Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

biography-ajahn-mun-bhuridatto-mutothai-pathipatipujsha

Published by กฤษณะ ใจบุญ, 2021-09-09 01:14:36

Description: มุตโตทัย และ
ปฏิปัตติปุจฉาวิสานา

Search

Read the Text Version

1

คำนำ ในการจดั พมิ พ มตุ โตทัย และ ปฏปิ ต ติปุจฉาวสิ ัชนา คร้งั นี้ มีจุด ประสงคเพอื่ รวบรวมคำสอนของพอแมครูบาอาจารยห ลวงปูม น่ั ภรู ิทตั ตเถระ เขาไวด ว ยกนั O สำหรบั มตุ โตทัยนั้น ประกอบดวยเนื้อหาสองชดุ ดงั คำนำบาง สวนของหนังสือซึ่งพิมพแจกในงานฌาปนกิจศพพอแมครูบาอาจารย หลวงปูม น่ั เมือ่ วนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓ วา O “การที่ใหชื่อธรรมเทศนา ของทานอาจารยที่รวบรวมพิมพชุด แรกวา มตุ โตทยั นั้น อาศยั คำชมของเจา พระคณุ พระอบุ าลคี ณุ ูปมาจาร ย (สิรจิ ันทเถระ จนั ทร) เมื่อคราวทา นอาจารยแสดงธรรมวา ดว ยมลู กรรมฐาน ณ วิหารหลวงเชยี งใหมว า ทานอาจารยแ สดงธรรมดวยมตุ โตทัย เปน มุตโตทัย O คำนี้ทานอาจารยนำมาเปนปญหาถามในที่ประชุมพระภิกษุ เปรียญหลายรปู ซง่ึ มีขาพเจารวมอยูดว ย O ในคราวที่ทานมาพักกับขาพเจาที่วัดปาสุทธาวาส จังหวัด สกลนคร ขาพเจาทราบความหมายของคำนนั้ แลว O แตเ ห็นวา เปนอสาธารณนยั จงึ กลา วแกท างใจ ทันใดนน้ั ทานก็ พดู ขนึ้ วาขา พเจาแกถกู O ซึ่งทำความประหลาดใจใหแ กภกิ ษทุ งั้ หลายมิใชนอ ย ตา งกม็ ารมุ ถามขา พเจาวา ความหมายวาอยางไร?  O ขา พเจาบอกใหท ราบแกบางองคเ ฉพาะที่นา ไวใจ 2

O คำวา มุตโตทัย มีความหมายเปน อสาธารณนยั ก็จริง แตอ าจเปน ความหมายมาเปนสาธารณนัยกไ็ ด O จึงไดนำมาใชเปนชื่อธรรมเทศนาของทานอาจารย โดยมุงใหมี ความหมายวาเปนธรรมเทศนาชี้บอกแนวทางปฏิบัติใหบังเกิดความหลุด พนจากกเิ ลสอาสวะ ซ่งึ ถาจะแปลสั้น ๆ กว็ า แดนเกิดแหง ความหลดุ พน น่ันเอง O ธรรมเทศนาชุดแรกนี้ พระภิกษวุ ริ ยิ งั คก บั พระภิกษทุ องคำ เปนผู บันทกึ ในสมัยทานอาจารยอ ยูจำพรรษา ณ เสนาสนะปา บา นโคกนามน ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร และตอนแรกไปอยู เสนาสนะปาบานหนองผือ ตำบลใน อำเภอพรรณานิคม จังหวัด สกลนคร ขาพเจารับเอาบันทึกนั้นพรอมกับขออนุญาตทานอาจารย พิมพเผยแผ ทานก็อนุญาตและสั่งใหขาพเจาเรียบเรียงเสียใหมให เรยี บรอ ย ตัดสว นที่ไมค วรเผยแผออกเสียบา ง O ขาพเจาก็ไดปฏิบัติตามนั้นทุกประการ ถึงอยางนั้นก็ยังมีที่ กระเทอื นใจผูอานอยบู า ง O จึงขอชี้แจงไวในที่นี้ คือ ขอที่วา พระสัทธรรมเมื่อเขาไป ประดิษฐานในสันดานของปุถุชนแลว ยอมกลายเปนของปลอมไปนั้น หมายความวา ไปปนเขา กับอัธยาศัยอนั ไมบรสิ ุทธ์ิเม่อื แสดงออกแกผูอ ื่น กม็ ักมอี ธั ยาศัยอนั ไมบ รสิ ุทธิ์ ปนออกมาดวย เพื่อรักษาพระสัทธรรมให บริสุทธ์ิสะอาดคงความหมายเดมิ อยูได ควรมกี ารปฏบิ ัติกำจดั ของปลอม คอื อปุ กิเลสอนั แทรกซมึ อยใู นอธั ยาศัยนั้นใหหมดไป O ซึ่งเปนความมุงหมายของทานผูแสดงที่จะชักจูงจิตใจของผูฟงให 3

นิยมในสัมมาปฏิบตั ยิ งิ่ ๆ ข้ึนไป ถาผฟู งมีใจสะอาด และเปน ธรรมแลว ยอ มจะใหส าธุการแกท านผแู สดงแนแ ท O ธรรมเทศนาของทานอาจารยท ี่ พระภิกษุทองคำ ญาโณภาโส กบั พระภกิ ษวุ นั อุตฺตโม จดบันทกึ ไวในปจฉมิ สมยั คอื ระหวา ง พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ กอ นหนา มรณสมยั เพียงเลก็ นอยน้นั ไดร วบรวมนำมา เรยี บเรียงเขา หมวดหมู เชนเดียวกบั ครั้งกอน O ธรรมเทศนาของทา นอาจารย ทง้ั ๒ ชุดน้ี หากจะพมิ พเผยแผต อ ไป กค็ วรพิมพรวมกนั ในนามวา มุตโตทยั O และควรบอกเหตผุ ลและผทู ำดังท่ขี า พเจา ชีแ้ จงไวน ด้ี วย จะไดต ัด ปญ หาในเร่ืองช่อื และท่ีมาของธรรมเทศนาดว ย O พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสโฺ ส) O เสนาสนะปา เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน O ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓” O O ในสว นของ ปฏิปตติปจุ ฉาวสิ ัชนา น้ัน ไมป รากฏวาทา นใด เปนผูบ นั ทึก แตต ามเนื้อความเดมิ กลาววา “ตามหลกั ฐานทีบ่ ันทึกไวใน หนงั สอื ฉบับเดมิ วา พระเดชพระคุณพระธรรมเจดีย (จมู พนฺธุโล) วัด โพธสิ มภรณ อำเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี เปนผูปุจฉาทา นพระอาจารย มนั่ ภูริทตั โต เปน ผวู ิสัชนา” O ทงั้ น้ี เนอ้ื ความ และการสะกดคำตาง ๆ ไดพยายามคงตามรปู แบบเดิมไวท ง้ั หมด หากมีสว นใดผิดพลาด ขอทานผอู านโปรดอภัยและ ช้ีแจงขอผดิ พลาดนนั้ ดว ยจะดยี ่ิง เพอ่ื จะไดป รบั ปรุงแกไขตอ ไป 4

O ทา ยสุดนี้ คณะผจู ดั ทำมไิ ดห วงั ส่ิงใดย่งิ ไปกวา การเผยแผพระ ธรรมคำสั่งสอนของพอแมครูบาอาจารยผูซึ่งเปนสาวกของพระผูมีพระ ภาคเจาใหก วา งขวางออกไป O ขออนุโมทนาในกุศลที่ทานทั้งหลายจะไดศึกษาธรรมอันบริสุทธิ์ ตอไปนี้ดวยความยนิ ดีย่งิ ธัชชัย ธญั ญาวลั ย แพรวา มนั่ พลศรี [email protected] ๒๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕ 5

มตุ โตทยั บนั ทกึ โดยพระอาจารยว ิริยังค สิรินธฺ โร ณ วดั ปาบานนามน กงิ่ อ. โคก ศรสี พุ รรณ จ.สกลนคร พ.ศ. ๒๔๘๖ ๑. การปฏบิ ัติ เปนเคร่ืองยังพระสัทธรรมใหบ ริสทุ ธิ์ O สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงวาธรรมของพระตถาคต เมื่อเขาไปประดิษฐานในสันดานของปุถุชนแลว ยอมกลายเปนของ ปลอม (สัทธรรมปฏิรปู ) แตถา เขา ไปประดิษฐานในจิตสันดานของพระ อริยเจาแลวไซร ยอมเปน ของบริสทุ ธ์ิแทจรงิ และเปน ของไมลบเลือน ดวย เพราะฉะนนั้ เม่ือยงั เพียรแตเรยี นพระปรยิ ัตถิ ายเดียว จึงยังใชการ ไมไ ดด ี ตอเม่ือมาฝกหัดปฏิบตั ิจติ ใจกำจดั เหลา กะปอมกา คอื อุปกิเลส แลว น่ันแหละ จึงจะยงั ประโยชนใหสำเร็จเตม็ ที่ และทำใหพ ระสทั ธรรม บรสิ ุทธ์ิ ไมว ิปลาสคลาดเคลอ่ื นจากหลักเดิมดวย ๒. การฝกตนดแี ลวจึงฝกผอู นื่ ชอื่ วาทำตามพระพทุ ธเจา O ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนสุ ฺสานํ พุทฺโธ ภควา O สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ทรงทรมานฝกหัด พระองคจนไดตรัสรูพ ระอนตุ ตรสมั มาสัมโพธญิ าณ เปน พุทฺโธ ผรู ูกอ น แลวจงึ เปน ภควา ผทู รงจำแนกแจกธรรมสัง่ สอนเวไนยสตั ว สตถฺ า จึง เปนครขู องเทวดาและมนษุ ย เปน ผูฝก บุรุษผมู ีอปุ นิสัยบารมคี วรแกก าร ทรมานในภายหลัง จงึ ทรงพระคุณปรากฏวา กลยฺ าโณ กิตฺติสทโฺ ท 6

อพภฺ คุ คฺ โต ชอ่ื เสียงเกียรตศิ พั ทอันดงี ามของพระองคยอ มฟงุ เฟองไปใน จตรุ ทิศจนตราบเทา ทกุ วนั น้ี แมพระอริยสงฆส าวกเจาทงั้ หลายท่ีลวงลับ ไปแลว กเ็ ชน เดยี วกัน ปรากฏวา ทานฝก ฝนทรมานตนไดด ีแลว จงึ ชว ย พระบรมศาสดาจำแนกแจกธรรม สง่ั สอนประชุมชนในภายหลัง ทานจึง มีเกียรติคุณปรากฏเชนเดียวกับพระผูมีพระภาคเจา ถาบุคคลใดไม ทรมานตนใหดกี อนแลว และทำการจำแนกแจกธรรมสั่งสอนไซร ก็จกั เปน ผมู ีโทษ ปรากฏวา ปาปโกสทโฺ ท คือเปนผูมีชื่อเสียงชั่วฟุงไปในจตรุ ทิศ เพราะโทษท่ไี มท ำตามพระสัมมาสมั พทุ ธเจา และพระอริยสงฆส าวก เจา ในกอนทง้ั หลาย ๓. มูลมรดกอนั เปนตน ทุนทำการฝกฝนตน เหตุใดหนอ ปราชญทง้ั หลาย จะสวดกด็ ี จะรบั ศลี กด็ ี หรือจะทำการกศุ ล ใดๆ กด็ ี จึงตองตง้ั นโม กอ น จะทงิ้ นโม ไมไ ดเลย เมอื่ เปน เชน นี้ นโม ก็ ตองเปนสิ่งสำคัญ จงึ ยกข้นึ พจิ ารณา ไดความวา น คอื ธาตุน้ำ โม คอื ธาตุดิน พรอ มกับบาทพระคาถา ปรากฏขน้ึ มาวา มาตาเปตกิ สมภุ โว โอ ทนกมุ มฺ าสปจจฺ โย สัมภวธาตุของมารดาบิดาผสมกัน จึงเปน ตวั ตนข้ึนมา ได น เปน ธาตขุ อง มารดา โม เปนธาตุของ บิดา ฉะนั้นเมือ่ ธาตทุ งั้ ๒ ผสมกนั เขาไป ไฟธาตขุ องมารดาเคยี่ วเขา จนไดนามวา กลละ คอื นำ้ มัน หยดเดียว ณ ท่ีนีเ้ อง ปฏิสนธิวญิ ญาณเขา ถือปฏสิ นธไิ ด จิตจึงไดถ อื ปฏสิ นธใิ นธาตุ นโม นั้น เมือ่ จิตเขา ไปอาศยั แลว กลละ ก็คอยเจริญขึ้น เปน อัมพชุ ะ คอื เปนกอนเลือด เจริญจากกอนเลอื ดมาเปน ฆนะ คือเปน แทง และ เปสี คอื ช้นิ เนือ้ แลว ขยายตวั ออกคลายรูปจงิ้ เหลน จึงเปน ปญ จสาขา คือ แขน ๒ ขา ๒ หัว ๑ สวนธาตุ พ คอื ลม ธ คอื ไฟ นัน้ เปน 7

ธาตุเขามาอาศัยภายหลงั เพราะจติ ไมถ อื เมอื่ ละจากกลละน้นั แลว กลละ กต็ อ งทิง้ เปลา หรอื สญู เปลา ลมและไฟกไ็ มมี คนตาย ลมและไฟก็ดบั หาย สาปสูญไป จึงวาเปน ธาตุอาศยั ขอ สำคัญจงึ อยูทธี่ าตทุ งั้ ๒ คือ นโม เปน เดมิ O ในกาลตอมาเม่ือคลอดออกมาแลว กต็ อ งอาศัย น มารดา โม บดิ า เปนผทู ะนุถนอมกลอ มเกล้ียงเลีย้ งมาดว ยการใหข า วสกุ และขนมกุม มาส เปนตน ตลอดจนการแนะนำส่งั สอนความดที ุกอยาง ทานจึงเรยี ก มารดาบิดาวา บพุ พาจารย เปน ผสู อนกอนใครๆ ทั้งสนิ้ มารดาบดิ าเปน ผมู ีเมตตาจิตตอ บตุ รธิดาจะนบั จะประมาณมไิ ด มรดกที่ทำใหก ลาวคือรปู กายนแี้ ล เปน มรดกดั้งเดมิ ทรพั ยสนิ เงินทองอนั เปน ของภายนอกก็เปน ไป จากรปู กายนีเ้ อง ถา รูปกายนไ้ี มม ีแลว ก็ทำอะไรไมได ช่ือวาไมม ีอะไรเลย เพราะเหตุนัน้ ตัวของเราท้ังตวั นเ้ี ปน \"มลู มรดก\" ของมารดาบิดาทง้ั สิ้น จึงวาคุณทานจะนับจะประมาณมิไดเลย ปราชญทั้งหลายจึงหาไดละทิ้ง ไม เราตอ งเอาตัวเราคือ นโม ตั้งข้นึ กอนแลวจงึ ทำกริ ิยานอ มไหวล งภาย หลัง นโม ทานแปลวา นอบนอมน้ันเปน การแปลเพียงกิรยิ า หาไดแปล ตน กริ ยิ าไม มูลมรดกน้ีแลเปนตนทุน ทำการฝก หดั ปฏิบัติตนไมตอ งเปน คนจนทรพั ยส ำหรับทำทนุ ปฏบิ ัติ ๔. มลู ฐานสำหรบั ทำการปฏิบตั ิ O นโม น้ี เมื่อกลา วเพียง ๒ ธาตุเทาน้ัน ยงั ไมส มประกอบหรอื ยังไม เต็มสวน ตองพลกิ สระพยญั ชนะดังนี้ คอื เอาสระอะจากตวั น มาใสตัว ม เอาสระ โอ จากตวั ม มาใสตัว น แลว กลบั ตัว มะ มาไวห นา ตัว โน เปน มโน แปลวาใจ เมอ่ื เปนเชนน้จี ึงไดทั้งกายทงั้ ใจเตม็ ตามสวน สมควร 8

แกการใชเปน มูลฐานแหง การปฏิบตั ิได มโน คือใจนเี้ ปน ด้ังเดิม เปน มหา ฐานใหญ จะทำจะพดู อะไรกย็ อมเปน ไปจากใจน้ที งั้ หมด ไดในพระพทุ ธ พจนวา มโนปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา ธรรมทั้งหลายมี ใจถึงกอน มีใจเปนใหญ สำเร็จแลวดวยใจ พระบรมศาสดาจะทรง บญั ญตั ิพระธรรมวนิ ยั ก็ทรงบัญญัตอิ อกไปจาก ใจ คอื มหาฐาน น้ที งั้ สิ้น เหตุนี้เมื่อพระสาวกผูไดมาพิจารณาตามจนถึงรูจัก มโน แจมแจงแลว มโน ก็สุดบญั ญตั ิ คอื พนจากบญั ญัตทิ งั้ สน้ิ สมมติทงั้ หลายในโลกนต้ี อง ออกไปจากมโนทง้ั ส้ิน ของใครก็กอ นของใคร ตา งคนตางถอื เอากอ นอัน น้ี ถอื เอาเปนสมมติบญั ญตั ิตามกระแสแหง นำ้ โอฆะจนเปนอวชิ ชาตัวกอ ภพกอชาตดิ ว ยการไมร ูเ ทา ดวยการหลง หลงถือวา เปน ตวั เรา เปน ของ เราไปหมด ๕. มลู เหตุแหงส่ิงทงั้ หลายในสากลโลกธาตุ O พระอภธิ รรม ๗ คัมภรี  เวน มหาปฏ ฐาน มีนัยประมาณเทา น้ันเทา น้ี สว นคมั ภรี มหาปฏ ฐาน มีนยั หาประมาณมไิ ดเ ปน \"อนนั ตนยั \" เปน วิสัยของพระสัมมาสัมพุทธเจาเทานั้นที่จะรอบรูได เมื่อพิจารณาพระ บาลีที่วา เหตุปจจฺ โย น้ันไดความวา เหตุซึง่ เปนปจ จยั ดั้งเดิมของส่ิงทั้ง หลายในสากลโลกธาตนุ ้นั ไดแก มโน นน่ั เอง มโน เปนตวั มหาเหตุเปน ตัว เดมิ เปนส่งิ สำคญั นอนน้ันเปน แตอาการเทา น้ัน อารมฺมณ จนถึงอวิคคฺ ต จะเปนปจจัยไดก็เพราะมหาเหตุคือใจเปนเดิมโดยแท ฉะนั้น มโนซึ่ง กลา วไวใ นขอ ๔ ก็ดี ฐีติ ภูตํ ซงึ่ จะกลาวในขอ ๖ กด็ ี และมหาธาตุซึ่ง กลา วในขอนี้ก็ดี ยอมมีเนอ้ื ความเปนอันเดียวกัน พระบรมศาสดาจะทรง บัญญัตพิ ระธรรมวินัยก็ดี รอู ะไรๆ ไดด ว ย ทศพลญาณ กด็ ี รอบรู สรรพ 9

เญยฺยธรรม ท้ังปวงก็ดี ก็เพราะมีมหาเหตุนน้ั เปนดง้ั เดมิ ทีเดยี ว จึงทรง รอบรูไดเปนอนันตนัย แมสาวทั้งหลายก็มีมหาเหตุนี้แลเปนเดิม จึง สามารถรูตามคำสอนของพระองคไดดวยเหตุนี้แลพระอัสสชิเถระผูเปนที่ ๕ ของพระปญ จวคั คยี จ ึงแสดงธรรมแก อุปตสิ ฺส (พระสารบี ุตร) วา เย ธมฺมา เหตุปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหา สมโณ ความวา ธรรมทง้ั หลายเกิดแตเหตุ...เพราะวา มหาเหตนุ เี้ ปนตัว สำคญั เปนตัวเดมิ เมอ่ื ทานพระอสั สชิเถระกลา วถงึ ท่ีนี้ (คอื มหาเหตุ) ทานพระสารีบุตรจะไมหยั่งจิตลงถึงกระแสธรรมอยางไรเลา? เพราะ อะไร ทกุ สิ่งในโลกก็ตอ งเปน ไปแตมหาเหตุถึงโลกตุ ตรธรรม กค็ อื มหาเหตุ ฉะน้ัน มหาปฏ ฐาน ทานจึงวา เปน อนนั ตนัย ผมู าปฏบิ ตั ิใจคือตวั มหา เหตุจนแจมกระจางสวางโรแลวยอมสามารถรูอะไรๆ ทั้งภายในและ ภายนอกทุกสิ่งทกุ ประการ สุดจะนับจะประมาณไดด ว ยประการฉะน้ี ๖. มูลการของสังสารวัฏฏ O ฐตี ภิ ูตํ อวิชชฺ า ปจฺจยา สงฺขารา อุปาทานํ ภโว ชาติ O คนเราทุกรูปนามที่ไดกำเนิดเกิดมาเปนมนุษยลวนแลวแตมีที่เกิด ทั้งสน้ิ กลา วคอื มบี ดิ ามารดาเปนแดนเกดิ กแ็ ลเหตุใดทานจงึ บญั ญัตปิ จจ ยาการแตเ พียงวา อวชิ ฺชา ปจฺจยา ฯลฯ เทา นั้น อวิชชา เกดิ มาจากอะ ไรฯ ทา นหาไดบญั ญตั ิไวไม พวกเรากย็ ังมีบดิ ามารดาอวชิ ชากต็ องมพี อ แมเหมอื นกัน ไดความตามบาทพระคาถาเบอ้ื งตนวา ฐีตภิ ูตํ นั่นเองเปน พอแมของอวชิ ชา ฐีตภิ ูตํ ไดแก จติ ดง้ั เดมิ เมอ่ื ฐีติภูตํ ประกอบไปดว ย ความหลง จงึ มีเครื่องตอ กลาวคือ อาการของอวิชชาเกดิ ขนึ้ เมอ่ื มี อวิชชาแลวจึงเปนปจจัยใหปรุงแตงเปนสังขารพรอมกับความเขาไป 10

ยึดถอื จึงเปน ภพชาติคอื ตองเกิดกอตอ กนั ไป ทานเรียก ปจ จยาการ เพราะเปนอาการสืบตอกัน วิชชาและอวิชชาก็ตองมาจากฐีติภูตํเชน เดียวกัน เพราะเมื่อฐีติภูตํกอปรดวยวิชชาจึงรูเทาอาการทั้งหลายตาม ความเปน จรงิ น่ีพิจารณาดว ยวุฏฐานคามินี วปิ สสนา รวมใจความวา ฐีติ ภตู ํ เปนตัวการดั้งเดมิ ของสังสารวฏั ฏ (การเวยี นวา ยตายเกิด) ทา นจงึ เรยี กชอ่ื วา \"มลู ตันไตร\" (หมายถึงไตรลักษณ) เพราะฉะนน้ั เมอื่ จะตัด สังสารวัฏฏใหขาดสญู จึงตอ งอบรมบมตัวการด้ังเดมิ ใหมวี ชิ ชารูเทา ทนั อาการทั้งหลายตามความเปนจริง ก็จะหายหลงแลวไมกออาการทั้ง หลายใดๆ อีก ฐตี ิภูตํ อนั เปน มูลการก็หยดุ หมุน หมดการเวียนวายตาย เกิดในสงั สารวัฏฏดวยประการฉะนี้ ๗. อรรคฐาน เปน ทต่ี ง้ั แหงมรรคนิพพาน O อคคฺ ํ ฐานํ มนุสฺเสสุ มคคฺ ํ สตฺตวิสทุ ธยิ า O ฐานะอันเลิศมีอยูในมนุษย ฐานะอันดีเลิศนั้นเปนทางดำเนินไป เพอื่ ความบริสทุ ธิ์ของสตั ว โดยอธบิ ายวา เราไดรบั มรดกมาแลว จาก นโม คอื บดิ ามารดา กลาวคอื ตัวของเราน้ีแล อนั ไดก ำเนิดเกดิ มาเปนมนุษย ซึ่งเปนชาติสูงสุด เปนผูเลิศตั้งอยูในฐานะอันเลิศดวยดีคือมีกายสมบัติ วจีสมบัติ แลมโนสมบัติบริบูรณ จะสรางสมเอาสมบัติภายนอก คือ ทรัพยสินเงินทองอยางไรก็ได จะสรางสมเอาสมบัติภายในคือมรรคผล นิพพานธรรมวเิ ศษกไ็ ด พระพทุ ธองคท รงบัญญตั ิพระธรรมวินยั ก็ทรง บญั ญตั แิ กม นุษยเ รานี้เอง มไิ ดท รงบญั ญัตแิ ก ชา ง มา โค กระบอื ฯลฯ ท่ไี หนเลย มนุษยน้ีเองจะเปน ผูป ฏบิ ัติถึงซ่ึงความบรสิ ทุ ธไิ์ ด ฉะนัน้ จงึ ไม ควรนอ ยเน้ือตำ่ ใจวา ตนมีบุญวาสนานอย เพราะมนุษยทำได เม่ือไมม ี 11

ทำใหมไี ด เมอื่ มีแลว ทำใหยง่ิ ไดสมดว ยเทศนานัยอันมาในเวสสันดรชาดา วา ทานํ เทติ สีลํ รกฺขติ ภาวนํ ภาเวตฺวา เอกจโฺ จ สคคฺ ํ คจฺฉติ เอกจฺโจ โมกฺขํ คจฺฉติ นสิ ฺสํสยํ เมอ่ื ไดท ำกองการกศุ ล คอื ใหทานรักษาศีลเจรญิ ภาวนาตามคำสอนของพระบรมศาสดาจารยเ จา แลว บางพวกทำนอยก็ ตองไปสูสวรรค บางพวกทำมากและขยันจริงพรอมทั้งวาสนาบารมีแต หนหลังประกอบกัน ก็สามารถเขาสูพระนิพพานโดยไมตองสงสัยเลย พวกสตั วด ริ จั ฉานทานมิไดก ลา ววาเลิศ เพราะจะมาทำเหมือนพวกมนุษย ไมได จึงสมกับคำวามนุษยนี้ตั้งอยูในฐานะอันเลิศดวยดีสามารถนำตน เขาสูม รรคผล เขาสูพระนพิ พานอนั บริสทุ ธ์ิไดแ ล ๘. สติปฏฐาน เปน ชยั ภูมิ คือสนามฝก ฝนตน O พระบรมศาสดาจารยเ จา ทรงตัง้ ชยั ภูมิไวในธรรมขอไหน? เมื่อ พิจารณาปญหานี้ไดความขึ้นวา พระองคทรงตั้งมหาสติปฏฐานเปน ชัยภมู ิ อุปมาในทางโลก การรบทพั ชงิ ชยั มงุ หมายชยั ชนะจำตองหา ชยั ภูมิ ถา ไดชัยภมู ทิ ่ีดแี ลว ยอมสามารถปองกนั อาวุธของขา ศกึ ไดด ี ณ ที่ น้นั สามารถรวบรวมกำลงั ใหญเขาฆา ฟน ขาศึกใหป ราชัยพา ยแพไ ปได ท่ี เชน น้นั ทานจงึ เรียกวา ชัยภูมิ คือที่ท่ีประกอบไปดว ยคายคูประตูและหอ รบอันมน่ั คงฉนั ใด อปุ ไมยในทางธรรมกฉ็ นั น้นั ทเ่ี อามหาสติปฏ ฐานเปน ชยั ภูมิกโ็ ดยผทู จี่ ะเขาสสู งครามรบขาศกึ คอื กิเลส ตองพิจารณากายานุ ปสสนาสตปิ ฏ ฐานเปน ตนกอ น เพราะคนเราท่ีจะเกดิ กามราคะ เปนตน ขึ้น ก็เกิดท่กี ายและใจ เพราะตาแลไปเห็นกายทำใหใ จกำเริบ เหตนุ ้ันจงึ ไดค วามวา กายเปนเคร่ืองกอ เหตุ จงึ ตองพิจารณากายนกี้ อ น จะไดเปน เคร่ืองดับนิวรณทำใหใ จสงบได ณ ทน่ี พ้ี งึ ทำใหม าก เจรญิ ใหม าก คือ 12

พจิ ารณาไมตอ งถอยเลยทเี ดียว ในเม่ืออคุ คหนมิ ิตปรากฏ จะปรากฏกาย สวนไหนก็ตาม ใหพึงถือเอากายสวนที่ไดเห็นนั้นพิจารณาใหเปนหลักไว ไมตอ งยา ยไปพิจารณาทอ่ี ืน่ จะคดิ วา ทน่ี ่เี ราเห็นแลว ที่อ่นื ยงั ไมเห็น ก็ ตอ งไปพิจารณาทอี่ ืน่ ซิ เชน น้ีหาควรไม ถึงแมจะพิจารณาจนแยกกาย ออกมาเปนสว นๆ ทุกๆอาการอนั เปน ธาตุ ดิน นำ้ ลม ไฟ ไดอ ยาง ละเอยี ด ที่เรยี กวา ปฏิภาคก็ตาม กใ็ หพจิ ารณากายท่ีเราเหน็ ทีแรกดว ย อคุ คหนิมิตน้ันจนชำนาญ ที่จะชำนาญไดก ็ตอ งพิจารณาซำ้ แลว ซ้ำอีก ณ ทีเ่ ดียวนั้นเอง เหมือนสวดมนตฉะน้ัน อนั การสวดมนต เม่ือเราทองสูตรนี้ ไดแลว ทิ้งเสยี ไมเลาไมส วดไวอ กี กจ็ ะลมื เสียไมส ำเรจ็ ประโยชนอ ะไรเลย เพราะไมทำใหชำนาญดวยความประมาทฉันใด การพิจารณากายก็ฉัน นนั้ เหมือนกัน เมอ่ื ไดอุคคหนมิ ิตในทใ่ี ดแลว ไมพ จิ ารณาในท่นี น้ั ใหม าก ปลอยทงิ้ เสยี ดว ยความประมาทกไ็ มสำเรจ็ ประโยชนอะไรอยางเดยี วกนั การพจิ ารณากายนมี้ ที ี่อา งมาก ดงั่ ในการบวชทกุ วนั น้ี เบอ้ื งตนตอ งบอก กรรมฐาน ๕ กค็ ือ กายน้ีเอง กอนอืน่ หมดเพราะเปนของสำคญั ทา น กลาวไวใ นคมั ภีรพระธรรมบทขุทฺทกนกิ ายวา อาจารยผ ไู มฉลาด ไมบอก ซ่งึ การพจิ ารณากาย อาจทำลายอุปนสิ ัยแหงพระอรหันตข องกุลบุตรได เพราะฉะน้ันในทุกวันน้จี งึ ตอ งบอกกรรมฐาน ๕ กอ น O อีกแหง หน่ึงทานกลาววา พระพทุ ธเจาท้ังหลาย พระขีณาสวเจา ทง้ั หลาย ชอ่ื วา จะไมกำหนดกาย ในสวนแหง โกฏฐาส (คือการพิจารณา แยกออกเปน สว นๆ) ใดโกฏฐาสหนึ่งมิไดมีเลย จึงตรสั แกภกิ ษุ ๕๐๐ รปู ผู กลาวถึงแผนดินวา บานโนนมีดินดำดินแดงเปนตนนั้นวา นั่นชื่อวา พหิทธฺ า แผนดนิ ภายนอกใหพวกทา นท้ังหลายมาพจิ ารณา อัชฌัตตกิ า แผนดินภายในกลาวคืออัตตภาพรางกายนี้ จงพิจารณาไตรตรองให 13

แยบคาย กระทำใหแ จง แทงใหต ลอด เมื่อจบการวสิ ชั ชนาปญหาน้ี ภกิ ษุ ทั้ง ๕๐๐ รูปกบ็ รรลุพระอรหนั ตผล O เหตุนั้นการพิจารณากายจงึ เปนของสำคัญ ผูท่จี ะพนทุกทั้งหมด ลวนแตตองพิจารณากายนี้ทั้งสิ้น จะรวบรวมกำลังใหญไดตองรวบรวม ดวยการพิจารณากาย แมพระพุทธองคเจาจะไดตรัสรูทีแรกก็ทรง พจิ ารณาลม ลมจะไมใชกายอยา งไร? เพราะฉะนน้ั มหาสติปฏฐาน มกี า ยานปุ ส สนาเปนตน จึงช่อื วา \"ชัยภมู \"ิ เมอื่ เราไดชยั ภูมิดแี ลว กลาวคอื ปฏิบัติตามหลักมหาสติปฏฐานจนชำนาญแลว ก็จงพิจารณาความเปน จรงิ ตามสภาพแหง ธาตุทั้งหลายดวยอุบายแหง วิปส สนา ซึ่งจะกลาวขา ง หนา ๙. อุบายแหงวปิ สสนา อนั เปน เครื่องถายถอนกเิ ลส O ธรรมชาตขิ องดีทัง้ หลาย ยอมเกดิ มาแตของไมดี อุปมาด่ังดอก ปทมุ ชาตอิ ันสวยๆ งามๆ ก็เกิดข้ึนมาจากโคลนตมอนั เปนของสกปรก ปฏิกูลนาเกลยี ด แตวา ดอกบวั น้นั เมื่อขน้ึ พน โคลนตมแลว ยอ มเปน สง่ิ ที่ สะอาด เปนทท่ี ัดทรงของพระราชา อปุ ราช อำมาตย และเสนาบดี เปนตน และดอกบัวนั้นก็มิไดกลับคืนไปยังโคลนตมนั้นอีกเลย ขอนี้ เปรียบเหมือนพระโยคาวจรเจา ผูประพฤติพากเพียรประโยคพยายาม ยอ มพจิ ารณาซ่งึ สง่ิ สกปรกนาเกลียดน้ันก็คือตวั เราน้ีเอง รา งกายน้ีเปน ท่ปี ระชุมแหงของโสโครกคอื อจุ จาระ ปสสาวะ (มูตรคูถ) ท้งั ปวง ส่ิงที่ ออกจากผม ขน เลบ็ ฟน หนงั เปนตน ก็เรยี กวา ขี้ ท้งั หมด เชน ขหี้ ัว ข้ี เลบ็ ข้ฟี น ขไ้ี คล เปนตน เมือ่ ส่งิ เหลาน้ีรวงหลนลงสูอาหาร มแี กงกบั เปน ตน ก็รงั เกยี จ ตอ งเททิ้ง กินไมได และรา งกายนตี้ องชำระอยูเ สมอจึง 14

พอเปน ของดไู ด ถา หาไมก็จะมีกลนิ่ เหมน็ สาป เขาใกลใครกไ็ มไ ด ของทงั้ ปวงมผี าแพรเคร่ืองใชตางๆ เมอื่ อยนู อกกายของเรากเ็ ปนของสะอาดนา ดู แตเ ม่ือมาถึงกายน้ีแลวกก็ ลายเปนของสกปรกไป เม่ือปลอ ยไวน านๆ เขาไมซ ักฟอกกจ็ ะเขา ใกลใ ครไมไ ดเลย เพราะเหม็นสาบ ดัง่ นี้จงึ ไดค วาม วารางกายของเราน้ีเปน เรอื นมตู ร เรือนคูถ เปน อสภุ ะ ของไมงาม ปฏกิ ลู นาเกลียด เมื่อยังมีชีวิตอยูก็เปนถึงปานนี้ เมื่อชีวิตหาไมแลว ยิ่งจะ สกปรกหาอะไรเปรียบเทียบมิไดเลย เพราะฉะนั้นพระโยคาวจรเจาทั้ง หลายจึงพิจารณารางกายอันนี้ใหชำนิชำนาญดวย โยนิโสมนสิการ ตงั้ แตต นมาทเี ดยี ว คือขณะเม่อื ยงั เห็นไมทนั ชัดเจนกพ็ จิ ารณาสว นใดสว น หนึง่ แหง กายอันเปนทส่ี บายแกจ รติ จนกระทงั่ ปรากฏเปนอุคคหนมิ ติ คือ ปรากฏสวนแหงรางกายสวนใดสวนหนึ่งแลวก็กำหนดสวนนั้นใหมาก เจรญิ ใหม าก ทำใหมาก การเจริญทำใหมากนัน้ พึงทราบอยางน้ี อัน ชาวนาเขาทำนาเขากท็ ำที่แผน ดิน ไถที่แผนดนิ ดำลงไปในดนิ ปต อไปเขา ก็ทำทด่ี นิ อีกเชน เคย เขา ไมไดท ำในอากาศกลางหาว คงทำแตท่ดี ินอยาง เดยี ว ขา วเขาก็ไดเ ตม็ ยุง เต็มฉางเอง เมอื่ ทำใหมากในทดี่ นิ นัน้ แลว ไมตอง รองเรียกวา ขา วเอยขา ว จงมาเต็มยุงเนอ ขาวกจ็ ะหลั่งไหลมาเอง และ จะหามวา เขา เอยขา ว จงอยามาเต็มยุงเตม็ ฉางเราเนอ ถา ทำนาในที่ดิน นั้นเองจนสำเร็จแลว ขา วกม็ าเต็มยุงเต็มฉางเอง ฉันใดก็ดีพระโยคาวจร เจา กฉ็ ันนั้น จงพิจารณากายในท่เี คยพิจารณาอันถกู นิสัยหรือท่ีปรากฏ มาใหเหน็ คร้งั แรก อยาละทงิ้ เลยเปน อันขาด การทำใหมากนนั้ มิใชหมาย แตการเดินจงกรมเทานั้น ใหมีสติหรือพิจารณาในที่ทุกสถานในกาลทุก เม่อื ยนื เดิน นัง่ นอน กนิ ด่ืม ทำ คดิ พดู กใ็ หม สี ตริ อบคอบในกายอยู เสมอจึงจะช่อื วา ทำใหม าก เมอ่ื พิจารณาในรางกายน้นั จนชัดเจนแลว 15

ใหพจิ ารณาแบง สว นแยกสว นออกเปนสวนๆ ตามโยนิโสมนสิการตลอด จนกระจายออกเปนธาตดุ ิน ธาตุนำ้ ธาตุไฟ ธาตุลม และพิจารณาใหเห็น ไปตามนน้ั จรงิ ๆ อบุ ายตอนนี้ตามแตต นจะใครค รวญออกอบุ ายตามทีถ่ ูก จริตนสิ ัยของตน แตอ ยาละทงิ้ หลกั เดิมทตี่ นไดรูครั้งแรกนน่ั เทยี ว O พระโยคาวจรเจาเมอื่ พิจารณาในทีน่ ้ี พงึ เจริญใหมาก ทำใหม าก อยาพิจารณาครง้ั เดยี วแลวปลอยทิ้งตง้ั ครง่ึ เดือน ตง้ั เดือน ใหพจิ ารณา กา วเขา ไป ถอยออกมาเปน อนโุ ลม ปฏโิ ลม คือเขา ไปสงบในจติ แลว ถอยออกมาพจิ ารณากาย อยา งพจิ ารณากายอยา งเดยี ว หรือสงบทจี่ ิต แตอยางเดียว พระโยคาวจรเจาพิจารณาอยางนี้ชำนาญแลว หรือ ชำนาญอยา งยิ่งแลว คราวนี้แลเปนสว นที่จะเปนเอง คอื จิต ยอมจะรวม ใหญ เม่ือรวมพบ่ึ ลง ยอมปรากฏวาทกุ สิ่งรวมลงเปน อนั เดยี วกันคือหมด ทั้งโลกยอมเปนธาตุทั้งสิ้น นิมิตจะปรากฏขึ้นพรอมกันวาโลกนี้ราบ เหมือนหนา กลอง เพราะมีสภาพเปนอันเดยี วกัน ไมว า ปา ไม ภูเขา มนุษย สัตว แมที่สุดตัวของเราก็ตองลบราบเปนที่สุดอยางเดียวกัน พรอ มกับ ญาณสัมปยตุ ต คือรขู ึน้ มาพรอ มกัน ในท่นี ต้ี ดั ความสนเทห ใ น ใจไดเลย จึงชอื่ วา ยถาภูตญาณทัสสนวิปส สนา คอื ท้งั เหน็ ทัง้ รตู ามความ เปน จริง O ขั้นนเ้ี ปนเบ้อื งตน ในอันทจี่ ะดำเนินตอไป ไมใชท ส่ี ุดอนั พระโยคาว จรเจา จะพงึ เจริญใหมาก ทำใหม าก จึงจะเปน เพอ่ื ความรูย ่ิงอกี จนรอบ จนชำนาญเห็นแจง ชัดวา สงั ขารความปรงุ แตง อนั เปนความสมมตวิ า โนน เปนของของเรา โนนเปนเรา เปนความไมเที่ยงอาศัยอุปาทานความ ยดึ ถอื จงึ เปน ทกุ ข ก็แลธาตทุ ั้งหลาย เขาหากมีหากเปน อยอู ยางนี้ตัง้ แต ไหนแตไ รมา เกิด แก เจ็บ ตาย เกดิ ขึ้นเสอ่ื มไปอยูอยา งนีม้ ากอน เราเกิด 16

ตั้งแตดึกดำบรรพก็เปนอยูอยางนี้ อาศัยอาการของจิต ของขันธ ๕ ไดแ ก รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณไปปรงุ แตง สำคญั มั่นหมายทุก ภพทุกชาติ นับเปนอเนกชาตเิ หลือประมาณมาจนถึงปจ จบุ นั ชาติ จึง ทำใหจ ติ หลงอยูตามสมมติ ไมใชส มมติมาตดิ เอาเรา เพราะธรรมชาตทิ งั้ หลายทั้งหมดในโลกนี้ จะเปนของมีวิญญาณหรือไมก็ตาม เมื่อวาตาม ความจริงแลว เขาหากมหี ากเปน เกดิ ข้นึ เสือ่ มไป มีอยูอยา งน้ันทีเดยี ว โดยไมตอ งสงสยั เลยจงึ รขู ึ้นวา ปพุ เฺ พสุ อนนสุ ฺสเุ ตสุ ธมฺเมสุ ธรรมดา เหลานี้ หากมมี าแตกอน ถึงวาจะไมไ ดย นิ ไดฟงมาจากใครก็มีอยูอยางนน้ั ทีเดยี ว ฉะนั้นในความขอนี้ พระพุทธเจาจงึ ทรงปฏญิ าณพระองควา เรา ไมไ ดฟง มาแตใ คร มไิ ดเ รียนมาแตใครเพราะของเหลา นมี้ อี ยู มมี าแตกอ น พระองคดังนี้ ไดความวาธรรมดาธาตุทั้งหลายยอมเปนยอมมีอยูอยาง นั้น อาศัยอาการของจิตเขาไปยึดถือเอาสิ่งทั้งปวงเหลานั้นมาหลายภพ หลายชาติ จึงเปน เหตใุ หอนสุ ัยครอบงำจติ จนหลงเชอ่ื ไปตาม จึงเปน เหตุ ใหก อ ภพกอ ชาตดิ ว ยอาการของจิตเขาไปยดึ ฉะนน้ั พระโยคาวจรเจามา พิจารณา โดยแยบคายลงไปตามสภาพวา สพฺเพ สฺงขารา อนจิ ฺจา สพฺ เพ สงขฺ ารา ทุกขฺ า สงั ขารความเขาไปปรงุ แตง คอื อาการของจติ นนั่ แล ไมเทย่ี ง สตั วโ ลกเขาเทีย่ ง คือมีอยเู ปน อยอู ยางนัน้ ใหพิจารณาโดย อรยิ สจั จธรรมท้ัง ๔ เปน เครือ่ งแกอ าการของจิตใหเหน็ แนแทโดย ปจจักข สิทธิ วา ตัวอาการของจติ น้เี องมนั ไมเ ทย่ี ง เปน ทกุ ข จึงหลงตามสงั ขาร เมื่อเห็นจริงลงไปแลว กเ็ ปน เครอื่ งแกอ าการของจิต จงึ ปรากฏข้นึ วา สงฺ ขารา สสฺสตา นตฺถิ สงั ขารท้งั หลายทเี่ ทีย่ งแทไมมี สังขารเปนอาการ ของจิตตา งหาก เปรียบเหมอื นพยับแดด สว นสัตวเ ขาก็อยูประจำโลกแต ไหนแตไ รมา เม่อื รูโดยเงือ่ น ๒ ประการ คอื รูวา สัตวก ็มอี ยูอ ยางนน้ั 17

สงั ขารกเ็ ปนอาการของจติ เขา ไปสมมติเขาเทา น้ัน ฐตี ภิ ูตํ จิตตั้งอยเู ดมิ ไมมีอาการเปนผหู ลุดพน ไดความวา ธรรมดาหรือธรรมท้ังหลายไมใช ตน จะใชต นอยา งไร ของเขาหากเกิดมีอยา งนน้ั ทา นจงึ วา สพเฺ พ ธมฺ มา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไมใ ชตน ใหพระโยคาวจรเจา พงึ พิจารณาให เห็นแจงประจักษตามนี้จนทำใหจิตรวมพึ่บลงไป ใหเห็นจริงแจงชัดตาม น้นั โดย ปจจกั ขสิทธิ พรอ มกับ ญาณสมั ปยุตต รวมทวนกระแสแก อนสุ ยั สมมตเิ ปนวิมตุ ติ หรือรวมลงฐีตจิ ิต อันเปนอยมู อี ยอู ยางนัน้ จนแจง ประจักษใ นที่นน้ั ดว ยญาณสมั ปยุตตว า ขีณา ชาติ ญาณํ โหติ ดงั น้ี ในท่ี นี้ไมใชสมมติไมใชของแตงเอาเดาเอา ไมใชของอันบุคคลพึงปรารถนา เอาได เปน ของทีเ่ กิดเอง เปนเอง รเู อง โดยสวนเดียวเทานน้ั เพราะดวย การปฏิบัติอันเขม แขง็ ไมท อ ถอย พจิ ารณาโดยแยบคายดวยตนเอง จงึ จะ เปน ขึ้นมาเอง ทานเปรยี บเหมือนตนไมตา งๆ มตี น ขา วเปนตน เม่อื บำรุง รักษาตนมันใหดีแลว ผลคือรวงขาวไมใชสิ่งอันบุคคลพึงปรารถนา เอาเลย เปน ข้นึ มาเอง ถา แลบุคคลมาปรารถนาเอาแตรวงขาว แตห าได รักษาตนขาวไม เปนผเู กยี จครา น จะปรารถนาจนวันตาย รวงขาวกจ็ ะ ไมมีข้นึ มาใหฉันใด วิมฺตติธรรม ก็ฉนั นนั้ น่นั แล มิใชส งิ่ อนั บุคคลจะพงึ ปรารถนาเอาได คนผูปรารถนาวิมุตติธรรมแตปฏิบัติไมถูกตองหรือไม ปฏิบัติมัวเกียจครานจนวันตายจะประสบวิมุตติธรรมไมไดเลย ดวย ประการฉะนี้ ๑๐. จิตเดมิ เปน ธรรมชาติใสสวาง แตมดื มวั ไปเพราะอุปกเิ ลส O ปภสฺสรมิทํ ภกิ ฺขเว จติ ตฺ ํ ตฺจ โข อาคนตฺ เุ กหิ อปุ กิเลเสหิ อุ ปกกฺ ลิ ิฏฐํ 18

O ภิกษุทั้งหลาย จิตนี้เสื่อมปภัสสรแจงสวางมาเดิม แตอาศัย อปุ กิเลสเครือ่ งเศรา หมองเปน อาคันตุกะสัญจรมาปกคลุมหุมหอ จึงทำให จติ มิสอ งแสงสวา งได ทา นเปรยี บไวในบทกลอนหนึง่ วา \"ไมชะงกหกพนั งา(กง่ิ ) กะปอมกากิง้ กาฮอ ย กะปอมนอ ยขนึ้ ม้อื พนั คร้นั ตัวมาบท ัน ข้นึ นำคูมอื้ ๆ\" โดยอธบิ ายวา คำวาไมชะงก ๖,๐๐๐ งา นน้ั เมื่อตดั ศนู ย ๓ ศนู ยอ อกเสียเหลอื แค ๖ คงไดค วามวา ทวารท้งั ๖ เปนที่มาแหง กะปอ มกา คือของปลอมไมใชข องจรงิ กิเลสท้ังหลายไมใ ชข องจรงิ เปน สงิ่ สญั จรเขา มาในทวารท้งั ๖ นบั รอ ยนับพนั มิใชแตเ ทานน้ั กิเลสทงั้ หลาย ที่ยังไมเกิดขึ้นก็จะทวียิ่งๆ ขึ้นทุกๆ วัน ในเมื่อไมแสวงหาทางแก ธรรมชาติของจิตเปนของผอ งใสย่ิงกวา อะไรทง้ั หมด แตอ าศยั ของปลอม กลา วคืออุปกเิ ลสทสี่ ญั จรเขามาปกคลมุ จึงทำใหหมดรศั มี ดจุ พระอาทิตย เม่ือเมฆบดบังฉะน้นั อยาพึงเขา ใจวา พระอาทติ ยเขาไปหาเมฆ เมฆไหล มาบดบงั พระอาทิตยตา งหาก ฉะน้ัน ผูบ ำเพ็ญเพียรท้งั หลายเมอ่ื รูโ ดย ปริยายนี้แลว พึงกำจัดของปลอมดวยการพิจารณาโดยแยบคายตามที่ อธิบายแลว ในอุบายแหงวิปสสนาขอ ๙ นั้นเถดิ เม่ือทำใหถ งึ ขั้นฐีติจติ แลว ชือ่ วา ยอมทำลายของปลอมไดห มดสิน้ หรือวา ของปลอมยอมเขาไป ถึงฐีติจิต เพราะสะพานเชือ่ มตอถกู ทำลายขาดสะบ้ันลงแลว แมย งั ตอ ง เก่ยี วของกับอารมณของโลกอยูก็ยอมเปน ดุจนำ้ กล้ิงบนใบบัวฉะน้นั ๑๑. การทรมานตนของผูบำเพญ็ เพยี ร ตอ งใหพอเหมาะกับอปุ นสิ ยั O นายสารถีผูฝกมามีชื่อเสียงคนหนึ่ง มาเฝาพระพุทธเจาทูลถาม ถึงวธิ ีทรมานเวไนย พระองคท รงยอ นถามนายสารถีกอนถงึ การทรมาณ มา เขาทูลวามามี ๔ ชนิด คือ ๑. ทรมานงาย ๒. ทรมานอยางกลาง ๓. 19

ทรมานยากแท ๔. ทรมานไมไ ดเ ลย ตอ งฆา เสีย พระองคจงึ ตรสั วาเราก็ เหมอื นกนั ๑. ผูทรมาณงา ย คอื ผปู ฏิบตั ทิ ำจติ รวมงา ยใหกนิ อาหารเพียง พอ เพ่อื บำรุงรา งกาย ๒. ผูทรมานอยา งกลาง คือผูปฏบิ ัตทิ ำจิตไมค อย จะลง ก็ใหก ินอาหารแตน อยอยาใหม าก ๓. ทรมานยากแท คอื ผปู ฏิบตั ิ ทำจติ ลงยากแท ไมตองใหก นิ อาหารเลย แตต อ งเปน อตตฺ ฺ ู รกู ำลัง ของตนวา จะทนทานไดส กั เพยี งไร แคไ หน ๔. ทรมานไมไดเ ลย ตอ งฆา เสีย คือผปู ฏิบตั ิทำจติ ไมได เปน ปทปรมะ พระองคทรงชักสะพานเสยี กลาวคือไมท รงรบั สง่ั สอน อปุ มาเหมอื นฆา ทง้ิ เสียฉะนั้น ๑๒. มลู ตกิ สูตร O ตกิ แปลวา ๓ มลู แปลวา เคามลู รากเหงา รวมความวาส่ิงซง่ึ เปน รากเหงาเคามลู อยา งละ ๓ คอื ราคะ โทสะ โมหะ ก็เรยี ก ๓ อกศุ ลมลู ตัณหา ก็มี ๓ คือกามตัณหา ภวตณั หา วิภวตัณหา โอฆะและอาสวะก็มี อยางละ ๓ คือ กามะ ภาวะ อวิชชา ถาบุคคลมาเปน ไปกับดวย ๓ เชน น้ี ติปรวิ ตฺตํ ก็ตองเวยี นไปเปน ๓ ๓ ก็ตองเปน โลก ๓ คือ กามโลก รูปโลก อรปู โลก อยอู ยา งน้นั แล เพราะ ๓ นนั้ เปนเคามูลโลก ๓ เครือ่ งแกกม็ ี ๓ คอื ศีล สมาธิ ปญ ญา เมื่อบคุ คลดำเนนิ ตนตามศีล สมาธิ ปญ ญา อนั เปน เครอ่ื งแก น ติปริวตตฺ ํ กไ็ มต อ งเวียนไปเปน๓ ๓ ก็ไมเ ปน โลก ๓ ช่ือวาพนจากโลก ๓ แล ๑๓. วิสุทธเิ ทวาเทาน้นั เปน สันตบุคคลแท O อกุปฺป สพพฺ ธมฺเมสุ เญยฺยธมฺมา ปเวสสฺ นโฺ ต O บุคคลผูมีจิตไมกำเริบในกิเลสทั้งปวง รูธรรมทั้งหลายทั้งที่เปน 20

พหทิ ธาธรรม ทงั้ ท่ีเปน อัชฌัตติกาธรรม สนฺโต จงึ เปน ผสู งบระงับ สัน ตบุคคลเชนน้ีแลทจี่ ะบรบิ รู ณดว ยหิรโิ อตตัปปะ มธี รรมบรสิ ทุ ธิ์สะอาด มี ใจมั่นคงเปนสัตบุรุษผูทรงเทวธรรมตามความในพระคาถาวา หิริ โอตฺตปปฺ สมปฺ นฺนา สกุ ฺกธมมฺ สมาหิตา สนโฺ ต สปปฺ รุ สิ า โลเก เทวธมมฺ าติ วุจจฺ เร อปุ ต ติเทวา ผูพ รัง่ พรอ มดวยกามคุณ วุน วายอยูดว ยกิเลส เหตุ ไฉนจงึ จะเปน สันตบุคคลได ความในพระคาถาน้ียอมตอ งหมายถึงวิสุทธิ เทวา คือพระอรหนั ตแนนอน ทา นผูเ ชนนน้ั เปน สันตบุคคลแท สมควรจะ เปน ผบู ริบรู ณด ว ยหริ ิโอตตปั ปะ และ สกุ กฺ ธรรม คือ ความบริสทุ ธแิ์ ท ๑๔. อกริ ยิ าเปนท่ีสดุ ในโลก - สดุ สมมตบิ ญั ญัติ f สจฺจานํ จตโุ ร ปทา ขณี าสวา ชุตมิ นโฺ ต เต โลเก ปรินพิ พฺ ตุ า O สจั ธรรมทง้ั ๔ คือ ทุกข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค ยงั เปนกิรยิ า เพราะ แตละสจั จะๆ ยอ มมอี าการตอ งทำคือ ทุกข- ตอ งกำหนดรู สมทุ ัย-ตองละ นโิ รธ-ตอ งทำใหแ จง มรรค-ตอ งเจรญิ ใหมาก ดังน้ลี ว นเปน อาการทีจ่ ะ ตอ งทำทั้งหมด ถา เปนอาการทจ่ี ะตอ งทำ ก็ตองเปนกิริยาเพราะเหตุนั้น จึงรวมความไดวา สจั จะทั้ง ๔ เปนกริ ิยา จึงสมกับบาทคาถาขา งตนนนั้ ความวาสัจจะทงั้ ๔ เปนเทา หรือเปน เครือ่ งเหยียบกา วข้ึนไป หรือกาว ขน้ึ ไป ๔ พกั จงึ จะเสรจ็ กิจ ตอ จากนนั้ ไปจงึ เรียกวา อกริ ิยา O อปุ มา ดงั เขยี นเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ แลว ลบ ๑ ถงึ ๙ ทิ้งเสยี เหลอื แต ๐ (ศนู ย) ไมเขียนอกี ตอไป คงอา นวา ศนู ย แตไมมคี า อะไรเลย จะนำไปบวกลบคณู หารกบั เลขจำนวนใดๆ ไมไ ดท้ังส้นิ แตจะ ปฏิเสธวาไมม หี าไดไม เพราะปรากฏอยูวา ๐ (ศนู ย) น่ีแหละ คอื ปญ ญา รอบรู เพราะลายกิริยา คือ ความสมมติ หรอื วาลบสมมติลงเสยี จนหมด 21

ส้ิน ไมเ ขาไปยึดถอื สมมติทัง้ หลาย คำวาลบ คอื ทำลายกิรยิ า กลาวคอื ความสมมติ มีปญหาสอดข้นึ มาวา เมื่อทำลายสมมติหมดแลวจะไปอยู ท่ีไหน? แกวา ไปอยูในที่ไมส มมติ คือ อกริ ยิ า น่นั เอง เน้อื ความตอนนี้ เปนการอธิบายตามอาการของความจริง ซึ่งประจักษแกผูปฏิบัติโดย เฉพาะ อนั ผูไมปฏิบัตหิ าอาจรไู ดไม ตอเม่ือไรฟง แลวทำตามจนรเู องเหน็ เองนัน่ แลจึงจะเขา ใจได O ความแหง ๒ บาทคาถาตอไปวา พระขณี าสวเจาทง้ั หลายดับโลก สามรุง โรจนอยู คอื ทำการพจิ ารณาบำเพย็ เพียรเปน ภาวิโต พหุลีกโต คือทำใหมาก เจริญใหมาก จนจิตมีกำลังสามารถพิจารณาสมมติทั้ง หลายทำลายสมมติทั้งหลายลงไปไดจนเปนอกิริยาก็ยอมดับโลกสามได การดับโลกสามนั้น ทานขีณาสวเจาทั้งหลายมิไดเหาะขึ้นไปนกามโลก รปู โลก อรปู โลกเลยทเี ดียว คงอยูกับท่ีนัน่ เอง แมพระบรมศาสดาของ เราก็เชนเดียวกัน พระองคประทับนั่งอยู ณ ควงไมโพธิพฤกษแหง เดียวกัน เม่ือจะดบั โลกสาม กม็ ไิ ดเหาะขึน้ ไปในโลกสาม คงดับอยทู ่ีจิต ทิ่ จติ นน้ั เองเปนโลกสาม ฉะนน้ั ทา นผตู องการดับโลกสาม พึงดับท่ีจติ ของ ตนๆ จงึ ทำลายกิรยิ า คอื ตวั สมมติหมดสิน้ จากจิต ยงั เหลือแตอกริ ยิ า เปน ฐตี จิ ติ ฐตี ิธรรมอันไมรจู กั ตาย ฉะนแ้ี ล ๑๕. สัตตาวาส ๙ O เทวาพภิ พ มนุสสโลก อบายโลก จดั เปน กามโลก ที่อยูอาศัยของ สตั วเสพกามรวมเปน ๑ รปู โลก ทอ่ี ยอู าศยั ของสตั วผสู ำเรจ็ รปู ฌานมี ๔ อรปู โลก ท่ีอยอู าศัยของสตั วผ สู ำเรจ็ อรูปฌานมี ๔ รวมทัง้ สน้ิ ๙ เปน ที่ อยอู าศยั ของสัตว ผมู ารูเ ทาสตั ตาวาส ๙ กลา วคือ พระขีณาสวเจา ท้ัง 22

หลาย ยอ มจากท่อี ยขู องสตั ว ไมต อ งอยูในท่ี ๙ แหงนี้ และปรากฏใน สามเณรปญหาขอสุดทายวา ทส นาม กึ อะไรชื่อวา ๑๐ แกวา ทสหงฺ เคหิ สมนฺนาคโต พระขณี าสวเจา ผปู ระกอบดวยองค ๑๐ ยอมพน จากสัต ตาวาส ๙ ความขอนคี้ งเปรยี บไดกบั การเขียนเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ นนั่ เอง ๑ ถงึ ๙ เปนจำนวนทนี่ บั ได อา นได บวกลบคณู หารกนั ได สว น ๑๐ ก็คือ เลข ๑ กบั ๐ (ศนู ย) เราจะเอา ๐ (ศูนย) ไปบวกลบคูณ หารกบั เลขจำนวนใดๆ ก็ไมท ำใหเ ลขจำนวนน้ันมคี าสูงขน้ึ และ ๐ (ศนู ย) นีเ้ มอื่ อยโู ดยลำพงั กไ็ มม คี าอะไร แตจะวา ไมม ีกไ็ มได เพราะเปนส่งิ ปรากฏ อยู ความเปรียบนฉ้ี นั ใด จิตใจกฉ็ ันนน้ั เปนธรรมชาติ มลี กั ษณะเหมอื น ๐ (ศนู ย) เม่อื นำไปตอเขา กับเลขตวั ใด ยอมทำใหเ ลขตัวนน้ั เพิม่ คา ขึ้นอีก มาก เชน เลข ๑ เมือ่ เอาศนู ยต อเขา กก็ ลายเปน ๑๐ (สบิ ) จิตใจเรานี้ก็ เหมือนกัน เมื่อตอ เขากบั ส่ิงทง้ั หลายก็เปนของวจิ ติ รพสิ ดารมากมายข้นึ ทนั ที แตเ มอื่ ไดรบั การฝก ฝนอบรมจนฉลาดรอบรูสรรพเญยยฺ ธรรมแลว ยอ มกลบั คืนสสู ภาพ ๐ (ศนู ย) คือ วางโปรง พน จากการนับการอานแลว มไิ ดอ ยใู นที่ ๙ แหงอนั เปน ท่ีอยูของสัตว แตอยใู นทหี่ มดสมมตบิ ญั ญตั คิ อื สภาพ ๐ (ศนู ย) หรอื อกิริยาดงั กลาวในขอ ๑๔ นน่ั เอง ๑๖. ความสำคัญของปฐมเทศนา มชั ฌิมเทศนา และปจ ฉิมเทศนา O พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจาใน ๓ กาลมี ความสำคัญยง่ิ อันพทุ ธบรษิ ทั ควรสนใจพจิ ารณาเปนพเิ ศษ คอื O ก. ปฐมโพธิกาล ไดทรงแสดงธรรมแกพระปญ จวคั คยี  ที่ปา อิสิป ตนมฤคทายวัน เมอื งพาราณสี เปน คร้งั แรกเปน ปฐมเทศนา เรยี กวา ธรรมจักร เบ้อื งตนทรงยกสว นสุด ๒ อยา งอนั บรรพชิตไมค วรเสพข้ึนมา 23

แสดงวา เทว เม ภกิ ฺขเว อนฺตา ปพพฺ ชิเตน น เสวติ พพฺ า ภิกษทุ ้ังหลาย สว นที่สดุ ๒ อยา งอนั บรรพชิตไมพึงเสพ คอื กามสขุ ัลลกิ า และอัตตกลิ ม ถา อธิบายวา กามสขุ ลั ลกิ า เปนสวนแหงความรัก อัตตกลิ มถา เปนสว น แหงความชงั ทั้ง ๒ สว นนีเ้ ปนตัวสมทุ ยั เม่ือผบู ำเพญ็ ตบะธรรมทั้งหลาย โดยอยูซ ึง่ สว นท้งั สองน้ี ชอ่ื วา ยงั ไมเขาทางกลาง เพราะเมือ่ บำเพ็ญเพยี ร พยายามทำสมาธิ จิตสงบสบายดเี ต็มที่ก็ดใี จ ครัน้ เมื่อจิตนกึ คิดฟงุ ซาน รำคาญก็เสียใจ ความดีใจน้นั คือ กามสขุ ัลลกิ า ความเสยี ใจน้ันแล คือ อัตตกิลมถา ความดใี จก็เปน ราคะ ความเสยี ใจกเ็ ปนโทสะ ความไมรเู ทา ในราคะ โทสะ ทัง้ สองนเ้ี ปนโมหะ ฉะนนั้ ผทู ่ีพยายามประกอบความ เพียรในเบื้องแรกตองกระทบสวนสุดทั้งสองนั้นแลกอน ถาเมื่อกระทบ สวน ๒ น้นั อยู ชือ่ วาผดิ อยแู ตเปน ธรรมดาแทท ีเดียว ตอ งผิดเสยี กอนจึง ถูก แมพระบรมศาสดาแตกอ นน้นั พระองคก็ผดิ มาเตม็ ท่เี หมือนกนั แม พระอคั รสาวกท้งั สอง ก็ซำ้ เปน มิจฉาทฐิ มิ ากอ นแลวทง้ั ส้ิน แมสาวกทัง้ หลายเหลา อ่นื ๆ กล็ ว นแตผดิ มาแลวท้งั น้ัน ตอ เมื่อพระองคมาดำเนินทาง กลาง ทำจิตอยูภ ายใตร ม โพธิพฤกษ ไดญาณ ๒ ในสองยามเบ้อื งตน ใน ราตรี ไดญาณท่ี ๓ กลาวคืออาสวกั ขยญาณในยามใกลรงุ จึงไดถกู ทาง กลางอนั แทจ ริงทำจติ ของพระองคใ หพน จากความผิด กลาวคอื ...สวนสุด ทั้งสองน้นั พนจากสมมติโคตร สมมติชาติ สมมตวิ าส สมมตวิ งศ และ สมมติประเพณี ถงึ ความเปนอริยโคตร อรยิ ชาติ อรยิ วาส อรยิ วงศ และ อรยิ ประเพณี สว นอริยสาวกทง้ั หลายน้ันเลา กม็ ารูตามพระองค ทำใหได อาสวักขยญาณพนจากความผิดตามพระองคไป สวนเราผูปฏิบัติอยูใน ระยะแรกๆ ก็ตอ งผดิ เปนธรรมดา แตเมอ่ื ผดิ กต็ อ งรูเ ทาแลวทำใหถกู เมอ่ื ยงั มีดีใจเสียใจในการบำเพญ็ บญุ กุศลอยู ก็ตกอยใู นโลกธรรม เม่อื ตกอยู 24

ในโลกธรรม จึงเปนผูหวั่นไหวเพราะความดีใจเสียใจนั่นแหละ ชื่อวา ความหวน่ั ไหวไปมา อปุ ฺปนฺโน โข เม โลกธรรมจะเกดิ ท่ีไหน เกิดทีเ่ รา โลกธรรมมี ๘ มรรคเครื่องแกกม็ ี ๘ มรรค ๘ เครอ่ื งแกโลกธรรม ๘ ฉะนั้น พระองคจ งึ ทรงแสดงมชั ฌมิ าปฏปิ ทาแกส วน ๒ เมอื่ แกสว น ๒ ได แลว กเ็ ขา สูอริยมรรค ตดั กระแสโลก ทำใจใหเปนจาโค ปฏนิ ิสฺสคโฺ ค มตุ ฺติ อนาลโย (สละสลดั ตดั ขาดวางใจหายหวง) รวมความวา เมอ่ื สว น ๒ ยงั มี อยใู นใจผใู ดแลว ผนู นั้ กย็ งั ไมถูกทาง เมือ่ ผมู ใี จพนจากสว นท้งั ๒ แลว ก็ ไมหวั่นไหว หมดธลุ ี เกษมจากโยคะ จึงวาเนื้อความแหง ธรรมจกั รสำคญั มาก พระองคท รงแสดงธรรมจักรนย้ี งั โลกธาตใุ หห วนั่ ไหว จะไมห วน่ั ไหว อยา งไร เพราะมใี จความสำคัญอยางน้ี โลกธาตกุ ม็ ิใชอ ะไรอื่น คือตัวเรา นี้เอง ตัวเราก็คือธาตุของโลก หวั่นไหวเพราะเห็นในของที่ไมเคยเห็น เพราะจติ พนจากสว น ๒ ธาตุของโลกจึงหวัน่ ไหว หวัน่ ไหวเพราะจะไมม า กอ ธาตขุ องโลกอกี แล O ข. มัชฌิมโพธิกาล ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกขในชุมชนพระ อรหันต ๑,๒๕๐ องค ณ พระราชอุทยานเวฬวุ นั กลนั ทกนวิ าปสถาน กรุงราชคฤหใจความสำคัญตอนหนึ่งวา อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พทุ ธฺ าน สาสนํ พึงเปนผูท ำจติ ใหย ิ่ง การทจี่ ะทำจิตใหยง่ิ ไดตอ งเปนผูส งบ ระงับ อจิ ฺฉา โลภสมาปนโฺ น สมโณ กึ ภวิสฺสติ เม่อื ประกอบดว ยความ อยากด้ินรนโลภหลงอยูแ ลวจกั เปนผสู งระงับไดอ ยา งไร ตอ งเปน ผปู ฏิบตั ิ คือปฏิบัติพระวินัยเปนเบื้องตน และเจริญกรรมฐานตั้งตนแตการเดิน จงกรม น่ังสมาธิ ทำใหม าก เจรญิ ใหม าก ในการพจิ ารณามหาสตปิ ฏ ฐาน มกี ายนุปสสนาสติปฏฐาน เปนเบ้อื งแรก พงึ พิจารณาสวนแหง รางกาย โดยอาการแหงบริกรรมสวนะคือ พิจารณาโดยอาการคาด 25

คะเน วาสวนนั้นเปนอยางนั้นดวยการมีสติสัมปชัญญะไปเสียกอน เพราะเม่ือพจิ ารณาเชนนี้ใจไมหา งจากกาย ทำใหรวมงา ย เมอื่ ทำใหม าก ในบรกิ รรมสวนะแลว จกั เกดิ ขึน้ ซึง่ อุคคหนิมิตใหช ำนาญในทนี่ ้นั จนเปน ปฏภิ าค ชำนาญในปฏิภาคโดยยง่ิ แลว จักเปนวิปส สนา เจรญิ วิปส สนาจน เปน วปิ ส สนาอยางอุกฤษฏ ทำจิตเขา ถึงฐตี ภิ ตู ํ ดงั กลา วแลว ในอบุ ายแหง วปิ สสนาชื่อวาปฏิบัติ เมอ่ื ปฏิบัตแิ ลว โมกฺขํ จงึ จะขา มพน จึงพนจากโลก ช่อื วาโลกตุ ตรธรรม เขมํ จงึ เกษมจากโยคะ (เครือ่ งรอย) ฉะนน้ั เน้อื ความในมัชฌิมเทศนาจึงสำคัญเพราะเล็งถึงวิมุตติธรรมดวยประการฉะนี้ และฯ O ค. ปจ ฉมิ โพธิกาล ทรงแสดงปจฉมิ เทศนาในที่ชุมชนพระอริย สาวก ณ พระราชอุทยานสาลวนั ของมลั ลกษตั รยิ ก รงุ กุสนิ ารา ในเวลา จวนจะปรินพิ พานวา หนทฺ านิ อามนฺตยามิ โว ภกิ ฺขเว ปฏเิ วทยามิ โว ภิกฺขเว ขยวยธมฺมา สงขฺ ารา อปปฺ มาเทน สมฺปาเทถ เราบอกทา นท้ัง หลายวาจงเปนผูไมประมาท พจิ ารณาสงั ขารทเี่ กดิ ข้ึนแลว เส่ือมไป เมื่อ ทานทั้งหลายพิจารณาเชนนั้นจักเปนผูแทงตลอด พระองคตรัสพระ ธรรมเทศนาเพยี งเทา นีก้ ็ปดพระโอษฐมิไดตรัสอะไรตอ ไปอกี เลย จงึ เรียก วา ปจฉิมเทศนาอธบิ ายความตอไปวา สงั ขารมนั เกิดขน้ึ ทีไ่ หน อะไรเปน สังขาร สังขารมันก็เกิดขึ้นที่จิตของเราเองเปนอาการของจิตพาใหเกิด ขนึ้ ซง่ึ สมมตทิ ั้งหลาย สังขารนแ้ี ล เปนตวั การสมมตบิ ัญญัตสิ ่ิงทั้งหลาย ในโลกความจริงในโลกทั้งหลายหรือธรรมธาตุทั้งหลายเขามีเขาเปนอยู อยา งนัน้ แผนดิน ตน ไม ภูเขา ฟา แดด เขาไมไดว า เขาเปนนน้ั เปนน้ีเลย เจาสังขารตัวการน้เี ขา ไปปรงุ แตง วา เขาเปนนัน้ เปนน้จี นหลงกันวา เปน จริง ถอื เอาวา เปนตวั เรา เปนของๆ เราเสียสิ้น จึงมี ราคะ โทสะ โมหะ 26

เกิดขน้ึ ทำจติ ดง้ั เดมิ ใหห ลงตามไป เกดิ แก เจบ็ ตาย เวียนวายไปไมม ที ่ี ส้ินสดุ เปน อเนกภพ อเนกชาติ เพราะเจาตัวสงั ขารนัน้ แลเปนตัวเหตุ จงึ ทรงสอนใหพจิ ารณาสังขารวา สพเฺ พ สงขฺ ารา อนจิ ฺจา สพฺเพ สงขฺ ารา ทกุ ฺขา ใหเปนปรชี าญาณชดั แจง เกิดจากผลแหง การเจรญิ ปฏิภาคเปน สว นเบ้ืองตน จนทำจติ ใหเ ขา ภวังค เมือ่ กระแสแหงภวงั คห ายไป มีญาณ เกิดขนึ้ วา \"นน้ั เปนอยา งนน้ั เปน สภาพไมเทย่ี ง เปน ทกุ ข\" เกิดข้นึ ในจิต จริงๆ จนชำนาญเหน็ จริงแจงประจกั ษ กร็ เู ทาสงั ขารได สังขารกจ็ ะมา ปรุงแตง ใหจ ิตกำเรบิ อกี ไมได ไดในคาถาวา อกปุ ฺป สพพฺ ธมเฺ มสุ เญยฺยธมฺ มา ปเวสสฺ นโฺ ต เม่ือสงั ขารปรงุ แตงจิตไมไ ดแ ลว ก็ไมกำเรบิ รูเ ทา ธรรมทง้ั ปวง สนฺโต ก็เปนผสู งบระงบั ถึงซึ่งวิมตุ ติธรรม ดวยประการฉะนี้ ปจ ฉิมเทศนานเ้ี ปน คำสำคญั แท ทำใหผูพจิ ารณารแู จงถึงทสี่ ดุ พระองค จงึ ไดปดพระโอษฐแ ตเพยี งน้ี O พระธรรมเทศนาใน ๓ กาลน้ี ยอมมีความสำคญั เหนือความ สำคญั ในทกุ ๆ กาล ปฐมเทศนากเ็ ลง็ ถงึ วมิ ตุ ตธิ รรม มัชฌมิ เทศนากเ็ ล็งถงึ วมิ ุตติธรรม ปจฉิมเทศนากเ็ ลง็ ถึงวมิ ุตตธิ รรม รวมทั้ง ๓ กาล ลวนแตเล็ง ถึงวมิ ุตติธรรมทง้ั ส้นิ ดวยประการฉะนี้ ๑๗. พระอรหันตท ุกประเภทบรรลุทัง้ เจโตวิมุตติ ทัง้ ปญ ญาวิมตุ ติ O อนาสวํ เจโตวิมตุ ตฺ ึ ปญฺ าวิมตุ ตฺ ึ ทิฏเฐว ธมฺเม สยํ อภิ ฺญา สจฉฺ ิกตวา อุปฺปสมปฺ ชชฺ วหิ รติ พระบาลีนแี้ สดงวาพระอรหนั ตท ง้ั หลายไมวาประเภทใดยอมบรรลุทั้งเจโตวิมุตติ ทั้งปญญาวิมุตติ...ที่ ปราศจากอาสวะในปจจบุ ัน หาไดแบงแยกไวว า ประเภทนน้ั บรรลุแตเ จ โตวมิ ุตติ หรือปญ ญาวิมุตไิ ม ที่เกจอิ าจารยแ ตง อธบิ ายไวว า เจโตวิมุตติ 27

เปน ของพระอรหนั ตผไู ดส มาธกิ อน สวนปญ ญาวมิ ุตตเิ ปน ของพระอรหนั ตส ุกขวปิ สสกผเู จริญวิปสสนาลวนๆ นน้ั ยอมขัดแยงตอมรรค มรรค ประกอบดวยองค ๘ มที งั้ สัมมาทิฏฐิ ท้งั สมั มาสมาธิ ผูจะบรรลุวิมุตติ ธรรมจำตองบำเพญ็ มรรค ๘ บริบูรณ มิฉะนั้นกบ็ รรลุวมิ ุตตธิ รรมไมได ไตรสิกขาก็มีทั้งสมาธิ ทั้งปญญา อันผูจะไดอาสวักขยญาณจำตอง บำเพญ็ ไตรสกิ ขาใหบ รบิ ูรณท งั้ ๓ สวน ฉะนน้ั จงึ วา พระอรหันตทุก ประเภทตองบรรลุท้ังเจโตวมิ ตุ ติ ท้งั ปญ ญาวมิ ุตตดิ ว ยประการฉะนแ้ี ลฯ 28

มุตโตทยั บนั ทึกโดย พระอาจารยว นั อุตฺตโม และ พระอาจารยท องคำ ญาโณ ภาโส ณ วดั ปา บานหนองผอื อ. พรรณานิคม จ. สกลนคร พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ ๑. เรอื่ ง มูลกรรมฐาน กุลบุตรผูบรรพชาอุปสมบทเขามาในพระพุทธศาสนานี้แลว ใครเลาไม เคยเรียนกรรมฐานมา บอกไดท ีเดียววาไมเคยมี พระอปุ ชฌายทุกองค เมื่อบวชกุลบุตรจะไมสอนกรรมฐานกอนแลวจึงใหผาภายหลังไมมี ถา อุปช ฌายอ งคใดไมสอนกรรมฐานกอน อปุ ช ฌายอ งคนน้ั ดำรงความเปน อุปชฌายะตอไปไมได ฉะนั้นกุลบุตรผูบวชมาแลวจึงไดชื่อวาเรียน กรรมฐานมาแลว ไมต องสงสัยวา ไมไ ดเรียน O พระอปุ ช ฌายะสอนกรรมฐาน ๕ คือ เกสา ผม โลมา ขน นขา เล็บ ทันตา ฟน ตโจ หนงั ในกรรมฐานท้ัง ๕ น้ี มหี นังเปน ทีส่ ดุ ทำไมจงึ สอนถึงหนงั เทา น้ัน? เพราะเหตุวา หนัง มันเปนอาการใหญ คนเราทุก คนตอ งมหี นงั หุมหอ ถาไมมหี นงั ผม ขน เล็บ ฟน ก็อยไู มไ ด ตองหลุด หลน ทำลายไป เน้ือ กระดกู เอ็น และอาการทั้งหมดในรางกายนี้ ก็จะอยู ไมได ตองแตกตอ งทำลายไป คนเราจะหลงรูปกม็ าหลง หนงั หมายความ สวยๆ งามๆ เกิดความรกั ใครแลวก็ปรารถนาเพราะมาหมายอยูท ่หี นงั เม่อื เหน็ แลว ก็สำคัญเอาผวิ พรรณของมนั คือผิว ดำ-ขาว-แดง-ดำแดง- 29

ขาวแดง ผิวอะไรตออะไร ก็เพราะหมายสหี นัง ถา ไมมหี นงั แลว ใครเลา จะหมายวาสวยงาม? ใครเลาจะรักจะชอบจะปรารถนา? มแี ตจ ะเกลยี ด หนายไมป รารถนา ถาหนังไมหมุ หออยูแลว เน้ือเอ็นและอาการอน่ื ๆ กจ็ ะ อยูไมไ ด ทั้งจะประกอบกิจการอะไรก็ไมได จงึ วาหนงั เปน ของสำคญั นกั จะเปน อยไู ดก ินกเ็ พราะหนงั จะเกดิ ความหลงสวยหลงงามก็เพราะมหี นงั ฉะนั้นพระอุปชฌายะทานจึงสอนถึงแตหนังเปนที่สุด ถาเรามาตั้งใจ พิจารณาจนใหเห็นความเปอยเนาเกิดอสุภนิมิต ปรากฏแนแกใจแลว ยอ มจะเห็นอนิจจสจั จธรรม ทุกขสัจจธรรม อนัตตาสจั จธรรม จงึ จะแก ความหลงสวยหลงงามอันมั่นหมายอยทู ่ีหนังยอ มไมส ำคญั หมาย และไม ชอบใจ ไมป รารถนาเอาเพราะเหน็ ตามความเปน จรงิ เมือ่ ใดเชื่อคำสอน ของพระอุปช ฌายะไมป ระมาทแลว จึงจะไดเหน็ สจั จธรรม ถาไมเช่ือคำ สอนพระอปุ ชฌายะ ยอมแกค วามหลงของตนไมได ยอ มตกอยูใ นบวง แหงรัชชนิอารมณ ตกอยูในวัฏจักร เพราะฉะนั้น คำสอนที่พระ อุปชฌายะไดสอนแลวแตกอนบวชนั้น เปนคำสอนที่จริงที่ดีแลวเราไม ตอ งไปหาทางอื่นอีก ถา ยงั สงสยั ยงั หาไปทางอ่ืนอีกชื่อวายังหลงงมงาย ถา ไมห ลงจะไปหาทำไม คนไมห ลงกไ็ มมกี ารหา คนทีห่ ลงจึงมกี ารหา หา เทาไรยง่ิ หลงไปไกลเทา นัน้ ใครเปนผูไมหา มาพิจารณาอยูใ นของทมี่ อี ยู น้ี กจ็ ะเหน็ แจง ซง่ึ ภูตธรรม ฐีตธิ รรม อันเกษมจากโยคาสวะทัง้ หลาย O ความในเรื่องนี้ ไมใชมติของพระอุปชฌายะทั้งหลายคิดไดแลว สอนกุลบุตรตามมติของใครของมัน เนื่องดวยพุทธพจนแหงพระพุทธ องคเจา ไดท รงบญั ญัตไิ วใหอ ุปช ฌายะเปน ผสู อนกุลบุตรผบู วชใหม ให กรรมฐานประจำตน ถามิฉะนั้นก็ไมสมกับการออกบวชที่ไดสละบาน เรือนครอบครวั ออกมาบำเพ็ญเนกขัมมธรรม หวงั โมกขธรรม การบวชก็ 30

จะเทากับการทำเลน พระองคไ ดท รงบัญญตั มิ าแลว พระอปุ ชฌายะทั้ง หลายจึงดำรงประเพณนี ี้สบื มาตราบเทา ทุกวนั น้ี พระอุปชฌายะสอนไม ผดิ สอนจรงิ แทๆ เปน แตก ลุ บุตรผูร บั เอาคำสอนไมตั้งใจ มวั ประมาทลุม หลงเอง ฉะนน้ั ความในเรอ่ื งนี้ วญิ ชู นจงึ ไดรับรองทีเดียววา เปน วสิ ทุ ธิ มรรคเท่ียงแท ๒. เรื่อง ศีล f สลี ํ สลี า วิย ศีล คือความปกติ อปุ มาไดเทากับหินซ่ึงเปนของ หนักและเปนแกนของดิน แมจะมีวาตธาตุมาเปาสักเทาใด ก็ไมมีการ สะเทอื นหว่นั ไหวเลย แตวา เราจะสำคัญถอื แตเ พียงคำวา ศลี เทา น้นั ก็จะ ทำใหเรางมงายอีก ตองใหรูจักเสียวาศีลนั้นอยูที่ไหน? มีตัวตนเปน อยา งไร? อะไรเลา เปน ตัวศลี ? ใครเปนผูร ักษา? ถารูจักวาใครเปน ผู รักษาแลว กจ็ ะรจู ักวาผนู ั้นเปนตัวศีล ถาไมเ ขาใจเรือ่ งศีล ก็จะงมงายไม ถอื ศลี เพยี งนอกๆ เดี๋ยวก็ไปหาเอาที่นั้นทีนีจ้ งึ จะมีศีล ไปขอเอาที่นั่นที่น่ี จึงมี เมื่อยังเที่ยวหาเที่ยวขออยูไมใชหลงศีลดอกหรือ? ไมใชสีลพัตต ปรามาสถอื นอกๆ ลูบๆ คลำๆ อยหู รอื ? f อทิ ํ สจฺจาภนิ ิเวสทิฏฐิ จะเห็นความงมงายของตนวาเปนของจริง เที่ยงแท ผไู มหลงยอ มไมไ ปเที่ยวขอเทีย่ วหา เพราะเขา ใจแลววา ศีลก็อยู ทต่ี นนี้ จะรักษาโทษทงั้ หลายกต็ นเปนผรู กั ษา ดงั ทว่ี า \"เจตนาหํ ภกิ ฺขเว สีลํ วทามิ\" เจตนา เปนตัวศลี เจตนา คืออะไร? เจตนาน้ีตองแปลงอีกจึง จะไดความ ตองเอาสระ เอ มาเปน อิ เอา ต สะกดเขา ไป เรยี กวา จติ ตฺ คือจิตใจ คนเราถาจิตใจไมม ี กไ็ มเ รยี กวา คน มีแตกายจะสำเรจ็ การทำ อะไรได? รา งกายกับจิตตองอาศยั ซง่ึ กันและกนั เมื่อจติ ใจไมเ ปนศีล กาย 31

ก็ประพฤตไิ ปตา งๆ จงึ กลา วไดว า ศลี มีตวั เดียว นอกน้นั เปนแตเ รอื่ งโทษท่ี ควรละเวน โทษ ๕ โทษ ๘ โทษ ๑๐ โทษ ๒๒๗ รกั ษาไมใ หมโี ทษตางๆ ก็ สำเรจ็ เปนศีลตัวเดยี ว รกั ษาผเู ดยี วนั้นไดแลว มนั ก็ไมมโี ทษเทา น้นั เอง ก็ จะเปนปกติแนบเนียนไมหวัน่ ไหว ไมมเี รอื่ งหลงมาหาหลงขอ คนท่ีหาขอ ตองเปนคนทุกข ไมม อี ะไรจงึ เทยี่ วหาขอ เดีย๋ วกก็ ลา วยาจามๆิ ขอแลวขอ เลาขอเทาไรยิ่งไมมียิ่งอดอยากยากเข็ญ เราไดมาแลวมีอยูแลวซึ่งกาย กบั จติ รปู กายก็เอามาแลว จากบดิ ามารดาของเรา จิตกม็ อี ยแู ลว ชอื่ วา ของเรามีพรอ มบรบิ รู ณแ ลว จะทำใหเปนศลี กท็ ำเสียไมตองกลาววาศีลมี อยทู ่โี นนท่ีน้ี กาลนัน้ จึงจะมกี าลนีจ้ งึ จะมี ศลี มอี ยูท่ีเราน้แี ลว อกาลโิ ก รักษาไดไมมกี าล ไดผลก็ไมม ีกาล O เรื่องนี้ตองมีหลักฐานพรอมอีก เมื่อครั้งพุทธกาลนั้น พวก ปญ จวคั คียก ็ดี พระยสและบิดามารดาภรรยาเกา ของทา นกด็ ี ภทั ทวัคคยี  ชฏิลท้ังบรวิ ารกด็ ี พระเจา พมิ พสิ าร และราชบรพิ าร ๑๒ นหตุ กด็ ี ฯลฯ กอนจะฟงพระธรรมเทศนาของพระผูมีพระภาคเจา ไมปรากฏวาได สมาทานศีลเสียกอนจึงฟง เทศนา พระองคเทศนาไปทเี ดียว ทำไมทา น เหลา นนั้ จึงไดส ำเรจ็ มรรคผล ศีล สมาธิ ปญญา ของทานเหลา น้ันมาแต ไหน ไมเหน็ พระองคตรสั บอกใหทา นเหลานนั้ ของเอาศีล สมาธิ ปญ ญา จากพระองค เมื่อไดลิ้มรสธรรมเทศนาของพระองคแลว ศีล สมาธิ ปญ ญา ยอมมีขน้ึ ในทานเหลาน้ันเอง โดยไมมีการขอและไมมกี ารเอาให มัคคสามัคคี ไมมีใครหยบิ ยกใหเ ขา กัน จติ ดวงเดียวเปนศลี เปนสมาธิ เปนปญญา ฉะนน้ั เราไมหลงศลี จึงจะเปนวิญชู นอนั แทจ ริง 32

๓. เรื่อง ปาฏิโมกขสังวรศลี O พระวนิ ัย ๕ คัมภีร สงเคราะหลงมาในปาฏโิ มกขุทเทส เม่ือปฏบิ ัติ ไมถ กู ตอ งตามพระวินัยยอมเขา ไมไ ด ผปู ฏบิ ัติถกู ตามพระวนิ ยั แลว โมกฺขํ ชื่อวาเปนทางขามพนวัฏฏะได ปาฏิโมกขนี้ยังสงเคราะหเขาไปหาวิสุทธิ มรรคอีก เรียกวา ปาฏโิ มกขสังวรศีล ในสลี นเิ ทศ O สีลนเิ ทศนัน้ กลาวถงึ เร่ืองศีลทงั้ หลาย คือปาฏิโมกขสงั วรศีล ๑ อนิ ทรียสงั วรศีล ๑ ปจจยสนั นสิ สิตศลี ๑ อาชวี ปาริสุทธิศลี ๑ สว นอีก ๒ คมั ภรี น้ันคือ สมาธนิ ิเทศ และปญ ญานิเทศ วิสทุ ธิมรรคทัง้ ๓ พระคมั ภรี  นีส้ งเคราะหเขาในมรรคท้ัง ๘ มรรค ๘ สงเคราะหลงมาในสกิ ขาทั้ง ๓ คอื ศลี สมาธิ ปญ ญา เมื่อจะกลาวถงึ เรอ่ื งมรรคแลว ความประโยค พยายามปฏิบัติดัดตนอยู ช่ือวา เดินมรรค สตปิ ฏ ฐานท้ัง ๔ ก็เรยี กวา มรรค อรยิ สัจจ ๔ กช็ ่อื วา มรรค เพราะเปนกิรยิ าทยี่ ังทำอยู ยงั มกี าร ดำเนินอยู ดังภาษติ วา \"สจจฺ านํ จตุโรปทา ขีณาสวา ชุติมนฺโต เต โลเก ปรินิพฺพุตา\" สำหรับเทาตองมีการเดิน คนเราตองไปดวยเทาทั้งนั้น ฉะนน้ั สัจจะทัง้ ๔ กย็ งั เปนกิรยิ าอยู เปนจรณะเครื่องพาไปถงึ วสิ ทุ ธธิ รรม วิสุทธธิ รรมน้ันจะอยูทไ่ี หน? มรรคสัจจะอยทู ่ไี หน? วสิ ทุ ธิธรรมก็ตอ งอยูท่ี น่นั ! มรรคสจั จะไมมอี ยูท ี่อืน่ มโนเปน มหาฐาน มหาเหตุ วสิ ทุ ธธิ รรมจงึ ตองอยทู ี่ใจของเรานเ่ี อง ผูเ จรญิ มรรคตอ งทำอยูที่นี้ ไมต อ งไปหาท่อี ่ืน การหาที่อน่ื อยชู ื่อวายังหลง ทำไมจึงหลงไปหาทีอ่ ื่นเลา? ผไู มหลงกไ็ ม ตองหาทางอื่น ไมตองหากับบุคคลอื่น ศีลก็มีในตน สมาธิก็มีในตน ปญญากม็ ีอยูกบั ตน ดงั บาลวี า เจตนาหํ ภกิ ขฺ เว สีลํ วทามิ เปน ตน กายกบั จิตเทานปี้ ระพฤตปิ ฏิบัติศีลได ถา ไมมกี ายกบั จติ จะเอาอะไรมา พูดออกวาศีลได คำที่วาเจตนานั้นเราตองเปลี่ยนเอาสระเอขึ้นบนสระอิ 33

เอาตัว ต สะกดเขา ไป กพ็ ดู ไดวา จติ ฺตํ เปน จิต จิตเปนผคู ิดงดเวน เปนผู ระวังรักษา เปนผูประพฤติปฏิบัติ ซึ่งมรรคและผลใหเปนไปได พระพุทธเจากด็ ี พระสาวกขณี าสวเจากด็ ี จะชำระตนใหห มดจดจากสัง กเิ ลสทงั้ หลายได ทานก็มีกายกับจติ ท้ังน้นั เมอ่ื ทานจะทำมรรคและผลให เกิดมไี ดกท็ ำอยทู ี่นี่ คือทก่ี ายกบั จติ ฉะนน้ั จึงกลา วไดว า มรรคมอี ยูท ตี่ น ของตนนี้เอง เมอื่ เราจะเจริญซ่งึ สมถหรอื วปิ ส สนา กไ็ มต อ งหนจี ากกาย กับจิต ไมต อ งสง นอก ใหพ จิ ารณาอยูในตนของตน เปนโอปนยโิ ก แมจะ เปน ของมอี ยภู ายนอก เชน รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ เปน ตน ก็ไม ตองสงออกเปนนอกไป ตองกำหนดเขามาเทียบเคียงตนของตน พจิ ารณาอยทู ่ีน้ี ปจฺจตตฺ ํ เวทิตพโฺ พ วิ ฺหู ิ เม่อื รกู ็ตองรูเฉพาะตน รอู ยู ในตน ไมไ ดรูม าแตนอก เกดิ ข้นึ กบั ตนมขี ึ้นกบั ตน ไมไ ดห ามาจากทีอ่ ืน่ ไมมีใครเอาให ไมไ ดข อมาจากผูอ่ืน จงึ ไดช อ่ื วา ญาณ ทสฺสนํ สุวิสทุ ธํ อโหสิ ฯลฯ เปนความรูเหน็ ที่บริสทุ ธแิ์ ท ฯลฯ ๔. เร่ือง ธรรมคติวมิ ตุ ติ O สมเด็จพระผูมีพระภาคเจานั้นมิใชวาพระองคจะมีปญญา พิจารณาเอาวิมุตติธรรมใหไดวันหนึ่งวันเดียว พระองคทรงพิจารณามา แตยังเปนฆราวาสอยูหลายป นับแตครั้งที่พระองคไดราชาภิเษกเปน กษัตรยิ  พวกพระญาติพระวงศไ ดแ ตงตง้ั พระองคไดเปน เชนนแี้ ลว ยอ ม เปนผไู มนอนใจ จำเปนทพี่ ระองคจะตองคิดใชปญ ญาพจิ ารณาทุกสิ่งทุก อยางในการปกครองปองกนั ราษฎรทัง้ ของเขต และการรักษาครอบครัว ตลอดถึงพระองค ก็จะตองทรงคิดรอบคอบเสมอถาไมทรงคิดไมมีพระ ปญญา ไฉนจะปกครองบา นเมอื งไพรฟา ใหผ าสุกสบายได แมพระองค 34

ทรงคดิ ในเรอื่ งของผอู ่ืนและเรือ่ งของพระองคเ องเสมอแลว ปญญาววิ ฎั ฏ ของพระองคจงึ เกิดขน้ึ วา เราปกครองบังคับบญั ชาไดก แ็ ตก ารบานเมอื ง เทา นี้ สว นการ เกิด แก เจบ็ ตายเลา เราบังคบั บัญชาไมไดเ สยี แลว จะ บังคบั บัญชาไมใหส ตั วทั้งหลายเกิดก็ไมได เม่อื เกดิ แลว จะบังคับไมใหแก ชรากไ็ มไ ด จะบังคบั ไมใหตายก็ไมได เราจะบังคับ ความเกดิ ความแก ความเจบ็ ความตาย ของผอู ื่นก็ไมได แมแ ตต ัวของเราเองเลากบ็ ังคบั ไม ได ทรงพจิ ารณาเปนอนโุ ลมและปฏิโลม กลบั ไปกลบั มา พจิ ารณาเทาไร กย็ ิง่ เกดิ ความสลดสงั เวช และทอพระทยั ในการจะอยเู ปนผปู กครองราช สมบัติตอไป การที่อยูในฆราวาสรักษาสมบัติเชนนี้เพื่อตองการอะไร? เปนผูม ีอำนาจเทา น้ี มสี มบัติขาวของเชน นี้ จะบงั คบั หรอื จะซอื้ หรือ ประกันซง่ึ ความเกดิ แก เจบ็ ตายกไ็ มไ ด จึงทรงใครครวญไปอีกวา เรา จะทำอยางไรจงึ จะหาทางพนจากความ เกดิ แก เจ็บ ตายนไ้ี ด จงึ ได ความอุปมาขึ้นวา ถา มรี อ นแลว กย็ งั มเี ย็นเปนเครอื่ งแกกนั ได มมี ดื แลวยัง มีสวา งแกก นั ถามเี กิด แก เจ็บ ตาย แลว อยา งไรก็คงมีทางไมเกดิ ไมแก ไมตาย เปน แน จงึ ไดท รงพยายามใครค รวญหาทางจะแกเกดิ แก เจ็บ ตาย ใหจนได แตวา การจะแกเ กิด แก เจ็บ ตายนี้ เราอยใู นฆราวาสเชน นี้ คงจะทำไมไ ด เพราะฆราวาสน้ีเปนทค่ี ับแคบในยิ่งนัก มีแตก ารทีอ่ อก หนีเสยี จากการครองราชสมบตั นิ ี้ออกไปผนวชจงึ จะสามารถทำได O คร้นั ทรงคิดเชนนี้แลว ตอมาวนั หนง่ึ พอถงึ เวลากลางคืน พวก นางสนมทั้งหลายไดพากันมาบำรุงบำเรอพระองคอยูดวยการบำเรอทั้ง หลาย ในเวลาที่นางสนมทั้งหลายยังบำเรออยูนั้นพระองคทรงบรรทม หลบั ไปกอน คร้นั ใกลเ วลาพระองคจ ะทรงตื่นจากบรรทมนั้น พวกนาง สนมทั้งหลายก็พากันหลับเสียหมด แตไฟยังสวางอยู เมื่อนางสนมที่ 35

บำเรอหลับหมดแลวเผอิญพระองคทรงตื่นขึ้นมา ดวยอำนาจแหงการ พิจารณาที่พระองคทรงคิดไมเลิกไมแลวนั้น ทำใหพระทัยของพระองค พลิกขณะ เลยเกิดอุคคหนิมิตขึ้น ลืมพระเนตรแลวทอดพระเนตรแลดู พวกนางสนมทั้งหลายที่นอนหลับอยูนั้นเปนซากอสุภะไปหมด เหมือน กบั เปนซากศพในปาชา ผดี บิ จึงใหเกดิ ความสลดสังเวชเหลอื ที่จะทนอยู ได จึงตรัสกบั พระองคเองวา เราอยูทน่ี จ้ี ะวาเปน ทีส่ นกุ สนานอยางไรได คนทั้งหลายเหลานี้ลวนแตเปนซากศพในปาชาทั้งหมด เราจะอยูทำไม จำเราจะตองออกผนวชในเดี๋ยวนี้ จึงทรงเครื่องฉลองพระองคถือพระ ขรรคแลวออกไปเรียกนายฉันนะอำมาตยนำทางเสด็จหนีออกจากเมือง ไปโดยไมตองใหใครรูจัก ครั้นรุงแจงก็บรรลุถึงอโนมานที ทรงขามฝง แมน ทแี ลวกถ็ า ยเครอ่ื งประดับและเครอ่ื งทรงทีฉ่ ลองพระองคออกเสีย จึง สง เครือ่ งประดบั ใหนายฉนั นะ ตรัสส่ังใหกลับไปเมอื งพรอมดว ยอัศวราช ของพระองค สว นพระองคไดเ อาพระขรรคตัดพระเมาแ ละพระมสั สุเสยี ทรงผนวชแตพระองคเดยี ว O เม่อื ผนวชแลวจงึ เสาะแสวงหาศกึ ษาไปกอนคอื ไปศึกษาอยูในสำ นักอาฬารดาบส และอทุ กดาบส ครั้นไมสมประสงคจงึ ทรงหลีกไปแต พระองคเดียวไปอาศัยอยูราวปาใกลแมน้ำเนรัญชรา แขวงอุรุเวลา เสนานิคมไดมีปญจวัคคียไปอาศัยดวย พระองคไดทรงทำประโยค พยายามทำทุกกรกิริยาอยางเขมแข็ง จนถึงสลบตายก็ไมสำเร็จ เมื่อ พระองคไ ดส ติแลวจึงพจิ ารณาอกี วา การท่ีเรากระทำความเพยี รนจี้ ะมา ทรมานแตกายอยา งเดียวเทาน้ไี มค วร เพราะจติ กบั กายเปนของอาศัยกัน ถากายไมมีจะเอาอะไรทำประโยคพยายาม และถาจิตไมมี กายนี้ก็ทำ อะไรไมไ ด ตอ นน้ั พระองคจ ึงไปพยงุ พเยารางกายพอใหมกี ำลงั แข็งแรงข้นึ 36

พอควร จึงเผอิญปญจวัคคียพรอมกันหนีไป ครั้นปญจวัคคียหนีแลว พระองคก ไ็ ดความวิเวกโดดเดย่ี วแตผ เู ดียว ไมตอ งพ่ึงพาอาศัยใคร จงึ ได เรง พจิ ารณาอยา งเต็มท่ี O เมอื่ ถงึ วันข้ึน ๑๕ คำ่ เดอื น ๖ ประกา ในตอนเชารับธุปายาส ของนางสุชาดาเสวยเสร็จแลว ก็พักผอนอยูตามราวปานั้น ใกลจะ พลบค่ำแลว จึงเสดจ็ ดำเนินมาพบโสตถยิ พราหมณๆ ไดถ วายหญา คา ๘ กำแกพระองค พระองคร ับแลว ก็มาทำเปน ทน่ี ่งั ณ ภายใตตน อสั สัตถ พฤกษ ผินพระพักตรไ ปทางบูรพาทิศ ผนิ พระปฤษฎางคเ ขาหาตน ไมน้นั เม่ือพระองคป ระทบั นัง่ เรียบรอยแลว จึงไดพยงุ พระหฤทยั ใหเ ขม แขง็ ได ทรงตง้ั สัจจาธิษฐานมัน่ ในพระหฤทยั วา ถาเราไมบ รรลพุ ระสมั มาสัมโพธิ ญาณตามความตองการแลว เราจะไมล ุกจากบลั ลงั กนี้ แมเลอื ดและเนอ้ื จะแตกทำลายไป ยังเหลืออยแู ตพ ระตจะและพระอัฏฐิกต็ ามที ตอนั้นไป จงึ เจริญสมถและวิปสสนาปญ ญา ทรงกำหนดพระอานาปานสตเิ ปน ขน้ั ตน ในตอนตนนแ้ี หละพระองคไ ดทรงชำระนิวรณธรรมเตม็ ที่ เจาเวทนา พรอมทั้งความฟุงซานไดมาประสพแกพระองคอยางสาหัส ถาจะพูดวา มาร ก็ไดแกพวกขันธมาร มัจจมุ าร กเิ ลสมาร เขา รังควาญพระองค แต วาสัจจาธิษฐานของพระองคยังเที่ยงตรงมั่นคงอยู สติและปญญายัง พรอมอยู จงึ ทำใหจำพวกนิวรณเ หลานนั้ ระงบั ไป ปติ ปส สทั ธิ สมาธิ ได เกิดแลวแกพระองคจึงไดกลาววา พระองคทรงชนะพระยามาราธิราช ในตอนนี้เปนปฐมยาม เมื่อออกสมาธิตอนนี้ไดเกิดบุพเพนิวาสานุสสติ ญาณ เมื่อพิจารณาไปก็ไมเห็นที่สิ้นสุด จึงกลับจิตทวนกระแสเขามา พจิ ารณาผมู นั ไปเกดิ ใครครวญไปๆ มาๆ จติ กเ็ ขา ภวงั คอกี เม่อื ออกจาก ภวงั คแ ลวจึงเกดิ จุตปู ปาตญาณข้นึ มาในยามที่ ๒ คือ มัชฌมิ ยาม ทรง 37

พจิ ารณาไปตามความรชู นิดน้ี ก็ยงั ไมมคี วามส้นิ สดุ จึงทรงทวนกระแส จติ เขา มาใครค รวญอยูในเรือ่ งของผูพ าเปนไป พิจารณากลับไปกลบั มา ในปฏิจจสมุปบาทปจจยาการ จนจิตของพระองคเกิดความเบื่อหนาย สลดสังเวชเตม็ ทแ่ี ลว ก็ลงสูภวังคถงึ ฐตี ธิ รรมภตู ธรรม จติ ตอนน้ีถอยออก มาแลว จงึ ตัดสนิ ขาดทีเดยี ว จึงบญั ญตั วิ า อาสวกั ขยญาณ ทรงทราบวา จิตของพระองคสน้ิ แลวจากอาสวะ พน แลว จากบว งแหงมาร ไมม ีเกิด แก เจบ็ ตาย พนแลวจากทกุ ข ถงึ เอกันตบรมสขุ สนั ติวิหารธรรม วเิ วก ธรรม นิโรธธรรม วมิ ุตตธิ รรม นิพพาน ๕. เร่อื ง อจั ฉริยะ - อพั ภูตธรรม สมเด็จพระผูม พี ระภาคเจา พระบรมศาสดาของพวกเรา เมอื่ พระองคยัง เปนทา วศรีธารถ (สทิ ธัตถราชกุมาร) เสวยราชสมบตั ิอยู ทรงพจิ ารณา จตนุ มิ ติ ๔ ประการ จึงบนั ดาลใหพ ระองคเสด็จออกสูมหาภเิ นษกรมณ ทรงบรรพชา ทรงอธษิ ฐานบรรพชา ทีร่ ิมฝงแมนำ้ อโนมานที เคร่อื งสมถ บริขารมีมาเอง เลื่อนลอยมาสวมพระกายเอง ทรงเพศเปนบรรพชิต สมณสารูป สำเร็จดวยบุญญาภินิหารของพระองคเอง จึงเปนการ อัศจรรยไ มเคยมไี มเ คยเหน็ มาในปางกอน จงึ เปนเหตุใหพ ระองคอ ัศจรรย ใจ ไมถอยหลังในการประกอบความเพียร เพอื่ ตรัสรพู ระอนตุ ตรสมั มา สัมโพธิญาณ ครั้นทรงบำเพ็ญเพียรทางจิตตภาวนา ไมทอถอยตลอด เวลา ๖ ป ไดต รสั รูสจั จธรรม ของจริงโดยถูกตองแลว กย็ ิง่ เปน เหตุให พระองคท รงอศั จรรยในธรรมทไ่ี ดต รสั รแู ลว น้นั อีกเปนอันมาก O ในหมูปฐมสาวกนั่นเลา ก็ปรากฏเหตุการณอันนาอัศจรรย เหมอื นกัน เชน ปญจวคั คียกด็ ี พระยสและสหายของทา นก็ดี พระสาวก 38

อน่ื ๆ ท่ีเปน เอหภิ ิกฺขกุ ด็ ี เมอ่ื ไดฟงพระธรรมเทศนาของพระบรมศาสดา แลวไดสำเร็จมรรคผล และทูลขอบรรพชาอุปสมบทกับพระองค พระองคท รงเหยยี ดพระหตั ตอ อกเปลง พระวาจาวา เอหภิ กิ ฺขุ ทานจงเปน ภิกษุมาเถิด ธรรมวินัยเรากลาวดีแลว เพียงเทานี้ก็สำเร็จเปนภิกษุใน พระพุทธศาสนา อัฏฐบริขารเลื่อนลอยมาสวมสอดกาย ทรงเพศเปน บรรพชติ สมณสารูป มรี ูปอนั นาอศั จรรยน าเลือ่ มในจรงิ สาวกเหลานนั้ ก็ อัศจรรยตนเองในธรรมอันไมเคยรูเคยเห็น อันสำเร็จแลวดวยบุญฤทธิ์ และอำนาจพระวาจาอิทธิปาฏิหาริยของพระบรมศาสดาจารย ทาน เหลา นน้ั จะกลบั คืนไปบา นเกา ไดอยางไร เพราะจิตของทา นเหลาน้นั พน แลวจากบา นเกา และอัศจรรยใ นธรรมอนั ตนรตู นเห็นแลว ท้งั บรขิ ารที่ สวมสอดกายอยกู ็เปน ผาบังสกุ ลุ อยา งอกุ ฤษฎ O ครั้นตอมาทานเหลานั้นไปประกาศพระพุทธศาสนา มีผูศรัทธา เลอื่ มใสใครจะบวช พระผูมพี ระภาคเจากท็ รงอนญุ าตใหพระสาวกบวช ดวยติสรณคมนูปสัมปทาสำเร็จดวยการเขาถึงสรณะทั้ง ๓ คืออุทิศ เฉพาะพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ กเ็ ปน ภิกษุเต็มท่ี O คร้ันตอ มา พระผูมีพระภาคเจา ทรงมพี ระญาณเล็งเหน็ การณ ไกล จึงทรงมอบความเปน ใหญใ หแกส งฆ ทรงประทานญัตติจตุตถกรรม อุปสัมปทาไวเปนแบบฉบับอันหมูเราผูปฏิบัติไดดำเนินตามอยูทุกวันนี้ได พากนั มาอปุ สมบท O ในพระพุทธศาสนา อุทิศเฉพาะพระบรมศาสดาพรอมทั้งพระ ธรรมและพระสงฆแลว ทำความพากเพียรประโยคพยายามไปโดยไม ตองถอยแลวก็คงจะไดรับความอัศจรรยใจในพระธรรมวินัยบางเปนแน ไมนอยก็มาก ตามวาสนาบารมี ของตนโดยไมส งสยั เลย ฯ 39

๖. เร่ือง วาสนา O กศุ ลวาสนา อกุศลวาสนา อัพยากตวาสนา O อธั ยาศัยของสตั ว เปนมาแลวตางๆ คอื ดี เลว และกลางๆ วาสนาก็เปนไปตามอัธยาศัย คือวาสนาที่ยิ่งกวาตัว วาสนาเสมอตัว วาสนาทเี่ ลวทราม บางคนเปน ผมู ีวาสนาย่ิงในทางดมี าแลว แตค บกบั พาลวาสนากอ็ าจเปน เหมือนคนพาลได บางคนวาสนายงั ออ นแตคบกบั บัณฑิตวาสนาก็เล่อื นข้ึนไปเปนบัณฑติ บางคนคบมติ รเปน กลางๆ ไมด ี ไมร า ย ไมห ายนะ ไมเส่ือมทราม วาสนาก็พอประมาณสถานกลาง ฉะนนั้ บคุ คลพงึ พยายามคบบัณฑิต เพ่ือเลอ่ื นภมู วิ าสนาของตนใหส งู ขึ้นไปโดย ลำดับ ๗. เรือ่ ง สนทนาธรรมตามกาลเปนมงคลอุดม O กาเลน ธมมฺ สฺสากจฺฉา เอตมมฺ งคฺ ลมุตฺตมํ O การปฤกษาไตถาม หรือการสดับธรรมตามกาล ตามสมัย พระบรมศาสดาตรสั วาเปน มงคลความเจรญิ อันอดุ มเลศิ หมูเราตางคนก็มุงหนาเพื่อศึกษามาเองทั้งนั้นไมไดไปเชื้อเชิญนิมนตมา ครั้นมาศึกษามาปฏิบัติก็ตองทำจริงปฏิบัติจริง ตามเยี่ยงอยางพระบรม ศาสดาจารยเจา และสาวกขีณาสวะเจา ผปู ฏิบตั มิ ากอน O เบอื้ งตนพงึ พิจารณา สัจจธรรมคือของจรงิ ทั้ง ๔ ไดแก เกิด แก เจบ็ ตาย อันทานผเู ปน อรยิ บคุ คลไดปฏิบตั กิ ำหนดพิจารณามาแลว เกดิ เราก็เกดิ มาแลว คอื รางกายอนั เปน อยูน ีม้ ิใชก อ นเกดิ หรือ? แก เจ็บ ตาย ก็กอ นอนั นีแ้ ล เม่อื เราพจิ ารณาอยูใ นอิรยิ าบถทั้ง ๔ เดินจงกรมบา ง ยนื 40

กำหนดพิจารณาบาง นอนกำหนดพิจารณาบาง จิตจะรวมเปนสมาธิ รวมนอยก็เปนขณิกสมาธิ คือจิตรวมลงภวังคหนอยหนึ่งแลวก็ถอนออก มา ครน้ั พิจารณาอยูไ มถ อยจนปรากฏเปน อคุ คหนิมติ จะเปน นอกก็ตาม ในกต็ าม ใหพ ิจารณานิมติ น้ันจนจิตวางนิมิตรวมลงสูภ วังค ตำรงอยูน าน พอประมาณแลว ถอยออกมา สมาธิในช้ันน้ีเรียกวา อปุ จารสมาธิ พงึ พจิ ารณานมิ ติ น้ันเร่อื ยไปจนจติ รวมลงสูภวังคเขา ถงึ ฐีติจิต เปน อปั ปนา สมาธปิ ฐมฌาน ถึงซ่งึ เอกัคคตา ความมอี ารมณเ ดยี ว ครน้ั จิตถอยออก มา กพ็ งึ พิจารณาอกี แลวๆ เลาๆ จนขยายแยกสว นเปนปฏภิ าคนิมิตได ตอ ไป คอื พจิ ารณาวาตายแลวมนั จะเปน อะไรไปอีก มนั จะตอ งเปอยเนา ผุพงั ยังเหลือแตร า งกระดูก กำหนดทงั้ ภายในคอื กายของตนทง้ั ภายนอก คอื กายของผูอื่น โดยใหเ หน็ สวนตางๆ ของรา งกายวา สว นน้ีเปน ผม ขน เลบ็ ฟน หนัง ฯลฯ เสนเอน็ นอยใหญม ีเทา ไร กระดูกทอนนอยทอ นใหญ มีเทาไร โดยชดั เจนแจมแจง กำหนดใหม นั เกิดขน้ึ มาอีกแลว กำหนดใหม นั ยนื เดิน น่งั นอน แลวตายสลายไปสูส ภาพเดมิ ของมัน คอื ไปเปน ดิน นำ้ ไฟ ลม ถงึ ฐานะเดิมของมันน้นั แล O เมื่อกำหนดจติ พจิ ารณาอยูอยางน้ี ทัง้ ภายนอกทง้ั ภายใน ทำให มากใหหลาย ใหมีทัง้ ตายเกาตายใหม มีแรงกาสุนขั ยอ้ื แยงกัดกินอยู ก็ จะเกิดปรีชาญาณขึ้น ตามแตว าสนาอปุ นสิ ัยของตน ดังน้แี ล ฯ ๘. เร่อื ง การทำจติ ใหผ อ งใส f สจิตตฺ ปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ O การทำจิตของตนใหผองใส เปนการทำตามคำสั่งสอนของ พระพทุ ธเจา ทัง้ หลาย 41

O พระพทุ ธเจาผพู ระบรมศาสดา ไดต รัสสอนกาย วาจา จติ มไิ ด สอนอยา งอ่นื สอนใหป ฏิบัติ ฝกหดั จติ ใจ ใหเ อาจิตพจิ ารณากายเรยี กวา กายานุปสสนาสติปฏฐาน หัดสติใหมากในการคนควาที่เรียกวาธัมมวิจ ยะ พจิ ารณาใหพ อทีเดยี ว เมอ่ื พิจารณาพอจนเปนสติสัมโพชฌงค จติ จงึ จะเปน สมาธริ วมลงเอง O สมาธมิ ี ๓ ข้นั คือ ขณกิ สมาธิ จติ รวมลงไปสูฐตี ขิ ณะแลวพกั อยู หนอยหนึ่ง ถอยออกมาเสีย อปุ จารสมาธิ จติ รวมลงสูภวงั คแ ลวพกั อยู นานหนอยจึงถอยออกมารูนิมิตอยางใดอยางหนึ่ง และอัปปนาสมาธิ สมาธิอนั แนว แน ไดแ กจติ รวมลงสูภวังคถงึ ฐีตธิ รรมถึงเอกคั คตา ความมี อารมณเดียว หยุดนิ่งอยูกับที่ มีความรูตัวอยูวา จิตดำรงอยู และ ประกอบดวยองคฌ าน ๕ ประการ คอยสงบประณีตเขา ไปโดยลำดบั O เม่ือหดั จิตอยูอยางนี้ ช่ือวา ทำจิตใหย ่งิ ไดในพระบาลีวา อธจิ ติ ฺ เต จ อาโยโค เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ การประกอบความพากเพียรทำจติ ให ยง่ิ เปนการปฏิบตั ติ ามคำสอนของพระบรมศาสดาสมั มาสมั พุทธเจา O การพิจารณากายน้ีแล ชอ่ื วา ปฏิบัติ อันนักปราชญท ้ังหลายมี พระสัมมาสัมพุทธเจาเปนตนแสดงไว มีหลายนัยหลายประการ ทาน กลา วไวในมหาสตปิ ฏ ฐานสูตร เรียกวา กายานุปส สนาสติปฏฐาน ในมลู กรรมฐานเรยี กวา เกสา โลมา นขา ทนตฺ า ตโจ ท่ีพระอุปช ฌายะสอน เบอื้ งตนแหงการบรรพชาเปน สามเณร และในธรรมจกั กปั ปวัตนสูตรวา ชาตปิ  ทกุ ขฺ า ชราป ทกุ ฺขา มรณมปฺ  ทกุ ขฺ ํ แมความเกิดก็เปน ทกุ ข แม ความแกก็เปนทุกข แมค วามตายก็เปน ทกุ ข ดงั น้ี บดั นีเ้ ราก็เกดิ มาแลว มิใชหรือ? ครั้นเมื่อบุคคลมาปฏิบัติใหเปน โอปนยิโก นอมเขามา 42

พจิ ารณาในตนนี้แลว เปนไมผ ิด เพราะพระธรรมเปน อกาลิโก มอี ยูทุก เมอ่ื อาโลโก สวางโรอ ยทู งั้ กลางวันและกลางคืน ไมม อี ะไรปด บังเลย ฯ ๙. เร่อื ง วธิ ีปฏิบตั ขิ องผเู ลาเรียนมาก O ผูที่ไดศึกษาเลาเรียนคัมภีรวินัยมาก มีอุบายมากเปนปริยาย กวา งขวาง คร้ันมาปฏิบตั ทิ างจติ จติ ไมค อยจะรวมงา ย ฉะนัน้ ตองให เขาใจวาความรูที่ไดศึกษามาแลวตองเก็บใสตูใสหีบไวเสียกอน ตองมา หัดผูรูคือจิตนี้ หัดสติใหเปนมหาสติ หัดปญญาใหเปนมหาปญญา กำหนดรูเ ทา มหาสมมต-ิ มหานิยม อันเอาออกไปต้ังไวว าอนั น้นั เปนอันนัน้ เปน วันคืนเดอื นป เปนดินฟา อากาศ กลางหาวดาวนักขตั ตฤกษสารพดั ส่ิงทั้งปวง อนั เจาสังขารคือการจติ หาออกไปตงั้ ไวบ ญั ญตั ิไววา เขาเปน นัน้ เปนนี้ จนรเู ทาแลว เรียกวา กำหนดรูทกุ ข สมทุ ยั เมอื่ ทำใหม าก-เจรญิ ใหม าก รเู ทา เอาทันแลว จิตกจ็ ะรวมลงได เมือ่ กำหนดอยูก็ชอ่ื วาเจริญ มรรค หากมรรคพอแลว นิโรธก็ไมตอ งกลา วถึง หากจะปรากฏชัดแกผู ปฏบิ ตั เิ อง เพราะศีลกม็ ีอยู สมาธิกม็ ีอยู ปญ ญากม็ ีอยูในกาย วาจา จิตน้ี ทเ่ี รยี กวา อกาลโิ ก ของมอี ยทู ุกเมอื่ โอปนยิโก เม่อื ผปู ฏิบตั มิ าพิจารณา ของทม่ี อี ยู ปจฺจตฺตํ จงึ จะรูเฉพาะตวั คอื มาพจิ ารณากายอนั นีใ้ หเปน ขอ งอสภุ ะ เปอยเนา แตกพงั ลงไป ตามสภาพความจริงของภตู ธาตุ ปพุ เฺ พสุ ภูเตสุ ธมเฺ มสุ ในธรรมอันมมี าแตเ กากอน สวางโรอ ยูท้ังกลางวนั และ กลางคืน ผมู าปฏิบตั พิ ิจารณาพงึ รอู ปุ มารูปเปรียบดังนี้ อนั บคุ คลผทู ำนา กต็ อ งทำลงไปในแผน ดิน ลยุ ตมลุยโคลนตากแดดกรำฝน จึงจะเห็นขา ว เปลือก ขาวสาร ขาวสุกมาได และไดบรโิ ภคอ่มิ สบาย กล็ วนทำมาจาก 43

ของมอี ยูท ัง้ ส้นิ ฉันใด ผปู ฏิบตั ิกฉ็ นั น้นั เพราะ ศีล สมาธิ ปญญา ก็มอี ยู ใน กาย วาจา จติ ของทุกคน ฯ ๑๐. เรื่อง ขอ ปฏิบัตเิ ปนของมอี ยูทุกเมื่อ O ขอปฏิบัติสำหรับผูป ฏิบัติทง้ั หลาย ไมมปี ญ หาโอปนยิโก นอมจติ เขามาพจิ ารณา กาย วาจา จิตอกาลโิ กอันเปน ของมีอยู อาโลโกสวา งโร อยูทงั้ กลางวันและกลางคืน ปจจฺ ตฺตํ เวทติ พโฺ พ วญิ ูหิ อนั นักปราชญ ทั้งหลาย มีพระพุทธเจา และพระอริยสาวกเจาทั้งหลายผูนอมเขามา พจิ ารณาของมอี ยูนี้ ไดรแู จง จำเพาะตวั มาแลว เปน ตวั อยาง ไมใ ชว ากาล น้ันจึงจะมี กาลนีจ้ ึงจะมี ยอ มมีอยูทุกกาล ทุกสมัย ผูปฏิบัตยิ อ มรไู ด เฉพาะตวั คือผดิ ก็รจู กั ถกู ก็รจู กั ในตนของตนเอง ดีชว่ั อยางไรตวั ของตวั ยอมรูจักดีกวาผูอื่น ถาเปนผูหมั่นพินิจพิจารณาไมมัวประมาท เพลิดเพลนิ เสยี O ตวั อยา งที่มีมาแลวคอื มาณพ ๑๖ คน ซึ่งเปน ศิษยของพาวรี พราหมณ ทานเหลานั้นเจริญญานกสิณติดอยูในรูปฌานและอรูปฌาน พระบรมศาสดาจารยจ ึงตรัสสอนใหพ จิ ารณาของมอี ยูในตน ใหเหน็ แจง ดวยปญญาใหรวู า กามภพเปน เบื้องต่ำ รูปภพเปนเบอ้ื งกลาง อรปู ภพ เปนเบอื้ งบน แลว ถอยลงมาใหร ูวา อดีตเปน เบือ้ งตำ่ อนาคตเปนเบ้ือง บน ปจ จุบนั เปนทามกลาง แลวชกั เขามาหาตัวอีกใหรูวา อทุ ฺธํ อโธ ติ ริยจฺ าป มชฺเฌ เบ้อื งต่ำแตป ลายผมลงไป เบื้องบนแตพื้นเทาขึ้นมา เบือ้ งขวางฐานกลาง เมื่อทา นเหลานน้ั มาพจิ ารณาอยอู ยางน้ี ปจฺจตฺตํ จึง รเู ฉพาะขนึ้ ท่ตี ัวของตวั โดยแจม แจง สน้ิ ความสงสยั ขอปฏบิ ัติ ไมตอ งไป เทย่ี วแสวงหาทอี่ น่ื ใหลำบาก ฯ 44

๑๑. เรอื่ ง ไดฟ ง ธรรมทกุ เมือ่ O ผูปฏิบัติพึงใชอุบายปญญาฟงธรรมเทศนาทุกเมื่อถึงจะอยูคน เดียวกต็ าม คอื อาศยั การสำเหนยี ก กำหนดพจิ ารณาธรรมอยทู ง้ั กลางวัน และกลางคนื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ก็เปนรปู ธรรมทม่ี อี ยปู รากฏอยู รปู เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ก็มีอยูป รากฏอยู ไดเ ห็นอยู ไดย ินอยู ไดสูด ดม ลม้ิ เลีย และสัมผัสอยู จติ ใจเลา? ก็มอี ยู ความคิดนกึ รสู ึกในอารมณ ตางๆ ทง้ั ดีและรายก็มีอยู ความเสื่อม ความเจริญ ทงั้ ภายนอกภายใน ก็ มีอยู ธรรมชาตอิ ันมีอยูโ ดยธรรมดา เขาแสดงความจรงิ คอื ความไมเทย่ี ง เปนทกุ ข เปน อนตั ตา ใหป รากฏอยู ทกุ เมอื่ เชน ใบไมมนั เหลืองหลนรว ง ลงจากตน กแ็ สดงความไมเทีย่ งใหเ ห็น ดังนี้เปนตน เม่ือผปู ฏิบตั ิมาพินิจ พจิ ารณาดวยสตปิ ญญา โดยอุบายนี้อยูเสมอแลว ชือ่ วาไดฟง ธรรมอยู ทุกเมื่อ ท้งั กลางวนั และกลางคืนแล ฯ ๑๒. เรื่อง ปรญิ เญยยฺ ธรรม O การกำหนดพิจารณาธรรมเรียกบริกรรมจิตที่กำลังทำการ กำหนดพิจารณาธรรมอยางเอาใจใส เมื่อไดความแนใจในเหตุผลของ ธรรมทพี่ ิจารณาน้ันแลว จติ จะสงบรวมลงสภู วังค ดำรงอยหู นอ ยหนง่ึ แลวกถ็ อยออก ความสงบในข้ันน้เี รียก บรกิ รรมสมาธิ หรือ ขณิกสมาธิ การกำหนดพิจารณาธรรมแลวจิตสงบรวมลงสูภวังคเขาถึงฐีติธรรมดำรง อยูนานหนอยแลวถอยออกมารูเห็นอสุภะปรากฏขึ้น ความสงบในขั้นนี้ เรียกวา อปุ จารสมาธิ O การกำหนดพจิ ารณาธรรมคืออสภุ นมิ ิต ท่ปี รากฏแกจ ิตทเ่ี รยี กวา 45

อุคคหนิมิตน้นั จนเพยี งพอแลว จติ ปลอ ยวางนมิ ติ เสยี สงบรวมลงสภู วงั ค ถึงฐตี ธิ รรมดำรงอยูนาน เปนเอกัคคตามอี ารมณเดียว สงบนิ่งแนว แน มี สติรูอยวู า จติ ดำรงอยูกับที่ ไมห วน่ั ไหวไปมา ความสงบชนั้ น้เี รยี กวา อัป ปนาสมาธิ O สวน นมิ ติ อันปรากฏแกผูบำเพญ็ สมาธภิ าวนาตามลำดบั ช้นั ดงั กลาวนี้ ก็เรียกวา บริกรรมนมิ ติ อคุ คหนมิ ิต ปฏิภาคนมิ ติ ตามลำดบั กนั อน่ึง ภวงั ค คือภพหรอื ฐานของจติ นน้ั ทานก็เรียกชือ่ เปน ๓ ตามอาการ เคลอ่ื นไปของจิต คือ ภวงั คบาท ภวังคจลนะ ภวังคุปจเฉทะ ขณะแรกที่ จิตวางอารมณเขาสูฐ านเดิมของตน ท่ีเรียกอยางสามัญวา ปกตจิ ิตน้นั แล เรียกวา ภวังคบาท ขณะที่จิตเริ่มไหวตัวเพื่อขึ้นสูอารมณอีกเรียกวา ภวงั คจลนะ ขณะทจ่ี ิตเคลอ่ื นจากฐานขนึ้ สอู ารมณ เรียกวา ภวงั คปุ จ เฉ ทะ O จิตของผูบำเพ็ญภาวนาเขาสูความสงบถึงฐานเดิมของจิตแลวพัก เสวยความสงบอยใู นสมาธินนั้ นาน มีอาการครบองคของฌานจงึ เรยี ก วา ฌาน เมอ่ื ทำการพินิจพิจารณาธรรมดว ยปญ ญาจนเพียงพอแลว จิต รวมลงสูภวังค คือ ฐานเดิมของจติ จนถึงฐตี ิ ขณะตัดกระแสภวังคข าด หายไปไมพกั เสวยอยู เกิดญาณความรูต ัดสนิ ขึ้นวา ภพเบื้องหนา ของเรา ไมม อี กี ดังนเี้ รยี กวา ฐตี ิญาณ ๑๓. เร่ือง บ้ันตนโพธิสัตว O ปฐมโพธิสัตว มชั ฌิมโพธิสตั ว ปจฉมิ โพธสิ ตั ว ปฐมโพธกิ าล มัชฌมิ โพธกิ าล ปจฉมิ โพธกิ าล ปฐมเทศนา มชั ฌิมเทศนา ปจ ฉิมเทศนา O สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาของเรา เสด็จออกจากคัพโภทรของ 46

พระนางเจา สริ ิมหามายา ณ สวนลมุ พินวี นั ระหวา งนครกบิลพัสดุกับ นครเทวหะตอกัน ครน้ั ประสตู ิแลว กท็ รงพระเจริญวัยมาโดยลำดบั ครน้ั สมควรแกก ารศกึ ษาศิลปวิทยา เพ่อื ปกครองรกั ษาบา นเมอื งตามขตั ติย ประเพณีไดแลวก็ทรงศกึ ษาศลิ ปวทิ ยา เม่อื พระชนมายไุ ด ๑๖ พรรษา ก็ไดปกครองบานเมืองเสวยราชสมบัติแทนพระเจาศิริสุทโธทนมหาราช ผพู ระราชบิดานบั วา ไดเ ปนใหญเ ปน ราชาแลว พระองคทรงพระนามวา เจา ชายสทิ ธัตถะ ก็ตอ งทรงคดิ อา นการปกครองรกั ษาบานเมืองและไพร ฟาประชาราษฎรใหรมเย็นเปนสุข ทรงบงั คับบญั ชาอยางไร เขาก็ทำ ตามทุกอยาง ครั้นทรงพิจารณาหาทางบังคับบัญชาความเกิดแกเจ็บ ตายใหเ ปนไปตามใจหวงั ก็เปน ไปไมไ ด ถึงอยางนัน้ ก็มทิ ำใหท อ พระทยั ใน การคดิ อานหาทางแกเ กดิ แกเ จ็บตาย ย่ิงเราพระทยั ใหค ดิ อานพิจารณา ยิง่ ขน้ึ ความคดิ อานของพระองคใ นตอนนเี้ รียกวา บริกรรม ทรงกำหนด พิจารณาในพระทัยอยูเสมอ จนกระทั่งพระสนมทั้งหมดปรากฏใหเห็น เปนซากอสภุ ะดจุ ปาชา ผีดิบ จตนุ ิมิต ๔ ประการคอื เกิด แก เจ็บ ตาย จงึ บนั ดาลใหพ ระองคเ กดิ เบ่ือหนายในราชสมบตั ิ แลว เสดจ็ สูมหาภเิ นษ กรมณบรรพชา ตอนน้เี รยี กวา ปฐมโพธสิ ัตว เปน สตั วพเิ ศษ ผูจ ะได ตรัสรูธรรมวิเศษเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาเที่ยงแทกอนแตกาลนี้ ไมนับ นบั เอาแตกาลปจ จบุ นั ทันตาเห็นเทา นัน้ O คร้ันเม่ือพระองคเสดจ็ สูม หาภเิ นษกรมณบ รรพชา ณ ฝง แมน ้ำอ โนมานที ทรงตัดพระเมาด วยพระขรรคอธิษฐานบรรพชา อฏั ฐบริขาร มีมาเองดวยอำนาจบุญฤทธิ์อิทธิปาฏิหาริยเปนผาบังสุกุลจีวร เหตุ อัศจรรยอ ยางนี้มเี พยี งคร้งั เดียวเทา น้ัน ตอนั้นมาตองทรงแสวงหา เหลา ปฐมสาวกก็เหมือนกัน อัฏฐบริขารเกิดขึ้นดวยบุญฤทธิ์เพียงครั้งแรก 47

เทานั้น ครั้นทรงบรรพชาแลว ทรงทำทุกรกิริยาประโยคพยายาม พิจารณาอุคคหนิมิตที่ทรงรูครั้งแรก แยกออกเปนสวนๆ เปนปฏิภาค นมิ ิตจนถึงเสดจ็ ประทบั น่ัง ณ ควงแหง มหาโพธิพฤกษ ทรงชนะมารและ เสนามารเมอ่ื เวลาพระอาทติ ยอัสดงคตยงั บพุ เพนวิ าสานสุ ตญิ าณ ให เกิดในปฐมยาม ยัง จุตูปปาตญาณ ใหเกดิ ในมชั ฌมิ ยาม ทรงตาม พจิ ารณาจิตท่ยี งั ปจจัยใหส บื ตอทเี่ รยี กวา ปจจยาการ ตอนเวลากอน พระอาทิตยข ้ึน ตอนนเ้ี รยี กวา มัชฌิมโพธิสัตว O ครั้นเมื่อทรงพิจารณาตามเหตุผลเพียงพอสมควรแลว จิตของ พระองคหยั่งลงสูความสงบถึงฐีติธรรมดำรงอยูในความสงบพอสมควร แลว ตัดกระแสภวังคข าดไป เกิดญาณความรตู ัดสินขนึ้ ในขณะน้นั วา ภพ เบ้อื งหนาของเราไมม ีอีกแลว ดงั นเี้ รียกวา อาสวักขยญาณ ประหารเสยี ซึง่ กเิ ลสอาสวะทั้งหลายใหข าดหายไปจากพระขันธสนั ดาร สรรพปรีชา ญานตา งๆ อันสำเรจ็ มา แตบ ุพพวาสนาบารมี กม็ าชมุ นุมในขณะจติ อัน เดียวน้ันจงึ เรียกวาตรสั รูพระอนุตตรสัมมาสมั โพธิญาณ ระยะกาลตอนนี้ เรียกวา ปจฉมิ โพธิสตั ว O ครัน้ ตรสั รูแ ลว ทรงเสวยวมิ ุตตสิ ุข อยูในท่ี ๗ สถาน ตลอดกาล ๔๙ วันแลว แลทรงเทศนาส่ังสอนเวไนยนิกร มีพระปญจวัคคียเ ปน ตน จึง ถึงทรงตัง้ พระอคั รสาวกท้ัง ๒ และแสดงมัชฌมิ เทศนา ณ เวฬุวนั กลนั ท กนวิ าปสถาน ใกลก รุงราชคฤหมหานคร จดั เปน ปฐมโพธกิ าล O ตอแตนัน้ มา กท็ รงทรมานสง่ั สอนเวไนยนกิ รตลอดเวลา ๔๕ พระ พรรษา จัดเปน มัชฌิมโพธิกาล ตั้งแตเวลาทรงประทับไสยาสน ณ พระ แทนมรณมัญจาอาสน ณ ระหวางนางรังทั้งคู ในสาลวโนทยาน ของมลั ล กษตั ริย กรุงกสุ นิ าราราชธานี และทรงแสดงพระปจ ฉิมเทศนาแลว ปด 48

พระโอษฐ เสดจ็ ดับขนั ธปรินพิ พานระยะกาลตอนนีจ้ ัดเปน ปจฉมิ โพธิ กาล ดว ยประการฉะนี้ O (สว น ปฐมเทศนา มชั ฌิมเทศนา และปจ ฉมิ เทศนา นั้น มีเน้ือ ความเปน ประการไร ไดแ สดงแลวในสว นที่ ๑) ๑๔. เรื่อง โสฬสกจิ O กจิ ในพระธรรมวนิ ยั น้ี ทนี่ บั วาสำคัญท่ีสดุ เรียกวา โสฬสกิจ เปน กิจที่โยคาวจรกุลบุตรพึงพากเพียรพยายามทำใหสำเร็จบริบูรณดวย ความไมประมาท O โสฬสกจิ ไดแกก ิจในอริยสจั ๔ ประการ คอื ทุกข สมุทัย นโิ รธ มรรค ชัน้ โสดาบนั ก็ประชมุ ๔ ชน้ั สกิทาคามกี ป็ ระชมุ ๔ สองส่ีก็เปน ๘ ช้ันอนาคามกี ป็ ระชมุ ๔ ชน้ั อรหันตก็ประชุม ๔ สองสี่กเ็ ปน ๘ สองแปด เปน ๑๖ กำหนดสัจจะทง้ั ๔ รวมเปน องคอริยมรรคเปน ข้ัน ๆ ไป O เมอื่ เรามาเจริญอริยมรรคทงั้ ๘ อันมีอยใู นกายในจติ คอื ทกุ ข เปนสัจจะของจริงที่มีอยูก็รูวามีอยูเปนปริญเญยฺยะ ควรกำหนดรูก็ได กำหนดรู สมุทัย เปน สจั จะของจรงิ ที่มีอยูกร็ วู ามีอยู เปน ปหาตพั พะ ควร ละก็ละไดแลว นโิ รธ เปน สัจจะของจริงทีม่ อี ยูก็รวู ามีอยูเปนสจั ฉกิ าตัพ พะ ควรทำใหแ จง กไ็ ดท ำใหแจงแลว มรรค เปน สจั จะของจริงท่ีมอี ยูกร็ ูว า มีอยูเปนภาเวตัพพะ ควรเจริญใหมากก็ไดเจริญใหมากแลว เมื่อมา กำหนดพจิ ารณาอยอู ยา งน้ี ก็แกโ ลกธรรม ๘ ไดสำเรจ็ O มรรค อยูที่ กาย กับ จติ คอื ตา ๒ หู ๒ จมกู ๒ รวมเปน ๖ ล้นิ ๑ เปน ๗ กาย ๑ เปน ๘ มาพจิ ารณารเู ทาสิ่งท้ัง ๘ นี้ ไมหลงไปตาม ลาภ ยศ สรรเสริญ สขุ เสือ่ มลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข อนั มาถกู ตอง 49

ตนของตนจติ ไมห วั่นไหว โลกธรรม ๘ เปน คูปรบั กับมรรค ๘ เม่อื รูเ ทา สว นทั้งสองนี้แลว เจริญมรรคใหบ รบิ รู ณเตม็ ที่ กแ็ กโ ลกธรรม ๘ ได ก็ เปนผุ€ฐสสฺ โลกธมฺเมหิ จิตตฺ ํ ยสฺส น กมฺปติ อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตมฺ มงฺค ลมุตตฺ มํ โลกธรรมถกู ตอ งจิตผใู ดแลว จติ ของผูน้นั ไมห ว่ันไหวเม่ือไมห วัน่ ไหวก็ไมเศราโศก เปนจติ ปราศจากเครอ่ื งยอม เปน จติ เกษมจากโยคะ จัด วาเปนมงคลอนั อุดมเลิศ ฉะน้ีแล ฯ ๑๕. เรอื่ ง สำคญั ตนวาไดบ รรลอุ รหตั ตผล O กิร ดังไดสดับมา ยงั มภี กิ ษุ ๒ รปู ในพระศาสนาของพระบรม ศาสดาของเรานี้ องคห น่ึงมีพรรษาแกกวา อกี องคห นง่ึ มีพรรษาออ นกวา เปนสหธรรมิกที่มีความรักใครในกันและกัน แตจากกันไปเพื่อประกอบ ความเพียร องคออ นพรรษากวาไดส ำเรจ็ พระอรหันตผลเปนพระอรหันต กอ น องคแกพรรษาไดแตเ พยี รกำลังสมาธสิ มาบัติ และเปนผูช ำนาญใน วสี จะพิจารณาอธิษฐานใหเปนอยางไรก็ไดดังประสงค และเกิดทิฏฐิ สำคัญวารูทั่วแลว สวนองคหยอนพรรษาครั้นพิจารณาดูก็ทราบไดดวย ปญญาญาณ จึงสงั่ ใหองคแกพรรษากวาไปหาทา นองคน ัน้ ไมไ ป สง่ั สอน สามครั้งก็ไมไ ป องคห ยอ นพรรษาจงึ ไปหาเสียเอง แลวยงั กันและกนั ให ยินดี พอสมควรแลวจึงพูดกบั องคแ กกวา วา ถา ทานสำคัญวารูจรงิ ก็จง อธิษฐานใหเปน สระในสระใหม ดี อกบวั หลวง ๑ ดอก ในดอกบวั หลวงใหมี นางฟอ นสวยงาม ๗ นาง องคแ กพรรษากเ็ นรมติ ไดต ามนั้น ครั้นเนรมติ แลว องคอ อ นพรรษากวาจงึ ส่ังใหเพงดู ครน้ั เพง ดนู างฟอนอยู กามราคะ กเิ ลสอันส่งั สมมาแลว หลายรอ ยอตั ตภาพก็กำเรบิ จึงทราบไดวาตนยังไม ไดส ำเรจ็ เปนพระอรหนั ต ครัน้ แลวองคอ อนพรรษาจงึ เตอื นใหรตู ัว และ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook