หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นบึงทบั ช้าง พทุ ธศักราช ๒๕๖๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต๒ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
คำนำ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยฉบับนี้ เป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นบึงทับช้าง พทุ ธศักราช ๒๕๖๖ จัดทำเพือ่ เปน็ กรอบและทิศทาง ในการจดั การเรียนการสอน ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ ให้ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยพิจารณาตาม หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มีองคป์ ระกอบ ดังต่อไปนี้ - วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และเปา้ ประสงค์ - สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - คณุ ภาพผ้เู รยี น - ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง - โครงสรา้ งหลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย - คำอธบิ ายรายวชิ า - โครงสร้างรายวิชา - สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ - การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ คณะผู้จัดทําขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยฉบับนี้ จนสำเร็จลุล่วงเปน็ อย่างดี และหวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ จะเกิดประโยชนต์ ่อการจัดการเรยี นรู้ ใหก้ บั ผเู้ รยี นตอ่ ไป กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณะผจู้ ดั ทำ ก
สารบญั เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ................................................................................................................................................... ก สารบัญ ................................................................................................................................................ ข วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และเป้าประสงค์ ..................................................................................................... ๑ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์................................................................ ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ............................................................................................................. ๓ คุณภาพผู้เรยี น..................................................................................................................................... ๓ ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง.................................................................................................. ๕ โครงสรา้ งหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย............................................................................... ๒๗ คำอธบิ ายรายวชิ า................................................................................................................................ ๒๘ โครงสร้างรายวชิ า................................................................................................................................ ๓๗ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้................................................................................................................................... ๗๗ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ........................................................................................................ ๗๘ อภิธานศัพท์......................................................................................................................................... ๙๐ ข
๑ วิสัยทศั น์ พันธกิจ และเปา้ ประสงค์ วิสยั ทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ได้อย่างถูกต้อง พัฒนาทักษะสื่อสารอย่างสมวัย เรียนรู้วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทยท่ีดีงาม สร้างเจตคติท่ดี ี ในการเรยี นวิชาภาษาไทย ชี้ใหเ้ หน็ ถึงคุณค่าของภาษาไทย และการใช้ภาษาไทยให้ถกู ตอ้ งตามหลักการใช้ ภาษาเพอื่ อนุรกั ษ์ภาษาไทยอนั เป็นสมบตั ขิ องชาติ พันธกจิ ๑. ส่งเสรมิ จดั การเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขึ้นพ้ืนฐาน ๒. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนพร้อมทั้งพัฒนาการใช้ภาษาให้ถูกต้องตาม หลกั การใช้ภาษาไทย ๓. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการส่ือสารภายใตม้ ารยาทในการส่อื สารและคุณธรรม ๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อสร้างเจตคติที่ดีในการเรียน วชิ าภาษาไทย ๕. ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในการธำรงอนุรักษ์ภาษาไทย อันเป็นสมบัติ ของชาติ เป้าประสงค์ ๑. ผูเ้ รยี นมีทกั ษะในการอา่ นและการเขยี นอยู่ในเกณฑ์ท่ีดีตามความสามารถดา้ นการเรียนภาษา ในระดบั ช่วงชั้น โดยสอดคลอ้ งกบั ตวั ชีว้ ดั ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๒. ผู้เรียนใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องตามหลักการเขยี นและการใช้ภาษา มีทักษะการสื่อสารในการ อ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูดอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะภายใต้มารยาทในการสื่อสาร และคณุ ธรรมอันดงี าม ๓. ผเู้ รียนเห็นคุณค่าและตระหนกั ในการอนุรกั ษ์ภาษาไทย พร้อมทงั้ ใชภ้ าษาในการพฒั นาตนเอง และเป็นสอื่ ในการสรา้ งสมั พนั ธอ์ ันดตี อ่ ผูอ้ ่นื เพ่ือการอย่รู ่วมกับผอู้ ื่นในสงั คมได้อย่างมีความสุข สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ยี นข้อมูลข่าวสาร และประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจัดและ
๒ ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใชว้ ธิ ีการสือ่ สาร ทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสรา้ งองค์ความร้หู รอื สารสนเทศเพือ่ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พนั ธแ์ ละการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปญั หา และมกี ารตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ใน การดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การมเี หตผุ ล กตญั ญูกตเวที การปรบั ตัวใหท้ ันกบั การเปลย่ี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่นื การรกั และภมู ิใจในความ เป็นไทยและรกั ษท์ อ้ งถนิ่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ
๓ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดำเนนิ ชีวิตและมนี ิสัยรักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่าและนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง คณุ ภาพผู้เรียน จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑. อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคลว่ เข้าใจความหมายของคำและข้อความท่ีอ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตกุ ารณ์ คาดคะเน เหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจากเรื่องที่อ่านได้ เข้าใจ ความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสม่ำเสมอ และมีมารยาทใน การอ่าน ๒. มีทกั ษะในการคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยาย บนั ทกึ ประจำวนั เขยี นจดหมาย ลาครู เขียนเรือ่ งเกย่ี วกับประสบการณ์ เขียนเรอื่ งตามจินตนาการและมมี ารยาทในการเขียน
๔ ๓. เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด ความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนำ หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อ่ืน ปฏบิ ัติตาม และมมี ารยาทในการฟัง ดู และพดู ๔. สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าที่ของคำใน ประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคำคล้องจอง แต่งคำขวญั และเลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ๕. เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ใน ชีวติ ประจำวนั แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีทีอ่ ่าน ร้จู กั เพลงพื้นบ้าน เพลงกลอ่ มเด็ก ซึ่งเป็นวัฒนธรรม ของท้องถนิ่ ร้องบทร้องเลน่ สำหรับเดก็ ในทอ้ งถ่ิน ทอ่ งจำบทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่าตามความ สนใจได้ จบช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถกู ต้อง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหาร จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน เขา้ ใจคำแนะนำ คำอธบิ ายในคมู่ ือตา่ ง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและขอ้ เท็จจริง รวมท้ังจบั ใจความสำคญั ของเร่ืองท่ีอ่านและนำ ความรู้ความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตดั สินใจแกป้ ัญหาในการดำเนินชีวิตได้มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคณุ คา่ สง่ิ ท่ีอา่ น ๒. มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำแต่งประโยค และเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและ แผนภาพความคิด เพ่อื พฒั นางานเขียน เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขยี นแสดงความรู้สึกและความคิดเหน็ เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการ เขยี น ๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟงั และดู ต้ังคำถาม ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมท้งั ประเมินความนา่ เชอ่ื ถือจากการฟงั และดูโฆษณาอย่างมี เหตุผล พูดตามลำดับขั้นตอนเรื่องต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นคว้าจากการฟัง การดู การสนทนา และพดู โน้มน้าวไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล รวมทง้ั มมี ารยาทในการดแู ละพูด ๔. สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจชนิดและ หน้าที่ของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์และคำ สุภาพได้อยา่ งเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี ๑๑ ๕. เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น เล่านิทานพืน้ บ้าน รอ้ งเพลงพ้นื บ้านของ ท้องถนิ่ นำข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งท่ีอา่ นไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ และท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดได้
๕ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระที่ ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดำเนนิ ชวี ิต และมนี ิสยั รกั การอา่ น ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. อา่ นออกเสียงคำ คำคล้องจอง และ การอา่ นออกเสียงและบอกความหมาย ของคำ คำคล้องจอง และข้อความท่ี ข้อความส้ัน ๆ ประกอบด้วยคำพ้ืนฐาน คือคำท่ใี ช้ใน ๒. บอกความหมายของคำ และขอ้ ความ ชีวติ ประจำวัน ไมน่ ้อยกวา่ ๖๐๐ คำ รวมท้ังคำที่ ทีอ่ า่ น ใชเ้ รียนรูใ้ นกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ น่ื ประกอบดว้ ย ๓. ตอบคำถามเกยี่ วกบั เรือ่ งที่อา่ น - คำทีม่ ีรปู วรรณยุกต์และไม่มรี ปู วรรณยุกต์ ๔. เล่าเรอ่ื งย่อจากเรือ่ งทอี่ า่ น - คำท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องทีอ่ ่าน มาตรา - คำท่มี ีพยัญชนะควบกลำ้ ๖. อ่านหนังสือตามความสนใจ - คำที่มีอกั ษรนำ อยา่ งสม่ำเสมอและนำเสนอเร่อื งท่ีอ่าน การอา่ นจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่ ๗. บอกความหมายของเคร่อื งหมาย - นทิ าน หรอื สญั ลกั ษณ์สำคัญที่มักพบเหน็ ใน - เรือ่ งส้นั ๆ ชวี ติ ประจำวนั - บทรอ้ งเล่นและบทเพลง - เร่ืองราวจากบทเรยี นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยและกล่มุ สาระการเรยี นรู้อน่ื การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ เชน่ - หนงั สือท่นี กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนงั สอื ทีค่ รูและนักเรียนกำหนดร่วมกนั การอา่ นเคร่อื งหมายหรือสัญลกั ษณ์ ประกอบด้วย - เครอื่ งหมายสัญลกั ษณต์ ่าง ๆ ทพ่ี บเห็นใน ชีวิตประจำวนั
๖ ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - เครอื่ งหมายแสดงความปลอดภัย และแสดงอนั ตราย ๘. มีมารยาท ในการอ่าน มารยาทในการอา่ น เชน่ - ไม่อา่ นเสียงดงั รบกวนผอู้ ื่น - ไมเ่ ล่นกนั ขณะท่ีอา่ น - ไมท่ ำลายหนงั สอื ป.๒ ๑. อ่านออกเสยี งคำ คำคลอ้ งจอง ขอ้ ความ การอ่านออกเสยี งและการบอกวามหมายของ และบทร้อยกรองง่ายๆ ไดถ้ กู ต้อง คำ คำคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่าย ๒. อธิบายความหมายของคำและขอ้ ความ ๆ ท่ีประกอบด้วยคำพ้นื ฐานเพิม่ จาก ป. ๑ ทีอ่ า่ น ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ คำ รวมทั้งคำท่ีใช้เรียนร้ใู นกลุ่ม สาระ การเรียนรอู้ ่นื ประกอบด้วย - คำที่มรี ปู วรรณยุกต์และไม่มรี ปู วรรณยุกต์ - คำท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม มาตรา - คำท่ีมพี ยัญชนะควบกลำ้ - คำที่มอี กั ษรนำ - คำที่มตี ัวการนั ต์ - คำที่มี รร - คำท่มี พี ยัญชนะและสระท่ีไมอ่ อกเสยี ง ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกบั การอา่ นจบั ใจความจากสือ่ ตา่ ง ๆ เช่น เรือ่ งท่อี ่าน - นิทาน ๔. ระบุใจความสำคญั และรายละเอียดจาก - เรื่องเล่าส้ัน ๆ เร่ืองทอ่ี ่าน - บทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ ๕. แสดงความคิดเหน็ และคาดคะเน - เร่ืองราวจากบทเรยี นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เหตุการณจ์ ากเร่ืองท่อี ่าน ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ น่ื - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน ๖. อา่ นหนังสือตามความสนใจอยา่ ง การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ เชน่ สมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน - หนังสอื ทน่ี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครแู ละนักเรยี นกำหนดรว่ มกนั
๗ ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๗. อา่ นขอ้ เขยี นเชิงอธบิ าย และปฏิบัติตาม การอา่ นข้อเขยี นเชิงอธบิ าย และปฏิบตั ติ าม คำสงั่ หรือขอ้ แนะนำ คำส่งั หรอื ขอ้ แนะนำ - การใช้สถานที่สาธารณะ - คำแนะนำการใช้เคร่ืองใช้ท่ีจำเปน็ ในบ้านและ ในโรงเรียน ๘. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เช่น - ไมอ่ า่ นเสียงดงั รบกวนผอู้ ่ืน - ไมเ่ ลน่ กันขณะทอ่ี า่ น - ไมท่ ำลายหนงั สือ - ไม่ควรแย่งอา่ นหรอื ชะโงกหน้าไปอา่ นขณะที่ ผ้อู ่ืนกำลงั อา่ นอยู่ ป.๓ ๑. อา่ นออกเสียงคำ ขอ้ ความ เร่ืองสัน้ ๆ การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมาย และบทร้อยกรองงา่ ยๆ ได้ถกู ตอ้ ง ของคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง คล่องแคล่ว ง่ายๆ ท่ปี ระกอบด้วยคำพืน้ ฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่ ๒. อธบิ ายความหมายของคำและขอ้ ความ น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ รวมทั้งคำท่ีเรียนรู้ในกลุม่ ทอ่ี า่ น สาระ การเรยี นรอู้ ื่น ประกอบด้วย - คำที่มตี ัวการนั ต์ - คำทมี่ ี รร - คำทีม่ ีพยญั ชนะและสระไมอ่ อกเสยี ง - คำพอ้ ง - คำพิเศษอนื่ ๆ เชน่ คำท่ีใช้ ฑ ฤ ฤๅ ๓. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผล การอ่านจับใจความจากส่อื ต่าง ๆ เชน่ เก่ียวกับเร่อื งทอี่ ่าน - นิทานหรือเรอื่ งเกีย่ วกับท้องถ่ิน ๔. ลำดับเหตกุ ารณ์และคาดคะเนเหตกุ ารณ์ - เรอ่ื งเลา่ สน้ั ๆ จากเร่อื งทอ่ี า่ นโดยระบุเหตผุ ลประกอบ - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง ๕. สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากเร่ืองทอ่ี า่ น - บทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อน่ื เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - ข่าวและเหตกุ ารณใ์ นชีวิตประจำวันในทอ้ งถ่ิน และชุมชน ๖. อ่านหนงั สือตามความสนใจ การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น อยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่องท่อี ่าน - หนงั สอื ทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั
๘ ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - หนังสือท่คี รแู ละนักเรยี นกำหนดรว่ มกนั ๗. อา่ นข้อเขยี นเชงิ อธิบายและปฏิบัติตาม การอ่านขอ้ เขียนเชงิ อธบิ าย และปฏบิ ัติตาม คำสั่งหรอื ข้อแนะนำ คำส่ังหรือข้อแนะนำ - คำแนะนำตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวัน - ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำขวัญ ๘. อธิบายความหมายของขอ้ มูลจาก การอา่ นขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และ แผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ แผนภมู ิ ๙. มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น เช่น - ไมอ่ ่านเสยี งดังรบกวนผ้อู ื่น - ไม่เลน่ กันขณะที่อ่าน - ไมท่ ำลายหนังสอื - ไม่ควรแยง่ อา่ นหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะท่ี ผ้อู น่ื กำลงั อ่าน ป.๔ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว การอ่านออกเสียงและการบอกความหมาย และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง ของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค - คำที่มี ร ล เป็นพยญั ชนะต้น และสำนวนจากเรือ่ งทีอ่ า่ น - คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ - คำทม่ี ีอักษรนำ - คำประสม - อักษรยอ่ และเครือ่ งหมายวรรคตอน - ประโยคที่มีสำนวนเปน็ คำพงั เพย สุภาษติ ปรศิ นาคำทาย และเครือ่ งหมายวรรคตอน การอา่ นบทรอ้ ยกรองเป็นทำนองเสนาะ ๓. อ่านเรอ่ื งสั้นๆ ตามเวลาที่กำหนด การอา่ นจบั ใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เชน่ และตอบคำถามจากเรือ่ งที่อา่ น - เร่อื งสั้น ๆ ๔. แยกขอ้ เทจ็ จริงและข้อคดิ เห็น - เรอ่ื งเลา่ จากประสบการณ์ จากเร่ืองทีอ่ า่ น - นิทานชาดก ๕. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอื่ งที่อ่าน - บทความ โดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - บทโฆษณา
๙ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ๖. สรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรอ่ื งที่อา่ น - งานเขยี นประเภทโนม้ นา้ วใจ เพอื่ นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั - ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวัน - สารคดีและบันเทงิ คดี ๗. อา่ นหนงั สอื ทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจ การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่ อย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น - หนงั สือทนี่ ักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย เก่ียวกับเรื่องทอี่ า่ น - หนงั สือท่ีครแู ละนกั เรียนกำหนดรว่ มกนั ๘. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น ป.๕ ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมาย และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง ของบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองท่ีประกอบด้วย ๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค - คำที่มีพยญั ชนะควบกล้ำ และขอ้ ความที่เปน็ การบรรยาย - คำทม่ี ีอกั ษรนำ และการพรรณนา - คำทม่ี ตี ัวการันต์ ๓. อธิบายความหมายโดยนัย - อักษรย่อและเครอื่ งหมายวรรคตอน จากเรื่องทีอ่ า่ นอย่างหลากหลาย - ขอ้ ความทีเ่ ป็นการบรรยายและพรรณนา - ขอ้ ความที่มคี วามหมายโดยนัย ๔. แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ จากเรอื่ งที่อา่ น การอ่านจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น ๕. วิเคราะห์และแสดงความคดิ เหน็ - วรรณคดีในบทเรียน เก่ยี วกบั เร่อื งท่ีอ่านเพ่ือนำไปใชใ้ นการ - บทความ ดำเนินชวี ิต - บทโฆษณา - งานเขยี นประเภทโน้มนา้ วใจ ๖. อ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย คำสั่ง - ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ัติตาม การอา่ นงานเขียนเชงิ อธิบาย คำส่งั ข้อแนะนำ และปฏิบตั ิตาม เชน่ - การใช้พจนานกุ รม - การใช้วัสดอุ ุปกรณ์ - การอา่ นฉลากยา - คู่มอื และเอกสารที่เกยี่ วข้องกับนกั เรียน - ขา่ วสารทางราชการ
๑๐ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๗. อ่านหนงั สือท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เชน่ อย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น - หนงั สือทีน่ กั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั เกย่ี วกบั เร่อื งทอี่ า่ น - หนงั สือท่คี รูและนักเรยี นกำหนดร่วมกนั ๘. มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมาย ป.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว ของบทร้อยแก้ว และบทรอ้ ยกรอง และบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง ประกอบดว้ ย ๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค - คำทมี่ ีพยญั ชนะควบกล้ำ และข้อความท่ีเปน็ โวหาร - คำทม่ี อี กั ษรนำ - คำที่มีตวั การนั ต์ ๓. อ่านเร่ืองส้ันๆ อย่างหลากหลาย - คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ โดยจับเวลาแลว้ ถามเกี่ยวกับเรอื่ งท่อี ่าน - อกั ษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน ๔. แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ - วัน เดือน ปีแบบไทย จากเรอ่ื งทีอ่ า่ น - ขอ้ ความท่ีเป็นโวหารต่าง ๆ ๕. อธิบายการนำความรแู้ ละความคิด - สำนวนเปรยี บเทียบ จากเร่อื งทีอ่ ่านไปตดั สินใจแก้ปัญหา การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทำนองเสนาะ ในการดำเนินชีวติ การอา่ นจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เชน่ - เรอ่ื งสน้ั ๆ ๖. อ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คำส่งั - นทิ านและเพลงพน้ื บา้ น ข้อแนะนำ และปฏบิ ัตติ าม - บทความ - พระบรมราโชวาท - สารคดี - เรอื่ งสนั้ - งานเขียนประเภทโน้มนา้ ว - บทโฆษณา - ข่าว และเหตุการณ์สำคัญ การอา่ นเร็ว การอ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัตติ าม - การใชพ้ จนานกุ รม
๑๑ ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - การปฏบิ ตั ิตนในการอยู่รว่ มกันในสงั คม ๗. อธิบายความหมายของข้อมูล - ขอ้ ตกลงในการอยรู่ ่วมกันในโรงเรยี น และการ จากการอ่านแผนผงั แผนท่ี แผนภมู ิ ใช้สถานที่สาธารณะในชุมชนและท้องถน่ิ และกราฟ การอา่ นข้อมลู จากแผนผงั แผนที่ แผนภูมิ ๘. อ่านหนังสือตามความสนใจ และกราฟ และอธิบายคุณคา่ ทไี่ ด้รบั การอ่านหนังสอื ตามความสนใจ เช่น ๙. มีมารยาทในการอา่ น - หนังสือท่นี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนงั สอื อ่านที่ครแู ละนักเรียนกำหนดร่วมกนั มารยาทในการอ่าน สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย ๒. เขยี นสอ่ื สารด้วยคำและประโยคง่ายๆ การเขียนส่อื สาร - คำทใี่ ช้ในชีวติ ประจำวนั ๓. มมี ารยาทในการเขยี น - คำพนื้ ฐานในบทเรยี น - คำคลอ้ งจอง - ประโยคง่ายๆ มารยาทในการเขยี น เชน่ - เขยี นใหอ้ ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆา่ - ไม่ขีดเขยี นในที่สาธารณะ - ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบคุ คล
๑๒ ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๒ ๑. คดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตาม รปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒. เขยี นเรื่องส้นั ๆ เกย่ี วกับประสบการณ์ การเขยี นเร่ืองส้ันๆ เกีย่ วกบั ประสบการณ์ ๓. เขียนเรือ่ งสัน้ ๆ ตามจนิ ตนาการ การเขยี นเรื่องสน้ั ๆ ตามจนิ ตนาการ ๔. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน เชน่ - เขยี นให้อ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า ป.๓ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด - ไม่ขดี เขยี นในท่ีสาธารณะ ๒ เขยี นบรรยายเกย่ี วกบั ส่งิ ใดสง่ิ หน่ึงได้ - ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ อย่างชดั เจน และบคุ คล ๓. เขียนบนั ทกึ ประจำวนั - ไมเ่ ขียนลอ้ เลยี นผู้อน่ื หรือทำให้ผอู้ นื่ เสียหาย ๔. เขยี นจดหมายลาครู การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด ๕. เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ ตามรูปแบบการเขียน ตวั อกั ษรไทย ๖. มมี ารยาทในการเขยี น การเขียนบรรยายเก่ียวกับลกั ษณะ ของคน สัตว์ สงิ่ ของ สถานท่ี ป.๔ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด การเขยี นบนั ทึกประจำวัน และครง่ึ บรรทัด การเขียนจดหมายลาครู ๒. เขียนสอื่ สารโดยใช้คำได้ถูกตอ้ งชดั เจน การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการจากคำ และเหมาะสม ภาพและหวั ข้อทก่ี ำหนด มารยาทในการเขียน เชน่ - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไมข่ ีดฆา่ - ไม่ขีดเขยี นในที่สาธารณะ - ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบคุ คล - ไมเ่ ขยี นลอ้ เลียนผ้อู น่ื หรอื ทำให้ผู้อืน่ เสียหาย การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และครง่ึ บรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทย การเขยี นสื่อสาร เชน่ - คำขวัญ - คำแนะนำ
๑๓ ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. เขียนแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพ การนำแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ ความคดิ เพอ่ื ใช้พัฒนางานเขยี น ความคิดไปพฒั นางานเขียน ๔. เขยี นย่อความจากเรื่องสั้นๆ การเขยี นย่อความจากสอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ นิทาน ความเรยี งประเภทต่าง ๆ ประกาศ จดหมาย คำสอน ๕. เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบดิ ามารดา การเขยี นจดหมายถึงเพือ่ นและบิดามารดา ๖. เขียนบนั ทึกและเขยี นรายงาน การเขยี นบนั ทกึ และเขียนรายงานจาก จากการศึกษาคน้ คว้า การศกึ ษาค้นคว้า ๗. เขยี นเร่อื งตามจินตนาการ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ๘. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น ป.๕ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด และครึง่ บรรทัด การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกตอ้ งชัดเจน คร่ึงบรรทัดตามรปู แบบการเขยี นตวั อักษรไทย และเหมาะสม การเขยี นสือ่ สาร เชน่ - คำขวัญ ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ - คำอวยพร ความคดิ เพือ่ ใชพ้ ัฒนางานเขยี น - คำแนะนำและคำอธิบายแสดงขัน้ ตอน ๔. เขียนย่อความจากเรื่องทอ่ี า่ น การนำแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ ความคิดไปพัฒนางานเขียน ๕. เขยี นจดหมายถงึ ผู้ปกครองและญาติ การเขียนย่อความจากสอื่ ต่าง ๆ เช่น นิทาน ๖. เขียนแสดงความร้สู กึ และความคิดเหน็ ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ แจ้งความ ไดต้ รงตามเจตนา แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรยั ๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ การเขยี นจดหมายถงึ ผู้ปกครองและญาติ การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเหน็ ๘. เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ - ธนาณตั ิ - แบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์ การเขยี นเรื่องตามจินตนาการ
๑๔ ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๙. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น ป.๖ ๑. คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และ และคร่ึงบรรทัด ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย ๒. เขยี นส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกตอ้ งชัดเจน การเขียนส่อื สาร เช่น และเหมาะสม - คำขวญั - คำอวยพร - ประกาศ ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ การเขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ ความคดิ เพ่อื ใช้พัฒนางานเขียน ความคดิ ๔. เขยี นเรียงความ การเขยี นเรยี งความ ๕. เขียนย่อความจากเรอ่ื งที่อา่ น การเขียนยอ่ ความจากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ นิทาน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สนุ ทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำสั่ง ๖. เขยี นจดหมายสว่ นตัว การเขยี นจดหมายส่วนตวั - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเห็นใจ - จดหมายแสดงความยนิ ดี ๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ การกรอกแบบรายการ - แบบคำร้องต่าง ๆ - ใบสมัครศึกษาต่อ - แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณยี ภัณฑ์ ๘. เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการและ การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ ๙. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน
๑๕ สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ฟังคำแนะนำ คำส่ังง่าย ๆ การฟังและปฏิบัตติ ามคำแนะนำ และปฏิบตั ติ าม คำส่งั งา่ ยๆ ๒. ตอบคำถามและเลา่ เรอ่ื งทฟี่ ังและดู การจบั ใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็ ทัง้ ที่เปน็ ความร้แู ละความบนั เทงิ ความร้สู ึกจากเรื่องท่ีฟังและดู ท้ังที่เป็นความรู้ ๓. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ และความบันเทงิ เช่น จากเร่อื งทฟ่ี ังและดู - เรือ่ งเลา่ และสารคดีสำหรับเดก็ - นิทาน - การต์ นู - เรอื่ งขบขัน ๔. พดู สื่อสารไดต้ ามวตั ถุประสงค์ การพดู ส่อื สารในชวี ิตประจำวัน เช่น - การแนะนำตนเอง - การขอความช่วยเหลือ - การกลา่ วคำขอบคุณ - การกล่าวคำขอโทษ ๕. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟัง เชน่ - ตง้ั ใจฟงั ตามองผพู้ ูด - ไม่รบกวนผอู้ ่นื ขณะท่ฟี งั - ไม่ควรนำอาหารหรอื เคร่ืองด่มื ไปรับประทาน ขณะทฟ่ี ัง - ให้เกียรติผูพ้ ูดดว้ ยการปรบมอื - ไม่พดู สอดแทรกขณะทฟ่ี ัง
๑๖ ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง มารยาทในการดู เช่น - ต้ังใจดู - ไมส่ ่งเสียงดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผู้อน่ื มารยาทในการพดู เช่น - ใช้ถอ้ ยคำและกิรยิ าท่สี ุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใช้น้ำเสยี งน่มุ นวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะทผี่ อู้ ่นื กำลงั พดู ป.๒ ๑. ฟังคำแนะนำ คำสัง่ ทซี่ บั ซอ้ น การฟงั และปฏิบัตติ ามคำแนะนำ คำสง่ั ที่ และปฏิบัติตาม ซบั ซอ้ น ๒. เล่าเรื่องทีฟ่ ังและดูทั้งทเ่ี ป็นความรู้ การจบั ใจความและพดู แสดงความคิดเห็น และความบนั เทิง ความรสู้ กึ จากเรือ่ งท่ีฟงั และดู ท้งั ท่ีเป็นความรู้ ๓. บอกสาระสำคญั ของเรื่องทฟี่ งั และดู และความบนั เทิง เชน่ ๔. ต้งั คำถามและตอบคำถามเกย่ี วกับ - เร่อื งเล่าและสารคดีสำหรับเด็ก เรอื่ งทฟี่ งั และดู - นิทาน การต์ นู และเร่ืองขบขนั ๕. พูดแสดงความคดิ เหน็ และความรู้สกึ - รายการสำหรบั เด็ก จากเรอื่ งที่ฟังและดู - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจำวัน - เพลง ๖. พดู ส่ือสารได้ชัดเจนตรงตาม การพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน เชน่ วัตถุประสงค์ - การแนะนำตนเอง - การขอความช่วยเหลอื - การกล่าวคำขอบคุณ - การกล่าวคำขอโทษ - การพูดขอร้องในโอกาสตา่ ง ๆ - การเลา่ ประสบการณ์ในชวี ิตประจำวัน ๗. มมี ารยาทในการฟงั การดู และ มารยาทในการฟัง เช่น การพูด - ต้งั ใจฟงั ตามองผพู้ ดู - ไม่รบกวนผูอ้ ืน่ ขณะทีฟ่ ัง
๑๗ ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - ไม่ควรนำอาหารหรือเคร่อื งดื่มไปรับประทาน ขณะท่ีฟงั - ไม่พดู สอดแทรกขณะที่ฟัง มารยาทในการดู เชน่ - ต้ังใจดู - ไม่ส่งเสียงดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผอู้ ่ืน มารยาทในการพดู เชน่ - ใช้ถ้อยคำและกริ ยิ าท่ีสภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน้ ำ้ เสียงนุ่มนวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะที่ผอู้ นื่ กำลงั พูด - ไม่พูดล้อเลยี นให้ผอู้ ืน่ ไดร้ ับความอบั อาย หรือเสยี หาย ป.๓ ๑. เล่ารายละเอยี ดเกีย่ วกบั เร่ืองท่ีฟัง การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น และดทู ั้งทเ่ี ปน็ ความรแู้ ละความบันเทงิ และความรู้สึกจากเรอื่ งท่ีฟังและดูทงั้ ทเ่ี ปน็ ๒. บอกสาระสำคญั จากการฟงั และการดู ความรู้และความบนั เทิง เชน่ ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเกีย่ วกับ - เรอ่ื งเลา่ และสารคดีสำหรับเด็ก เรื่องที่ฟงั และดู - นทิ าน การต์ ูน เร่อื งขบขัน ๔. พูดแสดงความคดิ เหน็ และความรู้สกึ - รายการสำหรับเด็ก จากเร่ืองทฟ่ี งั และดู - ขา่ วและเหตกุ ารณใ์ นชีวิตประจำวัน - เพลง
๑๘ ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๕. พดู สอื่ สารไดช้ ัดเจนตรงตาม การพูดสือ่ สารในชีวิตประจำวัน เช่น วัตถุประสงค์ - การแนะนำตนเอง - การแนะนำสถานทใี่ นโรงเรียนและในชมุ ชน - การแนะนำ/เชิญชวนเกีย่ วกบั การปฏบิ ัตติ น ในด้านต่าง ๆ เชน่ การรักษาความสะอาดของ รา่ งกาย - การเลา่ ประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน - การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เช่น การพูดขอร้อง การพดู ทกั ทาย การกล่าวขอบคณุ และขอ โทษ การพดู ปฏิเสธ และการพดู ชักถาม ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟัง เช่น - ตั้งใจฟงั ตามองผ้พู ูด - ไม่รบกวนผูอ้ นื่ ขณะทฟี่ ัง - ไม่ควรนำอาหารหรอื เครอ่ื งด่ืม ไป รับประทานขณะท่ฟี ัง - ไม่แสดงกิรยิ าทไ่ี มเ่ หมาะสม เชน่ โห่ ฮา หาว - ให้เกียรติผูพ้ ดู ดว้ ยการปรบมอื - ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟัง มารยาทในการดู เชน่ - ตง้ั ใจดู - ไมส่ ่งเสยี งดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผ้อู ืน่ มารยาทในการพูด เชน่ - ใช้ถอ้ ยคำและกริ ยิ าทส่ี ภุ าพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใชน้ ำ้ เสยี งนมุ่ นวล - ไม่พดู สอดแทรกในขณะทผ่ี ูอ้ ืน่ กำลังพูด - ไม่พดู ล้อเลยี นให้ผ้อู นื่ ได้รับความอบั อายหรอื เสียหาย
๑๙ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๔ ๑. จำแนกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็น การจำแนกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เห็นจาก จากเรอ่ื งท่ฟี ังและดู เรือ่ งท่ฟี ังและดู ในชีวิตประจำวัน ๒. พูดสรุปความจากการฟงั และดู การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้ ๓. พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น และ ความคดิ ในเร่อื งที่ฟงั และดู จากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ ความรสู้ กึ เกย่ี วกบั เรอ่ื งทีฟ่ ังและดู - เรอ่ื งเลา่ ๔. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตผุ ล - บทความสน้ั ๆ จากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู - ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน - โฆษณา - สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ - เร่ืองราวจากบทเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ นื่ ๕. รายงานเร่อื งหรือประเด็นที่ศกึ ษา การรายงาน เช่น คน้ คว้าจากการฟัง การดู และการ - การพูดลำดบั ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน สนทนา - การพูดลำดับเหตกุ ารณ์ ๖. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ป.๕ ๑. พดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็น การจบั ใจความ และการพดู แสดงความรู้ และความรูส้ กึ จากเร่ืองท่ีฟงั และดู ความคิดในเรอื่ งทฟ่ี งั และดู จากสือ่ ต่าง ๆ เช่น ๒. ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตผุ ล - เร่อื งเลา่ จากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู - บทความ ๓. วเิ คราะห์ความนา่ เชื่อถือจากเรอื่ งทฟ่ี งั - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวนั และดอู ยา่ งมีเหตุผล - โฆษณา - สือ่ สอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ การวิเคราะห์ความนา่ เช่อื ถือจากเร่ืองที่ฟัง และดูในชวี ติ ประจำวนั ๔. พูดรายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นทีศ่ ึกษา การรายงาน เชน่ ค้นคว้าจากการฟงั การดู และการ - การพูดลำดับขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน สนทนา - การพดู ลำดบั เหตุการณ์ ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟงั การดู และการพูด
๒๐ ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป.๖ ๑. พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจใน จดุ ประสงคข์ องเรื่องที่ฟงั และดู จดุ ประสงคข์ องเรอื่ งทีฟ่ ังและดจู ากสอ่ื ต่าง ๆ ๒. ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล ไดแ้ ก่ จากเร่ืองทีฟ่ ังและดู - สอื่ ส่งิ พิมพ์ - สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ ๓. วเิ คราะห์ความนา่ เชอ่ื ถือจากการฟัง การวเิ คราะหค์ วามนา่ เชอ่ื ถือจากการฟังและ และดูสอื่ โฆษณาอย่างมีเหตผุ ล ดูสือ่ โฆษณา ๔. พูดรายงานเร่อื งหรือประเดน็ ท่ศี กึ ษา การรายงาน เช่น คน้ คว้าจากการฟงั การดู และการ - การพูดลำดับขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน สนทนา - การพดู ลำดบั เหตกุ ารณ์ ๕. พดู โน้มน้าวอยา่ งมเี หตผุ ล การพูดโน้มนา้ วในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เชน่ และนา่ เชื่อถอื - การเลอื กตงั้ กรรมการนักเรยี น - การรณรงค์ด้านต่าง ๆ - การโตว้ าที ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟงั การดู และการพดู และการพดู สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ และเลขไทย เลขไทย ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลูก และการอา่ น ของคำ เป็นคำ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รง ตามมาตรา การผนั คำ ความหมายของคำ ๓. เรียบเรยี งคำเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ การแต่งประโยค
๒๑ ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๔. ต่อคำคลอ้ งจองงา่ ยๆ คำคล้องจอง ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ และเลขไทย เลขไทย ๒. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลกู และการอา่ น ของคำ เปน็ คำ มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา การผันอกั ษรกลาง อักษรสงู และอกั ษรตำ่ คำทม่ี ีตวั การันต์ คำที่มพี ยัญชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำท่มี ีความหมายตรงขา้ มกนั คำทม่ี ี รร ความหมายของคำ ๓. เรียบเรยี งคำเป็นประโยคได้ตรงตาม การแต่งประโยค เจตนาของการสอ่ื สาร การเรียบเรียงประโยคเปน็ ข้อความสน้ั ๆ ๔. บอกลักษณะคำคล้องจอง คำคล้องจอง ๕. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ภาษาไทยมาตรฐาน ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ภาษาถิน่ ป.๓ ๑. เขียนสะกดคำและบอกความหมาย การสะกดคำ การแจกลูก และการอา่ น เป็น ของคำ คำ มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมต่ รง ตามมาตรา การผันอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอักษรต่ำ คำที่มพี ยญั ชนะควบกล้ำ คำทมี่ อี ักษรนำ คำท่ีประวสิ รรชนีย์ และ คำที่ไม่ประวสิ รรชนีย์ คำทีม่ ี ฤ ฤๅ คำที่ใช้ บัน บรร
๒๒ ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง คำที่ใช้ รร ๓. ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคำในประโยค คำท่ีมีตวั การนั ต์ ความหมายของคำ ๔. ใชพ้ จนานุกรมค้นหาความหมายของคำ ชนิดของคำ ได้แก่ ๕. แตง่ ประโยคง่ายๆ - คำนาม - คำสรรพนาม ๖. แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ - คำกรยิ า ๗. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน การใช้พจนานุกรม และภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ การแตง่ ประโยคเพอ่ื การส่อื สาร ไดแ้ ก่ ป.๔ ๑. สะกดคำและบอกความหมายของคำ - ประโยคบอกเล่า ในบรบิ ทต่างๆ - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคำถาม ๒. ระบุชนิดและหน้าทขี่ องคำในประโยค - ประโยคขอรอ้ ง - ประโยคคำสั่ง ๓ ใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมายของคำ คำคลอ้ งจอง ๔. แต่งประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา คำขวัญ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่ิน คำในแม่ ก กา มาตราตวั สะกด การผันอกั ษร คำเปน็ คำตาย คำพ้อง ชนิดของคำ ไดแ้ ก่ - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกรยิ า - คำวเิ ศษณ์ การใชพ้ จนานกุ รม ประโยคสามัญ
๒๓ ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ส่วนประกอบของประโยค ๕. แตง่ บทร้อยกรองและคำขวัญ - ประโยค ๒ สว่ น ๖. บอกความหมายของสำนวน - ประโยค ๓ ส่วน ๗. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับ กลอนสี่ ภาษาถ่ินได้ คำขวัญ ป.๕ ๑. ระบชุ นิดและหน้าทีข่ องคำในประโยค สำนวนทีเ่ ปน็ คำพงั เพยและสภุ าษิต ภาษาไทยมาตรฐาน ๒. จำแนกสว่ นประกอบของประโยค ภาษาถ่ิน ๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิ่น ชนดิ ของคำ ได้แก่ ๔. ใช้คำราชาศัพท์ - คำบุพบท ๕. บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย - คำสันธาน ๖. แตง่ บทรอ้ ยกรอง - คำอุทาน ๗. ใช้สำนวนได้ถกู ต้อง ประโยคและสว่ นประกอบของประโยค ป.๖ ๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคำ ภาษาไทยมาตรฐาน ในประโยค ภาษาถน่ิ คำราชาศัพท์ ๒. ใชค้ ำไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ และบุคคล กาพยย์ านี ๑๑ สำนวนท่เี ปน็ คำพงั เพยและสภุ าษิต ชนิดของคำ - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกริยา - คำวิเศษณ์ - คำบุพบท - คำเชอื่ ม - คำอุทาน คำราชาศพั ท์ ระดับภาษา ภาษาถนิ่
๒๔ ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ๓. รวบรวมและบอกความหมายของคำ คำที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ ภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย ๔. ระบุลักษณะของประโยค กล่มุ คำหรอื วลี ประโยคสามญั ๕. แตง่ บทร้อยกรอง ประโยครวม ๖. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บสำนวน ประโยคซอ้ น ทเ่ี ป็นคำพงั เพย และสุภาษติ กลอนสภุ าพ สำนวนทเี่ ปน็ คำพงั เพย และสภุ าษิต สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. บอกข้อคดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอ่านหรอื การฟัง วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรอง วรรณกรรมร้อยแก้วและรอ้ ยกรองสำหรบั สำหรับเด็ก เช่น เด็ก - นทิ าน - เรื่องสนั้ ง่าย ๆ - ปรศิ นาคำทาย - บทรอ้ งเล่น - บทอาขยาน - บทรอ้ ยกรอง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน
๒๕ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๒. ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนด และ บทอาขยานและบทร้อยกรอง บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.๒ ๑. ระบขุ ้อคดิ ทีไ่ ดจ้ ากการอ่าน วรรณกรรมร้อยแกว้ ร้อยกรองสำหรบั เดก็ หรือชการฟงั วรรณกรรมสำหรบั เด็ก - นทิ าน เพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน - เรือ่ งสั้นง่ายๆ - ปริศนาคำทาย - บทอาขยาน - บทรอ้ ยกรอง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน ๒. ร้องบทร้องเลน่ สำหรับเด็กในท้องถิน่ บทร้องเลน่ ท่มี คี ุณค่า - บทรอ้ งเลน่ ในท้องถนิ่ - บทรอ้ งเล่นในการละเล่นของเด็กไทย ๓. ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ณุ ค่า บทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ ค่า - บทอาขยานตามที่กำหนด ตามความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป.๓ ๑. ระบขุ อ้ คิดทไี่ ด้จากการอ่านวรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพ้นื บา้ น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - นิทานหรอื เรอื่ งในท้องถน่ิ ๒. รจู้ ักเพลงพน้ื บา้ นและเพลงกล่อมเดก็ - เรอ่ื งส้ันง่ายๆ ปรศิ นาคำทาย เพอื่ ปลูกฝงั ความชืน่ ชมวัฒนธรรมท้องถนิ่ - บทร้อยกรอง ๓. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั วรรณคดี ท่ี - เพลงพ้นื บ้าน อา่ น - เพลงกล่อมเดก็ - วรรณกรรมและวรรณคดใี นบทเรียน และตามความสนใจ ๔. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่กี ำหนดและ บทอาขยานและบทร้อยกรองทมี่ ีคณุ คา่ บทรอ้ ยกรองทมี่ คี ณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ ำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.๔ ๑. ระบุข้อคิดจากนิทานพืน้ บา้ น วรรณคดแี ละวรรณกรรม เช่น หรอื นทิ านคติธรรม - นทิ านพน้ื บ้าน - นิทานคตธิ รรม
๒๖ ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๒. อธิบายข้อคดิ จากการอ่านเพอื่ นำไปใช้ - เพลงพ้ืนบา้ น ในชีวติ จริง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน และ ตามความสนใจ ๓. รอ้ งเพลงพ้ืนบา้ น เพลงพืน้ บา้ น ๔. ทอ่ งจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนด และ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่า บทรอ้ ยกรองที่มคี ุณค่าชตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.๕ ๑. สรุปเร่ืองจากวรรณคดหี รือวรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น ท่อี ่าน - นิทานพนื้ บา้ น ๒. ระบุความรูแ้ ละข้อคดิ จากการอา่ น - นทิ านคติธรรม วรรณคดแี ละวรรณกรรมทส่ี ามารถนำไปใช้ - เพลงพน้ื บ้าน ในชวี ติ จรงิ - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน และ ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ ตามความสนใจ วรรณกรรม ๔. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและ บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ณุ คา่ บทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ ำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป.๖ ๑. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี วรรณคดแี ละวรรณกรรม เช่น หรอื วรรณกรรมทีอ่ า่ น - นิทานพื้นบ้านท้องถ่นิ ตนเองและท้องถิ่นอ่นื ๒. เลา่ นิทานพ้ืนบา้ นท้องถ่นิ ตนเอง - นิทานคตธิ รรม และนิทานพ้ืนบ้านของท้องถนิ่ อ่ืน - เพลงพื้นบา้ น ๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดี - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และวรรณกรรมท่ีอา่ นและนำไป และตามความสนใจ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ๔. ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคุณค่า บทร้อยกรองทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ
๒๗ โครงสรา้ งหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ๑ ๒๐๐ ชว่ั โมง ๕ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐ ชั่วโมง ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ชว่ั โมง ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐ ชัว่ โมง ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ ท ๑๒๑๐๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ท ๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ท ๑๔๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕
๒๘ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐ ช่ัวโมง ๔ ช่ัวโมง/สัปดาห์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐ ช่วั โมง ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ ท ๑๖๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
๒๙ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความสั้น ๆ บอกความหมายของคำและข้อความ ตอบคำถาม เลา่ เร่อื งยอ่ คาดคะเนเหตุการณ์ เลอื กอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่อง ที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาท ในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ มีมารยาทใน การเขียน ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดง ความคดิ เห็นและความรสู้ กึ จากเร่ืองที่ฟงั และดู พูดสือ่ สารได้ตามวัตถปุ ระสงค์ เน้นมารยาทในการฟงั การดู และการพดู ฝกึ ทักษะการเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่าย ๆ ต่อคำคล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ฝึกท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตาม ความสนใจ
๓๐ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละค่านิยม ลงมอื ปฏิบตั จิ ริงในสถานการณท์ ีห่ ลากหลายเพ่ือสร้างผลผลติ เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการแกป้ ญั หา จัดการส่งิ ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ชี้วัด คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ เลอื กอ่านหนังสอื ตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรือ่ งทอ่ี ่าน อา่ นข้อเขียน เชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจง เตม็ บรรทดั เขียนเรอ่ื งสั้น ๆ เกย่ี วกบั ประสบการณ์ เขยี นเรื่องสน้ั ๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝกึ ทกั ษะการฟัง ฟงั คำแนะนำ คำสัง่ ทีซ่ ับซอ้ นและปฏบิ ตั ิตาม เล่าเร่อื ง บอกสาระสำคัญของเร่อื ง ต้ังคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทใน การฟัง การดูและการพูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและ บอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคล้อง จอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับใจความสำคัญจากเรื่อง
๓๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องบทร้อง เลน่ สำหรับเดก็ ในท้องถ่ิน ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละคา่ นิยม ลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ในสถานการณ์ท่ีหลากหลายเพ่ือสรา้ งผลผลติ เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารได้ถูกต้อง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกป้ ญั หา จัดการส่งิ ตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวชี้วดั
๓๒ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ฝึกอ่านออกเสียงคำ ขอ้ ความ เรอื่ งส้นั ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำและ ขอ้ ความทีอ่ ่าน ตัง้ คำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรปุ ความรู้ ข้อคิด จากเรื่องทีอ่ า่ น เพื่อนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เลอื กอ่านหนังสอื ตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอและนำเสนอ เรือ่ งที่อ่าน อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธบิ าย และปฏบิ ตั ิตามคำส่ังหรอื ข้อแนะนำ อธบิ ายความหมายของข้อมูลจาก แผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือดว้ ยตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดู และ การพูด เล่าและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก สื่อสารได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอก ความหมายของคำ ระบุชนิด หน้าที่ของคำ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคำคลอ้ งจองและคำขวัญ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิด ที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน รู้จักเพลงพืน้ บา้ น เพลงกล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝัง ความช่นื ชมวัฒนธรรมท้องถ่ิน แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับวรรณคดีทีอ่ า่ น ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ ตามความสนใจ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละค่านยิ ม ลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ในสถานการณ์ทีห่ ลากหลายเพื่อสร้างผลผลติ เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ ส่อื สารได้ถูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการแกป้ ญั หา จัดการส่ิงตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชี้วัด
๓๓ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวน จากเรื่องที่อ่าน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่าง สมำ่ เสมอและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคดั ลายมือด้วยตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและครงึ่ บรรทัด เขียนสือ่ สารโดยใชค้ ำได้ถูกตอ้ ง ชัดเจนและเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งและ แผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนางานเขยี น เขียนย่อความจากเรื่องสัน้ ๆ เขียนจดหมายถึงเพือ่ นและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปจากการฟัง และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถาม เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการ สนทนา มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอก ความหมายของคำในบรบิ ทต่าง ๆ ระบชุ นดิ และหน้าท่ีของคำในประโยค ใช้พจนานกุ รมคน้ หาความหมาย ของคำ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ บอกความหมายของสำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้ ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรมอธิบาย ข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริงร้องเพลงพื้นบ้านท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย กรองทีม่ ีคณุ ค่าตามความสนใจ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ลงมือปฏิบัตจิ รงิ ในสถานการณ์ที่หลากหลายเพ่อื สรา้ งผลผลติ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารไดถ้ ูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยกุ ต์ใช้ในการแก้ปัญหา จดั การส่ิงตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั
๓๔ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวช้ีวดั
๓๕ คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ฝกึ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและข้อความ ทีเ่ ป็นการบรรยายและการพรรณนา อธบิ ายความหมายโดยนยั แยกขอ้ เทจ็ จรงิ ข้อคดิ เห็น วเิ คราะห์ แสดง ความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตาม ความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื ง แผนภาพความคิด เขยี นยอ่ ความ เขียนจดหมายถงึ ผ้ปู กครองและญาติ เขยี นแสดง ความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคำถาม ตอบคำถาม วิเคราะห์ความ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ใช้คำราชาศัพท์ บอกคำ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้สำนวนได้ถูกต้อง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือ วรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ วรรณกรรม ทอ่ งจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ุณค่าตามความสนใจ โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคตแิ ละคา่ นยิ ม ลงมอื ปฏิบัตจิ ริงในสถานการณท์ ี่หลากหลายเพอ่ื สร้างผลผลติ เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารได้ถกู ตอ้ ง รกั การเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการแกป้ ญั หา จัดการสงิ่ ต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ช้ีวัด
