ประวตั ิศาสตร์อยธุ ยา ความสัมพันธ์ต่างประเทศ สมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์ ตอนต้ น
ความสัมพนั ธ์กบั เพอ่ื นบ้าน • พม่า ความสัมพนั ธ์ระหว่างไทยกบั พม่า อยู่ในลักษณะคู่สงคราม -เกดิ จากการรุกรานของพม่าเป็ นหลัก ในมัยอยุธยา การทาสงครามมี 24ครัง้
พม่า / ภาพวาดท่ีต้งั พม่าในสมยั อยธุ ยา
พม่า –ไทยสมยั อยธุ ยา • ในสมยั อธธุ ยา ไทยรบกบั พมา่ ถงึ 24 ครัง้ ได้แก่ • 1. พมา่ มาตเี มอื งเชียงกราน พ.ศ. 2081 13. สมเดจ็ พระนเรศวรทรงตกี รุงหงสาวดี ครัง้ ท่ี 1 พ.ศ.2138 • 2.สงครามคราวเสียพระสรุ ิโยทยั พ.ศ. 2091 14. สมเดจ็ พระนเรศวรทรงตีกรุงหงสาวดี ครัง้ ที่ 2 พ.ศ.2142 • 3. สงครามช้างเผือก พ.ศ.2106 15. สงครามครัง้ สดุ ท้ายสมยั พระนเศวรครัง้ สดุ ท้าย พ.ศ. 2148 • 4.สงครามคราวเสยี กรุงศรีอยธุ ยา ครัง้ ท่ี 1 พ.ศ. 2112 16.พมา่ ตีเมอื งทวาย พ.ศ. 2156 • 5. สงครามประกาศอิสรภาพของไทย พ.ศ. 2127 17. พมา่ ตีเมอื งเชียงใหม่ พ.ศ. 2157 • 6. ศกึ รบพระยาพระสิมทีเ่ มืองสพุ รรณบรุ ี พ.ศ.2128 18. พมา่ ตเี มอื งทวาย พ.ศ. 2165 • 7.ศกึ รบพระเชียงใหมท่ ่ีบ้านสระเกศ พ.ศ. 2128 19.พมา่ ตีเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. 2205 • 8.สงครามครัง้ พระเจ้ากรุงหงสาวดีล้อมกรุง พ.ศ.2129 20.พมา่ ตเี มอื งไทรโยค พ.ศ. 2206 • 9. พระมหาอปุ ราชยกทพั มาครัง้ แรก พ.ศ. 2133 21.ไทย ตเี มืองพมา่ พ.ศ. 2207 • 10.สงครามยทุ ธหตั ถีพ.ศ. 2135 22.พมา่ ล้อมกรุงศรีอยธุ ยา พ.ศ. 2302-2303 • 11. ไทยตีทวายและตะนาวศรีพ.ศ. 2135 23.พมา่ ตีหวั เมืองปักษ์ใต้ พ.ศ. 2307 • 12.ไทยตที วายและตะนาวศรี พ.ศ. 2137 24.สงครามครัง้ เสียกรุงศรีอยธุ ยา ครัง้ ท่ี 2 พ.ศ. 2310
ศึกเชียงกราน พ.ศ. 2081 • สาเหตขุ องสงคราม คือ พระเจ้าตะเบง็ ชเวตีก้ ษัตริย์ของพมา่ ขยายอานาจมายงั เมืองมอญ ใช้เมอื งหงสาวดี ซง่ึ เป็นศนู ย์กลางเมืองมอญ มาเป็นราชธานี ทาให้มีการปราบมอญตามหวั เมืองเข้ายดึ เมืองเชียงกรานซง่ึ เป็ นเขตของไทย • สมเดจ็ พระไชยราชาธิราชทรงสง่ ทหารขบั ไลท่ พั พมา่ • *** ไทยมีทหารอาสาโปรตเุ กสเข้าร่วมกองทพั ทาให้ทหารโปรตเุ กสได้รับความดีวามชอบเป็นอยา่ งมาก • ***ผลคือไทยชนะพมา่ ในครัง้ นี ้ • **ทหารรุ่นแรกมานวนราว 300 คน เป็นครัง้ แรกท่ีไทยสร้างปื นใหญ่ขนึ ้ ใช้เองโดยโปรตเุ กสเข้ามีบทบาท สาคญั
สงครามไทย-พม่า (คราวเสียพระศรีสุริโยทยั ) พ.ศ. 2091 • สาเหตุ คอื พระเจ้าตะเบง็ ชเวตี้ ของพม่าต้องการขยายอานาจลงมายงั ลุ่มแม่นา้ เจ้าพระยา • ในอยุธยาเป็ นช่วงเปล่ียนรัชกาล เน่ืองจากสิน้ รัชกาลสมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช มีการ แย่งชิ ิงอานาจทางการเมืองระหว่างท้าวศรีสุดาจนั ทร์ (ซ่งึ สนับสนุนขุนวรวงศาธิราช) กับพระเฑยี รราชา (สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรด)ิ การเมืองภายในอยุธยาเองมีการ เปล่ียนแปลงทาให้นาไปสู่สงคราม
• เหตกุ ารณ์สงครามคือพมา่ นาโดยพระเจ้าตะเบงชะเวตีพ้ ร้อมกบั บเุ รงนอง และเจ้าเมืองแปร เดนิ ทพั มาทาง กาญจนบรุ ี เข้าสพึ รรณบรุ ี เข้ามายงั อยธุ ยา • ฝ่ ายไทยนาโดยสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิทรงนาทพั พร้อมด้วยพระราเมศวรและพระมหนิ ทราธิราช พระราช โอรส • ***สมเดพ็ ระศรีสรุ ิโยทยั ทรงปลอมเป็นชายตามเสดแ็ ละได้ชนช้างกบั เจ้าเมืองแปร ทาให้พระนาง สนิ ้ พระชนม์
• ผลคือไทยถอยทพั กลบั พมา่ ล้อมอยธุ ยาไว้เป็นครัง้ แรก แตท่ ราบวา่ ทพั ของพระมหาธรรมราชาจากทาง เหนือกาลงั ลงมาชว่ ย จงึ มกี ารเจรจาสงบศกึ โยให้พมา่ ปลอ่ พระราชโอรสทงั้ สองพระองค์ แลกกบั ช้างคือ ช้างพลยศรีมงคลกบั ช้างพลายมงคลทวีปเป็นกรแลกเปลี่ยน
ผลของสงครามคือ • ****พมา่ นากองทพั มาล้อมกรุงศรีอยธุ ยาเป็นครัง้ แรก • ***อยธุ ยาเตรียมความมน่ั คงหลงั สงครามคือ ก่อกาแพงเมืองด้วยอฐิ รอบเมือง เสริมกาปพงเมือง ซงึ่ เดิมเป็น เชิงเทนดนิ ปักไม้เป็แนวเป็นเสาระเนียด • ***จดั สารวจกาลงั ไพร่พลใหม่ • กาหนดหวั เมอื งขนึ ้ ใหม่ เพื่อระดมพลคอื ยกตลาดขวญั ขนึ ้ เป็นเมืองนนทบรุ ี ยกบ้านทเ่ี ป็เมืองสาครบรุ ี • และรวมดนิ แดนบงสว่ ของเมืองราชบรุ ีกบั เมืองสพุ รรณบรุ ีขเึ ้ป็นเมืองครชัยศรี • เตรียมเรือเพ่ือทาสงคราม(ปรากฎเป็นเรือท่มี ีศีรษะสตั ว์ตา่ ง ๆ) มีการคล้องช้างป่ าเพ่ือใช้ใสงครมมากขึ ้ผล คือพบช้างเผอื กถงึ 6 ช้างในเวล 3 ปี รวมจากเดิม 1 ช้าง เป็น7 ช้าง
สงครามชา้ งเผอื ก
พม่า-ไทย สมยั ธนบุรี • 1 รบพม่าท่บี างกุ้ง 2 พม่าตเี มืองสวรรคโลก • 3 ไทยตเี มืองเชียงใหม่ครัง้ แรก • 4 พม่าตีเมืองพชิ ัยครัง้ ท่ี 1 5 พม่าตเี มืองพชิ ัยครัง้ ท่ี 2 • 6 ไทยตเี มืองเชียงใหม่ ครัง้ ท่ี 2 • 7 รบพม่าท่บี างแก้วเมืองราชบุรี • 8 ตีหวั เมอื งเหนือ • 9 พม่าตเี มอื งเชียงใหม่
ไทย-พม่าในสมยั รัตนโกสินทร์ • ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ ไทยทาสงครามกบั พมา่ รวมทงั้ สนิ ้ 10 ครัง้ ในรัชกาลที่ 1 มีถงึ 7 ครัง้ • กพมา่ เริ่มจะพ้นจากความวนุ่ วายภายใน โดยพระเจ้าปะดงุ ปราบดาภเิ ษกขนึ ้ ครองราชย์ ใน พ.ศ. 2324 มีกาลงั เข้มแขง็ สามารถปราบปรามหวั เมืองตา่ งๆ ในพมา่ ได้ราบคาบ เหน็ วา่ ไทยกอ่ ตงั้ อาณาจกั รใหม่ขนึ ้ จงึ ต้องการแผอ่ านาจมาปราบปรามไม่ให้เตบิ ใหญ่ได้อีก
• สงครามไทยกับพม่าในสมัยรัชกาลท่ี 1 ท่ีนับว่าสาคัญมี 2 ครัง้ • คือ1. สงครามเก้าทพั 2.สงครามทา่ ดินแดง
สงครามเก้าทพั (พ.ศ. 2328) • สงครามครัง้ นี้ มีขนึ้ หลังจากพระเจ้าปะดุง ปราบดาภเิ ษกขนึ้ ครองราชย์ได้ 4 ปี และ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ปราบดาภเิ ษกขนึ้ • ครองราชย์ได้ 3 ปี • เหตุผล พระเจ้าปะดุงทรงต้องการแผ่อานาจครอบคลุมดนิ แดนสุวรรณภมู ิ และทาลายอาณาจักร ไทยไม่ให้เตบิ โตเป็ นอาณาจักรใหญ่อย่างกรุงศรีอยุธยาได้อีก
ทพั พม่าท้งั 9 ทพั มีดงั น้ี • ทพั ที่ 1 แบง่ เป็นทพั บกและทพั เรือ ทพั บกมีหน้าท่ตี ีหวั เมืองปักษ์ใต้ ตงั้ แตเ่ มืองชมุ พรถงึ สงขลา เป็นการตดั ความ ชว่ ยเหลือจากทางใต้ สว่ นทพั เรือมีหน้าทต่ี ีหวั เมอื งชายทะเลฝั่งตะวนั ตก ตงั้ แตเ่ มอื งตะกวั่ ป่ าลงไปจนถงึ เมอื ง ถลาง และยงั มีหน้าทห่ี าเสบียงอาหารให้แก่กองทพั ด้วย • ทพั ที่ 2 ให้รวบรวมพลท่ีหวายและให้เดินทพั เข้าทางดา่ นบ้องตี ้(ราชบรุ ี) ให้ตเี มอื งราชบรุ ี เพชรบรุ ี ไปบรรจบกบั ทพั ท่ี 1 ทชี่ มุ พร • ทพั ท่ี 3 เข้ามาทางเมืองเชียงแสน ตีเมืองลาปาง สวรรคโลก สโุ ขทยั นครสวรรค์ ลงมาบรรจบกนั ทพั หลวงท่ี กรุงเทพฯ • ทพั ท่ี 4, 5, 6, 7, 8 ชมุ นมุ ทพั ทีเ่ มอื งเมาะตะมะก่อน ตอ่ จากนนั้ จงึ เดินทพั ตามลาดบั กบั เจ้าเมืองไทยทางด้านพระ เจดีย์สามองค์ ลงมาตีกรุงเทพฯ • ทพั ท่ี 9 มหี น้าทีต่ วั เมอื งเหนือริมฝ่ังแมน่ า้ ปิ ง ตงั้ แตเ่ มอื งตาก กาแพงเพชร ลงมาบรรจบกบั ทพั หลวงท่กี รุงเทพฯ
กลยทุ ธ์ในการรบของไทย • สงครามคราวนีพ้ ม่ามีกาลังพลมากกว่าไทยมาก ยกมาทกุ ทศิ ทาง แต่จุดประสงค์กค็ งจะต้องเข้าตี กรุงเทพมหานครในท่ีสุด หากรอรับศกึ ในกรุงจะรักษากรุงไว้ไม่ได้เพราะกาลังน้อยกว่า • จงึ เปล่ียนยุทธวีธีใหม่ ไม่ตัง้ รับในกรุงเหมือนท่ีเคยทาในสมัยอยุธยา แต่ให้จัดทพั ออกไปรับมือ ข้าศกึ ไม่ให้มีโอกาสเข้าประชิดกรุง แต่จะแบ่งกาลังของไทยออกไปรับศกึ ทุกจุดไม่ได้ จะต้อง โจมตีเฉพาะจุดท่สี าคญั ก่อน เม่ือชนะแล้วจงึ ค่อยนากาลังไปโจมตีจุดอ่ืนๆ ต่อไป จนกว่าจะ ทาลายทัพพม่ าได้ หมดสนิ ้
ไทยจดั ทพั เป็น 4 ทพั ดงั น้ี • ทัพท่ี 1 (กองทัพวังหน้า) รับผิดชอบทศิ ตะวันตก กรมพระราชวังบวรฯ เป็ นแม่ทัพ ยกไป โจมตีพม่าท่จี ะยกเข้ามาทางด่านพระเจดยี ์สามองค์ (จังหวัดกาญจนบุรี) ทพั วังหน้านีเ้ ป็ นทัพใหญ่ ท่ีสุดของไทยเพราะคาดว่าพระเจ้าปะดงุ จะยกทพั หลวงหนุนเน่ืองเข้ามาด้านนี้ • ทพั ท่ี 2 (กองทัพวังหลัง) รับผดิ ชอบทศิ เหนือ กรมพระราชวังบวรสถานพมิ ุข (วังหลัง) ขณะ ยงั ดารงพระยศเป็ นสมเดจ็ พระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ (พระยาสุริยอ ภัย) เป็ นแม่ทัพยกไปโจมตีทัพพม่าซ่ีงจะมาจากทางเหนือ ท่ีเมอื งนครสวรรค์ สกัดไม่ให้ยกมาถงึ กรุงเทพฯ ได้ • ทพั ท่ี 3 รับผิดชอบทศิ ใต้ เจ้าพระยาธรรมา (บุญรอด) เป็ นแม่ทพั ร่วมกับเจ้าพระยายมราช มี หน้าท่ชี ่วยกันโจมตที ัพพม่าท่จี ะยกมาทางใต้ และทางด่านบ้องตี้ (ราชบุรี) • ทัพท่ี 4 (ทพั หลวง) พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก รัชกาลท่ี 1 ทรงเป็ นจอมทัพ ตงั้ ม่ันอยู่ ณ กรุงเทพมหานคร ทาหน้าท่ีเป็ นกองหนุน ศึกหนักด้านใดจะยกไปช่วยด้านนัน้
สงครามท่าเดนิ แดน (พ.ศ. 2329) • การพา่ ยแพ้สงคราม 9 ทพั ทาให้พระเจ้าปะดงุ (โบดอพญา) รู้สกึ อปั ยศอดสมู าก เพราะพระองค์ไมเ่ คยแพ้ สงครามครัง้ ใดมาก่อน จงึ ยกทพั มาตีเมืองไทยใหม่ในปี ถดั ไป • คราวนีพ้ ระเจ้าปะดงุ แก้ไขข้อผิดพลาดทางยทุ ธวธิ ี โดยยกพลเป็นทพั ใหญ่มาทางดา่ นพระเจดีย์สามองค์ทาง เดียว สร้างย้งุ ฉางสะสมเสบยี งอาหาร ตงั้ ค่ายถาวรเป็นระยะๆ จากทา่ ดินแดงถึงสามสบ ขดุ คู ปักขวากแนน่ หนา ชกั ปี กกาคา่ ยเข้าถึงกนั หมายวา่ เมอื่ พกั ผ่อนบารุงกาลงั ไพร่พลจนกล้าแขง็ แล้ว จงึ จะตรงเข้าตี กรุงเทพมหานครจดุ เดียวพร้อมกนั ทงั้ หมด คาดวา่ ไพร่พลที่สมบรู ณ์เต้มทแ่ี ละมีจานวนมากกวา่ จะสามารถตีเอา กรุงเทพมหานครได้ไมย่ าก • สาหรับฝ่ ายไทยนนั้ ชยั ชนะในสงคราม 9 ทพั ทาให้รู้วา่ การเข้าโจมตพี มา่ เสยี ก่อนนนั้ ดีกว่าตงั้ รับ จงึ ยกทพั ตรง ไมปงยคงัลค(า่ วยงั พหมน้าา่ )ทนั เปท็น่ไี มแป่มลท่ อ่พั ยใตหา้พมมดา่้วตยงั้ ทตพัวั ไหดล้มวนั่ งคขงอโงดพยรแะบบง่ากทาสลมงั เเดปจ็็นพร2ะพททุพั ธยทอพั ดหฟน้ า้าจมฬุ ีการโมลพกระตรคี าา่ ชยวทงั บงั้ หวมรสดถขาอนง พมา่ เพียง 3 วนั ก็แตกหมดทกุ คา่ ย ทหารไทยซง่ึ มขี วญั กาลงั ใจดียิ่งก็รุกไลต่ ิดตามจบั เชลย ยานพาหนะ เสบยี ง อาหาร และศสั ตราวธุ ได้เป็นจานวนมาก • ชยั ชนะคราวนี ้ เป็นชยั ชนะที่เดด็ ขาด สร้างความหวาดหวน่ั แก่ทหารพมา่ อย่างย่งิ
ภาพกองทพั พม่าปิ ดลอ้ มอยธุ ยา
ภาพวาดแม่ทพั พม่า
อิทธิพลท่ีติดต่อกบั พม่า คือ การใชจ้ ุลศกั ราช
มอญ
แผนท่ีรัฐในอดีต
รัฐมอญในอดีต
วฒั นธรรมมอญในสงั คมไทย
จิตรกรรมฝสผนงั สะทอ้ นวถิ ีชีวติ สงั คมอยธุ ยา
คมั ภรี ์มอญเกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนา
ศิลปกรรมมอญท่ีประเทศเมียนมาร์ในปัจจุบนั
ลา้ นนา
ลา้ นนา • ความสมั พนั ธ์ระหว่างอยุธยากบั ล้านนา - ลักษณะสงคราม • สาเหตุ คืออยุธยาขยายอานาจไปยังล้านนา • ***สงครามระหว่างอยุธยายดื้ เยอื้ สมัยพระบาทสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (อยุธยา)กับพระเจ้าตโิ ลกราช(ล้านนา) เน่ืองจากล้านนาเข้มแข็ง • ทาให้พระบาทสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเสดจ็ ประทบั ท่พี ษิ ณุโลกเพราะ ต้องการควบคุมหวั เมืองเหนือฝ่ ายเหนือ
การทาสงครามระหวา่ งอยธุ ยากบั ลา้ นนา • จุดเร่ิมต้น ครัง้ แรกเม่ือพ.ศ. 1929 เม่อื พระเจ้ากือนาสวรรคต เกิด จราจลย่งราชสมบตั ิ • (ระหว่างเจ้าแสนเมืองมา (พระโอรสของพระเจ้ากอื นา) กบั เจ้ามหาพรหม พระอนุชาของพระเจ้ากอื นา) • เจ้ามหาพรหมพ่ายแพ้หนีมาอยุธยาขอความช่วยเหลือ อยุธยาตรงกับ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 1 ทรงเหน็ ว่าเป็ นโอกาสท่ดี ีจงึ ยกทพั ไปตี เชียงใหม่ ตรงกบั พ.ศ. 1929
• สมยั ต่อมาสมัยสมเดจ็ พระรามเมศวรทรงยกทพั ไปตเี ชียงใหม่ได้ในพ.ศ. 1933 พระเจ้าแสนแสนเมืองมาเจ้าเมืองเชียงใหม่เสดจ็ หนีไป อยุธยา แต่งตงั้ ให้นักสร้าง (ราชบุตรเจ้าแสนมาเมือง)ปกครองเชียงใหม่ต่อไป • ***แต่ตดั กาลังเชียงใหม่โดยกวาดต้อนชาวเชียงใหม่มายังอยุธยาจานวนมาก
• ในสมัยสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจ้าสามพระยาพ.ศ.1967-1991) เกิดสงครามขนึ้ อีก สาเหตุเกดิ จาก ท้าวลกราช บุตรองค์ท่ี 6 ของพระเจ้าสามฝ่ังแถน เจ้าเมอื งเชียงใหม่ ชงิ ราชบังลังก์จากพระราชธิดา แล้วขึน้ ครองราชย์พระนามว่าพระ มหาศรีสุธรรมตโิ ลกราช(พระเจ้าตโิ ลกราช) แต่เจ้าเมืองฝางและเจ้าเมืองเทงิ ไม่ยอมรับพระราชอานาจ กลับขอกองกากลังจาก อยุธยา อยุธยาส่งกองทพั ไปตเี ชยี งใหม่ (พระเจ้าตโิ ลกราชปราเมืองเทงิ ได้ก่อน)
• กองทพั อยุธยาไม่สามารถเอาชนะล้านนาในสมยั พระเจ้าตโิ ลกราชได้ เชียงใหม่มคี วามม่ันคงทาให้ขยายอานาจลงใต้มายัง หวั เมืองเหนือของอยุธยา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175