Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore process_devskill_digital

process_devskill_digital

Published by Chaiwut JO, 2020-01-28 02:02:17

Description: process_devskill_digital

Search

Read the Text Version

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ิทลั ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลี่ยนเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ัล มาตร

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลยี่ นเปน็ รฐั บาลดิจิทลั แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรับเปลีย่ นเปน็ รฐั บาลดิจิทลั

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพอื่ การปรับเปล่ียนเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั คานา ตามที่คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันท่ี 26 กันยายน 2560 ได้มีมติเห็นชอบ ในหลักการร่างแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพ่ือการปรับเปล่ียน เป็นรัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ใช้เป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพกาลังคนภาครัฐ โดยให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ เร่งพัฒนาตนเองและสนับสนุนการพัฒนาผู้อ่ืนอย่างต่อเนื่อง และ ให้ทุกส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ องค์กรกลางบริหารงานบุคคล และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการ ให้มีการนาร่างแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลดังกล่าวไปปรับใช้ในการพัฒนาและเสริมสร้างกาลังคน ในสังกัด รวมท้ังให้สานักงบประมาณ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมและหน่วยงานในสังกัด สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ให้การสนับสนุนการดาเนินงาน งบประมาณ และทรัพยากรทีเ่ ก่ียวขอ้ งอยา่ งต่อเนือ่ งดว้ ย ในการน้ี ให้สานกั งาน ก.พ. และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องรับความเห็นของกระทรวงคมนาคม กระทรวงพลังงาน สานักงบประมาณ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานกั งาน ก.พ.ร. และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ไปพิจารณาดาเนินการในส่วนท่ีเก่ียวข้องต่อไป ด้วย ท้ังนี้ ค่าใช้จ่ายที่จะเกิดข้ึนเพ่ือการดังกล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ และปีงบประมาณต่อ ๆ ไป ให้เปน็ ไปตามความเห็นของสานักงบประมาณ อนึ่ง เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว สานักงาน ก.พ. จึงได้นามติคณะรัฐมนตรีและความเห็นของหน่วยงานต่าง ๆ มารวบรวมไว้เป็นเอกสาร ฉบับเดียวกันเพ่ือเผยแพร่ให้ข้าราชการ บุคลากรภาครัฐ ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ องค์กรกลางบริหาร งานบุคคล และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งต่าง ๆ ไดน้ าไปใช้อ้างองิ และประกอบการดาเนนิ งานตอ่ ไป สานักงาน ก.พ. กันยายน 2560 -ก-

แนวทางพฒั นาทกั ษะด้านดจิ ิทลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดจิ ิทลั หน้า ก สารบัญ ข ค เรือ่ ง 1 คานา สารบญั (1) อินโฟกราฟิก (infographic) (12) แนวทางพัฒนาทักษะดา้ นดิจิทัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั (24) เพอ่ื การปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจิทลั (49) ภาคผนวก  หนังสอื สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนทส่ี ดุ ท่ี นร 0505 / ว 493 ลงวันท่ี 29 กนั ยายน 2560 เรอื่ ง ร่างแนวทางการพฒั นาทักษะด้านดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล - มตคิ ณะรัฐมนตรี วนั ที่ 26 กันยายน 2560 - บนั ทึกเสนอคณะรัฐมนตรี - ความเหน็ สว่ นราชการ  หนงั สือสานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0505 / 33364 ลงวันที่ 11 ตลุ าคม 2560 เรื่อง รา่ งแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพ่อื การปรับเปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจิทัล (ความเห็นส่วนราชการ เพ่ิมเติม) -ข-

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปลี่ยนเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั -ค-

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปลี่ยนเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั -ง-

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ิทลั ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครัฐ เพ่ือการปรับเปล่ยี นเปน็ รฐั บาลดิจิทัล 1. หลกั การและเหตผุ ล 1.1 ปัจจุบันโลกได้เข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่เทคโนโลยีดิจิทัลไม่ได้เป็นเพียง เครื่องมือสนับสนุนการทางานเฉกเช่นที่ผ่านมาอีกต่อไป หากแต่จะหลอมรวมเข้ากับวิถีชีวิตของคนอย่างแท้จริง และส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนโครงสร้างรูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระบวนการผลิต การค้า การบริการ และกระบวนการทางสังคม รวมท้ังการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างสิ้นเชิง อิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัล ดังกล่าวจึงเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของประเทศในการวางแนวทางการดาเนินการด้วยการนา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อแก้ไขปัญหาที่สั่งสมมานานและเพ่ิมโอกาสในการพั ฒนา เศรษฐกิจและสังคม เช่น การก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง การพัฒนาขีดความสามารถของธุรกิจ ทั้งภาคเกษตรกรรม การผลิต และการบริการ การแสวงหาและใช้โอกาสจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ในระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าของสังคมการพัฒนาศักยภาพกาลังคน ของประเทศ การบรหิ ารจัดการสงั คมสงู วยั การแกป้ ัญหาคอรร์ ปั ชนั เปน็ ตน้ 1.2 ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว มีความมั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน ในระยะยาวตามนัยของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 25601 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี 1 มาตรา 258 ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 บัญญัตวิ า่ “ข. ดา้ นการบริหารราชการแผ่นดนิ (1) ให้มีการนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและการจัดทาบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน และเพอื่ อานวยความสะดวกใหแ้ ก่ประชาชน (2) ให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เป็นระบบข้อมูลเพ่ือ การบริหารราชการแผ่นดินและการบรกิ ารประชาชน (3) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนกาลังคนภาครัฐให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ โดยต้องดาเนินการให้เหมาะสมกับภารกิจของหน่วยงานของรัฐแต่ละหน่วยงาน ท่ีแตกต่างกนั (4) ...” -1-

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ิทลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปลย่ี นเป็นรัฐบาลดิจิทลั (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และแนวคิด ประเทศไทย 4.0 : โมเดลขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน ได้มีการกล่าวถึงการนาเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจท่ีตั้งอยู่บนพื้นฐานของการใช้นวัตกรรม การปฏิรูป กระบวนการทางธุรกิจ การผลิต การค้า และการบริการ การปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมีการเตรียมความพร้อมหลายประการ อาทิ การสร้าง โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีทันสมัย มีขนาดเพียงพอ และมีค่าบริการไม่สูงกว่าประเทศอ่ืนในภูมิภาค การใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเป็นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และการเข้าถึงบริการสาธารณะของประชาชนทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกท้องถิ่น อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม การสร้างผู้ประกอบการและธุรกิจดิจิทัลให้เป็นกาลังสาคัญ ในการสรา้ งผลิตภาพของประเทศ การสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือประโยชน์สูงสุดของประเทศ การสร้างความมั่นใจให้กับผู้ใช้และผู้ทางานในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล การพฒั นากาลังคน การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมรวมท้ังระบบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และการสร้างความพร้อมด้านไอซีทีโดยรวมของประเทศเพื่อยกอันดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ระหวา่ งประเทศ 1.3 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ในการประชุมคร้ังท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี16 มกราคม 2560 ได้พิจารณาและเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพ่ือปรับเปล่ี ยนรูปแบบและกระบวนการ ทางานและการให้บริการประชาชนของภาครัฐ จึงได้มีมติให้กาหนดเร่ือง “การปรับเปลี่ยนภาครัฐ เป็นรัฐบาลดิจิทัล” เป็นหน่ึงในประเด็นจุดเน้นการพัฒนาภาครัฐที่สาคัญที่จะนาการพัฒนาข้าราชการ และบคุ ลากรภาครฐั มาใช้เปน็ กลไกขับเคลอื่ นในระหวา่ งปี พ.ศ. 2561 – 2565 2. การปรับเปล่ยี นภาครัฐเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั การปรบั เปลีย่ นภาครฐั เป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์สาคัญของรัฐบาลในการเพิ่มศักยภาพ ทางการแข่งขันและเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นประเด็นนโยบายท่ีกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ และสังคม ได้นามากาหนดเป็นหน่ึงในหกยุทธศาสตร์ของการขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ -2-

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ัลของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลย่ี นเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั และสังคม ระยะ 20 ปี2 ซ่ึงได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันท่ี 5 เมษายน 2559 ภายใต้วิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศไทยไปสู่ “ดิจิทัลไทยแลนด์” หรือประเทศไทยที่สามารถสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุนมนุษย์ และทรัพยากรอ่ืนใด เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ความม่ันคง ม่ังคงั่ และยงั่ ยืน 2.1 ความหมาย “การปรับเปล่ียนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล” ได้มีการให้คานิยามไว้ในยุทธศาสตร์ท่ี 4 ของแผนพัฒนาดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมว่าหมายความถึงการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปรับปรุง ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการให้บรกิ ารของหนว่ ยงานรฐั ท้ังในสว่ นกลางและส่วนภมู ิภาคอยา่ งมีแบบแผน และเป็นระบบ สร้างบริการของรัฐที่มีธรรมาภิบาลที่ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการได้ โดยไม่มี ข้อจากัดทางกายภาพ พ้ืนที่ และภาษา สามารถหลอมรวมการทางานภาครัฐเสมือนเป็นองค์กรเดียว มกี ารเปดิ เผยข้อมูลภาครัฐท่ีไม่กระทบต่อสิทธิส่วนบุคคลและความมั่นคงของชาติ ผ่านการจัดเก็บ รวบรวม และแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างมีมาตรฐาน และในท้ายที่สุดภาครัฐจะเปลี่ยนเป็นผู้อานวยความสะดวกในการสร้าง บริการสาธารณะโดยเอกชนและประชาชน เรียกว่าบริการร่วมกันตามหลักการออกแบบที่เป็นสากล (Universal design) ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจการปกครอง และเสนอความคดิ เหน็ ต่อการดาเนนิ งานของภาครัฐได้อย่างสมบูรณ์ 2แผนพฒั นาดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ได้กาหนดยทุ ธศาสตร์การพัฒนาไว้ 6 ดา้ น ได้แก่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดจิ ิทลั ประสิทธิภาพสูงใหค้ รอบคลมุ ท่ัวประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทลั ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 สร้างสงั คมคุณภาพที่ทั่วถึงเท่าเทียมด้วยเทคโนโลยดี ิจิทัล ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ปรบั เปลย่ี นภาครัฐสู่การเป็นรฐั บาลดิจิทัล ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 พัฒนากาลงั คนใหพ้ รอ้ มเข้าสยู่ ุคเศรษฐกิจและสงั คมดิจิทัล และ ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 สรา้ งความเช่ือมนั่ ในการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล -3-

แนวทางพฒั นาทกั ษะด้านดจิ ิทลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพอ่ื การปรับเปลี่ยนเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั จากความหมายของการปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัลดังกล่าว สามารถสรุปคุณลักษณะ ของรัฐบาลดจิ ิทลั ของประเทศไทยได้ 4 ประการ ได้แก่ 1) E-government หรือ Electronic Government หมายถึง รัฐบาลซึ่งนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริการสาธารณะ เพ่ิมความโปร่งใส และความน่าเช่อื ถือ3 2) Connected Government หมายถึง E-government ที่ถูกพัฒนาถึงขั้นที่ทาให้หน่วยงาน ภาครัฐอย่างน้อยท่ีสุด 2 หน่วยงาน สามารถเช่ือมโยงการทางานและข้อมูลข้ามหน่วยงาน โดยไม่ยึดติด กับขอบเขตของหน้าท่ีความรับผิดชอบตามพันธกิจของหน่วยงาน แต่คานึงถึงประโยชน์ของประชาชน เป็นท่ีต้ัง และมีเป้าหมายในการส่งมอบบริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน รูปแบบของการปฏิสัมพันธ์ ด้านดิจิทัลระหว่างหน่วยงาน (Digital interaction) มีหลายรูปแบบ อาทิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน กับรัฐบาล (C2G) ระหว่างรัฐบาลกับหน่วยงานภาครัฐ (G2G) ระหว่างภาครัฐกับประชาชน (G2C) และระหวา่ งภาครัฐและภาคธุรกจิ (G2B)4 3) Open Government5 หมายถงึ รฐั บาลทีเ่ ปดิ ใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและตรวจสอบ กระบวนการ วิธีการดาเนินงาน รวมถึงเอกสารและข้อมูลต่าง ๆ ของภาครัฐ ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการสร้างสังคม ประชาธปิ ไตย สร้างความโปร่งใสและความเช่ือมัน่ และศรทั ธาในหมู่ประชาชน 4) Smart Government หมายถึง รัฐบาลที่มีการนาเทคโนโลยีอัจฉริยะมาปรับใช้กับการ ดาเนินงานและการใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ ของรฐั บาล6 2.2 ทศิ ทางและแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทลั ในการพัฒนาภาครัฐของไทยให้ไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลให้มีคุณลักษณะตามข้อ 2.1 น้ัน คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี 3ให้คานิยามโดยธนาคารโลก (World Bank) 4กล่าวไว้ในเอกสารของสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เร่ือง “วาระพัฒนาที่ 8 : การปฏิรูประบบข้อมูลเพื่อการพัฒนา ประเทศ” (สงิ หาคม 2558) หน้า 12 และแผนพฒั นาดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม หน้า ผ17 5ใหค้ านิยามโดยองคก์ ารเพอื่ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ และการพฒั นา (OECD) 6กล่าวไวใ้ น (ร่าง) แผนพฒั นารัฐบาลดจิ ิทลั ของประเทศไทย ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) หน้า 12 -4-

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอ่ื การปรบั เปลีย่ นเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั (พ.ศ. 2559 – 2579) ตามทกี่ ระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมได้นาเสนอ โดยในแผนดังกล่าวได้มีการ กล่าวถึงภูมิทัศน์ของการพัฒนาประเทศไทยไปสู่ดิจิทัลไทยแลนด์และเป้าหมายการพัฒนารัฐบาล เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ เพ่ือไปสู่ความม่ันคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน ไว้ 4 ระยะซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงทิศทางของการ พัฒนาทีช่ ดั เจน ดงั น้ี ระยะการพฒั นา ระยะท่ี 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะท่ี 4 Digital Digital Thailand I: Digital Thailand II: Global Digital ด้านการพฒั นา Foundation Full Transformation Leadership ภมู ิทัศนด์ จิ ทิ ลั (1 ปี 6 เดือน) Inclusion (10 - 20 ปี) ของไทย ประเทศไทยลงทนุ (5 ป)ี (10 ปี) ประเทศไทยอย่ใู น ในระยะ 20 ปี และสรา้ งรากฐานใน ประเทศไทยก้าวสู่ กลมุ่ ประเทศที่พัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจ ทกุ ภาคส่วนของ ดจิ ทิ ลั ไทยแลนดท์ ี่ แลว้ สามารถใช้ รฐั บาล และสงั คมดจิ ิทลั ประเทศไทยมสี ว่ นร่วม ขับเคล่อื นและใช้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในเศรษฐกิจและสงั คม ประโยชน์จาก สรา้ งมลู คา่ ทาง หนว่ ยงานรัฐมกี าร ดจิ ิทลั ตามแนวทาง นวัตกรรมดจิ ิทัลได้ เศรษฐกจิ และคณุ คา่ ทางานท่เี ชอื่ มโยง ประชารฐั อยา่ งเตม็ ศักยภาพ ทางสังคมอย่างย่งั ยืน และบรู ณาการขอ้ มูล ขา้ มหนว่ ยงาน การทางานระหว่าง รัฐจดั ให้มบี รกิ ารท่ี เป็นผนู้ าในภมู ิภาค ภาครัฐจะเชอื่ มโยงและ ขบั เคลื่อนโดยความ ดา้ นรัฐบาลดจิ ิทลั บรู ณาการเหมอื นเปน็ ตอ้ งการของประชาชน ทั้งทางการบริหาร องคก์ รเดยี ว เปิดเผยขอ้ มูลและให้ จัดการรัฐและบริการ ประชาชนมีส่วนร่วม ประชาชน เศรษฐกิจ การทาธรุ กรรมผา่ น ภาคเกษตร การผลติ ภาคเกษตร การผลติ กิจกรรมทาง ระบบดจิ ิทลั คลอ่ งตวั และบรกิ าร เปลยี่ นมา และบรกิ ารแข่งขนั ได้ เศรษฐกิจทุกกิจกรรม และตดิ อาวุธดิจทิ ลั ให้ ทาธุรกจิ ดว้ ยดจิ ทิ ลั และ ด้วยนวตั กรรมดจิ ิทัล เชื่อมตอ่ ภายในและ SMEs วิสาหกจิ ข้อมูล ตลอดจนดิจทิ ลั และเชอื่ มโยงไทยสู่ ระหว่างประเทศดว้ ย ชุมชน เกษตรกร digital Technology การค้าในระดบั ภมู ิภาค เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ให้มาอย่บู นระบบ Startup และคลสั เตอร์ และระดับโลก นาประเทศไทย ออนไลน์ พร้อมทัง้ ดิจทิ ลั เริม่ มบี ทบาทใน สคู่ วามมงั่ คงั่ วางรากฐานให้เกิด ระบบเศรษฐกจิ ไทย -5-

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพ่อื การปรับเปล่ียนเปน็ รัฐบาลดจิ ทิ ลั ระยะการพฒั นา ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 ระยะท่ี 4 ด้านการพัฒนา Digital Digital Thailand I: Digital Thailand II: Global Digital Foundation Full Transformation Leadership (1 ปี 6 เดือน) Inclusion (10 - 20 ปี) (5 ป)ี (10 ปี) เปน็ ประเทศทไี่ มม่ ี การลงทุนในคลัสเตอร์ ประชาชนใช้ประโยชน์ ความเหลอ่ื มล้า ดิจิทัล จากเทคโนโลย/ี ข้อมลู ดา้ นดจิ ทิ ัล ตลอดจน ทุกกจิ กรรมใน ชุมชนใช้ดิจทิ ลั เพือ่ สังคม ประชาชนทกุ กล่มุ ประชาชนเชื่อมั่น ชวี ิตประจาวนั พัฒนาท้องถิ่นตนเอง เข้าถึงอนิ เตอร์เน็ต ในการใช้ดิจิทัล และ ความเร็วสูงและ เขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษา บริการพน้ื ฐานของรฐั สุขภาพ ข้อมูล และ อยา่ งท่วั ถึงและ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ เทา่ เทยี ม ผา่ นดจิ ทิ ลั ที่มา กระทรวงดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม สาหรับแนวทางการปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัลนั้น แผนพัฒนาดิจิทัลฯ ฉบับดังกล่าว ได้กล่าวถงึ การดาเนนิ งานทัง้ ในส่วนของการปรับเปลี่ยนองค์กรและการพัฒนา “กาลังคน” ให้มีความพร้อม ไวใ้ น 2 ยุทธศาสตรท์ ่ีเกย่ี วขอ้ งและเชือ่ มโยงกัน ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ที่ 4 การปรบั เปลย่ี นภาครัฐเปน็ รฐั บาลดิจิทัล กาหนดแผนงานหลักไว้ 4 เร่ือง ได้แก่ (1) จัดให้มีการบริการอัจฉริยะ (Smart Service) ที่ขับเคล่ือนโดยความต้องการของประชาชนหรือ ผู้ใช้บริการ (Citizen driven) (2) ปรับเปลี่ยนการทางานภาครัฐด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ให้มีประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาล (3) สนับสนุนให้มีการเปิดเผยข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ (Open data) และให้ประชาชน มีส่วนร่วมกับกระบวนการทางานของรัฐ เพ่ือนาไปสู่การเป็นดิจิทัลไทยแลนด์ และ (4) พัฒนาแพลตฟอร์ม บริการพ้ืนฐานภาครัฐ เพื่อรองรับการพัฒนาแอปพลิเคช่ันหรือบริการรูปแบบใหม่ที่เป็นบริการพ้ืนฐาน ของทกุ หนว่ ยงานภาครัฐ ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การพัฒนากาลังคนใหพ้ ร้อมเข้าสู่ยคุ เศรษฐกจิ และสังคมดิจทิ ลั กาหนดแผนงาน ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนากาลังคน 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) การพัฒนา ทักษะด้านดิจิทัลให้แก่บุคลากรในตลาดแรงงานรวมถึงบุคลากรภาครัฐ ให้มีความสามารถสร้างสรรค์ และใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลอย่างชาญฉลาดในการประกอบอาชพี ซ่งึ จะนาไปสู่การสร้างคุณค่าสินค้าและบริการ -6-

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพือ่ การปรับเปลย่ี นเปน็ รัฐบาลดิจิทัล ได้เท่าทันความต้องการของผู้รับประโยชน์ (2) การพัฒนาทักษะ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านท่ีรองรับ เทคโนโลยีใหม่ในอนาคต ให้กับบุคลากรในสายวิชาชีพด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และ (3) การพัฒนาผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐ ให้มีความเข้าใจและสามารถวางแผนยุทธศาสตร์ การนาเทคโนโลยีดิจิทัลไปพัฒนาภารกิจ ขององค์กรที่สอดคล้องกับสถาปัตยกรรมองค์กรของหน่วยงาน ตลอดจนสามารถสร้างคุณค่าจากข้อมูล ขององค์กรและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ เพ่อื ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ สาธารณะ 2.3 ความพรอ้ มของภาครัฐไทย ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบัน ภาครัฐถือเป็นแกนหลักในการสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันและขับเคล่ือนประเทศไปสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน โดยท่ีผ่านมา ภาครัฐของไทยได้มีการ ปรบั บทบาทภารกจิ และโครงสร้างส่วนราชการให้มีความเหมาะสมกับภารกิจและรูปแบบการทางานของภาครัฐ ท่ีเปล่ียนแปลงไป รวมท้ังมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้มีความทันสมัยและยกระดับ การให้บริการประชาชนมาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับปรุง รูปแบบและกระบวนการทางานและการใหบ้ รกิ ารประชาชน อย่างไรก็ตาม การพัฒนาที่เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมยังคงจากัดอยู่ในวงแคบ การบริหารจัดการ ภาครัฐในภาพรวมยังคงมีปัญหาในเร่ืองประสิทธิภาพ7 การบริการประชาชนมีความล่าช้าและยังไม่ได้ 7 World Economic Forum ได้จัดทารายงานขีดความสามารถในการแข่งขันโลก (Global Competitiveness Index) ประจาปี พ.ศ. 2558 - 2559 (ค.ศ.2015 - 2016) โดยระบุว่าประเทศไทยได้รับการจัดอันดับในภาพรวมอยู่ท่ีอันดับ 34 จาก 138 ประเทศ หรือได้คะแนนรวม 4.6 คะแนนจาก 7 คะแนน และเมื่อพิจารณาถึงปัจจัยช้ีวัด 3 กลุ่ม 12 ด้าน พบว่า ประเทศไทย ได้คะแนน ดังน้ี (1) ด้านปัจจัยพ้ืนฐาน (Basic Requirement) ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ สถาบัน (Institution) 3.7 คะแนน โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) 4.4 คะแนน เศรษฐกิจมหภาค (Macroeconomic Environment) 6.1 คะแนน สขุ ภาพและการศึกษาข้นั พื้นฐาน (Health and Primary Education) 5.5 คะแนน (2) ด้านปัจจยั ยกระดับประสทิ ธภิ าพ (Efficiency Enhancers) ประกอบดว้ ย 6 ด้าน ได้แก่ การศึกษาข้ันสูงและ การฝึกอบรม (Higher Education and Training) 4.5 คะแนน ประสิทธิภาพของตลาดสินค้า (Good Market efficiency) 4.7 คะแนน ประสิทธิภาพของตลาดแรงงาน (Labor Market Efficiency) 4.2 คะแนน การพัฒนาตลาด การเงิน (Financial Market Development) 4.4 คะแนน ความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) 4.3 คะแนน ขนาดของตลาด(Market Size) 5.2 คะแนน -7-

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพ่ือการปรบั เปลย่ี นเปน็ รัฐบาลดจิ ทิ ัล มาตรฐานสากล8 และปัญหาคอร์รัปชันขยายตัวในวงกว้าง9 สาหรับความพร้อมของภาครัฐในการนาเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้นั้น ประเทศไทยถือว่าได้มีการพัฒนาไปได้รวดเร็วระดับหน่ึง ดังจะเห็นได้จากผลการจัดอันดับ ความพร้อมของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรายงาน UN e-Government Readiness Ranking 2016 (พ.ศ. 2559) ที่ประเทศไทยได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับท่ี 77 จาก 193 ประเทศ โดยได้คะแนนประเมินอยู่ที่ 0.5522 คะแนน เล่อื นข้ึนจากอันดับท่ี 102 ในปี ค.ศ. 2014 (พ.ศ. 2557) คะแนน 0.4631 แต่เม่ือพิจารณา เปรียบเทียบกับประเทศอ่ืน ๆ ประเทศไทยยังได้รับการจัดอยู่ในกลุ่มประเทศท่ีได้คะแนนระดับปานกลาง (World Average) และเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน ประเทศไทยมีความพร้อม อยู่ในระดับที่ 4 รองจากประเทศสิงคโปร์ (อันดับ 4) ประเทศมาเลเซีย (อันดับ 60) และประเทศฟิลิปปินส์ (อนั ดับ 71) เมื่อพิจารณาจากผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐ ระดับกรม ประจาปี 2559 จัดทาโดยสานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)10 ท่ีได้ประเมิน แนวโน้มการพฒั นาเชงิ ดิจทิ ัลของหน่วยงานภาครัฐใน 4 เรื่อง พบว่า หน่วยงานของรัฐมีแนวโน้มการพัฒนา (3) ด้านปัจจัยนวัตกรรมและความเช่ียวชาญทางธุรกิจ (innovation and Sophistication Factors) ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ ความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ (Business Sophistication) 4.3 คะแนน และนวัตกรรม (Innovation) 3.4 คะแนน อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียนแล้ว พบว่า ประเทศไทยได้รับการจัดอยู่ในอันดับที่ 3 รองจาก สงิ คโปร์ อันดบั สอง คะแนน 5.72 และมาเลเซีย อนั ดบั ท่ี 25 คะแนน 5.16 8ธนาคารโลกรายงานวา่ ปี พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) ประเทศไทยมีคะแนนความง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) อยู่ท่ีอันดับ 46 จาก 191 ประเทศ 9จากผลการประเมินขององค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) พบว่า ประเทศไทยถูกลด อันดับการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception index: CPI) จากปี พ.ศ. 2559 (ค.ศ.2016) อยู่ในอันดับท่ี 76 (คะแนนร้อย ละ 38) เป็นอันดับท่ี 101 (คะแนนร้อยละ 35) ในปี พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) จากการจัดอันดับทั้งหมด 168 ประเทศ ท่ัวโลก 10ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดจิ ทิ ัล หนว่ ยงานภาครฐั ระดับกรม ประจาปี 2559 เป็นการสารวจและ ติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลใน 6 มิติ ได้แก่ นโยบายและแนวปฏิบัติในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐาน ท่ีมีความมั่นคงปลอดภัยและประสิทธิภาพ ระบบบริการจัดการภายในในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ศักยภาพของเจ้าหน้าท่ี ภาครัฐด้านดิจิทัล การบริการภาครัฐท่ีสะดวกและเข้าถึงได้ง่าย เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้ การสารวจใช้วิธีการ จัดสง่ แบบสอบถามโดยให้หน่วยงานระดบั กรมเปน็ ผู้ประเมนิ ตนเอง ซึ่งในปี พ.ศ. 2559 มหี น่วยงานภาครัฐระดบั กรมท่ตี อบ แบบสอบถาม จานวน 272 หน่วยงาน จาแนกเปน็ หน่วยงานของรัฐ 146 หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ 47 หน่วยงาน และองค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ 79 หนว่ ยงาน -8-

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ิทัลของข้าราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพ่อื การปรับเปลยี่ นเป็นรฐั บาลดิจทิ ัล Open Government สูงท่ีสุด (67 คะแนน) รองลงมา ได้แก่ E-Government (59 คะแนน), Joint-up Government หรือ Connected Government (52 คะแนน) และ Smart Government (50 คะแนน) ตามลาดับ โดยในการพัฒนา Open Government นั้น หน่วยงานต่าง ๆ มีการสื่อสารและให้ความรู้ เก่ยี วกับพระราชบัญญัตขิ ้อมลู ขา่ วสารของทางราชการ และมีการเปดิ เผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของทางราชการ (Open Data) มาก (84 คะแนน) ส่วนการพัฒนา E-Government หน่วยงานสามารถดาเนินมาตรการ ลดกระดาษ (Digitalization of Documents and Services) ไดเ้ หน็ ผลมากท่ีสุด (91 คะแนน) อย่างไรกต็ าม ในการสร้างให้เกดิ Connected Government แมว้ า่ ท่ีผ่านมาหน่วยงานต่าง ๆ จะมีการแลกเปลี่ยน/ใช้ข้อมูลกับหน่วยงานอ่ืน (Inter-operability) มากในระดับหนึ่ง (81 คะแนน) แต่ในเชิงโครงสร้างระบบสารสนเทศภาครัฐยังไมม่ กี ารบรู ณาการเชื่อมต่อกันเทา่ ท่ีควร การเก็บข้อมูลภาครัฐ ยังขาดความเป็นเอกภาพ มีความซ้าซ้อนและไม่สมบูรณ์ การใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ มไี ม่มากนัก สง่ ผลใหเ้ กิดภาระคา่ ใชจ้ ่ายท่ีสูงและไม่สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจของฝ่ายบริหารได้ ประชาชนผู้รับบริการต้องยื่นข้อมูลซ้า ๆ เพ่ือขอรับบริการ ทาให้ใช้เวลาในการให้บริการมากและมีภาระ คา่ ใช้จา่ ยท่ีสูงในขณะท่ีไม่กอ่ ให้เกดิ คณุ คา่ เพ่มิ แกห่ น่วยงานภาครัฐและประชาชน11 ส่วนการพัฒนา Smart Government น้ัน จาเป็นต้องเร่งพัฒนาและนาเทคโนโลยีอัจฉริยะ มาใช้โดยเร็ว โดยเฉพาะการนาระบบ E-Service มาให้บริการและสร้างการมีส่วนร่วมกับประชาชน (40 คะแนน) การนาข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) มาใช้ประกอบการทางาน (36 คะแนน) และการใช้เทคโนโลยี การเช่ือมต่อของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT) เพ่ือยกระดับคุณภาพการทางานและการให้บริการ ภาครัฐ (24 คะแนน) 2.4 ความพร้อมของบคุ ลากรภาครฐั โดยที่ในระยะเริ่มต้นของการขับเคล่ือนภาครัฐไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลให้บรรลุความสาเร็จน้ัน ต้องอาศัยความพร้อมของบุคลากรภาครัฐใน 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มผู้บริหารระดับสูงของส่วนราชการ ที่มีความเป็นผู้นาด้านดิจิทัลภาครัฐผู้ซ่ึงสามารถกระตุ้นและผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงนโยบาย รวมถึ งรู ปแบบและกระบวนการท างานขององค์ กรด้ วยการน าเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ลมาประยุ ก ต์ ใช้ และ 11กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร, แผนพฒั นาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม. พฤษภาคม 2559, หน้า 21 -9-

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอ่ื การปรับเปลยี่ นเป็นรัฐบาลดิจทิ ลั (2) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology Specialists) ผู้ซึ่งมีทักษะที่เหมาะสมที่จะ สนับสนุนการนาเทคโนโลยีที่ทนั สมยั มาใช้ในกระบวนการทางานและการให้บรกิ ารของหน่วยงาน อยา่ งไรกต็ าม “ผู้นาด้านดิจิทัลภาครัฐ” ในปัจจุบันยังมีจานวนไม่มากนัก ดังจะเห็นได้จากจานวน หน่วยงานภาครัฐที่มีการปรับเปล่ียนกระบวนการทางานหลัก (Core Business Process) และการให้บริการ ประชาชนพรอ้ มท้ังสรา้ งความเชือ่ มโยงดา้ นข้อมลู และการให้บรกิ ารระหวา่ งหน่วยงานด้วยการนาเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้อย่างเต็มรูปแบบและเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มีไม่มากนัก และเม่ือพิจารณาจากจานวน ผบู้ รหิ ารระดับสูงภาครัฐท่ีได้รับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลในกระทรวง/กรมต่าง ๆ พบว่า มีผู้ผ่านการฝึกอบรม หลักสูตรในลักษณะดังกล่าว อาทิ หลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer: CIO) และยังอยู่ในราชการ เพียง 118 คน12 จากจานวนผู้บริหารทั้งหมด 1,101 คน13 หรือคิดเป็นร้อยละ 10.72 ของจานวนผู้บริหารระดับสูงภาครัฐท้ังหมดเท่านั้น นอกจากน้ี จากผลการสารวจระดับความพร้อม การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 พบว่า หน่วยงานภาครัฐยังขาด การเตรียมบุคลากรเพื่อสานต่อภารกิจของผู้นาด้านดิจิทัลของหน่วยงาน (Leadership Continuity Plan 51 คะแนน) หากภาครัฐไม่เร่งสร้างและเตรียมบุคลากรกลุ่มนี้ การขับเคล่ือนภาครัฐไปสู่การเป็นรัฐบาล ดจิ ทิ ลั อาจชะงกั งนั และไม่เกิดผลสาเรจ็ ตามทค่ี าดหวัง นอกจากนี้ เม่ือพิจารณาถึงโครงสร้างบุคลากรภาครัฐในปัจจุบัน พบว่า ผู้ปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในราชการพลเรือน (ตาแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ และตาแหน่งเจ้าหน้าที่ เครื่องคอมพิวเตอร์) มีจานวนน้อยมากมีเพียง 2,334 ตาแหน่ง14 หรือร้อยละ 0.58 ของจานวนตาแหน่ง ข้าราชการพลเรือนสามัญทั้งหมด เท่าน้ัน และเมื่อพิจารณาการกระจายตัวของบุคลากรในระดับองค์กร พบว่า ส่วนราชการ (กรม) หน่ึงจะมีผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ประมาณ 1 – 15 คน หรือเฉลี่ย ประมาณ 7 คน (Median)15 และเป็นกลุ่มผู้ปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจหลักของส่วนราชการเท่าน้ัน 12 ข้อมูลผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer : CIO) ของสานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี พ.ศ. 2558 – 2560 13 ข้อมูลขา้ ราชการพลเรือนสามัญผดู้ ารงตาแหนง่ ประเภทบริหาร ระดับต้น และระดับสูง จากโปรแกรมระบบสารสนเทศ กาลงั คนภาครัฐ 2558 (GMIS) สานกั งาน ก.พ. 14ข้อมูลกาลงั คนภาครัฐ ปี 2558 สานักงาน ก.พ. 15ขอ้ มลู จากโปรแกรมระบบสารสนเทศกาลังคนภาครัฐ 2558 สานกั งาน ก.พ. - 10 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ัลของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเป็นรัฐบาลดิจิทัล อีกท้ังเม่ือพิจารณาศักยภาพและขีดความสามารถของผู้ปฏิบัติงานกลุ่มน้ี พบว่ายังขาดองค์ความรู้เก่ียวกับ แนวโน้มด้านเทคโนโลยีและขาดทักษะในการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการนาเทคโนโลยี ดิจิทัลมาปรับเปลี่ยนกระบวนการทางานและการให้บริการประชาชน ดังจะเห็นได้จากการท่ีหน่วยงานภาครัฐ ส่วนใหญ่ (มากกว่ารอ้ ยละ 75) มีความต้องการผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ด้าน ICT ภาครัฐหรือ Network Security และโปรแกรมเมอร์ รองลงมาต้องการเว็บมาสเตอร์; System Administration/Database Officer; System Analysis; Graphic Design; และ Business Analyst ตามลาดบั 16 สาหรับความพร้อมของบุคลากรภาครัฐกลุ่มอ่ืน ๆ ซึ่งเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Users) ในการปฏิบตั งิ านและการใหบ้ ริการประชาชนน้ัน พบว่า บุคลากรภาครัฐส่วนใหญ่ยังขาดความกระตือรือร้น ในการทางานและพัฒนาตนเอง และขาดศักยภาพการปรับตัวให้เท่าทันกับเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไป ส่งผลทาให้ไม่สามารถตอบสนองการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน และความต้องการ ของประชาชนในการไดร้ บั บริการจากภาครฐั ดว้ ยชอ่ งทางที่หลากหลายและมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ 17 3. การพัฒนาขา้ ราชการและบุคลากรภาครัฐเพ่ือสนบั สนุนการพัฒนาไปสปู่ ระเทศไทย 4.0 เพื่อสนับสนุนการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศไทยให้ไปสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการพัฒนาบุคลากรภาครัฐของไทยให้มีความรอบรู้ มีการตัดสินใจแก้ไข ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความพอประมาณ เท่าทันการเปล่ียนแปลง และมีคุณธรรม ก.พ. ในการประชุม คร้ังท่ี 1 / 2560 เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 ได้มีมติเห็นชอบกรอบแนวคิดการพัฒนาข้าราชการ เพื่อสนบั สนุนการพัฒนาไปสูป่ ระเทศไทย 4.0 ซ่ึงประกอบดว้ ยหลกั การ 5 ประการ ดังน้ี 3.1 การพัฒนาท่ีเช่ือมโยงทิศทางและแนวทางการพัฒนาประเทศมาสู่การพัฒนาระดับบุคคล และการพัฒนาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยการนา “จุดเน้นการพัฒนาภาครัฐ” ที่ ก.พ. กาหนด มากาหนดเป็น “คุณลักษณะของข้าราชการสาหรับการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ” และกลุม่ ของความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณลักษณะที่ควรได้รับการพัฒนาสาหรับข้าราชการ กลุ่มตา่ ง ๆ 16ผลการสารวจระดับความพร้อมการพฒั นารัฐบาลดิจิทลั หน่วยงานภาครฐั ระดับกรม ประจาปี 2559 17สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, “แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับทสี่ ิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564”, หนา้ 60 - 11 -