๓๖ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง ฝกึ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความ ท่ีเป็นโวหาร อา่ นเรือ่ งสน้ั ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ จากเรือ่ งที่อ่าน วิเคราะห์และ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าที่ได้รับ มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัว บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียนจดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทใน การเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องทีฟ่ ังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความนา่ เชื่อถอื จากเรื่องที่ฟังและดสู อ่ื โฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการ สนทนา พดู โน้มน้าวอย่างมีเหตผุ ลและน่าเช่อื ถอื มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด ฝึกวิเคราะหช์ นดิ และหน้าที่ ของคำในประโยค ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคำ ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์เปรียบเทียบ สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทาน พืน้ บา้ นทอ้ งถิ่นตนเองและนทิ านพ้ืนบ้านของท้องถน่ิ อื่น อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน และนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ทอ่ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อย โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุกผ่านทักษะ/กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การพูดและการดู การสื่อความ กระบวนการกลุ่ม การแสวงหาความรู้ การคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น การสร้างความคิดรวบยอด รวมทั้งมีการประยุกต์ความรู้ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริงในสถานการณ์ทหี่ ลากหลายเพื่อสร้างผลผลติ เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ ส่ือสารได้ถูกตอ้ ง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติและค่านิยม ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการแกป้ ัญหา จดั การสิ่งต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน
๓๗ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวช้ีวัด
๓๘ โครงสร้างรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
๓๙ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ โครงสร้างรายวชิ าพื้นฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง หน่วย ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ท่ี ตวั ชีว้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน หลักภาษาไทย ท ๔.๑ ป. ๑/๑ ตวั อกั ษรเป็นเคร่ืองหมายทใี่ ช้แทนเสียง ๕ ๒ ๑ เตรยี มพร้อม ตวั อักษรไทยมีพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย ซงึ่ พยญั ชนะ สระ และ วรรณยุกต์ใช้ประสมคำให้มคี วามหมาย ๒ สระ −า ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ −า ออกเสียง อา เป็นสระเสียงยาว ๕ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๓ สระ −ี ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขยี นไวข้ ้างหลงั พยญั ชนะตน้ คำท่ใี ช้ ๔ สระ −ู ๕ สระ เ− ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สื่อสารในชีวิตประจำวนั มีคำท่ีประสมดว้ ย ๖ สระ แ− ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๗ สระ โ− ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระ −า ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำสระ −ี ออกเสียง อี เป็นสระเสยี งยาว ๕ ๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เขยี นไว้ขา้ งบนพยัญชนะตน้ คำทใี่ ช้สื่อสาร ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ในชีวติ ประจำวันมีคำทปี่ ระสมด้วยสระ −ี ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ −ู ออกเสียง อู เป็นสระเสยี งยาว ๔๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เขียนไวข้ ้างลา่ งพยัญชนะตน้ คำที่ใช้ใน ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ชีวิตประจำวัน มีคำท่ีประสมด้วย สระ −ู สระ เ− ออกเสยี ง เอ เป็นสระเสยี งยาว ๕ ๒ เขียนไว้ข้างหนา้ พยญั ชนะต้น คำทใ่ี ช้ใน ชวี ติ ประจำวนั มีคำที่ประสมด้วยสระ เ− สระ แ− ออกเสยี ง แอ เป็นสระเสยี งยาว ๕ ๒ เขียนไว้ขา้ งหนา้ พยญั ชนะต้น คำทใ่ี ช้ใน ชีวิตประจำวันมีคำที่ประสมด้วยสระ แ− สระ โ− ออกเสียง โอ เปน็ สระเสียงยาว ๕ ๒ เขียนไวข้ า้ งหน้าพยัญชนะต้น คำที่ใช้ใน ชีวติ ประจำวนั มคี ำทีป่ ระสมด้วยสระ โ−
๔๐ หนว่ ย ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ท่ี ตัวชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๘ สระ −อ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ −อ ออกเสยี ง ออ เป็นสระเสยี งยาว ๕ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขยี นไว้ขา้ งหลงั พยญั ชนะตน้ คำท่ใี ช้ใน ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ชวี ติ ประจำวันมีคำทป่ี ระสมดว้ ยสระ −อ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ๙ สระ −ุ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ −ุ ออกเสยี ง อุ เปน็ สระเสยี งส้นั เขยี น ๕ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ไว้ข้างล่างพยญั ชนะตน้ คำที่ใช้ใน ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ชวี ติ ประจำวนั มีคำที่ประสมดว้ ย สระ −ุ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ๑๐ สระ −ิ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ −ิ ออกเสียง อิ เปน็ สระเสยี งสน้ั ๕๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขยี นไวข้ า้ งบนพยญั ชนะตน้ คำท่ีใช้ใน ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ชวี ติ ประจำวันมีคำทป่ี ระสมดว้ ยสระ −ิ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๑๑ สระ −ึ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระ −ึ ออกเสยี ง อึ เป็นสระเสียงสนั้ เขียน ๔ ๒ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ไวข้ า้ งบนพยญั ชนะตน้ คำท่ใี ชใ้ น ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ชีวิตประจำวนั มีคำทป่ี ระสมดว้ ยสระ −ึ ๑๒ สระ ไ− ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ ไ− ออกเสียง ไอ ซ่ึงมีเสียงเหมือน ๔๒ ไมม้ ลาย ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เสยี ง อะ ที่มี ย สะกด เป็นสระเสียงส้ัน เขียนไว้ข้างหน้าพยญั ชนะตน้ คำที่ใช้ใน ชวี ิตประจำวันมีคำทีป่ ระสมดว้ ยสระ ไ− ๑๓ สระ ใ− สระ ใ− ออกเสยี งเหมอื น สระ ไ− ๔๒ ไมม้ ้วน เป็นสระเสียงสัน้ เขียนไว้ข้างหน้า พยญั ชนะต้น คำท่ปี ระสมด้วยสระ ใ− ที่ใช้ในชวี ิตประจำวันมี ๒๐ คำ ๑๔ สระ −ื สระ −ื ออกเสยี ง ออื เปน็ สระเสยี งยาว ๔ ๒ เขียนไวข้ ้างบนพยัญชนะตน้ คำทป่ี ระสม ดว้ ยเสียง ออื แต่ไมม่ ีตวั สะกด จะใช้รปู −ือ คำทใี่ ช้ในชีวิตประจำวนั มคี ำท่ปี ระสมดว้ ยสระ −ื และ −ือ ๑๕ สระ −ำ สระ −ำ ออกเสยี ง อำ ซ่งึ มเี สียง เหมอื น ๔ ๒ เสียง อะ ทมี่ ี ม สะกด เปน็ สระเสยี งสน้ั คำท่ใี ช้ในชวี ติ ประจำวัน มคี ำที่ประสมด้วย สระ −ำ
๔๑ หนว่ ย ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี ตวั ช้วี ัด (ชั่วโมง) คะแนน สระ เ−า ออกเสยี ง เอา ซ่ึงมเี สยี งเหมอื น ๑๖ สระ เ−า ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เสียง อะ ทีม่ ี ว สะกด เป็นสระเสยี งส้นั ๔ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เขียน เ− ไวข้ ้างหน้าพยญั ชนะต้น ๑๗ สระ เ−ีย ท ๔.๑ ป. ๑/๒ และเขยี น −า ไวข้ ้างหลงั พยัญชนะตน้ ๔ ๒ คำทใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน มีคำท่ีประสมด้วย ๑๘ สระ เ−ือ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ−า ๔ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ−ีย ออกเสียง เอยี เป็นสระเสียงยาว ๑๙ สระ −วั ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขยี น เ− ไวข้ า้ งหนา้ พยัญชนะตน้ ๔ ๒ ๒๐ สระ −ะ เขยี น −ี ไว้ข้างบนพยญั ชนะต้น ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ และเขียน −ย ไว้ข้างหลงั พยัญชนะต้น ๕ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำทใ่ี ชใ้ นชีวิตประจำวัน มคี ำท่ีประสมด้วย ท ๔.๑ ป. ๑/๒ สระ เ−ีย สระ เ−อื ออกเสียง เอือ เป็นสระเสียงยาว ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เขยี น เ− ไว้ขา้ งหนา้ พยัญชนะตน้ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ เขยี น −ื ไวข้ า้ งบนพยัญชนะตน้ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ และเขียน −อ ไวข้ ้างหลังพยัญชนะตน้ คำท่ีใช้ในชวี ติ ประจำวัน มีคำท่ีประสมดว้ ย ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ−ือ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ −วั ออกเสยี ง อัว เป็นสระเสียงยาว ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขยี น −ั ไวข้ า้ งบนพยัญชนะต้น และเขยี น −ว ไว้ข้างหลงั พยัญชนะตน้ คำท่ใี ช้ในชีวิตประจำวนั มคี ำที่ประสมดว้ ย สระ −วั สระ −ะ ออกเสียง อะ เป็นสระเสยี งส้ัน เขียนไวข้ า้ งหลงั พยญั ชนะต้น คำท่ปี ระสมดว้ ยเสียง อะ ถา้ มีตัวสะกด จะใช้รูป −ั เขยี นไวข้ ้างบนพยญั ชนะตน้ คำที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน มีคำท่ีประสมดว้ ย สระ −ะ และ −ั
๔๒ หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี ตัวชีว้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน ๒๑ สระ เ−ะ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ เ−ะ ออกเสยี ง เอะ เป็นสระเสียงส้ัน ๔ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขียน เ− ไวข้ ้างหน้าพยญั ชนะตน้ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ และเขยี น −ะ ไวข้ า้ งหลังพยญั ชนะต้น ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ประสมด้วยเสียง เอะ ถา้ มตี วั สะกด ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ จะใชร้ ปู เ−็ คำท่ใี ช้ในชวี ิตประจำวนั ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มคี ำทป่ี ระสมดว้ ยสระ เ−ะ และ เ−็ ๒๒ สระ แ−ะ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ สระ แ−ะ ออกเสียง แอะ เป็นสระเสยี งส้ัน ๔ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ เขยี น แ− ไวข้ ้างหน้าพยัญชนะต้น ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ และเขียน −ะ ไวข้ า้ งหลังพยญั ชนะต้น ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำที่ประสมด้วยเสียง แอะ ถ้ามีตวั สะกด จะใชร้ ูป แ−็ คำที่ใช้ในชวี ิตประจำวัน มีคำทปี่ ระสมดว้ ยสระ แ−ะ และ แ−็ ๒๓ สระ เ−าะ สระ เ−าะ ออกเสียงเอาะ เปน็ สระเสียงส้นั ๔ ๒ ๒๔ สระ โ−ะ เขียน เ− ไวข้ ้างหนา้ พยัญชนะต้น และเขียน −าะ ไว้ข้างหลังพยัญชนะตน้ คำทใี่ ชใ้ นชีวิตประจำวัน มีคำท่ีประสม ดว้ ยสระ เ−าะ สระ โ−ะ ออกเสยี ง โอะ เปน็ สระเสียงส้ัน ๔ ๑ เขียน โ− ไวข้ ้างหนา้ พยญั ชนะตน้ และเขียน −ะ ไว้ข้างหลงั พยัญชนะต้น คำทีป่ ระสมด้วยเสยี ง โอะ ถ้ามีตัวสะกด จะไมป่ รากฏรปู สระ คำท่ีใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน มคี ำท่ีประสมด้วยสระ โ−ะ ๒๕ สระ เ−อะ สระ เ−อะ ออกเสียง เออะ ๔๑ เป็นสระเสยี งส้ัน เขียน เ− ไวข้ ้างหน้าพยญั ชนะตน้ และเขยี น −อะ ไวข้ า้ งหลงั พยัญชนะต้น คำทีใ่ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน มคี ำท่ีประสม ด้วยสระ เ−อะ
๔๓ หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ท่ี ตัวช้วี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน สระ เ−อ ออกเสียง เออ เปน็ สระเสยี งยาว ๒๖ สระ เ−อ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำทีป่ ระสมดว้ ยเสียง เออ ถ้าไม่มีตวั สะกด ๕ ๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ จะใชร้ ูป เ−อ ถ้ามี ย สะกด ๒๗ มาตรา ก กา ท ๔.๑ ป. ๑/๒ จะใช้รูป เ−ย ถา้ มีตวั สะกดอื่น ๆ ๕ ๒ ๒๘ มาตรา กง จะใช้รปู เ−ิ คำท่ีใช้ในชวี ิตประจำวนั ๒๙ มาตรา กม ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ มคี ำทป่ี ระสมดว้ ยสระ เ−อ เ−ย และ เ−ิ ๓๐ มาตรา เกย ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่ไมม่ ตี วั สะกดทกุ คำ จดั เป็นคำใน ๓๑ มาตรา เกอว ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มาตรา ก กา ๓๒ มาตรา กน ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ๓๓ มาตรา กก ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มี ง เป็นตัวสะกดทกุ คำ จัดเปน็ คำใน ๕ ๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มาตรา กง ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำทม่ี ี ม เป็นตวั สะกดทุกคำ จัดเปน็ คำใน ๕ ๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มาตรา กม ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำท่ีมี ย เปน็ ตัวสะกดทกุ คำ จดั เป็นคำใน ๔ ๑ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มาตรา เกย ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำทม่ี ี ว เป็นตัวสะกดทกุ คำ จัดเป็นคำใน ๔ ๑ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มาตรา เกอว ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มเี สยี งตัวสะกดเหมือนเสียง น ๕ ๒ ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ทุกคำ ไมว่ ่าจะใช้ น ณ ญ ร ล ฬ เป็น ๕ ๒ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ตวั สะกด จัดเป็นคำในมาตรา กน ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ คำที่มีเสียงตวั สะกดเหมือนเสยี ง ก ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ทุกคำ ไมว่ า่ จะใช้ ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกด จดั เป็นคำในมาตรา กก
๔๔ หนว่ ย ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี ตวั ชวี้ ัด (ช่ัวโมง) คะแนน คำท่มี ีเสียงตวั สะกดเหมือนเสียง บ ๓๔ มาตรา กบ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ทุกคำ ไมว่ า่ จะใช้ บ ป พ ฟ ภ เป็น ๕๒ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ตัวสะกด จดั เป็นคำในมาตรา กบ ๔๑ ๓๕ มาตรา กด ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำทมี่ ีเสยี งตัวสะกดเหมอื นเสียง ด ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ทุกคำ ไมว่ า่ จะใช้ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ๔๑ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกดจัดเป็นคำใน ท ๔.๑ ป. ๑/๒ มาตรา กด ๔๒ ๑. คำอกั ษรควบมพี ยญั ชนะตน้ ๒ ตัว ๔๒ ๓๖ อักษรควบและ ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ท่ีออกเสยี งพร้อมกัน ๒. คำอกั ษรนำมพี ยญั ชนะต้น ๒ ตัว ๔๒ อักษรนำ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ ออกเสยี งเหมือนมี ห นำ ๕๒ บางคำออกเสียงคร้งั เดยี ว ท ๔.๑ ป. ๑/๒ บางคำออกเสยี งสองครั้ง การผนั คำใช้เสยี งและรูปวรรณยกุ ต์ ทำให้ ๓๗ การผันคำ ท ๑.๑ ป. ๑/๑ เสียงและความหมายของคำเปลยี่ นไป ๓๘ คำคลอ้ งจอง ท ๔.๑ ป. ๑/๒ คำคลอ้ งจองท่ีไม่มตี ัวสะกด จะต้องมเี สยี ง ท ๑.๑ ป. ๑/๑ สระเหมอื นกัน สว่ นคำคล้องจองทม่ี ี ท ๔.๑ ป. ๑/๒ ตวั สะกดตอ้ งมีเสยี งสระและเสยี งตัวสะกด เหมือนกนั ๓๙ การแตง่ ประโยค ท ๑.๑ ป. ๑/๑ ประโยคจะมคี ำตัง้ แต่ ๒ คำ ขึ้นไป และบอกให้ทราบว่า ใคร ทำอะไร ท ๒.๑ ป. ๑/๒, ป. ๑/๓ หรอื เป็นอย่างไร ทักษะการฟงั การดู และการพูดเป็น ท ๔.๑ ป. ๑/๓ พ้นื ฐานการใช้ภาษาที่สำคัญ นำไปสู่ การพฒั นาการอา่ น และการเขยี น ๔๐ การฟงั การดู ท ๓.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, และการพดู ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, ป. ๑/๕
๔๕ หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี ตวั ชวี้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน การอ่านและการฟังวรรณคดี วรรณคดี ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรับ ๒๐ ๖ ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, เดก็ ทำใหไ้ ดข้ ้อคิดท่ีนำมาประยุกตใ์ ช้ใน และวรรณกรรม ป. ๑/๕, ป. ๑/๖, ชวี ิตประจำวนั ๑๙๘ ๘๐ ป. ๑/๗, ป. ๑/๘ ๒ ๒๐ ๔๑ เจ้าเน้ือออ่ นเอย ๒๐๐ ๑๐๐ ท ๕.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ มาเลน่ กนั ไหม ของเธอของฉัน ฝนตก แดดออก เรารกั เมอื งไทย ตง้ั ไข่ลม้ ต้มไขก่ ิน แมวเหมียว กระตา่ ยกบั เตา่ รวมระหว่างปี ปลายปี รวมตลอดปี
๔๖ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ โครงสรา้ งรายวิชาพ้นื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง หน่วย ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี ตัวชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน หลกั ภาษาไทย ท ๔.๑ ป. ๒/๑ ตัวอักษรไทยประกอบดว้ ย พยญั ชนะ สระ ๗๓ ๑ ตวั อกั ษรไทย ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย ซ่ึงสามารถนำมา ๖๒ ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ประกอบเป็นคำ เพือ่ ใช้ใน การ ๖๒ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ สอ่ื สาร ๖๒ ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ๒ มาตรา ก กา ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา ก กา เปน็ คำทีไ่ ม่มตี ัวสะกด ๖๒ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ การอ่าน การเขียน และรู้ความหมาย ๖๒ ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ของคำที่ถูกต้อง ทำให้สามารถนำคำ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ๓ มาตรา กง ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา กง เป็นคำท่มี ี ง เป็นตวั สะกด ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ การอา่ น การเขียน และรูค้ วามหมาย ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ของคำที่ถูกต้อง ทำให้สามารถนำคำ ไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ ๔ มาตรา กม มาตรา กม เป็นคำท่มี ี ม เป็นตวั สะกด การอา่ น การเขียน และรู้ความหมาย ของคำที่ถกู ต้อง ทำให้สามารถนำคำ ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ ๕ มาตรา เกย มาตรา เกย เป็นคำทีม่ ี ย เป็นตวั สะกด การอ่าน การเขยี น และรู้ความหมาย ของคำท่ถี ูกต้อง ทำให้สามารถนำคำ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ๖ มาตรา เกอว มาตรา เกอว เปน็ คำทีม่ ี ว เปน็ ตวั สะกด การอ่าน การเขียน และร้คู วามหมายของคำท่ถี ูกตอ้ ง ทำให้สามารถนำคำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั ได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106