Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรอิสลาม

หลักสูตรอิสลาม

Published by mulkan hawae, 2022-08-17 04:13:39

Description: หลักสูตรอิสลาม

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรอสิ ลามศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนราชภกั ดี พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษานราธิวาส เขต ๒ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ประกาศโรงเรยี นราชภักดี เรื่อง ใหใ้ ช้หลักสตู รโรงเรียนราชภกั ดี พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลักสตู รอสิ ลามศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ _______________________ เพ่ือให้การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสอดคล้องกับสภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ เป็นการสร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของบุคคล สังคม ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข็งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ ผู้เรียนมีจิตสำนึกในความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เปน็ ไปตามเจตนารมณ์มาตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉะน้ัน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้มีมติเห็นชอบให้ใช้หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และให้โรงเรียนราชภักดีจัดหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑โรงเรียนราชภักดี พุทธศักราช ๒๕๕๓ เพ่ือใช้ในการจัดการเรียน การสอนต้งั แตป่ ีการศกึ ษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไป ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนราชภักดีได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เม่ือ วนั ท่ี 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จงึ ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนราชภกั ดีตัง้ แต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ................................. ..................................... (นายยูโซ๊ะ กาเซง็ ) (นางสาวเมเหรัน แซแน) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนราชภกั ดี

คำนำ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศใชห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เพอื่ ให้ โรงเรียนได้จดั การศึกษาขัน้ พื้นฐานใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสตู รและจัดการเรยี นการสอนเพื่อพัฒนา เด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ให้มคี ุณภาพในด้านความรู้และทักษะที่จำเปน็ สำหรับใช้เป็น เครื่องมือในการดำรงชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอนั พงึ ประสงค์ มีจติ สำนกึ และปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมคำสอน ของศาสนาเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกนั ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข โดยให้ผูเ้ รียนได้เรียนรศู้ าสนาท่ีตนนบั ถือตามทกี่ ำหนด ไว้ในสาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม กล่มุ สังคมศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนราชภักดมี ีผเู้ รียนทีน่ บั ถือศาสนา อิสลามจำเปน็ ต้องมีการจดั การเรียนการสอนอิสลามศกึ ษา เพื่อให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ยึดมั่น ศรัทธา และ ปฏิบตั ติ ามหลักศาสนาอสิ ลาม เพื่อเป็นพืน้ ฐานในชีวิตประจำวันและมีความสอดคล้องตามอตั ลกั ษณ์ของชมุ ชน จงึ ได้ประกาศใช้หลกั สตู รอสิ ลามศกึ ษาตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นำไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนวชิ าสามัญควบคู่วิชาศาสนาหรืออสิ ลามศกึ ษาแบบเข้ม เม่ือจบหลกั สตู รจะได้รบั วุฒิ การศกึ ษาท้งั ด้านสามัญและศาสนา ขอขอบคุณผู้ทม่ี ีสว่ นรว่ มจากทุกหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง ทงั้ ในโรงเรียน สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ทม่ี าเป็นวทิ ยากร และขอขอบคุณ ประชาชนทุกสายอาชีพในชุมชน ตลอดจนพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และนักเรยี น ซึ่งชว่ ยให้การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาฉบับน้ี มคี วามสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการ จัดการศึกษาเพื่อเยาวชนในชุมชน (นางสาวเมเหรัน แซแน) ประธานคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรสถานศกึ ษา

สารบญั หน้า ก เรื่อง 1 คำนำ 2 ความนำ 2 วิสยั ทัศน์ 3 หลกั การ 3 จดุ หมาย 4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 7 มาตรฐานการเรยี นรู้ 14 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 21 โครงสรา้ งหลักสูตรอิสลามศึกษา 28 คำอธบิ ายรายวชิ าอลั -กุรอาน 35 คำอธิบายรายวิชาอัล-หะดีษ 42 คำอธิบายรายวชิ าอลั -อะกีดะฮฺ (หลักศรัทธา) 49 คำอธิบายรายวิชาอัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบญั ญตั ิ) 56 คำอธบิ ายรายวชิ าอตั ตารีค (ศาสนประวัติ) 63 คำอธิบายรายวชิ าอลั -อัคลาก (จริยธรรม) 70 คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาอาหรับ 77 คำอธิบายรายวิชาภาษามลายู 83 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 84 ภาคผนวก คำสั่ง

ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซึ่งพัฒนา มาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ที่สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาและความไม่ชัดเจนของ หลักสูตรบางประเด็น ทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจาก การใช้หลักสูตร เช่น ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กำหนดสาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มากทำให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและ ประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษา และการเทียบโอนผลการ เรียน รวมถึงปัญหาคุณภาพของผเู้ รียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ยังไม่ เปน็ ทนี่ า่ พอใจนกั แม้พบว่าหลักสูตรดังกลา่ ว มจี ุดดหี ลายประการกต็ าม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรท่ีปรับให้มีความเหมาะสม และชัดเจนมากขึ้น ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการนำหลักสูตร ไปสู่การ ปฏบิ ัตริ ะดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษาและสถานศึกษา โดยไดม้ ีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากน้ันได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นตำของแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ในแต่ละช้ันปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อม และจุดเน้นท่ีจัดทำข้ึนสำหรับท้องถิ่นและสถานศึกษาได้นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้คุณภาพ ด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้ เพ่ือพัฒนา ตนเองอยา่ งตลอดชีวิต กระทรวงศึกษาธิการ ได้เริ่มจัดการสอนอิสลามศึกษาในโรงเรียนของรัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 ซ่ึงพัฒนา หลักสูตรอิสลามศึกษามาเป็นระยะเพ่ือให้สอดคล้องกับหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการสำหรับใช้ในโรงเรียนท่ีเปิด สอนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีนกั เรยี นนับถือศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 50 โดยจัดอยู่ในกลุ่มสรา้ ง เสริมประสบการณช์ ีวิต และกลุ่มสร้างเสริมลักษณะสร้างนิสยั ในหลกั สูตรประถมศึกษา และจัดเป็นรายวชิ าในหมวด สังคมศกึ ษา ในหลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนต้นและหลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนปลาย ต่อมาเม่ือกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ได้ กำหนดให้มีการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา ในสาระที่ 1 ศาสนา ศิลธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มุ่งเน้นคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ประสบการณ์การปฏิบัติ และทักษะเก่ียวกับ จริยธรรม คุณธรรม ท่ีว่าด้วยหลักศรัทธา หลักปฏิบัติ และหลักคุณธรรมตามคำสอนของศาสนาอิสลาม มี เป้าหมายให้ผู้เรียนสามารถประมวลความรู้ แนวคิด และปฏิบัติตนตามหลักคำสอน เพ่ือปลูกฝังให้เป็นคนดี มี ศรัทธา มีความยำเกรงต่อพระผู้เป็นเจ้า บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมที่หลากหลายทาง วฒั นธรรมไดอ้ ย่างมีความสุข เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2545 หลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และนโยบายรัฐบาลที่สนับสนุนให้มีการจัดการศึกษาในรูปแบบที่ หลากหลาย สอดคล้องกับวัฒนธรรมและความต้องการของชุมชนท่ีผู้ปกครองต้องการให้บุตรหลานได้เรียนรู้วิชา สามัญควบคู่กับวิชาศาสนาอิสลาม จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องจัดทำหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทำหลักสูตร สถานศกึ ษา การจัดการเรียนตามหลักสูตรอิสลามศึกษา จะต้องจดั บูรณาการกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตั้งแต่วิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัวชีว้ ัดในบางสาระการเรียนรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น รวมถงึ การวัดและประเมนิ ผลที่อาจใชร้ ว่ มกนั ในการตัดสิน ผลการเรยี นของผูเ้ รยี น วิสัยทศั น์ โรงเรียนราชภักดี มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานควบคู่คุณธรรม จริยธรรม มีบรรยากาศ ร่มร่ืน สิ่งแวดล้อมทดี่ ี ชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา และหลักสตู รอสิ ลามศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่มีศรัทธามั่น มีความจงรักภักดีต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา มีบุคลิกภาพตาม แบบอย่างของท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สำนึกในความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ทีด่ เี พ่อื พฒั นาตนเอง ครอบครวั และสงั คม ก่อให้เกิดสันติสุขทัง้ ในโลกนี้และโลกหนา้ ” หลกั การ โรงเรยี นราชภกั ดี ได้ยึดหลกั การของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดังน้ี 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐาน ของความ เป็นไทยควบคกู่ ับความเป็นสากล 2. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ปี ระชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รบั การศึกษาอย่างเสมอภาค และมคี ณุ ภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่น 4. เป็นหลกั สตู รการศึกษาทม่ี โี ครงสรา้ งยดื หยุ่นท้งั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ และหลกั สูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดหลักการ เพมิ่ เตมิ คอื 1. มุ่งเน้นพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลกั การของศาสนาอิสลาม เพื่อเปน็ แนวทางใน การดำรงชีวิต 2. เป็นการศึกษาท่ีมุสลิมทุกคนจะได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจดั การศกึ ษาที่สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของแต่ละท้องถน่ิ 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ

จดุ หมาย โรงเรียนราชภักดี ได้ยึดจุดหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้ เกิดกับผเู้ รยี น เมอื่ จบการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ดงั นี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรม ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นิสัย และรักการออกกำลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 5. มีจติ สำนกึ ในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย การอนรุ กั ษ์และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะ ท่ีมุ่งทำประโยชนแ์ ละสร้างสิง่ ที่ดีงามในสังคม และอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข และหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด จุดหมายเพมิ่ เติม คอื 1. มีความศรัทธาต่ออัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา และปฏิบัติตนตามแบบอย่างของนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอ ฮุอะลยั ฮิวะสลั ลมั ตลอดจนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมอิสลาม 2. มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการอ่านอัล-กุรฺอาน และสามารถนำหลักคำสอนไปใช้ในการดำรงชีวิต ประจำวนั ได้ 3. มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ มีเหตุผลในการวินิจฉัย พิจารณาปัญหาต่างๆ โดยยึดหลักการ อสิ ลาม 4. มีความภาคภูมใิ จในความเป็นมสุ ลิมท่ดี ี มีระเบียบวินยั มคี วามซื่อสัตย์ สุจริต อดทน เสียสละเพอ่ื ส่วนรวม เห็นคุณคา่ ของตนเอง สามารถสร้างความสัมพนั ธท์ ีด่ ีระหวา่ งเพ่อื นมนุษย์ให้อยูร่ ่วมกันในสังคมดว้ ยความสนั ตสิ ุข สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน โรงเรียนราชภักดี ได้ยึดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงพัฒนาผู้เรยี นให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนด นัน้ จะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการอ่านอัล-กุรฺอาน เป็นความสามารถของผู้เรียนในการอ่านอัล-กุรฺอานตามหลักการ อัน เป็นพ้ืนฐานสำคัญในการเรียนรู้ศาสนาอิสลาม เพื่อการพัฒนาตนเองด้านการยึดมั่นศรัทธา การปฏิบัติศาสนกิจ การมี คุณธรรมจริยธรรมอสิ ลาม และการอยูร่ ว่ มกับผอู้ ื่นในสังคมได้อย่างเหมาะสมและสันติสขุ 2. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การ เลือกรับหรือไม่รับข้อมลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี ารสือ่ สารที่มปี ระสิทธภิ าพ โดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีมตี อ่ ตนเองและสงั คม

3. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการ ตดั สินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่าง ถกู ต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลง ของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปญั หา และมีการตัดสนิ ใจ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กิดข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 5. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่น 6. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และมีทักษะ ก ระ บ ว น ก ารท างเท ค โน โล ยี เพื่ อ ก ารพั ฒ น าต น เอ งแ ล ะ สั งค ม ใน ด้ าน ก ารเรี ย น รู้ ก ารส่ื อ ส าร การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โรงเรียนราชภักดี ได้ยึดคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ใน ฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตยส์ จุ รติ 3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ และหลกั สตู รอสิ ลามศกึ ษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์เพ่ิมเตมิ คอื 1. รักการอ่านอัล – กรุ ฺอาน 2. รกั การละหมาด 3. รกั ความสะอาด 4. มีมารยาทแบบอิสลาม 5. มีความรับผิดชอบ

มาตรฐานการเรยี นรู้ โรงเรียนราชภักดีได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นข้อกำหนดคุณภาพผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล โดยคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุ ปัญญา ให้ผ้เู รยี นบรรลตุ ามมาตรฐานท่ีกำหนดตามสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กำหนดใหผ้ ู้เรยี นเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดังน้ี 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 8. ภาษาตา่ งประเทศ หลักสูตรอิสลามศกึ ษา กำหนดให้ผเู้ รยี นได้เรียนสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้ 1. อัล – กรุ อฺ าน 2. อัล – หะดีษ 3. อลั – อะกีดะฮฺ (หลักศรทั ธา) 4. อลั – ฟกิ ฮฺ (ศาสนบัญญตั ิ) 5. อัตตารคี (ศาสนประวตั ิ) 6. อัล – อัคลาก (จริยธรรม) 7. ภาษาอาหรบั 8. ภาษามลายู / ภาษาอาหรับเสริม ในแต่ละสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภา พผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะ มาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือใน การตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพ ภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกัน คุณภาพดังกล่าวเป็นสิง่ สำคัญที่ชว่ ยสะท้อนภาพการจัดการศกึ ษาวา่ สามารถพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพตามท่ีมาตรฐาน การเรยี นรู้กำหนดเพียงใด ตัวชวี้ ัด โรงเรียนราชภักดี กำหนดตัวชี้วัดระบุสิ่งท่ีนักเรยี นพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ ระดับชั้น ซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ ผเู้ รียน โดยหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ไดก้ ำหนดเปน็ 2 ลักษณะ คือ 1. ตวั ชวี้ ัดช่วงชัน้ ท่ี 1 เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรียนในระดบั ประถมศึกษาปีท่ี 1- 3 2. ตัวช้ีวัดชว่ งชั้นที่ 2 เป็นเป้าหมายในการพฒั นาผ้เู รียนในระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 4- 6

สำหรับหลกั สตู รอิสลามศึกษา ได้กำหนดตัวช้ีวดั ชั้นปี เป็นเปา้ หมายในการพัฒนาผู้เรียน ทงั้ ในระดับอิสลาม ศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ) ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตตะวัซซีเฏาะฮฺ) และระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวียะฮฺ) เพ่ือใชเ้ ป็นเปา้ หมายในการพัฒนาผ้เู รียนและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาของผู้เรยี นด้านตา่ ง ๆ ไว้ในแต่ ละสาระการเรยี นรู้ ท้งั นหี้ ลกั สตู รได้กำหนดรหสั กำกับมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัด เพอ่ื ความเขา้ ใจและใหส้ ่ือสารตรงกัน ว 1.1 ป. 1/2 ตวั ชี้วัดช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อท่ี 2 ป.1/2 สาระท่ี 1 มาตรฐานข้อที่ 1 1.1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ว ต 2.2 ม. 4-6/3 ตัวชวี้ ัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ขอ้ ที่ 3 ม.4-6/3 สาระท่ี 2 มาตรฐานขอ้ ท่ี 2 2.3 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ต ก 1 อต. 1/2 ตวั ชวี้ ัดอิสลามศึกษาตอนต้น (อบิ ติดาอียะฮ)ฺ ช้ันปที ่ี 1 ข้อท่ี 2 อต.1/2 มาตรฐานข้อท่ี 1 1 สาระการเรยี นร้อู ัล-กรุ ฺอาน ก ร 1 อก. 2/3 ตวั ชวี้ ดั อสิ ลามศึกษาตอนกลาง (มตุ ตะวซั ซีเฏาะฮฺ) ชน้ั ปที ่ี 2 ข้อท่ี 3 อก.2/3 มาตรฐานข้อท่ี 1 1 สาระการเรียนรู้ภาษาอาหรับ ร ต 1 อป. 3/4 ตวั ชวี้ ัดอสิ ลามศกึ ษาตอนปลาย (ซานาวียะฮฺ) ช้ันปที ี่ 3 ขอ้ ที่ 4 อป.3/1 มาตรฐานขอ้ ที่ 1 1 สาระการเรยี นร้อู ัตตารคี ต

สาระการเรียนรู้ ผเู้ รียนจะต้องเรียนรู้สาระการเรยี นรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 และ สาระการเรียนรู้ตามหลกั สูตรอสิ ลามศกึ ษา ดงั นี้ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน หลกั สตู รอิสลามศึกษา * 1. ภาษาไทย 1. อัล - กรุ ฺอาน 2. คณติ ศาสตร์ 2. อลั - หะดษี 3. วิทยาศาสตร์ 3. อลั - อะกีดะฮฺ (หลกั ศรัทธา) 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4. อัล - ฟกิ ฮฺ (ศาสนบญั ญตั ิ) 5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 5. อัตตารีค (ศาสนประวตั ิ) 6. ศลิ ปะ 6. อลั - อัคลาก (จรยิ ธรรม) 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 7. ภาษาอาหรับ 8. ภาษาตา่ งประเทศ 8. ภาษามลายู / ภาษาอาหรบั เสริม * ในส่วนของหลักสูตรอิสลามศึกษานั้น สถานศึกษาจะต้องจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระท่ี 1-7 ซ่ึงเป็นสาระ การเรียนรู้พ้ืนฐาน สำหรับสาระท่ี 8 ภาษามลายู/ภาษาอาหรับเสริม เป็นสาระเพ่ิมเติม สถานศึกษาสามารถเลือก จัดการเรยี นรู้สาระใดสาระหนง่ึ ยกเว้นกรณีพ้นื ที่ที่ใชภ้ าษามลายูในการสือ่ สาร กำหนดให้จดั การเรยี นรู้ภาษามลายู