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอื่ การปรบั เปลีย่ นเป็นรฐั บาลดจิ ิทัล 3.2 การพัฒนาขา้ ราชการเพือ่ สนับสนนุ การดาเนินบทบาทการเปน็ ผนู้ า (Leadership Role) และบทบาท ในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ ของข้าราชการ 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารส่วนราชการ ผู้อานวยการ สานกั /กอง หัวหนา้ งาน/โครงการ และผู้ปฏบิ ตั ิงานกลุ่มอ่นื ๆ 3.3 การพัฒนาทมี่ ุ่งเนน้ การพฒั นาทักษะการคิดและทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในอนาคต รวมถึงการปลูกฝังทัศนคติที่ดีงามให้แก่บุคคล โดยคานึงถึงประโยชน์ของชาติและประชาชนม ากกว่า ประโยชนส์ ่วนตน 3.4 การพัฒนาทส่ี ง่ เสรมิ การสร้างสมดุลของกระบวนการเรียนรู้ โดยการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ แบบมเี ปา้ หมาย การเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายไม่จากัดเฉพาะการฝึกอบรม การเรียนรู้เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติได้จริง และการเรียนรู้ท่ีมีการกากับติดตามเป้าหมายและการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ที่ชัดเจน ตอ่ เนอื่ ง และเปน็ ระบบ 3.5 การพัฒนาระบบและเครื่องมือเพื่อช่วยสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการสร้าง กลไกท่ีจะพัฒนาข้าราชการให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบยั่งยืน อาทิ การสร้างบรรยากาศและชุมชน การเรียนรู้ (Learning Environment and Learning Community) การสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ (Incentives) การนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการพัฒนา รวมถึงการเช่ือมโยงกลไกการพัฒนากับกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคลระบบต่าง ๆ อาทิ การวางแผน และการเตรยี มกาลังคนเพอ่ื อนาคต การสรรหา การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ ในการนี้ เพื่อให้การดาเนินงานเพื่อพัฒนาข้าราชการตามแนวคิดดังกล่าวมีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม ก.พ. ได้พิจารณากาหนด “จุดเน้นการพัฒนาภาครัฐ” ท่ีจะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ (Learning and Development) เป็นกลไกการขับเคล่ือนการพัฒนาในระยะ 4 - 5 ปี ข้างหนา้ (พ.ศ. 2561 – 2565) จานวน 4 เร่ือง ไดแ้ ก่ (1) การปรบั เปลีย่ นภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจทิ ัล (Digital Government Transformation) (2) การส่งเสริมการทางานท่ีสอดคล้อง เชื่อมโยง เป็นบูรณาการ และการสร้าง จิตสานกึ ความรบั ผดิ ชอบ (Creating Alignment and Accountability) (3) การส่งเสรมิ ใหเ้ กิดนวตั กรรมและการคิดสรา้ งสรรค์ (Driving Innovation) (4) การสร้างพันธมิตรและการส่งเสริมการทางานแบบประชารัฐ (Creating Partnership and Relationship) - 12 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอื่ การปรับเปลีย่ นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ัล 4. แนวทางการพฒั นาทักษะดา้ นดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพ่ือสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยให้ไปสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ในส่วนของการ ปรับเปล่ียนรูปแบบการทางานและการให้บริการของภาครัฐด้วยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ภายใต้แนวคิด “การปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล” จึงได้กาหนด “แนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลสาหรับ ขา้ ราชการและบุคลากรภาครัฐ” ท่ีจะนาไปใช้เป็นกรอบการพัฒนาข้าราชการและบุคลากรภาครัฐในระยะ 5 ปี ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2565 ดังนี้ 4.1 วัตถปุ ระสงค์ 4.1.1 เพ่ือให้ภาครัฐมีกาลังคนที่มีทักษะด้านดิจิทัลที่เหมาะสม ท่ีจะเป็นกลไกขับเคลื่อนท่ีสาคัญ ในการปรับเปลย่ี นภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล ท้ังนี้ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความม่ันคง มั่งค่ัง และยั่งยืน ในยคุ เศรษฐกจิ และสังคมดิจิทลั 4.1.2 ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐสามารถปรับตัวให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีความพรอ้ มท่ีจะปฏิบตั ิงานตามบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวังในบริบทของการปรับเปล่ียนเป็นรัฐบาลดิจิทัล และสามารถนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด 4.2 เป้าหมาย 4.2.1 ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ภาครัฐมีกาลังคนด้านดิจิทัลท่ีมีทักษะที่เหมาะสม ในการดาเนนิ บทบาทและพฤติกรรมทีค่ าดหวงั ในการปรับเปลีย่ นภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทลั ดังน้ี (1) ผบู้ รหิ ารระดับสงู (Executive) เป็นผู้นาด้านดิจิทัลภาครัฐ ท่ีสามารถกาหนดนโยบายและทิศทางขององค์กร รวมถึง กระตุ้นและผลักดันให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ รวมถึงหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การดาเนินงาน หรือการให้บริการขององค์กร ให้มีความทันสมัยโดยนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เป็นองค์กร ที่สร้างสรรค์นวัตกรรม รวมทั้งมีการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง และระหว่างภาครัฐ กบั ประชาชน อย่างเปน็ ระบบ และเปน็ รฐั บาลทเ่ี ปดิ ให้ประชาชนเข้ามามสี ว่ นร่วม - 13 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ิทลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอ่ื การปรบั เปลย่ี นเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล (2) ผ้อู านวยการกอง (Management) เป็นผู้บริหารการเปล่ียนแปลงด้านดิจิทัลระดับองค์กร ท่ีสามารถส่ือสารนโยบาย ขององค์กรมาสู่ระดับปฏิบัติ พร้อมทั้งสั่งการ กาหนดแนวทาง วางแผน กากับ ติดตามดูแล ให้เกิด การปรับเปล่ียนรูปแบบการดาเนินงานหรือการให้บริการขององค์กร ให้มีความทันสมัยและอยู่ในรูปแบบ ดิจิทัล มีการสร้างสรรค์นวัตกรรม รวมท้ังสนับสนุนและผลักดันให้มีการเช่ือมโยงระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ด้วยกันเอง และระหว่างภาครัฐกับประชาชน อย่างเป็นระบบ และเป็นรัฐบาลท่ีเปิดให้ประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วม (3) ผู้ทางานด้านนโยบายและงานวิชาการ (Academic) เปน็ ผู้ใช้ขอ้ มูลดจิ ิทลั เพือ่ สนับสนนุ นโยบาย ท่สี ามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้ข้อมูล และเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจ การกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน มาตรฐาน แนวทาง หรือการจัดบรกิ ารขององคก์ ร รวมทงั้ สามารถระบุความต้องการ สร้างสรรค์ ออกแบบ รวมถึงสร้าง ความเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลที่เก่ียวข้องแหล่งต่าง ๆ เพ่ือการเช่ือมโยงหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง และระหว่างภาครัฐกับประชาชน อย่างเป็นระบบ และเป็นรัฐบาลท่ีเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในรปู แบบดิจิทัล (4) ผู้ทางานด้านบรกิ าร (Service) เป็นผู้อานวยความสะดวกด้านดิจิทัลภาครัฐ ท่ีสามารถให้บริการ ให้ความช่วยเหลือ อานวยความสะดวก หรือให้คาแนะนาในรูปแบบดิจิทัล ท่ีสร้างความประทับใจให้แก่ประชาชน และผรู้ ับบริการ ทัง้ ภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมทง้ั สามารถให้ขอ้ มลู ความต้องการบริการ สร้างสรรค์ นวัตกรรม ออกแบบและปรับปรุงการบริการภาครัฐที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง รวมถึงสนับสนุนการสร้าง ความเช่ือมโยงการบริการข้ามหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และระหว่างภาครัฐกับประชาชน ในรูปแบบดจิ ทิ ลั และการเป็นรัฐบาลที่เปดิ ให้ประชาชนเขา้ มามีสว่ นร่วม (5) ผูป้ ฏบิ ัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Technology Specialist) เป็นผู้ปรับเปล่ียนเทคโนโลยีขององค์กร ท่ีสามารถบริหารโครงการ หรือเลือก เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาสร้างสรรค์และออกแบบระบบอัจฉริยะให้แก่หน่วยงาน (Automated Public Service) ตลอดจนสามารถดูแลและบารุงรักษาระบบให้มีความม่ันคงปลอดภัย มีเสถียรภาพ และอยู่ใน สภาพพรอ้ มใชง้ านอยา่ งต่อเน่ือง รวมท้ังสามารถพัฒนาระบบใหส้ อดคลอ้ งกบั เทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลงไปได้ - 14 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลย่ี นเปน็ รฐั บาลดิจิทัล ซึ่งจะสร้างให้เกิดการปรับเปล่ียนรูปแบบการดาเนินงานหรือการให้บริการของภาครัฐ ไปสู่ระบบดิจิทัล ท่สี ามารถช่วยสนองตอบตอ่ ความตอ้ งการของผู้รับบริการในรูปแบบและช่องทางท่ีหลากหลาย รวมท้ังสร้าง ให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง และระหว่างภาครัฐกับประชาชน อย่างเป็นระบบ และการเปน็ รฐั บาลที่เปดิ ใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วม (6) ผ้ปู ฏิบตั งิ านอ่ืน (Others) เป็นผู้ปฏิบัติงานภาครัฐท่ีรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสามารถใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง และปลอดภัย รวมท้ังสามารถเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเอง และผอู้ นื่ อยา่ งต่อเนือ่ งดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั 4.2.2 ภาครัฐใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการและการบริการ เพอ่ื อานวยความสะดวกให้กบั ประชาชนและผูร้ บั บริการ สร้างความเท่าเทียมและลดความเหลอ่ื มลา้ 4.3 ปจั จัยชวี้ ดั ความสาเรจ็ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานภาครัฐมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดาเนินงาน และการให้บริการของหน่วยงานใหม้ คี วามทนั สมยั เป็นองค์กรที่สร้างสรรค์นวัตกรรมโดยนาเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ รวมทั้งมกี ารเชื่อมโยงข้อมูล การทางานและการให้บริการระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง (G2G) ระหว่างภาครัฐกับเอกชน (G2B) และระหว่างภาครัฐกับประชาชน (G2C) ในลักษณะ Connected Government รวมทง้ั เป็นหน่วยงานที่มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ท่สี นับสนุนการสรา้ งรัฐบาลแบบเปิด อนึ่ง การดาเนินงานตามแนวทางนี้ จะมีส่วนสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ และสนบั สนนุ การจัดอันดบั ประเทศในด้านต่าง ๆ ดงั นี้ (1) อันดับความสามารถในการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจโลกของประเทศไทย จัดทาโดย สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) อยู่ในกลุ่มประเทศท่ีมีอันดับสูงสุด 25 อันดับแรกของโลก (ปี 2559 ประเทศไทยอยใู่ นอันดับท่ี 34 จาก 138 ประเทศ ได้คะแนน 4.64 จาก 7 คะแนน) (2) อันดับความง่ายในการประกอบธุรกิจ จัดทาโดย The World Bank อยู่ในกลุ่มประเทศ ท่ีมีอันดับสูงสุด 40 อันดับแรกของโลก หรืออันดับ 2 ของอาเซียน (ปี 2560 อยู่ในอันดับที่ 49 จาก 190 ประเทศ ได้คะแนน 71.42 จาก 100 คะแนน) (3) อันดับ E-Government Ranking ของประเทศไทย จัดทาโดย UN ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 (ปี 2559 ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดับที่ 77 จาก 193 ประเทศ ไดค้ ะแนน 0.5522) - 15 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะด้านดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจทิ ัล (4) อันดับ The Networked Readiness Index ของประเทศไทย จัดทาโดยสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) อยู่ในกลุ่มประเทศท่ีมีอันดับสูงสุด 55 อันดับแรกของโลก (ปี 2559 ประเทศ ไทยอย่ใู นอันดบั ที่ 62 จาก 139 ประเทศ ได้คะแนน 4.2) (5) อันดับ Global Open Data Index จัดทาโดย Open Knowledge International อยู่ในกลุ่ม ประเทศที่มีอันดบั สูงสดุ 30 อนั ดบั แรกของโลก (ปี 2558 ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 42 จาก 122 ประเทศ ไดค้ ะแนนร้อยละ 39) 4.4 ขอบเขตการดาเนนิ งาน เพอ่ื ใหก้ ารพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลสาหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนด ในช่วงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2565 เห็นควรกาหนดขอบเขตความครอบคลุมของการส่งเสริม และจดั ให้มกี ารพัฒนาขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เป็น 3 ระยะ ดังน้ี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 – 2562 ครอบคลุมข้าราชการพลเรือนสามัญและ ผูป้ ฏบิ ตั ิงานในกระทรวง กรม และเจ้าหนา้ ทีห่ น่วยงานของรฐั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ครอบคลมุ ขา้ ราชการฝา่ ยพลเรือน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ครอบคลมุ ขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั 4.5 หลกั การ 4.5.1 การพัฒนาที่เช่ือมโยงทิศทางและแนวทางการปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล มาสู่การพัฒนาระดับบุคคล โดยการส่งเสริมและพัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการและบุคลากร ภาครัฐแต่ละกลุ่มให้มีทักษะด้านดิจิทัลท่ีเหมาะสมในการดาเนินบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในบริบท ของการปรบั เปล่ยี นเป็นรฐั บาลดิจิทลั โดยคานึงถึงความสอดคลอ้ งกบั ทิศทางและการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี ในการปฏิบัติงานและการให้บริการภาครัฐ รวมถึงการ จัดเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานด้านดิจิทัล เพ่ือการขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสังคม ตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมและแผนพัฒนา รฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 4.5.2 การพัฒนาท่ีมุ่งเน้นการสร้างผู้นาเพื่อขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงและการพัฒนา ขีดความสามารถกาลังคนในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยการสร้าง และพัฒนาผู้นาด้านดิจิทัลภาครัฐ (Digital Government Leader) การเพ่ิมขีดความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน - 16 -

แนวทางพฒั นาทกั ษะด้านดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรฐั บาลดจิ ิทัล เฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology Specialist) เพ่ือเป็นกลไกขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ และการยกระดับขีดความสามารถของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐให้สามารถ ปรับตัวให้เท่าทันกับ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยแี ละสร้างสรรค์นวตั กรรมการทางานและการใหบ้ ริการของรัฐด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการยกระดบั งานของภาครฐั เป็นงานที่มีคณุ ค่าสงู ข้ึน (High Value Job) 4.5.3 การพัฒนาที่มุ่งเน้นการพัฒนากรอบความคิดท่ีสนับสนุนการสร้างระบบและการ ทางานแบบดิจิทัล (Digital Mindset) โดยการปลูกฝังบรรทัดฐานหรือแนวปฏิบัติในการทางานร่วมกัน ให้แก่ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐทุกระดับ อาทิ การพร้อมรับปรับเปล่ียน (Adaptability) การเปิดรับความคิด ท้าทายส่ิงใหม่ แสวงหาโอกาสอย่างเหมาะสม (Explorers Mind) การทางานแบบ สอดประสานและสร้างความร่วมมอื แลกเปลีย่ นแบง่ ปัน (Collaborative) แบ่งอานาจหน้าท่ีและรับผิดชอบ ร่วมกัน (Empowerment and Shared Responsibility) และการให้อิสระทางความคิดในแบบ Growth Mindset 4.5.4 การพัฒนาที่มุ่งเนน้ การพัฒนาทักษะและความสามารถเพ่ือการทางานในปัจจุบัน และ การเตรียมความพร้อมเพื่อการทางานในอนาคต โดยการพัฒนาทักษะและความสามารถ (Skills and Abilities) เพ่ือปฏิบัติงานตามบทบาทและลักษณะงานที่คาดหวังในบริบทของการปรับเปล่ียนเป็นรัฐบาล ดิจิทัลในปัจจุบัน และการเตรียมความพร้อมด้านความรู้ความเข้าใจ (Understanding) และประสบการณ์ (Experience) เพ่ือการปฏิบัติงานตามบทบาทและลักษณะงานที่คาดว่าจะได้รับมอบหมายในอนาคต ในสัดสว่ น 70 : 30 4.5.5 การพัฒนาท่ีส่งเสริมการสร้างสมดุลของกระบวนการเรียนรู้ โดยการสนับสนุนให้เกิด การเรียนรู้แบบมีเปา้ หมาย การเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย (อาทิ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จาก การฝึกอบรม การเรียนรู้จากการสอนงาน การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ และการเรียนรู้จากผู้อ่ืน) การเรียนรู้ เพ่ือให้สามารถปฏิบัติได้จริง และการเรียนรู้ที่มีการกากับติดตามเป้าหมายและการให้ข้อมูลย้อนกลับ ที่ชัดเจน ต่อเนื่องและเป็นระบบ และการพัฒนาเพื่อสร้างเครื่องมือและกลไกสนับสนุนการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง อาทิ การประเมินและรับรองทักษะด้านดิจิทัล การกาหนดกรอบการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล (Development Roadmap) การสร้างบรรยากาศและชุมชนการเรียนรู้ การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ในกระบวนการพัฒนา และการใหผ้ บู้ ังคับบญั ชาและเพ่ือนร่วมงานเขา้ มารว่ มในกระบวนการเรียนรู้ - 17 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรับเปลยี่ นเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั 4.5.6 การพัฒนาที่คานึงถึงความเช่ือมโยงและสอดประสาน (Inter System Alignment) ระหว่างการพัฒนาบุคลากร การบริหารองค์กร และการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล 4.6 บทบาทและพฤติกรรมทค่ี าดหวงั ในบรบิ ทของการเป็นรัฐบาลดิจทิ ลั 4.6.1 ในบริบทของการปรับเปล่ียนเป็นรัฐบาลดิจิทัล ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐจานวน 6 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง (Executive) ผู้อานวยการกอง (Management) ผู้ทางานด้านนโยบาย และงานวิชาการ (Academic) ผู้ทางานด้านบริการ (Service) ผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology) และผู้ปฏิบัติงานอื่น (Others) บุคลากรเหล่านี้มี “บทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวัง” ในการขบั เคลอ่ื นการเปล่ยี นแปลงภาครฐั ใน 3 ระยะ ดังน้ี - 18 -

บทบาททค่ี าดหวงั ต่อขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐในการปรบั เปลี่ย ทิศทางและแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลภาครัฐ ทศิ ทางแนวโน้ม ปีท่ี 1 – 2 (Early) ทศิ ทางการพฒั นารัฐบาล หน่วยงานรฐั มีการเตรียมพรอ้ มสู่การ ดิจิทลั เชื่อมโยงและบรู ณาการข้อมลู ภายในส่วน ตามแผนพัฒนาดจิ ิทลั เพื่อ ราชการระดับกระทรวง หรือหนว่ ยงาน เศรษฐกจิ และสงั คม ภายในหน่วยงานของรฐั แนวโน้มการปรับเปลยี่ น การปรับเปลี่ยนกระบวนการทางานและ องค์กร การใหบ้ รกิ ารประชาชน (Work and Service Process - 19 - Redesign) แนวโน้มการปรบั เปลย่ี น  การเตรียมความพร้อมเพื่อสรา้ ง ภาครัฐเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั รัฐบาลอเิ ล็กทรอนิกส์ (Readiness Preparation)  การจัดเตรียมนโยบายและ แผนปฏิบัติการเพ่อื การปรบั เปลย่ี น องคก์ รด้วยการนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล มาใช้ (Digital Transformation Policy and Action Plan)  การพัฒนากระบวนการทางานแบบ อจั ฉรยิ ะ ดว้ ยการเช่ือมโยงหน่วยงาน

ยนภาครฐั เปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั ปีที่ 3 – 5 (Develop) ปที ี่ 6 – 10 (Maturity) การทางานระหว่างภาครัฐจะ หน่วยงานรฐั มกี ารทางานที่เชื่อมโยงและ เช่ือมโยงและบรู ณาการเหมือน บูรณาการขอ้ มูลขา้ มหน่วยงาน เปน็ องคก์ รเดยี ว ปรับปรุงกระบวนการ วิธีการ ดาเนินงานใหม่ การสรา้ งค่านยิ มและวฒั นธรรม องค์กร การปรบั เปลย่ี นรปู แบบการทางาน (Organization Value and ขององคก์ ร Culture Creation) (Organizational Operation  การสรา้ งรูปแบบการทางาน Reform) ทสี่ รา้ งคุณคา่ ร่วมกนั  การพัฒนารปู แบบทางานที่เป็น ระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐ นวตั กรรม ด้วยการเชอ่ื มโยง (Creative Co-Creation หน่วยงานภาครฐั ดว้ ยกันเอง Operation - Optimize (Innovative Operation - G2G) Partially G2G)  การพัฒนาบริการภาครัฐ ท่ีสร้างคณุ ค่ารว่ มกนั  การพฒั นาบรกิ ารภาครัฐทม่ี ี ระหว่างภาครฐั กับ ประชาชนเป็นศนู ย์กลางท่เี ปน็ ประชาชน (Creative Co- นวัตกรรม ที่มีการเชือ่ มโยง หนว่ ยงานภาครฐั กบั ประชาชน (Innovative Citizen Centric

ทศิ ทางแนวโน้ม ปที ่ี 1 – 2 (Early) - 20 - ภาครัฐกบั หน่วยงานภาครฐั ระยะ เริม่ ต้น Smart Operation (Initially G2G)  การพฒั นาการบริการภาครัฐแบบ อัจฉริยะ ด้วยการพัฒนาการ เช่ือมโยงหนว่ ยงานภาครฐั กับ ประชาชน ระยะเรมิ่ ตน้ (Smart Citizen Centric Service- Initially G2C)  การเปิดเผยขอ้ มลู ท่ีเป็นประโยชน์ (Open Data)

ปที ี่ 3 – 5 (Develop) ปที ่ี 6 – 10 (Maturity) แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั Service - Partially G2C) creation Citizen  การเปน็ รัฐบาลทีเ่ ปดิ ให้ประชาชน Centric - Optimize G2C / G2B) เข้ามามสี ว่ นรว่ ม (Open  การสง่ เสริมใหป้ ระชาชนเขา้ Government) มามีส่วนรว่ มอยา่ งเต็ม รูปแบบ (E-participation)

บทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวงั กลุม่ เป้าหมาย คานยิ ามกลมุ่ เป้าหมาย ปีที่ 1 – 2 (Early ผูบ้ รหิ ารระดบั สูง ผู้ดารงตาแหนง่ หวั หนา้ สว่ น เปน็ ผกู้ ระตุ้นและสรา้ งค (Executive) ราชการ หรือรองหัวหน้าส่วน ตระหนักรู้ถงึ ความสาคญั ราชการระดบั กระทรวง กรม การเปลย่ี นแปลงของเทค - 21 - จังหวดั หรอื หน่วยงานใน ดจิ ิทลั โดยการทบทวนน ตา่ งประเทศ ซ่งึ ดารง และยุทธศาสตร์ขององคก์ ตาแหน่งประเภทบรหิ าร รวมถึงผลักดนั ให้เกดิ การ ระดับสูง หรือตาแหน่งอ่นื ที่ ปรบั เปลย่ี นกระบวนการท เทยี บเท่า รบั ผดิ ชอบการ และแนวทางการใหบ้ รกิ า กาหนดนโยบายและทิศทาง (Work/Service Proces องค์กร และกากับดแู ลการ ปรับปรุงเทคโนโลยีและ ดาเนินงานของสว่ นราชการ เตรียมการพฒั นาโครงสร ให้บรรลเุ ปา้ หมายตาม พ้ืนฐาน และสง่ เสรมิ การ บทบาท ภารกิจทก่ี าหนด บุคลากร เพือ่ การนาเทค อาทิ ปลัดกระทรวง ดจิ ทิ ลั มาใช้ในการยกระด รองปลัดกระทรวง อธบิ ดี คณุ ภาพการบรหิ ารจดั กา รองอธบิ ดี ผวู้ ่าราชการ การใหบ้ ริการของภาครัฐ จังหวัด รองผู้วา่ ราชการ เช่ือมโยงข้อมูลและการให จังหวัด เอกอัครราชทตู ระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐ อัครราชทตู ดว้ ยกันเองและระหว่างภ กับประชาชน และสง่ เสร

บทบาทและพฤติกรรมทคี่ าดหวงั แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั y) ปีท่ี 3 – 5 (Develop)* ปที ่ี 6 - 10 (Maturity) ความ เปน็ ผนู้ าดา้ นดจิ ทิ ัลภาครฐั เปน็ ผูส้ ร้างวฒั นธรรม ญและ ที่สามารถกาหนดนโยบายและ องคก์ รด้านดิจิทลั ภาครฐั คโนโลยี ทิศทางขององคก์ ร รวมถึงกระตนุ้ ทส่ี ามารถสรา้ งวฒั นธรรม นโยบาย และผลกั ดนั ให้ขา้ ราชการและ องคก์ รทสี่ ่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การ กร บุคลากรภาครัฐ รวมถึงหนว่ ยงาน ปรบั เปลยี่ นกระบวนทศั น์ ร ท่ีเก่ียวขอ้ ง ปรับเปลีย่ นรปู แบบ และการสรา้ งสรรค์นวัตกรรม ทางาน การดาเนนิ งาน (How an เพ่อื การพฒั นางานภาครัฐทมี่ ี าร organization operates) มลู คา่ สูงขึน้ (High Value ss) หรือการให้บรกิ ารขององคก์ ร Jobs) พฒั นาการทางานและ ให้มีความทนั สมัย โดยนา การบริการภาครัฐทสี่ รา้ ง รา้ ง เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ เป็นองค์กร คุณคา่ รว่ มกันระหว่าง รพัฒนา ทส่ี รา้ งสรรคน์ วตั กรรม รวมทัง้ มี หนว่ ยงานภาครฐั ดว้ ยกันเอง คโนโลยี การเชอื่ มโยงระหว่างหน่วยงาน และระหวา่ งภาครัฐกบั ดบั ภาครฐั ด้วยกันเอง และระหวา่ ง ประชาชน มกี ารเช่ือมโยงและ ารและ ภาครัฐกบั ประชาชน อยา่ งเปน็ บูรณาการภาครัฐเสมือนเป็น ฐ ท่ีมีการ ระบบ และเปน็ รฐั บาลทเ่ี ปดิ ให้ องค์กรเดยี ว เปน็ ภาครัฐท่ี ห้บรกิ าร ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วม เปิดใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ่วน ฐ รวมท้ังเป็นผ้ใู ชข้ ้อมลู และ รว่ มอยา่ งเตม็ รปู แบบ ภาครฐั เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการตัดสนิ ใจ ด้วยเทคโนโลยดี ิจิทลั รมิ ให้เกดิ กาหนดนโยบายหรือทิศทาง

กลุม่ เป้าหมาย คานิยามกลมุ่ เป้าหมาย ปีที่ 1 – 2 (Early การเปิดเผยขอ้ มลู ท่เี ป็น ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ ร เปน็ ผ้ใู ช้ข้อมูล และเทคโน ดจิ ิทัลเพือ่ การตดั สนิ ใจกา นโยบายหรือทิศทางองค์ก หมายเหตุ *เป้าหมายของการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลระหวา่ งปี พ.ศ. 2561 – 2565 - 22 -

บทบาทและพฤตกิ รรมท่ีคาดหวัง ปีท่ี 6 - 10 (Maturity) แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั y) ปที ี่ 3 – 5 (Develop)* องคก์ ร รวมทั้ง สรา้ งคณุ ค่า รวมทงั้ จากขอ้ มลู ขององค์กร เพอ่ื ใหเ้ กิด นโลยี ประโยชนต์ ่อสาธารณะดว้ ย าหนด กรด้วย

กลุ่มเปา้ หมาย คานิยามกลมุ่ เปา้ หมาย ปีที่ 1 – 2 (E ผอู้ านวยการกอง ผูด้ ารงตาแหนง่ หวั หน้า เป็น ผู้ปรบั เปลี่ยน (Management) หน่วยงานระดับกอง หรอื ผู้ กระบวนงานดา้ นดจิ ดารงตาแหน่งประเภท กระบวนการทางานห - 23 - อานวยการ หรอื ตาแหนง่ อื่นที่ ใหบ้ รกิ าร สามารถน เทียบเท่า ซ่งึ รับผดิ ชอบการนา และทศิ ทางองค์กรจา นโยบายจากฝา่ ยบรหิ ารไป ระดับสงู มากาหนดเ ปฏิบัติใหเ้ กดิ ผลอยา่ งเป็น และแผนการดาเนนิ ง รปู ธรรม และควบคมุ กากบั หนว่ ยงาน ทบทวนแ การทางานของหน่วยงานให้ กระบวนการ วิธกี าร เป็นไปตามนโยบายและ หรือการบรกิ ารใหส้ า ยุทธศาสตร์ อาทิ ผู้อานวยการ รองรับการเชอื่ มโยงข สานกั /กอง/ศูนย์ ในส่วนกลาง การใหบ้ รกิ ารระหว่า ส่วนกลางทตี่ ัง้ ในส่วนภมู ภิ าค ภาครฐั ด้วยกนั เอง แ และสว่ นภูมภิ าค ภาครัฐกับประชาชน เปิดเผยข้อมูลที่เป็นป ต่อสาธารณะ โดยกา เทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใ

บทบาทและพฤตกิ รรมท่ีคาดหวงั แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั Early) ปีท่ี 3 – 5 (Develop)* ปีท่ี 6 - 10 (Maturity) เปน็ ผบู้ รหิ ารการเปล่ียนแปลง เป็น ผู้ขับเคลอ่ื นองคก์ รแห่ง จิทัลใน ด้านดจิ ิทลั ระดับองคก์ ร ที่ ดจิ ทิ ัล ท่ีสนบั สนุนการ หรือการ สามารถสื่อสารนโยบายขององคก์ ร ปรบั เปลย่ี นทศั นคติ และ นานโยบาย มาสรู่ ะดับปฏิบัติ พร้อมท้งั สงั่ การ สรา้ งบรรยากาศการทางาน ากผูบ้ รหิ าร กาหนดแนวทาง วางแผน กากบั ในรปู แบบดจิ ิทลั ที่เออื้ ตอ่ เป็นแนวทาง ตดิ ตามดแู ล ให้เกดิ การ การสร้างสรรคน์ วัตกรรม งานของ ปรับเปลยี่ นรปู แบบการดาเนนิ งาน เพอ่ื การพัฒนางานภาครฐั ที่ และพัฒนา หรือการใหบ้ รกิ ารขององคก์ ร ใหม้ ี มมี ลู ค่าสูงข้นึ (High Value รทางาน ความทันสมยั และอยูใ่ นรูปแบบ Jobs) พฒั นาการทางานและ ามารถ ดจิ ทิ ลั มกี ารสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม การบริการภาครัฐทสี่ รา้ ง ข้อมลู และ รวมทงั้ สนับสนุนและผลกั ดนั ใหม้ ี คณุ ค่าร่วมกนั ระหวา่ ง างหน่วยงาน การเชอ่ื มโยงระหวา่ งหนว่ ยงาน หนว่ ยงานภาครัฐดว้ ยกันเอง และระหว่าง ภาครัฐด้วยกันเอง และระหว่าง และระหว่างภาครฐั กบั น และมกี าร ภาครฐั กบั ประชาชน อย่างเปน็ ประชาชน มีการเชื่อมโยง ประโยชน์ ระบบ และเปน็ รัฐบาลทเี่ ปดิ ให้ และบรู ณาการภาครฐั เสมือน ารนา ประชาชนเข้ามามสี ่วนรว่ ม รวมทงั้ เปน็ องค์กรเดยี ว เปน็ ภาครัฐ ใช้ เป็นผู้ใช้ข้อมลู และเทคโนโลยี ท่ีเปดิ ใหป้ ระชาชนเขา้ มามี ดจิ ทิ ัลเพือ่ การตดั สินใจกาหนด สว่ นร่วมอย่างเตม็ รูปแบบ นโยบายหรือทิศทางองค์กรด้วย ด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทลั

กลุ่มเป้าหมาย คานิยามกลมุ่ เป้าหมาย ปีท่ี 1 – 2 (Ea ผู้ทางานด้าน ผปู้ ฏิบตั งิ านทต่ี ้องใชค้ วามรู้ เป็น ผใู้ ชข้ ้อมูลดจิ ทิ ัล นโยบายและงาน ในทางวิชาการ เพอื่ ปฏบิ ตั ิ ทสี่ ามารถวเิ คราะห์แ วชิ าการ หน้าท่ีท่ีได้รบั มอบหมาย ซงึ่ มี ข้อมลู รวมถงึ เทคโนโล (Academic) ลกั ษะงานอย่างใดอย่างหนง่ึ เพ่อื การนาเสนอทางเ ดงั ตอ่ ไปนี้ นโยบาย การกาหนด - 24 - (1) งานจดั ทานโยบาย โครงการ ข้อเสนอทา ทสี่ อดคลอ้ งกับทศิ ทา ยุทธศาสตร์ แผนงาน ยุทธศาสตรอ์ งค์กร ร มาตรการ มาตรฐาน ความเข้าใจระบบขอ้ ม กฎเกณฑ์ หลกั ปฏบิ ตั ิ หรือ สามารถจัดเกบ็ ข้อมลู จดั ทารา่ งงบประมาณ รปู แบบท่สี ามารถนา (2) งานด้านการศกึ ษา แลกเปลยี่ นหรอื เรยี ก ค้นคว้าวิจัย หรือจดั ทา สะดวก ผลงานทางวชิ าการ ตารา หลกั สตู ร ส่ิงประดษิ ฐ์ หรอื ข้อสรปุ เกี่ยวกับเรือ่ งใด เร่ืองหนงึ่ (3) งานใหค้ าปรึกษาโดยใช้ ความรู้ ความเชยี่ วชาญใน สายงาน

บทบาทและพฤตกิ รรมทคี่ าดหวัง แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั arly) ปีท่ี 3 – 5 (Develop)* ปีท่ี 6 - 10 (Maturity) ลท่ที นั สมัย เป็นผใู้ ช้ข้อมูลดิจทิ ลั เพ่อื เปน็ นกั คิดเพือ่ การ และใช้ สนบั สนนุ นโยบาย ทส่ี ามารถ ขบั เคล่ือนรฐั บาลดจิ ิทัล ที่ ลยดี จิ ิทลั คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้ สามารถคดิ วิเคราะห์ เลอื กเชงิ ขอ้ มูลและเทคโนโลยดี ิจิทัล สังเคราะหแ์ ละใช้ข้อมูล ดแผนงาน เพ่อื สนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั างวิชาการ การกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ เพือ่ ต่อยอดและสร้างสรรค์ างและ แผนงาน มาตรฐาน แนวทาง นวัตกรรม เพือ่ การพฒั นา รวมทง้ั มี หรือการจัดบรกิ ารขององค์กร และสรา้ งงานภาครัฐทม่ี ี มลู รวมทัง้ สามารถระบุความ คุณคา่ สูง (High Value ลให้อยู่ใน ตอ้ งการ สร้างสรรค์ ออกแบบ Jobs) รวมท้งั สามารถ ามา รวมถึงสร้างความเช่ือมโยงและ สร้างสรรคแ์ ละออกแบบ กใชไ้ ด้อย่าง บูรณาการขอ้ มูลท่ีเกี่ยวข้อง ระบบการบรหิ ารจัดการ แหลง่ ตา่ ง ๆ เพือ่ การเชือ่ มโยง กระบวนการ ระบบการ หนว่ ยงานภาครัฐด้วยกนั เอง ใหบ้ รกิ าร ทีส่ นบั สนนุ การ และระหวา่ งภาครัฐกับ พัฒนาการทางานภาครัฐท่ี ประชาชน อยา่ งเป็นระบบ และ สรา้ งคณุ ค่ารว่ มกนั ระหวา่ ง เป็นรัฐบาลที่เปดิ ใหป้ ระชาชน หนว่ ยงานภาครฐั ด้วยกนั เอง เขา้ มามสี ่วนร่วม และระหวา่ งภาครัฐกับ ในรปู แบบดิจิทลั ประชาชน มีการเชือ่ มโยง

กล่มุ เปา้ หมาย คานยิ ามกลมุ่ เปา้ หมาย ปีท่ี 1 – 2 (Ea - 25 -

บทบาทและพฤตกิ รรมทค่ี าดหวัง แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั arly) ปีที่ 3 – 5 (Develop)* ปีท่ี 6 - 10 (Maturity) และบูรณาการภาครฐั เสมือนเป็นองคก์ รเดียว เปน็ ภาครฐั ทเี่ ปิดให้ ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วม อยา่ งเตม็ รูปแบบ ด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล

กลุ่มเปา้ หมาย คานยิ ามกลมุ่ เปา้ หมาย ปที ่ี 1 – 2 (Ear ผู้ทางานด้าน ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานด้านการใหบ้ รกิ าร เปน็ ผ้ใู ห้บรกิ ารดิจิท บริการ (Service) ซ่งึ ปฏิบัติงานโดยมี ภาครฐั ท่สี ามารถใช้ วตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื การให้บรกิ าร เทคโนโลยดี ิจิทลั ในก ให้ความชว่ ยเหลือ หรอื อานวย ใหบ้ ริการ ใหค้ วามช่ว ความสะดวกแกผ่ รู้ บั บริการ หรอื อานวยความสะด ภายในหรือภายนอกหน่วยงาน ใหแ้ ก่ประชาชน หรือ หรือแก่ประชาชน และเอกชน ผูร้ บั บริการท้งั ภายใน ลักษณะงานทปี่ ฏิบัตขิ องกลมุ่ นี้ ภายนอกหน่วยงาน ท - 26 - เปน็ งานทตี่ อ้ งมกี ารตดิ ตอ่ บรกิ ารหลักของหนว่ ย สื่อสาร หรอื ปฏสิ มั พันธ์ กบั และการบรกิ ารของ ผู้รบั บริการโดยตรง โดยจะเปน็ หนว่ ยงานอื่นทมี่ กี าร งานท่ใี ชค้ วามรทู้ างวิชาการเพอื่ เชอ่ื มโยงขา้ มหน่วยงา ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีหรือไม่กไ็ ด้ รวมทง้ั สามารถให้ขอ้ ในการพัฒนาคุณภาพ การบริการทีม่ ปี ระชา เปน็ ศูนย์กลางด้วยกา เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช

บทบาทและพฤตกิ รรมทคี่ าดหวัง แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั rly) ปที ี่ 3 – 5 (Develop)* ปีท่ี 6 - 10 (Maturity) ทลั เป็น ผ้อู านวยความสะดวกด้าน เป็น ผู้นาด้านการบริการ ดิจทิ ลั ภาครัฐ ท่ีสามารถใหบ้ ริการ ภาครัฐ ที่รว่ มสร้างสรรค์ การ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ อานวยความ และพัฒนาการบรกิ าร วยเหลือ สะดวก หรือให้คาแนะนาใน ภาครัฐทีใ่ ห้ความสาคญั กับ ดวก รูปแบบดจิ ิทลั ที่สรา้ งความ การสร้างคุณคา่ รว่ มกัน อ ประทับใจให้แกป่ ระชาชนและ ระหว่างภาครฐั ด้วยกันเอง นและ ผรู้ ับบรกิ าร ทง้ั ภายในและ และภาครัฐกบั ประชาชน มี ทง้ั ท่เี ป็น ภายนอกหนว่ ยงาน รวมท้ังสามารถ การเชอ่ื มโยงและบูรณาการ ยงาน ให้ข้อมลู ความตอ้ งการบรกิ าร บรกิ ารภาครัฐเสมอื นเป็น สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม ออกแบบ องคก์ รเดยี ว ไมถ่ กู จากัด าน และปรบั ปรงุ การบริการภาครฐั ท่มี ี ดว้ ยเวลา สถานท่ี ภาษา อคดิ เหน็ ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง รวมถึง มคี วามโปรง่ ใสเปน็ ธรรม พ สนับสนุนการสรา้ งความเชอ่ื มโยง และเปดิ ใหป้ ระชาชนเข้ามา าชน การบรกิ ารข้ามหนว่ ยงาน ระหว่าง มีส่วนรว่ มอยา่ งเตม็ รูปแบบ ารนา หน่วยงานภาครฐั และระหว่าง ดว้ ยเทคโนโลยดี จิ ิทัล ช้ ภาครฐั กบั ประชาชนในรูปแบบ ดจิ ิทัล และการเปน็ รฐั บาลทเ่ี ปดิ ใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นร่วม

กลุ่มเป้าหมาย คานยิ ามกลมุ่ เป้าหมาย ปที ี่ 1 – 2 (Ea ผปู้ ฏิบัติงานเฉพาะ ผู้ท่ีปฏบิ ัตงิ านดา้ นเทคโนโลยี เปน็ ผ้พู ัฒนาเทคโนโ ด้านเทคโนโลยี ดจิ ิทลั ในส่วนราชการหรือ ของหน่วยงาน ที่สาม ดจิ ทิ ัล หน่วยงานของรัฐ ซ่งึ ดารง บริหารโครงการ หรือ (Technology ตาแหนง่ นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม Specialist) เจ้าพนกั งานเครื่อง มาพัฒนาแพลตฟอรม์ คอมพวิ เตอร์ หรือตาแหนง่ บริหารจดั การภายใน - 27 - ในสายงานอนื่ หรือประเภทอื่น (Back Office) และก ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายใหป้ ฏบิ ตั งิ าน จดั บรกิ ารของรฐั (Se ทตี่ อ้ งใช้ความรู้เชิงเทคนิค เพื่อรองรบั การปรบั เป เกีย่ วกบั เทคโนโลยดี จิ ิทัล กระบวนการทางาน จดั การ และรปู แบบก ใหบ้ ริการ ให้อยูใ่ นรปู ดิจิทลั ที่สามารถเชอ่ื ม การทางานและการให ระหวา่ งหนว่ ยงานภา ดว้ ยกนั เอง และระห หน่วยงานภาครฐั กับป ตลอดจนสามารถดแู บารุงรักษาระบบใหม้

บทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวงั แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั arly) ปีที่ 3 – 5 (Develop)* ปที ่ี 6 - 10 (Maturity) โลยีดจิ ทิ ลั เป็น ผปู้ รบั เปล่ียนเทคโนโลยี เป็น ผูส้ ร้างองค์กรอจั ฉรยิ ะ มารถ ขององคก์ ร ทสี่ ามารถบริหาร ทม่ี คี วามรอบรเู้ กีย่ วกบั การ อเลือก โครงการ หรอื เลอื กเทคโนโลยีท่ี เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ม เหมาะสมมาสรา้ งสรรคแ์ ละ สามารถคาดการณ์และ มการ ออกแบบระบบอัจฉรยิ ะใหแ้ ก่ เลือกเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม นองคก์ ร หน่วยงาน (Automated กับบริบทขององคก์ ร และ การ Public Service) ตลอดจน รองรับการเปล่ยี นผา่ น ervice) สามารถดูแลและบารงุ รกั ษา เทคโนโลยใี นอนาคต เพ่ือ ปลยี่ น ระบบใหม้ ีความม่นั คงปลอดภยั การสร้างงานภาครฐั ท่ีมี การบริหาร มเี สถยี รภาพ และอยู่ในสภาพ มูลค่าสงู ข้นึ (High Value การ พรอ้ มใชง้ านอย่างต่อเนอื่ ง Jobs) การพฒั นาภาครฐั ปแบบ รวมทั้งสามารถพัฒนาระบบให้ เปน็ องค์กรแห่งนวตั กรรม มี มโยงขอ้ มูล สอดคลอ้ งกบั เทคโนโลยที ่ี การเชอื่ มโยงและบูรณาการ หบ้ รกิ าร เปลยี่ นแปลงไปได้ซึง่ จะสร้างให้ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เสมอื น าครฐั เกดิ การปรับเปล่ียนรูปแบบการ เปน็ องค์กรเดยี ว มกี าร หวา่ ง ดาเนินงานหรือการให้บรกิ าร บรกิ ารทที่ ันสมัย ไมจ่ ากดั ประชาชน ของภาครัฐ ไปสู่ระบบดจิ ทิ ัลท่ี ดว้ ยเวลา สถานท่แี ละภาษา แล สามารถช่วยสนองตอบต่อความ และเป็นภาครฐั ทเ่ี ปิดให้ มคี วาม ตอ้ งการของผรู้ ับบรกิ ารในรปู แบบ ประชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม

กล่มุ เป้าหมาย คานยิ ามกลมุ่ เปา้ หมาย ปีท่ี 1 – 2 (Ea มัน่ คงปลอดภยั มเี สถ และอยใู่ นสภาพพรอ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง รวมทั้ง พฒั นาระบบให้สอดค เทคโนโลยีท่เี ปล่ียนแ - 28 -

บทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวัง แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั arly) ปีที่ 3 – 5 (Develop)* ปีท่ี 6 - 10 (Maturity) ถยี รภาพ และชอ่ งทางทห่ี ลากหลาย รวมท้งั อยา่ งเตม็ รูปแบบ ตลอดจน อมใชง้ าน งสามารถ สรา้ งใหเ้ กดิ การเชื่อมโยงระหวา่ ง สามารถดูแลบารุงรกั ษา คล้องกับ แปลงไปได้ หน่วยงานภาครฐั ด้วยกนั เอง ระบบให้มีความมั่นคง และระหวา่ งภาครฐั กบั ประชาชน ปลอดภยั มเี สถยี รภาพ และ อยา่ งเป็นระบบ และการเปน็ อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน รฐั บาลทเี่ ปดิ ใหป้ ระชาชนเขา้ มา อยา่ งต่อเนอ่ื ง มสี ว่ นรว่ ม

กลุ่มเปา้ หมาย คานยิ ามกลมุ่ เป้าหมาย ปีที่ 1 – 2 (Ea ผปู้ ฏิบัตงิ านอืน่ ผปู้ ฏิบัติงานดา้ นอน่ื ๆ ทไ่ี ม่ เป็น ผ้ใู ช้เทคโนโลยีด (Others) สามารถจัดอยใู่ น 6 กลุม่ ภาครัฐ ทตี่ ระหนกั รู้เ ขา้ งตน้ หรอื ผูป้ ฏิบตั ิงานท่ี เทคโนโลยดี ิจทิ ลั แล อาศยั ทกั ษะ และฝีมือเฉพาะ ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลใน ด้านต่าง ๆ เช่น ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน บรหิ ารจดั การงานทไี่ ในกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป มอบหมายได้อย่างเห ผู้ปฏบิ ัติงานดา้ นศลิ ปกรรม - 29 - คีตศิลป์ ดรุ ยิ างคศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ เปน็ ต้น

บทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวัง แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั arly) ปีท่ี 3 – 5 (Develop)* ปที ่ี 6 - 10 (Maturity) ดจิ ทิ ลั เป็น ผู้รเู้ ท่าทนั เทคโนโลยี เป็น ผใู้ ช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล เกยี่ วกับ ละสามารถ ดจิ ทิ ัล ทม่ี คี วามรูค้ วามเขา้ ใจ อยา่ งชาญฉลาด ทสี่ ามารถ นการ ได้รบั และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของ นาเทคโนโลยีดจิ ิทลั ท่ี หมาะสม เทคโนโลยี และสามารถนา ทนั สมยั มาใช้ประโยชน์ได้ เทคโนโลยมี าใช้ประโยชน์ อย่างถกู ต้อง เหมาะสมและ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและปลอดภยั ปลอดภยั รรู้ อบและเทา่ ทนั และเป็นผู้ท่ใี ฝ่เรยี นร้มู ุ่งพัฒนา เทคโนโลยี ใฝ่เรยี นรู้ ตนเอง ให้สามารถปรับตัวกับ มงุ่ พัฒนาตนเองและผอู้ ื่น การเปลยี่ นแปลงท่เี กิดขึน้ อย่างตอ่ เนื่อง รวมทงั้ อย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยนาเทคโนโลยี สามารถพัฒนาและบริหาร ดิจิทัลมาใช้ จัดการงานท่ไี ด้รับ มอบหมายไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพและบรรลุ เป้าหมายด้วยเทคโนโลยี ดจิ ิทลั

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ิทลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอื่ การปรับเปลยี่ นเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัล 4.6.2 การจะกาหนดให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐในหน่วยงานของรัฐใดมีบทบาท และพฤติกรรมท่ีคาดหวังช่วงเวลาใด ให้ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐแต่ละแห่งพิจารณากาหนด เป็นภาพรวมของหน่วยงาน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับบริบทการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล ของหนว่ ยงานนน้ั และใหป้ ระกาศใหท้ ราบทว่ั กนั บทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในช่วงเวลาที่ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐ จะกาหนดตามวรรคหน่ึง ให้กาหนดเป็นบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวังของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ในสังกัด ท่ีจะต้องพัฒนาเพ่ือการปฏิบัติงานในปัจจุบัน และบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังในช่วงเวลาถัดไป ให้กาหนดเป็นบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวังของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐท่ีต้องพัฒนาเพ่ือการ ปฏบิ ัติงานในอนาคต ทั้งน้ี ตามหลักการที่กาหนดในข้อ 4.5.4 4.6.3 ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ใดจะมีบท บาทและพฤติกรรมที่คาดหวัง ตามกลุ่มเป้าหมายกลุ่มใด และจะมีบทบาทและพฤติกรรมที่คาดหวังท้ังหมดหรือบางส่วนตามท่ีกาหนด ในขอ้ 4.6.1 ให้เป็นไปตามท่ีไดป้ รึกษาหารือกบั ผบู้ งั คบั บัญชาชัน้ ตน้ ของผ้นู ้ัน ในกรณีท่ีข้าราชการและบุคลากรภาครัฐผู้ใด ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน ที่หลากหลายและมีลักษณะงานท่ีสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนามากกว่า 1 กลุ่ม ให้ผู้น้ัน ปรึกษาหารือกบั ผู้บงั คับบัญชาชัน้ ตน้ เพอ่ื รว่ มกันระบุบทบาทและพฤตกิ รรมท่คี าดหวังท่ีสอดคล้องกับภารกิจ และลกั ษณะงานที่ปฏิบัตขิ องผูน้ ัน้ โดยความเห็นชอบของผู้บงั คบั บัญชาเหนอื ขึ้นไปอีกระดบั หนึ่ง 4.7 ทกั ษะด้านดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบุคลากรภาครัฐ 4.7.1 ในการสร้างและพัฒนากาลังคนด้านดิจิทัลภาครัฐ เพื่อสนับสนุนการปรับเปล่ียนภาครัฐ เป็นรัฐบาลดิจิทัล ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐมีทักษะท่ีควรให้การส่งเสริมและพัฒนา 5 มิติการเรียนรู้ 7 กลุ่มทักษะ ดังนี้ มติ ิท่ี 1 ร้เู ทา่ ทนั และใช้เทคโนโลยีเป็น ประกอบด้วย 1 กลุ่มทักษะ ได้แก่ กลุ่มทักษะด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy Skill Set) - 30 -

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปล่ยี นเป็นรัฐบาลดิจทิ ลั มิตทิ ี่ 2 เข้าใจนโยบาย กฎหมายและมาตรฐาน ประกอบด้วย 1 กลุ่มทักษะ ได้แก่ กลุ่มทักษะด้านการควบคุมกากับ และการปฏิบัติตาม กฎหมาย นโยบาย และมาตรฐานการจัดการด้านดิจิทัล (Digital Governance, Standard and Compliance Skill Set) มติ ทิ ่ี 3 ใชด้ ิจิทัลเพื่อการประยกุ ต์และพฒั นา ประกอบด้วย 2 กลุ่มทักษะ ได้แก่ กลุ่มทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือยกระดับศักยภาพ องค์กร (Digital Technology Skill Set) และกลุ่มทักษะด้านการออกแบบกระบวนการและการให้บริการ ด้วยระบบดจิ ทิ ลั เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพงานภาครฐั (Digital Process and Service Design Skill Set) มติ ิที่ 4 ใชด้ จิ ทิ ลั เพ่อื การวางแผน บริหารจัดการ และนาองคก์ ร ประกอบดว้ ย 2 กลมุ่ ทกั ษะ ไดแ้ ก่ กลุ่มทักษะด้านการจัดการโครงการและการบริหารกลยุทธ์ (Project and Strategic Management Skill Set) และกลุ่มทักษะด้านผู้นาดิจิทัล (Digital Leadership Skill Set) มติ ิท่ี 5 ใช้ดจิ ทิ ัลเพือ่ ขบั เคลื่อนการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1 กลุ่มทักษะ ได้แก่ กลุ่มทักษะด้านการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ดา้ นดิจิทัล (Digital Transformation Skill Set) อน่ึง กลุ่มทักษะด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy Skill Set) และ กลุ่มทักษะด้านการควบคุมกากับ และการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย และมาตรฐาน การจัดการด้านดิจิทัล (Digital Governance, Standard and Compliance Skill Set) เป็นกลุ่มทักษะพ้ืนฐานท่ีข้าราชการ และบคุ ลากรภาครัฐทุกคนควรไดร้ ับการพัฒนา 4.7.2 ทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ จะประกอบด้วย ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณลักษณะใด และข้าราชการและบุคลากรภาครัฐกลุ่มใด ควรได้รับ การพฒั นาทักษะด้านดจิ ิทัลใดบา้ ง ให้เป็นไปตามทค่ี ณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (ก.พ.) กาหนด - 31 -

แนวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อการปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัล 4.8 แนวทางพฒั นากาลังคนภาครฐั ใหม้ ีทักษะด้านดจิ ิทัล 4.8.1 กาหนดให้ “การพัฒนาคนเพื่อสร้างและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงาน” และ “การสร้างและพัฒนาคนให้เท่าทันและสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานได้อย่างรอบรู้ ” เป็นหน่งึ ในประเดน็ หลักของการพฒั นาขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐ ในระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2565 4.8.2 กาหนดให้หน่วยงานของรัฐส่งเสริมและดาเนินการเพ่ือให้มีการพัฒนาข้าราชการ และบคุ ลากรภาครฐั เก่ียวกับการสรา้ งและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลของหน่วยงาน เพื่อประโยชน์ในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของหน่วยงานรัฐ การพัฒนาระบบเทคโนโลยี ดิจิทัลของหน่วยงานให้เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก ทันสมัย มีเสถียรภาพ ปลอดภัย และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ รวมท้ังเป็นระบบท่ีมีการเช่ือมโยงข้อมูล การทางาน และการให้บริการ ระหว่างหนว่ ยงานท่สี ร้างคุณคา่ ร่วมกนั ในการนี้ อาจจัดใหม้ ีการพฒั นาขา้ ราชการและบุคลากรภาครัฐแบบบูรณาการ โดยนา ผู้บริหารระดับสูง (Executive) ผู้อานวยการกอง (Management) ผู้ทางานด้านนโยบายและงาน วิชาการ (Academic) ผู้ทางานด้านบริการ (Service) ผู้ทางานเพ่ือขับเคล่ือนการเปลี่ยนแปลง (Change Catalyst) และผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology) มาพัฒนาเพื่อให้สามารถสื่อสาร และมีความเขา้ ใจที่ตรงกันในการสร้างและพัฒนาระบบดิจิทัลของหน่วยงาน และเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การทางานแบบบูรณาการเสมอื นเปน็ กระบวนการเดียวกนั 4.8.3 กาหนดให้เป็นหน้าท่ีของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐในการนารูปแบบการเรียนรู้ และพัฒนา 70:20:10 (ร้อยละ 70 เรียนรู้ด้วยตนเองและจากการปฏิบัติงาน ร้อยละ 20 เรียนรู้จากผู้อ่ืน และการสอนงาน และร้อยละ 10 เรียนรู้จากการฝึกอบรม) มาปรับใช้ในการเพ่ิมพูนและพัฒนาทักษะ ด้านดิจิทัลของตนเอง และให้การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน เพื่อให้รู้ เทา่ ทนั และสามารถนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใชป้ ระโยชน์ในการปฏบิ ัตงิ านได้อย่างเตม็ ท่ี ในการพัฒนาดังกล่าวให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐนา “บทบาทและพฤติกรรม ท่ีคาดหวัง” ตามที่กาหนดในข้อ 4.6 มากาหนดเป็นเป้าหมายของการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ด้านดิจิทัลของแต่ละบุคคลในแต่ละช่วงเวลา รวมท้ังใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุน - 32 -

แนวทางพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพอ่ื การปรบั เปลี่ยนเปน็ รฐั บาลดิจทิ ัล ใหผ้ ใู้ ต้บังคับบญั ชาและเพื่อนร่วมงานมีการเรยี นร้แู ละไดร้ ับการพัฒนา โดยมุ่งเน้นการพัฒนากรอบความคิด ที่สนับสนุนการทางานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลตามหลักการข้อ 4.5.3 การพัฒนาทักษะและความสามารถ ในการปฏิบัติงานในปัจจุบันและเตรียมความพร้อมเพื่ออนาคตตามหลักการข้อ 4.5.4 และการพัฒนา ท่ีส่งเสริมการสร้างสมดุลของกระบวนการเรียนรู้ตามหลักการข้อ 4.5.5 รวมทั้งให้นาทักษะด้านดิจิทัล ของขา้ ราชการและบุคลากรภาครฐั ท่ี ก.พ. จะกาหนดตามขอ้ 4.7.2 มาใช้เปน็ กรอบในการพัฒนาด้วย 4.8.4 กาหนดให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านการบริหาร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล และหน่วยงานที่มีภารกิจด้านการจัดฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการและ บุคลากรภาครัฐ รวมถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้รวมทั้งจัดดาเนินการเพ่ือให้ ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐแต่ละกลุ่มได้รับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลตามที่ ก.พ. จะกาหนดตาม ข้อ 4.7.2 ท้ังน้ี เพอ่ื ให้สามารถดาเนินบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวังตามข้อ 4.6 ในการขับเคล่ือนภาครัฐ ไปส่กู ารเป็นรฐั บาลดิจิทัลได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ และจัดให้มีการพัฒนาทักษ ะด้านดิจิทัล ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครฐั ตามวรรคแรก ให้ดาเนินการให้สอดคล้องกับหลักการในข้อ 4.5 และให้นา แนวทางการจดั การเรียนรแู้ บบผสมผสานมาปรบั ใช้ อาทิ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-learning) การเรียนรู้ ด้วยการฝึกอบรม (In-class Training) การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน (On the Job Training) และการเรียนรู้ ด้วยการเรยี นรู้และสอนงานผ้อู ่ืน (Learning from others และ Coaching and Developing Others) ในกรณีการจัดการเรียนรู้ด้วยการฝึกอบรม (In-class Training) ให้มีการนาแนวทาง การพฒั นารูปแบบอ่ืนนอกเหนือจากการบรรยายมาใช้ประกอบการฝึกอบรม เพื่อกระตุ้นให้เกิดการนาความรู้ ไปปฏิบัติได้จริงด้วย อาทิ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Discussion) การทดลองหรือฝึกปฏิบัติ (Learning by Doing) การเรียนรู้และฝึกปฏิบัติจากกรณีศึกษา (Case study) หรือการจัดทาผลงานส่วนบุคคลหรือผลงาน กลุ่ม (Assignment) ในสัดส่วนการบรรยายไม่เกินร้อยละ 60 และการพัฒนารูปแบบอื่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของระยะเวลาท้งั หมดท่ใี ชใ้ นการจัดการฝกึ อบรม ในการนี้ การส่งเสริม สนับสนุน และจัดการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐดังกล่าวข้างต้น ให้คานึงถึงการนาความรู้ที่ได้รับการพัฒนาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน ด้วย - 33 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook