบัติ ต่อกัน ขจดั สิงขัดแย้งและส่งเสริมความสมั พันธ์ในสังคมวางมาตรการทีกําหนดขอบเขตของ ปรัชญาคุณธรรม (Moral Philosophy) ทําใหส้ ังคมมีกฎหรือระเบียบของความประพฤติ มีระเบียบ วนิ ัย ทําให้บุคคลเป็นสมาชิกทีดีของสังคม มีสํานึกอิสระในแนวทางจริยธรรม ซึงเป็นองค์ประกอบ สําคัญของการกระทําดี คุณธรรมหรือศลี ธรรม เป็ นหลักธรรมจริยา (Morality) ทีปลูกฝังระเบียบความประพฤติ ด้านศีลธรรมจรรยา เป็ นกฎความประพฤติตามอุดมคติทีถูกตอ้ งเหมาะสม เป็ นเรืองของการ ประกอบคุณงามความดีและบุญกศุ ล คุณธรรมหรือศีลธรรมมีความสัมพันธ์เป็นอันหนึงอันเดียวกัน อยู่ในจริยธรรม ในด้านระเบียบวินัยทีใช้กับสิงทีเรียกว่า ความดีความชัวตามค่านิยมทางศีลธรรม อันเป็นหลักความประพฤติทีควบคุมบุคคลหรือกลมุ่ ชน สุชีพ ปุญญานุภาพ (2506: 180-205 อ้างถึงในสุพรรณี ไชยอําพร, 2550: 25) ทัศนะทาง พทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาอเทวนิยมเกิดขึ นในชมพูทวีป (ประเทศอินเดีย) โดยพระ
44 สมณโคดมเป็นศาสนา ผู้ประกาศปรัชญาในแนวคดิ นี เนน้ หลักธรรมทีเป็ นสจั ธรรมโดยเฉพาะใน การใช้ปัญญาพิจารณาเหตุผลหลักธรรมทีเป็นหวั ใจพระพุทธศาสนาทีนํามาสังสอนม3ี ประการ คือ 1) ให้เว้นความชัวทั งปวง 2) ให้ทําความดี 3) ให้ชําระจิตใจให้สะอาดบริสุทธิ ในหลักธรรมทีพระพุทธเจ้าสมณโคดมไดน้ ํามาประกาศเป็ นคุณธรรมทีมีความสอดคล้อง เชือมโยงกันได้ทั งหมด หมายถึง การปฏิบัติตามธรรมข้อใดข้อหนึ งย่อมเกียวข้อได้ข้อธรรมอืน ตามมา เป็นแนวคิดทางจริยศาสตร์ทีกําหนดข้อประพฤติปฏิบัติทางกายวาจาและทางจิตใจโดยเริ ม ตั งแต่สิงทีเป็นข้อประพฤติปฏิบัติขั นพืนฐานทางการกระทําทางกายไปสู่ขั นสูงทีเป็ นข้อประพฤติ ปฏิบัติทางความคิดทีม่งุ สู่ความบริสุทธิ หลุดพ้นทางจิตใจในหลักจริยศาสตร์ของศาสนาพทุ ธม3ี ขั น กลา่ วคือ จริยศาสนาขั นมูลฐาน ประกอบด้วยศีล5 ธรรม 5 ได้แก่ 1) เว้นจากการเบียดเบียนทําร้ายชีวติ สัตว์หรือมนษุ ย์ (เป็นศลี ) มี เมตตากรุณาต่อ สัตวแ์ ละมนุษย์ (เป็นธรรม) 2) เว้นจากการลักฉอ้ ทรัพย์(เป็ นศีล) เอือเฟื อเผือแผป่ ระกอบอาชีพสุจริต (เป็ น ธรรม) 3) เว้นจากการประพฤติผิดในกาม(เป็นศีล)สํารวมในกาม (เป็นธรรม) 4) เว้นจากการพูดปด(เป็นศลี ) พูดจริง (เป็นธรรม) 5) เว้นจากการเสพดืมสุราเมรัย (เป็นศีล) มีสติ สํารวมระวัง(เป็นธรรม) จริยศาสตร์ขั นกลาง ประกอบด้วยกศุ ลกรรมบถ10 ประการ ได้แก่ กาย 3 ข้อ 1) เว้นจากการฆา่ สัตว์หรือมนุษย์ หรือเบียดเบียนทําร้ายชีวติ 2) เว้นจากการลักทรัพย์ 3) เว้นจากการประพฤติผิดในกาม วาจา 4 ข้อ คือ 1) เว้นจากการพูดปด 2) เว้นจากการพูดยุยงให้แตกร้าวกัน 3) เว้นจากการพูดคําหยาบ 4) เว้นจากการพูดเหลวไหล เพ้อเจ้อ ทางใจ 3 ข้อ คือ 1) ไมโ่ ลภอยากได้ของผู้อืนมาเป็นของตน 2) ไมค่ ิดปองร้ายผู้อนื หรือคิดให้เขาถึงความพนิ าศ
45 3) ไมเ่ ห็นผิดจากทํานองคลองธรรมโดยมีความเห็นถูกต้อง(ว่าทําดีได้ดี ทําชัวได้ ชัวมารดาบิดามคี ุณ เป็นต้น) จริยศาสตร์ขั นสูงประกอบด้วยอริยมรรค แปลว่า ทางอันประเสริฐหรือทางสายกลาง มี 8 ประการ ได้แก่ 1) ปัญญาอันเห็นชอบ คือ อริยสัจ 4 2) ดําริชอบ คือ ดํารอิ อกจากกาม ดําริในการไม่ปองร้าย/ ไม่พยาบาท ดําริในการ ไมเ่ บียดเบียน 3) เจรจาชอบ คือ เว้นวจีทุจริต 4 ไมพ่ ูดปด ไม่พูดส่อเสียดหรือยุยงให้แตกร้าว ไมพ่ ูดคําหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ 4) ทําการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต 3 ไม่ฆ่าสัตว์หรอื มนุษย์ไม่ลักฉ้อทรัพย์ ไมป่ ระพฤติผิดในกาม 5) เลียงชีพชอบ คือ เว้นจากการเลี ยงชีวิตโดยทางทีผิด ไมห่ าเลี ยงชีพในทางที ผิดทีมโี ทษ ประกอบอาชีพชอบธรรม 6) เพยี รชอบ คือ ระลกึ ในสติปัฏฐาน 4 ตั งสติพจิ ารณาร่างกายเวทนา(ความรู้สึก ทุกข์ ตลอดจนไมท่ ุกข์ไมส่ ุข) จิตและธรรม ให้รู้เท่าทัน เห็นทั งความเกิดดับ 7) ตั งใจไว้ชอบคือ เจริญในฌานทั ง4 การทําจิตใจให้สงบเป็นสมาธิอย่างแน่วแน่ ทีเรียกว่าไดฌ้ าน 4 กุศลมูล เป็นรากเหง้าทีจะก่อให้เกิดคุณธรรม สาเหตุของความเป็นคนดี Walter and Others (1966: 801 อ้างถึงในสุพรรณี ไชยอําพร, 2550: 34) ได้ใหค้ วามหมาย ของคุณธรรมว่า คุณธรรมเป็นคุณภาพทางศลี ธรรมเฉพาะอย่าง หรือนิสัยทีดี Good (1976: 641 อ้างถึงในสุพรรณี ไชยอําพร, 2550: 34) ได้ให้ความหมายของคุณธรรม ไว้ 2 ประการ 1) คุณธรรม หมายถึง ความดีงามของลักษณะนิสัยหรือพฤติกรรมทีได้กระทําจน เคยชิน 2) คุณธรรม หมายถงึ คุณภาพทีบุคคลได้กระทําตามความคิดและมาตรฐานของ สังคม ซึงเกียวข้องกับความประพฤติและศีลธรรม Longman (1978: 1226 อ้างถึงในสุพรรณี ไชยอําพร, 2550: 34) ได้ให้ความหมายของ คุณธรรมไว้ 2 ประการดังนี 1) คุณธรรม หมายถึง ความดี ความสง่า และความมีคุณค่าของนิสัยซึ ง แสดงออกโดยการการประพฤติทีถูกต้อง 2) คุณธรรม หมายถงึ คุณภาพทีดีของอปุ สัยของการประพฤติ
46 จากแนวความคิดดังกล่าวข้างต้น พอสรุปได้ว่า คุณธรรม คือ คุณงามความดีทีอยูภ่ ายใน จิตใจของมนุษย์ทีเป็ นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติในทางทีดีในทางทีชอบ เป็ นประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคม รู้จักผิดชอบชัวดี ตามทํานองคลองธรรมไมท่ ําผิดศลี ธรรมอันดีงานม เช่นการไม่ ฆ่าสัตว์ การไมล่ ักทรัพย์ การไม่ประพฤติผิดในกาม การไม่พูดเทจ็ การไม่เสพสิงเสพติดเป็นต้น คุณธรรมเป็ นเครืองทีจะประกอบคุณงามความดีของมนุษย์ เป็ นนามธรรมไม่ใช่เป็ น รูปธรรม เพราะเนืองจากมันอยู่ในสภาพของจิตใจไม่ได้แสดงออกมาเป็ นการประพฤติปฏิบัติ แต่ ในทางตรงกนั ขา้ มถ้าหากเราจะแสดงออกมา เรียกว่า จริยธรรม เพราะตวั จริยธรรม เป็ นการ ประพฤติออกมาให้เป็นรูปธรรม ซึงทั งคุณธรรมและจริยธรรมมีความหมายใกล้เคียงกันแต่คนละ ความหมาย คุณธรรมเป็นเรืองของความดีงามภายในจิตใจ แต่จริยธรรมเป็นการประพฤติหรือแสดง ออกมาให้เห็น 2.4.2 ความสําคัญของคุณธรรม ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา ซึงได้จากการประชุมสมั มนาวิชาชีพครูครั งท6ี ระหวา่ งวันที 27–28 เมษายน พ.ศ. 2532 ได้สรุปว่า บุคคลทีประกอบวิชาชีพครูมีลักษณะพืนฐาน 4 ประการ คือ รอบรู้ สอนดี มีคุณธรรมตามจรรยาบรรณและมุ่งมันพัฒนาตนเอง(ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา, 2531: 6–9) ในทีนี จะนํามากล่าวเฉพาะในส่วนทีเป็ นข้อ คุณธรรมตามจรรยาบรรณ ซึงมีคุรุสภากําหนดไว้ 9 ข้อ ดังต่อไปนี 1) มีเมตตากรุณา พฤติกรรมหลัก คือ มีความเอือเฟื อเผอื แผ่ ช่วยเหลือเพือน ร่วมงานและสงั คม มีความสนใจและห่วงใยในการเรียนและความประพฤติของนักเรียน ส่วน พฤติกรรมบ่งชี คือ ไมน่ ิงดูดายและเต็มใจช่วยเหลอื ผู้อืนตามกําลังความสามารถ ให้ความรักความ เอาใจใส่ช่วยเหลอื ดูแลเดก็ ให้ได้รับความสุขและพ้นทุกข์ เป็นกันเองกับนักเรียน เพือใหน้ ักเรียนมี ความรู้สึกเปิ ดเผยไว้วางใจ และเป็นทีพึงของนักเรียน 2) มคี วามยุติธรรม พฤติกรรมหลัก คือ มคี วามเป็นธรรมต่อนักเรียนและมีความ เป็นกลาง ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือ เอาใจใส่และปฏิบัติต่อนักเรียนทุกคนอยา่ งเสมอภาคและไม่ ลําเอียง ตดั สินปัญหาของนักเรียนด้วยความเป็ นกลาง ยินดีช่วยเหลือนักเรียน ผรู้ ่วมงานและ ผู้บริหารโดยไม่เลือกทีรักมักทีชัง 3) มคี วามรับผิดชอบ พฤติกรรมหลัก คือ มุ่งมันในผลงาน ใช้เวลาอยา่ งคุ้มค่า และปฏิบัติหน้าทีครบถ้วน ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือ มีวิธีการทีจะปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ วางแผนการใช้เวลาอย่างเหมาะสม และปฏิบตั ิงานใหท้ ันเวลา ใช้เวลาคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ วางแผนการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ ปฏิบตั ิงานตามแผนไดเ้ สร็จและมีประสิทธิภาพ มีความ
47 รอบคอบ ระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าทีทุกด้าน ปฏิบัติภารกิจทุกด้านได้ครบตามความสามารถ และประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานได้อย่างเหมาะสม 4) มีวินยั พฤติกรรมหลัก คือ มีวินัยในตนเอง และปฏิบัติตามกฎและระเบียบ ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือ ควบคุมตนเองให้ปฏิบัติตนอย่างถูกต้องตามทํานองคลองธรรม มีวิธี ทํางานทีเป็ นแบบอย่างทีดีแก่ผู้อืนได้ ปฏิบัติตามกฎและระเบียบของหน่วยงานและสถานศึกษา ปฏิบัติหน้าทีการงานเป็นไปตามขั นตอน 5) มีความขยัน พฤติกรรมหลัก คือ มีความตั งใจและมีความพยายาม ส่วน พฤติกรรมบ่งชี คือกระตือรือร้นและปฏิบัติงานเต็มความสามารถอย่างสมําเสมอ ไม่ท้อถอยต่อ อุปสรรคในการทํางาน และมคี วามพยายามทีจะสอนเดก็ ให้บรรลุจุดหมาย 6) มีความอดทน พฤติกรรมหลัก คือ อดทนเมือเกิดอุปสรรค และมคี วามสามารถ ในการควบคุมอารมณ์ ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือ ปฏบิ ัติงานเต็มไม่ทิงขว้างกลางคันไม่โกรธง่าย และสามารถควบคุมอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม และอดทนอดกลั นคําวิพากษ์วิจารณ์ 7) มคี วามประหยัดพฤติกรรมหลัก คือ รู้จักประหยัดและออมและใช้ของใหค้ ุ้มค่า ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือช่วยรักษาและใช้ของส่วนรวมอยา่ งประหยัดไม่ใช้จ่ายฟุ ่ มเฟื อยเกินฐานะ ของตน รู้จักเกบ็ ออมทรัพย์ เพือความมั นคงของฐานะและรู้จักใช้และเกบ็ รักษาของอย่างถูกวิธี 8) มีความรักและศรัทธาในอาชีพครู พฤติกรรมหลัก คือ เห็นความสาํ คัญของ อาชีพครูและรักษาชือเสียงวิชาชีพครู ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือ สนับสนุนการดําเนินงานขององค์กร วชิ าชีพครู เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพครู ร่วมมอื และส่งเสริมให้มกี ารพัฒนามาตรฐานวชิ าชีพครู ตั งใจ ปฏิบัติหน้าทีให้เกิดผลดีและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมเป็ นสําคัญ รักษาความสามัคคีและช่วยเหลือ ซึงกันและกันในหน้าทีการงาน ปกป้ องและสร้างความเข้าใจอันดีต่อสังคมเกียวกับวิชาชีพครู 9) มคี วามเป็นประชาธิปไตยในการปฏิบัติงานและการดํารงชีวิตพฤติกรรมหลัก คือ รังฟังความคิดเห็นของผู้อนื และมเี หตุผล ส่วนพฤติกรรมบ่งชี คือ เปิ ดโอกาสให้ผู้อืนแสดง ความคิดเห็น รับฟังความคิดเห็นและข้อโต้แย้งของผู้อืน ยอมรับและปฏิบัติตามความคิดทีมเี หตุผล โดยคิดถึงประโยชนส์ ่วนรวมเป็นหลัก และใช้หลักการและเหตุผลในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 คุรุสภาประกาศใช้จรรยาครูใหม่ วันที 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 เพอื ให้เหมาะสมกับครูไทยในยุคปัจจุบันจะเห็นได้วา่ จรรยาบรรณ5 ข้อแรก มคี วามสําคัญในระดับ ทีครู “ต้อง” กระทําหรือไม่กระทํา ส่วน4 ข้อหลังมีนํ าหนักลดหลั นกันลงมา แต่ก็สคําัญและจําเป็ น ต่อความเป็นครู โดยเฉพาะอย่างยิงครูระดับ“มืออาชีพ” จรรยาบรรณแต่ละขอ้ มีข้อความทีกระชัก กะทัดรัดและเจาะจง แต่การตีความและความเข้าใจของแต่ละคนอาจแตกต่างกันบ้างในรายละเอียด ดังนั นคุรุสภาจึงได้จัดทําคําอธิบายขึ น เพือชี ให้เห็นเจตนารมณ์และความมุ่งหมายของจรรยาบรรณ ครูแต่ละข้อเพือให้ผู้เกียวข้องทุกฝ่ ายเข้าใจตรงกัน(สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา, 2544: 12-20)
48 จรรยาบรรณข้อที 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริม ให้กําลังใจใน การศกึ ษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที 2 ครูต้องอบรม สังสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทกั ษะ และนิสยั ทีถูกต้องดีงาม ให้แก่ศษิ ย์อย่างเตม็ ความสามารถด้วยความบริสุทธิ ใจ จรรยาบรรณข้อที 3 ครูต้องประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างทีดีแก่ศิษย์ ทงัทางกาย วาจา และจิตใจ จรรยาบรรณข้อที 4 ครูต้องไม่กระทําตนเป็นปฏปิ ักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคมของศษิ ย์ จรรยาบรรณข้อที 5 ครูตอ้ งไม่แสวงประโยชน์อันเป็ นอามิสสินจ้างจากศิษย์ ในการปฏิบัติหน้าที ตามปกติและไม่ใช้ศิษย์กระทําการใดๆ อันเป็นการหาประโยชนใ์ ห้แก่ตนโดยมชิ อบ จรรยาบรรณข้อที 6 ครูย่อมพัฒนาตนเองทั งในด้านวชิ าชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสยั ทัศน์ ใหท้ ันต่อ การพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมอื งอยู่เสมอ จรรยาบรรณข้อที 7 ครูย่อมรักและศรัทธาในวชิ าชีพครู และเป็นสมาชิกทีดีขององค์การวิชาชีพ จรรยาบรรณข้อที 8 ครูพึงช่วยเหลอื เกือกลู ครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ จรรยาบรรณข้อที 9 ครูพงึ ประพฤติ ปฏบิ ัติตน เป็นผู้นําในการอนุรกั ษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย ดังนั นผู้ทีเป็นครูจึงต้องมีคุณธรรมซึงเป็นคุณธรรมของครหู มายถงึ คุณสมบัติทีเป็นความดี ความถูกต้อง เหมาะสมซึงมีอยู่ภายในจิตใจของครู และเป็นแรงผลักดันใหค้ รูกระทําหน้าทีของครู อย่างถูกต้องเหมาะสมได้อย่างสมบูรณ์ซึง ยนต์ ชุ่มจิต (2531 : 141–142) ได้สรุปความสําคัญของ คุณธรรมของครูไว้ 4 ด้านคือ 1) ด้านตัวครู สัมมาสังกัปปะ การดําริ ชอบ หมายถึง การคิดอย่างฉลาด รอบคอบ รู้จัก ไตร่ตรอง เป็ นผู้มีวิธีคิด รู้จักใชค้ วามคิดในทางทีถูกตอ้ งดีงาม คิดในทางสร้างสรรค์ และเป็ น ประโยชน์ทั งต่อตนเอง ต่อศษิ ย์ และต่อสังคม
49 สัมมาวาจา การพูดจาชอบ หมายถึง การไมพ่ ูดจาส่อเสียด ไม่เพ้อเจ้อไม่พดู หยาบและไมพ่ ูดปดพูดเท็จ วธิ ีพูดของครูมผี ลต่อความรู้สึกและจิตใจของศิษย์เสมอ หากครูพูดด้วย ความจริงใจ ออ่ นโยน ไพเราะ ย่อมทําให้ศิษย์มคี วามเคารพและรักนับถอื สัมมากัมมันตะ การทําการงานชอบ หมายถึง การกระทํากิจการต่างๆ ด้วย ความเตม็ ใจ และตั งใจอย่างเต็มความสามารถ เพอื ให้เกิดผลดีต่อผู้เกียวข้อง สัมมาอาชีพ การเลี ยงชีวิตชอบ หมายถึง การทาํ อาชีพสุจริต และไม่ผิด กฎหมายทงั หลาย สัมมาวายามะ การเพยี รชอบ หมายถงึ การมุ่งมั นพยายามในทางดี ครูต้องมี ความเพียร คือ พยายามศกึ ษาหาความรู้อยู่เสมอ มีมานะพยายามสร้างความก้าวหน้าในชีวิตและ หน้าทีการงานตามทํานองคลองธรรม สมั มาสติ การระลึกชอบ หมายถึง การพิจารณาไต่ตรองในทางทีถกู ทั งมี สติปัญญาเฉียบแปลมรอบคอบ ในการผจญปัญหาต่างๆ สัมมาสมาธิ ความตั งใจมันชอบ หมายถึง การตั งอยูใ่ นความสงบไม่ปล่อย ให้กิเลสทั งหลายเกิดขึ นจนทําให้หลงผิด หากครูผู้มีความตั งใจมันชอบย่อมเป็ นผู้ประสพ ความสําเร็จในการดําเนินอาชีพครู 2) พรหมวิหาร 4 เป็นธรรมทีคํ าจุนโลก ครูจะต้องมีธรรมประจําใจอันประเสริฐนี เพือเป็นหลักประพฤติปฏบิ ัติตนทีดีงาม ได้แก่ เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากใหเ้ ขามคี วามสุข มีจิตใจทีดีงาม ผู้ ทีเป็นครูอาจารย์จะต้องมีเมตตาเป็นทีตั ง กรุณา ความสงสาร เอ็นดศู ษิ ย์ พงึ ช่วยเหลือให้พ้นจากความทุกข์และความไมร่ ู้ มุทิตา คือ ความชืนชมยินดีเมอื ศษิ ย์ได้ดี และยกย่องเชิดชูให้ปรากฏ อันเป็ น การให้กําลังใจและช่วยให้เกิดความภมู ิใจในตนเอง อุเบกขา คือ การวางตวั วางใจเป็ นกลาง อันจะให้ดํารงอยู่ในธรรมตามที พจิ ารณาเห็นด้วยปัญญา มจี ิตเรียบตรงเพยี งธรรมดจุ ตราชัง ไม่เอนเดียงด้วยรักหรือชัง พร้อมทีจะ วินิจฉัยและปฏบิ ัติไปตามธรรม พร้อมทีจะให้ความช่วยเหลือเกือกูลเมือผู้อนื ร้อนเป็นทุกข์ 3) ฆราวาสธรรม 4 เป็ นหลักธรรมทีใหแ้ นวคิดเกียวกับการครองเรือน และ หลักการครองชีวติ ของคฤหัสถ์ มี 4 ประการ คือ สัจจะ คือ ความจริง ความซือตรง ซือสัตย์ และจริงใจ ซึงจําแนกออกได้ เป็นสัจจะต่อตนเอง ต่อผู้อืน ต่อหน้าทีการงาน และต่อประเทศชาติ ทมะ คือ การฝึ กฝน การข่มใจ ฝึ กนิสัย รู้จักควบคุมจิตใจ แก้ไข ข้อบกพร่อง ตั งมั นในจุดหมาย ไม่ท้อถอย
50 จาคะ คือ การเสียสละ การให้รู้จักละกิเลส มใี จกร้าวพร้อมทีจะรับฟังความ ทุกข์ ความคิดเห็น แสดงความต้องการของผู้อืน พร้อมทีจะร่วมมือ ช่วยเหลือ เอือเฟื อเผอื แผแ่ ก่ ผู้อนื 4) สังคหวัตถุ 4 เป็ นหลักธรรมทีให้แนวคิดเกียวกับการยดึ เหนียวจิตใจบุคคล และการประสานความสามัคคีในกลมุ่ คน ประกอบด้วย ทาน หมายถงึ การให้ ครูอาจารย์จะต้องให้คําแนะนําสังสอนให้ความรู้และ ความเข้าใจในเรืองต่างๆ ปิ ยวาจา หมายถึง พูดจาด้วยนํ าใจหวังดี มุ่งให้เป็ นประโยชน์และเกิดผลดี ทําให้เกิดความเชือถอื และเคารพนับถือ อัตถจริยา หมายถึง การประพฤติอันเป็นประโยชน์ การขวนขวายช่วยเหลือ กิจการสาธารณประโยชน์ ตลอดจนช่วยแก้ไขปรับปรุงส่งเสริมในทางจริยธรรมแก่ผู้อนื สมานัตตตา หมายถึง การทําตนให้เสมอต้นเสมอปลาย ตลอดจนการวางตัว ให้เหมาะแก่ฐานะ ภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิงแวดล้อม 5) อิทธิบาท 4 เป็นหลักธรรมทีทําให้ทํางานประสพความสําเร็จ ประกอบด้วย ฉันทะ คือ ความพึงพอใจ ความตอ้ งการทีจะทํา ใฝ่ ใจรักจะทําสิงนั นอยู่ เสมอ และปรารถนาทําให้ได้ผลดียิงๆ ขึ นไป วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมันเพียรประกอบสิงนั นๆ ดว้ ยความพยายาม เข้มแข็งอดทน จิตตะ คือ ความคิดตั งจิตรบั รู้ในสิงทีทําและทําสิงนั นด้วยความคิด เอาจิต ฝักใฝ่ ไมป่ ลอ่ ยใจให้ฟุ ้ งซ่านจากสิงทีต้องรับผิดชอบ วิมังสา คือ ความไตร่ตรอง หมนั ใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ครวญตรวจหา เหตุผล และมีการวางแผน ปรับปรุงงานอยู่เสมอ 2.4.3 การพัฒนาคุณธรรมของครู ประภาศรี สีหอําไพ(2535: 11-12) คุณธรรมเป็ นอุปนิสยั อันดีงามทีสะสมอยู่ในจิตใจ ซึ งได้มาจากความเพียรพยายามทีจะ ประพฤติปฏบิ ัติในสิงทีถูกต้อง ดีงาม ติดต่อกันมาเป็ นเวลานาน คุณธรรมจะมีความสัมพันธ์กับ หน้าที เพราะกระทําหน้าทีจนเป็นนิสัย พัฒนาคุณธรรมของครูควรจะเริมต้นที 1) คุณธรรมทางสติปัญญา รวมทั งความรู้ทางทฤษฎี และแนวทางในการปฏิบัติ หน้าทีส่งผลต่อความมเี หตุผลในการทําหน้าที
51 2) คุณธรรมทางศีลธรรม คือ ความมจี ิตสํานึกในสิงทีดีงามและเหตุผลคุณธรรม ทางศลี ธรรมไม่ได้เกิดขึ นเองตามธรรมชาติ หรือติดตัวมาแต่กําเนิด หากแต่สร้างขึ นด้วยความรู้สึก ผิดชอบชัวดีในทางศีลธรรม ซึงจะสะสมอยู่ภายในจิตใจของครู 2.4.4 ความหมายของจริยธรรม (Ethic) อนิ ถา ศิริวรรณ (2544: 18) ได้กล่าวไว้ว่า จริยธรรมหมายถึง หลักความประพฤติทีอบรม กิริยาและปลูกฝังลักษณะนิสัยใหอ้ ยูใ่ นครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรม คุณค่าทางจริยธรรม ชีให้เห็นความเจริญงอกงามในการดํารงชีวิตอย่างมรี ะเบียบแบบแผนตามวัฒนธรรมของบุคคลทีมี ลักษณะทางจิตใจทีดีงามอยู่ในสภาพแวดล้อมทีโน้มนําให้บุคคลม่งุ กระทําควมาดี ละเว้นความชัวมี แนวทางความประพฤติอยใู่ นเรืองของความดี ความถกู ต้อง ความควรในการปฏิบัติตนเพืออยู่ใน สังคมได้อย่างมีสงบเรียบร้อย และเป็ นประโยชน์ต่อผู้อืน มีคุณธรรมและมโนธรรมทีจะสร้าง ความสัมพันธ์อันดีโดยมีสํานึกทีจะใช้สิทธิและหน้าทีขอตงนตามค่านิยมทีพึงประสงค์ การศึกษาด้านจริ ยธรรมมีความสําคัญอย่างยิงในการสร้างสันติสุข ทั งนี เพราะว่า ความสัมพันธ์ของมนุษยก์ ับสิงแวดล้อมนั นมีลักษณะทีเป็นอันตรกิริย(าInteraction) กล่าวคือ มีการ ปฏิบัติต่อกนั ทั งทางสร้างสรรค์และบ่อนทําลายการปลูกฝังจริยธรรมจึงเป็นการสร้างคนให้เป็ นคน มจี ิตใจประเสริฐสมบรูณ์ ขยายชอบเขตคุณงามความดี โอบเอือไปถงึ การช่วยเหลือผู้อืนให้พบกับสิง ทีดีงาม มีความสุขโดยทัวกันด้วยความรักและเมตตาธรรม“จริยธรรมจึงเป็ นเครืองคุ้มครองโลก เป็ นฝ่ ายธรรมะทีจะชนะอธรรม ถ้าปราศจากจริยธรรมเสียแล้ว ก็จะไม่มีเครืองมือทีจะควบคุม พฤติกรรมของมนุษย์ ทําให้มนุษย์ไมต่ ่างอะไรไปจากสัตว”์ การศึกษาเรืองจริยธรรมเป็ นวิชาทีวิเคราะห์เรืองพฤติกรรมของมนุษย์ตีความคุณค่าของ ความดี ความถูกต้อง ความควรประพฤติปฏิบัติมีเกณฑก์ ารตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม การศึกษา เรืองนี เป็ นปรัชญาสาขาหนึ งทีว่าด้วยความประพฤติและการครองชีวิตเรี ยกว่า จริ ยศาสตร์ มี จุดประสงค์ของการศึกษา คือ การมีความสุข พ้นจากความทุกข์โดยมีเกณฑ์ตัดสินคุณค่านิยมที ยอมรับในสังคม จริยศาสตร์เป็ นวิชาทีศึกษาเกียวกับปรัชญาของความดี จริยธรรม คือ ธรรมโดยมีการ วิเคราะห์โดยพิจารณาว่า ความดีเป็ นคุณค่า ส่วนการระบุคุณค่าว่า มีองคป์ ระกอบอย่างไรบ้างที เป็นจริยศาสตร์ ลักษณะของจริยศาสตร์มรี ายละเอยี ดความรู้เกียวกับคุณค่าของพฤติกรรมมนุษย์ทํา ความเข้าใจคุณค่ามนุษย์ การศึกษาทางจริยศาสตร์ต่างจากการศึกษาทางสงั คมศาสตร์ในแง่ทีว่าทั ง จริยศาสตร์และสังคมศาสตร์ให้ความรู้เรืองพฤติกรรมมนุษย์แต่สังคมศาสตร์ใหค้ วามรู้เกียวกับ ข้อเท็จจริงของพฤติกรรมเป็นหลักใหญ่ ส่วนจริยศาสตร์เป็ นวิชาทีศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ทาง
52 คุณค่า น่าพึงปรารถนา น่านิยม คุณค่าจึงเป็นค่านิยมทีเป็นทียอมรับในสังคมสภาพหรือการกระทํา ทีควรยึดถอื เพอื ให้ได้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ คือ คุณงามความดีด้วยการพจิ ารณาการกระทําและสภาพ ทั วไป จริยศาสตร์ หมายถึง ความประพฤติตามค่านิยมทีพึงประสงค์ โดยใช้จริยศาสตร์ศึกษา พฤติกรรมด้านคุณค่า สามารถวิเคราะหค์ ่านิยมทีเป็นคู่กัน(Dichotomy) สามารถแยกแยะได้ว่าสิงใด ควรกระทํา และสิงใดชัวควรละเว้น ทําให้ตัดสินคุณค่าของการปฏบิ ัติตนในแนวทางทีดีงามไตดา้ ม ความดีระดับตา่ ง ๆ จริยศาสตร์มาจากภาษากรีกวา่ Ethos แปลวา่ ลักษณะนิสัยทีสามารถตัดสินคุณค่าได้ตาม ความหมายของความดี ความงาม และความสุขความดี คือ กุศลธรรม ซึงเป็ นมาตรฐานในการ ประพฤติกรรมทั งทางกาย วาจา ใจ มีการกระทําในการดํารงชีวิตโดยสุจริตธรรมเกือกูลกัน ไม่ เบียดเบียนกันไม่ทําร้าย ไม่ล่วงละเมดิ กันไม่พยาบาทอาฆาตจองจํา โดยให้พจิ ารณาว่าทําดีได้ดี ทํา ชัวได้ชัว กรรมดีทําแล้วไมเ่ ดือดร้อนภายหลัง กลับทําให้หัวใจแช่มชืนเบิกบานกอปรด้วยความรัก ความเมตตากรุณากัน นําสันติสุขมาให้สว่ นกรรมชัวทําแล้วย่อมเดือนร้อน ซบเซาไมเ่ กิดประโยชน์ ความดีเป็นกศุ ล เป็นบุญ เป็นทางนําไปสู่สุคติคนคนดีจึงหมายถงึ คนมีศีล มธี รรม ไมม่ คี วามโลภ ความโกรธ ความหลง ความงาม คือ ความรู้สึกประทบั ใจทีเกิดจากคุณธรรม นําความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ประพฤติปฏิบัติในวินัยเป็ นทีเลือมใส มีศีลเป็ นอาภรณ์ประเสริฐสุดทําใหง้ าม และความชัวเพราะ เห็นงามในความดี มีจิตใจงามถึงพระธรรมทีงดงามในเบืองต้นงามในท่ามกลางและงามในทีสุด ความงามทีพึงประสงค์ คือ การกําหนดรู้ในกัลยาณธรรมจนรู้แจ้งไมพ่ ัวยึดติดในโลกเป็นทีสุด ความสุข คือ ความรู้สึกสบายใจ สบายกาย เป็ นเวทนาชนิดสุขเวทยาเกิดจากผัสสะมา กระทบอายตนะ มีความสุขขั นตํา คือ สุขในกามคุณประกอบด้วยความสุขในรูปทีรู้ทางตา น่า ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เกิดกาํ หนัด ความสุข ในเสียงทีรู้ทางหู กลินทางจมูก รสทางลิ น โผฏฐัพพะทางกาย ส่วนความสุขสูงสุด คือ ความสุขทีประณีตสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม มี ความตรึก (วติ ก) ความตรอง (วจิ าร) ความอิมใจ(ปิ ติสุข) เป็นภาวะแห่งจิตอันเป็นสมาธิวางเฉยด้วย สติสัมปชัญญะจนเป็นอุเบกขา เป็นความสุขในฌานทีเป็นฌาน และเป็นความสุขในนิโรธสมบตั ิ ลักษณะความสุขในพระพุทธศาสนา ถือวา่ จิตทีไมเ่ ดือดร้อนมีการสงบระงับแห่งสงั ขาร เป็นสุข ความไมเ่ บียดเบียนกันเป็นสุข การละเหตุแห่งทุกข์ ความโลภ โทสะ โมหะ ระงับตัณหา ความทะยานอยากเสียได้ เป็นสุขในทีทั งปวง ความรักความเมตตากรุณาต่อกัน ยอ่ มหลับและตืน เป็นสุข ความสุขยิงกว่าความสงบไม่มี
53 2.4.5 ปรัชญาการศึกษาด้านจริยศึกษา ประภาศรี สีหอําไพ(2535: 11-12) จริยศึกษาคํานึงถึงเนือหาความรู้ด้านจริยธรรมทีมงุ่ ให้ ผู้เรียนนําไปประพฤติปฏิบัตดิ ้วยปรัชญาความรู้คู่คุณธรรม การปลูกฝังหลักจริยธรรมจะต้องแสดง ให้เห็นคุณค่าทีกําหนดเป็นค่านิยมในสังคม ให้ผู้เรียนมีความเชือในการกระทตําามจารีตประเพณีที ดีงามในสังคม มีความคิดไตร่ตรองใคร่ครวญในคุณค่าความดี ความควรมเี หตุผลวิเคราะห์แยกแยะ สิงชัวดี มเี จตคติทีดีต่อการกระทําความดี และมีความสนใจทีจะปฏิบัติตนเป็นคนดกี ารศึกษาด้าน จริยธรรม มีพืนฐานการจัดการศกึ ษาทีสําคัญ 3 ประการคือ 2.4.5.1 ความรู้เรืองหลักจริยธรรม(ประภาศรี สีหอําไพ, 2535: 11-12) 1) อัตวนิ ิจ (Self) เป็นการวิเคราะห์ได้จากตนเอง มองเห็นมาตรการและ วิธีการทีจะดําเนินชีวิตในแนวทางทีถกู ต้อง การกล่อมเกลาขัดเกลาพืนฐานของจิตใจใหม้ ันคงใน คุณธรรม เป็นคนดีมีประโยชน์ต่อสังคม ความมีหริ ิ โอตตัปปะ ถ้าทุกคนมหี ลักเฉพาะตนเช่นนี โลก ย่อมไมม่ กี ารเบียดเบียนทําร้ายทําลายกัน 2) การแลกเปลยี น (Exchange) รู้จักการให้ คนเราถ้ารู้จักให้แลกเปลียน ไม่เอาเปรียบกัน เติมสิงทีบุคคลขาดตกบกพร่องให้สมบรูณ์ ความขาดแคลนยากไร้เดือดร้อน ลําเค็ญกจ็ ะลดน้อยลง ปัญหาคือบางคนเห็นแก่ได้ เอาแต่ประโยชน์ส่วนตนไม่รู้จักใหผ้ ู้อืน เก่งแต่ จะคอยรับ การแลกเปลียนกไ็ ม่สมบูรณ์ ไม่มีสิงใดทีถกู ตักตวงไปจะไม่หมดสิ น การแลกเปลียน กนั จะทําให้มีสภาพทีสมบรู ณ์ 3) สัมพันธภาพ(Relationship) ความสมั พันธท์ ีผูกพันกันโดยทางเครือ ญาติ การติดต่อคุ้นเคยกนหรือโดยกิจกรรมทางสังคม ทําให้แนวความคิดขยายขอบเขตกว้างออก จากตนเอง เผือแผ่ไปยังผู้อนื รู้จักเอือเฟื อ เสียสละ กตัญ ูกตเวที 4) ระบบสงั คม (Social System) ค่านิยมทีวิเคราะห์คุณค่าความถกู ผดิ ชัวดีจนเป็ นหลักการ กฏเกณฑ์กําหนดแนวศีลธรรมให้ยดึ ถือปฏิบัติ ถ้าถึงระดับเข้มข้นก็จะเป็ น ลัทธิศาสนามีศาสดาเป็นผู้ชี นําแนวทางความประพฤติ ก่อตัวเป็นกลุ่มสังคมใหญ่ ได้แก่ ชาติ รวม อารยธรรมวัฒนธรรมอันเป็นวิถที างในการดํารงชีวติ ของสังคม 5) การบําเพ็ญประโยชน์และพันธะสัญญาประชาคม (Utility and Social Contract) เป็ นการปฏิบัติตามระเบียบก่อให้เกิดความสงบเรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีของ ประชาชาติ มีความสมั พันธเ์ ป็ นมิตรไมตรี ตา่ งแสดงความสามารถตามบทบาทของตน ใช้สิทธิ และหนา้ ทีทําใหเ้ กิดความสงบสุขและสามัคคี สามารถควบคุมการรุกรานล่วงลํ าอธิปไตยโดยมิ ชอบได้
54 6) สากลธรรม (Universal) หลักมโนธรรมสากลทีครอบคลุมได้ทั งโลก เป็นข้อยืนยันคุณความดีของทุกศาสนาวา่ ล้วนมงุ่ วางแนวทางให้คนหรือศาสนิกชนของตนบําเพญ็ อยู่ในคุณงามความดีตามทีได้สร้างสรรค์หลักธรรมไว้ มีการกล่อมเกลาจิตใจใหศ้ รัทธาแน่วแน่ใน การบําเพ็ญตนให้มีสาระ มุ่งถึงเป้ าหมายของความเชือสูงสุดทยี ึดมั น ซึงล้วนเป็นสุคติหรือหนทาง ทีดีงาม ไม่ตกตําทุกขร์ ้อน สากลธรรมนําสันติสุข หลักธรรมทีขยายขอบเขตจากจุดเลก็ สุด คือ เฉพาะตนไปจนถงึ สากลโลกเป็นเสมือนสายฝนทีก่อตัวเป็นก้อนเมฆ แล้วตกกระจายสาดไปทัวพืน พิภพฉะนั น 2.4.5.2 การอธิบายค่านิยม (Value Clarification) ประภาศรี สีหอําไพ(2535: 11- 13) 1) การเลือกคุณ (Choosing) การดําเนินชีวิตมีวิถีทางให้เลือกมากมาย ขึ นอยู่กับสถานการณ์ เหตุการณ์ ความเหมาะสมทีจะเลอื กกระทําหรือละเว้นการกระทําสิงใด 2) การกําหนดคุณค่า(Prizing) กําหนดนํ าหนักชังดูว่าควรจะเลือกสิงที ควรกระทําเรียงลําดับไปจากมากลงมาหาน้อย สิงใดทีประสงค์หรือต้องการเลอื กมากทีสุดจึงยึดถือ ในสิงนั น การตีค่านั นขึ นอยู่กับผู้กําหนด ของสิงหนึงอาจมีค่าต่อคนหนึงมากกว่าผู้อืน การกําดหน คุณธรรมจึงต้องเป็ นสากลจึงจะเกิดความเข้าใจในแนวทางเดียวกัน 3) การปฏิบัตติ ามคุณค่า (Acting) กรรม คือ การกระทําจากสิงทีเลือก แล้วกําหนดค่าไว้แล้ววา่ ดีทีสุด บุคคลพึงปฏิบัติตามและอธิบายค่านิยมทีตนยอมรับปฏิบัตินั นให้ ได้ ถ้าเป็นสังคมทีกว้างขึ น ควรมรี ะบบระเบียบเป็นกฏเกณฑ์ให้ชัดเจน 2.4.5.3 องค์ประกอบของจริยธรรม (Moral Elements) จริ ยธรรมเป็ นเครือง กําหนดหลักปฏิบัติในการดํารงชีวิตเป็ นแนวทางให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบเรียบร้อย ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี 1) ระเบียบวินัย (Discipline) เป็นองค์ประกอบทีสําคัญยิง สังคมทีขาด กฏเกณฑ์ ทุกคนสามารถทําทุกอยา่ งได้ตามอําเภอใจ ยอ่ มเดือดร้อนระสํ าระสาย ขาดผู้นําผู้ตาม ขาดระบบทีกระชับความเข้าใจ เป็นแบบแผนให้ยึดถอื ปฏบิ ัติ การหย่อนระเบียบวินัยทําให้เกิดการ ละเมดิ สิทธิและหน้าทีตามบทบาทของแต่ละคน ชาติใดไร้ระเบียบวินัย ย่อมยากทีจะพัฒนาไปได้ ทัดเทียมชาติอืนจึงควรประพฤติตามจารีตประเพณีของสังคม 2) สังคม (Society) การรวมกลุ่มกนั ประกอบกิจกรรมอยา่ งมีระเบียบ แบบแผน ก่อให้เกิดขนบธรรมเนียมประเพณีทีดีงาม มวี ัฒนธรรมอันเป็นความมีระเบียบเรียบร้อย และศลี ธรรมอันดีของประชาชน เป็นกลุ่มชนทขี ยายวงกว้างเรียกวา่ สังคม
55 3) อิสรเสรี (Autonomy) ความมีสํานึกในมโนธรรมทีพัฒนาเป็ นลําดบั ก่อให้เกิดความอิสระ สามารถดํารงชีวติ ตามสิงทีได้เรียนรู้จากากรศึกษาและประสบการณ์ในชีวิต มีความสุขอยู่ในระเบียบวนิ ัยและสังคมของตนเป็นค่านิยมสูงสุดทีคนได้รับการขัดเกลาแล้วสามารถ บําเพ็ญตนตามเสรีภาพเฉพาะตนได้อย่างอสิ ระ สามารถปกครองตนเองและชักนําตนเองใหอ้ ยใู่น ทํานองครองธรรม สามารถปกครองตนเองได้ จากการได้อธิบายของหลักจริยธรรม การอธิบายค่านิยม และองค์ประกอบของจริยธรรม อาจจะพอสรุ ปให้เข้าใจในหลักจริ ยธรรมทีเป็ นแผนภาพทีทําให้เกิดความเข้าใจชัดเจนได้ดังนี
56 จริยศึกษา (Moral Education) 1. หลักจริยธรรม (Moral 2. การอธิบายคุณค่า 3. องค์ประกอบของ Principles) (Value Clarification) จริยธรรม (Moral - การลงโทษและเชือ - การเลือก Elements) ฟังในส่วนตน (Self) (Choosing) จากตัวเลอื ก - ระเบียบวินัย - การแลเปลยี นแต่ละ หลายทางความต่อเนือง ทีควรเลอื กได้ด้วยตนเอง (Discipline) ความ บุคคลทีปฏบิ ัติต่อกัน ประพฤติทีเป็ นไปตาม (Exchange) - การกําหนดค่า ข้อตกลงของสังคม (Prizing) ยืนยันในสิงที ได้แก่ กฎหมาย จารีต - ความสัมพันธ์กัน ตนเลือกได้วา่ มีคุณค่า ประเพณี (Relationship) เพยี งไร - สงั คม (Society) - ระบบสังคม - การปฏิบัติ มนุษย ์เป็ นสัตว์สังคม (Social System) (Acting) นําสิงทีเลอื ก ต้องเห็นแก่ประโยชน์ และตีราคาคุณค่าแล้วมา ส่วนรวม กระทําในสิงที - สิทธิหน้าทีเพือใช้ ประพฤติเป็ นแบบแผน สังคมยอมรับ ประโยชนร์ ่วมกันตาม ในการดําเนินชีวิต สัญญา (Utility and - มีอิสรภาพทีจะ Contract) ปกครองตนเองได้ (Autonomy) มเี สรีภาพ - หลักสากลทีเป็น ส่วนบุคคล มสี ํานึกและ มโนธรรม (Universal) มโนธรรมทีแท้จริง ภาพที 2.1 แสดงหลักจริยธรรม การอธิบายคุณค่า และองค์ประกอบของจริยธรรม แหล่งทีมา: ประภาศรี สีหอําไพ, 2535: 13 จากความหมายข้างต้นพอสรุปได้ดังนี จริยธรรม มาจากคําวา่ จริย คือ การประพฤติ การ ปฏิบตั ิ ธรรม คือ ดีงาม งอกงาม รวมกันแล้ว แปลว่า การประพฤติปฏิบัติในทางดีงาม เป็ น
57 มาตรฐานในการประพฤติกรรมทั งทางกาย ทางวาจา ทางใจ ดํารงตนในทางทีสุจริต ไม่เบียดเบียน ไมท่ ําร้ายคนอืน ไมพ่ ยาบาลอาฆาตจองจํา โดยพิจารณาว่า ทําดีได้ดี ทําชัวได้ชัว ประพฤติปฏิบัติ ตนไม่ทําให้ตนเอง และผู้อืนเดือนร้อน เป็นต้น 2.4.5 ความสัมพันธ์ของจริยธรรมกับศาสนาจริยธรรมมีเนือหาครอบคลุมเรือง(ประภาศรี สีหอําไพ, 2535: 13) ความดี ความงาม ความสุข การกําหนดคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรมเป็ นหลักการ ปฏบิ ัติคุณงามความดีดังกล่าวแล้วจริยธรรมและศาสนาเป็นสิงทีแยกกันได้ยาก เพราะมาจากกันและ กันจริยธรรมมีพืนฐานการตัดสินคุณค่าอยู่ในเกณฑ์ของศาสนาและศาสนากม็ คี ุณธรรมเป็นรากฐาน อย่างไรกด็ ีปรัชญาจริยธรรมสามารถวเิ คราะห์เชิงจริยศาสตร์โดยไมเ่ ป็นส่วนหนึงของศาสนา 2.5 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับการพัฒนาคุณธรรม การพัฒนาคุณธรรมของมนุษย์มีการพัฒนาเป็ นลําดบั จากวัยทารกจนถึงตลอดชีวิตต้น กําเนิดของแหลง่ ทีก่อให้เกิดการพัฒนาทางคุณธรรมมาจากอิทธิพลของสังคมและพันธุกรรมคําว่า สังคม ในทีนี คือ สิงแวดล้อมรอบตัวเด็กทั งทีเป็นบุคคล และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติอนื ๆ ส่วน พันธุกรรม ได้แก่ ความสามารถในการรู้คิด และพัฒนาขึ นตามลําดับขนั อายุ วุฒิภาวะหรื อ ประสบการณ์ทีผู้นั นประสบอยู่ การพัฒนามีลักษณะทฤษฎีทีสาํ คัญแบ่งเป็ น3 แนวทางใหญ่คือ (ประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 29-37) 2.5.1 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ได้รับอทิ ธพิ ลจากแนวคิดของ Freud เชือว่า คุณธรรมกับมโนธรรม เป็นอันหนงึ อันเดียวกัน มนุษย์อยู่ในสังคมกลุ่มใดก็จะเรียนรู้ความผดิ ชอบชัวดีจากสิงแวดล้อมในสังคมนั น จนมีลักษณะ พิเศษของแต่ละสังคมทีเรียกว่าเอกลักษณ์ เป็ นกฎเกณฑ์ให้ประพฤติปฏิบัติตามข้อกําหนดโดย อัตโนมัติ คนทีทําชัวแล้วรู้สึกสํานึกเกิดหิริโอตตัปปะละอายใจตนเองถือว่าไรดับ้ การลงโทษด้วย ตนเอง เมือสํานึกแล้วพึงละเว้นไมป่ ฏิบัติอีกโดยไมต่ ้องมสี ิงควบคุมจากภายนอก เป็นการสร้างมโน ธรรมขึ นมาโดยไม่จําเป็นต้องสนใจองค์ประกอบของลําดับขั นพัฒนาการทางคุณธรรม ในลักษณะทฤษฎีเช่นนี บทบาทของการศึกษาคือ การพัฒนาทางด้านจิตใจเพือเสริมสร้าง กําลังคนทีมคี ุณภาพและประสิทธิภาพตามทีระบบเศรษฐกิจและสังคมต้องการ ปัจจัยทีสําคัญทีสุด คือการศึกษาเพืออบรมฝึกฝนการนําสติปัญญาไปใช้เป็ นประโยชน์แก่กล้ายิงขึ น พยายามแสวงหา
58 จุดมุ่งหมายเพืออบรมฝึ กฝนการนําสติปัญญาไปใช้เป็ นประโยชน์แก่กล้ายิงขึ น พยายามแสวงหา จุดมงุ่ หมายให้แก่ชีวติ คือ ความเป็นอยู่อย่างดีทีสุด หรือการมอี ิสรภาพ กรศึกษาจึงเป็นกิจกรรมของ ชีวิต โดยชีวิต เพือชีวิต เป็ นความสามารถเพือปรับตัวให้เขา้ กับสิงแวดล้อม และรู้จักเกยี วข้อง สัมพันธ์กัน(พระราชวรมุนี, 2518: 71) 2.5.2 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) เป็นกระบวนการสังคมประกิต โดยการซึมซาบ กฎเกณฑ์ต่างๆ จากสังคมทเี ติบโตมารับเอา หลักการเรียนรู้เชือมโยงกับหลักการเสริมแรง และการทดแทนสิงเร้า รับแนวคิดของทฤษฎีจิต วเิ คราะห์เป็นรูปแบบ โดยยึดถือวา่ การเรียนรู้ คือ การสังเกตเลยี นแบบจากผู้ใกล้ชดิ เพือแรงจงู ใจ คือ เป็นทีรักทียอมรับในกล่มุ พวกเดียวกับกลมุ่ ต้นแบบเพอื เป็นพวกเดียวกัน ในลักษณะเช่นสถาบันหรื อกลุ่มสังคมมีอิทธิพลต่อการปลูกฝังและเสริ มสร้างคุณธรรม โดยเฉพาะอย่างยิงคือโรงเรียน จะได้รับความคาดหวังจากสังคมอยา่ งมากในการเป็ นสถาบันที ปลูกฝังรูปแบบและเสริมสร้างการเลียนแบบจากตัวอยา่ งในสงั คมใหแ้ ก่นกั เรียนพึงระมัดระวัง ใน การสอน เพราะถา้ ขาดความสามารถในการอธิบายเหตุผลให้เด็กเลียนแบบ ใชอ้ ารมณ์และ วางอํานาจแทน จะทําให้เดก็ รู้สึกเป็นศัตรูต่อผู้ควบคุมพฤติกรรมทุกระดับ ตั งแต่บิดามารดา ครู ไป จนถึงตาํ รวจ พึงอบรมให้เด็กรู้จักผิดชอบชัวดี รู้สึกละอายทีทําชัว ความคิดเหตุผลและความ สมําเสมอในการลงโทษและให้รางวัลเด็ก เป็ นทียอมรับว่าโรงเรียนเป็ นสถานศึกษาทีอบรมกล่อม เกลาให้นักเรียนมีคุณธรรมเป็ นพลเมืองทีมีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติจึงมีหนา้ ทีต้องจดั และพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรี ยนให้เอื ออ ํานวยต่อการปลูกฝังและเสริ มสร้างคุณธรรม (ชําเลอื ง วฒุ ิจันทร,์ 2524: 140-142) 2.5.3 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Theory) แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มนี เห็นว่าคุณธรรมเกิดจากแรงจูงใจในการปฏิบัติตนสัมพันธ์ กับสังคม การพัฒนาคุณธรรมจงึ ต้องมกี ารพิจารณาเหตุผลเชิงคุณธรรมตามระดับสติปัญญาของแต่ ละบุคคล ซึงมวี ุฒิภาวะสูงขึ นการรับรู้คุณธรรมก็พัฒนาขึ นตามลําดับนักจิตวิทยาทีสนใจศึกษาใน แนวทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาคือ Piaget และ Kohlberg Piaget (1932 อ้างถึงในประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 30-35) เป็ นผเู้ ริ มศึกษาพัฒนาการทาง คุณธรรมของเดก็ และมคี วามคิดวา่ พัฒนาการทางคุณธรรมของมนุษย์นั นขึ นอยูก่ ับความฉลาดใน การทีจะรับรู้เกณฑ์และลักษณะต่างๆ ทางสังคม ดังนั นพัฒนาการทางคุณธรรมของบุคคลจึงขึ นอยู่ กับพัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลนั นๆ และได้แบ่งชั นอขงมนุษย์ออกเปน็ 3 ขั น คอื
59 1) ขั นก่อนคุณธรรม (ตั งแต่แรกเกิดจนถึง2 ปี ) ยังไมเกิดคุณธรรม แต่สามารถ เรียนรู้จากประสาทสัมผัสและมีพัฒนาการทางสติปัญญาในขั นต้น 2) ขั นเชือฟังคําสัง(อายุ 2-8 ปี ) เชือฟังและปฏิบัติตามคําสังสอนของผู้ใหญ่ มีการ คิดก่อนปฏบิ ัติการตามคําสัง ซึงในขณะแรกเริมจะไมค่ ํานึงถงึ เหตุผลของคําสังนั น 3) ขั นยดึ หลักแห่งตน(อายุ 8-10 ปี ) เกิดหลักความคิดพัฒนาการทางสติปัญญา สูงขึ นตามประสบการณ์ทางสังคม คลายความเกรงกลัวอํานาจภายนอก เริ มมีความคิดเป็ นตัวของ ตัวเองมากขึ นจุดประสงค์หลักของPiaget คือ การสํารวจธรรมชาติในการตดั สินคุณธรรมของเด็ก ได้ทําวจิ ัยในเจนีวาโดยศกึ ษาเด็กเปน็ รายบุคคลในเรือง ต่อไปนี 1) เจตคติของเด็กทีมตี ่อกฎ 2) การตัดสินของเดก็ เกยี วกับความถูกต้องและความผิด 3) การประเมนิ ค่าความยุติธรรมในการตัดสิน Piaget (1932 อ้างถงึ ใน ประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 30-35) เริ มกําหนดว่าความงอกงามใน การตัดสินด้านคุณธรรมมีลําดับพัฒนาการเป็ นระยะๆ โดยขึ นอยู่กับการวางรู ปแบบใน ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ มากกว่าการเรียนรู้กฎโดยการให้รางวัลและการลงโทษ คือการ ลอกเลยี นแบบอย่างเท่านั น และได้กลา่ วอีกวา่ คุณธรรมประกอบขึ นด้วยระบบของกฎและการคงอยู่ ของคุณธรรม จะค้นหาได้จากความเชือถือ ซึงแต่ละรายบคุ คลพยายามทีรับกฎเหล่านั น Kohlberg (1981 อ้างถึงในประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 30-31) เป็ นนักการศึกษาดา้ น คุณธรรมทีมีชือเสียงมาก เป็ นผู้นําทฤษฎีจริยศึกษาทีสังเคราะห์เอาขอบเขตความรู้ทางปรัชญา จิตวทิ ยา สังคมวทิ ยา และศกึ ษาศาสตร์มาประกอบกันขึ นเป็นทฤษฎีบูรณาการ(Integrated Theory) และนําเอามาใช้ในการจัดการด้านจริยศึกษา(Moral Education) Kohlberg ได้ศึกษาพัฒนาการทาง คุณธรรมตามแนวของ Piaget และได้แบ่งระดบั ของคุณธรรมออกเป็ น 3 ระดบั ซึงทั ง3 ระดับ จัดเป็นขั นพัฒนาการทางคุณธรรมได้ 6 ขั น(ดังแสดงในตารางที 2.2)
60 ตารางที 2.2 ในทฤษฎีพัฒนาการทางคุณธรรมของKohlberg แบ่งเหตุผลเชิงคุณธรรมเป็ น 3 ระดับ มี 6 ขั น ระดับของคุณธรรม ขันการให้เหตุผลเชิงคุณธรรม 1. ก่อนเกณฑ์ (2-10 ปี ) 1. การเชือฟังและการลงโทษ (2 - 7 ปี ) 2. การแสวงหารางวัล(8 - 10 ปี ) 2. ตามเกณฑ์ (10-16 ปี ) 3. การทําตามความเป็นชอบของผู้อืน 4. การทําตามหน้าทีในสังคม 3. เหนือเกณฑ์ (16 ปี เป็นตน้ ไป) 5. การทําตามกฎเกณฑ์และข้อสัญญา 6. การยึดในมโนธรรมตามหลักสากล แหล่งทมี า: ประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 30–31. Kohlberg วิเคราะห์หลักคุณธรรมว่าเป็ นลําดับหรือระบบของแนวทางสําหรับเผชิญการ เลอื กทีจะปฏิบัติในสิงทีมีให้เลือกอย่างหลากหลายวิธีพัฒนาการทางคุณธรรมมี 6 ลําดับขั นทีอาจ นําไปใช้ในรูปแบบต่างๆ ทีจะเลือกได้ในสถานการณ์ของการพิจารณาสิงทีเป็ นคุณธรรมลําดับขั น ของการพัฒนาการทางคุณธรรม มีดังต่อไปนี 1) การเชือฟังและการลงโทษ พิจารณาในด้านประเด็นของการถือเอาอัตราของ ตัวเองเป็ นใหญ่ 2) การแสวงหารางวัล เป็ นเป้ าหมายตามลักษณะเฉพาะรายบุคคล และการ แลกเปลียนกันอย่างเสมอภาคทีตกลงกัน เพือจะยอมรับความคิดเห็นของกันและกันในสังคม เพือ แสวงหารางวัล 3) การทําความเห็นชอบของผู้อืน ความสัมพันธ์และการทําตามรูปแบบตามที ผู้อนื เห็นชอบเป็นการแลกเปลยี นกันในความคาดหวัง การติดต่อประสานงานและความศรัทธายึด มั นไว้วางใจต่อผู้อนื โดยการปฏิบัติทีดีงามต่อกันตามบทบาทและหน้าทีของตน 4) การทําตามหน้าทีในสังคม ระบบสังคมและความมีสติรับผิดชอบทีจะใหม้ ีการ ดําเนินการตามหน้าทีทีตนกระทําในสังคมนั น เพือรักษาระเบียบทางสังคมทําหน้าทีของสงั คมจึง ต้องรักษาสถาบันให้ดําเนินไปอย่างราบรืนโดยส่วนรวม 5) การทําตามกฎเกณฑ์และข้อสัญญา สิทธิพืนฐานและพันธสัญญาทางสังคมทีจะ ใช้กับประชาชนโดยส่วนรวม จะต้องยึดถอื ค่านิยมซึงมมี ากมายแตกต่างกันไป รวมทั งความคิดเห็น ซึงมอี ยู่เฉพาะกลุม่ นํามารวมกันเป็นพันธสัญญาของสังคมร่วมกัน
61 6) การยึดในมโนธรรมตามหลักสากล หลักคุณธรรมสากลถือเป็ นการแนะ แนวทางให้มนุษยชาติกระทําตามข้อกําหนดของสังคมพืนฐานของแต่ละแห่งโดยภาพกว้างและลึก การถอื เอาความเคารพนับถอื ในบุคคลอนื เป็นจุดหมายมิใช่เป็นวิธีการ ความยุติธรรมคือสัจธรรม ไม่ ขึ นกับวัฒนธรรมเฉพาะแห่งหรือสังคมใดสังคมหนึงเท่านั น การวิเคราะหค์ ุณธรรมของโคลเบอร์ก เปิ ดเผยให้เห็นถึงเรืองสําคัญ คือ 1) หลกั คุณธรรม เป็ นข้อปฏิบัติหรื อแนวทางเมือต้องเผชิญกับทางเลือกใน คุณธรรมหลายทาง และการปฏิบัติคุณธรรมต่างๆ 2) การตัดสินทีเป็นมาตรฐานจนยึดเป็นกฎเกณฑ์ในการแก้ปัญหาขัดแย้งต่างๆ ได้ ตามความต้องการ หลักคุณธรรมจึงต้องเป็ นไปตามหลักสากลและเป็ นค่านิยมทีได้รับการยอมรับ นับถือโดยทั วไป Dewey (1975 อา้ งถึงในประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 35-36) เสนอประเด็นทีว่า หลกั คุณธรรมจะไม่แยกออกจากชีวิตในสงั คมของมนุษย์ ตราบใดทียังมีการสมาคมร่วมกนั อยู่ดังนั น โรงเรี ยนจึงเป็ นรูปแบบของชีวิตในสังคม มิใช่เป็ นการเตรียมตัวสาํ หรับบุคคลใดบุคคลหนึ ง โดยเฉพาะคุณธรรมคือ หลักความประพฤติทีมีการฝึ กอบรมใหเ้ ป็นความประพฤติของพลเมืองดี โดยเน้นทีรายบุคคลเท่ากับทีตระหนักถึงผลทางสังคมทีจะดํารงรูปแบบของสงั คมนั น ดังนั นหลัก คุณธรรมจึงไม่มีใครคนใดคนหนึ งผูกขาดการตัดสิน ไม่ใช่เรืองเหนือธรรมชาติไม่สร้างรูปแบบ เฉพาะภูมภิ าคหรือวิถีชีวติ เพียงใดอย่างหนึ ง การแปลความหมายคุณธรรมในชีวิตสงั คมซึงเต็มไป ด้วยการเร่งรุดหน้าทีจะสร้างลักษณะนิสัยของบุคคลโดยเนน้ ความสําคัญในด้านจิตวิทยาในการ จัดจริยศึกษา อุปกรณ์การให้ความรู้ทางคุณธรรมมีความรู้สึกรับผิดชอบเป็ นส่วนช่วยได้มาก ผลงานของโรงเรียนตัดสินได้จากความสําเร็จในการพัฒนาความสามารถในการตดั สินคุณธรรมของ แต่ละบุคคลได้ นักการศึกษาจะตอ้ งจดั กิจกรรมนักเรียนโดยการเสริมสร้างพลังในการดําเนิน กิจกรรมด้วยตัวนักเรียนเอง ใช้สติปัญญาโดยไมล่ ะทิงหลักคุณธรรมทีนํามาประยุกต์ใช้ด้วยตนเอง อย่างมปี ระสิทธิภาพ Wilson (1985 อ้างถึงในประภาศรี สีหอําไพ, 2543: 37) ได้เสนอหลักการใช้เหตุผลอย่างมี ระบบวา่ คุณธรรม คือ ระดับในการกําหนดคุณสมบัติของคนในสังคมตามความรู้สึก ความสนใจที วัดได้จากคนอนื ดังนั นการจัดการศึกษาจึงเกียวข้องกับเรืองของศาสนาและอารมณ์ของมนุษย์ได้แก่ เจตคติ ความเชือถือ และความคิดทางคุณธรรม ซึงตรงกับความสนใจของผู้อนื หลักคุณธรรมสามารถจํากดั ความเหมือนคําว่า ค่านิยม (Values) เข็มทิศทีเป็ นตวั ชี บอก คุณค่า คือ ความเชือ ความเห็น เจตคติ ความสนใจ หรือการปฏิบัติทีบุคคลทําอย่างแยกตัวเป็ นอิสระ ออกมาให้ผู้อืนได้รู้ว่ากําลงั ดําเนินการวางรูปแบบของค่านิยมขึ นมา ค่านิยมเปน็ ผลผลิตของ ประสบการณ์ส่วนตัวด้วยอย่างหนึ ง
62 จากทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ ทีเกียวกับพัฒนาการทางคุณธรรม สรุปได้ว่า การพัฒนา คุณธรรมจริ ยธรรมต้องอาศัยการพัฒนาอย่างต่อเนื องสิ งทีสําคัญต้องปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรม ตั งแต่เดก็ จนถงึ โตอบรมสังสอน ขัดเกลา ให้รู้จักผิดชอบวชดั ี รู้จักผิด รู้จักถูก โดยปลูกฝังให้รู้จักใช้ สติปัญญาในการด้านกระบวนการคิดหาเหตุผลตามลําดบั ของอายุ ให้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมตาม ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณีทีดีงาม ตลอดจนประพฤติปฏบิ ัติตนใหม้ จี ิตใจงดงาม โอบอ้อมอารี ช่วยเหลือเพือนมนุษย์ทีตกทุกได้อย่าง รู้จักเสียสละความสุขส่วนตัว เพือนประโยชน์สุขของ ส่วนรวม 2.6 แนวคิดทฤษฎเี กยี วกับทัศนคติ 2.6.1 ความหมายของทศั นคติ ราชบัณฑิตยสถาน (2424: 33) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ทัศนคติ หมายถึง แนวโนม้ ทีบุคคล ได้รับหรือเรียนรู้มา และเป็นแบบอย่างในการแสดงปฏิกิริยาสนับสนุนหรอื เป็ นปฏิปักษต์ ่อบางสิง บางอยา่ งหรือต่อบุคคลบางคน ทัศนคตินี เห็นได้จากพฤติกรรมซึงอาจเป็ นแบบเข้าส(ู่ Approach) หรือถอนตัวออกก็ได้ ลัดดา กิตติวิภาค(2525: 1 อา้ งถึงในกฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 43) ให้ความหมาย ว่า ทัศนคติ คือ ความคิดทีมีอารมณ์เป็ นส่วนประกอบ ซึ งทําให้เกิดความพร้อมทีจะมีปฏิกิริยา โต้ตอบ ในทางบวกหรือในทางลบต่อสิงหนึงสิงใด กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์ (2527: 172 อา้ งถึงในกฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 43) ให้ ความหมายไว้ว่า ทัศนคติ คือ ความรู้สึกของบุคคลทไี ด้จากการเรียนรู้และประสบการณ์ แล้วแสดง สภาวะร่างกายและจิตใจในด้านความพร้อมทีจะตอบสนองต่อบุคคลหรือสิงของต่างๆ ในลักษณะ ใดลักษณะหนึ ง2 ลักษณะ คือ แสดงความพร้อมทีจะเขา้ ไปหาเมือเกิดความรู้สึกชอบ เรียกว่า ทัศนคติ ทีดีหรือ บวก หรือแสดงความพร้อมทีจะหลกี หนีเมอื เกิดความรู้สึกไม่ชอบ เรียกว่าทัศนะ คติทีไมต่ ่อหรือทางลบ ณรงค์ สินสวัสดิ (2518: 4-7 อ้างถึงในรังสรรค์ วรรณศรี, 2541: 12) ให้ความหมายว่า ทัศนคติ คือการทีบุคคลคิดถงึ สิงใดสิงหนึงหรือคนใดคนหนึง หรือการกระทําอย่างใดอย่างหนึ งใน ทํานองทีวา่ ดีหรือสมควรหรือไม่สมควร ทัศนคติมีความเกียวข้องกับสิงต่างๆ หลายสิงหลายอยา่ ง เป็นต้นวา่ ความเชือ(Belief) ค่านิยม (Values) บุคลิกภาพ (Personality) และความคิดเห็น (Opinion) ความเชือ ค่านิยม บุคคล บวกกับสิงกระตุ้นจะมีอทิ ธิพลต่อทัศนคติของพฤติกรรมของมนุษย์
63 ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2530: 1 อา้ งถงึ ในกฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 43) ได้สรุปคํา จํากัดความของคําว่าทัศนคติไว้รวม ๆ ดังนี ทัศนคติเป็ นความคิดเห็นซึงอารมณ์เป็ นส่วนประกอบ เป็นส่วนทีพร้อมจะมปี ฏกิ ิริยาเฉพาะอย่างต่อสถานการณ์ภายนอก ศักดิ ไทยสุรกิจบวร (2545: 138 อ้างถึงในกฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 44) ให้ ความหมายของทศั นคติไว้ว่า ทัศนคติ คือ สภาวะความพร้อมทางจิตทีเกียวข้องกบั ความคิด ความรู้สึก และแนวโน้มของพฤติกรรมบุคคลทีมีตอ่ บุคคล สิงของ สถานการณ์ต่างๆ ไปในทิศทาง ใดทิศทางหนึง และสภาวะความพร้อมทางจิตนี จะต้องอยู่นานพอสมควร โสภา ชพู ิกลุ ชัย (2521: 15 - 16 อ้างถึงในรังสรรค์ วรรณศรี, 2541: 12) กล่าวว่า ทัศนะคติ เป็นการรวบรวมความรู้สึก นึกคิด ความเชือ ความคิดเห็น และความจริง รวมทั งความรู้สึกทีเราเรียก การประเมินค่าทั งในทางบวกและทางลบ ซึงทั งหมดจะเกียวพันกันและจะบรรยายใหท้ ราบถึงจุด แกนกลางของวัตถุนั นความรสู้ ึกทีมแี นวโน้มทีจะก่อให้เกิดพฤติกรรมชนิดใดชนิดหนึงนั น เฉลมิ ชัย ผิวเรืองนนท์(2522: 11 อ้างถงึ ในรังสรรค์ วรรณศรี, 2541: 13) ทัศนคติทีก่อขึ นใน จิตใจของคนนั นจะต้องได้รับอทิ ธิพลจากสภาพแวดล้อมหลายอย่าง นับตั งแต่ ประสบการณ์ในอดีต การรับฟังข่าวสารจากภายนอก การเรียนรู้และการจดจําสิงต่างๆ แล้วนํามาผสมผสานกันจนเกิด ทัศนคติขึ นในรูปของนามธรรม จับต้องหรือมองเห็นไม่ได้ แต่จะทราบทัศนคติทีเกิดขึ นได้โดย การอ่านข้อความทีเขาเขียน ฟังข้อความทีเขาพูด พร้อมทั งสังเกตพฤติกรรมทีเขาแสดงออกมาการ ทราบทัศนคติของบุคคล ช่วยให้เราสามารถคาดการณ์เกียวกับพฤติกรรมของบุคคลได้เป็นส่วน ใหญ่ เพราะทัศนคติคงเส้นคงวา (Consistency) เปลียนแปลงได้ยาก ดังนั น การศึกษาทัศนคติจึงเป็ น ประโยชนม์ าก Thurstone (1987: 77 อ้างถึงในกฤษฏา นนั ทเพชร, พระมหา, 2540: 44) ได้ใหค้ วามหมาย วา่ ทัศนคติหมายถงึ ผลสรุปของความโน้มเอียง (Inclination) ความรู้สึกอคติ (Prejudicial or Bias) ข้อสงั เกต (Perceived Notation) ความคิด (Ideas) ความหวาดกลัว (Fears) และจุดยนื ทีแน่นอน (Convictions) ต่อเรืองใดเรืองหนึงโดยเฉพาะ สุรางค์ โค้วตระกูล(2541: 366-367) ให้ความหมายของทัศนคติว่าเป็ นอัชฌาศัย(Disposition) หรือ เป็ นแนวโนม้ ทีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสนองตอบต่อสิงแวดล้อมหรือ สิงเร้า ซึงอาจจะ เป็ นไปได้ ทั งคน วัตถุ สิงของ หรือความคิด (Ideas) ทัศนคติอาจเป็ น บวก หรือลบ ถ้าบุคคลมี ทัศนคติบวกต่อสิงใด กจ็ ะมี พฤติกรรมทีจะเผชิญตอ่ สิงนั น ถ้ามีทัศนคตลิ บก็จะหลีกเลียง ทัศนคติ เป็นสิงทีเรียนรู้ และเป็นการแสดงออก ของค่านิยมและความเชือ ของบุคคล ซึงได้สรุปลักษณะของ ทัศนคติ ไว้ดังนี
64 1) ทัศนคติเป็นสิงทีเรียนรู้ 2) ทัศนคติเป็นแรงจูงใจทีจะทําให้บุคคลกล้าเผชิญกับสิงเร้าหรือหลีกเลียงดังนั น ทัศนคติ จึงมที ั งบวกและลบ 3) ทัศนคติประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 3 อยา่ ง คือ องคป์ ระกอบเชิงความรู้สึก อารมณ์ (Affective Component) องคป์ ระกอบเชิงปัญญาหรือการรู้คิด (Cognitive Component) องค์ประกอบเชิงพฤติกรรม (Behavioral Component) 4) ทัศนคติเปลียนแปลงได้ง่ายการเปลียนแปลงทัศนคติอาจเปลยี นแปลงจากบวก เป็นลบหรือจากลบเป็น บวก ซึงบางครั งเรียกว่าการเปลียนแปลงทิศทางของทัศนคติ หรืออาจจะ เปลยี นแปลงความเข้มข้น(Intensity) หรือความมากน้อย ทัศนคติบางอย่างอาจจะ หยุดเลกิ เลยก็ได้ 5) ทัศนคติเปลียนแปรตามชุมชนหรือสังคมทีบุคคลนันเป็ นสมาชิกเนืองจาก ชุมชนหรือสังคมหนึงๆอาจจะเป็นค่านิยมทีเป็ นอุดมการณ์พิเศษเฉพาะ ดังนั นค่านิยมเหล่านี จะมี อทิ ธิพลต่อทัศนคติ ของบุคคลทีเป็นสมาชิก ในกรณีทีต้องการเปลียนทัศนคตจิ ะต้องเปลียนค่านิยม 6) สงั คมประกิต (Socialization) มีความสําคัญต่อพัฒนาการทศั นคติต่อเด็ก โดยเฉพาะทัศนคติต่อ ความคิด และหลักการทีเป็ นนามธรรม เช่น อุดมคติ ทัศนคติต่อเสรีภาพใน การพูด การเขียน เด็กทีมาจาก ครอบครัวทีมสี ภาพเศรษฐกิจสังคมสูง จะมีทัศนคติบวกสูงสุด 2.6.2 ลักษณะของทศั นคติ ไพบูลย์ อินทรวิช (2515: 11 อ้างถงึ ในรังสรรค์ วรรณศรี, 2541: 15) ทัศนคติเป็ นเรืองของอารมณ์ ความรู้สึก การตอบสนองต่อสิงเร้าโดยเห็นได้จากการที นักวชิ าการได้ให้ความหมายแตกต่างกันออกไป แต่เป็ นทียอมรับกันว่าทัศนคติมีลักษณะสําคัญ4 ประการคือ 1) ทัศนคติเป็ นสภาวะก่อนทีจะมีพฤติกรรมโต้ตอบ ต่อเหตุการณ์หรือสิงใดสิง หนึงโดยเฉพาะหรือจะเรียกวา่ เป็นสภาวะพร้อมทีจะมีพฤติกรรมจริง 2) ทัศนคติจะมีความคงตังอยู่ในช่วงระยะเวลา แต่ไม่ได้หมายความวา่ จะไม่มีการ เปลียนแปลง 3) ทศั นคติเป็ นตัวแปรแฝงทีนําไปสู้ความสอดคล้องระหว่างพฤติกรรมกับ ความรู้สึกนึกคิด ไม่ว่าจะเป็ นในรูปแบบของการแสดงออกโดยวาจาหรือการแสดงความรู้สึก ตลอดจนการทีจะต้องเผชิญหรือหลีกเลียงต่อสิงใดสิงหนึ งซึ งหมายความต่อไปถึงการกําหนด ทิศทางของพฤติกรรมจริงด้วย
65 ไพบูลย์ อนิ ทรวิช (2515: 11 อ้างถงึ ในรังสรรค์ วรรณศรี, 2541: 15) ได้ศึกษาไว้ดังนี 1) ทัศนคติเป็ นสิงทีเกิดขึ นจากการเรียนรู้ หรือเกิดจากประสบการณ์ของแต่ละ บุคคล หาใช่สิงทีมตี ิดตัวบุคคลมาแต่กําเนิด 2) ทัศนคติเป็นสภาพของจิตใจทีมีอิทธิพลต่อการคิด และการกระทําของบุคคล เป็นอันมาก เพราะมันเป็นส่วนประกอบทีกําหนดแนวทางไว้ว่า ถาบ้ ุคคลประสบสิงใดแล้วบุคคล นั นๆ จะมีท่าทีต่อสิงนั นในลักษณะอนั จํากัด 3) ทัศนคติเป็นสภาพของจิตใจทีมคี วามถาวรพอสมควร ทั งนี เนืองมาจากบุคคล แต่ละคนต่างก็ได้รับประสบการณ์ได้รับความรู้ และผา่ นการเรียนรู้มามาก อยา่ งไรก็ตามทัศนคติ อาจมีการเปลียนแปลงได้ อันเนืองมาจากอทิ ธิพลของสิงแวดล้อมต่าง ๆ จากลักษณะดังกล่าวข้างต้นพอสรปุ ได้ว่า ทัศนคติ คือ ความรู้สึกหรือท่าทีทีจะกระทําต่อ บางสิงบางอย่างในสิงแวดล้อมรอบตัวเรา เพือสนบั สนุนหรือต่อต้านกับสิงเหล่านั น มีผลใหม้ ีการ แสดงพฤติกรรมออกมา โดยทัศนคติจะแสดงใหเ้ ห็นถึงทิศทางความรู้สึกต่อสิงเหล่านั นว่าเรามี ความรู้สึกอย่างไร รู้สึกในทางบวกหรือทางลบ ชอบหรือไม่ชอบ ดีหรือไมด่ ี 2.6.3 องค์ประกอบของทัศนคติ ทัศนคติประกอบด้วยองคป์ ระกอบทีสําคัญ3 ประการคือ (ฑิตยา สุวรรณะชฏ, 2527: 79 อ้างถงึ ในกฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 45) 1) ส่วนของความรู้สึก (Affective Component) หมายถึง บรรดาความรู้สึกทีชอบ ไมช่ อบ รัก หรือเกลยี ด หรือกลัว ซึงเป็นเรืองของอารมณ์ของบุคคล 2) ส่วนของสติและเหตุผล (Cognitive Component) เป็ นเรืองของการใช้เหตุผล ของบุคคลในการจําแนกแยกแยะความแตกต่าง ตลอดจนผลต่อเนือง ผลได้ ผลเสีย ถ้าจะพิจารณา อย่างลกึ ซึ ง กค็ ือการทีบุคคลสามารถนําเอาคุณคา่ ทางสังคม ทีได้รับการอบรมถ่ายทอดมาใช้ในการ วิเคราะหพ์ จิ ารณาประกอบเหตุผลของการทีตนประเมิน 3) ส่วนของแบบพฤติกรรม (Behavioral Component) หมายถึง แนวโนม้ ในอันที จะมพี ฤติกรรม (Action tendency) เป็นส่วนทีบุคคลพร้อมจะมปี ฏิกิริยาแสดงออกต่อเหตุการณ์หรือ สิงใดสิงหนงึ แนวโน้มทีจะมีพฤติกรรม จะมีความสัมพันธ์ต่อเนืองกับส่วนของความรู้สึกและส่วน ของสติและเหตุผล องค์ประกอบของทัศนคติทีแยกเป็ น 3 อย่างข้างต้น สามารถแยกได้ในทางวิชาการเพือ ประโยชน์ในการศึกษา แต่ในขอ้ เท็จจริ งเป็ นการยาทีจะแยกให้เห็นได้อย่างชัดเจน เพราะมี ความสมั พันธ์กันและซอ้ นทับกันอย่างแยกไมอ่ อก และบางทีองค์ประกอบทั งสามยังมีความเข้มข้น แตกต่างกันออกไป
66 สิงเร้า : บคุ คล ทัศนคติ ความรู้สึก คําพดู ทแี สดงถึง สถานการณ์ กลุ่ม (Affection) ความรู้สึก ปัญหาสงั คม และอืน ๆ สติ เหตผุ ล การรับรู้ คําพูดที (Cognition) แสดงถงึ ความเชอื เหตผุ ล แบบพฤตกิ รรม (Behavior) ปฏกิ ริ ิยาที แสดงออก ภาพที 2.2 แสดงองค์ประกอบของทัศนคติ แหล่งทมี า: กฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 4. 2.6.4 การเกิดทัศนคติ ทัศนคติเกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ โดยมีองค์ประกอบ ทีมีอิทธิพลต่อการสร้าง ทัศนคติดังต่อไปนี(สุชา จันทร์เอม, 2534: 83 อ้างถึงในกฤษฏา นันทเพชร, พระมหา, 2540: 45-46) 1) วัฒนธรรม (Culture) วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อชีวิตของทุกๆ คน ตั งแตเ่กิดจน กระทั งตาย 2) ครอบครัว (Family) ครอบครัวเป็ นแหล่งแรกในการอบรมเลี ยงดูเด็ก จึงมี อทิ ธิพลมากทีสุดในการสร้างทัศนคติให้แก่เดก็ 3) กลมุ่ เพือน (Social Group) เด็กทีจากพ่อแม่มาอยูก่ ับกลุ่มเพือนตั งแต่เด็กๆ จะ ได้รับอิทธิพลจากลมุ่ เพือนมาก เพราะเด็กต้องการการยอมรับจากเพือน ต้องการคําแนะนําและความ ช่วยเหลอื จากเพอื น 4) บุคลิกภาพ (Personality) บุคคลทีมีบุคลิกภาพต่างกนั เช่น พวกชอบสังคม พวกเกลยี ดสังคม จะมีทัศนคติไมเ่ หมอื นกัน 2.6.5 การเปลยี นแปลงทัศนคติ (สิทธิโชค วรานุสันติกลู , 2532: 116–136 อ้างถึงในสุภ ลักษณ์พฆนิ กุล, 2546: 16-17)
67 1) แนวทางการเปลยี นแปลงทัศนคติโดยการใช้สือความหมายมี 4 ขั นตอนดังนี ขั นตอนที 1 สร้างความใส่ใจ (Attention) สารทีส่งไปเพือเปลียนแปลงทัศนคติ ต่อทําให้ผู้รับใส่ใจก่อน ขั นตอนที 2 การทําความเข้าใจ (Comprehension) ผู้ส่งสือจะต้องทําให้ผู้รับ เกิดความเข้าใจความหมายของสารให้ได้หลังจากผู้รับเกิดความใสจ่ใแล้ว ขั นตอนที 3 การยอมรับ (Acceptance) ผลของการสือความหมายสือทีส่งไป ยังผู้รับต้องพยายามให้มีความหมายตรงกับความต้องการของเขา เขาจึงจะยอมรับสือ ขั นตอนที 4 การจดจํา(Retention) ต้องทําให้ผู้รับสือจําได้ 2) แนวทางการเปลียนแปลงทัศนคติ โดยอาศัยแรงจูงใจ ทีจะผลักดันใหค้ นเรา เปลียนทัศนคติหรือความคิดเห็นขึ นเมอื บุคคลมีความเครียด(Tension) ซึงเกิดจากสภาพขาดสมดุล เพราะวา่ องค์ประกอบความคิด (Cognitive Element) หลายองค์ทีมตี ่อสิงเดียวกันไม่สามารถสมาน กันได้จึงต้องมกี ารทําอย่างใดอย่างหนึงให้ภาวะขาดดุลย์นเขี ้าสู่สภาวะสมดุลจึงจะอยู่ได้อย่างสบาย 3) แนวทางการเปลียนแปลงทัศนคติแบบอนื ๆ (1) การรับรู้ตนเอง (Self-Perception) คนเราเรียนรู้ทัศนคติโดยการสังเกตดู พฤติกรรมทีตนแสดงออกมา เช่น ไม่ชอบฟังเพลงคลาสสิคเพราะเราสังเกตว่าเมือเราหมุนคลืนวิทยุ ไปอย่างไมเ่ จาะจงสถานีพอได้ยินเพลงคลาสสิคเราก็หมนุ คลนื ต่อไปอีก (2) การโน้มน้าวชักจูงใจตนเอง (Self- Persuasion) เช่น เมือเราต้องการจะ เปลียนทัศนคติของเราให้เป็ นคนมีทัศนคติ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สิงทีเราควรกระทําก็คือ หมันบอกตวั เองว่า “ฉันเป็ นคนเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม” และต้องหาโอกาสทีจะแสวงหา พฤติกรรมทีเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมออกไปใหป้ รากฏทัวไป ซึงจะมี 2 ประการ คือ ประการ แรก การกระทําเช่นนั นช่วยให้เราเองเกิดการรับรู้ตนเองจากพฤติกรรมทีแสดงออกไป ประกาที สองเป็นการกระทําให้เราต้องปรับทัศนคติภายในของเราให้เข้าร่องเขาร้ อยกับพฤติกรรมภายนอกที คนอืนๆ เขาสัมผัสอยู่ ถ้าเราไมป่ รับทัศนคติของเราให้สอดคล้องกับท่าทีทีแสดงออกไปแล้วเราจะ เกิดความเครียดขึ นมา (3) การกระทําทีมีเหตุมีผล(The Reasoned Action) ไม่ว่าจะเป็ นการเปลียนแปลง ทัศนคติ ปทัสถาน เจตนา หรื อพฤติกรรม เราต้องพยายามเปลียนแปลงทีความเชือ อันเป็ น องค์ประกอบของทัศนคติเสียก่อน ทัศนคติมใิ ช่ตัวแปรสําคัญทีจะทําให้เกิดพฤติกรรมได้หรือไม่คือ ความตั งใจหรือเจตนา(Intention)
68 2.7 แนวคิดทฤษฏเี กียวกับความคิดเห็น 2.7.1 ความหมายเกียวกับความคิดเห็น ความคิดเห็นตามความหมายในพจนานุกรมของ Webster (1967: 301) ได้สรุปว่า ความ คิดเห็นคือ ความเชือทีไม่ได้ตั งอยู่บานความแน่นอน หรือความรู้อันแทจ้ ริงทีอยู่ภายในจิตใจ ความเห็นและการลงความคิดเห็นของแต่ละบุคคลน่าจะเป็ นจริงหรือตรงตามทีคิดไว้ นอกจากนี ความคิ ดเห็นย ั งมีความหมายทีแตกต่ างกันได้ มีผู้ให้ความหมายของความคิดเห็นทัศนะด้วยกัน ดังเช่น Kolasa (1969: 386 อ้างถงึ ในอนุชา มูลคํา, 2548: 32) ได้ใหค้ วามหมายของความเห็นไว้ว่า ความคิดเห็นเป็ นการแสดงออกซึ งการประเมินผล (Evaluation) สิงใดสิงหนึ งจากสถานการณ์ สิงแวดล้อมต่าง ๆ ความคิดเห็นเป็นการตอบสนองต่อสิงเร้าทีถูกจํากัด แต่เป็นสิงเร้าทีได้รับอิทธิพล มาจากความโน้มเอยี ง อทุ ัย หิรัญโต (2519: 80-81 อ้างถงึ ในปิ ยนุช คืนคงดี, 2546: 5-6) ให้ความหมายไว้ว่า ความ คิดเห็นของคนมีหลายระดับ คือ อย่างผิวเผินก็มีอยา่ งลึกซึ งก็มีสําหรับความคิดเห็นทีเป็ นทัศนคติ (Attitude) เป็ นความคิดเห็นอย่างลึกซึ งและติดตัวไปเป็ นเวลานานเป็ นความคิดเห็นทัวๆ ไป ไม่ เฉพาะอย่าง ซึงประจําตัวของบุคคลทุกคนส่วนความคิดเห็นทีไมล่ ึกซึ งและเป็ นความคิดเห็นเฉพาะ อย่าง และมอี ยู่เป็นระยะเวลาอันสั น เรียกว่าOpinion เป็ นความคิดเห็นประเภทหนึ ง ทไี ม่ตั งอยู่บน รากฐานทีเพยี งพอแก่การพสิ ูจนม์ ีความรู้แห่งอารมณ์น้อย เกิดขึ น สุชา จันทร์เอมและสุรางค์ จันทร์เอม (2520: 104 อ้างถึงในอนุชา มูลคํา, 2548: 33) กล่าวว่า ความคิดเห็นเป็นส่วนหนึงของทัศนคติเราไมส่ ามารถแยกความคิดเห็นและทัศนคติออกจากกันได้ เพราะความคิดเห็นมีลักษณะคล้ายทัศนคตแิ ต่ความคิดเห็นแตกต่างจากทัศนคติตรงทีทัศนคตินั น เป็นความพร้อมทางด้านจิตใจทีมีต่อสิงหนึงสิงใดทแี สดงออกมาทั งคําพูดและการกระทําทัศนคติ ไม่เหมือนกับความคิดเห็นตรงทีไมใ่ ช่สิงเร้าทีจะแสดงออกมาไดอ้ ยา่ งเปิ ดเผยหรือตอบสนองอยา่ ง ตรงๆ และลักษณะของความคิดเห็นไม่ลึกซึ งเหมอื นทัศนคติอย่างง่าย แต่สลายเร็ว Maier (1955: 52 อ้างถึงในอนุชา มลู คํา, 2548: 32) กล่าวว่า ความคิดเห็น (Opinion) เป็ น การแสดงออกของทัศนคติส่วนหนึงและเป็นการแปลความหมายของข้อเท็จจริง(Fact) อีกส่วนหนึง ซึงการแปลความหมายย่อมขึ นอยู่กับอิทธิพลและทัศนคติทีมีต่อสิงนั น Molasa (1969: 386 อ้างถึงในอนุชา มูลคํา, 2548: 32) ได้ให้ความหมายของความคิดเห็นไว้ ว่า ความคิดเห็นเป็นการแสดงออกซึงการประเมินผล (Evaluation) สิงใดสิงหนึ งจากสถานการณ์ สิงแวดล้อมต่างๆ ความคิดเห็นเป็ นการตอบสนองต่อสิงเร้าทีตอ้ งถูกจํากัดแต่เป็ นสิงเร้าทีได้รับ อิทธิพลจากความโน้มเอียง
69 Kolesnlk (1970: 320 อ้างถึงในอนุชา มลู คํา, 2548: 33) ได้สรุปความหมายของความ คิดเห็นว่า ความคิดเห็นเป็ นการแสดงออกซึ งการตัดสินใจจากการประเมินค่า (Evaluation Judgment) หรือทัศนะ (Point of View) เกียวกับเรืองใดเรืองหนึ งโดยเฉพาะและความคิดเห็นย่อม ได้รับอิทธิพลของทัศนคติ ประเสริฐ แย้มกลินฟุ ้ ง(2509: 31 อ้างถงึ ในอนุชามูลคํา, 2548: 33)) ได้กล่าวไว้ว่า ทศั นคติ จะปรากฏอยู่ในความคิดเห็น ซึ งเป็ นเรืองการตัดสินใจเฉพาะในประเด็นใดประเด็นหนึ ง การ เรียงลําดับจากค่านิยมไปสู่ทัศนคติและความคิดเห็นเป็ นการก้าวจากเรืองทัวไป ไปยังเรืองเฉพาะ จากสภาพจิตหรือความโน้มเอยี ง ทีเริมกว้างและแคบเข้าจนในทีสุดแสดงออกมาเป็ นความคิดเห็น เฉพาะเรือง ความคิดเห็นขึ นอยู่กับสถานการณ์ ความคิดเห็นมักจะเป็ นผลทสี ลับซับซ้อนของ ทัศนคติหลายอยา่ ง ความคิดเห็นของบุคคลทีแสดงถึงความกดดันในสถานการณ์หนึ งจะไม่มีผล ผูกพันจริงจังดังจะเห็นได้จากกรณีสมาชิกสภานิติบัญญัติ ซึงเปลียนความคิดเห็นของคนไปตาม อํานาจของกลมุ่ ต่างๆ และบรรยากาศความคิดเห็นทีเปลียนแปลงอยู่เสมอ ประสาท หลักศิลา(2511: 399 อ้างถึงในอนุชามูลคํา, 2548: 33) สรุปว่า ความคิดเห็นต่างๆ ของคนเรานั นเกิดได้จากปะทะสังสรรค์ประจําวันของคนเรา แต่คนเรากม็ ีภมู ิหลังทางสังคมจํากัดอยู่ ภมู ิหลังทางสังคมของแต่ละคนย่อมเป็ นผลถึงการทีคนเรากระทําตอบสนองต่อเหตุการณ์นั น เป็ น ต้นวา่ ในสมัยเริมสงครามโลกครั งทีสองชาวไทยไดร้ ับการศกึ ษาจากยุโรปและอเมริกา ส่วนมากไม่ เชือว่าญีปุ ่ นจะเป็ นฝ่ ายมีชัยในสงคราม พวกนี มักมีทัศนคติทีไม่ดีต่อญีปุ ่ น ส่วนหมนสุ่ าวราษฎร ทัวไปนิยมญีปุ ่ นมากราษฎรทีได้รับการศึกษาดี มีความเห็นสนับสนุนอเมริกาและยุโรปมากกว่า ราษฎรทีได้รับการศึกษาน้อย สุชา จันทร์เอมและสุรางค์จันทร์เอม (2520: 104 อ้างถงึ ในอนชุ า มูลคํา, 2548: 33) กล่าวไว้ วา่ ความคิดเห็นเป็นส่วนหนึงของทัศนคติ เราไม่สามารถแยกความคิดเห็นและทัศนคติออกจากกัน ได้ เพราะความคิดเห็นมีลักษณะคล้ายทัศนคติแต่ความคิดเห็นแตกต่างจากทัศนคติตรงทีทัศนคติ นั นเป็นความพร้อมทางจิตใจทีมตี ่อสิงใดสิงหนึ งทีอาจแสดงออกได้อยา่ งเปิ ดเผย หรือตอบสนอง อย่างตรงๆ และลักษณะของความคิดเห็นไมล่ กึ ซึ งเหมอื นทัศนคติ กฤษณี มหาวิรุฬห์ (2531: 37-38 อ้างถึงในอนุชา มลู คํา, 2548: 33) เป็ นการแสดงออกดา้ น ความรู้สึกต่อสิงหนึง สิงใด เป็นความรู้สึกเชือถือทีไม่อยูบ่ นความแน่นอนหรอื ความจริง แต่ขึ นอยู่ กับจิตใจ บุคคลจะแสดงออกโดยมขี ้ออ้างหรือการแสดงเหตุผลสนับสนุนหรือปกป้ องความคิดนั น ความคิดเห็นบางอย่างเป็ นผลของการแสดงความหมายของข้อเท็จจริง ซึ งขึ นอยู่คณุ สมาบัติ ประจําตัวของแต่ละบุคคลเช่น พืนความรู้ประสบการณ์ในการทํางาน สภาพแวดล้อม ฯลฯและมี อารมณ์เป็ นส่วนประกอบสําคัญ การแสดงความคิดเห็นอาจจะได้รับการยอมรับหรื อปฏิเสธจากคน อืนๆ กไ็ ด้
70 โยธิน คันสนยุทธและคณะ (2522: 46 อ้างถงึ ในอนุชา มูลคํา, 2548: 34) กล่าวว่า การศึกษา ความคิดเห็นมีความสําคัญและประโยชน์อย่างมากเพราะทําใหเ้ ราทราบความต้องการของบุคคล ต่างๆ ในสังคม สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมของผู้กระทาํ จากผูท้ ีถูกกระทําดีหรื อไม่ดีอย่างไร ความเห็นจากผู้ทีได้รับประโยชน์ผู้กระทําในการปรับปรุงพฤติกรรมทัศนคติของผู้ถกู กระทําให้ ดีกว่าเดิม ตัวอย่าง ทีเห็นได้ง่าย เช่น กิจการค้าของบริษัทเอกชน โดยเฉพาะสถานีโทรทศั น์ จะ สอบถามความคิดเห็นของผู้ชมตอ่ รายการโทรทัศน์ต่างๆ อยูเ่ สมอ ทําให้เจ้าของกิจการทราบความ ต้องการ ความชอบ ของผู้ชมเพอื นํามาปรับปรุงรายการให้ดีกวา่ เดิม ประภาเพ็ญ สุวรรณ (25206: 3 อ้างถึงในปิ ยนุชคืนคงดี, 2546: 6) กล่าวว่า ความคิดเห็นถือ ได้ว่า เป็นการแสดงออกทางด้านทัศนคติอยา่ งหนึ ง แต่การแสดงความคิดเห็นมักจะมีอารมณ์เป็ น ส่วนประกอบ และเป็นส่วนทีพร้อมทีจะมปี ฏกิ ิริยาเฉพาะอย่างยิงต่อสภาพการณ์ภายนอก จิรวัฒน์ วงศ์สวัสดิวัฒน(์2536: 133) กลา่ วถึง ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและพฤติกรรม ไว้ว่า พฤติกรรม หมายถึง การแสดงออกทีสามารถสังเกตเห็นได้ มักสนั นิษฐานกันว่า พฤติกรรม ของบุคคลทีแสดง ออกต่อสิงใดสิงหนึ งนั น ส่วนใหญ่ถูกกําหนดโดยทัศนคติของบุคคลทีมีต่อสิง นั น ทัศนคติ หมายถึง สิงทีเกิดจากการเรียนรู้และพร้อมทีจะตอบสนองต่อสิงนั นในลักษณะ ชอบหรือ ไม่ชอบที ค่อนข้างจะคงที ซึงแสดงถึงความเกียวโยงอย่างแน่นแฟ้ นระหว่างทัศนคติและ พฤติกรรม ด้วยเหตุนี เองการศึกษาในระยะต้นๆ จึงเชือว่า ถ้าสามารถศึกษาและทราบทัศนคติของ บุคคลต่อสิงใดสิงหนึ ง จะสามารถ อธิบายหรือทํานายพฤติกรรมได้ แต่ความจริงไม่เป็ นเช่นนั น เพราะผลงานวิจยั ทีศึกษาเกียวกับความสัมพันธ์ ระหว่างสองตัวแปรนี ส่วนใหญ่พบว่า มี ความสมั พันธต์ ํา พฤติกรรมของ มนุษย์จะบ่งชี ได้จากเจตจํานงทีจะกระทํา(Intention) มากกว่า แม้วา่ ทัศนคติของบุคคลต่อสิงใดสิงหนึ ง จะสมั พันธก์ ับพฤติกรรมรวมทีมีต่อสิงนั นทศั นคติเพียง อย่างเดียว ไม่เพียงพอ ทีจะทํานายพฤติกรรมของบุคคลได้ ยังมีสิงอืนทีจะบงั คับให้บุคคลแสดง อย่างอืน ทีไมส่ อดคล้องกับทัศนคตแิ ละ Triandis ได้เสนอตัวแปร4 ตัว เพือทํานายพฤติกรรม ดังนี คือ ทัศนคติ ปทสั ถานทางสังคม นิสัย และความคาดหวังผลทีจะเกิดตามมาและเชือว่าเมือศึกษาทั ง สีตัวแปรจะพบวา่ ทัศนคติและพฤติกรรมมีความสัมพันธ์ทีแน่นอนพอทีจะเชือถอื ได้ระดับหนึง Nunnally (1959: 258 อ้างถงึ ในอนุชา มูลคํา, 2548: 35) กล่าวว่า ความคิดเห็นนั น จะใช้ได้ ในเรืองทีเกียวกับความเห็น (Judgments) และความรู้ (Knowledge) ขณะที ทัศนคติจะใช้กันมากใน เรืองทีเกียวกับความรู้สึก (Feeling) ความชอบ (Preference) และเรามักจะใช้คําว่า ความคิดเห็น มากกว่า ทัศนคติ
71 Munn (1962: 77 อ้างถึงในอนุชา มูลคํา, 2548: 35) กล่าวว่า ทัศนคติ หมายถึง ความรู้สึก (Feeling) และความคิดเห็น (Opinion) ทีบุคคลมีต่อสิงของ บุคคล สถานการณ์ สถาบนั และ ข้อเสนอใด ๆ ในทางทียอมรับหรือปฏเิ สธ ซึงมีผลทําให้บุคคลพร้อมทีจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง ด้วยพฤติกรรมอย่างเดียวกันตลอดไป Thurstone (1987: 77 อ้างถึงในอนุชา มูลคํา, 2548: 35) กล่าวว่า ทัศนคติเป็ นแบบรวมทั งหมด ของมนุษย์เกียวกับความรู้สึก ความคิดเห็น ความกลัวต่อบางสิงบางอยา่ ง การแสดงออกทางด้าน คําพูดความคิดเห็น และความเห็นทีเป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติ ดังนั น ถเ้าราอยากวัดทัศนคติเราก็ ท ํ าได้โดยว ั ดความคิดเห็นของบุคคลทีมีต่อสิ งต่างๆ ทัศนคติ และความคิดเห็นมีความหมายทีคล้ายกันมาก ยากทีจะแยกออกจากกันใหช้ ัดเจน แต่ก็มีนกั จิตวิทยาหลายท่าน พยายามทีจะแยกความหมาย และความแตกต่างของคําว่า ทัศนคติ และความคิดเห็นออกจากกัน Brembrek and Howell (1953: 99-100 อ้างถึงในอนุชา มูลคํา, 2548: 35-36) กล่าวว่า ทัศนคติเป็ นการแสดงออกถึงความรู้สึกภายในของแต่ละคนในการตอบเกียวกับแนวความคิดของ แต่ละคน เกียวกับสิงต่างๆ ซึงเป็ นการแสดงออกถึงการกระทํา ส่วนความคิดเห็นเป็ นทัศนคติที แสดงออกมาเป็น คําพูด จึงอาจจะสอดคล้อง หรือไม่สอดคล้อง กับทัศนคติก็ได้ กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์(2524: 25 อ้างถึงในอนุชา มลู คํา, 2548: 36) กล่าวว่า ความคิดเห็นไม่ เหมือนเจตคติทีไม่จําเป็ น ตอ้ งแสดงความรู้สึกอารมณ์ หรือกระทั งการแสดงพฤติกรรม ทีจะ ตอบสนองหรือไม่ตอบสนองต่อสิงใดสิงหนึง ทีเป็นเพยี งคําพูดพร้อมเหตุผลทีบุคคลขึ นมา และถม้าี คนไม่เห็นด้วย บุคคลนั นกจ็ ะเปลียนคําพูดดังกล่าวได้ เช่น บุคคลหนึงมคี วามคิดเห็นนั น โดยการยก เหตุผลมาคัดค้านมากมายในทีสุดบุคคลนั นย่อมเปลยี นความคิดเห็นได้ สงวน สิทธิเลิศอรุณและคณะ (2522: 99 อ้างถึงในอนุชา มูลคํา, 2548: 36-37) กล่าวว่า เจตคติ เป็ นสิงทีเกียวขอ้ งกับความคิดเห็นอยู่มาก ความคิดเห็นหรือการแสดงออกซึงวิจารณญาณทีมีต่อ เรืองใดเรืองหนึง โดยเฉพาะความคิดเห็นมีความหมายทีแคบกวา่ เจตคติ เพราะความเห็นของบุคคล เปลียนแปลไปตามข้อเทจ็ จริง และเจตคตขิ องบุคคลแสดงสภาพความรู้สึกทัวๆไปเกียวกับสิงใดสิง หนึง ความคิดเห็นจะเป็นการอธิบายเหตุผลต่อสิงใดสิงหนึงโดยเฉพาะ เจตคติของบุคคลสามารถกําหนดชักนําให้บคุ คลอนื ๆ เห็นด้วยตามเจตคตินั นๆ ได้ ไม่ว่า ข้อเทจ็ จริงจะเป็นเช่นไร ตัวอย่างคนทีมีเจตคติลําเอียงต่อปัญหาต่อเรืองเชือชาติใด ไม่ว่าคนทีมีเชือ ชาตินั นจะทําตวัอย่างไรกเ็ ห็นเป็นของไม่ดี เช่น ถ้าเรามีเจตคติต่อพวกยิวในทางทีไม่ดี เนืองจากเรา เคยอา่ นในหนังสือซึงเขียนไว้ว่า พวกยิวเป็นพวกเห็นแก่ตัวดังนั นถ้าเราเห็นใครมพี ฤติกรรมเห็นแกต่ ัว ก็จะเรียกพวกนั นว่าพวกยิว เป็นต้น ทั งนี เพราะอทิ ธิพลของเจตคติทําใหเ้ ราคิดเห็นยอา่ งนั น เจตคติ
72 ทําให้พฤติกรรมของเราเปลียนแปลงไป ไมอ่ าจบังคับหรือห้ามบุคคลมิใหบ้ ุคคลมีเจตคติได้ เพราะ ทุกคนมคี วามคิดเห็น ความรู้สึกผิดชอบชัวดี ดังนั น เราจึงไมค่วรสกัดกั นมิให้บุคคลมีเจตคตแิ ต่เรา จะต้องพยายามหาทางปรับปรุงเจตคติ เพราะเจตคติของบุคคลเกียวข้องกับเรืองชอบ ไม่ชอบ และ เกียวกับอารมณ์ของบุคคลนั นเป็นสําคัญ(แผนภมู ิภาพที 2.3) สิ งเร้าบุคคล เจตคติ ความคิดเห็น การแสดงเหตุผล สถานการณ์ ข้อเท็จจริง การกระทํา ภาพที 2.3 แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งสิงเร้า เจตคติ ความคิดเห็นและการแสดงเหตุผล แหล่งทีมา: อนุชา มูลคํา, 2548: 37. จากตารางแสดงให้เห็นว่า ความคิดเห็นเกิดจากการแบง่ ข้อเทจ็ จริง หรือสิงทีได้เห็นมา แต่ ลักษณะการแบ่งข้อเทจ็ จริงนั นๆ ย่อมเป็นไปตามเจตคติของบุคคล และเมือคนนั นถูกถามว่า ทําไม จึงมีความคิดเห็นอย่างนั น เราจะพยายามให้เหตุผลไปตามทีเขาคิด 2.7.2 ประเภทของความคิดเหน็ Remmer (1954: 6-7 อ้างถึงในปิ ยนุช คืนคงดี, 2546: 7) กล่าวว่าความคิดเห็นมี 2 ประการ ด้วยกันคือ 1) ความคิดเห็นเชิงบวกสุด – เชิงลบสุด (Extreme Opinion)เป็ นความคิดเห็นที เกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ ซึงสามารถทราบทิศทางได้ ทิศทางบวกสุด ได้แก่ ความรัก จนหลงทิศทางลบสุด ได้แก่ ความรังเกียจ ความคดิ เห็นนี รุนแรงเปลยี นแปลงยาก 2) ความคิดเห็นจากความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Contents) การมีความเห็นต่อ สิงใดสิงหนึ งขึ นอยูก่ ับความรู้ความเขา้ ใจทีมีต่อสิงนั น เช่น ความรู้ความเข้าใใจนทางทีดี ชอบ ยอมรับ เห็นด้วย ความรู้ความเข้าใจในทางทีไมด่ ี ได้แก่ ไมช่ อบไม่ยอมรับ ไม่เห็นด้วย 2.7.3 ปัจจัยทมี ีอิทธพิ ลต่อความคิดเหน็ การแสดงความคิดเห็นเป็นเรืองของแต่ละบุคคล ซึงความคิดเห็นของแต่ละคนต่อเรืองใด เรืองหนึงแม้เป็ นเรืองเดียวกัน ไม่จําเป็ นต้องเหมือนกันเสมอไปและอาจแตกต่างกันออกไป ทั งนี ขึ นอยู่กับปัจจัยพืนฐนา ของแต่ละบุคคลทีได้รับมาจนมีอทิ ธิพลต่อการแสดงความคิดเห็น
73 Oskamp (1977: 119-133 อ้างถงึ ในศศิพรรณ บัวทรัพย,์ 2547: 10) ได้สรุปปัจจัยทีทําให้เกิด ความคิดเห็นดังนี 1) ปัจจัยทางพันธุกรรมและร่างกาย (Genetic and Physiological Factors ) เป็ น ปัจจัยตัวแรกทีไมค่ ่อยจะได้พดู ถึงมากนกั โดยมีการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านพันธุกรรม จะมผี ลต่อ ระดับความก้าวร้าวของบุคคลซึงจะมผี ลต่อการศกึ ษา เจตคติ หรือความคิดเห็นของบุคคลนั นๆได้ ปัจจัยด้าน ร่างกาย เช่น อายุ ความเจ็บป่ วย และผลกระทบจากการใช้ยาเสพย์ติดจะมีผลต่อความ คิดเห็นและเจตคติของบุคคล เช่น คนทีมีความคิดอนุรักษ์นิยมมักจะเป็นคนทีมีอายุมาก เป็นต้น 2) ประสบการณ์โดยตรงของบุคคล (Direct Personal Experience) คือบุคคลได้รับ ความรู้สึกและความคิดต่างๆจากประสบการณ์โดยตรง เป็นการกระทําหรือพบเห็นต่อสิงต่างๆโดย ตนเอง ทําใหเ้ กิดเจตคติหรือความคิดเห็นจากประสบการณ์ทีตนเองได้รับ เช่น เด็กทารกทีแม่ได้ ป้ อนนํ าส้มคั นให้ทาน เขาจะมีความรู้สึกชอบ เนืองมาจากนํ าส้มหวาน เย็น หอม ชืนใจ ทําให้เขามี ความรู้สึกต่อนํ าส้มทีได้ทานเป็นครั งแรกเป็นประสบการณ์ โดยตรงทีเขาได้รับ 3) อทิ ธิพลจากครอบครัว (Parental Influence) เป็ นปัจจัยทีบุคคลเมือเป็ นเด็กจะ ได้รับอิทธิพลจากการอบรมเลี ยงดูของพ่อแม่และครอบครัว ทั งนี เมือตอนเป็ นเด็กเล็กๆจะได้รับ การ อบรมสังสอน ทั งในด้านความคิด การตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย การใหร้ างวัล และการลงโทษ ซึงเด็กจะได้รับจากครอบครัว และจากประสบการณท์ ีตนเองได้รับมา 4) เจตคติและความคิดเห็นของกลุม่ (Group Determinants of Attitude) เป็นปัจจัย ทีมอี ิทธิพลอยา่ งมากต่อความคิดเห็น หรือเจตคติของแต่ละบุคคล เนืองจากบุคคลจะต้องมีสังคม และอยู่ร่วมกันเป็นกล่มุ ดังนั นความคิดเห็นและเจตคติต่างๆ จะได้รับการถ่ายทอดและมีแรงกดดัน จากกลุ่ม ไมว่ า่ จะเป็นเพือนในโรงเรียน กลุ่มอ้างอิงต่างๆ ซึงทําให้เกิดความคล้อยตามเป็ นไปตาม กลมุ่ ได้ 5) สือมวลชน (Mass Media) เป็ นสือต่างๆ ทีบุคคลได้รับสือเหล่านี ไม่ว่าจะเป็ น หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ จะมีผลทําให้บุคคลมีความคิดเห็นมคี วามรสู้ ึกต่างๆ เป็ นไป ตามข้อมูลข่าวสารทีได้รับจากสือ จําเรียง ภาวิจิตร (2536: 248-249) ได้กล่าวถึงปัจจัยทีก่อใหเ้ กิดความคิดเห็นว่าขึ นอยูก่ ับ กลมุ่ ทางสังคมในหลายประการ คือ 1) ภูมิหลังทางสังคม หมายถึงกลุ่มคนทีมีภูมิหลังทีแตกต่างกัน โดยทัวไปจะมี ความคิดเห็นทีแตกต่างกนั ไปดว้ ย เช่น ความคิดเห็นระหว่างผู้เยาว์กับผู้สูงอายุ ชาวเมืองกับชาว ชนบท เป็นต้น
74 2) กลุม่ อ้างอิง หมายถึง การทีคนเราจะคบหาสมาคมกับใครหรือกระทําสิงหนึ ง สิงใดให้แก่ผู้ใด หรือการกระทําทีคํานึงถึงอะไรบางอยา่ งร่วมกันหรืออ้างอิงกันได้ เช่น ประกอบ อาชีพเดียวกัน การเป็นษมาชิกกลุ่มหรือษมาคมเดียวกัน เป็ นต้น สิงเหล่านี ย่อมมีอิทธิพลต่อความ คิดเห็นของบุคคลเหลา่ นั นด้วย 3) กลมุ่ กระตือรือร้น หรือกลุ่มเฉือยชา หมายถึง การกระทําใดทีก่อใหเ้ กิดความ กระตือรือร้นเป็นพิเศษอันจะก่อให้เกิดกลุ่มผลประโยชน์ขึ นมาได้ ย่อมส่งผลต่อการจใงู จให้บุคคลที เป็นสมาชิกเหล่านั นมคี วามคิดเห็นทีคล้อยตามได้ไมว่ า่ จะให้คล้อยตามในทางทีเห็นด้วยหรือไม่เห็น ด้วยกต็ าม ในทางตรงกันข้ามกล่มุ เฉือยชากจ็ ะไมม่ ีอทิ ธิพลต่อสมาชิกมากนัก จากทีกล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อความคิดเห็นได้แก่ ปัจจัยส่วน บุคคล คือปัจจัยทีมีผลต่อความคิดเห็นของบุคคลโดยตรง เช่น เพศ อายุ รายได้ และปัจจัย สภาพแวดล้อม คือปัจจัยทีมผี ลต่อความคิดเห็นของบุคคลโดยอ้อม เช่น สือมวลชน กลุ่มทีเกียวข้อง และครอบครัว 2.7.4 ความสําคัญของความคิดเห็น การสํารวจความคิดเห็นเป็นการศึกษาความรสู้ ึกของบุคคล กลุม่ คนทีมตี ่อสิงใดสิงหนึ ง แต่ ละคนจะแสดงความเชือและความรู้สึกใดๆ ออกมาโดยการพดู การเขียน เป็ นต้น การสํารวจความ คิดเห็นจะเป็นประโยชน์ต่อการวางนโยบายต่างๆ การเปลียนแปลงนโยบายหรือการเปลียนแปลง ระบบงาน เพราะจะทําให้การดําเนินการต่างๆ เป็ นไปดว้ ยความเรียบร้อยและความพอใจของ ผู้เข้าร่วมงาน ในการศึกษาความคิดเห็นต่างๆ ส่วนมากจะใช้วิธีแบบวิจัยตลาด ได้แก่ การซักถาม สอบถาม บันทึกไว้ และรวบรวมข้อมลู ซึงBest (1977: 179 อ้างถึงในปิ ยนุช คืนคงดี, 2546: 6) ได้ เสนอไว้ว่าวิธีทีง่ายทีสุดในการทีจะบอกถึงความคิดเห็น คือ การแสดงใหเ้ ห็นถึงจํานวนร้อยละของ คําตอบในแตล่ ะขอ้ ความ เพราะจะทําให้ทราบว่า ความคิดเห็นจะออกมาในลักษณะใดแล้วจะ สามารถทําตามความคิดเห็นเหล่านั นได้หรือไม่ และในการวางนโยบายใดๆ ก็ตาม ความคิดเห็นที วัดออกมาได้จะทําให้ผู้บริหารเห็นสมควรทีจะดําเนินนโยบายต่อหอรลื ้มเลกิ ไป 2.7.5 วิธวี ัดความคิดเห็น การวัดความคิดเห็นโดยทัวไป ต้องมีสิงประกอบ3 อยา่ ง คือบุคคลทีถกู สิงเร้าและมีการ ตอบสนอง ซึงจะออกมาเป็ นระดับสูง ตํา มาก น้อย วิธีวัดความคิดเห็นนั นโดยมากจะใช้การตอบ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์โดยให้ผู้ทีจะตอบคําถามเลือกตอบแบบสอบถาม การใช้
75 แบบสอบถามจะตอ้ งระบุให้ผู้ตอบตอบว่าเห็นดว้ ยหรือไม่เห็นดว้ ยกับข้อความทีกําหนดให้ แบบสอบถามประเภทนี นิยมสร้างตามแนวของ Linker ซึงแบ่งนํ าหนกั ความคิดเห็นเป็ น5 ระดับ ได้แก่ เห็นด้วยอย่างยิง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่ายงิง ส่วนการใหค้ ะแนน ขึ นอยูก่ ับใจความว่าจะเป็ นปฏิฐาน(Positive) หรือนิเสธ (Negative) (ไพรัช สุขสมญาติ,2542: 10 อ้างถงึ ในสมหมาย ลูกอินทร์, 2550: 7) ซึงการวิจัยในครั งนี ใช้วิธีการวัดตามแนวทางของLinker แต่ เพือให้เกิดความชัดเจนของผลการศกึ ษาจึงได้ประยุกต์นํหานักความคิดเห็นเป็น 4 ระดับ คือ ทําได้ดี ทําได้ค่อนขา้ งดี ทําได้ยังไม่ดไี มด่ ีเลย จากนิยามและความหมายของความคิดเห็นดังกล่าวมาแล้ว พอสรุปได้วา่ ความคิดเห็นเป็ น ส่วนหนึงของทัศนคติเราไมส่ ามารถแยกความคิดและทัศนคติออกจากกันได้ เพราะความคิดเห็น คล้ายกันกบั ทัศนคติ แต่ความคิดเห็นเป็ นการแสดงออกต่อสิงใดสิงหนึ งทเี กิดจากสถานการณ์ สิงแวดล้อมต่างๆ ซึงเป็นการตัดสินใจโดยการประเมนิ ค่าในการจะยอมรับหรือไม่ยอมรับ เป็ นการ แสดงออกมาเป็ นค ําพูด โดยประกอบด้วยความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคลในลักษณะของการ ชอบ ไม่ชอบ เฉยๆ ไม่มคี วามคิดเห็นต่อสิงนั นส่วนทัศนคติเป็นการพดู ชี นําให้บุคคลอืน เห็นด้วย กับทัศนะของตน ไม่วา่ ข้อมูลนั นจะเป็นจริงหรือเท็จ เป็ นการพูดด้วยความโน้มเอียง เพือโน้มน้าว จิตใจของคนอนื จนนําไปสู่ความคิดเห็นในทางบวกและทางลบ 2.8 แนวคิดทฤษฏเี กียวกับการศึกษาระดบั อุดมศึกษา 2.8.1 ความหมายของอุดมศกึ ษา อุดมศึกษา หมายถงึ การศึกษาทีสูงขึ นจากระดับมัธยมศึกษาคําว่า อดุ มศกึ ษา มีรากศัพท์มา จากศัพท์ภาษาบาลี \"อุตม\" หมายถึง สูงสุด และศัพทภ์ าษาสนั สกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั น คําวา่ \"อุดมศึกษา\" จึงหมายถงึ การเรียนขั นสูงสุด(สารานุกรมเสรี, 2553) อุดมศึกษา หมายถึง การศึกษาทีสูงขึ นจากระดับมัธยมศึกษาคําวา่ อดุ มศึกษา มีรากศัพท์มา จากศัพทภ์ าษาบาลี \"อุตม\" หมายถึง สูงสุด และศัพทภ์ าษาสนั สกฤต ศึกษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั น คําวา่ \"อดุ มศกึ ษา\" จึงหมายถงึ การเรียนขั นสูงสุด(สารานุกรมเสรี, 2553) การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทยนั น เริ มขึ นตั งแต่รัชสมัยของ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึงได้ก่อตั งโรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทย์ โรงเรียน ช่างไหม รวมถึงโรงเรียนมหาดเล็ก แต่ยังไม่สามารถให้การศกึ ษาถึงขั นปริญญาได้ ในปัจจุบัน การ จัดการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาของประเทศไทยอยู่ภายใต้การกํากับดแู ลขอสงํานักงานคณะกรรมการ
76 การอุดมศึกษา หรือ สกอ. กระทรวงศึกษาธิการ ซึงมีสถาบนั อุดมศึกษาในสังกัด 157 แห่งทัว ประเทศ โดยแบ่งเป็น (สารานุกรมเสรี, 2553) 1) สถาบันอดุ มศกึ ษาของรัฐ65 แห่ง 2) สถาบันอุดมศกึ ษาในกํากับของรัฐบาล 13 แห่ง 3) สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน 69 แห่ง 4) วิทยาลัยชุมชน19 แห่ง นอกจากนียังมีการจัดการศึกษาโดย มหาวิทยาลัย วิทยาลัยหรือบัณฑิตวิทยาลัย ทีอาจจะ ไมไ่ ด้อยู่ในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เช่น วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกซึง อยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงกลาโหม นอกจากนีโรงเรี ยนสาธิตก็ยังสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอดุ มศึกษาอีกด้วย 2.8.2 ความสําคัญของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันอดุ มศกึ ษาเป็นกลไกหนึงของประเทศซึงมหี น้าทีผลติ กําลังระดับสูง เพือการพัฒนา ประเทศ เพาะสถาบันอุดมศึกษา เป็ นแหล่งรวมวิทยาการหลากหลายแขนง เป็ นแหล่งผลิตและ พัฒนาองค์ความรู้ เสริมสร้างความสามารถในการค้นคว้าวจิ ัย ตลอดจนเป็นศูนย์รวมขอนักวิชาการ ทีมีความรู้ ความสามารถแขนงต่างๆ เป็ นจํานวนมาก สถาบันอุดมศึกษาจึงเป็ นสถาบนั หลักทีมี บทบาทในการชี นําสงั คมมาโดยตลอด และสงั คมทัวไปก็ให้การยอมรับว่า เป็ นสถาบันหลักของ ประเทศทีประชากรและองค์การต่างๆ สามารถพึงพาได้ เมือมีปัญหาทีต้องแกด้ ้วยวิชาการและ ปัญหาความคาดหวังของสังคมและความรับผิดชอบในภารกิจทีมอี ยู่ ทําให้สถาบันอดุ มศกึ ษาต้องใช้ ความพยายามอย่างเต็มทีทีจะต้องปฏิบัติหนา้ ทีอยา่ งครบถ้วน และรักษาความเชือมัน ศรัทธาของ สังคมให้คงอยูต่ ่อไป ดังนั นสถาบันอุดมศึกษาจึงไม่อาจหลีกเลียงภารกิจทีพึงมีต่อประเทศไปได้ (ชัชวาลวงษ์ประเสริฐ, 2548: 64–65 อ้างถึงในจิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 9) 2.8.3 สถาบันอุดมศึกษาและการเรียนรู้ระดับสังคม ในบริบทของสถาบันการศึกษา การจัดการความรู้เป็ นแนวคิดทีนําไปใช้ได้เช่นเดียวกับ องค์การประเภทอืน โดยเฉพาะอย่างยิงในยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ทีอาศัยความรู้เป็ นปัจจัยสําคัญจึง จําเป็นอย่างยิงทีสถาบันการศกึ ษาจะต้องมีศักยภาพในการจัดการความรเพู้ อื ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ต่อสถาบันและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิงสถาบันอุดมศึกษาซึงสังคมคาดหวังวา่ จะเป็ นศนู ย์รวมแห่ง ความรู้ เป็นองค์การทีเป็นแหลง่ รวมของผู้ทีมีความรู้ระดับสูงหลากหลายทีสร้างความรู้เชิงวิชาการ จากการปฏิบตั ิจริง ซึงตอ้ งตอบสนองความต้องการของสังคมด้วยการให้บริการความรู้ทีเป็ น ประโยชน์ต่อสังคม (Stewart, 1997: 91 อ้างถึงในจิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 8-15)
77 เกียวกับเรืองนี Barnett (1994: 11-13 อ้างถงึ ในจิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 8-15) ได้เสนอวา่ ในสถาบันอุดมศึกษาเป็ นผู้ผลิตความรู้แล้วนําความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและพัฒนา สังคม ถือว่าสถาบันอุดมศึกษาเป็ นสถาบันแห่งการเรี ยนรู้หรื อสังคมแห่งการเรี ยนรู้ โดย ประกอบด้วยองค์ประกอบสาํ คญั 3 ประการซึงเรียกว่า สามเหลียมแห่งการเรียนรู้ (Learning Triangle) ดังภาพที 2.4 ความรู้ อดุ มศึกษา สังคม ภาพที 2.4 สามเหลียมแห่งการเรียนรู้ แหล่งทมี า: จิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 9. จากภาพที 2.4 สามเหลียมแห่งการเรียนรู้มีความสัมพันธ์ในลักษณะทีเป็ นวัฏจักรแบบ หมุนเวียนสลับไปมา คือ สถาบันอุดมศึกษาเป็ นผู้ผลิตองค์ความรู้แล้วนาํ ความรู้ไปใชใ้ ห้เกิด ประโยชน์ต่อสังคมและพัฒนาสังคมเมือมองอีกด้านหนึ งคือ สังคมมีการเปลียนแปลงจะสะท้อน ความรู้ไปสู่สถาบันอุดมศกึ ษา สถาบันอุดมศึกษาจะดูดซับความรู้จากสังคมนํามาพัฒนาเป็ นองค์ ความรู้ใหมแ่ ละนํากลับไปให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมดังนั นสถาบันอดุ มศกึ ษาจึงเป็นแหล่งรวบรวม ความรู้ทีถา่ ยทอดไปสู่สังคม เป็นการเชือมโยงการเรียนรู้กับสังคม 2.8.4 ความสําคัญของการจัดการความรู้ในสถาบันอดุ มศกึ ษา การจัดการความรู้มีความสําคัญและมปี ระโยชน์ต่อองค์การทุกรูปแบบทั งช่วยเพิมผลผลิต พัฒนาคุณภาพองค์การให้ดีขึ นเพิมประโยชน์กับบุคคล นวัตกรรม การเรียนรู้ ความสามารถของ บุคคลในการนําไปปฏบิ ัติซึงจะเป็นการปรับปรุงและเพิมสินทรัพย์ความรู้ขององค์การสําหรับใน ส่วนของสถาบันการศกึ ษา การจัดการความรู้มีประโยชน์ดังน(ี ชัชวาล วงษป์ ระเสริฐ, 2548: 64-65 อ้างถงึ ในจิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 8-15) 1) เป็นการเปลียนการเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาโดยการเข้าถึงศนู ย์ความรู้ และ ขยายเขตแดนของสถาบันออกสู่โลกกว้าง 2) ช่วยในการจัดการเรียนรทู้ างไกล และ E-learning ให้มีประสิทธิภาพมากยิงขึ น
78 3) ให้มีการทํางานระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ระหว่างสถาบันทํางานร่วมกนั เรียนรู้แลกเปลียนความรู้ความคิดกัน 4) ช่วยจําลองประสบการณ์การเรียนรู้ทําให้เข้าใจในเนือหานั นๆมากขึ น 5) ปรับปรุงประสิทธิภาพของตนเองและศักยภาพในการเรียนรู้ โดยการปรับปรุง โปรแกรมพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม องค์ความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาทั งทีเป็ นศาสตร์และการเรียนรู้ภายในมีอยู่ มากมาย อาทิเช่น อาจารย์ทีสอนเก่งในภาควชิ ามีเทคนิคการสอนและวิธีการถา่ ยทอดความรู้อย่างไร ให้ลูกศษิ ย์อยากเรียนรู้นักวิจยั อาวุโสทีมผี ลงานวิจัยเยียมยอดและมีชือเสียงมีแนวคิดและวธิ ีการวิจัย อย่างไร การบริหารจัดการหลักสูตรและโครงการทีประสบความสําเร็จตลอดจนการแก้ปัญหาต่างๆ ทีเกิดขึ นภายในหน่วยงานทีถือเป็ นองค์ความรู้ทีมีคุณค่าทั งสิ น แต่เมือบุคคลทีมีคุณค่าทั งหลาย เกษียณอายุหรื อลาออกจากสถาบันไป พวกเขาจะนําความรู้ทีสั งสมมาในตัวเขาไปด้วยหรื อเหลือทิ ง ไว้ให้กับหน่วยงานและองค์การสถาบันอุดมศึกษาจะมวี ธิ ีการใดทีจะรักษาองค์ความรู้ไว้และใช้เป็น ฐานในการต่อยอดความรู้ให้องค์การเข้มแข็งขึ น ดังนั นการจัดการความรู้จึงเป็ นเรืองทีเกยี วข้องโดยตรงกับสถาบันอุดมศึกษา ไม่เพียงแต่ ความรู้เป็ นธุรกิจหลักขององค์การเท่านั น แต่เพราะความรู้ทีเกิดขึ นภายในสถาบันอุดมศึกษามี มากมาย หากมีกระบวนการถ่ายทอดและสนบั สนุนให้คนในองค์การได้เข้าใจและเรียนรู้จากกัน และกันจะเป็ นเครืองมือสาํ คญั ทีนําพาให้องค์การพัฒนาไปสู่การเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ที แท้จริง ซึงการเริมต้นดําเนินการเรืองการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไม่ใช่เรืองยากแต่เป็ น เรืองใหม่ และไม่ได้หมายความว่าไม่มีความรู้แต่เป็นเพราะไมร่ ู้วิธีการทีจะจัดการเก็บความรู้ทีมีอยู่ กระจัดกระจายภายในสถาบันและนําความรู้เหล่านั นมาต่อยอดเพือใหค้ นในองคก์ ารมีความรู้เพิม มากขึ น องคก์ ารเข้มแข็งและกลายเป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง (รัชต์วรรณ กาญจน ปัญญาคม, 2547: 16-20 อ้างถึงในจิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 8-15) ดังนั นการจัดการความรู้จึงเป็ น เรืองทีสถาบันอุดมศึกษาควรใหค้ วามสําคัญและริเริ มดําเนินการอย่างเป็ นระบบ เพือใหอ้ งค์การ สามารถรักษา จัดการ และต่อยอดความรู้ทีเกิดประโยชน์ต่อไป 2.8.5 หลักการและกรอบมาตรฐานของการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทย จิตราภรณ์ ทองไทย (2552: 11) กลา่ วไว้ว่าการจัดการความรู้ในสถาบนั อุดมศึกษาไทยนั น จะต้องดําเนินการภายใต้กรอบหลักในการจัดการการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทีเนน้ การเรียนรู้เป็ นสําคัญซึงสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้กําหนดการ จัดการความรู้ไว้เป็นส่วนหนึงของมาตรฐานการอดุ มศึกษาเพือให้สอดคล้องกับความต้องการตาม
79 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติและมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคํานึงถึงความเป็ น อสิ ระและความเป็นเลศิ ทางวชิ าการของสถาบันอดุ มศึกษาไว้ดังนี มาตรฐานการอดุ มศึกษา ประกอบด้วย มาตรฐาน 3 ด้าน 12 ตัวบ่งชี ดังนี 1) มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตระดับอุดมศึกษาเป็ นผู้มีความรู้มี คุณธรรม จริยธรรม มคี วามสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถประยกุ ต์ใช้ความรู้เพือ การดํารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขทั งทางร่างกายและจิตใจ มีความสํานึกและความ รับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยมีตัวบ่งชี ดังนี (1) บัณฑิตมีความรู้ความเชียวชาญในศาสตร์ของตน สามารถเรียนรู้สร้างและ ประยุกต์ใช้ความรู้เพอื พัฒนาตนเองสามารถปฏิบัติงานและสร้างงานเพือพัฒนาสังคมให้สามารถ แข่งขันได้ในระดับสากล (2) บัณฑิตมจี ิตสํานึกดํารงชีวิตและปฏิบัติหนา้ ทีตามความรับผดิ ชอบ โดย ยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม (3) บัณฑิตมีสุขภาพดีทั งดา้ นร่างกายและจิตใจ มีการดูแล เอาใจใส่รักษา สุขภาพของตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสม 2) มาตรฐานดา้ นการบริหารจัดการการอุดมศึกษา มีการบริหารจัดการการ อดุ มศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลและพันธกิจของการอุดมศกึ ษาอย่างมีดุลยภาพ 2.1) มาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษามีการบริหาร จัดการการอดุ มศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลโดยคํานึงถึงความหลากหลายและความเป็ นอิสระทาง วิชาการ โดยมตี ัวบ่งชี ดังนี (1) มีการบริหารจัดการบุคลากรทีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มี ความยดื หยุ่นสอดคล้องกบั ความต้องการทีหลากหลายของประเภทสถาบันและสังคมเพือเพิม ศักยภาพในการปฏิบัติงานอย่างมอี ิสระทางวชิ าการ (2) มกี ารบริหารจัดการทรัพยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือสารทีมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล คลอ่ งตัวโปร่งใสและตรวจสอบได้มีการจัดการศกึ ษาผ่าน ระบบและวธิ ีการต่างๆ อย่างเหมาะสมและคุ้มค่าคุ้มทุน (3) มีระบบการประกันคุณภาพเพือนาํ ไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการอดุ มศึกษาอย่างต่อเนือง 3) มาตรฐานด้านพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษาการดําเนินงานตามพันธ กิจของการอดุ มศึกษาทั ง4 ด้าน อยา่ งมีดุลยภาพ โดยมีการประสานความร่วมมือรวมพลังจากทุก ภาคส่วนของชุมชน และสังคมในการจัดการความรู้โดยมตี ัวบ่งชี ดังนี
80 (1) มหี ลักสูตรและการเรียนการสอนทีทันสมัยยดื หยุ่น สอดคล้องกับความ ต้องการทีหลากหลายของประเภทสถาบนั และสงั คม โดยใหค้ วามสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนแบบผู้เรียนเป็นสําคัญเน้นการเรียนรู้และการสร้างงานด้วยตนเองตามสภาพจริง ใช้การวิจัย เป็ นฐาน มีการประเมินและใช้ผลการประเมินเพือพัฒนาผู้เรียน และการบริหารจัดการหลักสูตร ตลอดจนมกี ารบริหารกิจการนิสิตนกั ศึกษาทีเหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียนการ สอน (2) มีการวิจัยเพือสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ทีเป็ นการขยาย พรมแดนความรู้และทรัพย์สินทางปัญญาทีเชือมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมและ สิ งแวดลอ้ มตามศักยภาพของประเภทสถาบัน มีการสร้างเครื อข่ายความร่ วมมือระหว่าง สถาบนั อุดมศึกษาทั งในและต่างประเทศ เพือพัฒนาความสามารถในการแข่งขันไดใ้ นระดบั นานาชาติของสังคมและประเทศชาติ (3) มกี ารให้บริการวชิ าการทีทันสมัยเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ ของสังคมตามระดบั ความเชียวชาญของประเภทสถาบนั มีการประสานความร่วมมือระหว่าง สถาบันอุดมศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมทั งในและต่างประเทศเพือเสริมสร้างความเข้มแข็ง และความยั งยืนของสังคมและประเทศชาติ (4) มีการอนุรักษ์ฟืนฟูสืบสาน พัฒนา เผยแพร่วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน เพือเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจและความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย มีการปรับใช้ศิลปะ วัฒนธรรมต่างประเทศอย่างเหมาะสมเพอื ประโยชนใ์ นการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ 4) มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ การแสวงหา การสร้างและการจัดการความรู้ตามแนวทาง/หลักการอันนําไปสู่สังคมฐานความรู้และ สังคมแห่งการเรียนรู้โดยมตี ัวบ่งชี ดังนี (1) มีการแสวงหา การสร้าง และการใช้ประโยชน์ความรู้ ทั งส่วนทีเป็ นภูมิ ปัญญาท้องถินและเทศเพอื เสริมสร้างสังคมฐานความรู้ (2) มกี ารบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบโดยใช้หลักการวิจัยแบบบรู ณา การหลั กการแลกเปลียนเรี ยนรู้หลั กการสร้างเครื อข่ายและหลั กการประสานความร่ วมมือรวมพลัง อันนําไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ นอกจากนั น การจัดการความรู้ยังเป็ นหนึ งในตวั ชี วัดตามการประเมินผลการ ปฏบิ ัติราชการตามคํารับรองการปฏบิ ัติราชการของสถาบันอุดมศึกษาในกรอบการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการมติ ิที 4 มิติด้านการพัฒนาสถาบันประเดน็ การประเมนิ ผล: การบริหารการศึกษา โดย ในปี งบประมาณพ.ศ. 2551 มีการกําหนดให้การจัดการความรู้เป็ นตัวชี วัดที20 ระดับความสําเร็จ
81 ของการดาํ เนินการตามแผนการจัดการความรู้เพือสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ และใน ปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 กไ็ ด้มกี ารกําหนดให้การจัดการความรู้เป็นตัวชี วัดท1ี5 ระดับความสําเร็จ ของแผนพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู้ เพือพัฒนาบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษา โดยมี วัตถุประสงค์เพือให้สถาบันอุดมศึกษามีการบริหารจดั การเพือพัฒนาบุคลากรของสถาบนั ฯ ที เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจหลักและแผนปฏบิ ัติราชการรวมถงึ มีการจัดการความรู้ในสถาบันฯ ทีมีประสิทธิภาพ ทีจะทําใหบ้ ุคลากรได้รับการพัฒนาและมีความก้าวหน้าตามลักษณะงาน ตาม สาขาวชิ าชีพ และตามสมรรถนะ (Competencies) อย่างเหมาะสม 2.8.6 กระบวนการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา สําหรับกระบวนการของการจดั การความรู้ในสถาบนั อุดมศึกษามีความคล้ายคลึงกับ กระบวนการจดั การความรู้ในองค์การประเภทอืนๆ โดยในกระบวนการเรียนการสอนใน สถาบันอุดมศึกษาได้ใช้กระบวนการจัดการความรทู้ ีมีกระบวนการย่อยๆ เชือมโยงกันจําแนกเป็ น ระบวนการ คือ กระบวนการพัฒนาความรู้การจําแนกความรู้การเกบ็ รักษาความรู้ การประเมินและ ปรับปรุงความรู้ การแบ่งปันแลกเปลียนเรียนรู้ และการนําความรู้ไปใช้ (บุญส่ง หาญพานิช, 2546: 45) กระบวนการจัดการความรู้นี มอี ยู่แล้วในวถิ ีชีวิตแห่งการทํางานทัวไปเพียงแต่นํามาจัดใหเ้ ป็ น ระบบชัดเจนขึ น ทําให้มองเห็นจุดเด่นและจุดด้อยทีต้องพัฒนา ว่าเราจะใช้กระบวนการจัดการ ความรู้ มาสร้างใหเ้ ป็ นนิสัยแห่งการเรียนรู้ ทีบุคลากรต้องการเรียนรู้อยูเ่ สมอ และตลอดเวลา ใน รูปแบบต่างๆ กัน ทั งการอ่านหนังสือ การฟังคําบรรยาย การอภิปรายแสดงความคิด รวมทั งการ เขียนรายงานเผยแพร่ความรู้ เป็ นต้น สิงเหล่านี ถือว่าเป็ นวิถีชีวิตการทํางานของบุคลากรใน สถาบันอุดมศึกษา สถาบันแห่งคลังความรู้หรือการเรียนรู้จะถ่ายทอดต่อไปยังสงั คมหรือพัฒนา สังคม และสังคมกจ็ ะเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม กระบวนการจัดการความรู้จะสามารถดําเนินการหรือสําเร็จได้นั นจําเป็นต้อง มกี ารวางแผนทีดี เนืองจากการวางแผนเป็นขั นตอนแรกสุดของหน้าทีการจัดการเป็ นกระบวนการ พืนฐานในการกําหนดเป้ าหมายและวิธีการเพือดําเนินการให้บรรลุเป้ าหมาย ดงั คํากล่าวทีว่า “ความสําเร็จของงานมาจากการวางแผนทีดี” หรือ “การวางแผนทีดีเท่ากับทํางานสําเร็จไปแล้ว ครึ งหนึ ง” ดังนั น การวางแผนจึงเป็ นกระบวนการในการกําหนดเป้ าหมายไว้ในอนาคต การใช้ ทรัพยากรและการปฏบิ ัติงานทีจะให้บรรลผุ ลสําเร็จตามเป้ าหมายทีตั งไว้การวางแผนจะเกียวเนือง กับวิสยั ทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้ าหมาย (Goals) และกลยุทธ์ (Strategies) ซึงสิงต่างๆ เหล่านี ผู้บริหารจะต้องระลึกอยู่เสมอว่าจะมอบหมายให้ใคร(Who) ทําอะไร (What) ทีไหน (Where) เมือไร (When) ทําไมต้องทํา(Why) และทําอยา่ งไร (How) เพือเป็ นหลักประกันในการ
82 ปฏบิ ัติงานให้เป็นไปตามเป้ าหมายทีวางไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการวางแผนอาจมี ความหมายในอีกมุมมองหนึ งว่าเป็ นเรืองการตัดสินใจในการจัดเตรียมสิงต่างๆ ทีต้องการใน ปัจจุบนั และวิธีการปฏิบัติเพือรับมือกับเหตุการณ์ทีจะเกิดขึ นในอนาคต อย่างไรก็ตาม “การ วางแผน” จะถูกพจิ ารณาในแง่ของกระบวนการหรือวิธีการในการจัดทําในขณะที “แผน” คือผลที ได้จากกระบวนการวางแผนทีจัดทําเสร็จเรี ยบร้อยแล้วออกมาเป็ นเอกสารทีสามารถนําไปใช้อ้างอิง หรือควบคุมการดําเนินงานต่อไป(ตุลา มหาพสุธานนท์, 2547: 107-110; Kinicki and Williams, 2004: 146-152 อ้างถงึ ในจิตราภรณ์ ทองไทย, 2552: 8-15) 2.9 ผลงานวิจัยทีเกียวข้อง กฤษฏา นันทเพชร,พระมหา (2540: 154-157) ได้ทําการวิจัยเรือง ทัศนคติของพระสงฆ์ต่อ บทบาทการพัฒนาสงั คม ผลการศึกษาพบว่า พระสงฆท์ ีเรียนวิชาเอกในมหามกุฏราชวิทยาลัย ต่างกัน มที ัศนคติต่อบทบาทในการพัฒนาสังคมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตคิ ือพระสงฆ์ที เรียนวิชาเอกสงั คมวิทยา มีทัศนคติเห็นด้วยกับบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม สูงกว่า พระสงฆ์ทีเรียนเอกภาษาอังกฤษ วชิ าเอกศาสนา– ปรัชญา และวิชาเอกบาลี – สันสกฤต และยังมี แนวโนม้ ว่าปัจจัยอืนๆ เช่น พรรษา สถาบนั การศึกษา จํานวนครั งในกรติดตามสือโทรทัศน์จะ ส่งผลให้พระสงฆ์มที ัศนคติต่อบทบาทในการพัฒนาสังคมด้านแตกต่างกันด้วย อัปสร ยิงเจริญ(2543: 58–59) ได้ทําการวิจัยเรือง ทัศนะของนักเรียนต่อบทบาทของครูใน การเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง ผลการศึกษาพบว่าในการศึกษาครั งนี ผู้ศึกษาได้ กําหนดให้ เพศ อายุ ค่าใช้จ่ายทีได้รับจากการผู้ปกครอง ผลการเรียน อาชีพของบิดา อาชีพของ มารดา เป็นตัวแปรอสิ ระ และตัวแปรตาม ได้แก่ บทบาททีเป็นจริงของครู ในการเรียนการสอนแบบ เนน้ ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง และบาบาททีคาดหวังของครูในการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็ น ศูนย์กลาง การเปรียบเทียบบทบาททีเป็นจริงกับบทบาททีคาดหวัง ในภาพรวม พบว่า บาทบาททีเป็ น จริงอยู่ในระดับปานกลาง ตํากว่าบทบาททีคาดหวังซึงอยู่ในระดับสูง การเปรียบเทียบบทบาททีเป็ นจริงกับบทบาททีคาดหวังในกิจกรรมการสอนแบบเน้น ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง ในแต่ละหวั ข้อทั ง16 ข้อ จะพบว่าวิธีการเรียนรู้ ไม่น่าเบือและน่าสนใจ มี ผลต่างค่าเฉลยี สูง รองลงมาคือครูใหก้ ําลังใจนกั เรียนในการทํางาน และการเรียนมีกิจกรรมหลาย อย่างสนุก และนักเรียนสนใจการเรียน และครูแสดงความเมตตาต่อนักเรียนอยา่ งทัวถึงส่วนหัวข้อ ทีว่านักเรียนไดค้ ้นพบหรือสรุปสร้างความรู้ดว้ ยตนเองจากการค้นคว้าทดลองปฏิบตั ิมีผลต่าง ค่าเฉลยี ตํา
83 จํานงค์ อัญญวรวิทย์ (2546: 124–135) ไดท้ ําการวิจยั เรือง บทบาทหน้าทีคาดหวังและ บทบาททีเป็ นจริ งในการบริ หารงานวิชาการของผู้บริ หารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดยะลาผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับบทบาททีคาดหวังและบทบาททีเป็ นจริงในการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริ หารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูวิชาการและครูผู้สอนใน สถานศึกษาโดยภาพรวมพบว่า บทบาททีคาดหวังอยู่ในระดับมากส่วนบทบาททีเป็ นจริงอยู่ใน ระดับปาน 2) ความแตกต่างระหว่างความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูวิชาการและ ครูผู้ สอนในสถานศึกษาต่อบทบาททีคาดหว ังและบทบาททีเป็ นจริ งในการบริ หารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศกึ ษา พบว่าบทบาททีคาดหวังตามความคิดของผู้บริหารสถานศึกษาหรือครูวิชาการ หรือครูผู้สอนต่างมคี วามคิดเห็นสอดคล้องกันคือบทบาททีคาดหวังโดยรวมหรือรายด้านทุกด้าน อยู่ในระดับมาก ส่วนบทบาททีเป็ นจริงก็มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน คือ บทบาททีเป็ นจริ ง โดยรวมหรือรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับปานกลางกลาง เพ็ญศรี พุ่มเทียง (2545: 60–69) ได้ทําการวิจัยเรืองบทบาทการพึงตนเองของนกั เรียนชั น ประถมศึกษาปี ที 6 ในครอบครัวสมัยใหม่ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า บทบาทการพึงตนเองของนกั เรียนชั นประถมศึกษาปี ที6 เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ในด้าน การศกึ ษาด้านเศรษฐกิจอยู่ในระดับกลาง แต่การพึงตนเองด้านสังคมหรือส่วนรวมอยูใ่ นระดับมาก การเปรียบเทียบเพศของนกั เรียนและขนาดครอบครัวพบว่านกั เรียนหญิงมีบทบาทกรพึงตนเอง ดีกว่านักเรียนชายด้านการศึกษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 และไม่พบความแตกต่าง ระหวา่ งขนาดครอบครัวกับการพึงตนเองของนักเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถติ ิทีระดับ 0.05 ศึกษา ความสมั พันธ์ระหว่างระดับการศึกษา อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ และการอบรมเลี ยงดูของบิดา มารดา พบวา่ ระดับการศึกษาของบิดามารดามีความสัมพันธ์กับการพึงพาตนเองด้านสงั คมอยา่ งมี นัยสําคัญทางสถติ ิทีระดับ0.05 และพบวา่ อาชีพของบิดามีความสัมพนั ธท์ างบวกกับการพึงตนเอง ด้านเศรษฐกิจ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 ฐานะทางเศรษฐกิจของบิดามารดามี ความสัมพันธท์ างบวกกับการพึงตนเองทางด้านเศรษฐกิจอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 และพบว่ามีความสมั พันธท์ างบวกระหว่างการอบรมเลี ยงดูแบบประชาธิปไตยกับการพึงตนเอง อย่างมีนัยสําคัญทางสถติ ิทีระดับ0.05 น้องนุช ประสมคํา(2546: 101–105) ได้ทําการวิจัยเรืองบทบาทเยาวชนดีเด่นอาสาสมัคร ในงานพัฒนาสังคมผลการศึกษาพบวา่ บทบาทของเยาวชนดีเด่นอาสาสมัครในงานพัฒนาสงั คม มี บทบาทสาํ คัญใน 6 ด้าน 1. บทบาทต่อตนเอง โดยเยาวชนมีบทบาทในการพัฒนาตนเองให้มี
84 ศักยภาพซึงเป็นพืนฐานในการพัฒนาสังคม2. บทบาทต่อผู้อืน เป็ นบทบาททีเยาวชนมีต่อผู้ใกล้ชิด และบุคคลทัวไป ประกอบด้วย บิดามารดา ครูอาจารย์ ญาติพีน้อง เพือน และบุคคลทัวไป 3. บทบาทต่อสังคม เยาวชนมีบทบาทในการบําเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ประกอบด้วย การ สงเคราะห์ การแก้ปัญหา และการพัฒนาสังคมโดยการนําเอาความรู้ความสามารถ และเทคโนโลยี ทีนาํ สมรัยมาใช้ 4. บทบาทต่อสถาบนั ชาติ เป็ นบทบาททีเยาวชนช่วยส่งเสริมความมันคงของ ประเทศ การสืบทอดวัฒนธรรมทีดีงามและการกีฬา 5. บทบาทต่อสถาบันศาสนา ซึงเยาวชนมี บทบาทในการรักษาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และ 6. บทบาทต่อสถาบันพรมหากษัตริย์เป็ น บทบาททีเยาวชนแสดงออกถึงความจงรักภกั ดีต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ สําหรบปัจจยั ทีทําให้เยาวชนทํางานอาสาสมัคร ในการศึกษาครั งนี พบว่ามีปัจจัยหลัก4 ประการ คือ ครอบครัว การศึกษา แรงจูงใจ และบทบาทหน้าทีในการทํากิจกรรมต่าง ๆ มาลี ควรคนึง (2545: 143–147) ได้ทําการวจิ ัยเรืองวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่งผลต่อบทบาทที ปฏบิ ัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสงั กัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดนครปฐมผลการวิจัยที พบวา่ 1) ระดับวัฒนธรรมโรงเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาพรวมในภาพรวมใน โรงเรียนมัธยมศึกษาทุกขนาดอยู่ในระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่าอยูใ่ นระดับมาก 8 ด้าน คือ การยอมรับนับถือการมอบอํานาจ ความมีคุณภาพ เป้ าหมายของโรงเรียน ความซือสตั ย์ สุจริต ความเอืออาทร ความหลากหลายของบุคลากรตามลําดับและอยู่ในระดบั ปานกลาง 2 ด้าน คือ ความไว้วางใจและการตัดสินใจตามลําดับ ระดับวัฒนธรรมโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาทีมขี นาดต่างกันมีความแตกต่าง กันอย่างไมม่ นี ัยสําคัญทางสถิติ เมือพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่าวัฒนธรรมโรงเรียนด้านเป้ าหมาย ของโรงเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่มากกว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง และ ด้านความรู้สึกเป็ นส่วนหนึ งของโรงเรียนพบว่าในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กมากกว่าใน โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และขนาดกลาง 2) ระดับบทบาททีปฏิบัติจริงของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาพรวมใน โรงเรียนมัธยมศกึ ษาทุกขนาดพบว่าอยู่ในระดับมาก 7 ด้าน คือ ด้านการบริหารงานธุรการด้านการ บริหารงานปกครองนกั เรียน ด้านบริหารทัวไปด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงาน บริการด้านการบริหารงานโรงเรียนกับชุมชนและด้านการบริหารงานอาคารสถานทีตามลําดับ ศศิพรรณ บัวทรัพย(์ 2547: 67-70) ได้ทําการวจิ ัยเรอื ง ความคิดเห็นของนกั ศึกษามหาวิทยาลัย รามคําแหงต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผลการศึกษาพบวา่
85 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ป็นเพศชาย ศึกษาคณะนิติศาสตร์ จบการศึกษา ชั น ม.6 ก่อนเข้ารับการศกึ ษาทีมหาวิทยาลัยรามคําแหงส่วนใหญ่มีภูมิลําเนาอยูต่ ่างจังหวัดได้รับรู้ ข้อมูลเกียวกบั เศรษฐกิจพอเพยี งจากสือโทรทัศน์ ครอบครัว และเพอื นหรือผู้นํากลมุ่ ตามลําดับ 2) ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นของนกั ศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงต่อ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ได้แก่ เพศ คณะทีศึกษา และการรับรู้จากครอบครัว ส่วนปัจจัยทีไม่มีผล ต่อความคิดเห็นของนกั ศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ชั นปี ที ศกึ ษา สาขาทีจบ ก่อนเข้าศึกษา ภูมิลําเนาการรับรู้จากสือมวลชนและการรับรู้จากเพอื หรือผู้นํากลมุ่ รังสรรค์ วรรณศรี (2541: 64–65) ได้ทําการวจิ ัยเรืองทัศนะของตํารวจสนั ติบาลทีมีต่อการ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการสืบสวนหาข่าว ผลการศึกษาทัศนะของกลุ่มผปู้ ฏิบัติงานด้านการ สืบสวนหาข่าวของกองกํากับการ 3 กองตํารวจสนั ติบาล 1 ในพืนที 3 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่เชียงราย และลําพูนรวมจํานวน 50 นาย พบว่ากลุ่มตัวอย่างดังกล่าวเห็นด้วยอยา่ ง ยิงทีจะนําเอาอุปกรณ์เครืองมอื เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการสืบสวนหาข่าว เป็นการอํานวยความ สะดวกให้ได้รับข้อมูลทีถูกต้องแม่นยํา รวดเร็ว และทันต่อเวลาช่วยเสริมประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานดา้ นการสืบสวนหาข่าวให้สูงขึ น สําหรับปัญหาอุปสรรคต่อการนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุติดตามตัว และวิทยุสือสาร กลุ่มตัวอย่างมคี วามเห็นว่าจะไม่เกิดปัญหาเมือนําเครืองมืออุปกรณ์ดังกล่าวมาใช้ ในการสืบสวนหาข่าวสําหรับเครืองจับเท็จและอปุ กรณ์ติดตามผู้ต้องสงสัยและพาหนะผู้ต้องสงสัย กลุ่มตัวอย่างไม่แน่ใจว่าจะมีปัญหาเกิดขึ นหรื อไมถ่ ้าจะนํามาใช้ในการสืบสวนหาข่าว ทั งนี เนืองมาจากอปุ กรณ์ดังกล่าวนี ยังไมเ่ ป็นทีรู้จักจึงยังไม่เคยใช้และไม่เคยทราบหรือมีความรู้เกียวกับ อปุ กรณ์ดังกลา่ ว สุวิมล จีระทรงศรี (2552: 94-101) ได้ทําการวจิ ัยเรืองผลสัมฤทธิ ของการกวดวิชาและการ สอบคัดเลอื กเข้าสถาบันอดุ มศึกษาของรัฐผลการศึกษา พบว่า ลักษณะนิสยั ในการเรียนโดยรวมมี ความสัมพันธ์กบั ผลการสอบคดั เลือกเขา้ คณะ/มหาวิทยาลัยทีต้องการเป็ นอันดบั หนึ ง อย่างมี นยั สําคัญ แต่เมือจําแนกลักษณะนิสัยในการเรียนออกเป็ นองค์ประกอบด้านการหลีกเลียงการ ผลัดเวลาและด้านวิธีการทํางานพบวา่ ไม่มคี วามสัมพันธท์ ั งกับการเรียนกวดวิชาและผลการสอบ คัดเลือกฯ นอกจากนี ยังพบวา่ การอ่านหนังสือล่วงหนา้ ก่อนเข้าเรียน เป็ นเรืองเดียวในด้านวิธีการ ทํางานทีมีความสมั พันธ์อยา่ งมีนัยสําคัญกับการเรียนกวดวิชาและการมีเทคนิคการอ่านหนังสือ และเทคนิคการจําเป็นเรืองเดียวในด้านวิธีการทํางานทีมีความสมั พันธ์กับผลการสอบคัดเลือกเข้า คณะ/ มหาวิทยาลัยทีต้องการเป็นอันดับหนึงการศึกษาผลการสอบคัดเลือกฯมีความสัมพันธ์กับการ เรียนกวดวิชา อย่างมนี ัยสําคัญโดยผู้ทีเรียนกวดวิชามีโอกาสสอบได้คณะ/ มหาวิทยาลัยทีต้องการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194