สาระการเรียนร้ตู ามหลักสตู รอสิ ลามศึกษา อั ล -กุ รฺอ าน : ค ว าม รู้ อัล-หะดีษ : ความรู้ อั ล -อ ะ กี ด ะ ฮฺ : ค ว า ม รู้ ความเข้าใจ ทักษะการอ่าน การ ความเข้าใจ หลักคำสอน ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลกั ศรัทธา ท่องจำ และหลักการอรรถาธิบาย ยึด การท่องจำอัล-หะดีษ ยึดมั่น และหลักฐานอ้างอิง ยึดมั่นและ ม่ันและปฏิบัติตามบทบัญญัติของอัล- แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม บ ท บั ญ ญั ติ นาไปปฏิบตั ิอยา่ งถูกตอ้ ง กุรอฺ านในชวี ิตประจำวนั จ า ก อั ล -ห ะ ดี ษ ใ น ชี วิ ต ประจำวัน ภ า ษ า อ า ห รั บ : องค์ความรู้ ทกั ษะสำคัญ อัล-ฟิกฮฺ : ความรู้ ความ ความรู้ ทักษะ เจตคติ และ และคุณลกั ษณะ เข้ า ใจ เกี่ ย ว กั บ ห ลั ก ก า ร แ ล ะ เห็นคุณ ค่าในการใช้ภาษา บทบัญญัติของศาสนาอิสลาม เพื่อ อาหรับ เพื่อการสื่อสาร ในหลักสูตรอิสลามศกึ ษา เป็นแนวทางในการปฏิบัติศาสนกิจ แ ล ะ ค้ น ค ว้ า บ ท บั ญ ญั ติ ข อ ง และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม อย่าง ศ า ส น า อิ ส ล า ม อ ย่ า ง มี ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั มีความสุข ประสทิ ธิภาพ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 อัตตารีค : ความรู้ ความ ภ าษ าม ล ายู :ความ รู้ อัล-อัคลาก: ความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมา ทักษะเจตคติและเห็นคุณค่าใน ความเข้าใจ การยึดมั่น และ ความสำคัญของแต่ละยุคสมัยทาง การใช้ภาษามลายูเพ่ือการส่อื สาร ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ประวัติศาสตร์อสิ ลาม สามารถ ใช้ และ ค้นคว้าบ ท บัญ ญั ติของ จริยธรรมอิสลามในการพัฒนา วิธีการทางประวัติศาสตร์ มา ศ า ส น า อิ ส ล า ม อ ย่ า ง มี ต น เอ ง บ ำเพ็ ญ ป ระโย ช น์ วิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่าง ประสทิ ธิภาพ ต่ อ ค รอ บ ค รัว สั งค ม แ ล ะ เป็นระบบ และเกิดความตระหนัก สิ่งแวดล้อมเพ่ือการอยู่ร่วมกัน ในการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อการอยู่ ภ าษ าอาห รับ เส ริม : อย่างสันติสุข รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ วัฒนธรรม การใช้ภาษาอาหรับ และการ เช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษาอาหรับกับภาษาไทย เพื่อ ก า ร สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร แ ส ว ง ห า ความรู้

ความสมั พนั ธ์ระหว่างหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานกับหลักสตู รอสิ ลามศึกษา หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน หลักสูตรอสิ ลามศกึ ษา วสิ ยั ทศั น์ วสิ ยั ทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุง่ พัฒนาผูเ้ รยี น หลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น ทุกคน ซ่ึงเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนท่ีมีศรัทธาม่ัน ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและ มีความจงรักภักดีต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา มีบุคลิกภาพตาม เป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี แบบอย่างนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม มีความสมดุลท้ังด้าน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง ความรู้ คุณธรรม มจี ติ สำนกึ ในความเป็น พลเมืองไทยและพลโลกทด่ี ี เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม ก่อให้เกิดสันติสุขท้ังในโลกนี้ ตลอดชีวติ โดยม่งุ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั บนพื้นฐานความเชือ่ ว่า ทุกคน และโลกหนา้ สามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ จดุ หมาย จดุ หมาย 1. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์ เหน็ 1. มีความศรัทธาต่ออัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา และปฏิบัติตนตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะ คณุ ค่าของตนเอง มีวินัยและปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรม ลยั ฮวิ ะสัลลมั ตลอดจนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอิสลาม ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื ยึดหลกั 2. มีความรู้ ความเข้าใจ มที ักษะในการอา่ นอลั -กุรฺอาน และสามารถนำหลักคำสอนไปใชใ้ นการดำรงชวี ติ ประจำวัน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของ ศาสนาอิสลาม ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรอู้ ันเปน็ สากลและมีความสามารถในการ 4. มีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ มเี หตผุ ลในการวินิจฉยั พิจารณาปัญหาต่าง ๆ โดยยึดหลกั การอสิ ลาม ส่ือสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมี 5. มีความภาคภูมิใจในความเป็นมุสลิมท่ีดี มีระเบียบวินัย มีความซ่ือสัตย์ สุจริต อดทน เสียสละเพ่ือส่วนรวม ทกั ษะชีวิต เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง สามารถสรา้ งความสัมพนั ธท์ ีด่ รี ะหว่างเพื่อนมนุษยใ์ หอ้ ยรู่ ่วมกนั ในสังคมด้วยความสันตสิ ุข 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มสี ุขนสิ ยั และรกั การ 6. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ญั หาการใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชวี ิต 7. มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มีสุขนิสัย และรกั การออกกำลังกาย ออกกำลงั กาย 8. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบ 4. มีความรักชาติ มจี ติ สำนกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทย ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ และพลโลก ยึดม่ันในวถิ ชี วี ิตและการปกครองใน 9. มจี ิตสำนึกในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำ ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็น ประโยชน์และสร้างสิ่งทด่ี ีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอยา่ งมคี วามสุข ประมุข หลักสูตรอิสลามศึกษา (ต่อ) 5. หมจี ลติ สักำนสกึ ใูตนกราแรอกนุรนกั ษกว์ ลฒั นาธงรรกมแาลระภศูมึกปิ ัญษญาาไขทยนั้ พนื้ ฐาน (ตอ่ ) การอนุรักษแ์ ละพัฒนาสิง่ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะท่ีมงุ่ ทร่วำสมปมกรนัระรโใยถนชนสนงัะคแส์ มลำอคะยสัญ่ารขงา้ มองสีคงง่ิผวทา้เู ร่ีดมยี ีงสนาขุ มในสังคม คแลณุ ะลอักยษู่ ณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1. ความสามารถในการอ่านอลั -กุรฺอาน 1. รกั การอา่ นอัล – กรุ ฺอาน 2. ซื่อสัตย์สจุ ริต 2. ความสามารถในการสื่อสาร 2. รกั การละหมาด 2. ความสามารถในการคดิ 3. มวี นิ ัย 3. ความสามารถในการคิด 3. รักความสะอาด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. มีมารยาทแบบอสิ ลาม 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5. ความสามารถในการใช้ทักษะ 5. มคี วามรบั ผิดชอบ 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 6. มุง่ ม่ันในการทำงาน 6. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ดั 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัด 8 สาระการเรยี นรู้ 1. ภาษาไทย 1. อลั – กรุ อฺ าน 2. คณิตศาสตร์ 2. อัล – หะดีษ 3. วิทยาศาสตร์ 3. อัล – อะกีดะฮฺ (หลกั ศรทั ธา) 4. อัล – ฟิกฮฺ (ศาสนบัญญัติ) 4. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. อัตตารีค (ศาสนประวัติ) 5. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 6. อลั – อัคลาก (จริยธรรม) 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 7. ภาษาอาหรับ 8. ภาษาต่างประเทศ 8. ภาษามลายู / ภาษาอาหรับเสริม (เลือกสาระใดสาระหน่ึง) ระดับการศึกษาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ระดับการศกึ ษาหลกั สตู รอสิ ลามศึกษา • ประถมศกึ ษา • อิสลามศกึ ษาตอนต้น (อบิ ติดาอยี ะฮฺ) • มัธยมศกึ ษาตอนตน้ • อิสลามศกึ ษาตอนกลาง (มตุ ตะวซั ซีเฏาะฮฺ) • มธั ยมศึกษาตอนปลาย • อิสลามศกึ ษาตอนปลาย (ซานาวยี ะฮฺ) • คณุ ภาพของผู้เรยี นระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน + อสิ ลามศกึ ษา  หลักสูตรอิสลามศึกษา กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ 8 สาระ จำนวน 9 มาตรฐาน ดังนี้ สาระการเรียนรู้อลั – กุรฺอาน มาตรฐาน ก 1 เข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักการอ่าน และหลักการอรรถาธิบายอัล-กุรฺอาน สามารถอ่าน ท่องจำ อรรถาธบิ าย เหน็ คณุ ค่า และนำไปใช้ในการดำเนินชวี ิตอย่างสันตสิ ขุ มาตรฐาน ก 2 ยึดมน่ั ในบทบญั ญัติของอัล-กรุ ฺอาน และนำไปปฏบิ ตั เิ พอ่ื การอยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งสนั ติสุข สาระการเรียนรู้อัล – หะดษี มาตรฐาน ห 1 เข้าใจ ความหมาย ความสำคัญ หลกั การ หลกั คำสอน ท่องจำอัล-หะดษี ยึดมน่ั และนำไป ปฏบิ ัติในการดำเนินชวี ิต สาระการเรียนรอู้ ลั – อะกดี ะฮฺ (หลักศรัทธา) มาตรฐาน อ 1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญ และหลกั ฐานของหลักศรัทธา ยึดมั่น และนำไปปฏิบตั ิอยา่ ง ถูกต้อง สาระการเรยี นรู้อลั – ฟกิ ฮฺ (ศาสนบญั ญตั ิ) มาตรฐาน ฟ 1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และปฏิบัติตามกฎ หลักการ บทบัญญัติอิสลามเกี่ยวกับอิบาดาต มุอา มาลาต มุนากาฮาต และญินาญาต เพอื่ เป็นแนวทางในการปฏิบัติศาสนกจิ และการดำเนินชีวิต ในสงั คมอย่างมีความสขุ

สาระการเรียนร้อู ัตตารคี (ศาสนประวตั ิ) มาตรฐาน ต 1 เข้าใจประวัติ ความเป็นมา ความสำคัญของแต่ละยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อิสลาม สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ และเกิดความตระหนัก ในการนำมาประยกุ ต์ใชเ้ พ่ือการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข สาระการเรยี นรู้อัล – อคั ลาก (จริยธรรม) มาตรฐาน ล 1 เขา้ ใจ ยึดม่ัน และปฏิบตั ติ ามจริยธรรมอิสลาม ในการพัฒนาตน บำเพญ็ ประโยชนต์ อ่ ครอบครัว สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือการอยูร่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ุข สาระการเรยี นรู้ภาษาอาหรบั มาตรฐาน ร 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่านและเขียน มีทักษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษาอาหรับ เพ่ือการเรียนรู้ สื่อความหมาย ค้นคว้าบทบัญญัติของศาสนาอิสลามอย่างสร้างสรรค์และมี ประสทิ ธิภาพ สาระการเรยี นรูภ้ าษามลายู มาตรฐาน ย 1 รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีทักษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายู เพื่อการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเก่ียวกับศาสนาอิสลามและการสื่อสารอย่าง สร้างสรรค์

กรอบโครงสร้างเวลาเรียนท่ีแสดงการบูรณาการระหว่างหลักสูตรอิสลามศึกษากับหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้น พ้ืนฐานพุทธศักราช 2553 กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี นดงั นี้ เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ระดับประถมศกึ ษา ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6  กลุ่มสาระการเรยี นรู้พืน้ ฐาน 800 800 800 800 800 800 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วทิ ยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 สังคมศกึ ษา ศาสนา และ (120) (120) (120) (120) (120) (120) วฒั นธรรม -ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 -ศาสนา 40 40 40 40 40 40 -หนา้ ที่ เศรษฐศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80 80 ศลิ ปะ 80 80 80 80 80 80 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 ภาษาตา่ งประเทศ 40 40 40 80 80 80 รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) 840 840 840 840 840 840  รายวิชาเพมิ่ เติม 40 40 40 40 40 40 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (120) (120) (120) (120) (120) (120) 1. กจิ กรรมแนะแนว 30 30 30 30 30 30 2. กจิ กรรมนกั เรียน -ลกู เสือ เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 -ชมรม 40 40 40 40 40 40 3. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและ 10 10 10 10 10 10 สาธารณะประโยชน์ เพิ่มช่ัวโมงอสิ ลามศกึ ษา 200 ชั่วโมง/ปี สปั ดาห์ละ 5 ชัว่ โมง รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 1,200 ชว่ั โมง/ปี การจดั เวลาเรยี นหลกั สูตรอสิ ลามศึกษา ตามกรอบโครงสร้างหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 น้ัน มีเวลาเรยี นท่สี ามารถจดั การเรยี นรู้ร่วมกันไดท้ ั้ง 2 หลกั สูตร และเวลาเรยี นที่

ระดบั อสิ ลามศกึ ษาตอนต้น กำหนดเวลาเรียน ไม่น้อยกว่า 360 ชัว่ โมง/ปี โดยใชเ้ วลาเรยี นจดั บรู ณาการกบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และเพ่ิมเวลาเรยี นจากโครงสรา้ งหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ดังนี้ 1.เวลาเรียนพืน้ ฐาน 280 ชว่ั โมง/ปี พืน้ ฐานนำมาจาก จำนวน 1.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40 ชว่ั โมง/ปี 1.2 เวลาเรียนจากกจิ กรรมเพ่ิมเตมิ ตามจดุ เนน้ จำนวน 40 ชว่ั โมง/ปี 1.3 เพมิ่ เวลาเรียนจากโครงสรา้ งหลกั สตู รแกนกลางฯ 2551 อีก จำนวน 200 ชวั่ โมง/ปี 2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอีก 80 ชั่วโมง/ปี จดั นอกเวลาเรียนหรือบรู ณาการ เช่น 2.1 บรู ณาการกบั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางฯ 2551 ในส่วนทีเ่ ปน็ กิจกรรมแนะ แนว จำนวน 30 ชวั่ โมง/ปี 2.2 บูรณาการกบั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางฯ 2551 ในสว่ นที่เป็นกิจกรรม นักเรียน (ชุมนุม ชมรมตา่ งๆ ซึ่งตอ้ งเป็นชมรมหรอื ชุมนุมทีเ่ ก่ียวข้องกบั อสิ ลามศกึ ษา) จำนวน 40 ชัว่ โมง/ปี 2.3 บรู ณาการกับกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนตามหลักสตู รแกนกลางฯ 2551 ในส่วนที่เป็นกิจกรรม บำเพญ็ ประโยชน์ จำนวน 10 ชั่วโมง/ปี

โครงสร้างหลกั สตู รอสิ ลามศึกษาโรงเรียนราชภักดี โครงสรา้ งหลกั สูตรช้ันปี เปน็ โครงสร้างที่แสดงรายละเอยี ดเวลาเรียนของรายวชิ าพน้ื ฐาน รายวิชา/กจิ กรรม เพมิ่ เติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ในแต่ละชน้ั ปี โครงสรา้ งหลักสูตรอสิ ลามศึกษาตอนตน้ (อบิ ติดาอียะฮ) ระดับอสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี1 ปีท่2ี ปที ่ี3 ปที 4ี่ ปีที5่ ปีท6่ี วชิ า/ชัน้ 60 60 60 60 60 60 อัล-กุรอาน 20 20 20 20 20 20 อัล-หะดิษ 40 40 40 40 40 40 อัล-อะกดี ะฮฺ (หลักศรัทธา 40 40 40 40 40 40 อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบัญญัต)ิ 20 20 20 20 20 20 อตั ตารคี (ศาสนประวตั ิ) 20 20 20 20 20 20 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 40 40 40 40 40 40 ภาษาอาหรับ 40 40 40 40 40 40 ภาษามลายู 280 280 280 280 280 280 รวมพื้นฐาน 80 80 80 80 80 80  กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน 30 30 30 30 30 30 - กจิ กรรมพัฒนาจรยิ ธรรมอิสลาม 40 40 40 40 40 40 - กจิ กรรมชมรม/ชุมนุมทางศาสนา อสิ ลาม 10 10 10 10 10 10 - กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ------ กจิ กรรม/วชิ าเพ่ิมเติม 360 360 360 360 360 360 รวมเวลา ทั้งปี

โครงสรา้ งหลักสูตรอสิ ลามศึกษาช้นั อสิ ลามศึกษาตอนตน้ ปที ่ี 1 รายวิชา/กจิ กรรม จำนวนชว่ั โมง 280 รายวชิ าพ้นื ฐาน 60 20 ก11801 อัล-กรุ อาน 40 40 ห11801 อลั -หะดษิ 20 20 อ11801 อลั -อะกดี ะฮฺ (หลกั ศรทั ธา) 40 40 ฟ11801 อัล-ฟกิ ฮฺ (ศาสนบัญญตั ิ) 80 30 ต11801 อตั ตารีค (ศาสนประวตั ิ) 40 ล11801 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 10 360 ร11801 ภาษาอาหรบั ย11801 ภาษามลายู กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน -กิจกรรมแนะแนวและพัฒนาจรยิ ธรรมอิสลาม -กิจกรรมนักเรยี น ชมรม ชุมนมุ -กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังส้ิน

โครงสรา้ งหลกั สตู รอสิ ลามศึกษาชัน้ อสิ ลามศึกษาตอนต้นปีท่ี 2 รายวิชา/กจิ กรรม จำนวนชั่วโมง 280 รายวชิ าพืน้ ฐาน 60 20 ก12801 อัล-กรุ อาน 40 40 ห12801 อลั -หะดษิ 20 20 อ12801 อลั -อะกีดะฮฺ (หลักศรทั ธา 40 40 ฟ12801 อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบัญญัติ) 80 30 ต12801 อัตตารีค (ศาสนประวัติ) 40 10 ล12801 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 360 ร12801 ภาษาอาหรบั ย12801 ภาษามลายู กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน -กจิ กรรมแนะแนวและพฒั นาจริยธรรมอิสลาม -กิจกรรมนักเรยี น ชมรม ชุมนุม -กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังสิ้น

โครงสร้างหลักสตู รอิสลามศึกษาชัน้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 3 รายวิชา/กจิ กรรม จำนวนช่ัวโมง 280 รายวชิ าพื้นฐาน 60 20 ก13801 อัล-กุรอาน 40 40 ห13801 อลั -หะดษิ 20 20 อ13801 อลั -อะกดี ะฮฺ (หลกั ศรทั ธา 40 40 ฟ13801 อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบญั ญตั ิ) 80 30 ต13801 อัตตารคี (ศาสนประวัติ) 40 10 ล13801 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 360 ร13801 ภาษาอาหรบั ย13801 ภาษามลายู กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน -กจิ กรรมแนะแนวและพฒั นาจริยธรรมอิสลาม -กิจกรรมนกั เรยี น ชมรม ชุมนุม -กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนท้ังสิน้

โครงสร้างหลักสตู รอิสลามศึกษาชัน้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 4 รายวิชา/กจิ กรรม จำนวนช่ัวโมง 280 รายวชิ าพื้นฐาน 60 20 ก14801 อัล-กุรอาน 40 40 ห14801 อลั -หะดษิ 20 20 อ14801 อลั -อะกดี ะฮฺ (หลกั ศรทั ธา 40 40 ฟ14801 อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบญั ญตั ิ) 80 30 ต14801 อัตตารคี (ศาสนประวัติ) 40 10 ล14801 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 360 ร14801 ภาษาอาหรบั ย14801 ภาษามลายู กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน -กจิ กรรมแนะแนวและพฒั นาจริยธรรมอิสลาม -กิจกรรมนกั เรยี น ชมรม ชุมนุม -กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังสิน้

โครงสร้างหลักสูตรอสิ ลามศึกษาชัน้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 5 รายวิชา/กจิ กรรม จำนวนช่ัวโมง 280 รายวชิ าพื้นฐาน 60 20 ก15801 อัล-กุรอาน 40 40 ห15801 อลั -หะดษิ 20 20 อ15801 อลั -อะกดี ะฮฺ (หลกั ศรทั ธา 40 40 ฟ15801 อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบัญญัติ) 80 30 ต15801 อัตตารคี (ศาสนประวัติ) 40 10 ล15801 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 360 ร15801 ภาษาอาหรบั ย15801 ภาษามลายู กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน -กจิ กรรมแนะแนวและพฒั นาจริยธรรมอิสลาม -กิจกรรมนกั เรยี น ชมรม ชุมนุม -กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังสิน้

โครงสร้างหลักสตู รอิสลามศึกษาชัน้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 6 รายวิชา/กจิ กรรม จำนวนช่ัวโมง 280 รายวชิ าพื้นฐาน 60 20 ก16801 อัล-กุรอาน 40 40 ห16801 อลั -หะดษิ 20 20 อ16801 อลั -อะกดี ะฮฺ (หลกั ศรทั ธา 40 40 ฟ16801 อัล-ฟิกฮฺ (ศาสนบญั ญตั ิ) 80 30 ต16801 อัตตารคี (ศาสนประวัติ) 40 10 ล16801 อลั -อัคลาก (จรยิ ธรรม) 360 ร16801 ภาษาอาหรบั ย16801 ภาษามลายู กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน -กจิ กรรมแนะแนวและพฒั นาจริยธรรมอิสลาม -กิจกรรมนกั เรยี น ชมรม ชุมนุม -กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังสิน้

รายวชิ าพนื้ ฐาน สาระอัล-กุรฺอาน คำอธิบายรายวชิ า ระดับอิสลามศึกษาตอนตน้ รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน 60 ชั่วโมง จำนวน 60 ชัว่ โมง ก11801 อลั -กรุ อฺ าน จำนวน 60 ชว่ั โมง ก12801 อลั -กรุ ฺอาน จำนวน 60 ชว่ั โมง ก13801 อลั -กรุ ฺอาน จำนวน 60 ช่วั โมง ก14801 อลั -กรุ ฺอาน จำนวน 60 ชวั่ โมง ก15801 อลั -กรุ อฺ าน ก16801 อัล-กรุ อฺ าน

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ก 11801 อัล-กุรอาน สาระการเรยี นรู้ อัล – กุรอาน ช้นั อิสลามศกึ ษาตอนตน้ ปที ่ี 1 เวลา 60 ชว่ั โมง / ปี บอกความหมายของอัล-กรุ อานและสเู ราะฮอลั -ฟาติหะฮ อ่านพยญั ชนะฮิญาอยี ะฮ พยัญชนะทมี่ สี ระฟัตหะฮ พยัญชนะท่ีออกเสียงแตกตา่ งกนั การประสมพยญั ชนะ การอ่านส้นั และยาวโดยอะลิฟ การท่องจำสเู ราะฮ อัล-ฟาติ หะฮ อัล-อิคลาศ และนำหลักคำสอนของอลั -กุรอานสูเราะฮอลั -ฟาติหะฮ อลั -อิคลาศ ไปปฏิบัติตอ่ ตนเองและบคุ คล ใกลช้ ิดอยา่ งเหมาะสมตามวยั โดยใช้กระบวนการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ กระบวนการปฏบิ ัตเิ พอื่ ใหเ้ กิดความรูค้ วามเขา้ ใจ เห็นความสำคัญ เหน็ คุณคา่ สามารถปฏิบัติตามหลักการศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรมและนำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำเนนิ ชีวิตในสังคม อยา่ งมีความสุข รหสั ตวั ชี้วดั ก 1 อต. 1/1, อต. 1/ 2, อต.1/3 ก 2 อต. 1/1 รวมทั้งหมด 4 ตวั ช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ก 12801 อลั -กรุ อาน สาระการเรียนรู้ อลั – กรุ อาน ชัน้ อสิ ลามศกึ ษาตอนต้นปที ่ี 2 เวลา 60 ชัว่ โมง / ปี ศกึ ษาเก่ียวกับความหมาย ความเป็นมาของสเู ราะฮ อัล-ฟะลกั อ่านพยัญชนะในอลั -กุรอาน พยัญชนะท่ีมี สระฟัตหะตยั นฺ กัสเราะตยั นฺ พยญั ชนะที่มีสระฟัตหะตัยนฺ กสั เราะตยั นฺ และฏ็อมมัยนฺกอ่ นพยญั ชนะ ‫ و‬และ ‫ي‬ พยัญชนะท่ีมีสระรูกนู พยัญชนะที่มีกัสเราะฮและฏ็อมมะฮ การอ่านออกเสยี งสนั้ และอ่านออกเสียงยาวโดยพยญั ชนะ ยาอฺ การอ่านนนู และมีมสุกูนและฮัมซะฮฺสกุ นู การอ่านก็อลเกาะละฮ (‫ )ﻗﻟﻗﻟﺔ‬และสระที่มีสระสุกนู ( ) ท่องจำสูเราะฮฺ อนั นาส ( ) และสเู ราะฮฺอัล-อัล-ฟาลัก ( ) นำหลกั คำสอนของสเู ราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ ( ) และ สูเราะฮฺ ( ) โดยใชก้ ระบวนการสร้างความรู้ความเขา้ ใจ การท่องจำ กระบวนการปฏิบตั ิ เพ่อื ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เหน็ ความสำคัญ เหน็ คุณค่า สามารถปฏบิ ัตติ ามหลกั การศาสนา มคี วามสามารถในการสือ่ สาร การใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการคิด รักการอ่านอัล-กุรอาน รักความสะอาดและนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ในสังคมอยา่ ง สงบสขุ รหัสตวั ชี้วัด ก 1 อต. 2/1, อต. 2/2, อต.2/3 ก 2 อต. 2/1 รวมทั้งหมด 4 ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ก 13801 อัล-กรุ อาน สาระการเรยี นรู้ อลั – กรุ อาน ชัน้ อสิ ลามศึกษาตอนตน้ ปีท่ี 3 เวลา 60 ชว่ั โมง / ปี ศกึ ษาความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญของสุเราะฮฺ การอ่านพยญั ชนะในอัลกรุ -อาน การอา่ นฮัมซะ ตลุ วศั ลฺ การอา่ นนนู สกุ นู กาอ่านหยุดโดยตนั วนี การอา่ นสระ (~)และมีสระสกุ นู การอา่ นคำลัฟซุลญะลาละฮฺ เครอ่ื งหมายต่างๆ ในอลั กรุ -อาน การหยดุ โดยฮัมซะฮทฺ ี่มสี ระฟัตหะตยั นฺ การอา่ นพยญั ชนะมกุ ็อฏฏอฮะฮฺ ตาม หลกั การที่กำหนด การนำหลกั คำสอนของสเู ราะฮฺ อลั -มะสัด อัน-นศั รฺ อลั กาฟิรนู ไปปฏิบัติต่อตนเองและบคุ คล ใกลช้ ิดและเหมาะสมตามวยั โดยใช้กระบวนการอ่าน การทอ่ งจำ กระบวนการปฏบิ ตั ิ เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่า เห็น ความสำคญั สามารถปฏิบตั ิตามหลักคำสอนของสูเราะฮฺ รักการอ่าน มมี ารยาทแบบอิสลาม แล้วนำไปประยุกตใ์ ชใ้ น การดำเนินชีวติ ในสงั คมอยา่ งสงบสุข รหัสตวั ช้ีวัด ก 1 อต. 3/1, อต. 3/2, อต.3/3 ก 2 อต. 3/1 รวมท้ังหมด 3 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ก 14801 อัล-กุรอาน สาระการเรียนรู้ อลั – กุรอาน ชน้ั อิสลามศกึ ษาตอนตน้ ปีที่ 4 เวลา 60 ช่วั โมง / ปี ศึกษาความหมาย ความเปน็ มา ความสำคญั ของสุเราะฮฺ อลั -เกาซัร, อลั -มาอนู กูรอยซฺ อัลฟีล และสามารถ ท่องจำสูเราะฮฺ อลั -เกาษัร อลั -มาอูน กรุ อ๊ ยชฺ อลั -ฟิล ตามหลักหกู ุมนนู สากนี ะฮฺ และตนั วนี อิคฟาอฺ อดิ ฆอม อิดฆอม บิลาฆุนนะฮฺ อดิ ฆอมมะอัลฆุนนะฮฺ อกิ ลาบ อิซฮารฺ และก็อลเกาะละฮฺ โดยการนำหลกั การอา่ นซูเราะฮฺไปปฏบิ ัตติ ่อตนเองและผู้อื่น เพอ่ื อยู่รว่ มกันในสังคมอย่างสนั ติสุข รหสั ตัวช้ีวัด ก 1 อต. 4/1, อต.4/2, อต.4/3 ก 2 อต. 4/1 รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ก 15801 อลั -กรุ อาน สาระการเรียนรู้ อลั – กุรอาน ช้ันอิสลามศกึ ษาตอนตน้ ปที ี่ 5 เวลา 60 ช่วั โมง / ปี ศกึ ษาความหมาย ความเป็นมา ความสำคญั และท่องจำสเุ ราะฮฺ อัล-ฮุมะซะฮฺ อคั -อัศรฺ อัต-ตะกาษุร อัล-กอ รอี ะฮฺ อัล-อาดยี าต และอา่ นอัล-กุรอาน ยซุ อฺที่ 11-12 ตามหลักการหกุ ุมมีม และนำหลกั คำสอนของสูเราะฮฺท่ี กำหนดไปปฏิบตั ิต่อตนเองและผู้อ่ืนเพอื่ อยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งสนั ตสิ ขุ โดยใช้กระบวนการสร้างความรแู้ ละกระบวนการปฏิบตั เิ พอื่ ให้มีความเขา้ ใจ สามารถอ่านอัล-กุรอาน ส่ือสาร และใช้ทกั ษะได้ รักการอา่ นอัล-กรุ อาน เหน็ คุณค่า มีความรบั ผดิ ชอบ และปฏิบัตติ นตามบทบัญญตั ิอสิ ลามใน ชีวิตประจำวนั รหัสตัวช้ีวัด ก 1 อต. 5/1, อต. 5/2, อต. 5/3 ก 2 อต. 5/1 รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ก 16801 อลั -กุรอาน สาระการเรียนรู้ อลั – กุรอาน ช้นั อสิ ลามศึกษาตอนตน้ ปที ี่ 6 เวลา 60 ช่วั โมง / ปี ศกึ ษาความหมาย ความเปน็ มา ความสำคัญของสเุ ราะฮฺ อัซ-ซลั ซะละฮฺ อัล-บัยยินะฮฺ อลั -ก็อดรฺ อัล-อะ ลัก และอา่ นอัล-กุรอานยซุ อฺที่ 21-30 ตามหลักการอา่ นมัดดฺ โดยใชก้ ระบวนการสรา้ งความร้แู ละกระบวนการปฏิบัติเพื่อใหม้ ีความเข้าใจ สามารถอ่านอัล-กรุ อาน รักการ อา่ นอัล-กรุ อาน เห็นคุณค่า และปฏิบัติตามบทบัญญัติอสิ ลามในชวี ติ ประจำวนั รหัสตัวช้ีวัด ก 1 อต. 6/1, อต. 6/2, อต. 6/3 รวมท้ังหมด 3 ตัวช้ีวัด

รายวิชาพื้นฐาน สาระอลั -หะดษิ ระดับอิสลามศึกษาตอนตน้ รายวิชาพ้นื ฐาน ห11801 อลั -หะดษี จำนวน 20 ชั่วโมง ห12801 อลั -หะดษี จำนวน 20 ชั่วโมง ห13801 อลั -หะดีษ จำนวน 20 ชว่ั โมง ห14801 อัล-หะดีษ จำนวน 20 ชว่ั โมง ห15801 อัล-หะดษี จำนวน 20 ชั่วโมง ห16801 อลั -หะดีษ จำนวน 20 ชวั่ โมง

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ห11801 อัล-หะดีษ สาระการเรยี นรู้อัล-หะดีษ ช้นั อิสลามศึกษาตอนตน้ ปที ี่ 1 เวลา 20 ชม / ปี ความหมาย ความสำคัญ การกล่าวสลาม การตอบรบั สลาม ความสะอาด การกนิ และการด่มื การปฏิบตั ตน ตามหลกั คำสอนจากอัล-หะดีษโดยใชก้ ระบวนการสร้างความรู้และกระบวนการปฏบิ ตั ิเพอื่ ให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารได้ เหน็ ความสำคญั รักความสะอาด และปฏิบัตติ นตามคำสอนของอัล-หะดษี ในชวี ติ ประจำวัน ตัวชวี้ ัด ห1 อต1/1.อต1/2 รวมทั้งหมด 2 ตวั ชี้วัด

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ห12801 อัล-หะดีษ สาระการเรยี นรู้อัล-หะดีษ ชนั้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปที ่ี 2 เวลา 20 ชม / ปี ความหมาย ความสำคัญ ของการปฏิบตั ติ นทเ่ี ก่ียวกับความพงึ พอใจของพ่อแม่ การศึกษาและการแต่งกาย ตามหลกั คำสอนของอัล-หะดีษทีก่ ำหนด โดยใช้กระบวนการสรา้ งความรแู้ ละกระบวนการปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหม้ คี วามเข้าใจสามารถสื่อสารได้ รักความสะอาด เหน็ คุณค่า และปฏิบัติตนตามคำสอนจากอัล-หะดีษในชวี ิตประจำวนั ตัวชว้ี ัด ห1 อต2/1.อต2/2 รวมท้ังหมด 2 ตวั ช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ห13801 อัล-หะดีษ สาระการเรียนรอู้ ัล-หะดีษ ช้นั อสิ ลามศกึ ษาตอนต้นปที ี่ 3 เวลา 20 ชม / ปี คำนิยาม ความหมายและความสำคญั ของการเป็นลูกท่ีดี มารยาทท่ีดีการรบั ประทานอาหารตามหลักคำสอน จากอัล-หะดีษ โดยใช้กระบวนการสรา้ งความรู้และกระบวนการปฏิบตั เิ พอ่ื ให้มีความรคู้ วามสามารถในส่ือสารการใช้ทักษะ และการคดิ แก้ปญั หา รักความสะอาด มีความรบั ผดิ ชอบ มมี ารยาทแบบอสิ ลาม และปฏิบตั ติ นตามคำสอนจากอัล-หะ ดีษในชีวติ ประจำวัน ตัวชวี้ ดั ห1 อต3/1.อต3/2 รวมทั้งหมด 2 ตวั ชวี้ ดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ห14801 อัล-หะดีษ สาระการเรียนร้อู ลั -หะดีษ ชัน้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 4 เวลา 40 ชม / ปี ศกึ ษาความหมายของอลั -หะดษี ความสำคญั และคำสอนจากอัล-หะดีษ โดยใชก้ ระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบตั เิ พื่อให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ เห็นความสำคญั เห็นคุณคา่ สามารถปฏิบตั ติ ามหลักอัล-หะดษี มคี ุณธรรม จริยธรรม ความซอ่ื สตั ย์ความอดทน ความมีอามานะห์ และ นำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวิตในสงั คมอย่างสงบสุข ตวั ชว้ี ดั ห1 อต4/1.อต4/2 รวมทั้งหมด 2 ตวั ช้วี ดั

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ห15801 อัล-หะดีษ สาระการเรยี นรูอ้ ัล-หะดีษ ช้นั อิสลามศึกษาตอนตน้ ปีท่ี 5 เวลา 40 ชม / ปี ศกึ ษาความหมายของอัล-หะดษี ความสำคญั และคำสอนจากอลั -หะดีษ โดยใช้กระบวนการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจ กระบวนการปฏิบัตเิ พ่ือใหเ้ กิดความรคู้ วามเข้าใจ เห็นความสำคัญ เหน็ คุณค่าสามารถปฏิบตั ิตามหลักอัล-หะดษี การให้อภยั การโอ้บอ้อมอารี ความเสียสละ และนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนนิ ชวี ิตในสงั คมอย่างสงบสุข ตัวชวี้ ดั ห1อต5/1.อต5/2 รวมท้ังหมด 2 ตวั ชวี้ ดั

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ห16801 อัล-หะดีษ สาระการเรยี นรูอ้ ัล-หะดีษ ช้นั อิสลามศึกษาตอนตน้ ปีท่ี 6 เวลา 40 ชม / ปี ศกึ ษาความหมายของอัล-หะดษี ความสำคญั และคำสอนจากอลั -หะดีษ โดยใช้กระบวนการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจ กระบวนการปฏิบัตเิ พ่ือใหเ้ กิดความรคู้ วามเข้าใจ เห็นความสำคัญ เหน็ คุณค่าสามารถปฏิบตั ิตามหลักอัล-หะดษี การให้อภยั การโอ้บอ้อมอารี ความเสียสละ และนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำเนนิ ชวี ิตในสงั คมอย่างสงบสุข ตัวชวี้ ดั ห1อต5/1.อต5/2 รวมท้ังหมด 2 ตวั ชวี้ ดั

รายวิชาพ้นื ฐานสารอัล-อะกีดะฮฺ ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนต้น รายวชิ าพ้นื ฐาน อ 11801 อลั -อะกีดะฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง อ 12801 อัล-อะกีดะฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง อ 13801 อัล-อะกีดะฮฺ จำนวน 40 ชัว่ โมง อ 14801 อลั -อะกีดะฮฺ จำนวน 40 ชว่ั โมง อ 15801 อลั -อะกีดะฮฺ จำนวน 40 ชว่ั โมง อ 16801 อัล-อะกีดะฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน อ 11801 อัล-อะกีดะฮฺ สาระการเรยี นรู้ อลั -อะกดี ะฮฺ ชนั้ อิสลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 1 จำนวน 40 ช่ัวโมง /ปี ความหมาย ความสำคัญ องคป์ ระกอบของหลักศรัทธา ความหมายของการศรทั ธาต่ออัลลอฮ สบุ ฮานะฮวุ ะ ตะอาลา และมลาอิกะฮฺ จำนวน คุณลักษณะของมลาอกิ ะฮฺ ที่จำเป็นตอ้ งรู้ ตลอดจน ปฏิบัติตน เป็นผูศ้ รทั ธา ต่ออัลลอฮฺสุบฮานะฮวุ ะตะอาลา และมลาอิกะฮฺ โดยใชก้ ระบวนการสร้างความรู้ และกระบวนการปฏิบัติ เพือ่ ให้มคี วามเข้าใจ สามารถสอ่ื สารได้ ยดึ ม่ัน ยอมรับ และนำไปปฏิบตั ิในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกตอ้ ง ตวั ช้ีวัด อ1 อต 1/1 , อต 1/2, อต 1/3 ,อต 1/4 รวมท้ังหมด 4 ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน อ 12801 อัล-อะกดี ะฮฺ สาระการเรยี นรู้ อัล-อะกีดะฮฺ ชนั้ อสิ ลามศกึ ษาตอนต้นปที ี่ 2 จำนวน 40 ชัว่ โมง /ปี พระนามของอัลลอฮฺ ความหมายพระนามของอลั ลอฮฺ การปฏบิ ัติตน เป็นผศู้ รัทธาตอ่ อัลลอฮ ความหมาย ความสำคญั ของการศรัทธาต่อรสูล คณุ ลักษณธของรสูล การปฏิบัติตนเปน็ ผ้ศู รัทธาม่ันตอ่ รสูล ความหมาย ความสำคัญของการศรัทธาต่อคัมภรี ็ จำนวน และชื่อคมั ภีร์ และปฏิบตั ติ นเปน็ ผู้ศรัธามน่ั ตอ่ คมั ภีร์ โดยใชก้ ระบวนการสรา้ งความรู้ และกระบวนการปฏิบตั ิ เพอื่ ให้มีความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารได้ ยดึ ม่ัน ยอมรับ และนำไปปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ตวั ชวี้ ัด อ1 อต 2/1 , อต 2/2, อต 2/3 ,อต 2/4 รวมท้ังหมด 4 ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ 13801 อัล-อะกดี ะฮฺ สาระการเรียนรู้ อลั -อะกีดะฮฺ ชั้นอิสลามศึกษาตอนตน้ ปีที่ 3 จำนวน 40 ชวั่ โมง /ปี พระนามของอัลลอฮฺ สบุ ฮานะฮวุ าตะอาลา ลำดับที่ 25-39 พร้อมความหมาย การศรทั ธาตอ่ วนั กยิ ามะฮฺ เกาะฏออเฺ กาะดัร และการปฏิบตั ิตน เปน็ ผู้ศรทั ธาตอ่ วนั กิยามะฮฺ เกาะฏออฺเกาะดรั โดยใชก้ ระบวนการสร้างความรู้ ความสามารถในการคิด และกระบวนการปฏิบัติ เพอ่ื ให้มีความเข้าใจ สามารถสอื่ สารได้ ยึดมน่ั ยอมรบั และนำไปปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้อง ตัวชว้ี ัด อ1 อต 3/1 , อต 3/2, อต 3/3 ,อต ¾ รวมทั้งหมด 4 ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน อ 14801 อัล-อะกีดะฮฺ สาระการเรียนรู้ อลั -อะกีดะฮฺ ชนั้ อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีที่ 4 จำนวน 40 ชั่วโมง /ปี พระนามของอัลลอฮฺ สุบฮานะฮวู ะตะอาลา ลำดับท่ี 40-69 และความหมายพร้อมคุณลักษณะของอลั ลอฮฺ สุบฮานะฮุวะตะอาลา และหลกั ฐานทีเ่ กย่ี วกับการศรทั ธาต่ออลั ลอฮฺ สุบฮานะฮวุ ะตะอาลา ความแตกตา่ ง ระหวา่ งนบีและรสูล ความหมายและจำนวนชื่อ อลู ลู อซั มียฺ ความหมายและความสำคัญของมุอญฺ ซี ัต การฏิบัตติ น เปน็ ผู้ศรทั ธาตอ่ อลั ลอฮฺ และรสลู โดยใช้กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคดิ เพอ่ื ให้มคี วามเขา้ ใจ สามารถแก้ปญั หาใชท้ กั ษะและมี มารยาทแบบอสิ ลาม มีความรับผิดชอบ สามารถปฏบิ ัตติ น และนำไปปฏิบตั ิในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ตัวช้วี ดั อ1 อต 4/1 , อต 4/2, อต 4/3 ,อต 4/4 , อต 4/5 รวมท้ังหมด 5 ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน อ 15801 อัล-อะกดี ะฮฺ สาระการเรียนรู้ อลั -อะกีดะฮฺ ชน้ั อสิ ลามศกึ ษาตอนตน้ ปีท่ี 5 จำนวน 40 ชวั่ โมง /ปี บอกพระนาม คุณลกั ษณะที่เป็นวาญบิ มุสตาฮลี และญาอซิ ของอัลลอฮฺ สบุ ฮานะฮวุ ะตะอาลา ศรัทธาต่อวันกิ ยามะฮฺ โดยใชก้ ระบวนการสร้างความรู้ และกระบวนการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ให้มีความเข้าใจ สามารถสื่อสารได้ เห็นคุณค่า และนปฏิบตั ติ นตามหลักศรทั ธาในชีวิตประจำวันได้อยา่ งถูกต้อง ตวั ชี้วดั อ1 อต 5/1 , อต 5/2, อต 5/3 รวมท้ังหมด 3 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน อ 16801 อัล-อะกีดะฮฺ สาระการเรียนรู้ อัล-อะกีดะฮฺ ชนั้ อิสลามศึกษาตอนต้นปีท่ี 6 จำนวน 40 ช่วั โมง /ปี ความหมาย ประเภทของเตาฮีด พระนามและคุณลกั ษณะของอัลลอฮฺ สบุ ฮานะฮุวะตะอาลา พร้อมหลักฐาน และความหมาย ประเภท โทษของซิรกแฺ ละมุรตัด ตลอดจนปฏิบัตเิ ป็นผู้ศรัทธาตอ่ อลั ลอฮฺ สบุ ฮานะฮวุ ะตะอาลา โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ และกระบวนการปฏิบัติ เพอื่ ให้มีความเข้าใจ สามารถส่อื สาร ใช้ความคดิ และการใช้ทักษะชีวิต ใฝเ่ รียนรู้และมีมารยาท ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศรทั ธาในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ตวั ชวี้ ดั อ1 อต 6/1 , อต 6/2, อต 6/3 , อต 6/4 รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด

รายวิชาพน้ื ฐาน รายวชิ าพ้นื ฐาน สาระอลั -ฟิกฮฺ ฟ 11801 อัล-ฟกิ ฮฺ ระดบั อสิ ลามศึกษาตอนตน้ ฟ 12801 อัล-ฟกิ ฮฺ ฟ 13801 อลั -ฟกิ ฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง ฟ 14801 อลั -ฟกิ ฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง ฟ 15801 อัล-ฟกิ ฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง ฟ 16801 อลั -ฟิกฮฺ จำนวน 40 ชั่วโมง จำนวน 40 ชั่วโมง จำนวน 40 ชัว่ โมง

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ฟ 11801 อัล-ฟกิ ฮฺ สาระการเรยี นรู้ อลั -ฟกิ ฮฺ ช้ันอิสลามศึกษาตอนตน้ ปที ี่ 1 เวลา 40 ชัว่ โมง/ปี ศึกษาเกย่ี วกับหลกั การอสิ ลาม 5 ประการ การปฏญิ าณตน การจา่ ยซะกาฮฺ การถือศิลอด และการประกอบ พิธีหจั ญฺ น้ำสะอาด นะญิส ความหมายของนะญิส ความสำคญั ของการชำระลา้ งนะญสิ การทำวูฎุอฺ ความหมาย ความสำคัญของวฎู อุ ฺ วธิ กี ารทำวูฎอุ ฺ การละหมาดฟรั ฎู เวลาในการละหมาดฟรั ฎุ ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นการชำระล้างนะญสิ การ ทำวูฎุอฺ การนยี ะฮฺในการละหมาดฟรั ฎู อิริยาบทในการละหมาดฟัรฎู โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ และกระบวนการปฏิบตั ิ เพือ่ ให้มีความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารได้ รักความ สะอาด เห็นคุณค่า และปฏิบัตติ นตามบทบัญญัติอิสลามในชีวิตประจำวนั รหสั ตัวช้ีวัด ฟ 1 อต. 1/1, อต. 1/2, อต. 1/3, อต ¼ รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ฟ 12801 อลั -ฟิกฮฺ สาระการเรียนรู้ อลั -ฟิกฮฺ ชั้นอิสลามศกึ ษาตอนต้นปีที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง / ปี ศึกษาเกยี่ วกบั หลกั การอสิ ลาม ความหมายและความสำคัญของหลักการอิสลาม นะญิส ประเภทของนะญิส วิธีการชำระล้างนะญสิ ประเภทของน้ำ การอะซานและการอกิ อมะฮฺ ความหมายและความสำคญั ของการอะซานและ การอิกอมะฮฺ การทำวฏุ อู ฺ และส่ิงท่ที ำใหเ้ สียวฏุ อู ฺ การละหมาดฟัรฏู ความหมายและความสำคัญของการละหมาดฟรั ฏู อิริยาบถของการละหมาดฟรั ฏู การถือศิลอด ความหมายและความสำคัญของการถอื ศลิ อด โดยใช้กระบวนการสรา้ งความรู้ และกระบวนการปฏบิ ัติ เพื่อให้มีความเข้าใจ สามารถสอื่ สารได้ รักความ สะอาด เห็นคุณค่า สามารถปฏิบตั ติ ามหลกั ศาสนา มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตใน สังคมอย่างสงบสุข รหสั ตัวช้ีวดั ฟ 1 อต 2/1, อต 2/2, อต 2/3 รวมท้ังหมด 3 ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ฟ 13801 อัล-ฟิกฮฺ สาระการเรียนรู้ อัล-ฟิกฮฺ ชั้นอิสลามศกึ ษาตอนต้นปที ่ี 3 เวลา 40 ช่วั โมง / ปี ความหมาย ความสำคญั หลักการอสิ ลาม การอะซาน การอิกอมะฮฺ การถือศลิ อด การละหมาดฟรั ฏุ สิง่ ทท่ี ำ ให้เสยี การละหมาด หลักการ เงื่อนไข ประโยชน์ของการถือศลิ อด โดยใชก้ ระบวนการสรา้ งความรู้ และกระบวนการปฏบิ ัติ เพอื่ ให้มีความเข้าใจ สามารถสือ่ สารได้ มคี วาม รบั ผดิ ชอบ รกั ความสะอาด เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัตติ นตามบทบญั ญตั ิอิสลามในชวี ติ ประจำวนั รหัสตวั ช้ีวัด ฟ 1 อต 3/1, อต 3/2 รวมทั้งหมด 2 ตัวชีว้ ดั

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ฟ 14801 อลั -ฟกิ ฮฺ สาระการเรยี นรู้ อลั -ฟิกฮฺ ช้นั อสิ ลามศึกษาตอนต้นปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี ศึกษาเก่ยี วกบั ความหมาย ความสำคัญและประเภทของหุกมุ ชัรอยี ฺ วธิ ีการทำวฏู ุอฺ วธิ กี ารตะยัมมมุ ความ แตกตา่ งของการตะยมั มุมกับการทำวูฏูอ วิธีการละหมาดญะมาอะฮ วิธีการละหมาดยัมอฺ-ก็อศรฺ วธิ กี ารละหมาด ญุมอะฮฺ วธิ ีการละหมาดสุนนะฮฺเราะวาติบ และตะอยี ะตุลมัสญิด เหน็ คุณคา่ และการปฏบิ ตั ิสิง่ ที่เปน็ วาญิบ สุนนะฮฺ หะรอม มักรูฮฺ และประโยชน์ของการละหมาด โดยใชก้ ระบวนการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ กระบวนการปฏิบตั เิ พ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ เห็น ความสำคญั เห็นคุณคา่ สามารถปฏิบัตติ ามหลกั การศาสนา มคี ุณธรรม จริยธรรม และนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนิน ชวี ติ ในสงั คมอย่างสงบสุข รหัสตัวช้ีวดั ฟ 1 อต 4/1, อต 4/2, อต 4/3, อต 4/4 รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook