Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.4บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน20ปี

1.4บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน20ปี

Published by tooncreed, 2018-06-18 05:48:00

Description: -

Search

Read the Text Version

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดบั นโยบาย ยุทธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน ตัวช้วี ดั 2.4 ประสทิ ธภิ าพการใชน้ ้าทง้ั ภาคการ4 ยทุ ศาสตรก์ ารบรหิ ารจัดการ บริโภค ทรพั ยากรน้า (พ.ศ.2558- 5. การเสรมิ สร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒ 2569) ม่นั ค่งั และยง่ั ยืน 6. การบริหารจดั การในภาครัฐ การปูองกันการท และธรรมาภิบาลในสังคมไทย 7. การพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจสิ ต 8. การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และ 9. การพัฒนาภาค เมือง และพน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ 10. ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพ่ือการพัฒนา 1. การจดั การน้าอุปโภคบรโิ ภค 2. การสร้างความมัน่ คงของน้าภาคการผลติ กลยุทธ์ท่ี 3 การเพ่ิมประสิทธภิ าพโครงการแห ชลประทานเดิม เปาู หมายท่ี 2 เพิม่ ประสิทธิภาพโครงการอย่าง เปาู หมายท่ี 3 ลดความต้องการใชน้ ้าในเขตอย 3. การจัดการน้าทว่ มและอทุ กภัย 4. การจดั การคุณภาพน้า 5. การอนรุ ักษฟ์ ืน้ ฟูสภาพปุาต้นน้าที่เสื่อมโทรมแ พังทลายของดิน 6. การบรหิ ารจัดการงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปทด่ี นิ - 25 -

รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ รหิ ารสตร์ ความสอดคล้องรผลติ และการฒนาประเทศสคู่ วามทุจรติ ประพฤติมชิ อบตกิ ส์ะนวัตกรรมา ความสอดคล้องในภาพรวม การจดั ระบบชลประทานในไร่นาที่มีการบริหารจดั การนา้ ท่ีมีหลง่ นา้ และระบบ ประสิทธิภาพจะมีผลทาให้ประหยดั นา้ ได้จานวนมาก การงน้อยร้อยละ 10 ประหยัดนา้ เพ่ือการเกษตรรอ้ ยละ 10 จะทาใหม้ ีนา้ เหลือเพ่ือยา่ งน้อยร้อยละ 10 การอุปโภคบริโภค เพื่อระบบนเิ วศ เพ่อื การอุตสาหกรรม ฯลฯ (สอดคล้องกับขอ้ 2) และแผนการบรหิ ารจดั การจะสอดคล้อง กับข้อ 6และปูองกันการ- บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน จัดท่ดี นิ ให้แก่ผยู้ ากไรโ้ ดยไมใ่ ห้กรรมสิทธิ์ แต่อนญุ5 นโยบายทด่ี ินแห่งชาติ (พ.ศ. ประโยชนใ์ นที่ดนิ ของรฐั เป็นกล่มุ หรือชุมชน 2557)6 ยุทธศาสตรก์ ระทรวงเกษตร 1. การสรา้ งความเข้มแข็งใหก้ ับเกษตรกรและสถ และสหกรณ์ (พ.ศ. 2560- ตวั ชวี้ ัด 1 ความผาสุกของเกษตรกรเพ่มิ ขึ้น ร้อ 2579) หมายเหตุ : จากรายงานดชั นคี วามผาสกุ ของเ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ด้านเศรษฐกิจ คอื รายได้ของครัวเรอื น ตวั ชวี้ ัด 4 สถาบนั เกษตรกรทั้งหมดมีความเข้ม มาตรฐาน ร้อยละ 95 ตวั ช้วี ดั 5 จานวนเกษตรกรท่เี ปน็ สมาชกิ สถาบ จานวนสมาชกิ สหกรณ์ภาคการเกษตรและกล ล้านราย และจานวนสมาชิกวิสาหกจิ ชุมชนดา้ ลา้ นราย (40,000 กลุ่ม) 2. การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตและยกระดบั มา 3. การเพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขันภาคการเ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม 4. การบรหิ ารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสง่ิ สมดุลและย่ังยนื ตวั ช้วี ัด 4 พืน้ ทเ่ี กษตรกรรมย่ังยนื เพิ่มข้ึนเปน็ 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการภาครฐังานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทด่ี ิน - 26 -

รายงานสรปุ สาหรับผู้บรหิ ารสตร์ ความสอดคล้องญาตใหเ้ ข้าทา ความสอดคล้องในภาพรวม ถ้านาที่ดินของรัฐมาจัดระบบชลประทานในไรน่ า ผู้ยากไร้ถาบนั เกษตรกร สามารถเข้าทาประโยชน์ ทาใหท้ ่ดี ินมคี ุณคา่ ทางการผลิตอยละ 95เกษตรกร ปี 2553 ความสอดคล้องในภาพรวมจ ตัวช้ีวดั ที่เก่ียวขอ้ ง • จากรายไดท้ ีเ่ พม่ิ ข้ึน สามารถปรับปรงุ ที่อยู่อาศยั ส่งบตุ รมแข็งในระดับ หลานไปศกึ ษาให้สูงข้นึ ซื้ออุปกรณเ์ พ่อื การเกษตรและ ส่ิงจาเปน็ สาหรบั ครวั เรอื น มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ขี ้ึนบันเกษตรกร ไดแ้ ก่ • ทาให้เกดิ ความเจรญิ และความสงบสุขในท้องถิ่นดีขึ้น วัดและลุ่มเกษตรกร 8.10 โรงเรียนในเขตจัดรปู ทีด่ ินและบริเวณใกล้เคียงเจริญขึ้น มผี ลานการเกษตร 0.60 ใหเ้ สถียรภาพของประเทศดขี ึ้นตามไปด้วย • ขจัดปญั หาเรื่องการแก่งแย่งน้าระหวา่ งเกษตรกรด้วยกันเองาตรฐานสินคา้ • ทาใหท้ ีด่ ินมคี ุณคา่ ทางการผลติ สูงขน้ึ เกษตรกรเจ้าของที่ดินเกษตรดว้ ย สามารถรกั ษาทดี่ ินเปน็ กรรมสทิ ธิ์ได้ และเกิดการหวงแหน ที่ดินงแวดล้อมอยา่ ง • เกษตรกรในเขตจัดรูปท่ดี ินมีการรวมกล่มุ กัน เปดิ โอกาสการ ไดร้ บั บรกิ ารดา้ นวิทยาการเกษตรแผนใหม่ ดา้ นสหกรณแ์ ละ สนิ เช่ือเพือ่ การเกษตรดีขน้ึ เพราะเป็นเขตทีม่ คี วามแน่นอน ทางการผลติ10 ล้านไร่- บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน 1. สร้างความเข้มแขง็ ให้กบั เกษตรกรและสถาบัน7 แผนพฒั นาการเกษตรของ เปาู หมายที่ 1 เกษตรกรมีรายได้เงนิ สุดสุทธิทา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น 59,460 บาทต่อครัวเรือน ในปี 2564 (พ.ศ. 2560-2564) เปูาหมายท่ี 3 พนื้ ท่ีการทาเกษตรกรรมยง่ั ยนื เ ในปี 25648 นโยบายรฐั มนตรีว่าการ ตวั ชว้ี ัด 1 รายไดเ้ งนิ สดสทุ ธิทางการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัวชว้ี ดั 2 จานวนพนื้ ท่ีการทาเกษตรกรรมยง่ั ย (พ.ศ.2559) 2. เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การสินค้าเกษ 3. เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ภาคการเกษต และนวตั กรรม 4. บรหิ ารจัดการทรัพยากรการเกษตรและส่งิ แวด และยงั่ ยืน 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การภาครฐั 1. ลดต้นทนุ และเพิ่มโอกาสทางการแข่งขันสินค้า 2. การบรหิ ารจดั การพน้ื ท่เี กษตรกรรม (Zoning 3. ระบบส่งเสรมิ การเกษตรแปลงใหญ่ 4. เกษตรอนิ ทรีย์ 5. ศูนยเ์ รียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลติ สินค 6. ธนาคารสินคา้ เกษตรงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปที่ดนิ - 27 -

รายงานสรปุ สาหรับผ้บู รหิ ารสตร์ ความสอดคล้องนเกษตรกร ความสอดคล้องในภาพรวมางการเกษตรเพิม่ ขึน้ กิจกรรมการบรหิ ารจัดการท่ีเสนอในแผนแม่บทการจดั รปู ที่ดนิ จะสอดคล้องกบั ทกุ ยุทธศาสตร์พมิ่ ขึ้นเปน็ 5 ลา้ นไร่ยนืษตรตลอดโซ่อปุ ทานตรดว้ ยเทคโนโลยีดล้อมอย่างสมดุลาเกษตร ความสอดคล้องในภาพรวมg) การพัฒนาโครงการจดั ระบบชลประทานในไร่นาภายใตแ้ ผนคา้ เกษตร แมบ่ ทน้ี จะมกี ารบูรณาการการบริหารจัดการให้บรรลุ เปาู ประสงค์ของโครงการในการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทนุ การ- ผลิต การจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทดี่ ิน ได้พจิ ารณานโยบาย การบริหารจดั การพื้นท่เี กษตรกรรม ระบบสง่ เสรมิ การเกษตร แปลงใหญ่ เกษตรอนิ ทรยี ์ และศูนยเ์ รียนรกู้ ารเพ่ิม ประสิทธิภาพการผลิตสินคา้ เกษตรแลว้ บรษิ ทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดบั นโยบาย ยุทธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน9 นโยบายการบริหารจดั การ 1. การใช้ประโยชน์พ้ืนที่ดนิ ต้องเปน็ แบบ Maxim พ้ืนทเ่ี กษตรกรรมของประเทศ ทรัพยากรที่ดนิ มจี ากดั (พ.ศ.2557) 2. การบรหิ ารจัดการต้องเปน็ แบบ Modernizati ให้ทนั สมัยและมคี ุณภาพสงู โดยใช้เทคโนโลยีต 3. การผลติ ต้องเป็นแบบ Precision farming Syste แมน่ ยาทัง้ ปรมิ าณคุณภาพมาตรฐานและวนั เวลา 4. ตอ้ งมีการบริหารจัดการพนื้ ท่ีอย่างมปี ระสิทธิภ activity) โดยผวู้ ่าราชการจังหวดั เป็นผู้นาในกา 5. การผลติ ต้องคานึงถึง Demand และ Supply10 นโยบายปฏริ ูปการเกษตร 1. โครงการบรหิ ารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกจิ สา ประเทศไทย (พ.ศ.2556- สาคัญ (Zoning) 2561) 2. โครงการเมอื งเกษตรสีเขยี ว (Green agricult 3. โครงการพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart farmer 4. โครงการส่งเสริมการใช้เคร่ืองจักรกลการเกษตรทงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ที่ดนิ - 28 -

รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารสตร์ ความสอดคล้องmization เนื่องจาก ความสอดคล้องในภาพรวม รปู แบบการเพาะปลูก (Cropping Model) ทเ่ี สนอในแผนion ต้องมีการปฏริ ปู แม่บทการจดั รูปทีด่ ิน จะสอดคลอ้ งกับนโยบายขอ้ 1, 2, 3 และตา่ งๆ เข้ามาชว่ ย 5 องค์กรขบั เคลื่อนแผนแมบ่ ทการจดั รูปทีด่ ินทเ่ี สนอจะems คอื มีความ สอดคลอ้ งกับข้อ 4าท่ผี ลผลติ ออกสตู่ ลาดภาพ (Land basedารบรหิ ารจดั การพ้ืนท่ีyาหรับสินคา้ เกษตรท่ี ความสอดคล้องในภาพรวม รปู แบบการเพาะปลูก (Cropping Model) ท่ีเสนอในแผนture city) แมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี นิ จะสอดคล้องกับการบริหารจดั การเขต เศรษฐกิจสาหรับสนิ คา้ เกษตรทสี่ าคัญ (Zoning) และกิจกรรมทดแทนแรงงานเกษตร การเสรมิ สรา้ งความสามารถใหเ้ กษตรกรในการบรหิ ารจัดการ จะสอดคล้องกับนโยบายขอ้ 2, 3 และ 4 และพื้นที่จัดรูปทีด่ ิน จะมคี วามเหมาะสมในการปลกู พืชเศรษฐกิจ (ข้อ 1)- บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดับ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน11 นโยบายแผนท่ีเกษตรเพ่ือการ 1. เปน็ แผนทส่ี าหรบั บรหิ ารจดั การการเกษตรราย บริหารจัดการเชงิ รกุ (Agri- สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั และในอนาค Map) (พ.ศ.2559) การผลติ อุปสงคแ์ ละอุปทาน 2. มี 2 ระดับ คอื ระดับจงั หวัด (นโยบายและกา ระดบั ศูนย์เรียนร้เู พิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิตสิน ศนู ย์ (ปฏบิ ัตกิ าร)12 ยุทธศาสตรก์ รมชลประทาน 1. การพฒั นาแหล่งนา้ และเพ่ิมพน้ื ท่ชี ลประทานต (พ.ศ.2560-2564) ลกั ษณะลมุ่ น้า 2. การเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การน้าอย วัตถุประสงค์การใช้น้า เปาู ประสงค์ ป.2 การบรหิ ารจดั การน้าโดยใหท้ ท่มี คี ณุ ภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมตามปริม แต่ละปี (อปุ โภคบรโิ ภค เกษตร อตุ สาหกรรมแ นิเวศ) ตัวชีว้ ัด K.6 รอ้ ยละของพ้ืนทบ่ี ริหารจัดการน้า ไดร้ ับน้าตามปริมาณนา้ ตน้ ทุนท่ีมใี นแตล่ ะปี 3. การปอู งกนั ความเสยี หายและสนบั สนนุ การบร นา้ 4. การเสรมิ อานาจประชาชนในระดับพนื้ ที่ (Em สรา้ งเครอื ข่าย และการมสี ่วนร่วมของทุกภาค บรหิ ารงานจดั การน้าชลประทานงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทดี่ ิน - 29 -

รายงานสรุปสาหรับผูบ้ ริหารสตร์ ความสอดคล้องยจงั หวดั ให้ ความสอดคล้องในภาพรวมคต ในมติ ิของปัจจยั การจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี นิ ต้องวางแผนใหม้ ีความ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปจั จุบันและในอนาคต ของขอ้ มูลดา้ นารขับเคลื่อน) และ การเกษตรและด้านการพาณิชย์ ซึง่ มกี ารเปล่ยี นแปลงไปตามนค้าเกษตร 882 กาลเวลาตามศักยภาพ ความสอดคล้องในภาพรวม การพฒั นาโครงการจัดระบบชลประทานในไรน่ าภายใต้แผนย่างบรู ณาการ ตาม แมบ่ ทนี้ จะมกี ารบูรณาการการบรหิ ารจัดการใหบ้ รรลุ เปูาประสงค์ของการเพิม่ ผลผลิตและลดตน้ ทนุ การผลติ การทกุ ภาคส่วนได้รบั น้า จดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปทด่ี ิน ไดพ้ จิ ารณานโยบายการมาณน้าตน้ ทนุ ทีม่ ใี น บรหิ ารจัดการพน้ื ท่ีเกษตรกรรม ระบบส่งเสรมิ การเกษตรแปลงและรกั ษาระบบ ใหญ่ เกษตรอินทรีย์ และศนู ย์เรยี นรกู้ ารเพ่มิ ประสิทธภิ าพการ ผลิตสนิ ค้าเกษตรแล้วาในเขตชลประทานรรเทาภัยอันเกิดจากmpowering) การคส่วนในงาน- บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน เปูาประสงค์ ป.7 ยกระดับการมีส่วนร่วมของป ในพ้นื ที่ ไปสรู่ ะดับการเสริมอานาจการบริหาร ชลประทาน ตวั ชีว้ ดั K.18 ร้อยละของจานวนโครงการเกย่ี ว แหล่งน้าท่ีมกี ารดาเนนิ การแบบมีส่วนรว่ มในร งานชลประทาน ตัวชวี้ ดั K.19 รอ้ ยละของจานวนโครงการเกย่ี ว จดั การนา้ ทม่ี ีการดาเนนิ การแบบมสี ว่ นรว่ มใน บรหิ ารงานจดั การนา้ ในงานชลประทาน และ/ อานาจประชาชนในพ้นื ที่ เปูาประสงค์ ป.8 เพิ่มเครอื ข่ายให้ครอบคลุมท (เครอื ขา่ ยผใู้ ชน้ ้าเกษตร อปุ โภค-บริโภค อุตส ตวั ช้ีวดั K.20 รอ้ ยละของจานวนเครือขา่ ยทุกก 5. การปรบั เปลย่ี นสอู่ งค์กรอจั ฉริยะงานจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ทดี่ ิน - 30 -

สตร์ รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหารประชาชนและชุมชน ความสอดคล้องรจัดการการวกับการพัฒนาระดับการร่วมมือในวกับการบริหารนระดับการรว่ มมือ/หรือระดับการเสรมิทกุ กลุ่มผูใ้ ชน้ ้าสาหกรรม อื่นๆ)กลมุ่ ผู้ใช้นา้ ทเ่ี พ่ิมข้ึน- บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน 1. เร่อื ง เศรษฐกจิ เพื่อสงั คม ลดความเหลอ่ื มลา้13 แผนปฏิรปู ของ สปท. 2. เรอ่ื ง การพฒั นากลไกการบรหิ ารจัดการทรัพย ม่นั คง มงั่ คงั่ ยั่งยนื และร่าง พ.ร.บ. บรหิ ารจัด 3. เรือ่ ง การปฏริ ูปการประกันภัยเพื่อการเกษตรงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ ิน - 31 -

รายงานสรปุ สาหรับผ้บู รหิ ารสตร์ ความสอดคล้องยากรน้าเพ่ือความ ความสอดคล้องในภาพรวมดการน้า พ.ศ.... สอดคลอ้ งกบั ข้อ 1. เพราะเกษตรกรเจา้ ของพ้ืนที่ท่มี ีระบบร ชลประทานในไรน่ าจะมรี ายได้สูงขึ้น และมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ีขน้ึ สอดคลอ้ งกับข้อ 2. เพราะการบรหิ ารจัดการนา้ ในพ้นื ทีท่ ี่มี ระบบชลประทานในไรน่ าจะเพิ่มประสิทธภิ าพการใช้น้า ทาให้ ประหยัดน้าเพ่ือนาไปใชใ้ นภาคการผลิตอื่นๆ หรือการอุปโภค ไดม้ ากขนึ้ หรอื ทาการเกษตรในฤดแู ล้งได้มากขนึ้ สอดคล้องกบั ข้อ 3. เพราะการพฒั นาระบบชลประทานในไร่นา เป็นการประกนั วา่ ทุกแปลงเพาะปลูกจะได้รบั นา้ ตามตอ้ งการ และตามเวลาทีเ่ หมาะสม เพื่อปอู งกนั ความเสียหายของพืชจาก การขาดน้า- บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.5 การคดั กรองพืน้ ทท่ี ีเ่ หมาะสมสาหรบั การพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าและการจดั ลาดบั ความสาคญั ของโครงการ จากการรวบรวมข้อมูลผลการดาเนินงานการพัฒนาแหล่งน้าและพื้นท่ีชลประทานต้ังแต่ต้นจนถึงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2558 จานวน 31,538,356 ไร่ พบว่า ในเขตพ้ืนท่ีชลประทานมีโครงการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม จานวน 10,855,089 ไร่ และโครงการจดั รปู ทีด่ ิน 1,989,538 ไร่ ซ่ึงยังเหลือพ้ืนท่ีชลประทานท่ียังไม่ไดพ้ ฒั นาระบบชลประทานในไร่นาอีก 18,693,729 ไร่ และในพ้ืนท่ีท่ีมีการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาแล้วบางโครงการก็มีอายุใช้งานมากกว่า 30 ปี โครงสร้างของระบบชลประทานมีการเสียหายชารุดและใช้การไม่ได้ รวมถึงพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาระบบชลประทานท่ีอยู่ในแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้าอีก 8.56 ล้านไร่ ที่จะพัฒนาในช่วงปี พ.ศ.2559-2569 พื้นที่เหล่าน้ีเป็นพ้ืนที่ที่นามาพิจารณาคัดกรองพ้ืนที่ที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาและการจัดลาดับความสาคัญของโครงการสาหรับแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน อันประกอบด้วย แผนการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและแผนการจัดรูปท่ีดิน เพื่อให้เป็นพื้นที่ชลประทานท่ีมีระบบชลประทานสมบูรณ์แบบและส่งผลให้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมย่ังยืนสอดคล้องกบั แผนพฒั นาการเกษตรตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ต่อไป การคัดกรองพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมสาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาและการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ จะแบ่งออกเปน็ โครงการสาหรบั ก่อสร้างใหม่ และการปรบั ปรุงโครงการเดิม แสดงดังรูปที่ 2.5-1 รปู ที่ 2.5-1 ผงั ลักษณะโครงการสาหรบั การจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปทีด่ นิงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ีดนิ - 32 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกณฑ์การคัดกรองพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมในการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาและจัดลาดับความสาคัญของโครงการสาหรบั โครงการกอ่ สร้างใหม่ และปรบั ปรุงโครงการเดิม มีขนั้ ตอนดงั น้ี1. การคัดกรองพืน้ ทท่ี ีเ่ หมาะสมในการพฒั นา2. การพจิ ารณารอ้ ยละของพน้ื ที่ท่เี หมาะสมเพื่อจัดระบบชลประทานในไร่นา3. การจาแนกพนื้ ท่กี ารจดั ระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจดั รูปท่ดี นิ4. การจัดลาดับความสาคัญของโครงการ2.5.1 โครงการสาหรับกอ่ สร้างใหม่ 1) การคดั กรองพ้ืนทีท่ เี่ หมาะสมในการพัฒนา การคัดกรองพ้ืนท่ีที่เหมาะสมในการพัฒนาโครงการสาหรับก่อสร้างใหม่ เป็นการคัดกรองพ้ืนท่ีท่ีไม่มีความเหมาะสมที่จะพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาออกในข้ันแรก เพ่ือนาพื้นที่ท่ีมีความเหมาะสมในการพัฒนาที่ได้หลังจากการคัดกรองแล้วไปพิจารณาและจัดลาดับความสาคัญของโครงการต่อไป โดยมีเกณฑ์ในการคัดกรองออก ประกอบด้วย  พ้นื ท่จี ัดระบบนา้ เพือ่ เกษตรกรรมหรอื พ้ืนทีจ่ ัดรูปทีด่ นิ ท่ีดาเนินการแลว้  พน้ื ทชี่ ุมชนเมือง  พน้ื ทท่ี ่ีมีนา้ ทว่ มซา้ ซาก  พื้นทเ่ี พาะเลย้ี งสัตว์นา้  พืน้ ท่ีดินเค็ม  พื้นท่ีที่ไมม่ ีระบบชลประทาน 2) การพิจารณาร้อยละของพน้ื ท่ที เ่ี หมาะสมเพ่ือจัดระบบชลประทานในไรน่ า เมื่อทาการคัดกรองพื้นที่ที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาแล้ว ในข้ันตอนต่อมาก็คือการพิจารณาร้อยละของพื้นที่ท่ีมีความเหมาะสมในการพัฒนาพื้นที่จัดระบบชลประทานในไร่นาว่าจะทาการพัฒนามากน้อยแค่ไหน โดยใช้ปัจจัยในเรื่องความเพียงพอของปริมาณน้าต้นทุนของโครงการชลประทานน้ันๆ มาพิจารณา ซึ่งมีหลักการคิดว่า โครงการชลประทานท่ีมีปริมาณน้าต้นทุนมากจะสามารถขยายพ้ืนท่ีชลประทานในฤดูแล้งได้มาก ก็ควรมีการพัฒนาพื้นท่ีจัดระบบชลประทานในไร่นามากตามไปด้วยรายละเอยี ดมดี ังตารางที่ 2.5-1งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปที่ดนิ - 33 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 2.5-1 เกณฑ์การพิจารณารอ้ ยละของพ้ืนที่ทเ่ี หมาะสมเพ่อื จดั ระบบชลประทานในไรน่ า ความเพยี งพอของ รอ้ ยละของพนื้ ท่ีท่ี ทีม่ าของร้อยละปริมาณน้าตน้ ทุนจากการ เหมาะสมเพอ่ื จัดระบบ ชลประทานในไร่นา โครงการส่งนา้ และบารุงรกั ษาหนองหวาย ที่ วเิ คราะห์สมดลุ น้า มกี ารจดั ระบบชลประทานในไรน่ าเกือบเต็ม ไมข่ าดแคลน 80 พ้นื ท่ี มีการเพาะปลูกพืชฤดูแลง้ เกอื บเต็ม พน้ื ท่ี (Cropping Intensity เฉลย่ี มากกว่า ขาดแคลน 50 180%) ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10 จากข้อมลู การวิจยั ของภัทวี (2547) ได้คา่ 30 ประสทิ ธิภาพการชลประทานระดบั คสู ่งน้า ขาดแคลน ของพืน้ ที่จดั รูปทด่ี นิ มากกวา่ พนื้ ท่ที ี่ไมม่ ีการ ไม่เกินรอ้ ยละ 20 จัดรูปที่ดิน 18% (57% เทยี บกับ 39%) ดังนั้น โครงการที่มีการจดั รูปทด่ี นิ จะมนี ้า เพ่ือเพ่ิมการเพาะปลูกฤดูแลง้ เพิ่มขึน้ ทาให้ Cropping Intensity เพม่ิ เฉลี่ยไม่นอ้ ยกวา่ 150% ใชค้ า่ เฉลยี่ ของ Cropping Intensity ของ โครงการชลประทานปกติ 130%งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี นิ - 34 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3) การจาแนกพ้นื ที่การจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปทดี่ ิน การจาแนกพ้นื ท่ีการจัดระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรมและการจัดรปู ทดี่ นิ จะมีเกณฑ์ในการจาแนกพ้นื ท่ี แสดงดงั ตารางท่ี 2.5-2ตารางที่ 2.5-2 เกณฑ์การจาแนกพนื้ ท่ีการจัดระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรมและการจดั รปู ที่ดินปัจจยั ในการพจิ ารณา การจัดระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรม การจัดรูปทดี่ ิน1. ประเภทโครงการของ - ฝายหรอื ปตร. ขนาดใหญใ่ นลา - ฝายหรอื ปตร. ขนาดใหญท่ ี่มีแหล่ง นา้ ต้นทนุ น้าต้นทุนจากเขื่อน นา้ ธรรมชาติ ฝายหรือ ปตร. ขนาดกลางที่มี2. ประเภทการใช้ที่ดนิ แหล่งน้าต้นทุนจากเขอ่ื นหรือลาน้า3. ความลาดชนั ของ - ฝายหรือ ปตร. ขนาดกลางที่มี - ธรรมชาตทิ ่มี นี า้ ไหลตลอดปี อา่ งเก็บนา้ ขนาดใหญ่และขนาด สภาพภูมปิ ระเทศ แหล่งน้าตน้ ทุนจากเข่อื นหรือลา กลาง สถานสี ูบน้าด้วยไฟฟาู ท่ีมีแหล่งน้า นา้ ธรรมชาติทม่ี ีน้าไหลตลอดปี ตน้ ทุนจากเขื่อนหรือลาน้า ธรรมชาตทิ มี่ นี ้าไหลตลอดปี - อา่ งเก็บนา้ ขนาดเล็ก - เปน็ นาข้าว พืชไร่ - สถานสี ูบนา้ ด้วยไฟฟูาท่ีมีแหล่ง - ความลาดชนั <0.1% น้าต้นทุนจากเขือ่ นหรือลานา้ ธรรมชาติท่ีมนี ้าไหลตลอดปี - เปน็ สวนผลไม้ สวนปาลม์ สวน - ยาง หรือสวนอนื่ ๆ - ความลาดชัน >0.1% -งานจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปทีด่ ิน - 35 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4) การจัดลาดับความสาคญั ของโครงการ การจดั ลาดบั ความสาคญั ของโครงการสาหรับโครงการก่อสร้างใหม่ โดยการพิจารณาปัจจัยในการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ จากการทบทวนเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญจากรายงานการจัดทาแผนแม่บทท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา เพ่ือให้มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาปัจจัยท่ีมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับแต่ละสภาพพ้ืนที่ จากน้ันผู้เช่ียวชาญได้กาหนดปัจจัยในแต่ละด้าน คะแนนและค่าถ่วงน้าหนักในการพิจารณาความเหมาะสมในแต่ละด้าน โดยดาเนินตามหลักการวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์ (Multi-Criteria Analysis : MCA) ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยในการสร้างการตัดสินใจกับการประเมินหลายส่วน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือหาวิธีการที่ชัดเจนในการตอบคาถามเพื่อช่วยในการตัดสินใจ โดยใช้วิธีกระบวนการวเิ คราะหต์ ามลาดับช้นั (Analytic Hierarchy Process, AHP) เกณฑ์ในการจัดลาดับความสาคัญของโครงการสาหรับโครงการกอ่ สรา้ งใหม่ แสดงดังตารางท่ี 2.5-3ตารางที่ 2.5-3 เกณฑ์การจัดลาดบั สาหรับโครงการก่อสร้างใหม่ด้าน ปจั จยั ค่าถว่ งนา้ หนกั ค่าถว่ งนา้ หนกั รวม A1 ความเพยี งพอของปริมาณนา้ ตน้ ทนุ 8.58 30.81 7.05 20.78วศิ วกรรม (A) A2 การเขา้ ถงึ แหลง่ น้าตน้ ทนุ 8.58 A3 ความพรอ้ มในการดา้ เนินโครงการ 6.60 15.29 4.95 21.53 A4 การเขา้ ถงึ การเช่ือมตอ่ เสน้ ทางคมนาคม 11.59 3.75 100.00 B1 ความสามารถของพน้ื ทีใ่ นการปลกู พชื ฤดแู ลง้ (CI) 4.95 3.75 ที่เพมิ่ ข้ึนจากปจั จุบนั 3.38 3.26เกษตร (B) B2 ความเหมาะสมของดนิ ดา้ นการเกษตร 4.01 B3 พน้ื ท่เี กษตรแปลงใหญ่ 4.01 4.01 B4 ศนู ยเ์ รยี นรู้เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร 7.07 6.50 B5 กฎหมายผงั เมืองคมุ้ ครองพนื้ ท่ีเกษตรกรรม 7.96 4.47 C1 พนื้ ท่ที ีศ่ กั ยภาพในการพฒั นา 3.56 3.56เศรษฐกจิ และ C2 ร้อยละของพน้ื ท่ีถอื ครองของเกษตรกร 100.00สงั คม (C) C3 พนื้ ที่รับประโยชนต์ อ่ ครัวเรือน C4 ความเขม้ แขง็ ของกลุ่มผใู้ ชน้ า้เศรษฐศาสตร์และ D1 รายไดท้ ี่เพมิ่ ข้ึนตอ่ ครวั เรอื นตอ่ ปี การเงิน (D) D2 ตน้ ทนุ ทลี่ ดลงตอ่ ครวั เรือนตอ่ ปี D3 อตั ราผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ของโครงการ E1 พน้ื ท่ดี นิ เคม็สงิ่ แวดลอ้ ม (E) E2 ผลกระทบตอ่ แหลง่ น้าธรรมชาตใิ นพน้ื ทโ่ี ครงการ E3 ผลกระทบตอ่ พน้ื ที่ออ่ นไหว รวมงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ีดิน - 36 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.5.2 การปรับปรุงโครงการเดิม 1) การคัดกรองพื้นทที่ ีเ่ หมาะสมในการปรบั ปรุงโครงการเดมิ การคดั กรองพน้ื ทท่ี ่ีเหมาะสมในการปรบั ปรงุ โครงการเดิม ใช้การพิจารณาปัจจัยในเร่ืองความเพียงพอของปรมิ าณนา้ ต้นทนุ เกณฑใ์ นการคัดกรองโครงการเพ่อื นามาปรับปรุง มดี ังน้ีปริมาณนา้ ตน้ ทุน นามาปรบั ปรงุ ไม่ขาดแคลน นามาปรับปรงุ ไม่ปรับปรุง ขาดแคลนไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 10 ขาดแคลนมากกว่ารอ้ ยละ 10 2) การพจิ ารณาร้อยละของพ้นื ที่ทเ่ี หมาะสมเพื่อปรับปรงุ ระบบชลประทานในไร่นา เม่ือทาการคัดกรองพื้นท่ีที่เหมาะสมในการปรับปรุงโครงการแล้ว ก็มาพิจารณาร้อยละของพน้ื ท่ีทม่ี คี วามเหมาะสมในการปรับปรุงโครงการว่าจะทาการปรับปรุงมากน้อยแค่ไหน โดยใช้ปัจจัยในเร่ืองการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื่องจากการขยายตวั ของชุมชนและจานวนประชากร จากผลการศึกษาของชนิ กฤต ถิ่นวงษแ์ ย และปฐมพงษ์ ชยั มูล เร่ืองการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่มีผลต่อการขยายตัวของเมืองในพ้ืนที่ชานเมือง : กรณีศึกษา ตาบลพลายชุมพล อาเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก, ปี พ.ศ.2557พบว่า การเปลยี่ นแปลงชว่ งปี พ.ศ.2538-2545 มพี น้ื ที่นาข้าวลดลงไปจากเดมิ 11.71% การเปลี่ยนแปลงช่วงปีพ.ศ.2545-2552 มีพื้นที่นาข้าวลดลงไปจากเมื่อปี พ.ศ.2545 อีก 2.65% และการเปลี่ยนแปลงช่วงปี พ.ศ.2552-2556 พื้นท่ีนาข้าวยังคงลดลงไปจากเม่ือปี พ.ศ.2552 อีก 5.07% จะเห็นได้ว่า จากปี พ.ศ.2538 ถึงปีพ.ศ.2556 มีพื้นท่ีนาข้าวลดลงรวม 19.43% ดังนั้น การพิจารณาร้อยละของพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อปรับปรุงระบบชลประทานในไร่นา จึงกาหนดใหม้ กี ารหักพ้ืนทจ่ี ดั ระบบชลประทานในไรน่ าเดิมออก 20% สรปุ ไดด้ งั นี้ร้อยละของพื้นที่ท่เี หมาะสม ทมี่ าของรอ้ ยละ เพ่อื ปรับปรุงโครงการ โครงการจัดระบบชลประทานในไร่นา มกี ารเปล่ียนแปลง 80 การใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ เน่อื งจากมลู คา่ ที่ดนิ สงู ขึน้ ทาใหม้ ี พน้ื ที่เกษตรกรรมลดลง เพราะ - การขยายตัวของชมุ ชนเมือง จงึ มกี ารขายที่ดนิ ให้กบั ธรุ กจิ อสังหาริมทรัพย์ - การแบ่งพื้นท่เี กษตรกรรมของเกษตรกรใหก้ ับ ลกู หลาน จงึ เปล่ยี นพ้ืนทเี่ กษตรกรรมเปน็ ที่อยู่ อาศัยงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ดี ิน - 37 - บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3) การจาแนกพื้นท่ีการจดั ระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดนิ ใช้จาแนกพ้ืนท่ีการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดิน โดยพื้นที่ใดดาเนินการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมก็จะปรับปรุงเป็นการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และพ้ืนท่ีใดดาเนินการจัดรูปที่ดินก็จะปรับปรุงเป็นการจัดรูปที่ดิน ยกเว้นในกรณีที่สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางหรือเจ้าของท่ีดินในพื้นที่ท่ีทาเกษตรกรรมมีความประสงค์ให้มีการจัดรูปที่ดินในพื้นที่ท่ีทาเกษตรกรรมหรือพื้นที่ในเขตการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม ตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 31 ก็จะดาเนินการปรับปรุงเปน็ การจดั รูปท่ีดินในพื้นทีก่ ารจดั ระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรมเดิม 4) การจดั ลาดับความสาคัญของโครงการ การจัดลาดับความสาคัญของโครงการสาหรับการปรับปรุงโครงการเดิม โดยการพิจารณาปัจจยั ในการจดั ลาดบั ความสาคัญของโครงการจากลกั ษณะทางกายภาพของโครงการและปัญหาที่เกิดหลังจากมีการก่อสร้างโครงการ จากนั้นผู้เชี่ยวชาญได้กาหนดปัจจัย คะแนนและค่าถ่วงน้าหนักในการพิจารณาความเหมาะสมในแต่ละปัจจัย โดยดาเนินตามหลักการวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์ (Multi-Criteria Analysis :MCA) ซึ่งเป็นวิธีท่ีช่วยในการสร้างการตัดสินใจกับการประเมินหลายส่วน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือหาวิธีการท่ีชัดเจนในการตอบคาถามเพ่อื ช่วยในการตัดสินใจ โดยใชว้ ธิ ีกระบวนการวเิ คราะห์ตามลาดับช้ัน (Analytic HierarchyProcess, AHP) เกณฑ์ในการจัดลาดบั ความสาคัญของโครงการสาหรับปรับปรุงโครงการเดิม แสดงดังตารางท่ี2.5-4ตารางท่ี 2.5-4 เกณฑ์การจดั ลาดบั ความสาคัญของการปรบั ปรุงโครงการเดิม ปจั จยั คา่ ถว่ งนา้ หนกัR1 อายใุ ชง้ านโครงการ 51R2 สภาพการเกดิ ภยั ธรรมชาตใิ นพน้ื ทโ่ี ครงการ 11R4 อตั ราสว่ นพนื้ ทจี่ ดั ระบบนา้ เพอ่ื เกษตรกรรมหรอื จัดรูปทดี่ นิ ตอ่ พนื้ ทช่ี ลประทาน 25R5 อตั ราสว่ นพนื้ ทช่ี ลประทานตอ่ จา้ นวนครวั เรอื นรับประโยชน์ 13 รวม 100 นอกจากปัจจัยในการพิจารณาเพ่ือจัดลาดับความสาคัญของโครงการสาหรับการปรับปรุงโครงการเดิมดังกล่าวข้างต้นแล้ว เพื่อให้การจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินมีความสอดคล้องกับนโยบายท่ีสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ นโยบายพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ในการจัดทาแผนปรับปรุงโครงการเดิม จึงได้ให้ความสาคัญกับโครงการเดิมที่ต้ังอยู่ในพ้ืนที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่เป็นโครงการอันดับต้นที่จะจัดเข้าแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน จากผลการศึกษา พบว่า มีพื้นท่ีจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมที่ดาเนินการแล้วท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จานวน 7 แห่ง รวมพื้นท่ีจัดเข้าแผนปรบั ปรุงโครงการเดิม 235,900 ไร่ ได้แก่ 1.1) โครงการส่งน้าและบารุงรักษาดงเศรษฐี ตาบลคลองคะเชนทร์ อาเภอเมืองพิจิตรจังหวัดพิจิตร พื้นท่ีจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 168,453 ไร่ มีพื้นท่ีที่เหมาะสมเพื่อดาเนินการปรับปรุง134,762 ไร่งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ดี ิน - 38 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.2) โครงการส่งน้าและบารุงท่าบัว ตาบลบ้านน้อย อาเภอโพธิ์ทะเล จังหวัดพิจิตร พ้ืนท่ีจดั รูปท่ดี ิน 180,905 ไร่ มพี ้นื ท่ที ี่เหมาะสมเพื่อดาเนินการปรบั ปรุง 54,272 ไร่ 1.3) โครงการส่งน้าและบารุงรักษาระโนด-กระแสสินธุ์ ตาบลบ้านขาว อาเภอระโนดจังหวัดสงขลา พื้นที่จัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 37,930 ไร่ มีพื้นที่ท่ีเหมาะสมเพื่อดาเนินการปรับปรุง30,344 ไร่ 1.4) อ่างเก็บน้าห้วยลึก ตาบลแม่ปะ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก พ้ืนท่ีจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 3,000 ไร่ มพี ื้นทท่ี เ่ี หมาะสมเพ่ือดาเนนิ การปรบั ปรุง 900 ไร่ 1.5) โครงการอ่างเก็บน้าแม่มอก ตาบลทุ่งเสล่ียม อาเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย(หัวงานอยู่ตาบลเวียงมอก อาเภอเถิน จังหวัดลาปาง) พื้นท่ีจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม 24,984 ไร่ มีพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมเพือ่ ดาเนินการปรับปรงุ 12,492 ไร่ 1.6) อ่างเก็บน้าคลองเกลือ ตาบลหนองน้าใส อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว พ้ืนท่ีจดั ระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 1,800 ไร่ มีพ้ืนท่ที ่ีเหมาะสมเพ่อื ดาเนนิ การปรับปรุง 1,440 ไร่ 1.7) สถานีสูบน้าด้วยไฟฟูาบ้านท่ามะเฟือง ตาบลท่ามะเฟือง อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ้ืนที่จดั ระบบน้าเพ่อื เกษตรกรรม 3,380 ไร่ มพี ืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมเพ่ือดาเนินการปรบั ปรุง 1,690 ไร่ รวมพน้ื ทีจ่ ัดระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรมท่จี ะจัดเข้าแผนปรับปรงุ โครงการเดิม 235,900 ไร่2.6 ภาพรวมพ้นื ท่สี าหรับการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ า จากการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาโครงการชลประทาน การคัดกรองพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมสาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ า และพืน้ ทที่ ี่เหมาะสมสาหรับการปรับปรุงระบบชลประทานในไร่นาท่ีมีอยู่เดิมจะได้ภาพรวมพ้ืนที่สาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา ดังแสดงในรูปท่ี 2.6-1 สรุปพื้นท่ีศักยภาพได้ดงั น้ีพ้นื ทศ่ี ักยภาพรวมสาหรบั การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา 14.461 ล้านไร่  เป็นพ้นื ท่ีกอ่ สร้างใหม่ 8.472 ลา้ นไร่ - งานจัดระบบนา้ เพอื่ เกษตรกรรม 7.572 ลา้ นไร่ - งานจัดรูปทด่ี นิ 0.900 ลา้ นไร่  เปน็ พื้นที่ปรับปรุงระบบชลประทานในไรน่ าที่มีอยู่เดิม 5.989 ล้านไร่ - งานปรับปรุงจดั ระบบนา้ เพ่ือเกษตรกรรม 4.804 ลา้ นไร่ - งานปรบั ปรุงจดั รปู ทดี่ นิ 1.185 ลา้ นไร่งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดิน - 39 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทีด่ นิ รูปที่ 2.6-1 ภาพรวมพื้นที่สาหรับก - 40

รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหารการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ า บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด0-

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.7 ทางเลอื กการจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ดี ิน จากภาพรวมพ้ืนท่ีสาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาท่ีแสดงไว้ในหัวข้อ 2.6 สรุปพื้นท่ีศักยภาพสาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ าท้ังหมด 14.461 ล้านไร่ เป็นโครงการก่อสร้างใหม่ 8.472ล้านไร่ (งานจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 7.572 ล้านไร่ และงานจัดรูปท่ีดิน 0.900 ล้านไร่) และพื้นท่ีสาหรับโครงการปรบั ปรงุ 5.989 ลา้ นไร่ (งานปรับปรงุ จดั ระบบนา้ เพอื่ เกษตรกรรม 4.804 ล้านไร่ และงานปรับปรุงจัดรูปทีด่ นิ 1.185 ล้านไร่) สามารถสรปุ ทางเลอื กการพัฒนาตามศกั ยภาพได้ 3 ทางเลือก ดังนี้ ทางเลอื กท่ี 1 พัฒนาตามกรอบงบประมาณทส่ี านกั งานจัดรปู ท่ดี นิ กลางเคยได้รบั ทางเลือกที่ 2 พัฒนาตามกรอบศกั ยภาพการดาเนนิ งานของสานกั งานจดั รูปท่ดี ินกลาง ทางเลอื กที่ 3 พัฒนาเต็มพืน้ ที่ศกั ยภาพ ทางเลอื กที่ 1 พฒั นาตามกรอบงบประมาณทส่ี านกั งานจัดรปู ที่ดินกลางเคยไดร้ ับ การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาพัฒนาตามกรอบงบประมาณท่ีสานักงานจัดรูปที่ดินกลางเคยได้รับย้อนหลัง 3 ปี ช่วงปี พ.ศ.2558-2560 ซ่ึงได้รับงบประมาณเฉลี่ยปีละ 750 ล้านบาท สามารถพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ าได้เพยี ง 0.100 ล้านไร่ ซ่ึงเมื่อครบ 20 ปี จะพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาได้เพียง2.000 ลา้ นไร่ เปน็ ผลให้การพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าเป็นไปอย่างล่าช้า และไม่เตม็ ศักยภาพที่สานักงานจัดรูปที่ดินกลางสามารถดาเนินการได้ ปัจจุบันสานักงานจัดรูปที่ดินกลางมีศักยภาพดาเนินการได้ถึงปีละประมาณ 0.200 ล้านไร่ การพัฒนาอย่างล่าช้านี้ ส่งผลให้การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนเป็นไปอย่างล่าช้าด้วยเน่ืองจากระบบชลประทานในไร่นาเป็นการพัฒนาระบบชลประทานสมบูรณ์แบบท่ีเกษตรกร ได้รับน้าอย่างเต็มทีเ่ พอื่ การเพาะปลกู และเพ่มิ รายไดม้ ากที่สุด เม่ือเกษตรกรมีรายได้ก็จะส่งผลดีอื่นๆ ตามมา รวมถึงการเห็นคณุ ค่าของอาชีพการเกษตร ทาใหร้ ักษาพืน้ ทเ่ี กษตรกรรมได้อย่างย่งั ยนื ดว้ ย ทางเลือกที่ 2 พัฒนาตามกรอบศกั ยภาพการดาเนนิ งานของสานกั งานจดั รปู ทด่ี ินกลาง การพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าตามกรอบศักยภาพการดาเนินงานของสานักงานจัดรูปที่ดินกลางปัจจุบันสานักงานจัดรูปท่ีดินกลางมีศักยภาพดาเนินการได้ ประมาณปีละ 0.200 ล้านไร่ และอยู่ในช่วงเพิ่มศักยภาพใหเ้ ป็น 0.250 ล้านไร่ต่อปีในอนาคต ซ่ึงจะใช้งบประมาณเฉลี่ย ปีละ 2,500 ล้านบาท เมื่อครบ 20 ปีจะสามารถพฒั นาระบบชลประทานในไร่นาได้จานวน 4.613 ลา้ นไร่ แบ่งเปน็ พนื้ ท่สี าหรบั โครงการก่อสร้างใหม่3.512 ล้านไร่ (งานจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 2.827 ล้านไร่ และงานจัดรูปท่ีดิน 0.685 ล้านไร่) และพื้นท่ีสาหรับโครงการปรับปรุง 1.101 ล้านไร่ (งานปรับปรุงจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม 0.872 ล้านไร่ และงานปรับปรุงจัดรปู ท่ีดนิ 0.229 ลา้ นไร่) ดงั แสดงในรูปท่ี 2.7-1 แต่การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาพื้นท่ี 4.613ลา้ นไร่นั้น ยังไม่ตอบสนองแผนพัฒนาการเกษตรและยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์เต็มท่ี ส่งผลให้การพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่12 เป็นไปอย่างล่าช้า รวมถึงจะมีเกษตรกรที่ขาดโอกาสได้รับน้าในการทาเกษตรกรรมอย่างเต็มท่ีเพื่อการเพาะปลูกและเพิม่ รายไดอ้ ีกเป็นจานวนมากงานจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปทด่ี ิน - 41 - บรษิ ทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รูปที่ 2.7-1 ภาพรวมพนื้ ที่ที่พฒั นาตามกรอบศักยภาพการดาเนินงานของสานกั งานจดั รูปทดี่ ินกลาง ทางเลือกที่ 3 พัฒนาเต็มพ้นื ทศี่ กั ยภาพ การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาเต็มพื้นท่ีศักยภาพ เป็นการพัฒนาตามการพิจารณาร้อยละของพ้ืนทีท่ ี่เหมาะสมเพื่อจดั ระบบชลประทานในไร่นา เมื่อพัฒนาครบ 20 ปี จะได้พ้ืนที่เต็มศักยภาพจานวน 14.461ล้านไร่ ซึ่งจะใช้งบประมาณเฉลี่ย ปีละ 10,000 ล้านบาท และต้องดาเนินการเฉล่ียปีละ 0.750 ล้านไร่ เป็นโครงการก่อสร้างใหม่ 8.472 ล้านไร่ (งานจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม 7.572 ล้านไร่ และงานจัดรูปท่ีดิน0.900 ล้านไร่) และพ้ืนท่ีสาหรับโครงการปรับปรุง 5.989 ล้านไร่ (งานปรับปรุงจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม4.804 ล้านไร่ และงานปรับปรุงจัดรูปท่ีดิน 1.185 ล้านไร่) ดังแสดงในรูปท่ี 2.7-2 ซึ่งถือว่าเป็นทางเลือกที่สามารถพัฒนาได้ เพื่อเปิดโอกาสให้เกษตรกรได้รับน้าอย่างเต็มท่ีเพ่ือการเพาะปลูกและเพิ่มรายได้มากที่สุดสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาการเกษตร ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ที่มีเปูาหมายท่ีจะขยายพื้นที่การทาเกษตรกรรมย่ังยืนเพ่ิมข้ึนเป็น 5 ล้านไร่ ในปี พ.ศ.2564 และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20ปี พ.ศ.2560-2579 ที่มีเปูาหมายที่จะขยายพ้ืนท่ีเกษตรกรรมย่ังยืนเพิ่มข้ึนเป็น 10 ล้านไร่ แต่ต้องใช้ความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน รวมถึงต้องมีการวางแผนท่ีดี รวมถึงการจัดสรรงบประมาณท่ีมากกว่าปกติ ซึ่งในปัจจุบันศักยภาพของสานักงานจัดรูปที่ดินกลางท่ีดาเนินการเพียงหน่วยงานเดียวยังไม่สามารถทาได้ ต้องมีแนวทางอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น การเพ่ิมขีดความสามารถของสานักงานจัดรูปที่ดินกลาง การให้โครงการชลประทานจังหวัดร่วมดาเนินการ การวางแผนร่วมกับสานักพัฒนาแหล่งน้าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง เพื่อพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาไปพร้อมกับโครงการขนาดใหญ่และขนาดกลางที่มีแผนพัฒนา รวมทั้งการจัดจ้างบริษัทเอกชนดาเนนิ การและใหห้ นว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบเป็นผูค้ วบคุม เป็นต้นงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ีดิน - 42 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รปู ที่ 2.7-2 ภาพรวมพ้ืนที่ที่พัฒนาเตม็ พ้นื ที่ศกั ยภาพสรุปเปรยี บเทียบทางเลอื กการจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทีด่ ินท้ัง 3 ทางเลอื ก ได้ดงั นี้ ทางเลือก ทางเลือกที่ 1 ทางเลอื กท่ี 2 ทางเลอื กท่ี 3รายละเอียด 0.200 0.250 สจด. 0.250ศักยภาพการดาเนินงานของสานักงานจัด คป. 0.200รปู ที่ดินเฉลย่ี (ลา้ นไร่ต่อปี) 2,500 ทีป่ รึกษา 0.300 0.250 10,000งบประมาณเฉลย่ี (ล้านบาทต่อป)ี 750 4.613พน้ื ท่พี ัฒนาเฉล่ีย (ล้านไรต่ อ่ ปี) 0.100 0.750พ้ืนที่พฒั นารวม 20 ปี (ล้านไร่) 2.000 14.461 จากผลการเปรียบเทียบทางเลือกการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินทั้ง 3 ทางเลือก เพื่อตอบสนองนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพัฒนาการเกษตร ในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 พ.ศ.2560-2564ยุทธศาสตรเ์ กษตรและสหกรณ์ระยะ 20 ปี พ.ศ.2560-2579 และเป็นการเปิดโอกาสให้เกษตรกรได้รับน้าอย่างเตม็ ที่เพ่อื การเพาะปลกู และเพมิ่ รายไดม้ ากที่สดุ จึงพจิ ารณาพน้ื ที่การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาเต็มพื้นท่ีศกั ยภาพ จานวน 14.461 ลา้ นไร่ มาจัดทาเป็นแผนแม่บทการจดั รปู ท่ดี ินต่อไปงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดนิ - 43 - บริษทั เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.8 การจดั ทายุทธศาสตร์แผนแม่บทการจดั รูปทดี่ ิน การจัดทายุทธศาสตร์แผนแม่บทการจัดรูปที่ดินเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางปฏิบัติตามพันธกิจและภารกิจ ให้สมั ฤทธผิ์ ลตามวิสยั ทัศนข์ องแผนแมบ่ ทและบรรลุเปูาประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต รวมถึงกาหนดแนวทางการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดบั ประเทศ แผนพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในด้านต่างๆ ได้แก่ การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดระบบชลประทาน การบริหารและพัฒนาท่ีดนิ การบริหารจัดการน้า การส่งเสริมการทาเกษตรกรรม และการพัฒนาและส่งเสรมิ อาชีพ ตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 ซึ่งได้กาหนดกระบวนการหลักในการดาเนินงานตั้งแต่เร่ิมโครงการจนก่อสร้างเสร็จ ดังแสดงในรูปท่ี 2.8-1 และรูปที่ 2.8-2 สาหรับโครงการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและโครงการจัดรูปท่ีดิน ตามลาดับ โดยเฉล่ียแล้วจะใช้เวลาดาเนินการจนถึงก่อสร้างเสร็จ 2-3 ปี และจากสภาพปัญหาในอดีตท่ีผ่านมา นามาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดด้อย โอกาส และข้อจากัดหรือภาวะคุกคาม หรือท่ีเรียกว่า SWOT Analysis และนามาวิเคราะห์ TOWS Matrix ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เป็นคู่ของจุดแข็ง จุดด้อย โอกาส และข้อจากัดหรือภาวะคุกคาม แล้วเสนอแนวทางในการขับเคลื่อนแผนแม่บท รวมถึงการขอข้อคิดเห็นของผู้บริหารระดับสูง และการจัดประชุมเพ่ือรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและเกษตรกร เพื่อกาหนดยุทธศาสตร์แม่บทการจัดรูปท่ีดินให้ชัดเจนและครบถ้วนสมบรู ณ์ เพ่ือเปน็ กรอบทศิ ทางการดาเนนิ งานในอนาคตตอ่ ไป ผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis และ TOWS Matrix ซึ่งสังเคราะห์จากการร่วมกันจัดทาการวิเคราะห์จดุ แขง็ จุดดอ้ ย โอกาส และขอ้ จากัดหรือภาวะคุกคาม ของเจ้าหน้าที่สานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวัด 27จังหวัด และโครงการปฏิบัติการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมที่ 1-17 และของผู้เข้าร่วมประชุมรับฟังความคิดเห็นทจี่ ดั จานวน 10 คร้ัง ในภาคต่างๆ ของประเทศไทย เพื่อเสนอเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนแผนแม่บทการจดั รูปท่ดี นิ ตอ่ ไป สรปุ ดงั ตารางท่ี 2.8-1 และตารางที่ 2.8-2งานจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปที่ดนิ - 44 - บรษิ ทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ ิน รูปที่ 2.8-1 กระบวนการพัฒนาโค - 45

รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารครงการจดั ระบบน้าเพ่อื เกษตรกรรม บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั5-

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ทด่ี นิ รูปท่ี 2.8-2 กระบวนการ - 46

รายงานสรปุ สาหรับผ้บู รหิ ารรพัฒนาโครงการจดั รปู ที่ดนิ บรษิ ทั เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั6-

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางท่ี 2.8-1 การวเิ คราะห์ SWOT การดาเนนิ งานท่ผี า่ นมา จดุ แข็ง (Strengths) จดุ ดอ้ ย (Weaknesses)1 มพี ระราชบญั ญัตจิ ัดรูปทดี่ นิ เพอื่ เกษตรกรรม พ.ศ.2558 เป็น 1 มขี ั้นตอนการดา้ เนินงานของพระราชบัญญัตหิ ลายขั้นตอน ทา้ เครื่องมอื ในการปฏิบตั งิ าน ใหร้ ะยะเวลาในการปฏิบัตคิ อ่ นขา้ งมาก2 มบี คุ ลากรทม่ี คี วามความเช่ยี วชาญดา้ นระบบชลประทานในแปลง 2 โครงสร้างขององคก์ รไมเ่ ออื้ ตอ่ การปฏิตงิ านตามพระราชบญั ญัติ เกษตรกรรม 3 โครงสร้างขององคก์ รไมเ่ ออื้ ตอ่ ความเจริญกา้ วหน้าของบุคลากร3 มที างเลือกในการพฒั นาระบบชลประทานในแปลงเกษตรกรรม ตรงตามความตอ้ งการของเกษตรกร 4 การสละทด่ี นิ และสมทบคา่ กอ่ สร้างจัดระบบชลประทานในแปลง เกษตรกรรม มผี ลตอ่ การพฒั นาเพมิ่ พน้ื ที่4 ทา้ ใหก้ ารใช้น้ามปี ระสทิ ธภิ าพทวั่ ถงื และเป็นธรรม 5 การประสานงานกบั หน่วยงานอน่ื ๆ ไมเ่ ป็นเชิงรุก5 สามารถปลกู พชื ไดห้ ลากหลายหรือทา้ ไร่นาสวนผสมได้ 6 การบริหารจัดการน้ายงั ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพเท่าทคี่ วร6 มเี สน้ ทางล้าเลยี งปจั จัยการผลิตและผลผลิตถงึ แปลงเกษตรกรรม 7 เมอ่ื กอ่ สร้างเสร็จ ไมม่ กี ารส่งเสริมกจิ กรรมตอ่ เน่ืองทค่ี รบวงจร ทกุ แปลง 8 การประชาสัมพนั ธไ์ มท่ วั่ ถึงและไมต่ อ่ เนอ่ื ง7 มกี องทุนจัดรูปทดี่ นิ สนับสนุนภารกจิ การด้าเนินงาน 9 สา้ นักงานจัดรูปทดี่ นิ จังหวดั มคี รอบคลุมไมท่ กุ จังหวดั 10 บุคลากรไมเ่ พยี งพอ 11 เครื่องจักร เคร่ืองมอื ยานพาหนะมไี มเ่ พยี งพอ โอกาส (Opportunities) ข้อจา้ กดั หรือภาวะคกุ คาม (Threats)1 มพี น้ื ทเ่ี กษตรกรรมทส่ี ามารถด้าเนินการไดท้ ว่ั ประเทศอกี จ้านวน 1 งบประมาณดา้ เนินงานมจี ้ากดั และขาดความคล่องตวั ในการใช้มาก2 นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนภารกจิ ขององคก์ ร 2 เกษตรกรไมย่ นิ ยอมเข้าร่วมโครงการหรือเปล่ียนใจกลางคนั3 มคี ณะกรรมการจัดรูปทดี่ นิ กลางและคณะกรรมการจัดรูปทดี่ นิ 3 มกี ารเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ นอกเหนือจากการท้าจังหวดั ซึ่งทา้ ใหส้ ามารถเขา้ ถึงงบประมาณไดง้ า่ ย เกษตรกรรม4 มรี ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณเ์ ป็นประธาน 4 องคก์ รผู้ใชน้ ้าชลประทานขาดความรู้และทักษะในการบริหารคณะกรรมการจัดรูปทด่ี นิ กลาง สามารถสั่งการหรือมอบนโยบายได้ จัดการโดยตรง5 มคี ณะกรรมการทา้ หน้าทกี่ ้ากบั ดแู ลทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละระดบั 5 จ้ากดั การดา้ เนินงานเฉพาะในพนื้ ทช่ี ลประทานจังหวดั6 มคี ณะกรรมการจัดรูปทด่ี นิ จังหวดั ทม่ี คี วามรู้ความสามารถเฉพาะดา้ น7 การจัดระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรมและการจัดรูปทด่ี นิ ช่วยลดตน้ ทนุเพม่ิ ผลผลิตไดจ้ ริง8 ความมน่ั คงทางดา้ นอาหารเป็นกระแสหลักของโลก9 ราคาทด่ี นิ ปรับสูงขึ้นงานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ดี ิน - 47 - บรษิ ทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน จดุ แข็ง (Stren กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1 มพี ระราชบัญญัตจิ ัดรูปทดี่ นิ เพอื่ เกษตรกรรม พ.ศ.255 2 มบี คุ ลากรทมี่ คี วามความเชี่ยวชาญดา้ นระบบชลประทาตารางที่ 2.8-2 การวเิ คราะห์ TOWS Matrix 3 มที างเลือกในการพฒั นาระบบชลประทานในแปลงเกษ 4 ท้าใหก้ ารใช้น้ามปี ระสิทธภิ าพทวั่ ถืงและเป็นธรรม TOWS Matrix 5 สามารถปลกู พชื ไดห้ ลากหลายหรือทา้ ไร่นาสวนผสมได 6 มเี ส้นทางล้าเลียงปจั จัยการผลิตและผลผลติ ถงึ แปลงเก 7 มกี องทนุ จัดรูปทดี่ นิ สนับสนุนภารกจิ การด้าเนินงาน โอกาส (Opportunities) กลยทุ ธ์ จดุ แข็งกบั โอกาส1 มพี น้ื ทเี่ กษตรกรรมทสี่ ามารถด้าเนินการไดท้ วั่ ประเทศอกี จ้านวนมาก SO1 ขยายพน้ื ทจี่ ัดระบบชลประทานในแปลงเกษตรกรรม2 นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนภารกจิ ขององคก์ ร SO2 ส่งเสริมการปลูกพชื มลู คา่ สูง การทา้ ไร่นาสวนผสม การ รายไดข้ องเกษตรกรข้ึนอกี3 มคี ณะกรรมการจัดรูปทดี่ นิ กลางและคณะกรรมการจัดรูปทด่ี นิ จังหวดั ซ่งึ ทา้ ให้สามารถเขา้ ถึง SO3 สง่ เสริมการเพมิ่ มลู คา่ ผลผลติ เกษตรกรรมงบประมาณไดง้ า่ ย4 มรี ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณเ์ ป็นประธานคณะกรรมการจัดรูปทด่ี นิ กลาง SO4 ส่งเสริมการส่งออกผลผลติ อาหารสามารถสัง่ การหรือมอบนโยบายไดโ้ ดยตรง5 มคี ณะกรรมการท้าหน้าทก่ี า้ กบั ดแู ลทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละระดบั จังหวดั6 มคี ณะกรรมการจัดรูปทด่ี นิ จังหวดั ทมี่ คี วามรู้ความสามารถเฉพาะดา้ น7 การจัดระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรมและการจัดรูปทดี่ นิ ชว่ ยลดตน้ ทนุ เพม่ิ ผลผลิตไดจ้ ริง8 ความมนั่ คงทางดา้ นอาหารเป็นกระแสหลักของโลก9 ราคาทด่ี นิ ปรับสูงขนึ้ ข้อจา้ กดั หรอื ภาวะคกุ คาม (Threats) กลยทุ ธจ์ ดุ แข็งกบั ข้อจา้ กดั หรอื ภาว1 งบประมาณดา้ เนินงานมจี ้ากดั และขาดความคลอ่ งตวั ในการใช้ ST1 ปรับโครงสร้างหน่วยงานระดบั ปฎิบตั กิ าร โดยรวมส้าน จัดระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรม และเพม่ิ สา้ นักงานน้ีเทา่ ท2 เกษตรกรไมย่ นิ ยอมเขา้ ร่วมโครงการหรือเปลีย่ นใจกลางคนั ST2 เพม่ิ บคุ ลากรดา้ นการส้ารวจออกแบบและกอ่ สร้าง3 มกี ารเปลี่ยนแปลงการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ นอกเหนือจากการทา้ เกษตรกรรม ST3 รณรงคก์ ารอนุรักษพ์ นื้ ทเ่ี กษตรกรรม4 องคก์ รผใู้ ชน้ ้าชลประทานขาดความรู้และทกั ษะในการบริหารจัดการ ST4 ให้มกี ารพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบหากมคี ้าขออนุญาตเป5 จ้ากดั การด้าเนินงานเฉพาะในพนื้ ทช่ี ลประทาน การท้าเกษตรกรรม ST5 สร้างความเข้มแขง็ ให้องคก์ รผใู้ ชน้ ้าชลประทานในการบ ST6 ดา้ เนินงานในพน้ื ทเ่ี กษตรน้าฝนตามคา้ ขอของเกษตรก ST7 จัดหาเคร่ืองจักร เคร่ืองมอื พานหนะสา้ หรับการกอ่ สรงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปที่ดิน - 48

รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหารngths) จดุ ดอ้ ย (Weaknesses)8 เป็นเคร่ืองมอื ในการปฏิบัตงิ าน 1 มขี น้ั ตอนการด้าเนินงานของพระราชบัญญัตหิ ลายขนั้ ตอน ทา้ ใหร้ ะยะเวลาในการปฏิบตั คิ อ่ นขา้ งมากานในแปลงเกษตรกรรม 2 โครงสร้างขององคก์ รไมเ่ ออื้ ตอ่ การปฏิตงิ านตามพระราชบัญญัติษตรกรรมตรงตามความตอ้ งการของเกษตรกร 3 โครงสร้างขององคก์ รไมเ่ ออ้ื ตอ่ ความเจริญกา้ วหน้าของบคุ ลากร 4 การสละทดี่ นิ และสมทบคา่ กอ่ สร้างจัดระบบชลประทานในแปลงเกษตรกรรม มผี ลตอ่ การพฒั นาเพม่ิ พน้ื ที่ด้ 5 การประสานงานกบั หน่วยงานอนื่ ๆ ไมเ่ ป็นเชงิ รุกกษตรกรรมทุกแปลง 6 การบริหารจัดการน้ายงั ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพเทา่ ทคี่ วร 7 เมอ่ื กอ่ สร้างเสร็จ ไมม่ กี ารส่งเสริมกจิ กรรมตอ่ เนอ่ื งทค่ี รบวงจร 8 การประชาสัมพนั ธไ์ มท่ วั่ ถึงและไมต่ อ่ เน่อื ง 9 ส้านักงานจัดรูปทด่ี นิ จังหวดั มคี รอบคลมุ ไมท่ กุ จังหวดั 10 บคุ ลากรไมเ่ พยี งพอ 11 เครื่องจักร เครื่องมอื ยานพาหนะมไี มเ่ พยี งพอ(SO Strategy) กลยทุ ธ์ จดุ ดอ้ ยกบั โอกาส (WO Strategy) WO1 บริหารจัดการกระบวนการดา้ เนินงานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ ครอบคลุมทกุ ระยะของการพฒั นารท้าเกษตรอนิ ทรีย์/เกษตรปลอดภัย เพอ่ื ยกระดบั WO2 ปรับโครงสร้างหน่วยงาน โดยเฉพาะส่วนทเ่ี กยี่ วกบั การสา้ รวจออกแบบและกอ่ สร้าง และให้เออ้ื ตอ่ ความ เจริญกา้ วหน้าของบุคลากร WO3 ให้คดิ มลู คา่ ทด่ี นิ ในอนาคตในสว่ นทเ่ี กษตรกรสูญเสียไป เป็นส่วนหนึ่งของเงนิ สมทบคา่ กอ่ สร้าง WO4 ประสานความร่วมมอื กบั หน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งอยา่ งตอ่ เน่อื งทุกระยะของการพฒั นา WO5 ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ชว่ ยในการวางแผนการเพาะปลูกและจัดสรรน้า WO6 ออกแบบคสู ่งน้าเป็นแบบดาดคอนกรีตและมหี น้าตดั สี่เหล่ยี มผนื ผา้ (ตวั U) WO7 ส่งเสริมกจิ กรรมตอ่ เนอ่ื งอยา่ งครบวงจรหลงั กอ่ สร้างเสร็จ WO8 ดา้ เนินการประชาสัมพนั ธท์ กุ รูปแบบอย่างทว่ั ถงึ และตอ่ เนอ่ื งวะคกุ คาม (ST Strategy) กลยทุ ธจ์ ดุ ดอ้ ยกบั ข้อจา้ กดั หรอื ภาวะคกุ คาม (WT Strategy)นักงานจัดรูปทดี่ นิ จังหวดั กบั โครงการปฏิบัตกิ าร WT1 บูรณาการหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการพฒั นาพน้ื ทจี่ ัดระบบชลประทานในแปลงเกษตรกรรมทจ่ี ้าเปน็ WT2 การศกึ ษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอยี ดใหด้ า้ เนินการควบคกู่ บั กระบวนการมสี ว่ นร่วมของปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ นอกเหนือจาก เกษตรกร บริหารจัดการในดา้ นตา่ งๆ โดยหน่วยงานของรัฐ WT3 จัดจ้างบริษทั ทปี่ รึกษาดา้ เนินการสร้างความเข้มแขง็ ใหอ้ งคก์ รผ้ใู ชน้ ้าชลประทานในการบริหารจัดการ WT4 จัดจ้างบริษทั ทป่ี รึกษาควบคมุ งานจ้างเหมาการกอ่ สร้างโครงการจัดระบบชลประทานในแปลง เกษตรกรรม WT5 ด้าเนนการตดิ ตามและประเมนิ ผลทกุ ปีและทุกรอบ 5 ปีกรร้างทท่ี นั สมยั ใหเ้ พยี งพอ8 - บริษทั เอ กรุป๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผู้บริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.9 การรบั ฟังความคดิ เหน็ ของประชาชน ดังที่ได้กล่าวข้างต้นว่าการดาเนินงานการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา ผู้เกี่ยวข้องมีหลายส่วน ท้ังหน่วยงานภาครัฐและเกษตรกรในพ้นื ที่ ทั้งระดับนโยบาย และระดับปฏิบตั กิ าร ดังน้ันเพื่อให้การขับเคลื่อนแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในด้านการเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต ในการวางแผนการบริหารจัดการและแผนปฏิบัติงานจึงต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องทุกฝุาย ซึ่งการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการจดั ทาแผนแม่บทครัง้ น้ี แบง่ การจัดประชุมเพ่ือรับฟังความคิดเห็นออกเป็น 2 เวทีประกอบด้วย 1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ มีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอร่างแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินนาเสนอต่อผู้แทนหน่วยราชการระดับจังหวัด อาเภอ ผู้แทนหน่วยราชการส่วนกลางท่ีเกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้าชลประทาน ผู้แทนประชาคม ผู้แทนสภาองค์กรชุมชน ผู้แทนเกษตรกรผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งผู้แทนสื่อมวลชน พร้อมทั้งรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมการประชุมเพื่อร่วมกันหาแนวทางที่เหมาะสมในการดาเนินโครงการฯ และจัดทาเป็นแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินต่อไป 2. ประชุมนา้ เสนอแผนแมบ่ ทโครงการ มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อนาเสนอแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน ที่ได้ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ความเหมาะสมด้านวิศวกรรม ด้านเกษตร ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน และด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนาข้อเสนอแนะที่ได้จากการประชุมปฐมนิเทศโครงการมาบูรณาการเพื่อจัดทาเป็นแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน นาเสนอต่อผู้แทนหน่วยราชการระดับจังหวัด อาเภอ ผู้แทนหนว่ ยราชการสว่ นกลางที่เก่ียวข้อง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้าชลประทาน ผู้แทนประชาคม ผแู้ ทนสภาองค์กรชุมชน ผู้แทนเกษตรกรผมู้ ีส่วนได้เสยี รวมทัง้ ผแู้ ทนส่อื มวลชน2.9.1 ผู้เขา้ ร่วมประชุม การรบั ฟังความคิดเห็นของประชาชนในการจดั ทาแผนแม่บทคร้งั นี้ ได้จัดประชุมท้ังหมด 10 ครัง้แบง่ เป็น 1. การประชมุ ปฐมนิเทศโครงการ 5 ครัง้ โดยแบ่งออกเปน็ รายภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ 2. ประชุมนาเสนอแผนแมบ่ ท 5 ครง้ั โดยแบ่งออกเปน็ รายภาค ไดแ้ ก่ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ จานวนผเู้ ขา้ ร่วมประชุมท้งั สิน้ 2,092 คน แบง่ เป็น  หน่วยงานสังกดั กรมชลประทาน 568 คน  หนว่ ยงานราชการระดบั จงั หวัด 188 คน  หนว่ ยงานราชการระดับอาเภอและระดบั ท้องถิ่น 54 คน  ภาคประชาชน 1,282 คน แสดงการเปรียบเทียบรอ้ ยละของกลมุ่ เปาู หมายในการจดั ประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ดงัแสดงในรูปที่ 2.9-1งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ นิ - 49 - บริษัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รปู ที่ 2.9-1 แสดงการเปรยี บเทียบรอ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมายในการจัดประชมุ รบั ฟงั ความคิดเห็นของ ประชาชน2.9.2 ผลการรับฟังความคดิ เห็น 1) ผลการรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากการประชุมปฐมนเิ ทศโครงการ ผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนจากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ สามารถสรุปผลในการเลือกรูปแบบการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาแยกเป็นรายภาค แสดงดังรูปที่ 2.9-2 สรุปการเลือกของประชาชนส่วนใหญ่ ไดด้ งั น้ี  ภาคเหนือ ประชาชนส่วนใหญเ่ ลอื กงานจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม  ภาคกลาง ประชาชนสว่ นใหญเ่ ลอื กงานจัดรูปท่ดี นิ สมบรู ณ์แบบ (Intensive)  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชาชนส่วนใหญ่เลือกงานจัดรูปที่ดินสมบูรณ์แบบ (Intensive)  ภาคตะวนั ออก ประชาชนสว่ นใหญ่เลอื กงานจัดระบบนา้ เพอ่ื เกษตรกรรม  ภาคใต้ ประชาชนสว่ นใหญ่เลือกงานจัดระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรม และสามารถสรุปปัญหา สาเหตุ ความต้องการ แนวทางการแก้ไข และข้อเสนอแนะ ได้ดังตารางท่ี 2.9-1งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ีดิน - 50 - บรษิ ทั เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รูปท่ี 2.9-2 ผลการเลือกรปู แบบการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าจากการรบั ฟงั ความคิดเห็นจากการ ประชมุ ปฐมนิเทศโครงการตารางที่ 2.9-1 สรปุ ปัญหา สาเหตุ ความต้องการ แนวทางการแก้ไข และข้อเสนอแนะ จากการรบั ฟงัความคิดเหน็ จากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ ปญั หา/ความต้องการ สาเหตุ แนวทางการแกไ้ ข/ ต้องการการสนบั สนุนอะไรบา้ ง ข้อเสนอแนะ เพิม่ เตมิ- ระบบชลประทานเขา้ ไมถ่ งึ ทุก - ระบบชลประทานไม่ แปลง ครอบคลมุ พ้นื ทกี่ ารเกษตร - จัดทาระบบชลประทานให้ - สนบั สนนุ เรื่องพันธุ์พชื- ปลายคลองไมไ่ ดร้ บั น้า - การบริหารจดั การนา้ ไมม่ ี เข้าถึงทุกแปลง - ชว่ ยเหลอื เรอ่ื งการตลาด หา- ปริมาณน้าตน้ ทุนนอ้ ย ประสิทธภิ าพ - จัดระบบการบริหารจัดการ แหล่งรบั ซื้อผลผลติ โดยไมผ่ า่ น- เกิดปัญหาการแยง่ นา้ - ขาดความร่วมมือ นา้ และให้เกิดความร่วมมอื พอ่ ค้าคนกลาง- การใช้ท่ีดนิ ในพ้ืนทเ่ี กษตรกรรม - ขาดการบารงุ รักษาระบบ - จัดสรรงบประมาณและ - ให้ความร้เู รื่องการบรหิ าร ไมเ่ หมาะสม ชลประทาน บุคลากรในการดูแลและ จัดการนา้- ไมม่ ที างระบายน้า บารุงรกั ษาโครงสรา้ งฯ - ให้ความรู้เรื่อง- นา้ สญู เสีย เน่ืองจากโครงสร้างฯ เทคโนโลยีการเกษตร เพอ่ื การ เสียหาย ลดต้นทนุ และเพม่ิ ผลผลติ การเกษตร - สนับสนนุ งบประมาณในการ บารุงรกั ษาแหล่งน้างานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดนิ - 51 - บรษิ ทั เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2) ผลการรับฟังความคิดเห็นจากการประชุมนา้ เสนอแผนแม่บท ผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนจากการประชุมนาเสนอแผนแม่บท ในการให้ขอ้ คิดเหน็ ของประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่อยู่ในพื้นที่โครงการตามแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินด้านการบริหารจัดการ แสดงดังตารางท่ี 2.9-2 และสรุปความเก่ียวข้องท่ีจะนาข้อมูลท่ีได้ไปปรับปรุงแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน ด้านการวิเคราะห์ปัญหาของการดาเนินงานจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดินท่ีผ่านมา พร้อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขเพ่ือให้สอดคล้องกับการดาเนินงานและความต้องการของเกษตรกรเป็นด้านต่างๆ ดังนี้  การบริหารจัดการน้า  การสง่ เสรมิ การเกษตร  การบริหารและพัฒนาทด่ี ิน  แนวทางการประสานความรว่ มมอื  แนวทางการขับเคลื่อนด้านการบริหารจัดการตารางที่ 2.9-2 ข้อคดิ เห็นของประชาชนและหน่วยงานที่เกย่ี วข้องจากการประชุมนาเสนอแผนแม่บทกลุ่มผู้ใช้นา้ /ปญั หาเร่ือง หนว่ ยงานทต่ี ้องการให้ หน่วยงานการ หน่วยงานทีต่ ้องการให้ ข้อเสนอแนะ การบริหารจัดการน้า เข้ามาช่วยเหลอื เพ่ือให้ พัฒนาส่งเสรมิ ดา้ น เข้ามาส่งเสรมิ ดา้ น กลุม่ เข้มแข็งและการ การตลาด การเกษตร บริหารจดั การมี ประสิทธภิ าพมากขน้ึ- มีกลุ่มผู้ใชน้ า้ โดยเฉพาะ - โครงการชลประทาน - มีศูนยเ์ รยี นรูฯ้ /แต่ไม่ - กรมสง่ เสริมสหกรณ์ - หาตลาดรองรับผลผลิตทางกลมุ่ พื้นฐานแต่ยงั ไม่ จงั หวัด เคยเขา้ รว่ ม - สานักงานพาณชิ ยจ์ ังหวดั การเกษตรสมบรู ณ์ - โครงการสง่ นา้ และ - ต้องการใหม้ กี าร - กรมส่งเสริมการสง่ ออก - จดั หาแหล่งเงนิ ทุน เงนิ กู้- ไดร้ บั นา้ ไม่ทวั่ ถงึ บารงุ รกั ษา จดั ตั้งศนู ยเ์ รยี นรูใ้ น - ธกส. ดอกเบยี้ ต่า- ขาดการประสานงานและ - กองส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วม ทุกตาบล - กรมส่งเสริมการเกษตร - จดั อบรมใหค้ วามรู้ ทั้งในดา้ นประชาสมั พนั ธ์ ของประชาชน - สานักงานเกษตรจงั หวัด การเกษตร และ- ขยายพ้นื ทีจ่ ดั ระบบนา้ ให้ - บริษทั ทปี่ รกึ ษา - หนว่ ยงานราชการระดับ เทคโนโลยกี ารเกษตรเต็มพ้นื ที่โดยเรว็ - หนว่ ยงานราชการใน จงั หวดั อาเภอ และ - สนับเรือ่ งพนั ธ์ุพชื ที่เหมาะสม- บคุ ลากรทีด่ ูแลเร่ืองการ ระดับอาเภอ ท้องถิน่ - วางแผนการทาการเกษตรบรหิ ารจดั การนา้ ไม่ - ภาคเอกชน - ส่งเสรมิ การปลูกพืชใช้น้านอ้ ยเพียงพอ - ส่งเสริมด้านการแปรรปูงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทดี่ ิน - 52 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู รหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.10 การจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศภูมศิ าสตร์ ในการดาเนินการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินได้ใช้ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือที่ได้นามาใช้ในการวิเคราะห์และแสดงผลเพื่อหาพ้ืนที่ศักยภาพ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GeographicInformation System, GIS) เป็นระบบฐานข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพสูงและเป็นท่ีนิยมนามาใช้กันอย่างกว้างขวางในงานทรัพยากรน้า เพราะคุณลักษณะท่ีต่างจากระบบฐานข้อมูลตารางท่ัวไป GIS เป็นฐานข้อมูลตารางผนวกเข้ากับฐานข้อมูลภาพ (Graphic Data) ที่อ้างอิงกับระบบพิกัดภูมิศาสตร์ แสดงรายละเอียดในรูปแบบหลากหลายขององคป์ ระกอบภมู ปิ ระเทศ การจาแนกข้อมูลเป็นชั้น (Layer) เช่น ชั้นข้อมูลขอบเขตการปกครอง ชน้ั ข้อมลู ถนน ช้นั ขอ้ มลู แหล่งนา้ ช้ันข้อมลู การใช้ประโยชน์ที่ดิน ช้ันข้อมูลพ้ืนท่ีชลประทาน ช้ันข้อมูลพนื้ ทจ่ี ดั รูปที่ดนิ และช้ันข้อมูลตาแหน่งคันคูน้า ฯลฯ จึงสะดวกต่อการเลือกไปใช้ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดา้ นต่างๆ ในเชิงพื้นท่ี (Spatial Analysis) การจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินน้ี มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศภมู ิศาสตร์ของโครงการ ภาพรวมแสดงดงั รปู ท่ี 2.10-1 และสรปุ ผลการจดั ทาไดด้ งั น้ี รปู ท่ี 2.10-1 ภาพรวมการจัดทาขอ้ มูลสารสนเทศภมู ศิ าสตร์งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทด่ี นิ - 53 - บรษิ ัท เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผ้บู รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์1. แผนที่พืน้ ฐาน 18 ชน้ั ข้อมลู 1) แผนที่ฐาน 5 ชั้นข้อมูล เป็นแผนที่ครอบคลุมขอบเขตพ้ืนท่ีโครงการท่ีอยู่แผนแม่บทการ จัดรูปที่ดิน ใช้ประกอบการศึกษาวิเคราะห์ด้านวิชาการและใช้จัดทารูปแผนท่ีต่างๆ เพ่ือ ประกอบการจดั ทารายงานการศกึ ษา ประกอบดว้ ย  ขอบเขตจังหวัด  ขอบเขตอาเภอ  ขอบเขตตาบล 2) ข้อมูลพ้ืนฐาน 9 ชั้นข้อมูล ใช้จัดทารูปแผนที่ต่างๆ เพื่อประกอบการจัดทารายงาน การศึกษา และใชใ้ นการพิจารณาในข้ันต้น ประกอบด้วย  ตาแหน่งโครงการพัฒนาแหล่งน้าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ของกรม ชลประทาน  ตาแหน่งแผนงานโครงการพัฒนาแหล่งน้าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ของกรมชลประทาน  ข้อมลู แหลง่ น้าตน้ ทุนประเภทบ่อบาดาล  ข้อมูลแหลง่ นา้ ต้นทนุ ของสานักงานการปฏริ ูปทด่ี นิ เพื่อเกษตรกรรม  ขอ้ มลู แหล่งนา้ ในไร่นานอกเขตชลประทานของกรมพัฒนาท่ีดิน  ข้อมูลงานพัฒนาขนาดเล็กเพ่ือการอนรุ ักษ์ดนิ และน้าของกรมพัฒนาทีด่ นิ  ขอ้ มูลพ้นื ที่ปุาไม้  ขอ้ มลู เขตอนุรกั ษ์พันธ์สุ ัตว์ปาุ  ข้อมลู เขตหา้ มล่าสัตวป์ ุา 3) ข้อมูลพ้ืนที่ชลประทานเดิม 6 ช้ันข้อมูล ใช้ในการระบุตาแหน่งพ้ืนท่ีที่ต้องการศึกษาและ วิเคราะห์ด้านวิชาการ และใช้จัดทารูปแผนที่ต่างๆ เพ่ือประกอบการจัดทารายงาน การศึกษา ประกอบด้วย  ทีต่ ้งั สานักงานชลประทาน  ขอบเขตสานักงานชลประทานที่ 1-17  พน้ื ท่ีจดั รูปทด่ี ินที่ไดด้ าเนนิ การแล้ว  ตาแหน่งโครงการคันคนู ้าท่ไี ดด้ าเนินการแลว้  พน้ื ที่โครงการชลประทาน  พื้นที่ชลประทาน2. ขอ้ มูลที่ใชศ้ ึกษาวเิ คราะห์ดา้ นวชิ าการในโครงการ 17 ชนั้ ข้อมลู 1) ขอ้ มลู ที่ใช้ในการคัดกรองพืน้ ทีท่ ีเ่ หมาะสมในการพฒั นา  พ้ืนที่นา้ ท่วม 10 ปี พ.ศ.2548-2557  พ้นื ท่เี สีย่ งภัยแล้ง  พนื้ ที่เพาะเลี้ยงสัตวน์ ้า ปลา กุง้ เลย้ี งผสม 2) ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม : การเข้าถึงแหล่งน้าต้นทุน และใช้ใน การศึกษาวิเคราะหด์ า้ นสิ่งแวดล้อม : แหลง่ น้าธรรมชาติในพ้ืนท่ีในรศั มี 500 เมตร  เส้นลานา้ แหลง่ น้างานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทด่ี ิน - 54 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3) ข้อมลู ท่ีใชใ้ นการศกึ ษาวเิ คราะหด์ ้านวิศวกรรม : การเช้าถึงการเชื่อมต่อเสน้ ทางคมนาคม  เสน้ ทางคมนาคม (ถนน) 4) ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ด้านเกษตร : ความสามารถของพ้ืนท่ีในการปลูกพืชฤดู แลง้ (CI) ทีเ่ พม่ิ ข้ึนจากปัจจุบัน  การใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน  พน้ื ท่ีการเกษตร  โซนนง่ิ ส่งเสริมการเกษตร ชนิดพชื สาหรบั การสง่ เสริมการเกษตร 5) ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวเิ คราะห์ด้านเกษตร : ความเหมาะสมของดินด้านการเกษตร  ช้ันความเหมาะสมของดินสาหรับปลกู พชื ในระบบชลประทาน 6) ข้อมลู ท่ีใชใ้ นการศึกษาวิเคราะห์ด้านเกษตร : พืน้ ที่เกษตรแปลงใหญ่  การส่งเสรมิ การเกษตรแปลงใหญร่ ายตาบล ปี 2559 7) ข้อมลู ที่ใชใ้ นการศกึ ษาวิเคราะห์ด้านเกษตร : ศูนย์เรียนร้เู พม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตร  ศนู ย์เรยี นรู้ การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร ปี 2559 8) ขอ้ มลู ที่ใช้ในการศึกษาวเิ คราะห์ด้านเกษตร : กฎหมายผงั เมอื งค้มุ ครองพ้ืนที่เกษตรกรรม  ผงั เมืองรวมรายจังหวัด 9) ข้อมูลท่ีใช้ในการคัดกรองพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมในการพัฒนา และใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ สง่ิ แวดลอ้ ม : พื้นที่ดนิ เคม็  ดนิ เคม็ 10) ขอ้ มูลท่ีใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ส่ิงแวดล้อม : ผลกระทบตอ่ พ้นื ท่ีอ่อนไหวในรัศมี 500 เมตร  ท่ีตงั้ โบราณสถาน  ท่ีตัง้ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว 11) ใช้เปน็ แผนทคี่ รอบคลมุ ขอบเขตพ้ืนทโี่ ครงการทีอ่ ย่แู ผนแมบ่ ทการจัดรูปที่ดิน ใช้ประกอบ การศึกษาวิเคราะห์ด้านวิชาการและใช้จัดทารูปแผนท่ีต่างๆ เพ่ือประกอบการจัดทา รายงานการศกึ ษา  แผนที่ระวาง  ภาพถ่ายทางอากาศ 3. ฐานข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการวิเคราะห์ 2 ชั้นขอ้ มลู 1) พ้ืนที่ศักยภาพในการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม ได้แก่ พ้ืนที่ที่มีความเหมาะสมในการพัฒนาเป็นพื้นที่จัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม ได้จากการคัดกรองพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมในการพัฒนา การกาหนดหลักเกณฑ์ ตัวแปร ตัวช้ีวัด และจัดลาดับความสาคัญ และนามาจัดทาแผนแม่บทการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 2) พ้ืนท่ีศักยภาพในการจัดรูปท่ีดิน ได้แก่ พ้ืนท่ีท่ีมีความเหมาะสมในการพัฒนาเป็นพ้ืนที่จัดรูปที่ดิน ได้จากการคัดกรองพื้นที่ท่ีเหมาะสมในการพัฒนา การกาหนดหลักเกณฑ์ ตัวแปร ตัวชี้วัด และจัดลาดบั ความสาคัญ และนามาจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ีดนิ พื้นท่ีศักยภาพในการจัดระบบนา้ เพอื่ เกษตรกรรมและการจัดรปู ทดี่ ิน แสดงดงั รูปท่ี 2.10-2และรปู ที่ 2.10-3 ตามลาดับงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทด่ี นิ - 55 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รูปที่ 2.10-2 พ้นื ที่ศักยภาพในการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปทดี่ นิ - 56 - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รูปที่ 2.10-3 พ้นื ที่ศกั ยภาพในการจดั รปู ท่ดี ินงานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี นิ - 57 - บริษทั เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4. การประยกุ ตใ์ ชข้ ้อมูลภูมิสารสนเทศสาหรบั แผนแมบ่ ทการจัดรูปทีด่ ิน ในการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน ได้มีการนาข้อมูลภูมิสารสนเทศมาใช้เป็นตัวช่วยในการวิเคราะห์และแสดงผล จานวน 35 ช้ันข้อมูล และได้ผลการวิเคราะห์จัดทาฐานข้อมูลอีก 2 ช้ันข้อมูล ดังที่ได้กล่าวอธิบายไว้ข้างต้นแล้ว ช้ันข้อมูลที่ได้จัดทาข้ึนนี้ยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ได้อีกเพ่ือประกอบการตดั สนิ ใจดาเนินการโครงการในอนาคตต่อไป แนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศสาหรับแผนแม่บทการจดั รปู ทด่ี ิน สามารถสรุปได้ดงั น้ี 1) การประยกุ ตใ์ ชข้ ้อมลู ภมู สิ ารสนเทศของโครงการในการศกึ ษาความเหมาะสม สารวจและออกแบบรายละเอียดของแต่ละโครงการ เช่น แผนท่ีภาพถ่ายดาวเทียม ร่วมกับชั้นข้อมูลเส้นลาน้า แหล่งน้า ช้ันข้อมูลเส้นทางคมนาคม (ถนน) และชั้นข้อมูลขอบเขตโครงการ เพื่อสารวจสภาพภูมิประเทศ แนวถนนแนวคลอง ห้วย หนอง/บ่อน้า รูปแปลงเพาะปลูก และตาแหน่งสิ่งปลูกสร้างอาคาร ในปัจจุบันของพ้ืนที่โครงการ เพ่ือใช้วางแผนเบื้องต้นในการกาหนดแนว จุด หรือขอบเขตที่จะลงสารวจ และใช้เป็นแผนที่นาทางเพื่อลงสารวจพื้นที่จริง ในการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดต่อไป ดังแสดงตัวอย่างการประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศในรูปท่ี 2.10-4 จะเห็นได้ว่า แผนท่ีภาพถ่ายดาวเทียมสามารถมองเห็นรูปแปลง แนวคลอง หรือแนวถนน ได้อย่างชัดเจน 2) การประยุกตใ์ ช้ข้อมลู ภมู สิ ารสนเทศของโครงการในการวางแผนพัฒนาโครงการ โดยใช้ชั้นข้อมูลการใช้ประโยชน์ท่ีดิน มาศึกษาพ้ืนท่ีการใช้ประโยชน์ท่ีดินท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญต่อการพัฒนาพ้ืนที่เกษตรกรรม จะสามารถบอกได้ว่าพ้ืนท่ีน้ันๆ มีแนวโน้มของการใช้ประโยชน์ท่ีดินในอนาคตไปในทิศทางใด เช่น การขยายตัวของชุมชนเมืองอย่างรวดเร็วในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี ซึ่งอาจมีแนวโน้มว่าพ้ืนที่น้ันๆ จะกลายเป็นชมุ ชนเมอื งเตม็ ตัวในอนาคต และอาจจะไม่เหมาะต่อการพัฒนาพื้นท่ีเกษตรกรรมต่อไป หรือหากมีนโยบายทีช่ ดั เจนวา่ ต้องการรกั ษาพื้นทีเ่ กษตรกรรมทย่ี ังคงเหลอื อยู่ กจ็ ะได้เร่งวางแผนดาเนินการก่อสร้างในพื้นท่ีนั้นก่อนเป็นอันดับแรก ยกตัวอย่าง กรณีพื้นท่ีโครงการส่งน้าและบารุงรักษาบางเลน ดังรูปที่ 2.10-5การเปลี่ยนแปลงการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ จากปี พ.ศ.2545 ถึงปี พ.ศ.2554 มอี ัตราการขยายตวั ของชมุ ชนเมือง (สีแดง) อย่างรวดเร็วในระยะเวลาเพียง 9 ปี รวมถึงมีการเปลี่ยนอาชีพเพาะปลูกไปเป็นการขุดบ่อเพ่ือการเพาะเล้ยี งสัตวน์ า้งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ นิ - 58 - บริษทั เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ที่ดนิ รูปที่ 2.10-4 ตัวอยา่ งการประยุกต์ใช้แผนทภี่ าพ - 59 -

รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ ารพถา่ ยดาวเทียมสาหรบั โครงการอา่ งเก็บน้าแม่ธิ บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด-

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี พ.ศ.2545รูปท่ี 2.10-5 การประยุกต์ใช้ชั้นขอ้ มูลการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินเพ่อื ดกู ารเปลย่ี นแปลงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ ิน - 60 -

รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร ปี พ.ศ.2554ลงของโครงการส่งนา้ และบารุงรกั ษาบางเลนในปี พ.ศ.2545 และปี พ.ศ.2554- บริษัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3) การประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศของโครงการในการวางแผนการเพาะปลูกให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี ความต้องการของตลาด และสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อใหบ้ รรลุเปูาหมายในการสร้างความมั่นคง มัง่ คงั่ และย่ังยืน ให้กับเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการ โดยการนาช้ันข้อมลู การใช้ประโยชน์ท่ีดิน ช้ันข้อมูลความเหมาะสมของดิน ชั้นข้อมูลความเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจต่างๆ ชั้นข้อมูลศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร โซนน่ิงส่งเสริมการเกษตร และพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ มาใช้ในการวางแผนการเพาะปลูก ในเขตพ้ืนที่ชลประทานส่วนใหญ่จะปลูกข้าวเป็นหลัก ซึ่งในฤดูแล้งบางพ้ืนที่ก็ยังปลูกข้าวนาปรังด้วย ยกเว้นบางพ้ืนท่ีของประเทศไทย เช่น ภาคใต้ ที่ปลูกไม้ยืนต้นเป็นส่วนมาก จากนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่พยายามผลักดันและส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลีย่ นการปลกู พชื ใชน้ ้านอ้ ย โดยเฉพาะฤดแู ล้ง หรือปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีมีมูลค่าสูงเป็นที่ต้องการของตลาด เป็นต้น ช้ันข้อมูลเหล่านี้จะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเกษตรกร เช่น กรณีพ้ืนที่ที่ไม่มีความเหมาะสมในการปลกู ขา้ ว หากหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งให้ข้อมูลและความรู้ความเข้าใจแก่เกษตรกร เกษตรกรอาจยอมปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกได้ หรือหากพื้นที่ใดมีความเหมาะสมในการปลูกข้าวอยู่แล้ว ก็ดาเนินการเพียงวางแผนในการปรับปรุงบารุงดิน และเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการทาเกษตรกรรมใหม่ๆ ให้ดีย่ิงข้ึน ยกตัวอย่างดังรูปที่ 2.10-6 ถึงรูปท่ี 2.10-7 จะเห็นได้ว่า โครงการอ่างเก็บน้าแม่ธิ พื้นที่โครงการเป็นพื้นท่ีปลูกข้าวเป็นหลัก และสภาพดินมีความเหมาะสมในการปลูกข้าวสูง ก็ดาเนินการเพียงวางแผนปรับปรุงบารงุ ดนิ และส่งเสริมการทาเกษตรกรรมด้านอื่นๆ เช่น การเพม่ิ มลู คา่ สินคา้ เกษตร เปน็ ต้น 4) การประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศของโครงการในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเกษตรกร โดยการแสดงผลข้อมูลภูมิสารสนเทศในรูปแบบของแผนที่บริเวณพื้นที่โครงการด้วยช้ันข้อมูลต่างๆ ให้ครอบคลุมทุกด้านเพื่อให้เกษตรกรเห็นภาพรวม และทาความเข้าใจได้ง่ายกว่าการบอกเลา่ ช่วยให้เกษตรกรสามารถตัดสนิ ใจไดง้ า่ ยขน้ึ สามารถดาเนนิ โครงการไดเ้ รว็ ขน้ึ 5) ข้อมูลภมู ิสารสนเทศของโครงการจะใช้เป็นฐานข้อมลู ท่ีชว่ ยในการติดตามประเมินผลและสามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย เพราะเป็นข้อมูลที่มีตาแหน่งที่ถูกต้องอ้างอิงพิกัดทางภูมิศาสตร์สามารถพัฒนาร่วมกบั เทคโนโลยีอ่ืนๆ เช่น การจัดทาเป็นเวปไซต์เผยแพร่ข้อมูลเหล่าน้ีให้บุคคลท่ีมีความสนใจเขา้ ถึงได้งา่ ยกวา่ เดมิ เชน่ มกี ารพัฒนาพ้ืนท่ีจัดรูปที่ดินที่ใดแล้วบ้าง เพ่ือให้ผู้สนใจเข้าศึกษาดูงาน เป็นต้น และใช้ประกอบการพฒั นาและดาเนินงานโครงการต่อไปในอนาคต 6) หน่วยงานท่ีรับผิดชอบดาเนินการนโยบายเกษตรแปลงใหญ่ สามารถประสานความรว่ มมอื กบั สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางเลือกพ้ืนที่จากชั้นข้อมูลพื้นที่ศักยภาพในการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจดั รูปที่ดิน เพอื่ ยกระดบั ใหพ้ ้ืนท่ีที่มีการจัดระบบนา้ เพอ่ื เกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดินตามแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน เป็นพื้นท่ีเกษตรแบบแปลงใหญ่ได้ เนื่องจากทิศทางการดาเนินงานในแผนบริหารของแผนแม่บทการจดั รปู ทด่ี ินนม้ี ีกิจกรรมที่เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกับนโยบายเกษตรแปลงใหญ่งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทดี่ ิน - 61 - บรษิ ทั เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook