Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.4บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน20ปี

1.4บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บทจัดรูปที่ดิน20ปี

Published by tooncreed, 2018-06-18 05:48:00

Description: -

Search

Read the Text Version

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คานา สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 17 ให้สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน ประกอบด้วย แผนการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และแผนการจัดรูปท่ีดิน โดยแสดงภาพรวมการพัฒนาพ้ืนท่ีที่เหมาะสมแก่การจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดิน ระยะเวลาในการดาเนินการตามแผนกรอบงบประมาณ รวมท้ังกาหนดหน่วยงานท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบตามแผน แนวทางการประสานความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบชลประทาน การบริหารและพัฒนาทีด่ นิ และการอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการส่งเสริมการทาเกษตรกรรม ดังน้ัน สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางจึงได้จัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน เพื่อเป็นกรอบในการดาเนินการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและจัดรูปที่ดินสาหรับการพัฒนาในระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)เพื่อให้บรรลุเปูาประสงค์ของพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 4 ในการเพ่ิมผลผลิตและลดต้นทุนการผลติ อย่างยั่งยืน สงิ หาคม พ.ศ.2559งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทดี่ นิ - i - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั



กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผ้บู รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บทสรุปการจดั แผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ดี ิน สืบเน่ืองจากพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 11 (1) กาหนดให้คณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลางพิจารณาเสนอแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้ความเห็นชอบมาตรา 14 (1) กาหนดใหส้ านกั งานจัดรปู ทีด่ นิ กลางมอี านาจหน้าท่ีจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน และมาตรา17 กาหนดให้สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน ประกอบด้วย แผนการจัดระบบน้าเพอ่ื เกษตรกรรม และแผนการจดั รูปทด่ี นิ โดยแสดงภาพรวมการพฒั นาพื้นทีท่ ่ีเหมาะสมแก่การจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดิน ระยะเวลาในการดาเนินการตามแผนกรอบงบประมาณ รวมท้ังกาหนดหน่วยงานที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบตามแผน แนวทางการประสานความร่วมมือของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดระบบชลประทาน การบริหารและพัฒนาที่ดิน และการอ่ืนท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมการทาเกษตรกรรมเพ่ือเป็นกรอบในการดาเนินการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและจัดรูปท่ีดินสาหรับการพัฒนาในระยะ 20 ปี(พ.ศ.2560-2579) ซ่ึงการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินได้คานึงถึงความสอดคล้องกับนโยบายชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ แผนพฒั นาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือแผนอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องเชน่ เกษตรแปลงใหญ่, Agri Map, Thailand 4.0 กับภาคการเกษตร และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานท่เี กีย่ วข้องเพอ่ื ประกอบการจดั ทาแผนด้วยสาระสาคญั ของแผนแมบ่ ทการจัดรูปทีด่ ิน จากการรวบรวมข้อมูลและรายงานการศึกษาที่เกี่ยวข้อง เช่น นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศแผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลการพัฒนาพื้นที่ชลประทาน ข้อมูลการดาเนินงานการจัดระบบชลประทานในไร่นาต้ังแต่ต้นจนถึงปีงบประมาณ 2558 ข้อมูลสภาพปัญหาการดาเนินงาน ฯลฯ ได้ทาการประมวลและวิเคราะห์ด้านวิชาการเพ่ือคัดกรองพื้นท่ีท่ีเหมาะสมในการพัฒนา แนวทางการบริหารจัดการและองค์กรขับเคล่ือน แล้วนาเสนอในการประชุมรับฟังความคิดเห็นของเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและเกษตรกร รวมทั้งไดข้ อข้อคิดเห็นจากผทู้ รงคุณวฒุ ิ และผู้เกี่ยวข้องในการกาหนดทิศทางการดาเนินงาน จากนั้นนาข้อคิดเห็น ความต้องการ และข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดด้อย โอกาส และข้อจากัดหรือภาวะคุกคาม (SWOT Analysis) และทาการสรุปกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการในรูปแบบของตารางTOWS Matrix เพ่ือกาหนดยุทธศาสตร์ และปรับปรุงแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินให้ครบถ้วนสมบูรณ์ รวมท้ังกาหนดกรอบทิศทางการบริหารจัดการแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน ประกอบด้วย แผนการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม แผนการจัดรูปที่ดิน และแผนการบริหารจัดการ ซึ่งแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ แผนระยะเร่งด่วน (ปี พ.ศ.2560) แผนระยะสั้น (ปี พ.ศ.2561-2564) แผนระยะกลาง (ปี พ.ศ.2565-2569) และแผนระยะยาว (ปี พ.ศ.2570-2579)งานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รปู ที่ดนิ - ii - บริษทั เอ กรุป๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์1. ยทุ ธศาสตร์แผนแมบ่ ทการจัดรูปทีด่ ิน วสิ ยั ทัศน์ “มีระบบชลประทานในไร่นาอย่างทวั่ ถึงและมีประสทิ ธิภาพ โดยการมีสว่ นรว่ มจากทุก ภาคสว่ น เพื่อลดตน้ ทนุ การผลติ และเพิ่มผลผลติ ในภาคเกษตรกรรม” พันธกิจ 1) พฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าพืน้ ท่ีเปูาหมายท่มี ีศักยภาพ 2) รกั ษาพ้นื ทเี่ กษตรกรรมท่ีมีการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ า ให้มคี วามย่ังยืน 3) บูรณาการการมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วนในการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ า 4) พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่เหมาะสมกบั การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาเพ่ือ เพิ่มประสิทธภิ าพ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 : ขยายพืน้ ที่จัดระบบชลประทานในไร่นา ผลผลติ ระบบชลประทานในไรน่ าไดร้ ับการพัฒนาเพิม่ อีก 8.472 ล้านไร่ ภายใน 20 ปี ตวั ช้วี ดั • ร้อยละของพืน้ ทท่ี ่ีมกี ารพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าเทียบกับแผน • จานวนโครงการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ าตามที่กาหนดในแผน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 : รักษาพื้นที่เดมิ ท่ีมีการจดั ระบบชลประทานในไรน่ า ผลผลิต ระบบชลประทานในไรน่ าเดิม ได้รับการปรบั ปรงุ 5.989 ล้านไร่ ภายใน 20 ปี ตวั ชว้ี ัด • ร้อยละของพนื้ ทท่ี ี่มกี ารปรับปรุงโครงการจัดระบบชลประทานในไร่นาเทยี บกับแผน • จานวนโครงการเดิมท่ีไดร้ ับการปรบั ปรงุ ตามที่กาหนดในแผน ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 : การบูรณาการการมสี ว่ นรว่ มทุกภาคส่วน เพ่ือเพ่มิ ศักยภาพการผลติ ผลผลิต • องค์กรผใู้ ชน้ ้าชลประทานสามารถบริหารจดั การกจิ กรรมต่อเนื่องด้วยตนเอง • หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องสนบั สนุนด้านการผลิตและการตลาด ตัวชีว้ ดั • จานวนโครงการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าทม่ี ีการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ • จานวนโครงการเดมิ ที่ไดร้ บั การปรับปรงุ และมีการบริหารจัดการอย่างบรู ณาการ ผลลพั ธ์  ประหยัดนา้ ชลประทานได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10  รายไดส้ ุทธิของครัวเรอื นเกษตรกรเพม่ิ ข้ึนงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ท่ีดนิ - iii - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์2. แผนงานและแผนเงินงบประมาณของแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี นิ แผนงานและแผนเงินงบประมาณของแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน สาหรับการพัฒนาในระยะเวลา 20 ปี(พ.ศ.2560-2579) มพี นื้ ที่ดาเนินการ 14.461 ล้านไร่ งบประมาณท่ีใช้ในการดาเนินการ 226,078 ล้านบาท และครัวเรือนท่ีได้รับประโยชน์ 535,605 ครัวเรือน โดยแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ แผนระยะเร่งด่วน(ปี พ.ศ.2560) แผนระยะสั้น (ปี พ.ศ.2561-2564) แผนระยะกลาง (ปี พ.ศ.2565-2569) และแผนระยะยาว (ปีพ.ศ.2570-2579) สรุปแผนงานและแผนเงินงบประมาณดังตารางผลการดาเนินงานแผนแมบ่ ทการจัดรปู ท่ีดนิ พ.ศ.2560 พ.ศ.2561-2564 พ.ศ.2565-2569 พ.ศ.2570-2579 รวม 20 ปีพนื้ ทจ่ี ดั ระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรม (ล้านไร่) 0.088 0.500 2.116 4.868 7.572พนื้ ที่จดั รปู ท่ีดิน (ล้านไร)่ 0.007 0.114 0.218 0.561 0.900พน้ื ทีป่ รบั ปรงุ จัดระบบน้าเพอ่ื เกษตรกรรม (ล้านไร่) 0.000 0.163 1.072 3.570 4.804พน้ื ท่ปี รับปรงุ จัดรูปท่ีดนิ (ล้านไร่) 0.000 0.050 0.344 0.792 1.185เงินงบประมาณ (ล้านบาท) 967 10,719 50,777 163,615 226,078จานวนครวั เรอื น 3,531 30,593 138,876 362,604 535,6053. ผลสัมฤทธ์ิของแผนแม่บทการจดั รปู ทด่ี ิน3.1 การประหยัดนา้ ภาพรวมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้า หากดาเนินการตามแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน พื้นท่ีดาเนินการรวม 14.461 ล้านไร่ ในระยะเวลา 20 ปี และมีการดาเนินการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้น้าดังที่ได้กล่าวมาแล้วควบคู่ไปดว้ ย ได้แก่ ประการแรก คือ การเปลี่ยนวิธีการให้น้าแบบท่วมท้ังผืนผ่านแปลงหนึ่งไปอีกแปลงหนึ่ง จะเป็นการใหน้ ้าแบบคสู ง่ นา้ ทีใ่ หน้ ้าโดยตรงกับทุกแปลง จะสามารถประหยัดนา้ ได้ 13,924 ล้านลูกบาศก์เมตร และประการที่สองคือ การเปล่ียนการใช้ท่ีดินตามความเหมาะสมท่ีกาหนด Zoning โดย Agri-map ประหยัดน้าได้ 6,437 ล้านลูกบาศก์เมตร ดังน้ันเม่ือพัฒนาโครงการครบ 14.461 ล้านไร่ จะสามารถประหยัดน้าไดร้ วม 20,361 ลา้ นลูกบาศก์เมตร หรอื 909 ลกู บาศกเ์ มตรต่อไร่ (พนื้ ท่ีเพาะปลูกทงั้ ปี)ผลการดาเนนิ งานแผนแมบ่ ทการจดั รปู ที่ดนิ ณ ปีท่ี 1 ณ ปที ่ี 5 ณ ปีที่ 10 ณ ปีที่ 15 ณ ปีท่ี 20 พ.ศ.2560 พ.ศ.2564 พ.ศ.2569 พ.ศ.2574 พ.ศ.2579 14.461พื้นท่ีดาเนนิ การสะสม (ลา้ นไร่) 0.095 0.921 4.671 9.071 20,361 13,924ประหยัดน้า (ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร) 134 1,297 6,577 12,772 6,437- จากการเพ่ิมประสทิ ธิภาพชลประทานระดับคูส่งน้า 92 887 4,498 8,734- จากการเปลีย่ นการใชท้ ี่ดินตาม Agri-Map 42 410 2,079 4,038หมายเหตุ : ตง้ั แต่ปที ี่ 21 เป็นต้นไป จะประหยดั น้าไดเ้ ทา่ กับปที ี่ 20 (20,361 ล้านลูกบาศก์เมตร) จนครบอายุโครงการงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปที่ดนิ - iv - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์3.2 การเพ่ิมผลผลติ และลดตน้ ทุนการผลิต การพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา เป็นแนวทางในการลดต้นทุนการผลิตที่ครอบคลุมต้ังแต่กระบวนการเพาะปลูกจนถึงการตลาด ได้แก่ ลดค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิต เพ่ิมผลผลิตต่อไร่ ลดราคาค่าจ้างหรอื วัสดุ ด้านการตลาด และด้านการบริหารจัดการ โดยมีแผนปฏิบัติงานและกลไกในการขับเคล่ือนที่ ชัดเจนเป็นรูปธรรมและมีเกษตรกรเป็นศูนย์กลาง ในส่วนของการเพ่ิมผลผลิต เมื่อน้าต้นทุนสามารถเข้าถึงแปลงเพาะปลกู ท่วั ถึงทกุ แปลงและการสง่ น้าทาอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพทาใหผ้ ลผลิตมปี ริมาณและคุณภาพท่ีสูงข้ึน ทาให้ไดร้ าคาผลผลติ สงู ขึน้ และสามารถเปล่ยี นการปลูกพืชที่มีมูลค่าสูง และปลูกพืชได้หลากหลาย เม่ือเกษตรกรในพ้ืนท่ีดาเนินการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาทาการเพาะปลูกตามแผนการเพาะปลูกพืชตามข้อเสนอแนะในแต่ละปี ผลการวิเคราะห์ค่าลงทุนท่ีลดลงและรายได้สุทธิที่เพ่ิมขึ้น (บาท/ครัวเรือน-ปี) จะทาให้ลดต้นทุนโดยเฉล่ียทุกโครงการ 4,124 บาท/ครัวเรือน-ปี และรายได้ที่เพิ่มโดยเฉล่ียทุกโครงการ 37,141 บาท/ครัวเรือน-ปี สรุปรายได้สุทธิที่เพิ่มขึ้น 41,265 บาท/ครัวเรือน-ปี เมื่อทาการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาครบทงั้ 14.461 ล้านไร่ จะทาใหเ้ กษตรกรในพนื้ ท่ี มรี ายไดส้ ุทธิเพม่ิ ขึ้นสะสม 663,054.7 ลา้ นบาท ผลการดาเนนิ งาน ปีที่ 1 สะสมถงึ ปที ่ี 5 สะสมถงึ ปที ี่ 10 สะสมถึงปที ี่ 15 สะสมถึงปที ่ี 20 ครบอายโุ ครงการแผนแม่บทการจดั รปู ทด่ี ิน พ.ศ.2560 พ.ศ.2560-2564 พ.ศ.2560-2569 พ.ศ.2560-2574 พ.ศ.2560-2579 พ.ศ.2609พน้ื ท่ดี าเนินการสะสม (ลา้ นไร)่ 0.095 0.921 4.671 9.071 14.461จานวนครวั เรือนทีไ่ ดร้ บั ประโยชนส์ ะสม 3,531 34,124 173,000 335,964 535,605รายไดส้ ทุ ธทิ ่ีเพ่มิ ขึน้ สะสม (ลา้ นบาท) 145.7 3,885.9 28,062.4 83,923.1 177,921.2 663,054.7- รายได้เพมิ่ ขึน้ สะสม (ลา้ นบาท) 131.1 3,497.6 25,257.8 75,535.8 160,139.8 596,793.2- ตน้ ทุนลดลงสะสม (ลา้ นบาท) 14.6 388.4 2,804.5 8,387.2 17,781.3 66,261.5หมายเหตุ : ในการวเิ คราะห์โครงการ ใชอ้ ายขุ องโครงการ 30 ปี3.3 การตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตรช์ าติ จากผลการทบทวนนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน การคัดกรองพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมสาหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาและการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ การจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน และการจัดทายุทธศาสตร์แผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน และการพิจารณาพื้นที่ท่ีเหมาะสมเพ่ือจัดระบบชลประทานในไร่นา จานวน 14.461 ล้านไร่ มาจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน ประกอบด้วยแผนการจดั ระบบนา้ เพอื่ เกษตรกรรม แผนการจัดรูปท่ีดิน และแผนการบริหารจัดการ ช่วงปี พ.ศ.2560-2579โดยดาเนินการตามยุทธศาสตร์แผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามวิสัยทัศน์ที่วางไว้ ซ่ึงสามารถสรุปภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน ในการตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ชาติไดด้ ังภาพงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ นิ - v - บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี ิน -

รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารvi - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั



กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สารบญั หนา้บทที่ 1 บทนา 11.1 ความเปน็ มาของการจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ดี นิ 11.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทดี่ นิ 11.3 ขอบเขตการศกึ ษาของการจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปทีด่ นิ 21.4 กรอบแนวคิดและขัน้ ตอนการจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ท่ดี ิน 2 4 1.4.1 ขนั้ ตอนการจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทด่ี ิน 5 1.4.2 ขน้ั ตอนการจดั ทาแผนบริหารจดั การบทที่ 2 การจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปที่ดิน 72.1 ความเปน็ มาของการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ า 7 2.1.1 ระบบชลประทานสมบรู ณแ์ บบ 7 2.1.2 ระบบชลประทานในไร่นา 7 2.1.3 วิวัฒนาการของการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ า 11 142.2 สภาพปญั หาทผ่ี า่ นมา 172.3 งานรวบรวมข้อมลู และรายงานการศึกษาทเ่ี กย่ี วข้อง 17 18 2.3.1 ข้อมูลและรายงานท่เี กยี่ วข้อง 2.3.2 สรุปผลการพฒั นาพ้ืนทชี่ ลประทานทผ่ี า่ นมา 212.4 การทบทวนความสอดคล้องของนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานอืน่ ๆ ท่ี 32 เกย่ี วข้องกับแผนแมบ่ ทการจัดรปู ท่ดี นิ 332.5 การคัดกรองพน้ื ท่ีทเ่ี หมาะสมสาหรับการพฒั นาระบบชลประทานในไรน่ าและการ 37 จัดลาดบั ความสาคญั ของโครงการ 39 2.5.1 โครงการสาหรบั ก่อสรา้ งใหม่ 41 2.5.2 การปรับปรงุ โครงการเดิม 442.6 ภาพรวมพน้ื ท่สี าหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา2.7 ทางเลือกการจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ดี ิน2.8 การจดั ทายุทธศาสตรแ์ ผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปที่ดิน - ก - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผ้บู รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า สารบญั (ตอ่ ) 49บทท่ี 2 การจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ที่ดนิ (ต่อ) 49 50 2.9 การรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน 53 2.9.1 ผู้เขา้ รว่ มประชมุ 2.9.2 ผลการรับฟงั ความคดิ เห็น 64 2.10 การจดั ทาข้อมูลสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ 64 65บทท่ี 3 ยุทธศาสตร์แผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ีดนิ 68 3.1 วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน 3.2 กลยทุ ธแ์ ละตวั ชวี้ ดั 3.3 ภาพรวมยุทธศาสตร์แผนแม่บทการจัดรูปท่ีดนิบทที่ 4 แผนแมบ่ ทการจดั รปู ที่ดนิ 694.1 แผนงาน 694.2 แผนเงินงบประมาณ 714.3 แผนปฏบิ ัติการ 744.4 แผนพัฒนาโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบ 119 119 4.4.1 ความหมายและความเปน็ มา 119 4.4.2 การศกึ ษาจดั ทาแผนแม่บทโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบ 119 4.4.3 การศกึ ษาความเหมาะสม สารวจ และออกแบบรายละเอยี ด 120 4.4.4 แผนพฒั นาโครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบเบ้ืองตน้บทที่ 5 แผนบริหารจัดการ 1235.1 ทิศทางการดาเนินงาน 123 5.1.1 การประสานความร่วมมือของหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องกบั การจัดระบบ ชลประทาน 124 5.1.2 การบรหิ ารจดั การนา้ 125 5.1.3 การบริหารเงนิ กองทนุ 126 5.1.4 การบรหิ ารและพฒั นาทดี่ ิน 127 5.1.5 การอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับการสง่ เสริมการทาเกษตรกรรม 128 5.1.6 การอื่นที่เกีย่ วข้อง 129งานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ทด่ี ิน - ข - บริษัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า สารบัญ (ตอ่ )บทที่ 5 แผนบรหิ ารจัดการ (ต่อ)5.2 หนา้ ทีข่ องแตล่ ะหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง 1345.3 องค์กรขบั เคลอ่ื น 138บทที่ 6 ผลสัมฤทธข์ิ องแผนแมบ่ ทการจดั รูปทด่ี นิ 1416.1 การประหยดั นา้ 141 6.1.1 การประหยดั นา้ จากการเพิม่ ประสิทธภิ าพการชลประทานระดบั คูส่งนา้ 142 6.1.2 การประหยดั นา้ จากการเปลยี่ นการใชท้ ี่ดนิ ตามความเหมาะสมทก่ี าหนด Zoning โดย Agri-map 142 6.1.3 การประหยัดน้าจากการเปลี่ยนเกณฑ์คา่ ชลภาระคสู ่งนา้ 149 1536.2 การเพิ่มผลผลติ และลดต้นทนุ การผลิต 150 6.2.1 การเพ่ิมผลผลติ 156 6.2.2 ลดตน้ ทุนการผลติ 157 6.2.3 การวิเคราะห์รายไดส้ ุทธทิ ่ีเพม่ิ ขนึ้ ต่อครวั เรือน 1636.3 การตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ชาติบทท่ี 7 สรปุ และข้อเสนอแนะ 1667.1 สรปุ 166 7.1.1 แผนการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม 166 7.1.2 แผนการจัดรปู ท่ีดิน 167 7.1.3 แผนการบรหิ ารจัดการ 167 7.1.4 ผลสมั ฤทธิข์ องแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทด่ี นิ 167 1687.2 ขอ้ เสนอแนะ 168 7.2.1 การขับเคล่ือนแผนแมบ่ ทการจดั รูปทีด่ นิ 169 7.2.2 การทบทวนแผน 170 7.2.3 การขยายพ้นื ทรี่ ะบบชลประทานในไรน่ า 172 7.2.4 การเพ่ิมความม่นั คงของน้าภาคการผลิตด้านเกษตรกรรม 172 7.2.5 การบรรเทาปญั หาอุทกภยั โดยสระนา้ ในไรน่ างานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ท่ีดนิ - ค - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า สารบัญตารางตารางท่ี 2.4-1 ความสอดคล้องของนโยบาย แผนยทุ ธศาสตร์ระดบั ประเทศ แผนพัฒนาการเกษตร 23 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานต่างๆ กบั แผนแมบ่ ทการจัดรูปทีด่ นิ 34 35ตารางท่ี 2.5-1 เกณฑ์การพจิ ารณาร้อยละของพ้ืนที่ที่เหมาะสมเพ่ือจัดระบบชลประทานในไรน่ า 36ตารางที่ 2.5-2 เกณฑ์การจาแนกพ้นื ทก่ี ารจดั ระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจดั รูปท่ดี นิ 38ตารางที่ 2.5-3 เกณฑ์การจดั ลาดบั ความสาคัญสาหรบั โครงการก่อสร้างใหม่ 47ตารางที่ 2.5-4 เกณฑ์การจัดลาดบั ความสาคัญสาหรบั โครงการปรบั ปรงุ 48ตารางท่ี 2.8-1 การวเิ คราะห์ SWOT การดาเนินงานท่ผี ่านมาตารางท่ี 2.8-2 การวิเคราะห์ TOWS Matrix 51ตารางท่ี 2.9-1 สรปุ ปัญหา สาเหตุ ความต้องการ แนวทางการแก้ไข และข้อเสนอแนะจากการรบั 52 ฟังความคดิ เห็นจากการประชุมปฐมนเิ ทศโครงการตารางท่ี 2.9-2 ข้อคิดเหน็ ของประชาชนและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องจากการประชุมนาเสนอแผนแมบ่ ทตารางท่ี 4.1-1 ภาพรวมของแผนงาน 72ตารางท่ี 4.2-1 ภาพรวมของแผนเงินงบประมาณ 75ตารางที่ 4.2-2 แผนเงินงบประมาณสาหรบั การบรหิ ารจัดการของแต่ละหน่วยงาน 76ตารางที่ 4.3-1 แผนปฏบิ ตั ิการสาหรับโครงการก่อสรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานท่ี 1 77ตารางที่ 4.3-2 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรับปรบั ปรงุ โครงการเดิม ของสานักงานชลประทานที่ 1 78ตารางที่ 4.3-3 แผนปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั โครงการกอ่ สรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานที่ 2 79ตารางที่ 4.3-4 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรบั ปรบั ปรงุ โครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานท่ี 2 81ตารางที่ 4.3-5 แผนปฏบิ ตั กิ ารสาหรับโครงการกอ่ สร้างใหม่ ของสานักงานชลประทานท่ี 3 82ตารางที่ 4.3-6 แผนปฏิบัติการสาหรบั ปรบั ปรงุ โครงการเดิม ของสานักงานชลประทานที่ 3 83ตารางที่ 4.3-7 แผนปฏิบตั กิ ารสาหรบั โครงการกอ่ สรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานที่ 4 84ตารางท่ี 4.3-8 แผนปฏิบัติการสาหรบั ปรับปรุงโครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานที่ 4 86ตารางท่ี 4.3-9 แผนปฏบิ ตั ิการสาหรับโครงการก่อสร้างใหม่ ของสานกั งานชลประทานที่ 5 87ตารางท่ี 4.3-10 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรับปรับปรุงโครงการเดิม ของสานักงานชลประทานที่ 5 89ตารางที่ 4.3-11 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรบั โครงการกอ่ สร้างใหม่ ของสานกั งานชลประทานที่ 6 90ตารางท่ี 4.3-12 แผนปฏิบัติการสาหรับปรับปรุงโครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานท่ี 6 92ตารางท่ี 4.3-13 แผนปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั โครงการกอ่ สรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานที่ 7 93ตารางท่ี 4.3-14 แผนปฏิบัติการสาหรับปรบั ปรงุ โครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานท่ี 7 94ตารางท่ี 4.3-15 แผนปฏิบตั กิ ารสาหรับโครงการกอ่ สรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานท่ี 8 95ตารางท่ี 4.3-16 แผนปฏบิ ตั กิ ารสาหรับปรบั ปรุงโครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานที่ 8 97ตารางที่ 4.3-17 แผนปฏบิ ัติการสาหรับโครงการก่อสรา้ งใหม่ ของสานกั งานชลประทานท่ี 9 98ตารางที่ 4.3-18 แผนปฏิบัติการสาหรบั ปรบั ปรงุ โครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานที่ 9 100ตารางท่ี 4.3-19 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรับโครงการกอ่ สร้างใหม่ ของสานักงานชลประทานท่ี 10 101งานจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ทดี่ นิ - ง - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หนา้ สารบัญตาราง (ตอ่ )ตารางท่ี 4.3-20 แผนปฏบิ ัติการสาหรับปรบั ปรงุ โครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานท่ี 10 102ตารางที่ 4.3-21 แผนปฏบิ ัติการสาหรบั โครงการกอ่ สร้างใหม่ ของสานกั งานชลประทานท่ี 11 103ตารางท่ี 4.3-22 แผนปฏิบตั กิ ารสาหรับปรบั ปรุงโครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานท่ี 11 104ตารางท่ี 4.3-23 แผนปฏบิ ัตกิ ารสาหรับโครงการกอ่ สรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานที่ 12 105ตารางท่ี 4.3-24 แผนปฏิบตั กิ ารสาหรับปรบั ปรุงโครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานที่ 12 107ตารางท่ี 4.3-25 แผนปฏิบัติการสาหรับโครงการก่อสร้างใหม่ ของสานกั งานชลประทานท่ี 13 108ตารางท่ี 4.3-26 แผนปฏบิ ตั กิ ารสาหรับปรบั ปรงุ โครงการเดิม ของสานักงานชลประทานท่ี 13 109ตารางท่ี 4.3-27 แผนปฏิบัติการสาหรบั โครงการก่อสรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานที่ 14 110ตารางท่ี 4.3-28 แผนปฏิบตั ิการสาหรับปรับปรงุ โครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานที่ 14 111ตารางท่ี 4.3-29 แผนปฏิบตั ิการสาหรับโครงการกอ่ สรา้ งใหม่ ของสานักงานชลประทานท่ี 15 112ตารางท่ี 4.3-30 แผนปฏบิ ัตกิ ารสาหรับปรบั ปรงุ โครงการเดิม ของสานักงานชลประทานที่ 15 113ตารางที่ 4.3-31 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรบั โครงการกอ่ สร้างใหม่ ของสานกั งานชลประทานท่ี 16 114ตารางที่ 4.3-32 แผนปฏิบัตกิ ารสาหรับปรับปรงุ โครงการเดมิ ของสานักงานชลประทานท่ี 16 115ตารางที่ 4.3- 33 แผนปฏิบตั ิการสาหรับโครงการก่อสร้างใหม่ ของสานักงานชลประทานที่ 17 116ตารางที่ 4.3-34 แผนปฏิบตั กิ ารสาหรบั ปรับปรุงโครงการเดิม ของสานักงานชลประทานที่ 17 118ตารางที่ 4.4-1 ภาพรวมของแผนงานสาหรับโครงการชลประทานสมบรู ณ์แบบ 121ตารางท่ี 4.4-1 ภาพรวมของแผนเงินงบประมาณสาหรบั โครงการชลประทานสมบูรณแ์ บบ 122ตารางท่ี 5.1-1 ขน้ั ตอนการติดตามและประเมินผล 132ตารางท่ี 5.2-1 งาน/กิจกรรมของทิศทางการดาเนินงานของแผนแม่บทการจดั รปู ทีด่ ินและ 135 หนว่ ยงานทดี่ าเนนิ การตารางท่ี 6.1-1 ความตอ้ งการใช้น้าของพชื ตา่ งๆ 147ตารางที่ 6.1-2 สรปุ ภาพรวมการประหยดั น้าเป็นรายภาค เมื่อพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ าครบ 148 14.461 ลา้ นไร่ 152ตารางที่ 6.1-3 การประหยัดนา้ จากการลดคา่ เกณฑ์ชลภาระตารางที่ 6.1-4 การประหยดั น้าจากการลดค่าชลภาระ หากดาเนนิ การตามแผนแม่บทการจดั รปู ท่ดี นิ 153 พื้นท่ี 14.461 ลา้ นไร่ แยกเป็นรายภาค 155ตารางที่ 6.2-1 แสดงผลผลติ ขา้ ว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และถ่วั เหลอื ง (กก./ไร)่ ในช่วง 3 ปี (พ.ศ. 158 2556/2557-2558/2559) 159ตารางที่ 6.2-2 ปจั จัยในการวิเคราะหใ์ นแต่ละช่วงเวลาตารางที่ 6.2-3 ตวั อย่างการคานวณรายได้ ต้นทนุ และรายไดส้ ุทธทิ างการเกษตรของครวั เรือน เกษตรกรของโครงการส่งน้าและบารงุ รกั ษาทา่ โบสถ์ สว่ นที่ 3งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทีด่ นิ - จ - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผ้บู รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า สารบญั ภาพรปู ที่ 1.4-1 กรอบแนวคิดและข้ันตอนการจดั ทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ีดิน 3รปู ท่ี 2.1-1 ระบบชลประทานสมบูรณแ์ บบ 8รูปท่ี 2.1-2 รปู แบบระบบชลประทานในไรน่ า 10รูปท่ี 2.1-3 วิวฒั นาการของการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ า 12รปู ที่ 2.4-1 นโยบาย แผนยุทธศาสตรร์ ะดับประเทศ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตร 22 และสหกรณ์ และแผนงานอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกับแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ีดิน 32รูปท่ี 2.5-1 ผงั ลักษณะโครงการสาหรบั การจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ีดิน 40รปู ที่ 2.6-1 ภาพรวมพื้นทีส่ าหรับการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ า 42รูปที่ 2.7-1 ภาพรวมพืน้ ที่ท่ีพัฒนาตามกรอบศักยภาพการดาเนินงานของสานักงานจดั รูปที่ดินกลาง 43รปู ที่ 2.7-2 ภาพรวมพ้ืนท่ีทพ่ี ฒั นาเตม็ พ้นื ทศี่ ักยภาพ 45รูปท่ี 2.8-1 กระบวนการพฒั นาโครงการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม 46รูปที่ 2.8-2 กระบวนการพฒั นาโครงการจัดรูปท่ดี นิรูปที่ 2.9-1 แสดงการเปรียบเทียบรอ้ ยละของกลมุ่ เปาู หมายในการจัดประชุมรับฟงั ความคิดเหน็ 50 ของประชาชน 51รูปที่ 2.9-2 ผลการเลือกรูปแบบการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาจากการรับฟังความคดิ เห็น 53 56 จากการประชุมปฐมนิเทศโครงการ 57รูปท่ี 2.10-1 ภาพรวมการจดั ทาข้อมูลสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 59รูปท่ี 2.10-2 พืน้ ท่ีศักยภาพในการจดั ระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม 58รูปที่ 2.10-3 พืน้ ท่ศี ักยภาพในการจดั รปู ท่ีดินรูปที่ 2.10-4 ตวั อย่างการประยกุ ต์ใชแ้ ผนที่ภาพถา่ ยดาวเทยี มสาหรับโครงการอา่ งเก็บนา้ แมธ่ ิ 60รูปที่ 2.10-4 การใชป้ ระโยชน์ท่ดี ินที่มีการเปลยี่ นแปลงพน้ื ที่ ปี พ.ศ.2545 และปี พ.ศ.2554รูปท่ี 2.10-5 การประยุกต์ใชช้ ัน้ ขอ้ มูลการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินเพอื่ ดูการเปลี่ยนแปลงของโครงการส่ง 62 63 น้าและบารุงรักษาบางเลนในปี พ.ศ.2545 และปี พ.ศ.2554รูปท่ี 2.10-6 การประยุกต์ใช้ชัน้ ขอ้ มูลการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ศนู ย์เรยี นรู้ฯ และเกษตรแปลงใหญ่ สาหรบั โครงการอา่ งเก็บนา้ แม่ธิรูปท่ี 2.10-7 การประยุกตใ์ ช้ชัน้ ขอ้ มูลความเหมาะสมดิน สาหรบั โครงการอ่างเกบ็ น้าแม่ธิรปู ท่ี 5.1-1 ขนั้ ตอนการตดิ ตามและประเมนิ ผล 132รูปที่ 5.3-1 ภาพรวมขององค์กรขบั เคลื่อน 139งานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปทีด่ ิน - ฉ - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หนา้ สารบญั ภาพ (ตอ่ )รูปที่ 6.1-1 การประหยดั น้าในช่วงแผน 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ตามขนาดพ้นื ท่ีทพ่ี ัฒนาสะสม 148 เพ่ิมขึ้นทกุ ๆ ปี จนครบ 14.461 ลา้ นไร่ 160รปู ที่ 6.2-1 ต้นทุนทีล่ ดลงและรายได้สุทธิทเี่ พิ่มข้ึน (บาท/ครัวเรอื น/ปี)รปู ที่ 6.2-2 รายไดส้ ุทธทิ เ่ี พ่มิ ขน้ึ และต้นทุนทล่ี ดลง ในช่วงแผน 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ตาม 161 ขนาดพ้ืนท่ที ่ีพฒั นาสะสมเพ่มิ ขึน้ ทกุ ๆปี จนครบ 14.461 ล้านไร่รูปที่ 6.3-1 ภาพรวมผลสัมฤทธ์ิของแผนแม่บทการจัดรปู ท่ดี นิ ในการตอบสนองนโยบายและ 165 ยทุ ธศาสตรช์ าติงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปทีด่ ิน - ช - บริษทั เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากดั



กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บทท่ี 1 บทนา1.1 ความเปน็ มาของการจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทดี่ นิ สบื เนื่องจากพระราชบญั ญัติจัดรปู ท่ดี ินเพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ.2558 อนั ประกอบดว้ ย มาตรา 11 (1) กาหนดให้คณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลางพิจารณาเสนอแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินต่อคณะรฐั มนตรเี พ่อื ให้ความเห็นชอบ มาตรา 14 (1) กาหนดให้สานักงานจัดรูปที่ดินกลางมีอานาจหน้าท่ีในการดาเนินการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม การจัดรปู ทีด่ นิ รบั ผดิ ชอบธุรการของคณะกรรมการจัดรปู ทด่ี นิ กลาง ควบคุมสานักงานจัดรูปท่ีดินจังหวดั เพอ่ื ดาเนินการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ รวมถึงใหม้ อี านาจหน้าทใี่ นการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินอีกดว้ ย มาตรา 17 (1) กาหนดให้สานักงานจัดรูปที่ดินกลางจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน ประกอบด้วยแผนการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม และแผนการจัดรูปที่ดิน โดยแสดงภาพรวมการพัฒนาพื้นท่ีท่ีเหมาะสมแก่การจัดระบบนา้ เพ่อื เกษตรกรรมและการจดั รปู ที่ดิน ระยะเวลาในการดาเนินการตามแผนกรอบงบประมาณรวมท้ังกาหนดหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามแผน แนวทางการประสานความร่วมมือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบชลประทาน การบรหิ ารและพัฒนาทด่ี นิ และการอนื่ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการส่งเสริมการทาเกษตรกรรม เพือ่ เป็นกรอบในการดาเนินการจดั ระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและจัดรูปที่ดินสาหรับการพัฒนาในระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซึ่งการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินได้คานึงถึงความสอดคล้องกับนโยบายชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือแผนอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น เกษตรแปลงใหญ่, Agri Map, Thailand 4.0 กับภาคการเกษตร และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตลอดจนประสานงานกับหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งเพื่อประกอบการจดั ทาแผนด้วย1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ทีด่ นิ จากความเป็นมาดังกล่าวข้างต้น วัตถุประสงค์ของการจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปที่ดิน สรุปได้ดงั นี้ 1. เพ่ือให้มีแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558มาตรา 17 2. เพือ่ นาแผนไปดาเนนิ การในการเพ่มิ ผลผลติ และลดต้นทนุ การผลิต ตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 4 มาตรา 17 (วรรค 1) ให้สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน ประกอบด้วยแผนการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และแผนการจัดรูปท่ีดิน โดยแสดงภาพรวมการพัฒนาพ้ืนที่ที่เหมาะสมแก่การจดั ระบบน้าเพ่อื เกษตรกรรมและการจดั รูปทีด่ นิ ระยะเวลาในการดาเนินการตามแผนกรอบงบประมาณรวมท้ังกาหนดหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามแผน แนวทางการประสานความร่วมมือของหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการจัดระบบชลประทาน การบริหารและพฒั นาที่ดนิ และการอืน่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการส่งเสริมการทาเกษตรกรรมงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปทด่ี นิ - 1 - บริษทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาตรา 4 (วรรค 1) การจัดรูปทด่ี ิน หมายความว่า การดาเนนิ งานพัฒนาทด่ี ินท่ีใช้เพ่ือเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ท่ัวถึงที่ดินทุกแปลง เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทาการรวบรวมท่ีดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกันเพอ่ื วางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่ การจัดระบบชลประทาน การจัดสร้างถนนหรือทางลาเลียงในไร่นา การปรับระดับพ้ืนที่ดิน การบารุงดิน การวางแผนการผลิตและการจาหน่ายผลิตผลการเกษตร รวมตลอดถงึ การแลกเปล่ยี น การโอน การรบั โอนสทิ ธิในท่ีดิน การให้เช่าซ้ือท่ีดิน และการอื่นๆ ท่ีเกี่ยวกับการจัดรูปที่ดินเพอื่ เกษตรกรรม1.3 ขอบเขตการศกึ ษาของการจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ทีด่ ิน การจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ที่ดินมภี ารกจิ หรอื กิจกรรมหลักทต่ี ้องดาเนนิ การ 6 ภารกจิ ไดแ้ ก่ 1) งานรวบรวมขอ้ มลู รายงานการศึกษาทเี่ กย่ี วขอ้ ง 2) งานศึกษาจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี นิ 3) จัดทาแนวทางการประสานความร่วมมอื 4) จัดทาแนวทางการบรหิ ารและพัฒนาท่ีดนิ 5) จดั ให้มีการรับฟังความคดิ เหน็ ของประชาชน 6) จัดทาขอ้ มลู สารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) โดยพื้นทด่ี าเนนิ การครอบคลุมพื้นทเ่ี กษตรกรรมของประเทศไทย1.4 กรอบแนวคิดและขัน้ ตอนการจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทดี่ นิ จากขอบเขตการศึกษาและความตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา17 ได้จัดทากรอบแนวคิดและข้ันตอนการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน โดยมีการจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ทด่ี นิ และจดั ทาแผนบริหารจดั การควบคกู่ ันไป เนอ่ื งจากแผนแม่บทการจดั รูปท่ีดนิ เปน็ เพียงการศึกษาความเหมาะสมของพื้นทท่ี ีจ่ ะพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาเท่านั้น แต่การจะบรรลุเปูาประสงค์ “เพื่อเพ่ิมผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต” ตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 4 จะต้องมีแนวทางการบริหารจัดการท่ีดีและมีความชัดเจน โดยพิจารณาให้มีความสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือแผนอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือประกอบการจัดทาแผนด้วย รายละเอียดข้ันตอนและแนวทางการจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ที่ดิน ดังแสดงในรปู ที่ 1.4-1 มีดงั นี้งานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ทีด่ ิน - 2 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ทด่ี ิน รูปท่ี 1.4-1 กรอบแนวคดิ และขั้นตอ -

รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารอนการจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ที่ดิน บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั 3-

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์1.4.1 ขั้นตอนการจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ทด่ี ิน การจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ดี นิ ประกอบดว้ ย แผนการจดั ระบบนา้ เพ่ือเกษตรกรรม และแผนการจดั รปู ท่ีดิน รวมถึงพิจารณาจัดทาแผนสาหรับการปรับปรุงโครงการเดิมซ่ึงกระบวนการจัดทาแผนจะทาควบคู่กันไป การพิจารณาข้อกาหนดเกณฑ์การคัดกรองพื้นท่ีที่มีความเหมาะสมแยกพิจารณาเป็น 2 ส่วน ได้แก่สาหรบั พืน้ ทก่ี อ่ สร้างใหม่ และสาหรบั พืน้ ที่ปรบั ปรงุ โครงการเดมิ ขนั้ ตอนการศึกษามีดงั นี้ 1. รวบรวมข้อมูลพน้ื ฐานดา้ นต่างๆ รายงานการศึกษาที่เก่ียวข้อง และการทบทวนแผนพัฒนาฯกลยุทธ์ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และแผนงานของหน่วยงานต่างๆ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การจัดรปู ท่ีดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม 2. คดั กรองพน้ื ทท่ี ่เี หมาะสมในการพัฒนา โดยรวบรวมข้อมูลพ้นื ทเ่ี กษตรกรรม พื้นท่ีชลประทานพื้นที่รบั ประโยชน์ พ้ืนที่จัดรูปท่ีดิน และพื้นที่จัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม เพ่ือนามาคัดกรองพื้นท่ีท่ีเหมาะสมในการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา ซึ่งแบ่งพิจารณาข้อกาหนดการคัดกรองพื้นที่ที่เหมาะสมในการพัฒนาโครงการก่อสรา้ งใหม่และปรับปรุงโครงการเดมิ โดยมเี กณฑ์การคัดกรองพ้นื ท่ี 3 ขนั้ ตอนดว้ ยกนั คือ  การคดั กรองพนื้ ทีท่ ่ีเหมาะสมในการพฒั นา/ปรบั ปรุง  การพิจารณาร้อยละของพน้ื ทท่ี ่เี หมาะสมเพื่อจดั ระบบชลประทานในไรน่ า  การจาแนกพืน้ ทีก่ ารจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจดั รูปที่ดนิ เมื่อคัดกรองพื้นท่ีท่ีเหมาะสมในการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาแล้ว จากน้ันจะนาไปจัดลาดบั ความสาคัญของโครงการตอ่ ไป 3. พจิ ารณาเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญของโครงการ พิจารณากาหนดตัวช้ีวัด และที่มาของตัวช้ีวัดแต่ละค่าให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความเป็นจริงในแต่ละพื้นที่ โดยข้อกาหนดเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญแยกพิจารณาเป็น 2 ส่วน ได้แก่ สาหรับพื้นที่ก่อสร้างใหม่ และสาหรับพ้ืนที่ปรับปรุงโครงการเดิม 4. ศกึ ษา วิเคราะห์ ความเหมาะสมในด้านวิชาการต่างๆ ของเกณฑ์การจัดลาดับความสาคัญแต่ละด้านเพ่ือนาผลที่ได้เป็นข้อมูลประกอบการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ ประกอบด้วยการศึกษาด้านตา่ งๆ ดงั นี้ สาหรบั โครงการก่อสรา้ งใหม่  การศกึ ษาดา้ นวิศวกรรม  การศึกษาด้านเกษตร  การศึกษาด้านเศรษฐกจิ และสงั คม  การศกึ ษาด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน  การศึกษาด้านส่ิงแวดล้อม สาหรับปรบั ปรงุ โครงการเดิม  อายุใช้งานโครงการ  สภาพการเกดิ ภัยธรรมชาติในพนื้ ท่ีโครงการ  อตั ราส่วนพน้ื ท่ีจดั ระบบน้าเพอ่ื เกษตรกรรมหรือจัดรูปทีด่ นิ ต่อพื้นทชี่ ลประทาน  อตั ราสว่ นพนื้ ทีช่ ลประทานตอ่ จานวนครวั เรอื นรับประโยชน์  นโยบายเกษตรแบบแปลงใหญ่งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ดี ิน - 4 - บรษิ ัท เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5. จัดลาดับความสาคัญของพ้ืนท่ีชลประทานที่จะดาเนินการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดิน ด้วยวิธีการท่ีเป็นท่ียอมรับในระดับสากล ท้ังพื้นที่สาหรับโครงการก่อสร้างใหม่ และพื้นที่ปรับปรุงโครงการเดมิ 6. จัดทาร่างแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน เม่ือจัดลาดับความสาคัญของโครงการแล้ว โดยทาการศึกษาเพ่ิมเติมด้านต่างๆ ประกอบด้วย การศึกษาศักยภาพการดาเนินการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจัดรูปทดี่ นิ ของสานักงานจัดรปู ทด่ี นิ กลาง ท้ังศักยภาพเชิงพ้ืนที่ในแต่ละปีงบประมาณ ศักยภาพในการออกแบบเพ่ือก่อสร้าง การเตรียมการและการควบคุมการก่อสร้าง งบประมาณที่ได้รับจัดสรร เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพในการบริหารจัดการในภาพรวม การศึกษาขนาดพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมเพ่ือการพัฒนาระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม ด้วยการประมาณการค่ากอ่ สรา้ งของพนื้ ทแ่ี ตล่ ะขนาดและวเิ คราะห์หาขนาดพื้นท่ีท่ีเหมาะสมที่สุดโดยแยกเป็นขนาดความเหมาะสมของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ และการศึกษาการเก็บค่าลงทุน โดยการรวบรวมข้อมูล กฎหมาย ระเบียบ เก่ียวกับการจัดเก็บน้าค่าน้า ค่าลงทุนและศกึ ษาถึงความเปน็ ไปไดใ้ นการเกบ็ ค่าลงทุนจากเกษตรกร เม่ือมีการจัดลาดับความสาคัญ และทาการศึกษาเพ่ิมเติมด้านต่างๆ แล้ว นาผลมาจัดทาร่างแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน อันประกอบด้วย ร่างแผนการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และร่างแผนการจัดรูปท่ีดิน โดยแสดงภาพรวมการพัฒนาพื้นท่ีที่เหมาะสมแก่การจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดินระยะเวลาในการดาเนินการตามแผนกรอบงบประมาณ รวมทง้ั กาหนดหนว่ ยงานทม่ี หี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบตามแผน 7. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือประกอบการจัดทาแผน เมื่อได้จัดทาร่างแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน และร่างแผนการบริหารจัดการแล้ว เพ่ือเป็นการบูรณาการ การประชาสัมพันธ์ ให้กับหน่วยงาน องค์กร ประชาชนและผ้มู สี ่วนได้เสยี ทกุ กลมุ่ ในเขตพืน้ ทีจ่ ัดรูปที่ดิน เข้ามามีส่วนร่วมในการรับทราบข้อเท็จจริง มีส่วนร่วมในการวเิ คราะหแ์ นวทางการพัฒนาพื้นที่และให้ข้อเสนอแนะ เพ่ือใช้เป็นแนวทางการดาเนินโครงการที่ทุกฝุายให้การยอมรบั และเกิดประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมอยา่ งแท้จริง 8. จัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน หลังจากการประชาสัมพันธ์และการรับฟังความคิดเห็นของโครงการ นาขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะทไ่ี ดม้ าจดั ทาเปน็ แผนแม่บทการจัดรูปท่ีดิน อันประกอบด้วย แผนการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและแผนการจัดรูปท่ีดิน โดยแสดงภาพรวมการพัฒนาพื้นที่ที่เหมาะสมแก่การจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจัดรูปท่ีดิน ระยะเวลาในการดาเนินการตามแผนกรอบงบประมาณรวมทั้งกาหนดหน่วยงานทม่ี หี นา้ ที่รบั ผดิ ชอบตามแผน1.4.2 ขนั้ ตอนการจดั ทาแผนบริหารจดั การ 1. รวบรวมข้อมูล รายงานการศกึ ษาทเี่ กี่ยวข้อง และการทบทวนแผนพัฒนาฯ กลยุทธ์ นโยบายยุทธศาสตร์ และแผนงานของหน่วยงานต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการจดั รปู ท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม 2. รวบรวมแนวคิด ขั้นตอนการดาเนินงาน ปัญหาในการดาเนินงาน ปัญหาการบริหารจัดการหน่วยงาน โครงสร้างองค์กรของหน่วยงาน และอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานท้ังหมดท่ีเก่ียวข้องกับการจัดรูปท่ดี นิ เพ่อื เกษตรกรรม รวมถึงปจั จัยท่ีทาให้เกดิ ความสาเรจ็ 3. ศกึ ษา วิเคราะหข์ อ้ มลู ปญั หาในการดาเนินงาน ปัญหาการบริหารจัดการในอดีตที่ผ่านมา เพื่อหาแนวทางแก้ไข และทิศทางการดาเนินงานในอนาคตให้บรรลุเปูาประสงค์ของโครงการ แนวทางการศึกษาวิเคราะห์ปัญหา เพื่อหาแนวทางแก้ไข ประกอบด้วย การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดด้อย โอกาส และข้อจากัดหรืองานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทีด่ นิ - 5 - บรษิ ทั เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภาวะคุกคาม (SWOT Analysis) การขอข้อคิดเห็นของผู้บริหารระดับสูง และการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องและเกษตรกร 4. กาหนดแนวทางการบริหารจัดการ ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาฯ กลยุทธ์ นโยบายยุทธศาสตร์ และแผนงานของหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม ในด้านต่างๆได้แก่ การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดระบบชลประทาน การบริหารและพัฒนาท่ีดิน การบริหารจัดการน้า การส่งเสริมการทาเกษตรกรรม การส่งเสริมการตลาด การพัฒนาและส่งเสริมอาชพี และการอืน่ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดรูปที่ดนิ 5. จดั ทารา่ งแผนการบริหารจดั การ 6. จัดให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อประกอบการจัดทาแผน เมื่อได้จัดทาร่างแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน และร่างแผนการบริหารจดั การแล้ว เพ่ือเป็นการบูรณาการ การประชาสัมพันธ์ ให้กับหน่วยงาน องค์กร ประชาชน และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มในเขตพ้ืนที่จัดรูปที่ดิน เข้ามามีส่วนร่วมในการรับทราบข้อเท็จจริง มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาพ้ืนท่ีและให้ข้อเสนอแนะ เพื่อใช้เป็นแนวทางการดาเนินโครงการที่ทุกฝุายให้การยอมรับ และเกิดประโยชน์ต่อสว่ นรวมอยา่ งแท้จริง 7. จัดทาแผนการบริหารจัดการ หลังจากการประชาสัมพันธ์และการรับฟังความคิดเห็นของโครงการ นาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะท่ีได้มาจัดทาเป็นแผนการบริหารจัดการ อันประกอบด้วย การจัดทาแนวทางการประสานความรว่ มมือของหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การจัดระบบชลประทาน การบริหารและพัฒนาท่ีดิน การบริหารจัดการน้า การส่งเสริมการทาเกษตรกรรม การส่งเสริมการตลาด การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และการอื่นท่ีเกย่ี วข้องกบั การจดั รปู ทดี่ นิงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ีดิน - 6 - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั





กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บทท่ี 2 การจดั ทาแผนแม่บทการจดั รปู ทดี่ ิน2.1 ความเป็นมาของการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา2.1.1 ระบบชลประทานสมบรู ณแ์ บบ การพัฒนาโครงการชลประทานในอดีตนั้น ส่วนใหญ่จะพัฒนาข้ึนมาเพื่อส่งน้าชลประทานเสริมการปลูกข้าวนาปีเป็นหลัก ซึ่งพัฒนาเป็นขั้นตอนตามความจาเป็นและความเหมาะสมในแต่ละยุคแต่ละสมัยองค์ประกอบหลักของโครงการชลประทานในสมัยแรก ประกอบด้วย 1) ส่วนเก็บกักน้า (อ่างเก็บน้า) และ 2)ส่วนทดน้าและระบบส่งน้า (เขื่อนทดน้า คลองส่งน้าสายใหญ่ คลองส่งน้าสายซอย และคลองส่งน้าสายแยกซอย) ทัง้ น้ีเปน็ ไปตามขน้ั ตอนของการลงทนุ ให้เหมาะสมกับฐานะการเงิน สภาพเศรษฐกิจ และความพร้อมของทั้งฝุายรัฐบาลและเกษตรกรในสมัยน้ัน การส่งน้าและการระบายน้าจะมีประสิทธิภาพต่า ผลผลิตการเกษตรก็ไมส่ ูงนัก ตอ่ มาเมื่อมคี วามจาเป็นต้องเพ่ิมศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศตามนโยบายของรัฐบาล โดยการส่งเสริมใหเ้ กษตรกรปลกู พชื เสรมิ ในฤดูแลง้ เพื่อเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตรใหเ้ กษตรกรมีรายได้เพ่ิมข้ึน แต่ระบบชลประทานส่วนใหญ่ในปัจจุบัน แม้จะมีศักยภาพน้าต้นทุนเพียงพอสาหรับการเพาะปลูกฤดูแล้ง ก็ยังไม่สามารถสง่ นา้ ไดถ้ งึ ระดบั ไร่นา เน่ืองจากขาดระบบกระจายน้าท่ีเหมาะสมกับการปลูกพืชเสริมในฤดูแล้ง ดังนั้นการพัฒนาโครงการชลประทานที่มีอยู่เดิมให้สมบูรณ์ โดยเพิ่มองค์ประกอบหลักส่วนท่ี 3 คือ ส่วนระบบชลประทานในไรน่ า ซึง่ ได้แก่ ระบบแพร่กระจายน้าและระบบระบายน้าให้ถึงแปลงเพาะปลูกให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ จึงเป็นทางเลือกท่ีมีความสาคัญเพราะได้ผลเร็ว และลงทุนเพ่ิมจากเดิมอีกเพียงเล็กน้อย เพ่ือให้สามารถใช้พืน้ ท่ีเพาะปลูกไดอ้ ย่างเต็มประสทิ ธิภาพ โดยสรปุ ระบบชลประทานท่ีสมบรู ณ์แบบ จะต้องมีองคป์ ระกอบหลัก 3 ประการ แสดงดังรูปท่ี 2.1-1ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1. ส่วนเก็บกกั นา้ (อ่างเก็บนา้ ) 2. ส่วนทดน้าและระบบส่งน้า (เขอ่ื นทดน้า คลองส่งน้าสายใหญ่ คลองส่งน้าสายซอย และคลองส่งนา้ สายแยกซอย) และ 3. สว่ นระบบชลประทานในไร่นา (การจดั ระบบนา้ เพอ่ื เกษตรกรรม และการจดั รปู ทีด่ ิน)2.1.2 ระบบชลประทานในไร่นา ระบบชลประทานในไร่นา หมายถึง ระบบกระจายน้าชลประทานเพื่อให้แปลงเพาะปลูกของเกษตรกรได้รับน้าอยา่ งท่ัวถึงหรือเพอ่ื ควบคุมการกระจายนา้ ไปส่แู ปลงเพาะปลูกที่มีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการในการทาการเกษตร ลดการสูญเสียน้าชลประทาน มีระบบระบายน้าท่ีเกินความต้องการออกจากแปลงเพาะปลูกตามกาหนดเวลา รวมถึงตอ้ งมกี ารสง่ เสริมการทาเกษตรในด้านอ่ืนๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตและประหยัดเวลาในการทาการเกษตร เชน่ ทางลาเลียงในไร่นา การส่งเสรมิ การทาเกษตรกรรม เป็นต้น ตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 4 ไดใ้ ห้คานิยามไว้ดงั นี้งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ีดิน - 7 - บริษัท เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ที่ดนิ รปู ที่ 2.1-1 ระบบชลป -8

รายงานสรุปสาหรับผ้บู ริหารประทานสมบรู ณ์แบบ บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด8-

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ “การจดั ระบบน้าเพอ่ื เกษตรกรรม” หมายความว่า การจัดระบบชลประทานจากทางน้าชลประทานหรือแหล่งน้าอ่ืนใดไปใช้ประโยชน์ในพ้ืนที่ที่เหมาะสมแก่การทาเกษตรกรรมได้อย่างท่ัวถึง รวมถึงการจัดสร้างถนนหรือทางลาเลยี งในไรน่ า “การจัดรูปที่ดิน” หมายความว่า การดาเนินงานพัฒนาที่ดินท่ีใช้เพ่ือเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงท่ีดินทุกแปลง เพื่อเพ่ิมผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทาการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกันเพื่อวางผังจัดรูปท่ีดินเสียใหม่ การจัดระบบชลประทาน การจัดสร้างถนนหรือทางลาเลียงในไร่นา การปรับระดับพ้ืนที่ดิน การบารุงดิน การวางแผนการผลิตและการจาหน่ายผลิตผลการเกษตร รวมตลอดถึงการแลกเปล่ียน การโอน การรับโอนสิทธิในท่ีดิน การให้เช่าซ้ือท่ีดิน และการอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวกับการจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม รูปแบบระบบชลประทานในไรน่ า แบง่ ออกเป็น 2 รูปแบบ ดังแสดงในรปู ที่ 2.1-2 ดังน้ี 1. การจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม เป็นการจัดการน้าชลประทานในไร่นาแบบมีคูส่งน้าลัดเลาะไปตามแนวเขตแปลงกรรมสิทธิเ์ ขา้ ถึงทุกแปลง ซ่ึงจะช่วยให้การแพร่กระจายของน้าจากตัวคลองส่งน้าไปยังพ้ืนท่ีเพาะปลูกมีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีการขุดคูระบายน้าในพ้ืนที่ลุ่มเพ่ือความสะดวกต่อการระบายน้าออกจากแปลงเพาะปลูก อีกทั้งยังมีการขยายคันคูบางสายเพ่ือใช้ในการลาเลียงผลผลิตออกจากพ้ืนที่ โดยไม่มีการจัดรูปแปลงใหม่และการปรับระดับพื้นดินในแปลงเพาะปลูก ซึ่งการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมจะมีประสิทธิภาพการชลประทานประมาณ 55-60% สามารถเพ่ิมพ้ืนท่ีส่งน้าโดยตรงได้ประมาณ 40-45% และมีพื้นท่ีท่ีหักไปใช้ทาระบบชลประทานประมาณ 1-3% ซึ่งการก่อสร้างคูส่งน้าผ่านแปลงเพาะปลูกจะต้องได้รับการยนิ ยอมจากเจา้ ของท่ีดนิ เท่านั้น โดยไม่ตอ้ งหกั พืน้ ทอี่ อกจากแปลงกรรมสิทธ์ิท่ีดิน และเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการขอใช้ทด่ี ินก่อสรา้ งคนู า้ จะแบง่ เขตแนวก่อสร้างคนู ้าข้างละเท่าๆ กันทัง้ สองข้าง 2. การจัดรูปท่ีดนิ 2.1 การจัดรูปทีด่ ินกึง่ สมบูรณ์แบบ (Extensive) เป็นการจัดการน้าชลประทานในไร่นาแบบมีคูส่งน้าลัดเลาะไปตามแนวเขตแปลงกรรมสิทธิ์เข้าถึงทุกแปลง ซึ่งจะช่วยให้การแพร่กระจายของน้าจากคลองส่งน้าไปยังพื้นท่ีเพาะปลูกมีประสิทธิภาพมากข้ึน และมีการขุดคูระบายน้าในพ้ืนท่ีลุ่มเพ่ือความสะดวกต่อการระบายน้าออกจากแปลงเพาะปลูกทุกแปลง การสร้างถนนหรือทางลาเลียงวางไปตามแนวขอบเขตของพื้นท่ีเดิม แต่ไม่มีการจัดรูปที่ดินใหม่ เนื่องจากรูปร่างของที่ดินแปลงเดิมมีขนาดเหมาะสม และเป็นระเบียบ การปรับระดบั ของพ้ืนดนิ ในแตล่ ะแปลงจะดาเนนิ การตามลกั ษณะความจาเป็นเท่านั้น ซึง่ การจัดรูปท่ีดินกึ่งสมบูรณ์แบบ (Extensive) จะมีประสิทธิภาพการชลประทานประมาณ 70% สามารถเพ่ิมพ้ืนที่ส่งน้าโดยตรงได้ประมาณ 90-95% และมีพื้นท่ีที่หักไปใช้ทาระบบชลประทานประมาณ 4% ซ่ึงจะมีการหักออกจากแปลงกรรมสิทธ์ิท่ีดนิ และออกโฉนดใหม่ 2.2.การจดั รูปทดี่ ินสมบรู ณ์แบบ (Intensive) เป็นการจัดการน้าชลประทานในไร่นาแบบมีคูส่งน้าครู ะบายนา้ ถนนหรอื ทางขนส่งท่มี ลี ักษณะเป็นแนวตรงผา่ นทกุ แปลง และมคี วามอิสระในการใช้และระบายน้ามีการจัดรูปท่ีดินใหม่ท้ังหมด เนื่องจากที่ดินแปลงเดิมมีขนาดเล็กมากไม่เป็นระเบียบ จึงต้องมีการจัดรูปที่ดินใหม่ท้ังระบบ มีการปรับระดับพ้ืนดินภายในแปลงให้เหมาะสมและสม่าเสมอ ซึ่งการจัดรูปที่ดินสมบูรณ์แบบ(Intensive) จะมีประสทิ ธิภาพการชลประทานประมาณ 75% สามารถเพิ่มพ้นื ทส่ี ง่ น้าโดยตรงได้ 100% และมีพื้นที่ท่ีหักไปใช้ทาระบบชลประทานไม่เกิน 7% ซึ่งจะมีการหักออกจากแปลงกรรมสิทธิ์ที่ดิน และออกโฉนดใหม่ทง้ั หมดงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ที่ดิน - 9 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ทด่ี นิ รูปท่ี 2.1-2 รปู แบบระบ - 10

รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหารบบชลประทานในไร่นา บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั0-

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.1.3 ววิ ฒั นาการของการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา ววิ ัฒนาการของการพัฒนาระบบชลประทานในไร่นา ดังแสดงในรูปท่ี 2.1-3 สรุปได้ดงั น้ี การจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม หรืองานคันและคูน้าเดิม ในสมัยเริ่มแรกได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคันนาและคูนา พุทธศักราช 2484 โดยมีจุดประสงค์เพ่ือให้เจ้าของนาทาคันนาขึ้นเพ่ือกักหรือกั้นน้าไวใ้ ชใ้ นการทานา และทาคนู าซึ่งหมายถึงร่องนา้ ทที่ าข้ึนในที่นาหรือบนพื้นที่นาตามลักษณะที่กาหนดเพื่อส่งน้าเขา้ หรือระบายนา้ ออกจากนา ต่อมาในปี พ.ศ.2491 กรมชลประทานได้รับการแนะนาและสนับสนุนจากคณะผู้เชี่ยวชาญขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ให้เร่ิมจัดทาคันนาและคูนา เพื่อรับน้าจากคลองชลประทานไปส่งน้าให้แปลงเพาะปลูกได้อย่างรวดเร็วและทั่วถึง อันจะทาให้ผลผลิตเพิ่มข้ึน โดยเร่ิมแปลงทดลองตัวอย่างในปี พ.ศ.2492 ท่ีโครงการชลประทานโพธ์ิพระยา และโครงการชลประทานสามชุกจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2493–2503 ได้ขยายงานก่อสร้างคันนาและคูนาในเขตโครงการชลประทานต่างๆ ในพ้ืนท่ีท่ีเกษตรกรมีความสนใจและอยากให้ทาเป็นแปลงตัวอย่าง รวมเน้ือท่ีประมาณ 640,000 ไร่ โดยอาศัยพระราชบัญญัติคันนาและคูนา พุทธศักราช 2484 ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ให้เจ้าของท่ีนาทาคันนาและคูนา รวมท่ีดินแปลงใหญ่เน้ือที่เกิน 50 ไร่ เพ่ือประโยชน์ของการกระจายน้าและการเก็บกักในแปลงนาตามรูปแบบของบริษัทขุดคลองและคูนาสยาม และการดาเนินงานในสมัยน้ัน กองชลประทานหลวง โดยโครงการคันและคูน้า แผนกเกษตรชลประทาน เปน็ ผูใ้ ห้คาแนะนาใหร้ าษฎรเจา้ ของท่ดี ินดาเนนิ การก่อสร้างเอง ปี พ.ศ.2504 เปน็ ปีแรกท่ีกรมชลประทานจัดตง้ั งบประมาณ เพ่ือเปน็ คา่ ดาเนินงานส่งเสริมและแนะนาการจัดทาคันนาและคูนา และจัดทาแปลงตวั อย่าง ปี พ.ศ.2505 ไดต้ ราพระราชบัญญตั ิคันและคูน้า พ.ศ.2505 ข้ึนเนื่องจาก พระราชบัญญัติคันนาและคูนา พุทธศักราช 2484 ไม่มีผลตามเจตนารมณ์ ซึ่งกรมชลประทานได้เห็นว่า บางพ้ืนที่ไม่ได้ทานาอย่างเดียว มีการทาไรแ่ ละการทานาในพนื้ ทีเ่ ดียวกันและเวลาเดยี วกัน จงึ ต้องตรากฎหมายใหมข่ ้ึนบังคับใชแ้ ทน ต่อมาเมื่อมีความจาเป็นต้องเร่งเพิ่มผลผลิตให้ทันกับความต้องการอย่างเร่งด่วน ดังนั้น การปรับปรุงโครงการชลประทานท่ีมอี ยเู่ ดิมใหส้ มบรู ณย์ ง่ิ ข้ึน จึงมีความสาคญั เพราะไดผ้ ลเรว็ และลงทุนเพิ่มจากเดิมอีกเพียงเลก็ นอ้ ย เพ่ือให้สามารถใช้พ้นื ที่เพาะปลูกโดยมปี ระสิทธิภาพสูง จึงต้องมีการจัดรูปท่ีดินโดยปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกให้ถึงระดับไร่นา การส่งน้า การระบายน้า การขนส่ง และทาให้ดินมีประสิทธิภาพดีขึ้น ซ่ึงเป็นหลักประกันอย่างแน่นอนว่าสามารถใช้ดินทาการเพาะปลูกได้ดีท้ังในฤดูฝน และฤดูแล้ง ดังนั้น เขตที่ทาการปรับปรุงดังกล่าวแลว้ รวมเรยี กวา่ “การจัดรูปท่ีดิน” จึงเป็นพื้นที่ท่ีสามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ และเพิ่มผลผลิตตอ่ ปไี ด้อยา่ งแน่นอนตลอดปี งานจัดรูปท่ีดินในประเทศไทยเริ่มต้นในปี พ.ศ.2509 รัฐบาลเนเธอร์แลนด์ได้ส่งคณะผู้เชี่ยวชาญจากองค์การเนเดโก มาทาการศึกษาความเหมาะสมและได้เขียนรายงานเสนอว่าสมควรเริ่มงานจัดรูปที่ดินในเขตภาคกลางของประเทศไทยก่อน โครงการตัวอย่างแห่งแรกอยู่ในเขตโครงการชลประทานชันสูตร ท้องที่ตาบลพักทัน อาเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี โดยเริ่มต้ังแต่ปี พ.ศ.2512 พ้ืนท่ีประมาณ 1,000 ไร่ (โดยรัฐบาลประเทศเนเธอร์แลนดไ์ ดใ้ หค้ วามช่วยเหลือทั้งด้านวิชาการและการเงินแก่โครงการนี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2511 จนถึงปี พ.ศ.2515)งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปท่ีดนิ - 11 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทีด่ ิน รูปที่ 2.1-3 วิวัฒนาการของการ - 12

รายงานสรปุ สาหรับผ้บู รหิ ารรพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ า บรษิ ทั เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั2-

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต่อมาในปี พ.ศ.2514 ได้ทาการก่อสรา้ งโครงการตัวอย่างแห่งท่ีสองในเขตโครงการชลประทานบรมธาตุอาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท โดยได้รับการช่วยเหลือทางด้านวิชาการจากรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ไต้หวันพื้นที่ประมาณ 800 ไร่ โครงการตัวอย่างท่ีอาเภอสรรพยานี้มีลักษณะแตกต่างจากท่ีอาเภอบางระจันในการออกแบบเล็กน้อย และได้ดาเนินการเรื่องสหกรณ์แผนใหม่พร้อมกันไปด้วย และในปีเดียวกันนี้ได้เริ่มโครงการตัวอย่างจัดรูปที่ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแห่งแรกในโครงการชลประทานหนองหวายฝั่งขวาในเขตอาเภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแกน่ พนื้ ท่ี 625 ไร่ โดยได้รบั ความช่วยเหลือจากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ในปี พ.ศ.2517 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2517 ขึ้น ประกอบกับผลดาเนนิ การจากโครงการตวั อย่างในเขตโครงการเจ้าพระยาตอนบนยืนยันว่าเป็นโครงการท่ีให้ประโยชน์เป็นอยา่ งมาก รฐั บาลจึงได้ขยายงานจดั รูปท่ีดนิ ออกไปในหลายพื้นท่ีโครงการชลประทาน เช่น โครงการเจ้าพระยาใหญ่ โครงการชลประทานหนองหวาย จังหวัดขอนแก่น โครงการชลประทานพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลกและจังหวดั พิจิตร โครงการแม่กลองใหญ่ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นต้น ปี พ.ศ.2518 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดตั้งสานักงานจัดรูปที่ดินกลางขึ้นในสังกัดสานักงานปลดั กระทรวง เพ่อื รับผดิ ชอบในการดาเนินการจัดรปู ทีด่ นิ โดยเฉพาะ แต่การดาเนินงานโครงการพัฒนาเกษตรชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ และโครงการพัฒนาเกษตรชลประทานแม่กลองใหญ่ ยังให้กรมชลประทานดาเนินการต่อไปจนเสร็จ ปี พ.ศ.2521 เริ่มการจัดรูปที่ดินแบบประชาอาสาในท้องท่ีอาเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และอาเภอสรรคบุรี จงั หวัดชัยนาท ปี พ.ศ.2534 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534 เป็นการแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2517 โดยเพ่ิมเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการรักษาระบบชลประทานและการระบายน้า ถนนหรือทางลาเลียงในไร่นาและสิ่งสาธารณประโยชน์ที่ใช้ร่วมกันบทบัญญัติให้วางข้อบังคับเกี่ยวกับการเปิดหรือปิดประตูกักน้าหรือสิ่งอื่นท่ีใช้ในการบังคับน้า การเข้าสู่ที่ดินของเจ้าของที่ดินในเขตโครงการจัดรูปท่ีดิน ตลอดจนบทบัญญัติเก่ียวกับกองทุนจัดรูปท่ีดินเพื่อเป็นทุนหมนุ เวียนและใชจ้ ่ายเพอ่ื การจัดรูปท่ีดิน และใหก้ ารช่วยเหลอื ทางการเงินแก่เจ้าของท่ีดินในเขตโครงการจัดรูปท่ีดนิ ดว้ ย ต่อมาในปี พ.ศ.2545 สานักงานจัดรูปท่ีดินกลางได้ย้ายมาสังกัดกรมชลประทาน และได้รวมส่วนราชการงานคันและคูนา้ มาอยูภ่ ายใตส้ านกั งานจดั รูปทดี่ นิ กลางในปี พ.ศ.2552 เน่ืองจากการดาเนินการจัดทาคันและคูน้าตามพระราชบัญญัติคันและคูน้า พ.ศ.2505 และการจัดรูปทีด่ ินตามพระราชบัญญัติจดั รูปทีด่ ินเพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ.2517 เป็นการจัดระบบชลประทานแต่มีกฎหมายแยกเป็นสองฉบับ ประกอบกับกฎหมายทั้งสองฉบับประกาศใช้มานานไม่ทันสมัยจึงได้มีการตรากฎหมายข้ึนมาใหม่เป็นพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 โดยรวมกฎหมายทั้งสองฉบับมาไว้ด้วยกันและได้มีการยกเลิก พระราชบัญญตั ิคนั และคนู า้ พ.ศ.2505 และพระราชบัญญัติจดั รูปทดี่ นิ เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2517 โดยเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 เนื่องจากพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2517 เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าและบริหารจัดการน้าในระดับไร่นาที่เชื่อมโยงกับระบบชลประทานเพื่อให้ดินทุกแปลงได้รั บประโยชน์จากโครงการชลประทานและสาธารณูปโภคอยา่ งทว่ั ถงึ แต่ดว้ ยกระบวนการในการจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมตามกฎหมายปัจจุบันไม่สามารถที่จะขยายเขตโครงการจัดรูปท่ีดินได้อย่างรวดเร็วตามความต้องการของเกษตรกรจึงเหน็ ควรปรับปรุงกระบวนการในการจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมเสียใหม่ โดยลดข้ันตอนการดาเนินการตามงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรปู ที่ดิน - 13 - บรษิ ัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผูบ้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กฎหมายซง่ึ เปน็ อุปสรรคแกก่ ารจดั รูปท่ดี นิ และกาหนดมาตรการสง่ เสริมให้ประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วม เพ่ือให้ภาครัฐสามารถขยายเขตการจัดรูปที่ดินให้เพิ่มมากขึ้น นอกจากน้ันพระราชบัญญัติคันและคูน้า พ.ศ.2505 ซ่ึงเป็นกฎหมายเก่ียวกับการจัดระบบชลประทานจากทางน้าชลประทานไปใช้ในการเพาะปลูกได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน มีรูปแบบใกล้เคียงกับการจัดรูปท่ีดิน แต่มีบทบญั ญตั ิจากัดสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชนท่ีไม่เหมาะสมแก่กาลสมัย ไม่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีเปลยี่ นแปลงไป สมควรยกเลิกพระราชบัญญัติคันและคูน้า พ.ศ.2505 โดยปรับปรุงกระบวนการในการจัดทาคันและคูน้าเสียใหม่ ให้เป็นการดาเนินการในรูปแบบการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และเป็นส่วนหน่ึงของกฎหมายว่าด้วยการจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม เพื่อจะบูรณาการให้กฎหมายที่รัฐสามารถนาไปพัฒนาโครงสร้างภาคการเกษตรให้สมบูรณ์ สามารถวางแผนการจัดระบบชลประทานในระดับไร่นาเพ่ือให้เกษตรกรมีน้าใช้อย่างพอเพียงและเหมาะสมแก่การเกษตร ตอบสนองกับแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ซงึ่ จะช่วยเสรมิ สร้างฐานรากในการทาเกษตรกรรมให้เข้มแข็ง เพ่ิมศักยภาพในการแข่งขนั กับนานาประเทศ สง่ ผลให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมมคี วามมัน่ คงย่ิงขน้ึ ดังนั้น เพ่ือให้การใช้ประโยชน์จากโครงการชลประทานของรัฐที่ได้ดาเนินการก่อสร้างไปแล้ว รวมท้ังโครงการท่ีจะดาเนินการก่อสร้างใหม่ มีผลสัมฤทธ์ิและมีประสิทธิภาพตามท่ีวางแผนไว้ จึงจาเป็นต้องจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ีดนิ ตามพระราชบญั ญัติจัดรูปที่ดนิ เพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ.25582.2 สภาพปญั หาทีผ่ า่ นมา จากข้ันตอนการดาเนินงานจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม (งานคันและคูน้าเดิม) และข้ันตอนการดาเนนิ งานจดั รูปทีใ่ นอดตี ที่ผา่ นมา สามารถสรปุ ประเดน็ ปัญหาการบริหารจดั การโครงการได้ดังนี้ 1) กระบวนการพัฒนาโครงการก่อนท่ีสานักงานจัดรูปที่ดินกลางจะย้ายต้นสังกัดมาอยู่กรมชลประทาน (ปี พ.ศ.2545) มคี วามล่าช้า ซ่ึงโครงการจัดระบบน้าเพอื่ เกษตรกรรม (งานคันและคูน้าเดิม) ต้ังแต่เร่มิ โครงการจนถึงส่งมอบให้กับกลุ่มเกษตรกรและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะใช้เวลาดาเนินการประมาณ 6 ปีส่วนโครงการจัดรูปที่ดิน ต้ังแต่เริ่มโครงการจนถึงก่อสร้างเสร็จและออกหนังสือสิทธ์ิ (ใหม่) จะใช้เวลาดาเนินการประมาณ 7-13 ปี เนื่องจากมีข้ันตอนในการดาเนินงานซับซ้อนและบางข้ันตอนเป็นอุปสรรคมักจะเกิดปัญหาทาให้โครงการดาเนินงานล่าช้าไปอีก เม่ือโอนย้ายมาอยู่กรมชลประทาน กระบวนการพัฒนาโครงการใชเ้ วลาสน้ั ลง แตก่ ็ยงั ถือวา่ มคี วามลา่ ชา้ 2) การดาเนินงานโครงการทั้งสองประเภท ยังขาดขั้นตอนการวางแผนแม่บทท่ีสอดคล้องกับกรอบนโยบาย หรือแผนงานท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงยังขาดการบูรณาการกับหน่วยงานอื่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในพ้ืนที่นอกจากน้ี การขาดการวางแผนแม่บททีช่ ัดเจน สง่ ผลให้การวางแผนเพื่อจัดสรรงบประมาณได้ไม่เต็มศักยภาพการดาเนินงานของสานักงานจดั รูปทีด่ นิ กลาง การจัดทาแผนแมบ่ ทจะชว่ ยใหม้ ภี าพรวมทสี่ นับสนุนและสอดคล้องกับการดาเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน และเป็นกรอบหรือแนวทางในการดาเนินการ รวมถึงการพิจารณางบประมาณการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ ด้วย เนื่องจากแผนแม่บทมีการวางแผนการใช้ทรัพยากร ทั้งด้านอุปกรณ์งบประมาณและบุคลากร ซึ่งการมีแผนแมบ่ ทจะช่วยใหม้ ีการใชท้ รัพยากรให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการต่างๆภายในหน่วยงานอย่างเหมาะสมและลดความซ้าซ้อน ลดความสิ้นเปลืองด้านงบประมาณ บุคลากร และเวลาท่ีเกิดจากการวางแผนการดาเนนิ งาน 3) จากข้ันตอนการดาเนินงานโครงการท้ังสองประเภท จะเห็นได้ว่า ขาดข้ันตอนการประชาสัมพันธ์งานจัดทาแผนแม่บทการจัดรปู ทด่ี นิ - 14 - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และการมีส่วนรว่ มของประชาชน โดยเฉพาะกอ่ นเริ่มมีโครงการ ทาให้การส่ือสารประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างความเข้าใจแกผ่ มู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ทุกกลมุ่ ขาดความชดั เจนในด้านต่างๆ เชน่ - ขาดการสือ่ สารสรา้ งความเขา้ ใจปรกึ ษาหารอื และสง่ เสรมิ การเข้ามามีบทบาทกับเกษตรกรในข้ันตอนการเตรยี มโครงการอยา่ งต่อเน่ืองและเปน็ ระบบ - ขาดความรู้ความเข้าใจโครงการต้ังแต่เริ่มโครงการ เช่น อาจมีการทราบภายหลังว่าต้องเสียที่ดินบางส่วน และอัตราการเก็บเงินค่าลงทุนคืนจากเกษตรกรค่อนข้างสูงในโครงการจัดรูปที่ดิน ทาให้เกษตรกรชะลอการตัดสินใจเขา้ ร่วมโครงการ - ขาดการมีส่วนรว่ มของเกษตรกรในชว่ งการออกแบบ กอ่ สรา้ ง ในระดับสรา้ งความร่วมมือและให้อานาจการตัดสินใจ เพ่ือให้ผลงานตรงตามความต้องการของเกษตรกร จะเห็นได้ว่า ในข้ันตอนการสารวจข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบจะใช้เวลาในการดาเนินงานนานท่ีสุด เน่ืองจากต้องมีการเปล่ียนแปลงการออกแบบหลายครัง้ จนกวา่ จะตรงตามความตอ้ งการของเกษตรกร - ขาดการพัฒนาและสง่ เสริมให้เกษตรกรมคี วามเข้มแข็งในการดแู ลบารุงรกั ษาในรูปกลมุ่ ผู้ใชน้ า้ 4) ในแต่ละขั้นตอนการดาเนินงานจะต้องมีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นนอกกรมชลประทาน ต้ังแต่ก่อนเร่ิมโครงการจนถึงภายหลังจากมีโครงการแล้ว ซ่ึงท่ีผ่านมายังขาดการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดระบบชลประทาน ขาดการวางแผนการบริหารจัดการอย่างบูรณาการให้ครบถ้วนทุกฝุาย ทาให้โครงการเกิดความล่าช้าเนื่องจากบางครั้งหน่วยงานอื่นให้ความร่วมมือไม่เต็มศกั ยภาพเพราะไม่ทราบเปูาประสงค์ทีช่ ดั เจนของโครงการ 5) ในข้ันหลังการก่อสร้างเสร็จแล้วโครงการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและจัดรูปท่ีดินจะส่งมอบภารกจิ ตอ่ ใหก้ ับกลุ่มเกษตรกรผู้ใชน้ า้ หรอื องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรับดูแลบารุงรักษาต่อไป ส่วนการจัดการด้านน้าจะสง่ มอบภารกิจให้โครงการชลประทานจังหวัดหรือโครงการส่งน้าและบารุงรักษา ซ่ึงภายหลังจากรับมอบภารกิจ จะจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้า และมีการฝึกอบรมพนักงานส่งน้าและเกษตรกร ในการวางแผนการปลูกพืชวางแผนส่งน้าและบารุงรักษาคูน้า แต่การบริหารจัดการน้ายังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากขาดเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการวางแผนการส่งน้า ตรวจวัดปริมาณน้า ประเมินผลเพ่ือปรับปรุงโครงการประกอบกบั กลุม่ ผ้ใู ชน้ า้ ยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในการบริหารจัดการนา้ ด้วยตนเอง 6) การส่งเสริมกิจกรรมต่อเนื่องภายหลังจากมีโครงการ โครงการปฏิบัติการคันคูน้าเป็นผู้ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นต้น เพ่ือดาเนินการเก่ียวกับการรวมกลุ่มเกษตรกร แต่เน่ืองจากสภาพเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนไปในปจั จุบนั การส่งเสริมการทาเกษตรกรรมท่ีผ่านมายังไม่ต่อเน่ืองและครบถ้วนจึงไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควรยังขาดการส่งเสริมด้านอื่นๆ อีกหลายด้าน เช่น การบริหารและพัฒนาที่ดิน การส่งเสริมการผลิต การส่งเสริมการตลาด เปน็ ต้น 7) การดาเนินงานโครงการจัดรูปที่ดินต้ังแต่เร่ิมแรกจนกระทั่งถึงปี พ.ศ.2529 เป็นโครงการที่อยู่ในแผนงานของรฐั บาลดาเนินงานก่อสร้างโดยอาศัยเงินกู้จากต่างประเทศส่วนหนึ่งและสบทบกับเงินงบประมาณอีกส่วนหน่ึงในระหว่างท่ีดาเนินการน้ัน พื้นที่ของเกษตรกรที่อยู่นอกแผนงานของทางราชการ เห็นประโยชน์ของการดาเนินการจัดรูปที่ดิน จึงได้ร้องขอให้ทางราชการดาเนินการให้บ้าง โดยยินดีที่จะจ่ายค่าก่อสร้างเองทั้งหมดซ่ึงเรียกโครงการดังกล่าวน้ีว่า “โครงการจัดรูปท่ีดินแบบประชาอาสา” งานในรูปแบบนี้ ได้ขยายเพิ่มขึ้นบ้างตามท่ีราษฎรเจ้าของที่ดินต้องการ แต่ก็ไม่สามารถขยายงานออกไปได้อย่างกว้างขวาง เน่ืองจากคา่ ใชจ้ า่ ยในการก่อสร้างท้งั หมดเจา้ ของท่ีดนิ ต้องจ่ายเอง ซึ่งในเขตพ้ืนที่หน่ึงๆ ท่ีร้องขอมา กาลังความสามารถงานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรูปที่ดิน - 15 - บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด้านเงินของเกษตรกรแต่ละรายไม่เท่ากัน ทาให้เกิดปัญหาในการดาเนินงานตามโครงการ ซ่ึงรัฐบาลได้พิจารณาเห็นว่า รูปแบบโครงการจัดรูปท่ีดินแบบประชาอาสาน่าจะดาเนินงานต่อไปได้ และเพื่อขยายการจัดรูปที่ดินเป็นไปอย่างกว้างขวางทันกับความต้องการของเกษตรกร จึงเห็นสมควรจะให้มีกองทุนหน่ึงเรียกว่า“กองทุนจดั รปู ทดี่ นิ ” เพือ่ ใช้เปน็ ทุนหมุนเวยี นในการดาเนินงาน ดังนั้นรัฐบาลจึงได้แก้ไขพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2517 จัดต้ังกองทุนจัดรูปท่ีดิน ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 5ธันวาคม 2534 (สริ ิวชิ ญ, 2558) 8) การบรหิ ารเงินกองทนุ จัดรปู ทด่ี ิน กองทุนจัดรูปที่ดินจัดตั้งข้ึนเม่ือ ปี พ.ศ.2534 ตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมพ.ศ.2517 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534 เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนและค่าใช้จ่ายในการจัดรูปที่ดิน ต้ังแต่มีการจัดต้ังกองทุนจัดรูปที่ดินต้ังแต่ปี พ.ศ.2534 จนถึงปัจจุบัน สามารถสรุปปัญหาสาคัญเกี่ยวกับการบริหารเงินกองทุนจัดรูปท่ดี นิ ดงั น้ี 8.1) กองทุนจัดรูปที่ดินมีค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็นค่าก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานทางการเกษตรซ่งึ มีลกั ษณะเชน่ เดียวกับงบลงทนุ เกี่ยวกับที่ดินและส่ิงก่อสร้าง แต่กองทุนจัดรูปที่ดินได้รับเงินจากงบประมาณแผ่นดินจนถงึ ปจั จุบัน (ปี พ.ศ.2535 ถึงปี พ.ศ.2559) ประมาณ 2,750 ล้านบาท (เฉลยี่ ปีละ 110 ล้านบาท) จึงมีผลให้การเพ่ิมพ้ืนท่ีจัดรูปท่ีดินเป็นไปอย่างล่าช้า ไม่สามารถสนองความต้องการของเกษตรกรและนโยบายของรฐั บาล 8.2) กองทุนจัดรูปที่ดินมีลักษณะเป็นทุนหมุนเวียน แต่ผลจากมติคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลางกาหนดให้เจ้าของท่ีดินจ่ายค่าคืนทุน (จัดรูปที่ดิน) ให้แก่กองทุนในอัตราร้อยละ 20 ของค่าก่อสร้างโครงสรา้ งพ้นื ฐาน จึงเป็นเหตุใหเ้ ม็ดเงินท่จี ะไหลกลับเขา้ กองทนุ เพื่อเปน็ ทุนหมุนเวียนมจี านวนน้อยกว่าเม็ดเงินท่ีจ่ายออกไป ทาใหส้ ถานะกองทนุ ตอ้ งอาศัยเงนิ ทไ่ี ดร้ ับจากงบประมาณแผ่นดิน ต่างจากกองทุนหมุนเวียนอื่นท่ีมรี ายได้เพียงพอในการบริหารงาน 8.3) รายได้จากการจัดเก็บค่าคืนทุน (จัดรูปที่ดิน) จากเจ้าของที่ดิน มีความไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความสามารถในการชาระของเจ้าของท่ีดินแต่ละพ้ืนที่ ซ่ึงขึ้นอยู่กับรายได้จากผลผลิต และสภาพปัจจัยแวดลอ้ มอนื่ ๆ เช่น โรคศัตรูพืช ภยั ธรรมชาติ เปน็ ต้น 8.4) ค่าใช้จ่ายของกองทุนท่ีผ่านมามุ่งเน้นที่งานก่อสร้างเพื่อเพ่ิมพ้ืนที่จัดรูปที่ดิน เป็นเหตุให้โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางการเกษตรในพ้ืนทจี่ ดั รูปที่ดนิ เดิมที่เสื่อมสภาพเนื่องจากอายุใช้งานมานานกว่ายี่สิบปี แต่ไดร้ บั การดูแลจากภาครัฐน้อยมาก ทาให้ประสิทธภิ าพการสง่ น้า และการผลิตสนิ คา้ เกษตรลดลง จนกระทั่งปี พ.ศ.2558 มีการยกเลิก พระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2517 และพระราชบัญญัติคันและคูน้า พ.ศ.2505 โดยใช้พระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2558 แทนและยังคงให้จัดต้ังกองทุนจัดรูปที่ดินไว้เช่นเดิม โดยให้เป็นทุนหมุนเวียน และค่าใช้จ่ายในการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและการจัดรูปทดี่ นิ จากประเด็นปัญหาที่กล่าวมาจากข้อ 1) ถึงข้อ 8) จะเห็นได้ว่า โครงการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรมและโครงการจัดรูปท่ีดินในอดีตที่ผ่านมายังขาดการบริหารจัดการที่ดี ท้ังก่อนเริ่มมีโครงการ ก่อนก่อสร้างระหวา่ งก่อสรา้ ง และภายหลังก่อสร้าง ซึ่งถ้าหากทุกโครงการมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ให้สอดคลอ้ งกัน เพ่ือจดุ มงุ่ หมายอนั เดยี วคอื เพ่ือยกฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีข้ึนทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ก็จะส่งผลสาเร็จของโครงการ ทาให้มาตรฐานความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น เกษตรกรสามารถทาการเพาะปลกู ไดป้ ีละหลายครั้ง โดยจะสง่ นา้ จากโครงการชลประทานของพ้ืนทไ่ี ด้ท้งั ฤดฝู นและฤดแู ลง้งานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ีดนิ - 16 - บรษิ ัท เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดังนั้น การจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน จึงต้องมีการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ีดินและจัดทาแผนบริหารจัดการควบคู่กันไปให้ครบถ้วนทุกด้านและวางแผนส่งเสริมกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองครบวงจรเน่ืองจากแผนแม่บทการจัดรูปที่ดินเป็นเพียงการศึกษาความเหมาะสมของพ้ืนที่ที่จะพัฒนาระบบชลประทานในไร่นาเท่านั้น แต่การจะบรรลุเปูาประสงค์ “เพ่ือเพ่ิมผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต” ตามพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 4 จะต้องมีแนวทางการบริหารจัดการที่ดีและมีความชัดเจนโดยพิจารณาให้มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือแผนอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการจัดทาแผนด้วย จึงจะประสบความสาเร็จตามเปูาประสงค์ของโครงการ2.3 งานรวบรวมข้อมลู และรายงานการศึกษาทเี่ ก่ยี วข้อง2.3.1 ข้อมูลและรายงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง ทาการรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ เพือ่ ใช้ประกอบการจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปที่ดิน มีดงั น้ี 1. นโยบาย แผนยุทธศาสตรร์ ะดับประเทศ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และแผนงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน เช่น ข้อมูลพ้ืนท่ีเกษตรแปลงใหญ่ ข้อมูลศูนย์เรียนรู้เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) และขอ้ มลู การจดั การทรพั ยากรและการจดั การพน้ื ท่ีของประเทศตามศกั ยภาพ (Zoning) เป็นตน้ 2. แผนยุทธศาสตร์ และแผนงานโครงการต่างๆ ของกรมชลประทาน แผนงานการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม และแผนการจดั รปู ทด่ี นิ ของสานกั งานจดั รปู ทีด่ นิ กลาง 3. พื้นที่เกษตรกรรม พ้ืนที่ชลประทานที่ได้ดาเนินการแล้ว และพ้ืนที่ศักยภาพในการพัฒนาระบบชลประทาน พ้ืนทจ่ี ดั ระบบนา้ เพอ่ื เกษตรกรรม และพ้ืนท่ีจัดรูปที่ดินท่ีดาเนินการเรียบร้อยแล้ว และที่อยู่ระหวา่ งดาเนนิ การ 4. ขอ้ มลู พ้ืนฐานของโครงการชลประทานขนาดใหญ่ โครงการชลประทานขนาดกลาง โครงการชลประทานขนาดเล็ก โครงการสูบน้าด้วยไฟฟูา โครงการพระราชดาริ และโครงการแก้มลิง รวมถึงโครงการพัฒนาแหล่งน้าที่สังกัดหน่วยงานอ่ืนๆ ด้วย เช่น กรมทรัพยากรน้า กรมพัฒนาที่ดิน และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพ์ ลงั งาน 5. ข้อมูลแหล่งน้าต้นทุน โครงการแหล่งน้าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ท่ีก่อสร้างเสร็จแล้ว ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง และท่ีอยู่ในแผนงานก่อสร้างในอนาคตของกรมชลประทาน รวมถึงข้อมูลของหน่วยงานอนื่ ท่ีเกีย่ วข้องดว้ ย 6. ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับการเกษตร ประกอบด้วย ข้อมูลประเภทของการทาเกษตรกรรม แผนการปลกู พืช (Cropping Pattern) ข้อมูลดา้ นดนิ และการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ (Land Use) 7. ข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม ในเขตพื้นทชี่ ลประทาน ประกอบด้วย จานวนครัวเรือนเกษตรกรการถือครองท่ดี ินของเกษตรกร การจดั ตัง้ กลมุ่ ผใู้ ช้นา้ ตน้ ทุนการผลิต ผลผลติ รายไดเ้ ฉลีย่ ตอ่ ครวั เรือนงานจัดทาแผนแมบ่ ทการจดั รูปท่ีดนิ - 17 - บรษิ ัท เอ กรุป๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 8. ขอ้ มูลผังเมือง การพัฒนาเมือง เขตเศรษฐกิจพิเศษ หรืออื่นๆ ที่เก่ียวข้องท่ีมีผลต่อการจัดรูปท่ีดิน และการจัดระบบน้าเพ่ือเกษตรกรรม 9. รายงานการศกึ ษาตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้องกับการจัดรปู ทีด่ ิน 10. กฎหมายและขอ้ ระเบียบท่ีเก่ยี วข้องกบั การจดั รูปทดี่ ิน 11. ข้อมูลองค์กรและหนว่ ยงานต่างๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การจัดรูปทดี่ นิ 12. ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ท่ีอยู่ในรูปแบบของฐานข้อมูล (GIS) ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดรูปทีด่ ิน และขอ้ มลู ประกอบอน่ื ๆ เช่น แผนท่ภี าพถา่ ยทางอากาศ เป็นต้น2.3.2 สรปุ ผลการพัฒนาพื้นทชี่ ลประทานทผ่ี า่ นมา 1. การพฒั นาพ้นื ทช่ี ลประทานของประเทศไทย จานวนพื้นที่ชลประทานที่พัฒนาแล้วถึงปี พ.ศ.2558 มี 31,538,356 ไร่ จากพื้นท่ีที่มีศักยภาพในการพฒั นาเป็นพื้นทชี่ ลประทานจานวน 60,294,241 ไร่ ดังนั้น ประเทศไทยจะมีพ้ืนที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเปน็ พื้นทีช่ ลประทานได้อีก 28,755,855 ไร่ รายละเอยี ดมดี งั นี้ การ ใช้ท่ีดินของปร ะเทศ จานวนพ้ืนท่ี (ไร่ )1.1) พนื้ ทป่ี ระเทศไทย 1/ 320,696,8881.2) พน้ื ทที่ างการเกษตร 1/ 149,236,2331.3) พน้ื ทที่ ม่ี ศี กั ยภาพในการพฒั นาเปน็ พน้ื ทชี่ ลประทาน 60,294,2411.4) พน้ื ทช่ี ลประทานทพ่ี ฒั นาแลว้ ประกอบดว้ ย 31,538,356 17,966,566 1.4.1 โครงการชลประทานขนาดใหญ่ (กรมชลประทานดแู ลบารุงรักษา) 6,564,535 1.4.2 โครงการชลประทานขนาดกลาง (กรมชลประทานดแู ลบารุงรักษา) 7,007,255 1.4.3 โครงการชลประทานขนาดเลก็หมายเหตุ : 1/ ขอ้ มูลสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรปี 2556 (5 มี.ค. 2558)ทมี่ า : รายงานขอ้ มูลสารสนเทศโครงการชลประทาน ประจาปี 2558 ของกรมชลประทานงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รูปที่ดิน - 18 - บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ ารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. สรุปผลการดาเนินงานการพัฒนาแหล่งน้าและพื้นท่ีชลประทาน ต้ังแต่ต้นจนถึงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ผลการดาเนินงานการพัฒนาแหล่งน้าตั้งแต่ต้นจนถึงส้ินปีงบประมาณ พ.ศ.2558 โครงการชลประทานรวมท้ังสิ้น 18,817 แห่ง มีปริมาตรน้าเก็บกักรวม 79,461.297 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทานรวม 31,538,356 ไร่ และพืน้ ที่รับประโยชน์ 16,003,408 ไร่ รายละเอยี ดแสดงดังน้ีลาดับ ร ายการ จานวนโคร งการ ปริมาตร น้าเก็บกัก พื้นท่ีชลปร ะทาน พื้นที่รับปร ะโยชน์ ที่ (แห่ง) (ล้านม.3) 1 โคร งการ ชลปร ะทานขนาดใหญ่ 94 73,216.733 (ไร่ ) (ไร่ ) - โครงการสง่ น้าและบารุงรักษา 94 12,013.253 - อา่ งเกบ็ น้า (34) 9,377.597 17,966,566 175,000 - อา่ งเกบ็ น้าของการไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทยที่ - 61,203.480 กรมมสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการน้า (10 โครงการ) 17,966,566 175,000 - ฝาย - ปตร. 3,146,042 - - สถานีสูบน้าดว้ ยไฟฟา้ - อนื่ ๆ -- (24) 215.270 1,626,897 - - (58) 265.396 10,958,919 - 175,000 (18) 2,084.990 1,254,640 (6) 70.000 980,0692 โคร งการ ชลปร ะทานขนาดกลาง 674 4,239.832 6,564,535 157,596 - อา่ งเกบ็ น้า 49,064 - ฝาย 421 4,119.290 2,261,132 8,532 - ปตร. - - สถานีสบู น้าดว้ ยไฟฟา้ 133 73.088 2,605,028 - - อนื่ ๆ 100,000 71 11.466 1,095,915 14 2.750 157,922 35 33.238 444,5383 โคร งการ ชลปร ะทานขนาดเล็ก 18,049 2,004.732 7,007,255 15,670,812 - อา่ งเกบ็ น้า 4,172 759.825 697,590 2,247,525 - ฝาย 5,932 385.509 917,965 5,005,883 - ปตร. 274 0.140 13,950 568,940 - สถานีสบู น้าดว้ ยไฟฟา้ 2,309 3.065 2,097,419 - อน่ื ๆ 2,509 45.328 3,880,971 2,742,896 - แกม้ ลงิ 253 507.267 453,738 1,118,807 - กปร. 2,600 303.598 97,224 1,889,343 945,817ร วมทั้งสิ้น 18,817 79,461.297 31,538,356 16,003,408หมายเหตุ : ในเขตพนื้ ทชี่ ลประทานมโี ครงการจัดรูปทดี่ นิ จานวน 1,989,538 ไร่ และโครงการปฏิบัตกิ ารคนั คนู ้า จานวน 10,855,089 ไร่ พนื้ ทชี่ ลประทานขนาดเล็กยงั ไมม่ กี ารตรวจสอบขอ้ มลู ในเชงิ พน้ื ที่ (GIS) เปน็ เพยี งข้อมลู การวางโครงการทม่ี า : รายงานข้อมลู สารสนเทศโครงการชลประทาน ประจาปี 2558 ของกรมชลประทานงานจัดทาแผนแม่บทการจดั รปู ท่ดี นิ - 19 - บริษัท เอ กรปุ๊ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. สรุปผลการดาเนินงานการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรมและการจัดรูปที่ดิน ต้ังแต่ต้นจนถึงส้ินปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ในเขตพื้นท่ีชลประทานมีการดาเนินการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม และการจัดรูปท่ีดินตั้งแต่ต้นจนถึงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2558 มีโครงการจัดระบบน้าเพื่อเกษตรกรรม จานวน 10,855,089 ไร่และโครงการจดั รปู ทีด่ ิน 1,989,538 ไร่ รายละเอียดแสดงดงั นี้สานักงาน พ้ืนท่ีงานจัดร ะบบน้าเพ่ือเกษตร กร ร ม (ไร่ ) พื้นท่ีงานจัดรู ปที่ดิน (ไร่ ) สมบูร ณ์แบบ ก่ึงสมบูร ณ์แบบ ร วมชลปร ะทาน แบบเส้นตร ง แบบลัดเลาะ รวม1 309,085 205,181 514,266 - --2 252,487 300,851 553,338 650 330 9803 47,814 391,611 439,425 64,625 473,151 537,7764 - 372,346 372,346 - - -5 - 206,273 206,273 8,764 199,305 208,0696 2,000 662,083 664,083 34,155 142,141 176,2967 72,182 263,646 335,828 - 2,500 2,5008 20,610 677,082 697,692 1,220 7,280 8,5009 144,308 102,383 246,691 - --10 1,597,927 309,728 1,907,655 209,147 33,477 242,62411 857,734 2,243 859,977 1,453 - 1,45312 1,568,409 278,914 1,847,323 290,620 41,580 332,20013 820,432 255,390 1,075,822 2,390 445,307 447,69714 330,000 274,880 604,880 - --15 - 125,053 125,053 660 29,783 30,44316 90,061 151,520 241,581 - --17 - 162,856 162,856 - 1,000 1,000รวม 6,113,049 4,742,040 10,855,089 613,684 1,375,854 1,989,538ทมี่ า : สานักงานจัดรูปทด่ี นิ กลาง กรมชลประทาน 2559งานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปทด่ี นิ - 20 - บรษิ ทั เอ กร๊ปุ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรุปสาหรับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์2.4 การทบทวนความสอดคลอ้ งนโยบาย แผนยทุ ธศาสตร์ระดบั ประเทศ แผนพัฒนา การเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั แผน แม่บทการจัดรปู ทดี่ ิน ตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม พ.ศ.2558 มาตรา 17 วรรค 2 ระบุให้สานักงานจดั รูปทด่ี นิ กลางคานึงถงึ ความสอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือแผนอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือประกอบการจัดทาแผนแม่บทการจัดรูปที่ดิน จากการทบทวนนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานอนื่ ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง แสดงดงั รูปที่ 2.4-1 และตารางท่ี 2.4-1 สรปุ นโยบายทเ่ี ก่ียวข้องได้ดังน้ี 1. นโยบายรัฐบาล พ.ศ.2558 (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา) 2. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) 3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) 4. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้า (พ.ศ. 2558-2569) 5. คณะกรรมการนโยบายทด่ี นิ แห่งชาติ (คทช.) (พ.ศ.2557) 6. นโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2559 (พลเอก ฉตั รชัย สารกิ ัลยะ) 7. ยทุ ธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) 8. แผนพฒั นาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. 2560-2564) 9. นโยบายการบรหิ ารจัดการพ้นื ที่เกษตรกรรมของประเทศ (Zoning) (พ.ศ.2557) 10. นโยบายปฏริ ปู การเกษตรประเทศไทย (พ.ศ.2556-2561) 11. นโยบายแผนท่ีเกษตรเพื่อการบรหิ ารจดั การเชิงรกุ (Agri-Map) (พ.ศ.2559) 12. ยทุ ธศาสตร์กรมชลประทาน (พ.ศ.2559) 13. แผนของสภาขับเคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศ (สปท.)งานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปท่ดี นิ - 21 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากัด

กรมชลประทาน รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รปู ท่ี 2.4-1 นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดบั ประเทศ แผนพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และแผนงานอืน่ ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งกับแผนแมบ่ ทการจดั รปู ท่ดี นิงานจดั ทาแผนแม่บทการจดั รูปท่ดี นิ - 22 - บรษิ ัท เอ กร๊ปุ คอนซลั แตนท์ จากดั

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตารางที่ 2.4-1 ความสอดคล้องของนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ระดับประเทศ แผนพกับแผนแม่บทการจดั รูปท่ีดนิลาดับ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอยี ดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน 1. ดแู ลเกษตรกรให้มีรายได้ที่เหมาะสมด้วยวิธีกา1 นโยบายรฐั บาล พ.ศ.2558 2. ปรบั โครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล (พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา) ตอ้ งการของตลาด2 ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี 3. บรหิ ารจดั การทรัพยากรน้าของประเทศให้เป็น (พ.ศ.2560-2579) 4. เพิม่ บทบาทสหกรณ์ของกลมุ่ เกษตรกรที่ผลติ ส ผู้ซื้อพชื ผลให้แปรรปู และส่งออกได้ 5. ปูองกัน ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ 6. ปรับปรงุ ระบบบรหิ ารจัดการของรัฐวิสาหกิจใ โปร่งใส และตรวจสอบได้ 1. ด้านความมน่ั คง 2. ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 3. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4. ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาค 5. ดา้ นการสร้างการเติบโตคุณภาพชีวิต 6. ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดงานจดั ทาแผนแม่บทการจัดรูปทด่ี ิน - 23 -

รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหารพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนงานอื่นๆ ที่เก่ียวข้องสตร์ ความสอดคล้องารตา่ งๆ ความสอดคล้องในภาพรวมล้องกับความ การจดั ระบบชลประทานในไร่นาทาให้น้าชลประทานสามารถ เขา้ ถงึ พนื้ ที่เพาะปลกู ไดท้ กุ แปลง มีการระบายน้าได้สะดวก มีนเอกภาพในทุกมติ ิ ถนนเข้าถึงทกุ แปลงเพาะปลูก สามารถขนสง่ ปัจจัยการผลติสนิ คา้ เกษตรในฐานะ และผลผลิตไดส้ ะดวก เกษตรกรสามารถใช้พื้นทท่ี าการเกษตร ได้ทงั้ ปี ทาให้ผลผลติ ตอ่ ไรเ่ พิ่มขึน้ ลดต้นทุนการผลติ มีรายได้ชอบในภาครัฐ สทุ ธิเพิม่ ขึ้นใหม้ ีประสิทธิภาพดการของรฐั ความสอดคล้องในภาพรวม กิจกรรมในการบรหิ ารจดั การ จะประกอบด้วย การประสาน ความร่วมมือของทุกหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง (สอดคลอ้ งกบั ข้อ 6) มกี ารบริหารจัดการน้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพร่วมกนั ระหว่าง หนว่ ยงานกับองค์กรเกษตรกร (สอดคล้องกบั ข้อ 3 และข้อ 4) มกี ารเสรมิ สร้างความสามารถในการบรหิ ารจัดการหลายๆ ด้าน ให้เกษตรกร (สอดคล้องกับข้อ 2 และข้อ 3) เม่อื เกษตรกรมี รายได้เพ่ิมข้นึ กน็ าไปสู่ความสอดคล้องกบั ขอ้ 1 และข้อ 5- บรษิ ทั เอ กรปุ๊ คอนซัลแตนท์ จากัด

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลาดับ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ รายละเอียดนโยบาย/ยุทธศาส และแผน 1. การเสริมสรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนษุ ย์3 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ 2. การสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหลือ่ มล สงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) เปาู หมายท่ี 1 ลดปัญหาความเหลอ่ื มลา้ ดา้ นรา ฐานะทางเศรษฐกิจสงั คมท่แี ตกตา่ งกนั และแก ยากจน ตวั ชีว้ ัด 1.1 รายไดเ้ ฉลยี่ ต่อหัวของกลมุ่ ประชา รายไดต้ ่าสดุ เพิ่มขึ้นไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 15 ต่อป 3. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งข วตั ถุประสงค์ที่ 2 การสร้างความเขม้ แข็งใหเ้ ศร เปาู หมายที่ 2 เกษตรกรมีรายได้เงินสดสทุ ธทิ า เป็น 59,460 บาทต่อครวั เรือน ในปี 2564 แล เกษตรกรรมยั่งยืนเพ่ิมขน้ึ เป็น 5 ลา้ นไร่ ในปี ตวั ชว้ี ัด 2.1 รายได้เงินสดสทุ ธิทางการเกษตร ตวั ชีว้ ดั 2.2 จานวนพื้นทก่ี ารทาเกษตรกรรมย 4. การเตบิ โตทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพ เปูาหมายท่ี 2 สรา้ งความมั่นคง และบรหิ ารจัด ทัง้ ระบบให้มปี ระสิทธภิ าพ บริหารจัดการนา้ ใ ความสมดลุ ระหว่างความตอ้ งการใช้น้าทุกกิจก ตน้ ทุน เพมิ่ พืน้ ท่ชี ลประทานปีละ 350,000 ไร ประสิทธิภาพการใชน้ า้ ทั้งภาคการผลติ และกา และลดความเสยี หายจากอุทกภยั และภยั แลง้งานจดั ทาแผนแมบ่ ทการจัดรปู ทด่ี ิน - 24 -

รายงานสรุปสาหรับผู้บริหารสตร์ ความสอดคล้องลา้ ในสังคม ความสอดคล้องในภาพรวม ายได้ของกลุ่มทมี่ ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 เพราะมีกจิ กรรมสรา้ งความเข้มแข็งให้ กไ้ ขปัญหาความ เกษตรกรและองค์กรเกษตรกรในการบริหารจัดการหลายๆ ดา้ นทีเ่ ก่ยี วข้องกับการพัฒนาการเกษตร การบรหิ ารจัดการน้าากรร้อยละ 40 ทม่ี ี การบรหิ ารและพฒั นาท่ีดิน การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพปี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 และ 3 เพราะเปาู หมายของแผนแม่บทการจัด ขนั ไดอ้ ย่างยง่ั ยืน รูปทดี่ นิ คอื เพ่ิมผลผลิตและลดต้นทนุ การผลิต ทาให้เกษตรกร รษฐกิจรายสาขา มีรายได้เพ่ิมข้นึ มีการอนุรักษ์พืน้ ท่ีทาการเกษตรให้มคี วามางการเกษตรเพม่ิ ขึ้น ยั่งยืนเพ่มิ ข้ึนอย่างต่อเนื่องละพ้ืนท่ีการทา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ามีประสิทธิภาพ 2564 สูงข้นึ ประหยัดนา้ ทาให้มีความมั่นคง สมดุล และยั่งยืน ยุทธศาสตรท์ ่ี 7 เพราะมีการบริหารจัดการพัฒนาที่ดิน มีการย่ังยนื เสนอระบบปลูกพชื สอดคล้องกับโครงการของกระทรวงเกษตรพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน และสหกรณ์ ซึ่งสรา้ งความเข้มแขง็ ให้เกษตรกรสามารถทาดการทรัพยากรนา้ การเกษตรแบบครบวงจรหว่ งโซอ่ ปุ ทานในระดบั ลุม่ นา้ ให้มี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 9 มีการพัฒนาระบบชลประทานในไรน่ าในทุก กรรมกบั ปรมิ าณน้า ภูมภิ าคของประเทศ สอดคล้องกบั โครงการของกระทรวงร่ ควบคู่กบั การเพ่ิม เกษตรและสหกรณ์ารบริโภค ปอู งกัน- บริษทั เอ กรุ๊ป คอนซัลแตนท์ จากัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook