Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.4บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน20ปี

1.4บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน20ปี

Published by tooncreed, 2018-06-18 05:48:00

Description: -

Search

Read the Text Version

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางท่ี 4.3- 33แผนปฏิบัติการสาหรับโครงการกอ่ สร้างใหม่ ของสานักงานชลประล้าดบั ที่ พนื้ ทด่ี ้าเนินการ พน้ื ท่ี ศกึ ษา งบประมาณ พนื้ ท ศกั ยภาพ (ลา้ นบาท) ออกแบบ กอ่ สร้าง รวม ดา้ เนินก 1 โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าปัตตานี (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (ไร่) ส่วนที่1 (บ้านบางเขา) ระยะท่ี 1 (ไร่) 8.39 12.59 419.63 440.62 202,70 ส่วนท่ี2 (บ้านกแู บซีรา) ระยะท่ี 1 253,385 0.24 0.36 12.00 12.60 - ส่วนที่3 (ตา้ บลดอนรัก) ระยะที่ 1 0.20 0.30 10.00 10.50 - สว่ นท่ี4 (บา้ นกแู บซีรา) ระยะท่ี 2 - 0.18 0.27 9.00 9.45 - ส่วนท่ี5 (ต้าบลดอนรัก) ระยะท่ี 2 - 0.19 0.28 9.27 9.73 - สว่ นที่6 (บ้านบูดน) ระยะที่ 1 - 0.14 0.21 7.00 7.35 - สว่ นที่7 (บ้านกอื ยา) ระยะท่ี 1 - 0.17 0.25 8.45 8.87 - ส่วนท่ี8 (ต้าบลบางเขา) ระยะที่2 - 0.16 0.25 8.24 8.65 - สว่ นท่ี9 (บ้านหนองครก) - 0.14 0.20 6.80 7.14 - ส่วนท่ี10 (บ้านวงั กวา้ ง) - 0.17 0.26 8.65 9.08 - ส่วนท่ี11 (หมทู่ ี่ 3 ต้าบลบ่อทอง) ระยะท่ี 1 - 0.16 0.25 8.24 8.65 - ส่วนท่ี12 (หมทู่ ่ี 5 ต้าบลบอ่ ทอง) ระยะที่ 2 - 0.20 0.29 9.79 10.27 - ส่วนท่ี13 (บา้ นฮูแตบองอ) พน้ื ท่ี 2 - 0.15 0.22 7.31 7.68 - ส่วนที่14 (บ้านบูดน) ระยะที่ 2 - 0.15 0.23 7.53 7.91 - สว่ นที่15 (ตา้ บลดอนรัก) ระยะท่ี 3 - 0.16 0.24 7.96 8.35 - สว่ นที่16 (บา้ นเขาวงั ) พนื้ ที่ 3 - 0.09 0.14 4.56 4.79 - สว่ นที่17 (บา้ นดอน) - 0.13 0.19 6.37 6.68 - สว่ นท่ี18 (บา้ นมว่ งเงนิ ) - 0.12 0.18 6.15 6.46 - ส่วนท่ี19 (บา้ นมะหดุ ) ระยะท่ี 1 - 0.14 0.20 6.79 7.13 - ส่วนท่ี20 (ปะกาฮะรัง) ระยะที่ 1 - 0.17 0.26 8.59 9.02 - ส่วนที่21 (บา้ นมะหุด) ระยะท่ี 2 - 0.15 0.23 7.74 8.13 - สว่ นท่ี22 (บา้ นปานัน) ระยะที่ 1 - 0.13 0.19 6.45 6.77 - สว่ นที่23 (ปะกาฮะรัง) ระยะที่ 2 - 0.16 0.24 8.09 8.49 - สว่ นที่24 (บ้านไผ่มนั ) - 0.18 0.27 8.85 9.29 - สว่ นที่25 (บ้านปะโด) ระยะท่ี 1 - 0.19 0.28 9.29 9.75 - สว่ นที่26 (ปะกาฮะรัง) ระยะท่ี 3 - 0.21 0.31 10.35 10.87 - สว่ นท่ี27 (บา้ นสิเหรง) - 0.16 0.25 8.22 8.63 - ส่วนที่28 บ้านทงุ่ โพธ-ิ์ ท่ากโู บ - 0.15 0.23 7.54 7.92 - ส่วนที่29 บา้ นแนบุ - 0.13 0.19 6.37 6.68 - สว่ นที่30 บา้ นบดุ น - 0.21 0.31 10.34 10.86 - - 0.80 1.19 39.78 41.77 - - -งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปที่ดิน - 11

รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหาระทานที่ 17ท่ี พน้ื ทจ่ี ัดระบบน้า พนื้ ทจ่ี ัด เร่งดว่ น ระยะสนั้การ เพอื่ เกษตรกรรม รูปทด่ี นิ) (ไร่) 2,560 2,561 2,562 2,563 2,56408 20,270 (ไร่) 12,150 (ไร่) (ลา้ นบาท) (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ลา้ นบาท) (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ล้านบาท) 1,000 850 - 2,550 31.00 7,160 73.75 8,800 112.19 5,590 75.29 8,320 127.41 700 - 900 - 1,000 12.00 - - - - - - - - 680 - 820 - 850 10.00 - - - - - - - - 800 - 660 - 700 9.00 - - - - - - - - 840 - 800 - - - 900 9.27 - - - - - - 950 - 710 - - - 680 7.00 - - - - - - 710 - 750 - - - 820 8.45 - - - - - - 430 - 600 - - - 800 8.24 - - - - - - 580 - 640 - - - 660 6.80 - - - - - - 810 - 730 - - - 840 8.65 - - - - - - 590 - 740 - - - 800 8.24 - - - - - - 810 - 850 - - - 950 9.79 - - - - - - 920 - 730 - - - 710 7.31 - - - - - - 670 - - - - - - - 710 7.53 - - - - - 400 - 650 - - - - 750 7.96 - - - - 2,500 - - - - 430 4.56 - - - - - - - - 600 6.37 - - - - - - - - 580 6.15 - - - - - - - - 640 6.79 - - - - - - - - 810 8.59 - - - - - - - - 730 7.74 - - - - - - - - - - 590 6.45 - - - - - - - - 740 8.09 - - - - - - - - 810 8.85 - - - - - - - - 850 9.29 - - - - - - - - - - 920 10.35 - - - - - - - - 730 8.22 - - - - - - - - 670 7.54 - - - - 400 6.37 - - - - - - - - 650 10.34 - - - - - - - - 2,500 39.78 - - - -16 - บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 4.3-33 แผนปฏบิ ัติการสาหรบั โครงการก่อสรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประลา้ ดบั ที่ พน้ื ทดี่ า้ เนินการ พน้ื ท่ี ศกึ ษา งบประมาณ พนื้ ท ศกั ยภาพ (ล้านบาท) ออกแบบ กอ่ สร้าง รวม ด้าเนินก สว่ นที่31 บา้ นกาแลสะนอ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท) (ไร่) ส่วนที่32 ต้าบลตะโล๊ะแมะนา (ระยะที่ 1) (ไร่) 0.20 0.30 9.83 10.33 - ส่วนท่ี33 ต้าบลตะโล๊ะแมะนา (ระยะที่ 2) - 0.33 0.49 16.39 17.21 - สว่ นท่ี34 บา้ นยาบีใต้ - 0.33 0.49 16.39 17.21 - สว่ นท่ี35 ต้าบลตยุ ง ตา้ บลเกาะเปาะ ตา้ บลปุโละปโุ ย ระยะท่ี 1 - 0.17 0.25 8.44 8.86 - ส่วนท่ี36 ตา้ บลตยุ ง ต้าบลเกาะเปาะ ต้าบลปุโละปโุ ย ระยะที่ 2 - 0.68 1.01 33.77 35.45 - ส่วนที่37 ต.บางเขา - 0.68 1.01 33.77 35.45 - 2 โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าโก-ลก - 0.51 0.76 25.32 26.59 - สว่ นท่ี1 (บา้ นโคกกาเปาะ) ระยะท่ี 1 - 0.89 1.34 44.56 46.79 23,79 สว่ นที่2 (บา้ นโคกกาเปาะ) ระยะที่ 2 47,597 0.17 0.26 8.70 9.14 - ส่วนท่ี3 (บ้านโคกกาเปาะ) ระยะที่ 3 - 0.22 0.33 10.93 11.47 - สว่ นท่ี4 (บา้ นตะเหลยี ง) - 0.29 0.44 14.63 15.36 - - 0.21 0.31 10.30 10.82 - รวม - 9.28 13.93 464.19 487.40 226,50 300,982งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ดี ิน - 11

รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาระทานท่ี 17 (ตอ่ )ที่ พน้ื ทจี่ ัดระบบน้า พนื้ ทจ่ี ัด เร่งดว่ น ระยะสัน้การ เพอื่ เกษตรกรรม รูปทด่ี นิ) (ไร่) 2,560 2,561 2,562 2,563 2,564 (ไร่) - 600 (ไร่) (ลา้ นบาท) (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ล้านบาท) - 1,000 - 1,000 - - - - - - 600 9.83 - - - 500 - 2,000 - - - - - - 1,000 16.39 - - - 2,000 - 1,500 - - - - - - 1,000 16.39 - -99 4,000 - 700 - - - - - - - - - 500 8.44 1,000 - 1,300 - - - - - - - - - 2,000 33.77 1,000 -07 24,270 12,150 - - - - - - - - 2,000 33.77 1,500 25.32 700 8.70 1,000 10.30 - - 1,000 10.93 1,300 14.63 700 8.70 - - - - - - - - - - - - - - 1,000 10.93 - - - - - - - - - - 1,300 14.63 - - 1,000 10.30 - - - - - - 3,250 39.70 8,160 84.05 8,800 112.19 6,590 86.22 9,620 142.0417 - บรษิ ทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางท่ี 4.3-34 แผนปฏิบัติการสาหรบั ปรบั ปรุงโครงการเดมิ ของสานักงานชลประ พนื้ ท่ี งบประมาณ พนื้ ท่ีล้าดบั ท่ี พนื้ ทด่ี ้าเนินการ ศกึ ษา ออกแบบ กอ่ สร้าง รวม ดา้ เนินการ (ไร่) (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ไร่)1 โครงการสง่ น้าและบ้ารุงรักษาลุ่มน้าปัตตานี 134,613 0.26 0.39 12.94 13.58 107,690 โครงการสง่ น้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าปตั ตานี (บ้านน้าใส) ระยะที่ 1 โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าปัตตานี (บ้านกวู งิ ) ระยะท่ี 1 - 0.06 0.09 2.97 3.11 - โครงการส่งน้าและบา้ รุงรักษาลุ่มน้าปตั ตานี (บา้ นตรัง) โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาลุ่มน้าปัตตานี (บ้านชุมบก) - 0.09 0.13 4.28 4.50 - โครงการสง่ น้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าปัตตานี (บ้านทา่ ดา่ น) โครงการสง่ น้าและบ้ารุงรักษาล่มุ น้าปัตตานี (ต.ลิปะสะโง) - 0.08 0.12 3.96 4.15 -2 โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าโก-ลก - 0.03 0.05 1.73 1.82 - โครงการสง่ น้าและบ้ารุงรักษาลมุ่ น้าโก-ลก สว่ นที่ 1 โครงการสง่ น้าและบา้ รุงรักษาลุ่มน้าโก-ลก สว่ นที่ 2 12,322 0.49 0.73 24.48 25.71 6,161 โครงการสง่ น้าและบา้ รุงรักษาลุ่มน้าโก-ลก ส่วนท่ี 3 - 0.12 0.18 5.94 6.24 - โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาลุ่มน้าโก-ลก สว่ นท่ี 4 - 0.12 0.18 6.12 6.43 - รวม - 0.12 0.18 6.12 6.43 - - 0.13 0.19 6.30 6.62 - 146,935 0.75 1.12 37.42 39.29 113,851งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ท่ีดนิ - 11

รายงานสรปุ สาหรับผบู้ รหิ าระทานที่ 17พน้ื ทจ่ี ัดระบบ พน้ื ทจ่ี ัด เร่งดว่ น ระยะส้นั น้าเพอ่ื รูปทด่ี นิ 2560 2561 (ไร่) (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ล้านบาท) 2562 2563 2564 2,000 (ไร่) - - 2,875 23.69 (ไร่) (ลา้ นบาท) 360 875 - - 360 2.97 (ไร่) (ล้านบาท) (ไร่) (ลา้ นบาท) -- 520 - - - 520 4.28 -- 480 - - - 480 3.96 --- - -- 430 - - - 430 3.54 -- 210 - - - 210 1.73 --- - -- - - -- 2,800 875 875 7.21 --- - -- 700 - -- - - 700 6.30 700 - -- - - --- - -- 700 - -- - - -- 700 - -- - - --- - -- 4,800 - -- - - 700 6.30 875 - - 2,875 23.69 --- - 700 6.30 --- - 700 5.94 1,400 12.24 700 5.94 - - - - 700 6.12 - - 700 6.12 --- - 700 5.94 1,400 12.2418 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์4.4 แผนพฒั นาโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบ4.4.1 ความหมายและความเปน็ มา โครงการชลประทานสมบูรณ์แบบ คือ โครงการชลประทานที่ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วนดงั กลา่ วมาแล้วในบทท่ี 2 หวั ขอ้ 2.1.1 คือ มีส่วนเก็บกักน้า (อ่างเก็บน้า) ส่วนทดน้าและระบบส่งน้า (เขื่อนทดน้า คลองส่งน้าสายใหญ่ คลองส่งน้าสายซอย และคลองส่งน้าแยกซอย) และส่วนระบบชลประทานในไร่นา(การจดั ระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรมและการจดั รปู ทดี่ ิน) ปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเป็นแบบผู้บริโภคเกือบจะเต็มตัวตามประเทศตะวันตก การพัฒนาโครงการชลประทานสมบรู ณ์แบบจงึ น่าจะเปน็ แนวทางที่กรมชลประทานควรดาเนินการในอนาคต เพ่ือสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรให้เพียงพอและมีความเป็นอยู่ที่เหมาะสม การดาเนินการพัฒนาโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบต้องเร่ิมจากการศึกษาความเหมาะสมเบ้ืองต้น การศึกษาความเหมาะสมการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม (ถา้ มี) การสารวจและออกแบบรายละเอียด ซ่ึงใช้เวลาประมาณ 2-4 ปี เพราะมีกระบวนการมีสว่ นร่วมของเกษตรกรซ่ึงเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการศึกษาความเหมาะสม ดังนั้น หากกรมชลประทานเร่ิมต้นศึกษาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 ช่วงเวลาที่เหมาะสมสาหรับเริ่มก่อสร้างก็จะอยู่ในปีงบประมาณ 2565เพอื่ สอดคลอ้ งกับแผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปี ของกรมชลประทาน พ.ศ.2565-2567 ในช่วงต่อไป ท้ังนี้งบประมาณในการพัฒนาโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบควรเป็นงบประมาณปกติของกรมชลประทานโดยไม่ผ่านกองทุนจดั รูปท่ีดนิ เพือ่ ทจี่ ะสามารถดาเนนิ การได้รวดเร็วตอบสนองเปูาหมายความเป็นองค์กรอัจฉริยะที่มุ่งสร้างความมัน่ คงด้านนา้ เพอ่ื เพมิ่ คุณค่าการบรกิ ารในปี พ.ศ.2579 ของกรมชลประทาน4.4.2 การศกึ ษาจดั ทาแผนแม่บทโครงการชลประทานสมบรู ณ์แบบ ก่อนที่จะดาเนินการศึกษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบ โครงการชลประทานสมบูรณ์แบบดังกล่าวข้างต้น ควรศึกษาจัดทาแผนแม่บทเสียก่อน เพ่ือท่ีจะได้ประเมินศักยภาพที่แท้จริงว่า พ้ืนท่ีศักยภาพที่จะพัฒนาโครงการสมบูรณ์แบบเป็นเท่าไหร่ ศึกษารูปแบบการพัฒนาท่ีเหมาะสมสาหรับแต่ละภูมิภาคเป็นอย่างไร สารวจและออกแบบเบ้ืองต้น ระดับจัดทาแผนแม่บท จัดลาดับความสาคัญโครงการ และจั ดทาแผนพฒั นา โดยเริ่มดาเนนิ การศกึ ษาในปงี บประมาณ พ.ศ.2561 ระยะเวลาการศึกษา 450 วัน งบประมาณ 45ล้านบาท4.4.3 การศกึ ษาความเหมาะสม สารวจ และออกแบบรายละเอียด ระหว่างที่ดาเนินการศึกษาจัดทาแผนแม่บทโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบในข้ันตอนจัดลาดับความสาคญั เบ้ืองตน้ แลว้ ควรนาโครงการทอ่ี ยใู่ นลาดับความสาคัญแรกๆ มพี น้ื ทีโ่ ครงการประมาณ 400,000 ไร่มาดาเนินการศึกษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบรายละเอียด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ต่อเน่ืองเพื่อท่ีจะได้ทันดาเนินการก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เป็นต้นไป และดาเนินการศึกษาความเหมาะสมสารวจและออกแบบรายละเอียด สาหรับปีต่อๆ ไป จนถึงปี พ.ศ.2576 ซ่ึงจะดาเนินการศึกษาความเหมาะสมสาหรับโครงการท่ีจะพัฒนาในปีงบประมาณ พ.ศ.2579 ซ่ึงเวลาท่ีใช้ในการศึกษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบรายละเอียด สาหรับแต่ละปีงบประมาณจะครอบคลุมระยะเวลาจนถึงขั้นตอนการก่อสร้าง โดยท่ีการศึกษาด้านวิชาการ การสารวจและออกแบบรายละเอียด จะเสร็จส้ินในช่วงเวลา 2 ปี ในช่วงปีที่ 3 จะเป็นงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ดี นิ - 119 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การดาเนนิ การส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของประชาชนต่อเนื่องจนกระท่ังก่อสร้างเข้ามาดาเนินการ ในช่วงปีที่ 3 นี้จะมีการปรับแบบก่อสร้างได้หากมีคาขอให้ปรับแบบ อีกท้ังการปรับไม่มีผลกระทบต่อส่วนรวม ดังนั้นการจัดสรรงบประมาณในการศึกษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบรายละเอียด ก็จะต้องสอดคล้องกับกจิ กรรมที่จะต้องทาอยา่ งต่อเนื่องถงึ 3 ปี4.4.4 แผนพัฒนาโครงการชลประทานสมบรู ณแ์ บบเบอ้ื งต้น เพื่อให้เห็นภาพเบ้ืองต้นของงานพัฒนาโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบเบื้องต้น พื้นที่ 6.81 ล้านไร่ท่ีจะดาเนินการต้ังแต่ปี พ.ศ.2561 เป็นต้นไป จนถึงปี พ.ศ.2579 จึงได้ศึกษาประมาณการเบื้องต้นสาหรับการพฒั นา ดังต่อไปนี้ ช่วงปี พ.ศ.2561-2564 เป็นช่วงทาการศึกษาจดั ทาแผนแม่บทการพัฒนาโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบ การศึกษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบ โครงการชลประทานสมบูรณ์แบบ ที่จะดาเนินการก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ.2565-2567 งบประมาณการศึกษาจัดทาแผนแม่บทเป็นเงิน 45 ล้านบาท และงบประมาณการศึกษาความเหมาะสม การสารวจและออกแบบรายละเอียด เปน็ เงนิ 19,878 ลา้ นบาท ซง่ึ ปี พ.ศ.2565-2569 ดาเนนิ การศึกษาความเหมาะสม สาหรับโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบที่จะก่อสร้างในปี พ.ศ.2568-2572 และเร่ิมดาเนินการก่อสร้าง โครงการท่ีออกแบบไว้แล้วต้ังแต่ปี พ.ศ.2565 เป็นตน้ ไป พรอ้ มกับการกอ่ สร้างจะมกี ิจกรรมการบรหิ ารจดั การดาเนนิ งานควบคู่กนั ไปด้วย ซึง่ ปี พ.ศ.2570-2574 แผนงานจะสอดคล้องกับชว่ งปี พ.ศ.2565-2569 ยกเวน้ พ้ืนท่ีดาเนินการแต่ละปีจะเพิ่มจากปี พ.ศ.2565-2569 รอ้ ยละ 10 การดาเนนิ การศึกษาความเหมาะสม จะทาก่อนกอ่ สรา้ ง 3 ปีเสมอ ชว่ งปี พ.ศ.2575-2579 งานศึกษาความเหมาะสม จะสิ้นสุดในปี พ.ศ.2576 ส่วนงานก่อสร้างและการบริหารจัดการจะดาเนนิ การทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ.2575-2579 อย่างไรก็ดี เน่ืองจากแผนแม่บทควรมีการทบทวนทุก5 ปี ดังนั้นเพ่ือทาการทบทวนแผนแม่บทสาหรับปี พ.ศ.2575-2579 แผนงาน แผนเงินงบประมาณต่างๆอาจจะมกี ารปรับปรุงและมีความสมบูรณ์มากขึ้น รายละเอยี ดแผนงาน แผนเงนิ งบประมาณ แสดงในตารางที่ 4.4-1 และตารางที่ 4.4-2 งบประมาณทแี่ สดงในตารางที่ 4.4-2 น้คี านวณจากสมมติฐานค่าก่อสร้างโครงการชลประทานสมบูรณ์แบบ อยทู่ ่ี 40,000 บาท/ไร่ และคดิ อตั ราเงินเฟอู 3% ตอ่ ปี งบประมาณศึกษาความเหมาะสม การสารวจและออกแบบรายละเอียด เท่ากับร้อยละ 5 ของงบประมาณค่าก่อสร้าง และงบประมาณการบริหารจัดการเท่ากับรอ้ ยละ 10 ของงบประมาณค่าก่อสรา้ งงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ นิ - 120 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางท่ี 4.4-1 ภาพรวมของแผนงานสาหรับโครงการชลประทานสมบรู ณแ์ บบ งาน พน้ื ทรี่ วม เร่งดว่ น ระยะสนั้ รวม ระยะกลาง 2566 2567 2568 2560 2561 2562 2563 2564 5 ปี 2565 0.40 0.40 0.401. ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : การพฒั นาแหล่งน้าและเพม่ิ พน้ื ท่ี 6.81 - - - - - - 0.40 -- - 0.40 0.44 0.44ชลประทาน ตามศกั ยภาพ ตามลกั ษณะลุ่มน้า 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.401.1 การศกึ ษาจัดทาแผนแมบ่ ทการพฒั นาโครงการ 6.81 - 6.81 - - - 6.81 - 0.40 0.40 0.40ชลประทานสมบูรณแ์ บบ 0.40 0.40 0.401.2 การศกึ ษาความเหมาะสม การสารวจและออกแบบ 6.81 - - 0.40 0.40 0.40 1.20 0.40รายละเอยี ด1.3 พฒั นาโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบในพนื้ ท่ี 6.81 - - - - - - 0.40ศกั ยภาพ2. ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การเสริมอานาจประชาชนใน 6.81 - - - - - - 0.40ระดบั พน้ื ท่ี (Empowering) การสร้างเครือขา่ ยและการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ นในงานการบริหารจัดการน้าชลประทาน (NetworkingCollaboration Participation)2.1 การบริหารจัดการ 6.81 - - - - - - 0.40 ร วมพื้นที่ดาเนินการ 6.81 - - - - - - 0.40หมายเหตุ : 1) การดาเนินการศกึ ษาความเหมาะสม การสารวจและออกแบบรายละเอยี ด จะดาเนินการกอ่ นการกอ่ สร้าง 3 ปีเสมอ2) การบริหารจัดการกจิ กรรมตอ่ เนือ่ งหลังกอ่ สร้างให้ดาเนินการในแตล่ ะโครงการอย่างตอ่ เน่ืองอยา่ งน้อย 3 ปีงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดนิ - 12

รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร หน่วย : ล้านไร่ ปี พ.ศ. รวม ระยะยาว 2569 5 ปี 2570 2571 2572 2573 2574 รวม 5 ปี 2575 2576 2577 2578 2579 รวม 5 ปี 0.40 2.00 0.44 0.44 0.44 0.44 0.44 2.20 0.48 0.48 0.48 0.58 0.58 2.61 --- - - - - ------- 0.44 2.12 0.44 0.44 0.48 0.48 0.48 2.33 0.58 0.58 0.00 0.00 0.00 1.16 0.40 2.00 0.440 0.440 0.440 0.440 0.440 2.20 0.48 0.48 0.48 0.58 0.58 2.61 0.40 2.00 0.44 0.44 0.44 0.44 0.44 2.20 0.48 0.48 0.48 0.58 0.58 2.61 0.40 2.00 0.44 0.44 0.44 0.44 0.44 2.20 0.48 0.48 0.48 0.58 0.58 2.61 0.40 2.00 0.44 0.44 0.44 0.44 0.44 2.20 0.48 0.48 0.48 0.58 0.58 2.6121 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 4.4-2 ภาพรวมของแผนเงินงบประมาณสาหรับโครงการชลประทานสมบรู เงนิ งาน งบประมาณ เร่งดว่ น ระยะสัน้ รวม ระยะกลาง รวม 2560 2561 2562 2563 2564 5 ปี 2565 2566 2567 25681. ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : การพฒั นาแหลง่ น้าและเพมิ่ พน้ื ที่ 417,493 - 45 927 955 984 2,912 19,562 20,149 20,861 21,486ชลประทาน ตามศกั ยภาพ ตามลกั ษณะล่มุ น้า1.1 การศกึ ษาจัดทาแผนแมบ่ ทการพฒั นาโครงการ 45 - 45 - - - 45 - - - -ชลประทานสมบรู ณแ์ บบ1.2 การศกึ ษาความเหมาะสม การสารวจและออกแบบ 19,878 - - 927 955 984 2,867 1,013 1,044 1,183 1,218รายละเอยี ด1.3 พฒั นาโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบในพนื้ ที่ 397,569 - - - - - - 18,548 19,105 19,678 20,268ศกั ยภาพ2. ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 : การเสริมอานาจประชาชนใน 39,757 - - - - - - 1,855 1,910 1,968 2,027ระดบั พน้ื ที่ (Empowering) การสร้างเครือขา่ ยและการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นในงานการบริหารจัดการน้าชลประทาน (NetworkingCollaboration Participation)2.1 การบริหารจัดการ 39,757 - - - - - - 1,855 1,910 1,968 2,027 ร วมเงินงบปร ะมาณ 457,250 - 45 927 955 984 2,912 21,417 22,059 22,828 23,513หมายเหตุ : 1) คานวณจากสมมตฐิ านคา่ กอ่ สร้างโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบ อยทู่ ่ี 40,000 บาท/ไร่2) คดิ อตั ราเงนิ เฟอ้ 3% ตอ่ ปี3) งานบริหารจัดการเทา่ กบั 10% ของงบประมาณกอ่ สร้างงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ท่ีดนิ - 12

รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ ารรณ์แบบ 2569 รวม ปี พ.ศ. 2572 2573 2574 ระยะยาว หน่วย : ล้านบาท22,131 5 ปี 26,602 27,400 28,222 รวม 5 ปี 2575 104,189 2570 2571 132,861 32,140 2576 2577 2578 2579 รวม 5 ปี 24,945 25,694 33,104 31,999 39,551 40,737 177,531--- - - - - -------1,255 5,713 1,292 1,331 1,508 1,553 1,600 7,285 1,978 2,037 - - - 4,01420,876 98,476 23,653 24,363 25,093 25,846 26,622 125,577 30,162 31,067 31,999 39,551 40,737 173,5172,088 9,848 2,365 2,436 2,509 2,585 2,662 12,558 3,016 3,107 3,200 3,955 4,074 17,3522,088 9,848 2,365 2,436 2,509 2,585 2,662 12,558 3,016 3,107 3,200 3,955 4,074 17,35224,219 114,036 27,311 28,130 29,111 29,984 30,884 145,419 35,156 36,211 35,199 43,506 44,811 194,88322 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด





กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บทท่ี 5 แผนบริหารจัดการ การจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทดี่ ิน ประกอบด้วย การจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินและจัดทาแผนบริหารจัดการควบคู่กันไปให้ครบถ้วนทุกด้าน โดยเฉพาะการวางแผนส่งเสริมกิจกรรมต่อเนื่องแบบครบวงจรเนอื่ งจากแผนแม่บทการจดั รูปท่ีดินเป็นเพียงการศกึ ษาความเหมาะสมของพ้ืนที่ท่ีจะพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ าเทา่ น้ัน แต่การจะบรรลุเปูาประสงค์ “เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต” ตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 4 จะต้องมีแนวทางการบริหารจัดการที่ดีและมีความชัดเจน โดยพิจารณาให้มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือแผนอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อประกอบการจัดทาแผนด้วย จึงจะประสบความสาเร็จตามเปูาประสงคข์ องโครงการ แผนบริหารจัดการนี้สามารถตอบสนองให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ท่ี 3 บูรณาการการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น เพื่อเพ่ิมศกั ยภาพการผลติ ของยุทธศาสตรแ์ ผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดินที่วางไว้ จากผลการจัดทายุทธศาสตร์แผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางปฏิบัติตามพันธกิจและภารกิจ ให้สัมฤทธ์ิผลตามวิสัยทัศน์ของแผนแม่บทและบรรลุเปูาประสงค์ของโครงการ รวมถึงกาหนดแนวทางการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพัฒนาเกษตรและสหกรณ์และแผนงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมในด้านต่างๆ ได้แก่ การประสานความร่วมมือกบั หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการจัดระบบชลประทาน การบริหารและพัฒนาที่ดิน การบริหารจัดการน้าการส่งเสริมการตลาด และการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ด้วยวิธีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดด้อย โอกาส และข้อจากัดหรือภาวะคุกคาม หรือที่เรียกว่า SWOT Analysis และนามาวิเคราะห์ TOWS Matrix ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เป็นคู่ของจุดแข็ง จุดด้อย โอกาส และข้อจากัดหรือภาวะคุกคาม แล้วเสนอแนวทางในการขับเคลื่อนแผนแม่บท รวมถึงการขอข้อคิดเห็นของผู้บริหารระดับสูง และการจัดประชุมเพ่ือรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานที่เก่ียวข้องและเกษตรกร เพ่ือกาหนดยุทธศาสตร์แม่บทการจัดรูปท่ีดินให้ชัดเจนและครบถ้วนสมบูรณ์และเป็นกรอบทิศทางการดาเนินงานในอนาคต รายละเอียดทิศทางการดาเนินงานของแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทีด่ ิน มดี ังนี้5.1 ทศิ ทางการดาเนินงาน แผนบรหิ ารจัดการ มีกรอบทิศทางในการดาเนนิ งานจดั ระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและจัดรปู ที่ดนิ เพื่อส่งเสรมิ กิจกรรมอยา่ งต่อเนื่องครบวงจรใหค้ รอบคลมุ ทุกดา้ น ดงั นี้ 1 การประสานความร่วมมือของหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องกับการจัดระบบชลประทาน 2. การบริหารจัดการน้า 3. การบรหิ ารเงินกองทุน 4. การบริหารและพฒั นาท่ีดินงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ดี นิ - 123 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5. การอ่นื ท่ีเก่ยี วข้องกับการส่งเสรมิ การทาเกษตรกรรม 5.1 การสง่ เสรมิ การผลิต 5.2 การสง่ เสรมิ การตลาด 5.3 การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ 5.4 การประสานความร่วมมือกบั ภาคเอกชน6. การอืน่ ที่เกีย่ วข้อง 6.1 ด้านกฎหมาย 6.2 การประชาสมั พันธ์และการมีส่วนร่วม 6.3 การตดิ ตามและประเมนิ ผล5.1.1 การประสานความร่วมมอื ของหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องกับการจัดระบบชลประทาน เน่ืองจากงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดินจะเก่ียวข้องกับหลายๆ หน่วยงานในกรมชลประทานเองและนอกกรมชลประทาน ต้ังแต่ขั้นตอนการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน การศึกษาความเหมาะสมการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา การสารวจและออกแบบ และการก่อสรา้ งระบบชลประทานในไร่นา เน่ืองจากพ้ืนท่ีจัดระบบชลประทานในไร่นา ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2561 เป็นต้นไป จะเพ่ิมขึ้นมากกว่า 2 เท่าท่ีดาเนินการในปี พ.ศ.2560 สานักบริหารโครงการ และสานักออกแบบและสถาปตั ยกรรมของกรมชลประทานอาจไม่สามารถทจี่ ะทาการศกึ ษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบ ให้ทันกับการก่อสร้าง ดังนั้น สานักงานจัดรูปที่ดินกลางควรจะจัดจ้างบริษัทท่ีปรึกษา เพ่ือทา การศึกษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบ โครงการทจ่ี ดั เข้าแผนเพ่ือท่ีสามารถจะดาเนินการกอ่ สร้างอย่างต่อเนื่อง ส่วนการกอ่ สร้างโครงการระบบชลประทานในไร่นาน้ัน เนื่องจากขีดความสามารถในการเพ่ิมพ้ืนท่ีใหม่ของสานักงานจัดรูปท่ีดินกลางมีจากัด ไม่สามารถท่ีจะขยายพ้ืนที่ใหม่ได้มากนัก ดังน้ัน กรมชลประทานควรปรับภารกิจของหน่วยงานส่วนภูมิภาค เช่น โครงการชลประทานจังหวัด ซึ่งมีขีดความสามารถในการดาเนินการก่อสร้างโครงการจัดระบบชลประทานในไร่นาได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงโครงการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมซ่งึ ไมม่ เี ร่ืองของการจดั รูปทด่ี นิ เก่ยี วข้อง ส่วนการบรหิ ารจดั การน้านนั้ เมอื่ ก่อสร้างเสรจ็ แลว้ สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางอาจถ่ายโอนภารกิจการสง่ น้าและบารงุ รักษาใหโ้ ครงการชลประทานจังหวดั หรือโครงการสง่ นา้ และบารุงรักษาดาเนินการตอ่ ไป นอกจากนั้น ตั้งแต่ช่วงการก่อสร้าง สานักงานจัดรูปที่ดินกลางควรประสานกับกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน เพอ่ื ดาเนินการจัดต้ังกล่มุ ผใู้ ชน้ ้าชลประทานในพ้ืนที่ พรอ้ มกับดาเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการน้าและการบารุงรักษา ร่วมกับเจ้าหน้าที่ของโครงการชลประทานจังหวัดหรอื โครงการส่งน้าและบารุงรกั ษางานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี นิ - 124 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5.1.2 การบริหารจดั การนา้ จากการทบทวนกระบวนการพัฒนาโครงการและปัญหาการบริหารจัดการท่ีผ่านมา พบว่า ในขั้นหลังการก่อสร้างเสร็จแล้ว โครงการจะถูกส่งมอบภารกิจต่อให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้าหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรับดูแลบารุงรักษาต่อไป ส่วนการจัดการด้านน้าจะส่งมอบภารกิจให้โครงการชลประทานจังหวัดหรือโครงการส่งนา้ และบารงุ รกั ษา ซึง่ ภายหลงั จากรับมอบภารกจิ จะจัดตัง้ กลุ่มผู้ใช้น้า และมีการฝึกอบรมพนักงานสง่ นา้ และเกษตรกร ในการวางแผนการปลูกพืช วางแผนส่งน้าและบารุงรักษาคูน้า แต่การบริหารจัดการน้ายังไม่มีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร เน่ืองจากขาดการประสานระหว่างหน่วยงานท่ีก่อสร้างกับหน่วยงานที่บริหารจดั การน้า ขาดเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการวางแผนการส่งน้า ตรวจวัดปริมาณน้า ประเมินผลเพื่อปรับปรุงโครงการ ประกอบกับ กล่มุ ผู้ใชน้ ้ายงั ขาดความรู้ความเข้าใจในการบรหิ ารจัดการนา้ ดว้ ยตนเอง จากการวิเคราะห์ปัญหาการบริหารจัดการและแนวทางการแก้ไข สามารถสรุปแนวทางการบริหารจัดการให้สามารถรับน้าและระบายน้าได้ตามจานวนและระยะเวลาที่เหมาะสม ดูแลให้ทั่วถึงทุกแปลง จะต้องดาเนนิ การบริหารจดั การนา้ อย่างมีประสิทธิภาพท่ัวถึงเป็นธรรม โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมและประสานงานกับทุกฝาุ ยทเี่ กย่ี วข้อง เพอ่ื ทาให้การจดั การนา้ เกิดประโยชน์สูงสดุ ซ่งึ ตอ้ งมีการดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้ 1. การต้งั กลมุ่ ผใู้ ชน้ ้าชลประทาน และจัดให้มกี ารฝกึ อบรม รวมท้งั มีการพฒั นากลุ่มใหม้ คี วามเขม้ แข็ง 2. การส่งน้า ระบายน้า ให้เหมาะสมกับความต้องการของพืชที่ปลูก ซ่ึงอาจจะมีการใช้น้าในปริมาณ และเวลาที่แตกต่างกนั 3. มีการประสานงานกับคณะกรรมการชลประทานและคณะกรรมการลุ่มน้าในเรื่องของการบริหาร จดั การนา้ 4. มีการซ่อมแซม ปรับปรุง และบารุงรักษาอาคารชลประทานให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและมีความ เหมาะสมกบั ปรมิ าณการใช้น้าทตี่ ้องการ เพื่อทาให้เกิดการพฒั นาทีย่ ่งั ยนื เกษตรกรมงี านทาตลอดปี 5. กรมชลประทานจะต้องจัดหาบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ ดาเนินการเรื่องของการบริหาร จัดการในช่วงแรกของการดาเนินการ และมีการพัฒนาจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรให้สามารถดาเนินการ ได้เองในระยะต่อไป 6. หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งต้องใหค้ าแนะนาและความรู้ในเรื่องการใช้น้าของพืชแต่ละชนิด และการวาง แผนการปลกู พชื ทเี่ หมาะสม 7. สร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน/สหกรณ์ผู้ใช้น้าชลประทานที่มีการจัดระบบน้าเพ่ือ เกษตรกรรมและจัดรปู ทด่ี นิ นอกจากนั้น โครงการส่งน้าและบารุงรักษาที่มีการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม/หรือโครงการจัดรูปท่ีดินด้วย ควรนาโปรแกรมการจัดการน้ามาประยุกต์ใช้ เช่น โปรแกรม WASAM เพื่อปรับปรุงการจัดสรรน้าและการสง่ นา้ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากข้นึงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ท่ีดนิ - 125 - บริษทั เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5.1.3 การบรหิ ารเงินกองทนุ ตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มีมาตราท่ีเกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจดั ระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม คือ มาตรา 26 ท่กี าหนดใหเ้ จ้าของท่ีดินเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่าย ท้ังในค่าจัดระบบน้า การซ่อมแซมและบารุงรักษา ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการพัฒนาข้างต้น จะถูกนาเข้าเก็บรักษาเป็น “กองทุนจัดรูปที่ดิน” ตามหมวด 5 มาตรา 60 และ 61 ซ่ึงกองทุนน้ีจะใช้เฉพาะเพื่อการจัดระบบน้าเพื่อการเกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดิน หรือเพ่ือการช่วยเหลือทางด้านการเงินหรือให้สินเชื่อแก่บรรดาเจ้าของที่ดิน แนวทางการบรหิ ารเงนิ กองทุน มดี งั นี้ 1. ตามพระราชบัญญัติจดั รปู ทด่ี นิ เพ่อื เกษตรกรรม พ.ศ.2558 มีมาตราทีเ่ ก่ียวข้องกับค่าใช้จ่ายในการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม คือ มาตรา 26 ท่ีกาหนดให้เจ้าของที่ดินเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่าย ท้ังในค่าจัดระบบน้า การซ่อมแซมและบารุงรักษา แต่ยังไม่กาหนดในรายละเอียดในด้านหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ซ่ึงให้ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลางเป็นผู้พิจารณากาหนด อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติได้เปิดช่องให้คณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลางอาจจะพิจารณาลด ยกเว้น รวมทั้งกาหนดระยะเวลา หรือขยายระยะเวลาการชาระเงินกไ็ ดต้ ามทีเ่ หน็ สมควร 2. สาหรับค่าใช้จา่ ยในการซอ่ มแซมและบารุงรักษา พระราชบัญญัติได้เปิดช่องไว้ด้วยว่า ถ้ามีจานวนเกินกว่าท่ีเจ้าของที่ดินจะรับภาระได้และเป็นการดาเนินการเพ่ือสาธารณประโยชน์ ทางเจ้าของท่ีดินอาจร้องขอใหก้ รมชลประทานหรือองคก์ รทอ้ งถ่ินสนบั สนนุ ทางการเงินหรือเข้าดาเนนิ การแทนได้ 3. คา่ ใช้จ่ายต่างๆ ในการพัฒนาข้างต้น จะถูกนาเข้าเก็บรักษาเป็น “กองทุนจัดรูปท่ีดิน” ตามหมวด5 มาตรา 60 และ 61 ซึ่งกองทุนนี้จะใช้เฉพาะเพื่อการจัดระบบน้าเพ่ือการเกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดินหรอื เพ่ือการช่วยเหลือทางดา้ นการเงินหรือใหส้ ินเชื่อแก่บรรดาเจา้ ของทด่ี นิ ดังน้ันในพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 ได้กาหนดรูปแบบสนบั สนนุ ทางด้านการเงินไวย้ ืดหยุ่นมากข้ึน 4. ควรมีการสง่ เสรมิ เกษตรกรทมี่ ีความประสงค์จะปรับปรุงระบบน้าภายในพื้นท่ีของตนเอง เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้น้าหรือเพ่ิมผลผลิต เช่น การขุดสระเพ่ือเก็บน้าสารองไว้ใช้ในฤดูแล้งเสริมน้าชลประท านและทาระบบไร่นาสวนผสมทมี่ กี ารเลยี้ งปลาด้วย การติดตัง้ ระบบกระจายนา้ ในแปลงเพาะปลูกท่ีใช้น้าน้อย เช่นระบบน้าหยด ระบบน้าฉีดฝอย เป็นต้น โดยการให้กู้เงินค่าลงทุนในการปรับปรุงระบบน้าดังกล่าว โดยคิดดอกเบ้ยี ตา่ เชน่ ร้อยละ 1-2 % ตอ่ ปี เป็นตน้ 5. ทบทวนระเบียบและอัตราการจัดเก็บเงินคืนค่ากองทุนจัดรูปที่ดินให้เกษตรกรสามารถชาระคืนได้และศึกษาการคิดคืนทุนการจัดรูปท่ีดินในพื้นที่ท่ีมีแบบแผนการผลิตที่แตกต่างกัน รวมท้ังรูปแบบการจัดรูปที่ดินประเภทพัฒนาบางส่วน เพื่อเปรียบเทียบเป็นแนวทางท่ีเหมาะสมในการคิดอัตราคืนทุน เพ่ือช่วยให้กระบวนการพฒั นาโครงการมคี วามรวดเร็ว และเกษตรกรสามารถตดั สินใจเขา้ รว่ มโครงการได้ 6. ตามมาตรา 26 การชาระค่าใช้จ่ายในการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม การซ่อมแซม และบารุงรักษา การใช้น้าเพ่ือประโยชน์ในลักษณะการประกอบธุรกิจการเกษตร หรือการใช้น้ามากเกินควร ของเจ้าของทดี่ นิ ในเขตการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และมาตรา 53 การชาระค่าใช้จ่ายในการจัดรูปที่ดิน การซ่อมแซมและบารุงรักษาการใช้น้า เพ่ือประโยชน์ในลักษณะการประกอบธุรกิจการเกษตร หรือการใช้น้ามากเกินควรของเจ้าของท่ีดินในเขตโครงการจัดรูปท่ีดินให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการจัดรปู ทดี่ นิ กลางกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ได้บญั ญัตไิ ว้ว่า คณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลางอาจพิจารณาลด ยกเว้น รวมทั้งกาหนดระยะเวลา หรือขยายระยะเวลาการชาระเงินได้ตามที่เห็นสมควร ดังนั้น คณะกรรมการจัดรูปท่ีดินกลางอาจพิจารณายกเว้นการจัดเก็บค่าลงทุนการจัดรูปท่ีดินจากงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทด่ี นิ - 126 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เกษตรกรรายใหม่ โดยรัฐบาลเป็นผู้อุดหนุนและรับผิดชอบค่าลงทุนแทน ซึ่งการยกเว้นการจัดเก็บค่าลงทุนเฉพาะรายใหม่อาจจะส่งผลกระทบต่อการเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ของกองทุนรายเก่า ดังนั้นการพิจารณาลดยกเวน้ กรณนี ต้ี ้องทาการศึกษาถึงแนวทางทีเ่ หมาะสมต่อไป 7. ในกรณีท่ีคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลางไม่ได้พิจารณาลด ยกเว้น ตามที่ได้กล่าวข้างต้น กองทุนจดั รูปทด่ี ินต้องเพิ่มขีดความสามารถในการจัดเก็บค่าคืนทุนของลูกหน้ีรายเดิมให้มากข้ึน รวมทั้งกาหนดวิธีการเรียกเกบ็ เงินทุนให้สอดคล้องกบั รายไดข้ องเกษตรกร เช่น การผ่อนชาระในชว่ งปแี รกชาระเงินคืนในอัตราท่ีน้อยแล้วเพิ่มข้ึนปีถัดไป หรือผ่อนชาระแต่ละปีในจานวนท่ีเท่ากัน โดยพิจารณาจากส่วนเพ่ิมของรายได้สุทธิต่อปีเพอ่ื เป็นผลใหก้ ารสนับสนุนไดเ้ งินงบประมาณเพิม่ ขึ้นตามผลงาน 8. ดาเนนิ การปรับปรุงพื้นท่ีจดั ระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและจัดรปู ที่ดินตามแผน 9. รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณแผ่นดินให้แก่กองทุนจัดรูปที่ดินอย่างเพียงพอ เพ่ือให้การจัดระบบน้าเพ่อื เกษตรกรรมและการจดั รูปท่ีดนิ สามารถดาเนนิ งานตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในพน้ื ทที่ ัว่ ประเทศ 10. การบรหิ ารเงินกองทุนจัดรูปที่ดินควรกาหนดสัดส่วนค่าใช้จ่ายแต่ละด้านให้ชัดเจน เช่น ค่าใช้จ่ายเพื่อเพ่มิ พ้นื ทก่ี ารจัดระบบนา้ เพือ่ เกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดิน ค่าใช้จ่ายเพื่อการซ่อมแซมหรือปรับปรุงพื้นที่การจดั ระบบนา้ เพื่อเกษตรกรรมและพ้นื ท่กี ารจัดรูปทดี่ ิน ค่าใชจ้ า่ ยดา้ นบุคลากร เปน็ ต้น 11. ควรมกี ารกระจายอานาจการบรหิ ารเงินกองทุนจัดรูปท่ีดินให้กรมชลประทานในวงเงินที่เหมาะสมเพ่อื ความคลอ่ งตวั ในการดาเนนิ การจัดระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรมและการจัดรูปท่ดี นิ 12. การบรหิ ารจดั การกองทุนจดั รปู ทีด่ นิ ในเชิงรุกในทุกดา้ น5.1.4 การบริหารและพฒั นาท่ดี นิ การจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ดี ินในครัง้ น้ี ไดด้ าเนินการวางแผนด้านการเกษตรในอนาคตไว้ทุกพื้นที่ทม่ี ีศกั ยภาพ จากข้อมูลชั้นความเหมาะสมของดินของกรมพฒั นาท่ีดินซึ่งเป็นข้อมูลที่อยู่ในชุดของ Agri-Map โดยผลจากการใช้ข้อมูลจาก Agri-Map สามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการวางแผนการปลูกพืชให้สอดคล้องกับสภาพการตลาด แหล่งรับซื้อสินค้าเกษตรที่ใกล้พื้นท่ี ซ่ึงทั้งสามารถตอบโจทย์ในการวางแผนการเพาะปลูกในแต่ละฤดูกาลล่วงหน้าได้ถูกต้องมากกว่าในอดีตที่ผ่านมา นอกจากน้ี ที่ผ่านมายังพบปัญหาด้านการเปล่ียนแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ไปทากิจกรรมอยา่ งอืน่ ที่ไม่ใช่การเกษตร และการขาดความรู้ด้านการพัฒนาปรับปรุงดิน และการพัฒนาทด่ี นิ ในแบบเกา่ ที่ผ่านมา มักจะเป็นไปในลักษณะหน่วยงานเดียว โดยขาดการประสานความร่วมมือกบั หน่วยราชการหรือหนว่ ยงานภาคเอกชนอื่นๆ การศกึ ษานไ้ี ดจ้ ัดทาแนวทางการบริหารและพฒั นาทีด่ นิ ดงั นี้ 1. มีการติดตามและใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 30 และมาตรา 56 2. สง่ เสริมการทาเกษตรอินทรยี /์ เกษตรปลอดภยั 3. สง่ เสริมการทาไรน่ าสวนผสม 4. สง่ เสรมิ การปลกู พชื ตาม Zoning โดยใชแ้ ผนท่ี Agri-Map 5. ฝกึ อบรมด้านการปรับปรงุ ดินงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ีดิน - 127 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5.1.5 การอื่นทเ่ี กยี่ วข้องกบั การสง่ เสรมิ การทาเกษตรกรรม การประสานความร่วมมือเพ่ือการส่งเสริมด้านการเกษตร ท้ังด้านการส่งเสริมการทาเกษตรกรรม การบริหารและพัฒนาท่ีดิน การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ การส่งเสริมการตลาด มีแนวทางการประสานความร่วมมอื กับหนว่ ยงานอน่ื ท่เี ก่ียวขอ้ ง ดังนี้ 1. รฐั มนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สั่งการให้คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาเกษตรและสหกรณด์ าเนินกิจกรรมการจัดระบบชลประทานในไรน่ าเปน็ นโยบายอกี ดา้ นหน่ึงเพิ่มเตมิ 2. จัดต้ังองค์กรขับเคลื่อนการบริหารจัดการระบบชลประทานในไร่นาในรูปคณะทางานโดยคณะอนกุ รรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ สาหรับแนวทางการส่งเสริมการทาเกษตรกรรม มีดงั นี้ 1) การสง่ เสรมิ การผลิต นอกจากการบริหารจัดการนา้ ทีม่ คี วามสาคัญตอ่ การทาเกษตรกรรมแล้ว การส่งเสริมการผลิตก็มีความจาเป็นต่อการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิต มีการฝึกอบรมด้านเกษตรก้าวหน้า ถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเพาะปลกู ใหมๆ่ การศกึ ษาดูงาน หรอื การทาแปลงสาธิตการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เป็นตน้ 2) การสง่ เสริมการตลาด การสง่ เสริมการตลาดมีความจาเป็นต่อการลดต้นทุนการผลิต เพราะเม่ือสามารถจัดจาหน่ายผลผลิตที่เพิ่มข้ึน ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตก็ลดลงโดยปริยาย รูปแบบการส่งเสริมการตลาดควรจะเป็นการประสานอยา่ งใกล้ชิดระหวา่ งหน่วยราชการ องค์กรที่ประกอบอาชพี ทางการเกษตร และภาคเอกชน ดังนี้องคก์ ารทางการเกษตร หน่วยงานราชการ เอกชนสหกรณ์การเกษตร สานักงานพาณชิ ย์จงั หวดั โรงงานอตุ สาหกรรมการเกษตรในพ้นื ที่ บรษิ ัทที่ส่งเสริมการทา Contractสหกรณ์ผใู้ ช้น้า สานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวัด Farming สง่ เสริมการท่องเทีย่ วจังหวดั 3) การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ (1) ต้องสนับสนุนให้เกษตรกรมีความรู้ความสามารถและดาเนินการด้านการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมใหม้ ีรายไดส้ งู ขน้ึ มีความมั่นคงในอาชพี เกษตรกรรม สามารถพง่ึ พาตนเองได้ (2) เกษตรกรในพ้ืนท่ีมีความสามารถในการประกอบอาชีพทางเกษตรได้หลากหลาย เช่นการปลกู พชื ผกั ผลไม้ ทาไร่-นา-สวนผสม หรือเศรษฐกิจพอเพียงได้ (3) ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่ม มีการนาองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตมาใช้อย่างเหมาะสม และมีการทางานร่วมกันกับผู้เกี่ยวข้อง โดยมีหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งภาคเอกชน ให้การสนับสนุน เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์ ฯลฯ ในระยะแรกหน่วยงานท่ีได้กล่าวในข้างต้นต้องเข้ามามีบทบาทหน้าท่ีในการดาเนนิ การสนบั สนุนสง่ เสรมิ และให้บริการอย่างใกลช้ ิด สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรพง่ึ พาตนเองได้งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทดี่ นิ - 128 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4) การประสานความรว่ มมือกบั ภาคเอกชน สาหรับบริษัทเอกชนท่ีประกอบธุรกรรมด้านการเกษตรส่วนใหญ่จะมีสานักงานใหญ่ในกรงุ เทพมหานคร ดงั นัน้ กลไกท่ีเหมาะสมในการประสานความร่วมมอื ก็คือ คณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง ส่วนการประสานความร่วมมือกับบริษัทเอกชนในจังหวัดก็อาศัยคณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัดเป็นหลัก รวมทั้งคณะอนกุ รรมการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ คณะทางานขับเคล่ือนกิจกรรมต่อเน่ืองพ้ืนท่ีมีศักยภาพในการผลิต และคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จดาเนินการส่งเสริมรูปแบบการประสานความร่วมมือ เน้นการเชิญตัวแทนบริษัทเอกชนดูงานในพ้ืนท่ีจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและจัดรูปที่ดินท่ีมีการปลูกพืชที่บริษัทเอกชนใช้เป็นวัตถุดิบ การเชิญเข้าร่วมการจัดงานแสดงผลิตผลการเกษตรและสนิ คา้ เกษตร เปน็ ต้น5.1.6 การอนื่ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1) ด้านกฎหมาย ตามบทบญั ญตั ขิ องพระราชบญั ญตั จิ ดั รปู ท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 จะกาหนดให้มีการออกข้อกาหนด ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศในเรื่องต่างๆ เป็นการกาหนดให้มีกฎหมายลาดับรองหรือกฎหมายลูก เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ การออกกฎหมายลาดบั รองจงึ เป็นกรณจี าเปน็ และบางกรณเี ป็นเร่ืองเร่งด่วนท่ีจะต้องประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย จากข้อมูลท่ีได้จากสานักงานจัดรูปท่ีดินกลางมีกฎหมายลาดับรองที่จะต้องดาเนินการออกมาประกาศใช้จานวน 17 ฉบับกฎหมายลาดับรองทไี่ ด้มีการประกาศและมีผลใชบ้ ังคับแล้วมีจานวน 14 ฉบับ 2) การประชาสัมพนั ธแ์ ละการมีส่วนรว่ ม เกษตรกรส่วนมากยังขาดความรู้และความเข้าใจในเร่ืองการจัดรูปที่ดิน ซ่ึงทาให้มีความลังเลหรือปฏิเสธการมีส่วนร่วม ดังนั้นกิจกรรมด้านประชาสัมพันธ์จึงมีความสาคัญและควรเร่ิมตั้งแต่ก่อนมีโครงการเพ่ือให้ความรู้เก่ียวกับแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินและพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558รวมถึงให้มีการประชาสัมพันธ์ในระยะก่อนการก่อสร้าง ระหว่างการก่อสร้าง และหลังการก่อสร้าง อย่างสม่าเสมอ โดยกรมชลประทานเป็นหนว่ ยงานหลักในการดาเนนิ การ รปู แบบการประชาสมั พนั ธ์ ได้แก่ เอกสารประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับลักษณะงานจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดิน ผลประโยชน์ที่จะได้รับ สิ่งท่ีเกษตรกรต้องมีส่วนร่วมในการลงทุน การส่งน้าและบารุงรักษาระบบนา้ ฯลฯ หรอื วีดีทศั นเ์ น้อื หาคลา้ ยกับท่ีเป็นเอกสารแต่จะน่าดูกว่าท่ีมีภาพเคลื่อนไหว การเผยแพร่สอ่ื เหล่านี้ในสื่อมวลชนต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วทิ ยุ โทรทัศน์ โทรศพั ท์มือถอื ฯลฯ นอกเหนือจากกิจกรรมด้านประชาสัมพันธ์ที่เริ่มต้ังแต่ก่อนมีโครงการ ก่อนการก่อสร้างระหว่างการก่อสร้าง และกิจกรรมการส่งเสริมการทาเกษตรกรรมจากหน่วยงานอื่นๆ แล้ว กิจกรรมการมีส่วนร่วมของเกษตรกรที่จะต้องให้ความสาคัญภายหลังจากมีโครงการ โดยใช้แนวทางตามท่ีกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมชลประทานได้กาหนดกลไกในการดาเนินงาน 11 กิจกรรม และนามาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกบั วัฒนธรรม สังคม และสภาพภมู ปิ ระเทศแต่ละท้องถน่ิ โดยใหค้ านึงถงึ เกษตรกรเป็นหลกั มีดงั นี้ กิจกรรมท่ี 1 การสร้างความเข้าใจการมีส่วนร่วม โดยการฝึกอบรม ประชุม ศึกษาดูงานให้แกเ่ จ้าหนา้ ที่ เกษตรกรผใู้ ชน้ ้า องค์กรส่วนทอ้ งถ่นิ และหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง ไดร้ บั ความเข้าใจงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ที่ดนิ - 129 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กิจกรรมท่ี 2 การจัดทาข้อตกลงการมีส่วนร่วม เม่ือเกษตรกรมีความเข้าใจในการบริหารจัดการน้าชลประทาน และตกลงท่ีจะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ จะมีการจัดทาข้อตกลงท้ัง 2 ฝุาย คือเกษตรกรและชลประทาน ถือเปน็ การยืนยนั มงุ่ มั่นสมัครใจอยา่ งเปน็ ทางการ กิจกรรมท่ี 3 การจัดต้ังกลุ่มผู้ใช้นา้ ชลประทาน (กลุ่มพนื้ ฐาน) โดยมีการนัดประชุมสมาชิกผู้ใช้น้าในคสู ่งนา้ สายเดยี วกัน และคัดเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้ากลุ่ม โดยสมาชิกเป็นผู้คัดเลือก การดาเนินการบริหารจดั การน้าเปน็ ไปในทางเดยี วกนั และขนึ้ บัญชีกบั ชลประทาน กิจกรรมที่ 4 การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งองคก์ รผใู้ ช้นา้ ชลประทาน เมอื่ มกี ารรวมตัวของกลุ่มผู้ใชน้ า้ แลว้ เจา้ หนา้ ท่ีชลประทานจะเข้าไปส่งเสริมความรู้อย่างต่อเน่ือง โดยการพบปะเกษตรกร ประชุมช้ีแจงการศึกษาดูงาน การฝึกอบรม/สัมมนาการแลกเปล่ียนความคิดเห็น การจัดเวทีชุมชน เพื่อเพ่ิมความเข้าใจเพม่ิ เติม ในการบรหิ ารจัดสรรนา้ และบารุงรกั ษา การบริหารองคก์ รผู้ใช้นา้ การจดั การกองทุน และการยกระดับขององคก์ รให้สูงขึ้น กจิ กรรมที่ 5 การยกระดบั องค์กรผ้ใู ช้นา้ ชลประทาน เมื่อสมาชกิ ผใู้ ชน้ ้ามีความเข้าใจและกลุ่มผู้ใช้น้ากลุ่มพื้นฐาน มีความเข้มแข็งเพียงพอ กลุ่มผู้ใช้น้าพื้นฐานที่ใช้น้าจากคลองส่งน้าสายเดียวกัน สามารถรวมตัวกนั ยกระดับฐานะ เป็นกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน และยกระดบั เปน็ กลมุ่ เกษตรกรผู้ใชน้ ้า หรือเป็นสมาคมผู้ใชน้ ้าชลประทาน หรือสหกรณผ์ ใู้ ช้นา้ ชลประทานต่อไป กิจกรรมที่ 6 การจัดต้ังคณะกรรมการจัดการชลประทานเพ่ือการบริหารจัดการน้าชลประทาน โดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในระดับอ่างเก็บน้าให้มีประสิทธิภาพ และการบริหารจัดการน้าท่ีเป็นเอกภาพต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดการชลประทาน ประกอบด้วย ตัวแทน 4 ฝุาย ได้แก่ ตัวแทนจากองค์กรกลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน ตัวแทนจากผู้นาท้องถิ่น ตัวแทนจากเจ้าหน้าที่ชลประทาน และตัวแทนจากหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ลงนามแต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะประธานกรรมการลุ่มน้า เพื่อให้ตัวแทนในแต่ละฝุายมสี ว่ นรว่ มในการตดั สินใจ กาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งน้า กาหนดมาตรฐานการควบคุมการส่งน้าและบารงุ รักษา ส่งเสริมการผลิตด้านการเกษตรและการตลาด เพื่อให้ใช้ประโยชน์จากน้ามีผลตอบแทนสูงสุด โดยยึดหลัก เสมอภาค ทวั่ ถงึ และเปน็ ธรรม กิจกรรมที่ 7 การจัดตั้งกองทุนชลประทาน การดาเนินกิจกรรมขององค์กรกลุ่มผู้ใช้น้าชลประทานจะมีค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึน เช่น ค่าติดต่อประสานงาน ค่าเอกสาร ค่าเคร่ืองดื่ม เป็นต้น ค่าใช้จ่ายดงั กล่าวจะไดม้ าจากการสมทบทนุ จากสมาขิกผู้ใช้นา้ ชลประทาน การใช้จ่ายจากกองทุนจะมีกาหนดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน มีการจัดทาบัญชีที่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และเม่ือกองทุนมีมากขึ้นสามารถนาไปใช้ในการบารงุ รักษาระบบชลประทานและอาคารชลประทานได้ กิจกรรมท่ี 8 การจา้ งเหมางานบารงุ รกั ษาแกก่ ลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน ในการบารุงรักษาระบบชลประทาน กลุ่มผู้ใช้น้าชลประทานจะรับผิดชอบในระบบคันคูน้า นอกเหนือจากนั้นชลประทานจะเป็นผู้ดาเนินการในรูปแบบดาเนินการเองหรือจ้างเหมา ในส่วนการดาเนินการจ้างเหมาควรพิจารณาองค์กรกลุ่มผู้ใช้น้าชลประทานเป็นผู้ดาเนินการ เพ่ือเป็นการเสริมความเข้มแข็งและเป็นการปลูกฝังความรู้สึกความเป็นเจ้าของอาคารชลประทานของกลุ่มผู้ใช้น้า และผลกาไรจากการดาเนินงานหลังจากแบ่งสรรแล้วส่วนที่เหลือสามารถนาไปเข้าเป็นกองทุนได้ กิจกรรมที่ 9 การมีส่วนร่วมในการส่งน้าบารุงรักษา การบริหารจัดการน้าชลประทานหมายถึง การส่งน้าให้แก่พื้นท่ีส่งน้าและการบารุงรักษาอาคารชลประทาน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกษตรกรไดร้ ับนา้ ทนั ตามเวลาที่ตอ้ งการ มีขนั้ ตอน 14 ขัน้ ตอน ดงั นี้งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดนิ - 130 - บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1) ชลประทานกาหนดพื้นท่เี พาะปลกู พชื ให้สอดคลอ้ งกบั ปรมิ าณนา้ ต้นทนุ 2) เกษตรกรแจ้งความต้องการเพาะปลูกพืชให้หัวหน้ากลมุ่ และแจง้ เจ้าหน้าทีช่ ลประทาน 3) ชลประทานวางแผนการส่งน้า และปรับแผนการส่งน้าให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผูใ้ ช้นา้ 4) ประชุมคณะกรรมการจดั การชลประทานโครงการเพอ่ื ตกลงการส่งนา้ 5) แจ้งข้อตกลงการสง่ นา้ ใหห้ ัวหนา้ คู และสมาชกิ ผู้ใชน้ ้า รับทราบ 6) บารุงรกั ษาคสู ง่ น้ากอ่ นการสง่ นา้ ในแต่ละฤดูกาลเพาะปลกู 7) ส่งน้าตามแผนที่กาหนด และมกี ารปรับแผนการส่งนา้ ตลอดฤดกู าลเพาะปลูก 8) เจ้าหนา้ ทีช่ ลประทาน ออกพบปะเกษตรกร 9) เจา้ หน้าที่ชลประทาน วดั ปริมาณนา้ ทีส่ ่งให้เกษตรกร 10) รายงานพื้นท่เี พาะปลูก เปรยี บเทียบกับพน้ื ท่ีเพาะปลูกจริง 11) เจ้าหน้าทช่ี ลประทาน สารวจผลผลติ ราคา และความพอใจในการสง่ นา้ 12) เจ้าหนา้ ทบ่ี ันทึกขอ้ มูล เพื่อติดตามและประเมนิ ผล 13) ประชุมคณะกรรมการเพื่อสรปุ และประเมนิ ผลการส่งนา้ 14) เจ้าหนา้ ทช่ี ลประทาน จดั ทารายงานสรปุ ณ สิ้นฤดกู าลเพาะปลกู กจิ กรรมท่ี 10 การประเมินความเข้มแข็งองคก์ รผู้ใชน้ า้ ในเดือนกันยายนของทุกปี สมาชิกผู้ใช้น้าจะตอบแบบสอบถามทเ่ี จา้ หน้าทีช่ ลประทานนามาแจกใหเ้ พื่อให้เจ้าหน้าทนี่ าขอ้ มูลไปวเิ คราะห์ความเข้มแข็งขององค์กรกลุ่มผู้ใช้น้า โดยจาแนกเป็น อ่อนแอ ปานกลาง และเข้มแข็ง ผลท่ีได้สามารถนาไปวางแผนการส่งเสรมิ ความเข้มแข็งให้แก่องค์กลมุ่ ผ้ใู ช้นา้ ได้ กิจกรรมที่ 11 การจัดทาฐานข้อมูลพื้นฐานของโครงการ โครงการต้องจัดทาข้อมูลเบื้องต้นโดยเจ้าหน้าท่ีชลประทานดาเนินการอย่างต่อเน่ืองด้านวิศวกรรม เช่น หัวงาน ระบบส่งน้า ข้อมูลด้านองค์กรกลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน เช่น จานวนกลุ่มผู้ใช้น้า จานวนสมาชิกและพ้ืนท่ีถือครอง ด้วยนโยบายของกรมชลประทาน จะบรหิ ารจัดการนา้ ร่วมกบั เกษตรกรอยา่ งเคียงบ่าเคียงไหล่ เป็นท่ีปรึกษาในการบริหารจัดการน้าชลประทาน และร่วมกนั แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ภายใต้ปรัชญา รว่ มกันคดิ รว่ มกันทา ร่วมกนั รับผลประโยชน์ 3) การตดิ ตามและประเมนิ ผล จะต้องมีการติดตามและประเมินผลกิจกรรมทุกๆ ด้านอย่างต่อเนื่อง เพื่อทราบถึงปัญหาความสาเร็จของการดาเนินงาน ในกรณีท่ีเป็นปัญหาจะได้แก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที หากเป็นความสาเร็จจะทาอย่างไรเพอ่ื ปรบั ปรงุ ใหด้ ีขึ้นอีก เพื่อให้บรรลุเปูาประสงคข์ องการเพ่มิ ผลผลติ และลดต้นทุนการผลิต โดยข้ันตอนการติดตามและประเมินผลแสดงดังรูปท่ี 5.1-1 และตารางที่ 5.1-1งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทด่ี นิ - 131 - บรษิ ทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ & - รปู ที่ 5.1-1 ขน้ั ตอนการตดิ ตามและประเมินผลตารางท่ี 5.1-1 ขั้นตอนการตดิ ตามและประเมนิ ผล ข้นั ตอน ขอ้ กาหนดทสี่ าคญั1. กาหนดประเดน็ การวดั ผล และระบลุ าดบั - ความครบถ้วน และถูกตอ้ งของรายละเอยี ดในแผนปฏบิ ตั งิ านความสาคญั ของประเดน็ งาน/โครงการทตี่ อ้ งการ ประจาปีตดิ ตามและประเมินผลงาน - คู่มอื /วิธกี ารดาเนินงาน/โครงการตามทผี่ ู้รับผิดชอบหลกั กาหนด - เขา้ ใจการวัดผลของตัวช้วี ัดผลผลิต และกระบวนงานหลัก อย่าง ชดั เจน - ความเชอ่ื มโยงทกุ ระดับทกุ กจิ กรรมท่เี กย่ี วขอ้ ง2. กาหนดแผนงาน/เปูาหมายการดาเนินการท่ีเกยี่ วข้อง - เคร่ืองมือในการติดตามงานทีเ่ หมาะสมกบั ขัน้ ตอน กจิ กรรม ตัวช้ีวดั ผลสาเรจ็ ของงาน และ - เงอ่ื นเวลาท่ตี ้องสมั พันธแ์ ละสอดคล้องกบั ขอ้ มูลท่ตี อ้ งจัดเกบ็วตั ถุประสงคข์ องการจดั ทารายงาน - ระบบการรวบรวม จัดเก็บ และประมวลผล - รูปแบบและวธิ กี ารจัดทาแบบรายงาน3. กาหนดวิธกี าร สรา้ งเคร่ืองมอื และกาหนดเง่ือน - ตอ้ งเข้าใจขัน้ ตอน/กจิ กรรมท่ีจะติดตามและรายงานผลเวลาในการตดิ ตามงาน/โครงการตา่ งๆ ตาม - เข้าใจข้อจากัดและเงือ่ นเวลาในการเก็บข้อมลูประเภทของข้อมลู - เครอ่ื งมือและวธิ ีการเก็บขอ้ มลู ตอ้ งชดั เจนและเขา้ ใจตรงกนั - ความพร้อมในกระบวนงานรายงานและสง่ ข้อมลู ผา่ นระบบฯ ทนั เวลาทก่ี าหนดงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทด่ี นิ - 132 - บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขน้ั ตอน ข้อกาหนดที่สาคัญ4. ปฏิบตั งิ านตามแผนงาน กระบวนงาน และวธิ ีการท่ี - บุคลากรท่เี กย่ี วข้องต้องเข้าใจแผนงานและปฏบิ ตั ไิ ดส้ อดคล้องกับกาหนด แนวทางปฏบิ ัติ พร้อมส่งงานต่อกนั ไดต้ ามเง่ือนเวลาท่ีกาหนด - ใชร้ ะบบงานได้ และจัดทาไดต้ รงตามรปู แบบที่กาหนด - รกั ษามาตรฐานงาน และปฏบิ ตั ิงานตามแนวทางทกี่ าหนด - ชแ้ี จงและทาความเข้าใจงานใหก้ บั หน่วยงานที่เก่ียวข้องได้ชดั เจน - ใช้ดลุ ยพนิ ิจ และหลักเหตแุ ละผลไดเ้ หมาะสม เกิดผลดกี บั งานที่ ดาเนนิ การ5. แจ้งเตือนการส่งรายงานขอ้ มูล และผลการ - กาหนดกรอบเวลา ความถี่ และช่องทางการแจง้ เตือนท่ีชัดเจนดาเนินงาน/โครงการ6. วเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลงาน/โครงการจากรายงานและ - เข้าใจงาน/โครงการ และเขา้ ใจรายละเอยี ดขอ้ มลู ที่จัดเกบ็ข้อมูลต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง - ความครบถ้วน ถกู ตอ้ ง และความน่าเชื่อถือของข้อมลู - เขา้ ใจหลกั วิธกี ารในการวดั ผลงาน ตรวจสอบขอ้ มลู และสรปุ ขอ้ มลู เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไดต้ ามความตอ้ งการ - ดุลยพินจิ ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู และความยืดหยุ่นในการแก้ปญั หาท่ี เหมาะสม - รู้จักบรหิ ารเวลาและบรหิ ารขอ้ มลู ให้มีประสิทธิภาพ7. จดั ทารายงานผลความกา้ วหน้าของงาน/โครงการ - ความเขา้ ใจกระบวนงาน และระบบการบรหิ ารงานและงบประมาณตามแผนปฏบิ ัตงิ าน และการจัดทาขอ้ มลู ที่ - ความนา่ เชอ่ื ถือ และความสมบูรณ์ของข้อมูลทีน่ าไปใช้ได้ตามเกีย่ วขอ้ งกบั การติดตามและประเมินผลเพ่ือใช้ วัตถปุ ระสงคข์ องการจัดทาพจิ ารณาทบทวน และปรับเปลยี่ น/ปรบั ปรุง - ความทันเวลากระบวนการด้านแผนงานและงบประมาณตามแนวทางการบริหารจดั การภาครฐั ใหส้ อดคล้องกบั ระบบงบประมาณในปจั จุบนังานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ีดิน - 133 - บรษิ ัท เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผ้บู รหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5.2 หนา้ ท่ีของแตล่ ะหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ในการขับเคล่อื นแผนแมบ่ ทการจัดรปู ท่ดี นิ ไปสูก่ ารปฏบิ ัตอิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมและมีประสิทธิภาพนั้นต้องอาศยั ความรว่ มมือของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและความร่วมมือของเกษตรกรผู้เป็นเจ้าของที่ดินเข้ามามีส่วนร่วมในทกุ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในข้ันตอนภายหลังจากการจัดรูปท่ีดินและจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมแล้วเสร็จเกษตรกรจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการบริหารจัดการโครงการจัดรูปที่ดินในท้องถิ่นของตนมากขึ้นส่วนภาครัฐจะต้องจัดสรรงบประมาณในระบบชลประทานและการ ดาเนินโครงการจัดรูปท่ีดินอย่างต่อเนื่องพร้อมท้ังสนับสนุนให้มีหน่วยงานอ่ืนๆ เข้ามาส่งเสริมสนับสนุน ให้คาแนะนา ซ่ึงจะเป็นการยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรใหม้ รี ายได้เพ่ิมขนึ้ และมีความมนั่ คงในการประกอบอาชีพดา้ นการเกษตรอย่างยั่งยนืหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องกับแผนแม่บทการจดั รูปที่ดนิ มีดงั นี้สจด. = สานักงานจัดรปู ทด่ี นิ กลางสจด.ชื่อจงั หวัด = สานกั งานจดั รูปท่ดี ินจังหวัดกสช. = กองสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของประชาชนพด. = กรมพฒั นาท่ีดนิคป. = โครงการชลประทานจังหวดัคบ. = โครงการส่งน้าและบารงุ รักษาพณจ. = พาณิชยจ์ งั หวดักสก. = กรมส่งเสรมิ การเกษตรกสส. = กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ทด. = กรมทด่ี นิสอจ. = สานกั งานอยั การจังหวัดสศก. = สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรทขต. = คณะทางานขบั เคลื่อนกิจกรรมตอ่ เนื่องพื้นที่ทมี่ ศี ักยภาพในการผลติ งาน/กิจกรรมของทิศทางการดาเนินงานของแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินและหน่วยงานที่ดาเนินการตัง้ แตร่ ะยะก่อนมีโครงการ ระยะกอ่ นกอ่ สรา้ ง ระยะกอ่ สร้าง และระยะหลงั กอ่ สร้าง สรปุ ได้ดงั ตารางท่ี 5.2-1งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี ิน - 134 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 5.2-1 งาน/กจิ กรรมของทิศทางการดาเนนิ งานของแผนแม่บทการจดั รปู ทลา้ ดบั งาน/กจิ กรรม หน่วยงาน ขับเคลอื่ น 1. การประสานความร่วมมือของหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องกบั การ จดั ระบบชลประทาน สจด. สจด. 1.1 การประสานความร่วมมอื ใหไ้ ดม้ าซึง่ ระบบชลประทาน สจด. 1.2 การประสานความร่วมมอื เพอ่ื การสง่ เสริมดา้ นการเกษตร ทขต., 1.3 การประสานความร่วมมอื กบั ภาคเอกชน คป./คบ., 2. การบริหารจดั การน้า และ กสส. 2.1 การจัดตงั้ องคก์ รผใู้ ช้น้า 2.2 การฝึกอบรมดา้ นการชลประทาน ทขต., สจด. 2.3 การศกึ ษาดงู าน และ 2.4 การจัดสรรน้า 2.5 การซอ่ มแซมและบ้ารุงรักษาระบบน้า สจด.ชือ่ จังหว 2.6 การสร้างเครือขา่ ยกลมุ่ ผ้ใู ชน้ ้า/สหกรณผ์ ู้ใชน้ ้าชลประทาน 3 การบรหิ ารเงินกองทนุ 3.1 การเกบ็ เงนิ คา่ ลงทนุ 3.2 การกเู้ งนิ ลงทนุงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ที่ดิน - 135

รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ ารทีด่ ินและหนว่ ยงานทดี่ าเนนิ การน ระยะกอ่ นมีโครงการ ระยะกอ่ นกอ่ สรา้ ง ระยะกอ่ สร้าง ระยะหลงั กอ่ สรา้ ง..,วดั5 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน หน่วยงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขับเคลอ่ื น ทขต., พด., ลา้ ดบั งาน/กจิ กรรม และ กสก. 4. การบริหารและพฒั นาทดี่ นิ ทขต., กสก. 4.1 การตดิ ตามและใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัตจิ ัดรูปทด่ี นิ เพอ่ื และ พณจ. เกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 30 และมาตรา 56 ทขต. และ 4.2 สง่ เสริมการใช้แผนที่ Agri-Map ในการบริหารและพฒั นาทด่ี นิ พณจ. 4.3 การฝกึ อบรมดา้ นการปรับปรุงบ้ารุงดนิ 4.4 ส่งเสริมการปลูกพชื ตาม Zoning โดยใช้ Agri-map ทขต., กสก. 5. การสง่ เสรมิ การผลติ และ พณจ. 5.1 การฝึกอบรมดา้ นการเกษตรกา้ วหน้า 5.2 การสง่ เสริมถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเพาะปลูกใหมๆ่ - 136 5.3 การทา้ แปลงสาธติ การเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตร 5.4 การศกึ ษาดงู าน 6. การสง่ เสริมการตลาด 6.1 การส่งเสริมการท้าเกษตรพนั ธะสญั ญา (Contract Farming) 6.2 การสง่ เสริมการท่องเทยี่ วในพนื้ ทจี่ ัดรูปทดี่ นิ 7. การพฒั นาและสง่ เสรมิ อาชีพ 7.1 การสง่ เสริมการเพมิ่ มลู คา่ ผลผลติ 7.2 ส่งเสริมและทา้ เกษตรอนิ ทรีย์/เกษตรปลอดภัย 7.3 สง่ เสริมการท้าไร่-นา-สวนผสม 7.4 การศกึ ษาดงู านงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทีด่ ิน

รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ าร ระยะกอ่ นมีโครงการ ระยะกอ่ นกอ่ สรา้ ง ระยะกอ่ สร้าง ระยะหลงั กอ่ สร้าง,....6 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลา้ ดบั งาน/กจิ กรรม หนว่ ยงาน ขับเคลอ่ื น8. ดา้ นกฎหมาย ทขต., ทด.8.1 การด้าเนินดา้ นกฎหมายตามขั้นตอนการจัดระบบน้าเพอ่ื และ สอจ.การเกษตรและการจัดรูปทด่ี นิ8.2 การด้าเนินการกบั ผู้ฝุาฝืนหรือทา้ ผิดตอ่ พ.ร.บ.ฯ9. การประชาสมั พันธแ์ ละการมีสว่ นรวม ทขต., สจด.9.1 จัดท้าสือ่ ประชาสมั พนั ธ์ สจด.ชอ่ื จังหว9.2 เผยแพร่ส่ือ และ กสช.9.3 จัดประชมุ ให้ขอ้ มลู โครงการและรับฟงั ความคดิ เหน็10. การตดิ ตามและประเมินผล ทขต., สศก.10.1 การจัดท้าฐานข้อมลู และ สจด.10.2 การประเมนิ ผลรายปี10.3 การประเมนิ ผลรายช่วงแผนหมายเหตุ : งาน/กจิ กรรมทดี่ ้าเนินการสม่า้ เสม งาน/กจิ กรรมทด่ี ้าเนินการเป็นช่วงงานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รปู ทีด่ ิน - 137

รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ ารน ระยะกอ่ นมีโครงการ ระยะกอ่ นกอ่ สร้าง ระยะกอ่ สรา้ ง ระยะหลงั กอ่ สรา้ ง. ..,วดั ,. .,. มอวงๆ ในแตล่ ะปี 7 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์5.3 องค์กรขบั เคลือ่ นภาพรวมขององค์กรขบั เคลื่อนแสดงในรูปท่ี 5.3-1 และสรุปดังน้ี ระดบั การขบั เคลอื่ น นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ส่งั การผ่านคณะกรรมการจัดรูป กากบั ดแู ล ทดี่ นิ กลาง และคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการการเกษตรและปฏบิ ตั ใิ นพ้ืนที่ สหกรณ์ ให้ภารกจิ งานจัดระบบนา้ เพื่อเกษตรกรรมและจดั รูปที่ดนิ เป็น ยุทธศาสตร์ชาติท่ตี ้องดาเนินงานให้บรรลุเปาู ประสงค์ของพระราชบญั ญัติจดั รปู ทดี่ นิ เพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 - กรมชลประทานกากับควบคุมตดิ ตามการดาเนนิ งานอย่างใกล้ชิดและ ต่อเน่อื ง - สานักงานจดั รูปท่ดี นิ กลางดาเนินการตามกรอบการดาเนินงานในแผนแม่บท สานกั งานจดั รูปทด่ี นิ จงั หวัด ประสานความรว่ มมือหนว่ ยงานทุกหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหนว่ ยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผ่าน คณะอนุกรรมการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั และคณะทางาน ขบั เคลอ่ื นกิจกรรมต่อเน่ืองพ้ืนท่ที ่มี ศี ักยภาพในการผลติ ท่ีมเี กษตรและ สหกรณจ์ ังหวดั เป็นประธาน โครงการปฏิบัตกิ ารจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมที่ 1-17 ก่อสรา้ งระบบ ชลประทานในไรน่ าท่ีเหมาะสมกบั พน้ื ที่ สานักงานชลประทานท่ี 1-17 และโครงการชลประทานจงั หวัด/โครงการส่ง นา้ และบารุงรักษา บรหิ ารจัดการนา้ ใหต้ รงตามความต้องการและตรงตาม ช่วงเวลาที่เกษตรกรต้องการ คณะทางานขับเคล่ือนกจิ กรรมต่อเน่ืองพน้ื ทท่ี ี่มีศกั ยภาพในการผลิต ประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนทเี่ กีย่ วข้องกับการจัดระบบชลประทาน การ บรหิ ารและพฒั นาท่ีดนิ การส่งเสรมิ การผลติ การส่งเสริมการตลาด การ พัฒนาและส่งเสริมอาชีพ เพื่อดาเนนิ กิจกรรมอย่างตอ่ เน่ืองและบรรลุ เปูาประสงค์ของโครงการ เกษตรกร และองค์กรผู้ใช้น้า ไดร้ ับการพฒั นาใหเ้ ขม้ แข็งท้ังดา้ นการบริหาร จดั การน้า การพัฒนาเทคโนโลยกี ารเพาะปลูก การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ของตนเองงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทีด่ ิน - 138 - บริษทั เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ูรป ่ที 5.3-1 ภาพรวมขององค์กรขับเค ่ลือนงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ที่ดิน - 139 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์คณะทางานขับเคลื่อนกิจกรรมตอ่ เน่ืองในพืน้ ท่ีมศี ักยภาพการผลิต1) เกษตรและสหกรณจ์ งั หวัด ประธานคณะทางาน2) เกษตรจงั หวดั รองประธานคณะทางานงาน3) พาณิชยจ์ ังหวัด คณะทางาน4) สหกรณ์จังหวัด คณะทางาน5) ประมงจังหวดั คณะทางาน6) ปศุสตั วจ์ งั หวัด คณะทางาน7) ผู้แทนสานกั งานพฒั นาทีด่ นิ คณะทางาน8) อุตสาหกรรมจงั หวดั คณะทางาน9) ผู้แทนสานกั งานทรัพยากรธรรมชาติ คณะทางาน และส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั (ทสจ.) คณะทางาน10) ผู้แทน ธ.ก.ส คณะทางาน11) ผู้แทนกล่มุ ผใู้ ชน้ า้ ชลประทานทเี่ กย่ี วข้อง คณะทางาน12) ผู้แทนเกษตรกรผใู้ ชน้ า้ ชลประทานที่เกย่ี วขอ้ ง คณะทางาน13) ผู้แทนภาคเอกชนในพนื้ ที่ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง คณะทางานและเลขานุการ14) ผู้อานวยโครงการชลประทานจงั หวัดคณะทางานขับเคลื่อนกจิ กรรมตอ่ เนื่องในพ้นื ท่ีมศี กั ยภาพในการผลติ มอี านาจหนา้ ทดี่ ังนี้1. พัฒนาความเข้มแข็ง ให้องค์กรผู้ใช้น้าชลประทาน ในการบริหารจัดการกิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ การทาเกษตรกรรม เชน่ การบรหิ ารจดั การน้าร่วมกับเจา้ หน้าทีช่ ลประทาน การปรับปรุงบารุงดิน การ ปลูกพืชมูลค่าสูงและใช้น้าน้อย การทาเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัย การเพิ่มมูลค่าผลผลิต การเกษตร ฯลฯ รวมท้งั การบรหิ ารจดั การองค์กรผู้ใช้น้า2. ร่วมกับองค์กรผู้ใช้น้าในการ ประสาน เชิญชวน ภาคเอกชนในพ้ืนที่ให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการ ผลิต และการตลาด ผลผลิตการเกษตรในพน้ื ที่3. ปฏิบัติภารกิจอ่ืนๆ ที่คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์จังหวัดมอบหมาย (หรือ คณะกรรมการขับเคล่ือนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ, Single Command)4. เป็นพี่เล้ียงให้องค์กรผู้ใช้น้าในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในข้อ 1 ข้อ 2 และ ข้อ 3 อย่างน้อย 3 ปี หลังจากมกี ารสง่ น้าฤดูกาลเพาะปลกู แรกงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ีดนิ - 140 - บรษิ ทั เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากัด





กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บทท่ี 6 ผลสัมฤทธข์ิ องแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน งานจัดรูปที่ดินเป็นการลงทุนของภาครัฐร่วมกับเกษตรกรในพ้ืนที่ เพ่ือต้องการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้น้าและการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การสร้างระบบการกระจายน้าเข้าสู่พ้ืนท่ีเพาะปลูกให้ท่ัวถึง การสร้างระบบระบายน้าให้สามารถควบคุมปริมาณน้าที่มากเกินไปได้ การสร้างระบบถนนเพ่ือขนส่งวัตถุดิบและผลผลิต เพื่อการลดต้นทุนในการผลิตและสามารถเพ่ิมผลผลิตในไร่นาได้มากขึ้น ซึ่งในการดาเนินงานท่ีผ่านมากรมชลประทานโดยสานักงานจัดรูปที่ดินกลางได้เน้นผลลัพธ์จากการดาเนินงานเพียงอย่างเดียว ได้แก่ จานวนพ้ืนที่จัดรูปท่ีดินและคุณภาพของงานก่อสร้าง โดยยังขาดการเช่ือมโยงกับผลสัมฤทธิ์ระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ได้แก่ การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต รวมถึงการตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ดังนั้นเพอ่ื ให้การพฒั นาโครงการจัดรูปท่ีดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในการศึกษาจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินน้ีจึงได้ทาการศกึ ษาถงึ ผลสัมฤทธ์ิของแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี นิ ทง้ั 3 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. การประหยัดนา้ 2. การเพ่มิ ผลผลติ และลดตน้ ทนุ การผลติ 3. การตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี6.1 การประหยัดนา้ ผลสัมฤทธข์ิ องแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ีดิน ในสว่ นของการประหยดั น้าพจิ ารณาจาก 1. การเพม่ิ ประสิทธิภาพการชลประทานของโครงการพฒั นาระบบชลประทานในไร่นา เป็นผลมาจากการเปลย่ี นวิธกี ารใหน้ ้าแบบทว่ มท้งั ผืนผ่านแปลงเพาะปลูกหน่ึงไปอีกแปลงหน่ึง มาเป็นการให้น้าแบบคูส่งน้าที่ให้น้าโดยตรงกับทุกแปลง ซ่ึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการชลประทานระดับคูส่งน้า ส่งผลให้ลดปริมาณน้าชลประทานที่ต้องส่งใหก้ ับแปลงเพาะปลกู 2. การเปลี่ยนการใช้ที่ดินตามความเหมาะสมที่กาหนด Zoning โดย Agri-map หรือแผนท่ีเกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก จากเดิมในพ้ืนที่ชลประทานจะเน้นให้ปลูกข้าว อาจปลูกทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้งหรอื ในฤดฝู นเพยี งอยา่ งเดยี ว ซ่งึ ขา้ วเป็นพืชท่มี คี วามต้องการน้ามาก เป็นการเปล่ียนพืชที่จะปลูกในฤดูแล้งท่ีใช้น้านอ้ ยลงตามความเหมาะสมที่กาหนด Zoning โดย Agri-map อีกประการหน่ึงตามหลักการ Zoning คือการพิจารณาตามความเหมาะสมของดินในการปลูกข้าว S1, S2, S3 และ N ซึ่งมีความเหมาะสมในการปลูกข้าวมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย และไม่เหมาะสมที่จะปลูกข้าว ตามลาดับ จึงเสนอแนะให้พิจารณาพืน้ ท่ี S2, S3 และ N เปล่ยี นเป็นปลูกพืชอน่ื ตามสัดสว่ นความเหมาะสม ก็จะประหยดั นา้ เพ่มิ ขึน้ อีกงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปทีด่ ิน - 141 - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์6.1.1 การประหยดั นา้ จากการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการชลประทานระดับคสู ่งนา้ จากการศึกษาวิจัยของภัทวี (2547) ท่ีทาการประเมินผลโครงการจัดรูปท่ีดินในโครงการส่งน้าและบารุงรักษากาแพงแสน จังหวัดนครปฐม พบว่า ประสิทธิภาพการชลประทานระดับคูส่งน้าในเขตจัดรูปที่ดินเท่ากับ 57% เทียบกับนอกเขตจัดรูปที่ดินเท่ากับ 39% หรือประสิทธิภาพการชลประทานระดับคูส่งน้าของพื้นที่ท่ีมีการจัดรูปท่ีดินสูงกว่าพื้นที่ท่ีไม่มีการจัดรูปที่ดิน 18% หากดาเนินการตามแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินพ้นื ท่ดี าเนินการรวม 14.461 ล้านไร่ จะคิดเป็นปริมาณน้าท่ีสามารถประหยัดได้รวมทุกภาคจะเท่ากับ 13,924ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร6.1.2 การประหยดั นา้ จากการเปลย่ี นการใชท้ ด่ี นิ ตามความเหมาะสมท่กี าหนด Zoning โดย Agri- map จากการเปล่ียนการใช้ท่ีดินตามความเหมาะสมที่กาหนด Zoning โดย Agri-map หรือแผนท่ีเกษตรเพอ่ื การบริหารจัดการเชงิ รุกตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หากดาเนินการตามแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน พ้ืนท่ีดาเนินการรวม 14.461 ล้านไร่ พร้อมท้ังการปรับเปลี่ยนระบบการปลูกพืชและการส่งเสริมการทาเกษตรกรรมในด้านต่างๆ จะทาให้สามารถประหยัดน้าได้ 6,437 ล้านลูกบาศก์เมตร การเปล่ียนการใช้ท่ดี ินตามความเหมาะสมท่ีกาหนด Zoning โดยการใช้ Agri-map จะเปลี่ยนในพื้นที่ปลูกข้าวในปัจจุบันในพื้นท่ีชลประทาน ซึ่งแบ่งตามชน้ั ความเหมาะสมสาหรบั การปลกู ข้าว คือ S1 : มีความเหมาะสมดี S2 : มคี วามเหมาะสมปานกลาง S3 : มีความเหมาะสมน้อย N : ไม่เหมาะสม ซึง่ ในการเปลี่ยนการใชท้ ี่ดินตามความเหมาะสมทีก่ าหนด Zoning โดย Agri-map ในพ้ืนท่ีชลประทานไดแ้ ก่ 1. ในพ้ืนที่เพาะปลูก S1 จะยังคงปลูกข้าวนาปี แต่เปล่ียนจากข้าวนาปรัง เป็นพืชหลังนา มีขนาด พ้ืนท่เี พาะปลูกเท่าเดิม 2. พื้นที่เพาะปลูก S2 ลดพ้ืนท่ีปลูกข้าวลง 50% ยังคงปลูกข้าวนาปี แต่เปล่ียนจากข้าวนาปรัง เป็น พืชหลังนา 3. พ้นื ที่เพาะปลูก S3 เอามารวมกับ S2 พ้นื ทป่ี ลูกข้าวอีก 50% เปล่ียนจากปลูกข้าวนาปีและนาปรัง เป็นเกษตรตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ พืชไร่ ไม้ผล พืชเศรษฐกิจ เกษตรอนิ ทรีย์/เกษตรปลอดภัย ไร่นาสวนผสม พืชมูลค่าสูงและเป็นที่ต้องการของตลาด พืชใช้น้า นอ้ ย ปศุสตั ว์ เปน็ ตน้ 4. พ้นื ทเ่ี พาะปลูก N และพ้ืนที่ไม่ได้จาแนกความเหมาะสม เปลี่ยนจากปลูกข้าวนาปีและนาปรังเป็น เกษตรตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ พืชไร่ ไม้ผล พืชเศรษฐกิจ เกษตร อินทรีย์/เกษตรปลอดภัย ไร่นาสวนผสม พืชมูลค่าสูงและเป็นที่ต้องการของตลาด พืชใช้น้าน้อย ปศสุ ัตว์ เป็นตน้ สว่ นการเกษตรอ่ืนๆ ได้แก่ พน้ื ที่ท่ที าการเกษตรอนื่ ทีน่ อกเหนอื จากการปลูกข้าวในพื้นท่ีชลประทานในปจั จบุ ัน เช่น พืชไร่ หรอื ไมผ้ ล หรอื บ่อปลา เป็นต้น อยูแ่ ล้ว ไม่มกี ารเปล่ยี นแปลงการใชท้ ดี่ นิงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดิน - 142 - บริษทั เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปผลการเปลี่ยนการใช้ที่ดินตามความเหมาะสมที่กาหนด Zoning โดยการใช้ Agri-map ในภาพรวมทัง้ ประเทศ และแยกเปน็ รายภาคไดด้ ังนี้ภาพรวมทงั้ ประเทศZoning ของข้าว พื้นที่ปลูกข้าวปัจจุบัน ร้ อยละ พื้ น ท่ีเพาะ ปลูก อน าค ต ร้ อยละ ตาม Agri-Map ในพื้นท่ีชลปร ะทาน ในพ้ืนท่ีชลปร ะทาน 61.87 4.13 ไ ร่ ไ ร่ 7.79S1 : เหมาะสมดี ขา้ วนาปี+ข้าวนาปรัง 8,947,000 61.87 พนื้ ทปี่ ลกู ข้าว+พชื หลงั นา 8,947,000 2.74 0.21S2 : เหมาะสมปานกลาง ขา้ วนาปี+ข้าวนาปรัง 1,193,538 8.25 พน้ื ทป่ี ลกู ขา้ ว+พชื หลงั นา 596,769 76.73 23.27S3 : เหมาะน้อย ข้าวนาปี+ขา้ วนาปรัง 529,162 3.66 เกษตรตามนโยบาย กษ. 3/ 1,125,931 100.00N :ไมเ่ หมาะสม ขา้ วนาปี+ข้าวนาปรัง 395,663 2.74 เกษตรตามนโยบาย กษ. 3/ 395,663ไมไ่ ดจ้ าแนก ขา้ วนาปี+ขา้ วนาปรัง 29,955 0.21 เกษตรตามนโยบาย กษ. 3/ 29,955ร วมพื้นท่ีปลูกข้าว 11,095,318 76.73 ร วมพ้ืนท่ีเพาะปลูก 11,095,318การ เกษตร อ่ืนๆ 4/ 3,365,681 23.27 การ เกษตร อ่ืนๆ 4/ 3,365,681ร วม 14,460,999 100.00 14,460,999หมายเหตุ : 1/ พื้นทีเ่ พาะปลกู อนาคตในพื้นท่ีชลประทาน S2 ลดพ้ืนทปี่ ลกู ขา้ วลง 50%2/ พ้ืนทเี่ พาะปลกู อนาคตในพ้ืนทชี่ ลประทาน S3 เอามารวมกบั S2 พ้ืนทีป่ ลกู ขา้ วอกี 50% เปลย่ี นเปน็ ปลกู พืชไรแ่ ละไม้ผลอยา่ งละคร่ึง3/ เกษตรตามนโยบาย กษ. ไดแ้ ก่ พืชไร่ ไม้ผล พืชเศรษฐกจิ เกษตรอนิ ทรยี /์ เกษตรปลอดภยั ไร่นาสวนผสม พืชมูลคา่ สงู และเปน็ ที่ ตอ้ งการของตลาด พืชใชน้ ้านอ้ ย ปศสุ ตั ว์ เปน็ ตน้ ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์4/ การเกษตรอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ พื้นทที่ ีท่ าการเกษตรอนื่ ทนี่ อกเหนอื จากการปลกู ขา้ วในพื้นที่ชลประทานในปจั จุบนั เชน่ พืชไร่ ไม้ผล เปน็ ตน้งานจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ที่ดนิ - 143 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภาคกลาง Zoning ของข้าว ตาม พ้ืนที่ปลูกข้าวปัจจุบัน พื้น ท่ี เ พาะ ป ลู ก อ น าค ต Agri-Map ใ น พ้ืน ท่ี ช ล ป ร ะ ท าน ใ น พ้ืน ท่ี ช ล ป ร ะ ท านS1 : เหมาะสมดีS2 : เหมาะสมปานกลาง ไ ร่ ร้อยละ ไ ร่ ร้อยละS3 : เหมาะน้อย 16.01N :ไม่เหมาะสม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 3,809,533 16.01 พ้ืนท่ีปลูกข้าว+พืชหลังนา 3,809,533 0.25ไม่ได้จาแนก 0.52ร วมพ้ืน ที่ ป ลู ก ข้าว ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 119,365 0.50 พนื้ ที่ปลูกข้าว+พืชหลังนา 59,683 0.32ก าร เ ก ษตร อ่ื น ๆ 0.05รวม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 63,861 0.27 เกษตรตามนโยบาย กษ. 123,544 2 8.2 3 7.2 1 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 76,995 0.32 เกษตรตามนโยบาย กษ. 76,995 3 5.4 4 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 12,299 0.05 เกษตรตามนโยบาย กษ. 12,299 4 ,082 ,053 28.23 รวมพ้ืนที่เพาะปลูก 4 ,082 ,053 1,04 2 ,878 7.21 การเกษตรอ่ืนๆ 1,04 2 ,878 5,12 4 ,93 1 35.44 5,124,931ภาคตะวนั ออก Zoning ของข้าว ตาม พ้ืนท่ีปลูกข้าวปัจจุบัน พ้ืน ท่ี เ พาะ ป ลู ก อ น าค ต Agri-Map ใ น พื้น ท่ี ช ล ป ร ะ ท าน ใ น พื้น ที่ ช ล ป ร ะ ท านS1 : เหมาะสมดีS2 : เหมาะสมปานกลาง ไ ร่ ร้อยละ ไ ร่ ร้อยละS3 : เหมาะน้อย 2.74N :ไม่เหมาะสม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 650,907 2.74 พน้ื ท่ีปลูกข้าว+พชื หลังนา 650,907 0.26ไม่ได้จาแนก 0.34ร วมพ้ืน ท่ี ป ลู ก ข้าว ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 124,326 0.52 พื้นที่ปลูกข้าว+พืชหลังนา 62,163 0.10ก าร เ ก ษตร อื่ น ๆ 0.02รวม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 19,022 0.08 เกษตรตามนโยบาย กษ. 81,185 5.68 2 .83 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 23,608 0.10 เกษตรตามนโยบาย กษ. 23,608 8.52 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 3,881 0.02 เกษตรตามนโยบาย กษ. 3,881 82 1,74 4 5.68 รวมพ้ืนท่ีเพาะปลูก 82 1,74 4 4 09,83 3 2.83 การเกษตรอื่นๆ 4 09,83 3 1,2 3 1,577 8.52 1,231,577ภาคเหนอื Zoning ของข้าวตาม พื้นที่ปลูกข้าวปัจจุบัน พ้ืน ท่ี เ พาะ ป ลู ก อ น าค ต Agri-Map ใ น พ้ืน ที่ ช ล ป ร ะ ท าน ใ น พ้ืน ที่ ช ล ป ร ะ ท านS1 : เหมาะสมดีS2 : เหมาะสมปานกลาง ไ ร่ ร้อยละ ไ ร่ ร้อยละS3 : เหมาะน้อย 6.03N :ไม่เหมาะสม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 1,435,370 6.03 พ้นื ที่ปลูกข้าว+พชื หลังนา 1,435,370 1.18ไม่ได้จาแนก 1.57ร วมพ้ืน ท่ี ป ลู ก ข้าว ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 563,467 2.37 พ้นื ที่ปลูกข้าว+พืชหลังนา 281,734 0.62ก าร เ ก ษตร อ่ื น ๆ 0.03รวม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 92,063 0.39 เกษตรตามนโยบาย กษ. 373,797 15.54 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 148,444 0.62 เกษตรตามนโยบาย กษ. 148,444 4 .59 2 0.13 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 7,572 0.03 เกษตรตามนโยบาย กษ. 7,572 2 ,2 4 6,916 15.54 รวมพื้นท่ีเพาะปลูก 2 ,2 4 6,916 663 ,916 4.59 การเกษตรอื่นๆ 663 ,916 2 ,910,83 2 20.13 2,910,832งานจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปทดี่ นิ - 144 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู รหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื Zoning ของข้าว ตาม พ้ืนท่ีปลูกข้าวปัจจุบัน พ้ืน ท่ี เ พาะ ป ลู ก อ น าค ต Agri-Map ใ น พ้ืน ท่ี ช ล ป ร ะ ท าน ใ น พื้น ที่ ช ล ป ร ะ ท านS1 : เหมาะสมดีS2 : เหมาะสมปานกลาง ไ ร่ ร้อยละ ไ ร่ ร้อยละS3 : เหมาะน้อย 7.49N :ไม่เหมาะสม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 1,780,846 7.49 พน้ื ที่ปลูกข้าว+พชื หลังนา 1,780,846 0.71ไม่ได้จาแนก 2.06ร วมพื้น ท่ี ป ลู ก ข้าว ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 338,773 1.42 พนื้ ที่ปลูกข้าว+พชื หลังนา 169,387 0.39ก าร เ ก ษตร อื่ น ๆ 0.02รวม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 320,831 1.35 เกษตรตามนโยบาย กษ. 490,218 17.55 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 93,465 0.39 เกษตรตามนโยบาย กษ. 93,465 2 .10 19.65 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 4,682 0.02 เกษตรตามนโยบาย กษ. 4,682 2 ,53 8,597 17.55 รวมพื้นที่เพาะปลูก 2 ,53 8,597 3 03 ,4 2 3 2.10 การเกษตรอ่ืนๆ 3 03 ,4 2 3 2 ,84 2 ,02 0 19.65 2,842,020ภาคใต้ Zoning ของข้าว ตาม พื้นที่ปลูกข้าวปัจจุบัน พ้ืน ที่ เ พาะ ป ลู ก อ น าค ต Agri-Map ใ น พ้ืน ที่ ช ล ป ร ะ ท าน ใ น พ้ืน ท่ี ช ล ป ร ะ ท านS1 : เหมาะสมดีS2 : เหมาะสมปานกลาง ไ ร่ ร้อยละ ไ ร่ ร้อยละS3 : เหมาะน้อย 3.43N :ไม่เหมาะสม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 815,075 3.43 พนื้ ที่ปลูกข้าว+พชื หลังนา 815,075 0.10ไม่ได้จาแนก 0.13ร วมพื้น ท่ี ป ลู ก ข้าว ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 46,894 0.20 พ้นื ท่ีปลูกข้าว+พืชหลังนา 23,447 0.18ก าร เ ก ษตร อ่ื น ๆ 0.01รวม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 7,613 0.03 เกษตรตามนโยบาย กษ. 31,060 6.3 1 5.07 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 42,003 0.18 เกษตรตามนโยบาย กษ. 42,003 11.3 8 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 1,519 0.01 เกษตรตามนโยบาย กษ. 1,519 913 ,104 6.31 รวมพ้ืนท่ีเพาะปลูก 913 ,104 73 2 ,863 5.07 การเกษตรอ่ืนๆ 73 2 ,863 1,64 5,967 11.38 1,645,967ภาคตะวันตก Zoning ของข้าว ตาม พื้นที่ปลูกข้าวปัจจุบัน พื้น ท่ี เ พาะ ป ลู ก อ น าค ต Agri-Map ใ น พื้น ท่ี ช ล ป ร ะ ท าน ใ น พื้น ท่ี ช ล ป ร ะ ท านS1 : เหมาะสมดีS2 : เหมาะสมปานกลาง ไ ร่ ร้อยละ ไ ร่ ร้อยละS3 : เหมาะน้อย 1.91N :ไม่เหมาะสม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 455,269 1.91 พน้ื ท่ีปลูกข้าว+พชื หลังนา 455,269 0.00ไม่ได้จาแนก 0.11ร วมพ้ืน ท่ี ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 713 0.00 พนื้ ท่ีปลูกข้าว+พชื หลังนา 357 0.05ก าร เ ก ษตร อื่ น ๆ -รวม ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 25,772 0.11 เกษตรตามนโยบาย กษ. 26,129 3 .4 1 1.4 7 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง 11,148 0.05 เกษตรตามนโยบาย กษ. 11,148 4 .88 ข้าวนาปี+ข้าวนาปรัง - - เกษตรตามนโยบาย กษ. - ร วมพ้ืน ท่ี ป ลู ก ข้าว 4 92 ,902 3.41 รวมพื้นท่ีเพาะปลูก 4 92 ,902 2 12 ,768 1.47 การเกษตรอ่ืนๆ 2 12 ,768 705,670 4.88 705,670งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดนิ - 145 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ข้อกาหนดทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหก์ ารเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการใชน้ ้า (การประหยดั นา้ ) มดี ังนี้1. ภาคกลาง พ้ืนท่ีเพาะปลูกฤดูแล้งเท่ากับ 100% ของพื้นท่ีเพาะปลูกฤดูฝน ส่วนภาคอ่ืนๆ พ้ืนท่ี เพาะปลกู ฤดแู ลง้ เท่ากับ 30% ของพืน้ ทเ่ี พาะปลูกฤดูฝน2. การวิเคราะห์การเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้น้าจากประสิทธิภาพการชลประทานระดับคูส่งน้า วิเคราะห์จากการเพิ่มประสิทธิภาพการชลประทานภายหลังจากการจัดรูปท่ีดิน จาก 39% เพ่ิม เป็น 57% โดยใช้พืชท่ีปลูกในพ้ืนที่ชลประทานเดิมเหมือนกัน คือ ข้าวนาปี และข้าวนาปรัง ท้ัง ก่อนและหลังการจัดรปู ท่ีดิน3. การเกษตรอ่ืนๆ ใช้ความต้องการใช้น้าของพชื ไร่ (ฤดฝู น) และพชื ไร่ (ฤดแู ล้ง) เป็นตวั แทน4. พืชหลงั นาใชค้ า่ เฉลย่ี ความตอ้ งการใชน้ ้าของพชื ไร่ (ฤดแู ล้ง) และพชื ผกั (ฤดูแลง้ ) เป็นตัวแทน5. เกษตรตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) ใช้ความต้องการใช้น้าของพืชไร่ และ ไม้ผล โดยแบง่ พื้นทเ่ี พาะปลูกอยา่ งละครึ่ง เปน็ ตัวแทน6. ความต้องการน้าของไม้ผล (ฤดูฝน) คิดประมาณ 1 ใน 3 ของความต้องการน้าตลอดปี ส่วนความ ตอ้ งการนา้ ของไม้ผล (ฤดูแลง้ ) ประมาณ 2/3 ของความต้องการน้าตลอดปี ดังท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า การประหยัดน้าของโครงการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา เกิดจาก2 ส่วน ได้แก่ การประหยัดน้าจากการเพิ่มประสิทธิภาพชลประทานในระดับคูส่งน้า และการประหยัดน้าจากการเปลยี่ นการใชท้ ่ีดินตามความเหมาะสมท่ีกาหนด Zoning โดย Agri-map หรือแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปภาพรวมการประหยัดน้าหากดาเนินการตามแผนแมบ่ ทการจัดรูปที่ดิน พ้ืนท่ีดาเนินการรวม 14.461 ล้านไร่ สามารถประหยัดน้าได้จากประการแรกคือ การเพิ่มประสิทธิภาพชลประทานในระดับคูส่งน้า ประหยัดน้าได้ 13,924 ล้านลูกบาศก์เมตร และประการท่ีสองคือ การเปลี่ยนการใช้ท่ีดินตามความเหมาะสมท่ีกาหนด Zoning โดย Agri-map ประหยัดน้าได้ 6,437 ล้านลูกบาศก์เมตรประหยดั นา้ ได้รวม 20,361 ล้านลูกบาศก์เมตร รายละเอียดความต้องการใช้น้าของพืชต่างๆ และภาพรวมการประหยัดน้าเป็นรายภาค เม่ือพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาครบ 14.461 ล้านไร่ แสดงดังตารางท่ี 6.1-1และตารางท่ี 6.1-2 และสรุปภาพรวมการประหยัดน้าในช่วงแผน 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ตามขนาดพ้ืนท่ีท่ีพัฒนาสะสมเพมิ่ ขน้ึ ทกุ ๆ ปี จนครบ 14.461 ลา้ นไร่ ดงั รูปที่ 6.1-1 และสรุปเป็นราย 5 ปี ได้ดังนี้ผลการดาเนินงานแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ ิน ณ ปที ่ี 1 ณ ปีที่ 5 ณ ปที ี่ 10 ณ ปีที่ 15 ณ ปที ่ี 20 พ.ศ.2560 พ.ศ.2564 พ.ศ.2569 พ.ศ.2574 พ.ศ.2579พ้นื ทดี่ าเนินการสะสม (ลา้ นไร่) 0.095 0.921 4.671 9.071 14.461 20,361ประหยัดนา้ (ล้านลูกบาศกเ์ มตร) 134 1,297 6,577 12,772 13,924 6,437- จากการเพม่ิ ประสิทธภิ าพชลประทานระดบั คูสง่ น้า 92 887 4,498 8,734- จากการเปลีย่ นการใชท้ ด่ี ินตาม Agri-Map 42 410 2,079 4,038หมายเหตุ : ตงั้ แตป่ ีท่ี 21 เป็นตน้ ไป จะประหยัดนา้ ได้เท่ากับปีท่ี 20 (20,361 ล้านลกู บาศก์เมตร) จนครบอายุโครงการ ผลการประหยดั น้านี้ ควรพิจารณาวางแผนเพ่อื นานา้ ท่ีประหยัดได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในแต่ละปี เน่ืองจากถึงแม้ว่าจะสามารถประหยัดน้าได้ในแต่ละปีเป็นจานวนมาก แต่ก็ไม่สามารถกักเก็บน้าสะสมไว้ได้หากไม่มีการนาน้าที่ประหยดั ได้ไปใช้ประโยชน์อ่ืนๆ กจ็ ะเสยี โอกาสในการใชน้ า้ เพอื่ สรา้ งมูลค่าอื่นๆ ได้งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ ิน - 146 - บริษัท เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผูบ้ รหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วย : ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ตอ่ ฤดกู าลเพาะปลูกตารางท่ี 6.1-1 ความต้องการใช้นา้ ของพืชตา่ งๆ ใต้ ตะวันตก ตะวันออก เฉลย่ี พชื กลาง ต.อ.น. เหนอื 709 782 293 519นาปี (เฉล่ีย) 562 332 433 1,818 2,005 751 1,329 851 1,110 1,244 1,372 514 910ประสิทธภิ าพ 39 % 1,441 582 269 760 574 633 237 420ประสทิ ธภิ าพ 57 % 986 1,461 350 1,160 1,601 1,504 1,462 3,746 1,454 2,974 4,105 3,856 3,748ส่วนตา่ ง 455 2,563 3,728 2,035 2,809 2,639 2,564 1,183 2,551นาปรัง 1,590 291 1,177 939 1,296 1,217 1,183 746 283 309 362 243 293ประสิทธภิ าพ 39 % 4,077 511 726 792 928 623 752 235 496 542 635 426 514ประสทิ ธภิ าพ 57 % 2,789 683 230 250 293 197 238 1,751 674 633 784 714 711สว่ นตา่ ง 1,288 1,198 1,728 1,623 2,010 1,831 1,822 553 1,182 1,111 1,375 1,253 1,247พชื ไร่ (ฤดฝู น) 271 437 546 512 635 578 576 1,121 423 452 492 346 423ประสิทธภิ าพ 39 % 695 767 1,085 1,159 1,262 887 1,086 354 742 793 863 607 743ประสทิ ธภิ าพ 57 % 475 864 343 366 399 280 343 2,215 852 852 987 913 908สว่ นตา่ ง 220 1,516 2,185 2,185 2,531 2,341 2,329 699 1,495 1,495 1,732 1,602 1,594พชื ไร่ (ฤดแู ลง้ ) 776 1,745 690 690 799 739 735 4,474 1,708 1,310 1,943 1,708 1,707ประสิทธภิ าพ 39 % 1,990 3,061 4,379 3,359 4,982 4,379 4,378 1,413 2,996 2,298 3,409 2,996 2,995ประสิทธภิ าพ 57 % 1,361 1,383 1,061 1,573 1,383 1,382สว่ นตา่ ง 629พชื ผกั (ฤดฝู น) 390ประสทิ ธภิ าพ 39 % 1,000ประสทิ ธภิ าพ 57 % 684สว่ นตา่ ง 316พชื ผัก (ฤดแู ลง้ ) 982ประสิทธภิ าพ 39 % 2,518ประสทิ ธภิ าพ 57 % 1,723ส่วนตา่ ง 795ไมผ้ ล/ไมย้ นื ตน้ 1,830ประสิทธภิ าพ 39 % 4,692ประสทิ ธภิ าพ 57 % 3,211ส่วนตา่ ง 1,481ทมี่ า : ส้านักงานจัดรูปที่ดนิ กลาง 2559งานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ดี นิ - 147 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผ้บู ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 6.1-2 สรุปภาพรวมการประหยัดน้าเป็นรายภาค เมื่อพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาครบ14.461 ลา้ นไร่ การประหยดั น้า พน้ื ที่ จากการเพม่ิ จากการเปลย่ี นการใช้ทด่ี นิ รวมลา้ ดบั ภาค ดา้ เนินการ ประสทิ ธภิ าพการ ตามความเหมาะสมทกี่ า้ หนด (ลา้ นไร่) ชลประทานระดบั คสู ง่ น้า Zoning โดย Agri-map ลา้ นลกู บาศก์ ลกู บาศกเ์ มตร (ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร) (ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร) เมตร ตอ่ ไร่ 1/1 กลาง 5.125 8,000 5,091 13,092 1,2772 เหนือ 2.911 1,888 432 2,320 6133 ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2.842 1,705 344 2,049 5554 ตะวนั ออก 1.232 647 195 841 5255 ตะวนั ตก 0.706 607 171 778 8486 ใต้ 1.646 1,077 204 1,281 599 รวม 14.461 13,924 6,437 20,361 909หมายเหตุ : 1/ - ผลการคา้ นวณ ทปี่ ีที่ 20- พนื้ ทเ่ี พาะปลูกทง้ั ปีโดยเฉล่ีย- ภาคกลาง พน้ื ทเ่ี พาะปลูกฤดแู ลง้ เท่ากบั 100% ของพนื้ ทเ่ี พาะปลกู ฤดฝู น- ภาคอนื่ ๆ พน้ื ทเ่ี พาะปลูกฤดแู ล้งเทา่ กบั 30% ของพน้ื ทเ่ี พาะปลกู ฤดฝู นรปู ที่ 6.1-1 การประหยดั น้าในชว่ งแผน 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ตามขนาดพืน้ ท่ีท่พี ัฒนาสะสมเพ่ิมข้ึน ทกุ ๆ ปี จนครบ 14.461 ลา้ นไร่งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดิน - 148 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ รหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์6.1.3 การประหยัดนา้ จากการเปล่ียนเกณฑ์คา่ ชลภาระคสู ่งน้านอกการประหยดั น้าที่ไดจ้ ากการเพิม่ ประสิทธิภาพการชลประทานระดบั คสู ่งนา้ และการเปล่ียนการใช้ท่ีดินตามความเหมาะสมในการปลูกพืชของดินโดยการใช้ Agri-map หรือแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แล้ว การเปล่ียนเกณฑ์ค่าชลภาระโดยเฉพาะค่าชลภาระสาหรับการปลูกข้าวให้ลดลง จะประหยัดนา้ เพ่ิมได้อกีจากเอกสารคู่มือการออกแบบระบบชลประทานในแปลงนาของคณะทางานจัดทาแบบมาตรฐานระบบชลประทานในแปลงนา กรมชลประทาน พ.ศ.2544 ได้กลา่ วถงึ การคานวณหาค่าชลภาระ ดังน้ี1) การคานวณหาปริมาณน้าเพ่ือการออกแบบ ควรจะคิดจากปริมาณการใช้น้าสูงสุดของข้าวขณะเจรญิ เตบิ โตในช่วงแลง้ ทส่ี ดุ2) ความต้องการใช้น้าสูงสุดของข้าวในฤดูแล้งจะเป็นความลึกประมาณ 10 มิลลิเมตร/วัน ซึ่งไดม้ าจาก Evapotranspiration รวมกับ Deep Percolation3) เปาู หมายของการส่งน้า คอื การใหน้ า้ แตล่ ะแปลงครงั้ ละ 70 มิลลิเมตร เพื่อให้ข้าวใช้น้าไปจนครบสปั ดาห์4) ถา้ ต้องการ Soaking เพื่อไถครั้งแรกและเตรียมแปลงกล้าอาจให้น้าเข้าแปลงนาเพียง 1/3 ของพน้ื ทีน่ าทง้ั หมด จะใช้น้า 70 x 3 = 210 มลิ ลเิ มตร ซ่งึ เพียงพอสาหรับ Soaking และไถ 1/3 ของพ้ืนที่ท้ังหมดให้เสรจ็ ในหนึ่งสปั ดาห์ โดยสามารถไถคร้งั แรกเสรจ็ ใน 3 สปั ดาห์ ซง่ึ กล้าจะโตพอท่ีปักดาไดใ้ นสัปดาหท์ ี่ 45) การปักดาจะใช้วธิ กี ารใหน้ า้ เหมือนให้น้าเพื่อเตรยี มไถ (Soaking) ไปจนเสรจ็6) ต้องกาหนดรอบเวรในการส่งน้าให้แน่นอน แต่ในกรณีท่ีมีฝนตกก็สามารถเปล่ียนแปลงปรมิ าณนา้ ทีจ่ ะส่งให้น้อยลงได้จากแนวคดิ ดังกล่าวขา้ งต้น สามารถคานวณเปน็ ค่าชลภาระในแปลงนาได้ดังน้ี (1) ขา้ วต้องการนา้ สูงสุด 10 มลิ ลิเมตร/วนั เท่ากบั 0.01 เมตร/วัน (2) พน้ื ที่ส่งนา้ 1 ไร่ เทา่ กับ 1,600 ตารางเมตร (3) พืน้ ที่ 1 ไร่ ตอ้ งการนา้ เท่ากบั 1,600 x 0.01 เท่ากบั 16 ลกู บาศกเ์ มตร/วนั (4) ถ้า Conveyance efficiency เท่ากับ 0.80 ต้องการน้าเท่ากับ 16/0.80 เท่ากับ 20 ลูกบาศกเ์ มตร/วัน (5) เปน็ คา่ ชลภาระในแปลงนา (Water Duty) = 20 / (24 x 60 x 60) ลกู บาศก์เมตร/วนิ าที/ไร่ = 0.00023 ลูกบาศกเ์ มตร/วินาที/ไร่ = 0.23 ลิตร/วนิ าที/ไร่จากค่าชลภาระที่คานวณได้ข้างต้น ส่วนออกแบบระบบชลประทานในแปลงนามีความเห็นว่าปริมาณน้าสูงสุดที่จะมากาหนดขนาดคูส่งน้าน้ัน จะต้องพิจารณาท้ังกรณีความต้องการใช้น้าสูงสุดในระยะที่พืชใช้น้าน้อย เพ่ือการเจริญเติบโตและความต้องการใช้น้าเพ่ือการเตรียมแปลง ซึ่งใช้ปริมาณน้ามากกว่าแต่เป็นระยะสน้ั ๆ เพียง 20-30 วันเท่านั้น จึงสรุปได้ว่า ค่าชลภาระ 0.23 ลิตร/วินาที/ไร่ เป็นค่าที่เหมาะสมในการนามาใช้คานวณออกแบบระบบชลประทานในแปลงนาแนวคิดข้างต้นน้ี เป็นเพียงแนวทางเพื่อใช้ในการออกแบบค่าชลภาระเท่านั้น ซ่ึงแต่ละโครงการก็จะมีการปรับค่าชลภาระแตกต่างกันไป ข้ึนอยู่กับตัวแปรต่างๆ ได้แก่ ชนิดพืช ฤดูกาล ปริมาณฝน ลักษณะเน้ือดินวธิ ีการจดั แปลงเพาะปลูก การไถคราดและพรวนดิน วิธีการส่งน้า ความชานาญของผู้ใช้น้า การร่ัวซึมต่างๆ ในงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี นิ - 149 - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แปลงเพาะปลูก และประสิทธิภาพของการชลประทาน ยกตัวอย่างเช่น โครงการส่งน้าและบารุงรักษาหนองหวาย ที่มีการรูปที่ดินเกือบเต็มพื้นท่ีและมีการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งเกือบเต็มพ้ืนท่ี มีการกาหนดค่าชลภาระสาหรับพื้นท่ีต้ังแต่ประมาณ 21,000 ไร่ขึ้นไป เท่ากับ 0.146 ลิตร/วินาที/ไร่ พื้นที่ 12,500 ไร่ เท่ากับ 0.160ลติ ร/วินาท/ี ไร่ พ้นื ที่ 5,000 ไร่ เทา่ กบั 0.213 ลิตร/วนิ าที/ไร่ เปน็ ต้น วชิ ัย (2549) กล่าววา่ ส่งิ ทีท่ าใหค้ า่ ชลภาระผนั แปร มี 10 ประการ ซงึ่ จะอธบิ ายโดยสรปุ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. พืช พืชแต่ละชนิดมีการใช้น้าแตกต่างกัน และแต่ละระยะความเติบโตต่างๆ หรือแต่ละระยะของการเพาะปลูกก็มีการใช้น้ามากน้อยไม่เหมือนกันอีกด้วย เช่น ข้าวมีการใช้น้ามากกว่าพืชไร่และผลไม้ในช่วงการเจริญเติบโตต่างๆ ของการปลูกข้าวน้ัน ระยะต้ังท้องออกดอกของข้าวใช้น้ามากกว่าระยะข้าวตั้งตัวหรือระยะแตกกอหรือระยะสร้างผลผลิต และในการปลูกข้าวนั้นชว่ งเตรียมแปลงไถนามีอัตราการใช้น้ามากกว่าช่วงข้าวตง้ั ท้องออกดอก ดังน้นั โครงการชลประทานทีส่ รา้ งขน้ึ ตา่ งๆ จงึ ตอ้ งวางจุดประสงค์ไว้ล่วงหน้าว่าจะปลูกพืชชนดิ ใดบ้าง เพื่อจะไดก้ าหนดค่าชลภาระใหถ้ ูกต้อง แล้วนาไปกาหนด Design Criteria เพ่ือหาค่าชลภาระไว้ใช้ในการออกแบบระบบชลประทานได้ถูกต้องตอ่ ไป 2. ฤดูกาล ฤดูกาลเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้พืชใช้น้ามากน้อยต่างกัน ในฤดูกาลหน่ึงๆ อุณหภูมิความชื้นของอากาศ ตลอดจนความกดดัน และความเคล่ือนไหวของอากาศหรือลม ย่อมแตกต่างกันได้มากเป็นปัจจัยให้อัตราการระเหยของน้าและการคายน้าของพืชผันแปรไป ซ่ึงหมายถึงค่าชลภาระก็จะต้องผันแปรตามไปด้วย 3. ฝน ปริมาณฝนที่ตกลงมาและถูกใช้งานได้เป็นประโยชน์จริงต่อพืชในแปลงเพาะปลูก ย่อมกระทบกระเทือนต่อค่าชลภาระเห็นได้ชัด กล่าวคือถ้ามีน้าฝนท่ีเป็นประโยชน์จริงต่อพืชมาก ความต้องการน้าชลประทานก็ย่อมน้อยลง เหตุท่ีต้องใช้คาว่าฝนที่ใช้งานได้เป็นประโยชน์จริง (Effective Rainfall) เพราะในกรณีท่ีฝนตกลงมามากๆ นั้น ดินมีความสามารถในการดูดซึมน้าฝนไว้ได้ส่วนหนึ่งเท่าน้ัน น้าฝนส่วนท่ีเกินก็จะไหลออกจากผิวดินไปอยู่ที่อ่ืนๆ ที่มีระดับต่ากว่า ซึ่งน้าฝนจานวนนี้ไม่ถูกใช้การให้เป็นประโยชน์ต่อพืชจริงสาหรับในนาข้าวน้ันหากมีการสร้างคันนา ก็อาจใช้เก็บกักน้าฝนไว้ได้เพิ่มอีกส่วนหน่ึง แต่เม่ือน้าฝนเอ่อสูงเกินสันคันนา ก็ต้องไหลเลยออกไปเหมือนกัน ดังนั้นในการปลูกพืชชนิดหนึ่งๆ หากมีฝนตกลงมาน้อยก็มีการใช้น้าฝนได้เป็นเปอร์เซ็นต์มาก และในทางตรงกันข้ามหากมีฝนตกลงมามากก็จะมีการใช้น้าฝนได้เป็นเปอร์เซ็นต์น้อยเช่นกัน ซึ่งค่าน้าฝนท่ีใช้งานได้เป็นประโยชน์จริง (Effective Rainfall ) น้ี สามารถหาได้จากการทดลองการเก็บข้อมลู หรือการวิเคราะห์ในทางวิทยาศาสตรต์ ่อไป 4. ลกั ษณะเนื้อดิน เนื้อดินในเขตส่งน้าจะเกี่ยวข้องกับค่าชลภาระในด้านที่เก่ียวกับการดูดซึมน้าการสูญเสียปริมาณน้า โดยการดูดซึม การร่ัวซึม และการระเหยของน้าจากผิวดิน ข้ึนกับลักษณะของเน้ือดินโดยตรง ดินท่หี ยาบและโปร่งน้าย่อมรั่วไหลไปได้มาก ทาให้ค่าชลภาระมีค่ามากขึ้น ส่วนดินที่มีเศษซากอินทรียสารผสมอยูม่ ากก็สามารถดูดซึมน้าเก็บไวใ้ ชไ้ ด้มากข้ึน สง่ ผลให้คา่ ชลภาระมคี ่าลดลงได้ 5. วิธีจดั แปลงเพาะปลูก ย่อมกระทบกระเทอื นถึงการใชน้ า้ ไดม้ ากเช่นกัน เช่น แปลงนาท่ีไม่มีคันนาน้าย่อมเสยี ไปโดยการไหลไปสูท่ ี่อ่ืนทีต่ า่ กวา่ ไดม้ าก แต่ถ้ามีคันนาเก็บกักน้าไว้ก็ย่อมจะใช้น้าเป็นประโยชน์ได้มากข้ึน นอกจากน้ันการปรับระดับพ้ืนท่ีในแปลงเพาะปลูกให้เป็นระดับเดียวกันก็จะใช้น้าได้ดีขึ้น เพราะน้าจะเฉลี่ยได้ท่ัวถึง แต่ถ้าไม่ได้ปรับระดับผิวดินแล้ว น้าจะไปขังแต่เฉพาะท่ีต่า หากจะให้ที่สูงกว่าได้รับน้าก็ต้องเพิ่ มนา้ มากขึน้ อีก ดงั น้เี ปน็ ต้น 6. การเขตกรรม หมายถึง การไถคราดและพรวนดินในแปลงเพาะปลูก เป็นการทาให้ดินร่วนโปร่ง ซึ่งจะส่งผลให้ดินสามารถดูดซึมน้าไว้ให้พืชได้มากขึ้น ความสูญเสียน้าในแปลงเพาะปลูกก็มีน้อยลง เป็นงานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทีด่ นิ - 150 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การชว่ ยลดค่าชลภาระในตวั 7. วิธีการส่งน้า การส่งน้าโดยวิธีต่างๆ ย่อมสิ้นเปลืองน้าต่างกันมาก เช่น การส่งน้าเรียงตามลาดบั เวลาให้ผู้ใช้น้าเร่ิมทาการเพาะปลูกในช่วงต่างเวลาเรียงตามลาดับกันไปน้ัน ย่อมใช้น้าเพียงส่วนหน่ึงซง่ึ น้อยกวา่ การทตี่ ้องจะต้องส่งน้าให้พ้ืนที่เพาะปลูกในเวลาพร้อมกันเต็มเน้ือที่ การส่งน้าแบบแรกจะช่วยให้ค่าชลภาระตา่ ลง ดังนั้นการกาหนดค่าชลภาระต้องพิจารณาถึงวิธกี ารส่งน้าดว้ ย 8. ความชานาญของผู้ใช้น้า ความชานาญและความประหยัดของผู้ใช้น้า นับเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งท่ีส่งผลกระทบต่อปริมาณน้าที่จะส่งไปในคลอง ผู้มีความชานาญย่อมพยายามใช้น้าให้เกิดประโยชน์และโดยประหยัดท่ีสุด และทราบความต้องการใช้น้าของพืชเป็นอย่างดี ว่าพืชระยะใดต้องการใช้น้ามากน้อยเพียงใด และจะส่งน้าให้แก่พืชเพียงเท่าที่ต้องการเท่านั้น ส่วนผู้ไม่ชานาญย่อมเกรงไปว่าน้าท่ีส่งไปน้ันจะไม่เพยี งพอกบั ความต้องการของพชื ทาใหส้ ง่ นา้ มากเกินความต้องการไปก็ได้ 9. การรั่วซึมต่างๆ ในแปลงเพาะปลูก การร่ัวซึมพวกนี้ ได้แก่ ค่าการรั่วซึมแบบ Percolationเช่น ในการให้น้าในแปลงนาปลูกข้าว การร่ัวซึมของระบบแพร่กระจายน้าในแปลงนา โดยท่ัวจะมีการรักษาระดับน้าไว้ให้สูงกว่าผิวดินประมาณ 5 เซนติเมตร การทาเช่นนี้จะทาให้ดินใน Root Zone ท่ีปลูกข้าวอยู่มีสภาพอิ่มตัวอยู่ตลอดเวลาเสมอ และแน่นอนหากมีน้ากดทับเหนือ Root Zone อยู่ 5 เซนติเมตร ก็ทาให้เกิดการร่ัวซึมแบบ Percolation ได้ค่าหนึ่ง แต่หากมีการรักษาระดับน้าไว้ให้สูงกว่าผิวดินเกินกว่า 5 เซนติเมตร(เช่น 6, 7, 8…. เรื่อยไปจนบางแห่งใช้ถึง 20 เซนติเมตร) ผลก็คือระดับน้าที่สูงขึ้น ก็จะทาให้เกิดค่าการรั่วซึมแบบ Percolation มากขึ้น อีกกรณีหน่ึงคือการให้น้าแบบปล่อยท่วม (Flooding Irrigation) หรือแบบร่องคู(Furrow Irrigation) ซ่ึงแปลงเพาะปลูกมีความยาวมากๆ ในการส่งน้าให้ถึงท้ายแปลง ซึ่งอยู่ไกลจะต้องมีการอดั น้าจานวนมากและใช้เวลานานกว่าแปลงเพาะปลูกสั้นๆ มาก ซึ่งในการทาลักษณะน้ีก็จะทาให้เกิดการรั่วซึมทบ่ี รเิ วณต้นแปลงเพาะปลูกข้นึ กว่าปกติ เม่ือมกี ารการร่ัวซึมในแปลงเพาะปลูกมากเกินไปค่าชลภาระก็จะมีมากขึน้ ด้วย 10. การควบคุมประสทิ ธภิ าพของการชลประทาน ประสิทธิภาพของการชลประทานแบ่งได้ดังนี้ - Application Efficiency (Ea) หมายถึง ประสิทธิภาพของการใช้น้าของพืชในแปลงนา ซึ่งข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น คุณสมบัติทางกายภาพของดิน การกระจายน้าในแปลงเพาะปลูก ชนิดของพืช และความชานาญของผ้ใู ช้นา้ เป็นตน้ - Operation Efficiency (Eo) หมายถงึ ประสิทธิภาพในการส่งน้า ซ่ึงข้ึนอยู่กับวิธีการสง่ นา้ ชลประทานต่างๆ - Convenyance Efficiency (Ec) หมายถงึ ประสิทธภิ าพของระบบส่งน้าชลประทานซง่ึ ขน้ึ อยู่กบั การรว่ั ซึมและระเหยในคลองสง่ นา้ และระบบสง่ น้า เป็นต้น การควบคุมประสิทธิภาพของการชลประทานนี้มีผลต่อค่าชลภาระเป็นอย่างมาก เพราะถ้าประสทิ ธิภาพของการชลประทานมีคา่ ตา่ ก็จะหมายความว่าเกิดการสูญเสียน้าชลประทานในระหว่างการให้น้าชลประทานมาก ค่าชลภาระก็จะเพิ่มข้ึน และค่าประสิทธิภาพของการชลประทานน้ีขึ้นกับ Factor ต่างๆ มากจะต้องทาการทดลองหาคา่ จรงิ เปน็ แหง่ ๆ หรอื โครงการๆ ไปงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ทดี่ นิ - 151 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาของภัทวี (2547) ได้ศึกษาค่าความสามารถในการส่งน้า (Deliveryperformance ratio: DPR) ระหวา่ งพื้นทที่ ี่ทาการจัดรูปทีด่ ินและพ้ืนท่ีนอกเขตการจัดรูปท่ีดิน ในเขตโครงการส่งน้าและบารุงรักษากาแพงแสน พบว่า ค่า DPR ของพ้ืนที่จัดรูปที่ดินเท่ากับ 1.91 เม่ือเทียบกับพ้ืนท่ีนอกเขตจัดรูปท่ีดินซ่ึงเท่ากับ 2.83 (ค่า DPR เท่ากับหรือมากกว่า 1 หมายถึง ส่งน้าให้พืชเพียงพอ แต่ถ้ามากกว่า 1มากๆ แสดงว่าส่งน้ามากกว่าความต้องการมาก มีความสูญเสียมาก) ซึ่งทั้งพื้นที่จัดรูปที่ดินและนอกเขตจัดรูปที่ดินก็ถือว่าส่งนา้ ใหม้ ากเกนิ ไป มคี วามสูญเสยี มาก จะเห็นไดว้ า่ ในเขตพื้นทีจ่ ดั รปู ท่ดี ิน ถึงแม้จะมีประสิทธิภาพการชลประทานสงู ขน้ึ เปน็ 57% จาก 39% แต่ค่าความสามารถในการสง่ นา้ เทา่ กับ 1.91 ก็ยังแสดงให้เห็นว่าส่งนา้ มากกวา่ ความต้องการ เนอื่ งจากใชเ้ กณฑ์การออกแบบค่าชลภาระ (Water duty) สูงไป หากลดเกณฑ์ค่าชลภาระลง กส็ ามารถประหยัดนา้ ไดอ้ ีก ตัวอย่างการประหยัดน้าจากการลดเกณฑ์ค่าชลภาระลง โดยเปรียบเทียบค่าชลภาระ 0.23 ลิตร/วินาที/ไร่ ซึง่ เป็นค่าทสี่ ว่ นออกแบบระบบชลประทานในแปลงนามคี วามเห็นว่าเหมาะสมในการนามาใช้คานวณออกแบบระบบชลประทานในแปลงนา กับค่าชลภาระของโครงการส่งน้าและบารุงรักษาหนองหวาย ในการปลูกข้าวท่ีมีระยะการเจริญเติบโต 110 วัน (ข้อมูลจากรายงานปริมาณความต้องการใช้น้าของพืช กลุ่มมาตรฐานวางโครงการ สานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน มิถุนายน พ.ศ.2544) หากดาเนินการตามแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน พ้ืนท่ีดาเนินการรวม 14.461 ล้านไร่ และมีการลดเกณฑ์ค่าชลภาระให้เหมาะสมก็ประหยดั นา้ ได้อีก ดังน้แี สดงในตารางที่ 6.1-3 และตารางที่ 6.1-4ตารางที่ 6.1-3 การประหยัดนา้ จากการลดคา่ เกณฑช์ ลภาระคา่ ชลภาระจากคมู่ อื การออกแบบ คา่ ชลภาระของโครงการสง่ น้า ผลตา่ ง ระบบชลประทานในแปลงนา1) และบา้ รุงรักษาหนองหวาย1)ลติ ร/วนิ าที/ไร่ ลติ ร/วนิ าที/ไร่ ลิตร/วนิ าที/ไร่ ลกู บาศกเ์ มตร/วนั /ไร่ 2)0.23 0.146 0.084 7.2580.23 0.160 0.070 6.0480.23 0.213 0.017 1.469หมายเหตุ 1) ขอ้ มูลจากเอกสารคมู่ ือการออกแบบระบบชลประทานในแปลงนา ของคณะท้างานจัดท้าแบบมาตรฐานระบบชลประทานในแปลงนา กรมชลประทาน 25442) สง่ น้า 24 ชว่ั โมงงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ดี ิน - 152 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 6.1-4 การประหยัดนา้ จากการลดค่าชลภาระ หากดาเนินการตามแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน พ้ืนท่ี14.461 ล้านไร่ แยกเปน็ รายภาค ประหยดั นา้ (ล้านลูกบาศกเ์ มตร)ล้าดับ ภาค พืน้ ทดี่ ้าเนนิ การ เม่อื ปลูกข้าวอายุ 110 วนั 1) จากผลต่างของค่าชลภาระทลี่ ดลง (ล้านไร)่ 0.23 ลดเปน็ 0.146 0.23 ลดเปน็ 0.16 0.23 ลดเปน็ 0.2131 กลาง 5.125 4,091.42 3,409.51 828.022 เหนือ 2.911 2,323.82 1,936.52 470.303 ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2.842 2,268.89 1,890.74 459.184 ตะวนั ออก 1.232 983.21 819.34 198.985 ตะวนั ตก 0.706 563.36 469.47 114.016 ใต้ 1.646 1,314.03 1,095.03 265.94 รวม 14.461 11,544.73 9,620.61 2,336.43หมายเหตุ 1) ขอ้ มูลจากรายงานปรมิ าณความตอ้ งการใชน้ ้าของพชื กลมุ่ มาตรฐานวางโครงการ สา้ นกั บริหารโครงการ กรมชลประทาน มิถนุ ายน พ.ศ.25442) สง่ น้า 24 ชวั่ โมง ตลอดฤดกู าลเพาะปลกู ของขา้ วทมี่ ีระยะเจรญิ เตบิ โต 110 วนั6.2 การเพม่ิ ผลผลติ และลดต้นทนุ การผลิต ผลสัมฤทธิ์ของแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามวิสัยทัศน์ที่วางไว้อีกประการหนง่ึ คอื รายไดส้ ทุ ธิต่อครัวเรือนทีเ่ พ่ิมขึ้น อันเป็นผลมาจากการเพิ่มผลผลิตและการลดต้นทุนการผลิตของการทาเกษตรกรรม ซ่ึงการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาเป็นแนวทางที่ครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการเพาะปลูกจนถงึ การตลาด ได้แก่ ลดค่าใช้จา่ ยปัจจัยการผลติ เพ่ิมผลผลิตต่อไร่ ด้านการตลาด และด้านการบริหารจัดการโดยมีแผนปฏิบัติงานและกลไกในการขับเคล่ือนท่ีชัดเจนเป็นรูปธรรมและมีเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการดาเนินงาน โดยสนับสนุนให้รวมกลมุ่ ในการผลิตเพื่อร่วมกันจัดหาปัจจัยการผลิตท่ีมีคุณภาพดีราคาถูก สามารถสรปุ ได้ดังน้ี6.2.1 การเพมิ่ ผลผลติ แนวทางหนงึ่ ในการเพมิ่ รายไดส้ ทุ ธิตอ่ ครวั เรอื น คือ การเพิ่มผลผลติ ทางการเกษตร ซ่ึงเป็นท่ีทราบกันดีวา่ การเจริญเตบิ โตของผลผลติ ของพชื ทีป่ ลกู ในดนิ ซ่ึงมีความอดุ มสมบรู ณ์สูงอาจลดลงอย่างมากเพียงพืชขาดน้าเลก็ นอ้ ยหรอื ขาดน้าระยะใดระยะหนึ่งของการเจริญเตบิ โตเท่านน้ั ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการเพิ่มผลผลติ ไดแ้ ก่ 1. ปริมาณน้าที่ได้รับเพียงพอ มีผลต่อการเพ่ิมผลผลิตของพืชได้สูงสุด และลดความเสี่ยงความ เสียหายของผลผลิตเนอื่ งจากการขาดนา้ 2. ปรมิ าณนา้ ท่ไี ด้รบั เพียงพอทาใหด้ ินมีความอดุ มสมบูรณ์ ดินดี ไม่แน่น มีความร่วนซุย รวมถึงมีการ สง่ เสริมการบารงุ ดิน สง่ ผลใหพ้ ชื ไดผ้ ลผลิตสงู ขน้ึ 3. เม่ือมีน้าอุดมสมบูรณ์ สามารถปลูกพืชได้หลายชนิดตลอดทั้งปี ทาให้มีผลผลิตท่ีมากข้ึนและงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี ิน - 153 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook