Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2566

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2566

Published by macnattanon32, 2023-06-08 06:28:17

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2566 โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง

Search

Read the Text Version

ก คำนำ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฉบับนี้ เป็นเอกสารประกอบหลักสูตร สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นบึงทับช้าง พุทธศักราช ๒๕๖6 จัดทำเพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจดั การเรียนการ สอนในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับ ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) มอี งคป์ ระกอบ ดังตอ่ ไปน้ี - วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ และเป้าประสงค์ - สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - คุณภาพผู้เรยี น - ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง - โครงสรา้ งหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ - คำอธบิ ายรายวชิ า - โครงสรา้ งรายวชิ า - สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ - การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ คณะผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ฉบบั นี้ จนสำเร็จลุลว่ งเปน็ อย่างดีและหวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่าจะเกดิ ประโยชน์ตอ่ การจดั การเรียนรู้ใหก้ ับผู้เรียนต่อไป กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้จัดทำ

สารบัญ ข เรอ่ื ง หน้า คำนำ ก สารบญั ข สาระสำคญั 1 วิสัยทศั น์ พันธกจิ และเป้าประสงค์ 2 สมรรถนะของผเู้ รียน และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 2 สาระและมาตรฐานการเรียนรูวทิ ยาศาสตร์ 4 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 6 คุณภาพผู้เรยี น 8 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 10 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 11 คำอธบิ ายรายวิชาและโครงสร้างรายวชิ า 43 สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 90 เกณฑ์จบการศึกษา 91 เอกสารอา้ งองิ 103 อภิธานคำศพั ท์ 104

1 สาระสำคญั หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านบึงทับช้าง พุทธศักราช ๒๕๖๖ จัดทำขึ้นโดยยึดมาตรฐาน ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มุ่งหวงั ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ เน้นการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคญั ในการค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน การสบื เสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผ้เู รยี นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มกี ารทำกิจกรรม ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชั้น โดยกำหนดสาระสำคญั ดังน้ี ๑. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตการดำรงชีวิตของ มนุษย์และสตั ว์การดำรงชีวิตของพืช พนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และววิ ฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ๒. วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนท่ี พลังงาน และคลืน่ ๓. วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสรุ ิยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวทิ ยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อม ๔. เทคโนโลยี ๔.๑ การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชวี ิต ในสังคมทีม่ ีการเปล่ียนแปลง อยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อนื่ ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพฒั นา งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดย คำนึงถึงผลกระทบต่อชวี ิตสังคม และสิง่ แวดล้อม ๔.๒ วทิ ยาการคำนวณ เรียนรู้เก่ยี วกบั การคิดเชงิ คำนวณ การคิดวเิ คราะห์ แก้ปัญหาเปน็ ขน้ั ตอนและ เป็นระบบ ประยุกต์ใชค้ วามรู้ดา้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหา ทีพ่ บในชีวติ จริงไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

2 วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ และเปา้ ประสงค์ วิสยั ทัศน์ โรงเรียนบ้านบึงทับช้างเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ นักเรียนมีสุขภาพดี มีคุณธรรมและคุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน โดยครมู อื อาชีพและชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกจิ ๑. ส่งเสรมิ ศกั ยภาพผู้เรียนให้มีทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีสมรรถนะการจัดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ ๓. พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษารองรับกลุม่ ศักยภาพผู้เรียนศตวรรษที่ ๒๑ ๔. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ คี ณุ ภาพเทียบเคยี งมาตรฐานสากล ๕. สร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื ภาคประชาชนสนับสนนุ ส่งเสริมการจดั การศึกษา ห่างไกลยาเสพติดตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีสุขภาพจิตและสุขภาพกายที่ดี บริโภคอาหารที่ปลอดภัย ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจ ส่ิงแวดลอ้ มและดำเนนิ ชวี ติ อยา่ งมีความสุข เปา้ ประสงค์ ๑. ผเู้ รียนมีทักษะด้านการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี มีทักษะชวี ิตและอาชีพ สามารถปรบั ตวั ต่อการ เปลย่ี นแปลงของสังคมโลก แห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ๒. ผู้เรียนความสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การ จัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจเพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยไี ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ สังคม และการดำรงชีวิต ๓. ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อใหผู้เรียนเกิดทักษะที่สำคัญ เพ่ือ เตรยี มความพร้อมเด็กในศตวรรษที่ ๒๑ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา

3 ความความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลอื กใชว้ ธิ ีการสือ่ สาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพอื่ นำไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรู้หรอื สารสนเทศเพื่อ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมกี ารตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่เี กิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ งๆ ไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง การทำงาน และการอยู่รว่ มกันในสังคมดว้ ยการสรา้ ง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การมีเหตุผล กตัญญูกตเวที การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน การรักและภมู ใิ จในความเป็นไทยและรักษาทอ้ งถ่นิ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้เทคโนโลยีด้านตา่ งๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน การ แกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม และมีคณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้สามารถอยู่ รว่ มกับผู้อนื่ ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ

4 สาระและมาตรฐานการเรยี นรูกลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร์ แผนภาพสาระและมาตรฐานการเรยี นรกู ลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร์ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2/1-ว 2/2 สาระท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและ ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1/1-ว 1/3 เทคโนโลยี อวกาศ มาตรฐาน ว 3/1-ว 3/3 สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4/1-ว 4/2 วทิ ยาศาสตร์ เพ่ิมเติม - สาระชีววิทยา - สาระเคมี - สาระฟิสกิ ส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ วทิ ยาศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ สาระชีววทิ ยา สาระเคมี สาระฟิสกิ ส์และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ จัดทำข้นึ สำหรบั ผู้เรียนใน ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ทจ่ี ำเปน็ ต้องเรยี น เพ่ือเป็นพื้นฐานสำคัญ และเพียงพอสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์

5 สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวติ และความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มชี ีวติ กับสงิ่ มชี วี ิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบท่มี ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทาง ในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องส่งิ มีชวี ิต หน่วยพื้นฐานของสง่ิ มชี ีวติ การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนุษย์ทที่ ำงานสมั พันธก์ ัน ความสมั พนั ธ์ ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ทีท่ ำงานสมั พันธ์กนั รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ผี ลตอ่ ส่งิ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ สิ่งมชี ีวิต รวมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหวา่ งสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทัง้ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่สง่ ผลต่อสิ่งมีชวี ิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี อวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน โลกและบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพ่อื การดำรงชีวิตในสงั คมที่มีการเปลีย่ นแปลงอยา่ ง รวดเรว็ ใช้ความรู้และทกั ษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ เพ่ือแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน อย่างมีความคดิ สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

6 มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจรงิ อย่างเป็นข้ันตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม ทกั ษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์ คอื การศึกษาเก่ยี วกับทกุ ๆ สิ่งทอ่ี ยู่รอบตวั อย่างมรี ะเบียบแบบแผน เพอ่ื ใหได้ ข้อสรุปและสามารถนำความรู้ที่ได้มาอธบิ ายปัญหาต่างๆ ซ่งึ การจะตอบหรืออธิบายปัญหาทสี่ งสยั ได้นน้ั จำเป็นต้อง มที กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (science process skill) หมายถึง ความสามารถและความชำนาญ ในการคิด เพื่อค้นหาความรู้ และการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อาทิ การสังเกต การวัด การคำนวณ การจำแนก การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา การจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยาม การกำหนดตัวแปร การทดลอง การวิเคราะห์และแปรผลข้อมูลการสรุปผลข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ ๑๓ ทักษะแบ่งเปน็ ๒ ระดับ คือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพืน้ ฐาน ๘ ทักษะ และทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขน้ั บูรณาการ ๕ ทักษะ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ั้นพืน้ ฐาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เป็นทักษะเพื่อการแสวงหาความรู้ทั่วไป ประกอบด้วย ๘ ทกั ษะ ทักษะที่ ๑ การสังเกต (Observing) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสของร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น กายสัมผัส เข้าสัมผัสกับวัตถุหรือเหตุการณ์เพื่อให้ทราบ และรับรู้ข้อมูล รายละเอยี ดของส่งิ เหล่านัน้ โดยปราศจากความคดิ เหน็ ส่วนตน ข้อมลู เหล่านีจ้ ะประกอบดว้ ยข้อมลู เชิงคณุ ภาพ เชงิ ปรมิ าณ และรายละเอียดการเปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดข้ึนจากการสงั เกต ทักษะที่ ๒ การวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เครื่องมือสำหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของส่ิง ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหน่วยการวัดที่ถูกต้อง แม่นยำได้ทั้งนี้ การใช้เครื่องมือจำเป็นต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับสิง่ ที่ต้องการวดั รวมถงึ เข้าใจวิธกี ารวดั และแสดงข้ันตอนการวัดไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ทักษะที่ ๓ การคำนวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุ และการนำตัวเลขที่ได้ จากนับ และตัวเลขจากการวดั มาคำนวณด้วยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบการคูณ การหาร เปน็ ตน้ โดย การเกิดทักษะการคำนวณจะแสดงออกจากการนับที่ถูกต้อง ส่วนการคำนวณจะแสดงออกจากการเลือกสูตร คณิตศาสตร์ การแสดงวิธีคำนวณ และการคำนวณทถ่ี กู ต้อง แม่นยำ

7 ทักษะที่ ๔ การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลำดับ และการแบ่งกลุ่มวัตถุหรือ รายละเอยี ดขขอ้ มูลด้วยเกณฑค์ วามแตกตา่ งหรือความสัมพันธ์ใดๆ อยา่ งใดอย่างหน่ึง ทักษะที่ ๕ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Usingspace/Time relationships) สเปสของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุนัน้ ครองอยู่ ซึ่งอาจมีรปู ร่างเหมือนกันหรอื แตกต่างกับวตั ถุ น้ัน โดยทวั่ ไปแบ่งเปน็ ๓ มติ ิ คอื ความกวา้ ง ความยาว และความสูง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ๓ มิติ กับ ๒ มิติความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหนึ่งกับวัตถุหนึ่ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างสเปสของวัตถกุ ับเวลา ได้แก่ความสัมพันธ์ของการเปล่ยี นแปลงตำแหน่งของวตั ถกุ ับช่วงเวลา หรอื ความสัมพนั ธ์ของสเปสของวตั ถทุ เ่ี ปลย่ี นไปกบั ช่วงเวลา ทักษะที่ ๖ การจดั กระทำ และส่อื ความหมายขอ้ มูล(Communication) หมายถงึ การนำข้อมูลที่ได้จาก การสังเกต และการวัด มาจัดกระทำให้มีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลำดับ การจัดกลุ่ ม การคำนวณค่า เพอ่ื ให้ผู้อ่นื เข้าใจความหมายได้ดีขึน้ ผ่านการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภมู ิ วงจร เขียนหรือ บรรยาย เปน็ ต้น ทกั ษะที่ ๗ การลงความเห็นจากขอ้ มูล (Inferring) หมายถึง การเพ่ิมความคดิ เห็นของตนต่อข้อมูลท่ีได้ จากการสังเกตอยา่ งมเี หตุผลจากพืน้ ฐานความรู้หรอื ประสบการณ์ทีม่ ี ทกั ษะท่ี ๘ การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทำนายหรอื การคาดคะเนคำตอบโดยอาศยั ข้อมูลที่ ได้จากการสังเกตหรือการทำซ้ำ ผ่านกระบวนการแปรความหายของข้อมูลจากสัมพันธ์ภายใต้ความรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้ันบูรณาการ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันบรู ณาการ เป็นทักษะกระบวนการขั้นสูงทีม่ ีความซบั ซ้อนมากขน้ึ เพอื่ แสวงหาความรู้ โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั พื้นฐานเป็นพื้นฐานในการพฒั นา ประกอบด้วย ๕ ทักษะ ทักษะที่ ๙ การตั้งสมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถึง การตั้งคำถามหรือคิดคำตอบ ลว่ งหน้าก่อนการทดลองเพอื่ อธบิ ายหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรต่างๆ ว่ามคี วามสัมพนั ธ์อย่างไร โดยสมมติฐาน สรา้ งข้ึนจะอาศัยการสังเกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใตห้ ลกั การ กฎ หรือทฤษฎที ่ีสามารถอธิบายคำตอบได้ ทักษะที่ ๑๐ การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึงการกำหนดและ อธิบายความหมาย และขอบเขตของคำต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา หรือการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ตรงกันระหวา่ งบคุ คล ทักษะที่ ๑๑ การกำหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controllingvariables) หมายถึง การบง่ ช้ี และกำหนดลักษณะตวั แปรใด ๆให้เป็นตัวแปรอิสระหรือตวั แปรต้น และตัวแปรใด ๆ ให้เป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใด ๆ ใหเ้ ปน็ ตัวแปรควบคมุ

8 ทักษะที่ ๑๒ การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติ และทำซ้ำในข้ันตอนเพื่อหา คำตอบจากสมมตฐิ าน แบง่ เปน็ ๓ ขนั้ ตอน คือ ๑. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนการทดลองจริง ๆ เพื่อกำหนดวิธีการ และขั้นตอนการทดลองที่สามารถดำเนินการได้จริง รวมถึงวิธีการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นขณะทำการ ทดลองเพ่อื ใหก้ ารทดลองสามารถดำเนินการให้สำเร็จลุลว่ งดว้ ยดี ๒. การปฏิบัตกิ ารทดลอง หมายถงึ การปฏิบตั กิ ารทดลองจริง ๓. การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลท่ีได้จากการทดลองซึ่งอาจเป็นผลจากการ สงั เกต การวัดและอืน่ ๆ ทักษะที่ ๑๓ การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อมูล (Interpreting data andconclusion) หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่การตีความหมายข้อมูลใน บางคร้ังอาจต้องใช้ทกั ษะอน่ื ๆ เช่น ทกั ษะการสังเกต ทักษะการคำนวณ คณุ ภาพผูเ้ รียน จบชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ✧ เข้าใจลักษณะทว่ั ไปของส่งิ มีชวี ิต และการดำรงชีวิตของสิ่งมชี วี ติ ที่หลากหลายในส่งิ แวดล้อมทอ้ งถ่ิน ✧ เขา้ ใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลย่ี นแปลงของวัสดุรอบตวั แรงในธรรมชาติ รูปของพลังงาน ✧ เขา้ ใจสมบตั ิทางกายภาพของดนิ หนิ น้ำ อากาศ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว ✧ ต้งั คำถามเก่ียวกับสง่ิ มีชีวิต วสั ดแุ ละสิง่ ของ และปรากฏการณต์ ่าง ๆ รอบตวั สังเกต สำรวจตรวจสอบ โดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย และสอื่ สารสิ่งทเ่ี รียนรดู้ ้วยการเลา่ เรอ่ื ง เขยี น หรือวาดภาพ ✧ ใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ในการดำรงชวี ิต การศึกษาหาความร้เู พม่ิ เตมิ ทำโครงงาน หรือช้นิ งานตามทีก่ ำหนดให้ หรอื ตามความสนใจ ✧ แสดงความกระตือรอื ร้น สนใจท่ีจะเรียนรู้ และแสดงความซาบซ้งึ ตอ่ สง่ิ แวดล้อมรอบตัว แสดงถงึ ความ มีเมตตา ความระมดั ระวงั ตอ่ สง่ิ มชี วี ิตอื่น ✧ ทำงานที่ได้รับมอบหมายดว้ ยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนเป็นผลสำเร็จ และทำงาน ร่วมกบั ผอู้ น่ื อยา่ งมีความสขุ จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ✧ เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตท่ี หลากหลายในส่งิ แวดลอ้ มท่ีแตกตา่ งกัน ✧ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทำให้สารเกิดการ เปลย่ี นแปลง สารในชีวติ ประจำวนั การแยกสารอย่างงา่ ย

9 ✧ เข้าใจผลทีเ่ กิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ ความดนั หลักการเบอ้ื งตน้ ของแรงลอยตัว สมบัติและ ปรากฏการณเ์ บื้องตน้ ของแสง เสยี ง และวงจรไฟฟา้ ✧ เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทรท์ ม่ี ีผลต่อการเกิดปรากฏการณธ์ รรมชาติ ✧ ตั้งคำถามเกย่ี วกับสิง่ ทจ่ี ะเรียนรู้ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้ เคร่ืองมอื อุปกรณ์ วเิ คราะห์ข้อมลู และส่อื สารความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบ ✧ ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต และการศึกษาความรู้เพิ่มเติม ทำ โครงงานหรือชิ้นงานตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ ✧ แสดงถึงความสนใจ มุง่ ม่นั รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสตั ย์ในการสบื เสาะหาความรู้ ✧ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิ ในผลงานของผู้คิดคน้ ✧ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ มอย่างรคู้ ณุ คา่ ✧ ทำงานร่วมกบั ผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่นื

10 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา ด้วยโรงเรียนโรงเรียนบ้านบึงทับช้างเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เปิดเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ ถึง ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พุทธศักราช ๒๕๖6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง 2560) นั้นโรงเรียนได้ ดำเนนิ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยได้กำหนดรายละเอยี ดของโครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรของ โรงเรียนบา้ นบึงทับช้างไวด้ งั นี้ ๑. โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรโรงเรียนบ้านบึงทับช้าง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง 2560) กำหนดโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั น้ี เวลาเรียน(ช่ัวโมง/ปี) กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8๐ 8๐ 8๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 8๐ 8๐ 8๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาตา่ งประเทศ 120 120 120 120 12๐ 12๐ รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน) ๘4๐ ๘4๐ ๘4๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐  รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกนั การทจุ ริต 40 40 40 40 40 40 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 80 80 80 40 40 40 รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เติม) 120 120 120 120 120 120  กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมนักเรยี น - กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ - ชุมนมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 1,080 ชัว่ โมง/ปี 1,040 ชั่วโมง/ปี

11 สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งไมม่ ีชวี ิตกับสงิ่ มีชีวิต และความสัมพนั ธ์ระหว่างสิง่ มีชีวิตกับสง่ิ มีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอด พลงั งาน การเปลีย่ นแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและ ผลกระทบทมี่ ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุช่อื พชื และสัตวท์ อ่ี าศยั อยบู่ ริเวณต่าง • บริเวณต่าง ๆ ในท้องถ่ิน เช่น สนามหญ้า ใต้ ๆ จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ตน้ ไม้ สวนหย่อม แหลง่ น้ำ อาจพบพืชและสตั ว์ ๒. บอกสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมกับการ หลายชนิดอาศัยอยู่ ดำรงชีวติ ของสัตว์ในบรเิ วณท่ีอาศัยอยู่ • บริเวณท่ีแตกต่างกันอาจพบพชื และสัตวแ์ ตกต่าง กัน เพราะสภาพแวดล้อมของแตล่ ะบรเิ วณจะมี ความเหมาะสมต่อการดำรงชวี ติ ของพชื และสัตว์ ที่อาศัยอย่ใู นแต่ละบรเิ วณ เช่น สระนำ้ มนี ำ้ เป็นท่ี อยู่อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย เปน็ ทห่ี ลบภัย และมแี หล่งอาหารของหอยและปลา บรเิ วณตน้ มะม่วงมีต้นมะมว่ งเปน็ แหลง่ ทีอ่ ยู่ และมีอาหาร สำหรับกระรอกและมด • ถา้ สภาพแวดลอ้ มในบรเิ วณท่ีพืชและสตั ว์อาศยั อยู่มกี ารเปลีย่ นแปลง จะมีผลต่อการดำรงชวี ติ ของ พืชและสัตว์ ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ - - ป.๕ ๑. บรรยายโครงสร้างและลักษณะของ • สงิ่ มชี วี ติ ทง้ั พืชและสตั วม์ ีโครงสร้างและลักษณะ สิง่ มีชีวิตทเ่ี หมาะสมกบั การดำรงชวี ิต ซึ่งเป็น ทเ่ี หมาะสมในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ซ่งึ เป็นผลมาจาก ผลมาจากการปรบั ตวั ของส่งิ มีชวี ิตในแต่ละ การปรับตัวของส่ิงมีชวี ิต เพ่ือใหด้ ำรงชีวิตและอยู่ แหลง่ ทอ่ี ยู่ รอดได้ในแตล่ ะแหล่งท่อี ยู่ เชน่ ผกั ตบชวามชี ่อง อากาศในก้านใบ ชว่ ยให้ลอยน้ำได้ ต้นโกงกางท่ี

12 ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ขน้ึ อยใู่ นปา่ ชายเลนมีรากค้ำจุนทำให้ลำตน้ ไมล่ ม้ ปลามีครีบชว่ ยในการเคล่อื นทใ่ี นนำ้ ๒. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชวี ติ กับ • ในแหล่งทีอ่ ย่หู นึ่ง ๆ ส่ิงมชี ีวติ จะมีความสมั พันธ์ สง่ิ มชี ีวติ และความสมั พนั ธ์ระหว่างสง่ิ มชี วี ิต ซ่งึ กันและกนั และสัมพนั ธก์ บั สงิ่ ไม่มีชีวิต เพือ่ กับส่ิงไม่มีชีวติ เพื่อประโยชนต์ ่อการ ประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ติ เช่น ความสัมพนั ธก์ ัน ดำรงชวี ิต ด้านการกินกันเป็นอาหาร เป็นแหล่งท่อี ยูอ่ าศัย ๓. เขียนโซอ่ าหารและระบุบทบาทหนา้ ท่ี หลบภัยและเล้ียงดลู กู ออ่ น ใชอ้ ากาศในการหายใจ ของส่ิงมชี วี ิตที่เปน็ ผู้ผลิตและผ้บู รโิ ภคในโซ่ • สง่ิ มีชีวิตมีการกนิ กันเป็นอาหาร โดยกินตอ่ กนั อาหาร เปน็ ทอด ๆ ในรปู แบบของโซอ่ าหาร ทำให้ ๔. ตระหนกั ในคุณค่าของส่งิ แวดลอ้ มที่มีต่อการ สามารถระบบุ ทบาทหน้าทข่ี องสิง่ มชี วี ิตเปน็ ผู้ผลิต ดำรงชีวิตของสิ่งมชี ีวติ โดยมีส่วนร่วมในการ และผูบ้ ริโภค ดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม ป.๖ - - สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมชี ีวติ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมชี ีวติ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทำงานสมั พันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 ๑. ระบชุ ื่อ บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าทีข่ อง • มนุษยม์ ีส่วนต่าง ๆ ทมี่ ลี กั ษณะและหน้าทแ่ี ตกต่างกนั สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สัตว์ และพืช เพ่ือให้เหมาะสมในการดำรงชีวติ เชน่ ตามหี นา้ ท่ไี ว้มองดู รวมทั้งบรรยายการทำหนา้ ที่ร่วมกนั ของส่วนตา่ ง ๆ โดยมีหนงั ตาและขนตา เพอื่ ปอ้ งกันอนั ตรายใหก้ ับตา หมู ี ของรา่ งกายมนษุ ยใ์ นการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ จาก หน้าทร่ี บั ฟงั เสยี ง โดยมีใบหูและรูหู เพือ่ เปน็ ทางผ่านของ ขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ เสยี ง ปากมหี นา้ ที่พูด กินอาหาร มชี อ่ งปากและมีริม ๒. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของส่วนต่าง ๆ ของ ฝีปากบนล่าง แขนและมอื มหี นา้ ทีย่ ก หยิบ จบั มที ่อน ร่างกายตนเอง โดยการดแู ลสว่ นต่าง ๆ อยา่ ง แขนและนว้ิ มือท่ีขยับได้ สมองมหี น้าทค่ี วบคุมการทำงาน ถกู ตอ้ ง ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่ ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อยู่ในกะโหลกศีรษะ โดย เสมอ สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายจะทำหนา้ ทร่ี ว่ มกนั ในการทำ กจิ กรรม ในชีวติ ประจำวัน

13 ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง • สตั ว์มีหลายชนิด แต่ละชนดิ มสี ว่ นตา่ ง ๆ ที่มีลกั ษณะ และหนา้ ที่แตกตา่ งกนั เพื่อให้เหมาะสม ในการดำรงชีวติ เช่น ปลามีครบี เป็นแผ่น สว่ นกบ เต่า แมว มีขา ๔ ขา และมเี ทา้ สำหรับใช้ในการเคลอ่ื นที่ • พชื มีส่วนต่าง ๆ ที่มลี กั ษณะและหน้าทแ่ี ตกต่างกัน เพอ่ื ให้เหมาะสมในการดำรงชีวติ โดยท่วั ไป รากมลี กั ษณะ เรียวยาว และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทำหนา้ ที่ดูดน้ำ ลำต้นมีลักษณะเปน็ ทรงกระบอกต้ังตรงและมกี งิ่ ก้าน ทำ หน้าทชี่ กู ่ิงก้าน ใบ และดอก ใบมีลกั ษณะเปน็ แผน่ แบน ทำหนา้ ที่สร้างอาหาร นอกจากนีพ้ ชื หลายชนดิ อาจมีดอก ทมี่ สี ี รูปรา่ งต่าง ๆ ทำหนา้ ท่สี บื พนั ธ์ุ รวมทงั้ มีผลท่มี ี เปลอื ก มีเนือ้ หอ่ หมุ้ เมล็ด และมีเมลด็ ซง่ึ สามารถงอกเป็น ตน้ ใหม่ได้• มนุษย์ใชส้ ว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายในการ ทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพือ่ การดำรงชีวติ มนุษย์จงึ ควร ใช้สว่ นต่าง ๆ ของร่างกายอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และรกั ษาความสะอาดอยเู่ สมอ เชน่ ใช้ตามอง ตัวหนังสือในทีท่ ีม่ ีแสงสวา่ งเพยี งพอ ดูแลตาให้ ปลอดภยั จากอนั ตราย และรกั ษาความสะอาดตา อย่เู สมอ ป.๒ ๑. ระบุว่าพชื ต้องการแสงและนำ้ เพอ่ื การ • พชื ต้องการนำ้ แสง เพื่อการเจริญเตบิ โต เจรญิ เตบิ โต โดยใช้ขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชิง ประจักษ์ ๒. ตระหนักถงึ ความจำเป็นที่พืชตอ้ งไดร้ บั นำ้ และแสงเพ่ือการเจริญเตบิ โต โดยดูแลพืช ให้ไดร้ บั สง่ิ ดังกล่าวอยา่ งเหมาะสม ๓. สร้างแบบจำลองทบ่ี รรยายวัฏจักรชีวติ • พืชดอกเมอ่ื เจริญเติบโตและมีดอก ดอกจะมีการ ของพืชดอก สบื พันธเุ์ ปลีย่ นแปลงไปเปน็ ผล ภายในผลมีเมล็ด เมื่อเมล็ดงอก ต้นออ่ นท่อี ยภู่ ายในเมล็ดจะ เจริญเตบิ โตเป็นพชื ตน้ ใหม่ พืชตน้ ใหม่จะ เจรญิ เตบิ โต ออกดอกเพ่ือสบื พันธ์ุมีผลตอ่ ไปได้อีก หมุนเวยี นตอ่ เน่อื งเป็นวัฏจักรชวี ิตของพืชดอก

14 ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๑. บรรยายสิ่งทจี่ ำเป็นตอ่ การดำรงชีวติ และ • มนุษยแ์ ละสตั ว์ตอ้ งการอาหาร นำ้ และอากาศ การเจรญิ เตบิ โตของมนุษยแ์ ละสัตว์ โดยใช้ เพอ่ื การดำรงชีวิตและการเจรญิ เตบิ โต ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ • อาหารชว่ ยให้ร่างกายแขง็ แรงและเจริญเตบิ โต ๒. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องอาหาร น้ำ นำ้ ช่วยให้ร่างกายทำงานได้อย่างปกติ อากาศใช้ และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตวใ์ ห้ ในการหายใจ ไดร้ ับส่งิ เหล่าน้ีอยา่ งเหมาะสม ๓. สร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฏจกั รชีวิต • สัตวเ์ ม่อื เป็นตัวเตม็ วัยจะสบื พนั ธ์มุ ลี กู เมือ่ ลูก ของสัตว์ และเปรียบเทียบวัฏจกั รชวี ิตของ เจรญิ เติบโตเปน็ ตัวเต็มวยั ก็สบื พนั ธมุ์ ีลกู ตอ่ ไปได้ สตั วบ์ างชนดิ อกี หมนุ เวยี นตอ่ เนอื่ งเป็นวฏั จักรชวี ติ ของสตั ว์ ซึ่ง ๔. ตระหนกั ถึงคุณค่าของชวี ิตสัตว์ โดยไมท่ ำ สตั วแ์ ตล่ ะชนดิ เช่น ผีเสือ้ กบ ไก่ มนษุ ยจ์ ะมีวัฏ ให้วฏั จักรชวี ิตของสตั ว์เปลย่ี นแปลง จักรชีวิตทเ่ี ฉพาะและแตกตา่ งกนั ป.๔ ๑. บรรยายหนา้ ท่ขี องราก ลำตน้ ใบ และ • สว่ นต่าง ๆ ของพชื ดอกทำหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกัน ดอกของพชื ดอก โดยใช้ข้อมูลท่รี วบรวมได้ - รากทำหน้าท่ดี ูดน้ำและธาตอุ าหารขึ้นไปยงั ลำ ต้น - ลำตน้ ทำหน้าที่ลำเลยี งน้ำต่อไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของพชื - ใบทำหนา้ ที่สร้างอาหาร อาหารที่พชื สรา้ งขึ้น คือ นำ้ ตาลซึ่งจะเปลีย่ นเปน็ แป้ง - ดอกทำหนา้ ที่สืบพนั ธุ์ ประกอบดว้ ย สว่ นประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเล้ยี ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซ่งึ ส่วนประกอบแต่ ละส่วนของดอกทำหน้าทแ่ี ตกต่างกัน ป.๕ - - ป.๖ ๑. ระบุสารอาหารและบอกประโยชนข์ อง • สารอาหารทอ่ี ยู่ในอาหารมี ๖ ประเภท ไดแ้ ก่ สารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ คาร์โบไฮเดรต โปรตนี ไขมนั เกลอื แร่ วิตามนิ และ ตนเองรบั ประทาน น้ำ ๒. บอกแนวทางในการเลอื กรบั ประทาน • อาหารแตล่ ะชนดิ ประกอบด้วยสารอาหารที่ อาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ในสดั สว่ นท่ี แตกตา่ งกนั อาหารบางอยา่ งประกอบดว้ ย

15 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง เหมาะสมกับเพศและวยั รวมทั้งความ สารอาหารประเภทเดยี ว อาหารบางอยา่ ง ปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ ประกอบด้วยสารอาหารมากกวา่ หน่งึ ประเภท ๓. ตระหนักถึงความสำคญั ของสารอาหาร • สารอาหารแต่ละประเภทมปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย โดยการเลือกรบั ประทานอาหารท่ีมี แตกต่างกัน โดยคารโ์ บไฮเดรต โปรตีน และไขมนั สารอาหารครบถว้ นในสดั สว่ นท่เี หมาะสมกบั เปน็ สารอาหารที่ให้พลงั งานแกร่ ่างกาย ส่วนเกลือ เพศและวยั รวมทั้งปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ แร่ วติ ามิน และน้ำ เปน็ สารอาหารที่ไมใ่ ห้พลงั งาน ๔. สรา้ งแบบจำลองระบบย่อยอาหาร และ แกร่ า่ งกาย แตช่ ว่ ยให้ร่างกายทำงานได้เป็นปกติ บรรยายหนา้ ทข่ี องอวยั วะในระบบยอ่ ย • การรบั ประทานอาหาร เพอ่ื ใหร้ ่างกายเจริญเติบโต อาหาร รวมท้งั อธิบายการยอ่ ยอาหารและ มีการเปลีย่ นแปลงของรา่ งกายตามเพศและวยั และ การดดู ซึมสารอาหาร มสี ขุ ภาพดี จำเปน็ ต้องรับประทานใหไ้ ดพ้ ลังงาน ๕. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของระบบยอ่ ย เพยี งพอกับความตอ้ งการของรา่ งกาย และให้ได้ อาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแล สารอาหารครบถ้วน ในสดั ส่วนทเี่ หมาะสมกบั เพศ รักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารใหท้ ำงาน และวัย รวมทั้งตอ้ งคำนึงถงึ ชนิดและปรมิ าณของ เป็นปกติ วตั ถเุ จอื ปนในอาหารเพอื่ ความปลอดภยั ต่อสุขภาพ • ระบบย่อยอาหารประกอบดว้ ยอวยั วะตา่ ง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ เล็ก ลำไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ และตบั ออ่ น ซ่ึงทำ หน้าท่ีรว่ มกนั ในการย่อยและดดู ซมึ สารอาหาร - ปากมฟี ันชว่ ยบดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเลก็ ลง และมลี นิ้ ชว่ ยคลกุ เคล้าอาหารกับน้ำลาย ใน น้ำลายมีเอนไซม์ยอ่ ยแป้งใหเ้ ป็นนำ้ ตาล - หลอดอาหารทำหนา้ ท่ีลำเลยี งอาหารจากปากไป ยังกระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหาร มกี าร ย่อยโปรตีนโดยกรดและเอนไซม์ที่สรา้ งจาก กระเพาะอาหาร - ลำไส้เลก็ มเี อนไซมท์ ส่ี ร้างจากผนงั ลำไส้เลก็ เอง และจากตบั อ่อนท่ีชว่ ยยอ่ ยโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน โดยโปรตนี คาร์โบไฮเดรต และไขมนั ที่ ผ่านการยอ่ ยจนเปน็ สารอาหารขนาดเลก็ พอท่ีจะ

16 ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ดดู ซึมได้ รวมถงึ น้ำ เกลือแร่ และวิตามนิ จะถกู ดูด ซึมท่ีผนงั ลำไส้เล็กเข้าสกู่ ระแสเลือด เพื่อลำเลยี ง ไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ซึง่ โปรตนี คาร์โบไฮเดรต และไขมนั จะถูกนำไปใช้เปน็ แหลง่ พลังงานสำหรับใช้ในกจิ กรรมต่าง ๆ ส่วนนำ้ เกลอื แร่ และวิตามนิ จะช่วยใหร้ า่ งกายทำงานได้เปน็ ปกติ - ตับสร้างน้ำดีแล้วสง่ มายงั ลำไส้เล็กช่วยให้ไขมนั แตกตัว - ลำไส้ใหญท่ ำหนา้ ท่ีดูดนำ้ และเกลือแร่ เป็น บรเิ วณทีม่ ีอาหารท่ยี ่อยไม่ไดห้ รอื ย่อยไมห่ มด เปน็ กากอาหาร ซึง่ จะถกู กำจดั ออกทางทวารหนัก • อวัยวะต่าง ๆ ในระบบยอ่ ยอาหารมคี วามสำคัญ จงึ ควรปฏิบัตติ น ดูแลรกั ษาอวัยวะให้ทำงานเปน็ ปกติ สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมชี วี ติ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ - - ป.๒ ๑. เปรียบเทียบลักษณะของส่งิ มีชวี ติ และ • ส่งิ ท่อี ยู่รอบตัวเรามีท้งั ทเี่ ปน็ สิง่ มชี วี ิตและ สง่ิ ไมม่ ชี วี ติ จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ สง่ิ ไม่มีชีวติ สงิ่ มีชีวิตต้องการอาหาร มีการหายใจ เจรญิ เตบิ โต ขับถ่าย เคลื่อนไหว ตอบสนองต่อสงิ่ เร้า และสืบพันธไุ์ ด้ลกู ที่มีลกั ษณะคล้ายคลงึ กับพ่อ แมส่ ่วนสิ่งไมม่ ชี วี ิตจะไม่มีลักษณะดงั กลา่ ว ป.๓ - -

17 ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๔ ๑. จำแนกสง่ิ มีชีวิตโดยใชค้ วามเหมือน และ • สิ่งมีชีวติ มีหลายชนดิ สามารถจัดกลุ่มได้ โดยใช้ ความแตกต่างของลกั ษณะของสงิ่ มีชีวติ ความเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะต่าง ๆ ออกเปน็ กลุม่ พืช กลุม่ สตั ว์ และกลมุ่ ท่ีไม่ใช่ เชน่ กลุม่ พชื สร้างอาหารเองได้ และเคลื่อนที่ดว้ ย พชื และสัตว์ ตนเองไม่ได้ กลมุ่ สตั วก์ ินสง่ิ มีชวี ิตอื่นเปน็ อาหาร และเคลอ่ื นทไ่ี ด้ กล่มุ ทไ่ี มใ่ ชพ่ ืชและสัตว์ เชน่ เห็ด รา จลุ ินทรีย์ ๒. จำแนกพชื ออกเป็นพืชดอกและพชื ไม่มี • การจำแนกพชื สามารถใชก้ ารมดี อกเป็นเกณฑ์ ดอก โดยใช้การมดี อกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ ในการจำแนก ไดเ้ ปน็ พชื ดอกและพืชไม่มดี อก ขอ้ มูล ทร่ี วบรวมได้ ๓. จำแนกสัตว์ออกเปน็ สัตวม์ กี ระดกู สันหลัง • การจำแนกสัตว์ สามารถใชก้ ารมกี ระดกู สันหลัง และสตั ว์ไมม่ กี ระดูกสันหลัง โดยใช้การมี เปน็ เกณฑ์ในการจำแนก ไดเ้ ป็นสัตว์มกี ระดูกสนั กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี หลงั และสัตว์ไมม่ กี ระดกู สันหลงั รวบรวมได้ • สตั วม์ กี ระดูกสนั หลังมหี ลายกลุม่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ปลา ๔. บรรยายลักษณะเฉพาะท่สี ังเกตได้ของ กลุ่มสัตวส์ ะเทินน้ำสะเทนิ บก กลุ่มสตั วเ์ ล้อื ยคลาน สตั ว์มกี ระดกู สันหลังในกลุ่มปลา กลมุ่ สัตว์ กลมุ่ นก และกลมุ่ สัตว์เลยี้ งลูกดว้ ยนำ้ นม ซึ่งแต่ละ สะเทนิ น้ำสะเทินบก กลุม่ สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน กลมุ่ จะมลี ักษณะเฉพาะท่ีสงั เกตได้ กลุ่มนก และกลุม่ สัตว์เลยี้ งลกู ด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสง่ิ มชี ีวิตในแตล่ ะกลุม่ ป.๕ ๑. อธบิ ายลักษณะทางพนั ธกุ รรมท่มี กี าร • สงิ่ มชี วี ิตทงั้ พชื สตั ว์ และมนษุ ย์ เมื่อโตเต็มที่จะ ถา่ ยทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สตั ว์ และ มีการสบื พนั ธุเ์ พอ่ื เพมิ่ จำนวนและดำรงพันธุ์ โดย มนุษย์ ลูก ทีเ่ กิดมาจะไดร้ บั การถา่ ยทอดลักษณะทาง ๒. แสดงความอยากร้อู ยากเห็น โดยการถาม พนั ธกุ รรมจากพ่อแม่ทำใหม้ ีลักษณะทาง คำถามเก่ียวกับลักษณะท่ีคล้ายคลงึ กันของ พันธุกรรมท่ีเฉพาะแตกต่างจากสงิ่ มชี ีวติ ชนิดอื่น ตนเองกบั พ่อแม่ • พชื มีการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม เช่น ลกั ษณะของใบ สีดอก • สัตวม์ กี ารถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม เช่น สีขน ลักษณะของขน ลักษณะของหู

18 ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง • มนษุ ยม์ ีการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม เช่น เชิงผมทหี่ น้าผาก ลกั ยมิ้ ลกั ษณะหนงั ตา การห่อ ล้ิน ลักษณะของต่งิ หู ป.๖ - - สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะ ของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. อธิบายสมบตั ิทส่ี งั เกตได้ของวสั ดุทีใ่ ช้ทำ • วสั ดุที่ใช้ทำวัตถุท่เี ปน็ ของเล่น ของใช้ มหี ลาย วัตถุซง่ึ ทำจากวสั ดุชนดิ เดียวหรือหลายชนดิ ชนิด เชน่ ผา้ แก้ว พลาสติก ยาง ไม้ อิฐ หิน ประกอบกนั โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ กระดาษ โลหะ วสั ดแุ ต่ละชนดิ มีสมบตั ทิ ี่สังเกตได้ ๒. ระบชุ นิดของวัสดุและจดั กลุ่มวัสดุตาม ตา่ ง ๆ เชน่ สี นุม่ แขง็ ขรขุ ระ เรียบ ใส ข่นุ ยืด สมบตั ิท่ีสังเกตได้ หดได้ บดิ งอได้ • สมบัติทส่ี งั เกตได้ของวสั ดุแตล่ ะชนิดอาจ เหมอื นกนั ซง่ึ สามารถนำมาใช้เปน็ เกณฑ์ในการจัด กลุม่ วสั ดไุ ด้ • วัสดบุ างอยา่ งสามารถนำมาประกอบกนั เพ่อื ทำ เปน็ วัตถตุ ่าง ๆ เชน่ ผ้าและกระดุม ใช้ทำเสอื้ ไม้ และโลหะ ใช้ทำกระทะ ป.๒ ๑. เปรียบเทียบสมบัติการดูดซบั น้ำของวสั ดุ • วสั ดุแตล่ ะชนดิ มสี มบตั กิ ารดดู ซบั น้ำแตกตา่ งกนั โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ และระบุการนำ จงึ นำไปทำวัตถุเพื่อใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกัน สมบัตกิ ารดูดซบั นำ้ ของวสั ดไุ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ น เชน่ ใช้ผ้าที่ดดู ซับนำ้ ได้มากทำผ้าเช็ดตัว ใช้ การทำวตั ถใุ นชีวิตประจำวนั พลาสติก ซึ่งไมด่ ดู ซบั น้ำทำร่ม ๒. อธิบายสมบตั ิทสี่ ังเกตได้ของวัสดุท่เี กิด • วัสดบุ างอย่างสามารถนำมาผสมกันซง่ึ ทำให้ได้ จากการนำวสั ดมุ าผสมกันโดยใชห้ ลักฐานเชิง สมบัตทิ ่ีเหมาะสม เพ่อื นำไปใชป้ ระโยชนต์ าม ประจักษ์ ต้องการ เชน่ แป้งผสมน้ำตาลและกะทิ ใช้ทำขนม

19 ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ไทย ปนู ปลาสเตอร์ผสมเย่ือกระดาษใช้ทำกระปกุ ออมสนิ ปูนผสมหิน ทราย และนำ้ ใช้ทำคอนกรตี ๓. เปรียบเทียบสมบัติทสี่ งั เกตได้ของวสั ดุ • การนำวสั ดมุ าทำเป็นวตั ถุในการใช้งานตาม เพอื่ นำมาทำเป็นวตั ถุในการใชง้ านตาม วตั ถุประสงค์ขน้ึ อยกู่ ับสมบตั ิของวสั ดุ วสั ดุท่ีใช้ วัตถุประสงค์ และอธิบายการนำวัสดุทใ่ี ช้ แลว้ อาจนำกลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ เชน่ กระดาษใชแ้ ลว้ แล้วกลบั มาใชใ้ หมโ่ ดยใช้หลกั ฐานเชงิ อาจนำมาทำเป็นจรวดกระดาษ ดอกไม้ประดิษฐ์ ประจกั ษ์ ถุงใส่ของ ๔. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการนำวัสดุทใี่ ช้ แล้วกลบั มาใชใ้ หม่ โดยการนำวสั ดุท่ีใช้แล้ว กลับมาใช้ใหม่ ป.๓ ๑. อธิบายว่าวตั ถุประกอบขึ้นจากช้นิ • วตั ถอุ าจทำจากชนิ้ ส่วนยอ่ ย ๆ ซ่งึ แต่ละชิ้นมี ส่วนยอ่ ย ๆ ซึ่งสามารถแยกออกจากกันได้ ลักษณะเหมือนกนั มาประกอบเข้าดว้ ยกนั เมือ่ และประกอบกนั เปน็ วัตถุชน้ิ ใหมไ่ ด้ โดยใช้ แยกชน้ิ สว่ นยอ่ ย ๆ แตล่ ะช้ินของวตั ถอุ อกจากกัน หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ สามารถนำชน้ิ สว่ นเหล่านัน้ มาประกอบเปน็ วตั ถุ ชน้ิ ใหม่ได้ เชน่ กำแพงบ้านมกี ้อนอิฐหลาย ๆ ก้อน ประกอบเข้าด้วยกัน และสามารถนำกอ้ นอิฐจาก กำแพงบ้านมาประกอบเปน็ พืน้ ทางเดินได้ ๒. อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของวัสดเุ ม่ือทำ • เมื่อให้ความร้อนหรอื ทำใหว้ สั ดุรอ้ นขึ้นและเมือ่ ใหร้ ้อนขน้ึ หรือทำใหเ้ ยน็ ลง โดยใชห้ ลกั ฐาน ลดความร้อนหรือทำให้วัสดุเย็นลงวัสดจุ ะเกิด การ เชิงประจักษ์ เปลย่ี นแปลงได้ เชน่ สเี ปลีย่ น รูปร่างเปล่ยี น ป.๔ ๑. เปรยี บเทียบสมบัติทางกายภาพดา้ น • วสั ดุแต่ละชนดิ มสี มบัตทิ างกายภาพแตกต่างกนั ความแขง็ สภาพยืดหยุ่น การนำความรอ้ น วสั ดทุ ม่ี ีความแข็งจะทนต่อแรงขูดขดี วัสดุท่ีมี และการนำไฟฟ้าของวสั ดุโดยใชห้ ลักฐานเชงิ สภาพยืดหยุน่ จะเปลี่ยนแปลงรปู ร่างเม่อื มแี รงมา ประจกั ษ์จากการทดลองและระบุการนำ กระทำและกลับสภาพเดิมได้ วสั ดุที่นำความรอ้ น สมบตั ิเรือ่ งความแข็ง สภาพยดื หยนุ่ การนำ จะร้อนไดเ้ รว็ เมอื่ ได้รบั ความรอ้ น และวัสดุท่ีนำ ความรอ้ น และการนำไฟฟ้าของวสั ดไุ ปใชใ้ น ไฟฟา้ ได้ จะใหก้ ระแสไฟฟา้ ผ่านได้ ดงั นน้ั จงึ อาจ ชวี ิตประจำวันผา่ นกระบวนการออกแบบ นำสมบตั ิต่าง ๆ มาพิจารณาเพือ่ ใช้ในกระบวนการ ชน้ิ งาน ออกแบบชิน้ งานเพื่อใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั

20 ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. แลกเปลยี่ นความคดิ กับผูอ้ ่ืนโดยการ อภปิ รายเก่ียวกับสมบตั ิทางกายภาพของ วสั ดุอย่างมีเหตผุ ลจากการทดลอง ๓. เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง ๓ • วสั ดเุ ปน็ สสารเพราะมมี วลและตอ้ งการท่ีอยู่ สถานะ จากข้อมูลทไ่ี ด้จากการสังเกตมวล สสารมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแกส๊ การตอ้ งการท่ีอยู่ รูปร่างและปรมิ าตรของ ของแข็ง มีปริมาตรและรูปร่างคงท่ี ของเหลวมี สสาร ปริมาตรคงท่ี แต่มีรปู ร่างเปล่ยี นไปตามภาชนะ ๔. ใชเ้ ครอื่ งมือเพอ่ื วดั มวล และปริมาตรของ เฉพาะสว่ นท่บี รรจุของเหลว สว่ นแก๊สมปี ริมาตร สสารท้งั ๓ สถานะ และรปู รา่ งเปลยี่ นไปตามภาชนะที่บรรจุ ป.๕ ๑. อธิบายการเปลยี่ นสถานะของสสาร เมื่อ • การเปลี่ยนสถานะของสสารเปน็ การ ทำให้สสารรอ้ นขึน้ หรือเยน็ ลง โดยใช้ เปลย่ี นแปลงทางกายภาพ เมื่อเพ่ิมความรอ้ น หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ให้กับสสารถงึ ระดับหน่ึงจะทำใหส้ สารทีเ่ ปน็ ของแขง็ เปลยี่ นสถานะเป็นของเหลว เรยี กว่า การ หลอมเหลว และเมือ่ เพ่ิมความรอ้ นต่อไปจนถงึ อีก ระดับหน่ึงของเหลวจะเปลย่ี นเปน็ แก๊ส เรียกวา่ การกลายเปน็ ไอ แตเ่ มอื่ ลดความรอ้ นลงถึงระดบั หนึ่ง แกส๊ จะเปลีย่ นสถานะเปน็ ของเหลว เรยี กว่า การควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึง ระดับหน่งึ ของเหลวจะเปลีย่ นสถานะเป็นของแขง็ เรยี กวา่ การแข็งตัว สสารบางชนิดสามารถเปลี่ยน สถานะจากของแข็งเป็นแก๊สโดยไมผ่ า่ นการเปน็ ของเหลว เรยี กว่า การระเหดิ สว่ นแก๊สบางชนดิ สามารถเปลยี่ นสถานะเปน็ ของแขง็ โดยไม่ผ่านการ เป็นของเหลว เรยี กวา่ การระเหดิ กลับ ๒. อธิบายการละลายของสารในนำ้ โดยใช้ • เม่ือใสส่ ารลงในนำ้ แลว้ สารน้นั รวมเปน็ เนือ้ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ เดียวกันกับนำ้ ทัว่ ทกุ สว่ น แสดงว่าสารเกดิ การ ละลาย เรียกสารผสมท่ีไดว้ า่ สารละลาย

21 ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๓. วเิ คราะห์การเปล่ยี นแปลงของสารเม่ือ • เมอ่ื ผสมสาร ๒ ชนดิ ข้นึ ไปแล้วมีสารใหม่เกิดขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้ ซ่งึ มีสมบัตติ ่างจากสารเดิมหรือเมอ่ื สารชนดิ เดยี ว หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เกิดการเปลยี่ นแปลงแลว้ มสี ารใหมเ่ กดิ ข้ึน การ เปลย่ี นแปลงนี้เรยี กวา่ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซง่ึ สงั เกตได้จากมีสหี รอื กลนิ่ ตา่ งจากสารเดมิ หรือ มีฟองแก๊ส หรอื มีตะกอนเกดิ ขนึ้ หรอื มีการเพ่มิ ขึน้ หรอื ลดลงของอุณหภูมิ ๔. วิเคราะหแ์ ละระบุการเปล่ียนแปลงทีผ่ ัน • เมือ่ สารเกิดการเปลย่ี นแปลงแล้ว สารสามารถ กลับไดแ้ ละการเปลี่ยนแปลงทีผ่ ันกลับไมไ่ ด้ เปลยี่ นกลบั เป็นสารเดมิ ได้ เป็นการเปล่ยี นแปลงที่ ผันกลับได้ เช่น การหลอมเหลว การกลายเปน็ ไอ การละลาย แต่สารบางอย่างเกิดการเปล่ยี นแปลง แล้วไม่สามารถเปลี่ยนกลับเปน็ สารเดมิ ได้ เป็นการ เปล่ียนแปลงที่ผันกลบั ไม่ได้ เชน่ การเผาไหม้ การ เกิดสนิม ป.๖ ๑. อธิบายและเปรยี บเทยี บการแยกสาร • สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ ๒ ชนิดขึน้ ไป ผสม โดยการหยบิ ออก การรอ่ น การใช้ ผสมกนั เช่น นำ้ มนั ผสมนำ้ ขา้ วสารปนกรวดทราย แมเ่ หล็กดึงดูด การรนิ ออก การกรอง และ วธิ ีการทเี่ หมาะสมในการแยกสารผสมข้ึนอยู่กับ การตกตะกอน โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ลกั ษณะและสมบัติของสารที่ผสมกนั ถา้ รวมท้ังระบุวิธีแกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวนั องคป์ ระกอบของสารผสมเปน็ ของแขง็ กบั ของแขง็ เกยี่ วกับการแยกสาร ท่ีมขี นาดแตกต่างกันอยา่ งชดั เจน อาจใช้วิธีการ หยิบออกหรอื การรอ่ นผา่ นวสั ดทุ ่มี ีรู ถา้ มีสารใด สารหน่ึงเป็นสารแมเ่ หลก็ อาจใช้วธิ กี ารใชแ้ มเ่ หล็ก ดงึ ดูด ถ้าองค์ประกอบเปน็ ของแขง็ ทไ่ี ม่ละลายใน ของเหลว อาจใชว้ ิธกี ารรินออก การกรอง หรือ การตกตะกอน ซ่ึงวธิ ีการแยกสารสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั ได

22 สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจำวนั ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่อื นท่ี แบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ - - ป.๒ - - ป.๓ ๑. ระบุผลของแรงที่มีต่อการเปล่ียนแปลง • การดงึ หรือการผลกั เป็นการออกแรงกระทำตอ่ การเคลื่อนที่ของวัตถจุ ากหลักฐานเชงิ วัตถุ แรงมผี ลต่อการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ แรงอาจทำ ประจกั ษ์ ใหว้ ตั ถเุ กดิ การเคลอื่ นท่ีโดยเปลีย่ นตำแหน่งจากที่ หนึง่ ไปยังอกี ท่หี นึ่ง • การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ ไดแ้ ก่ วัตถทุ ่ีอยนู่ ่ิงเปลย่ี นเป็นเคลอ่ื นท่ี วัตถุท่กี ำลัง เคลื่อนทีเ่ ปลยี่ นเปน็ เคลอื่ นทีเ่ ร็วขน้ึ หรือชา้ ลงหรือ หยดุ น่งิ หรอื เปลย่ี นทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ ๒. เปรียบเทยี บและยกตวั อยา่ งแรงสัมผสั • การดึงหรือการผลกั เปน็ การออกแรงทเ่ี กดิ จาก และแรงไมส่ มั ผัสท่ีมีผลต่อการเคลอ่ื นทขี่ อง วัตถหุ น่ึงกระทำกับอกี วัตถุหนงึ่ โดยวตั ถุทัง้ สอง วัตถุ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ อาจสัมผัสหรือไม่ต้องสมั ผัสกนั เช่น การออกแรง โดยใช้มือดึงหรอื การผลกั โตะ๊ ใหเ้ คลือ่ นทเี่ ป็นการ ออกแรงที่วัตถุต้องสมั ผสั กนั แรงนี้จงึ เปน็ แรง สมั ผสั สว่ นการท่ีแมเ่ หล็กดึงดูดหรือผลกั ระหว่าง แม่เหล็กเป็นแรงที่เกิดข้ึนโดยแม่เหล็กไม่ จำเป็นตอ้ งสัมผัสกัน แรงแม่เหล็กนี้จึงเป็นแรงไม่ สัมผสั ๓. จำแนกวัตถุโดยใชก้ ารดึงดดู กบั แม่เหล็ก • แม่เหลก็ สามารถดึงดดู สารแมเ่ หลก็ ได้ เป็นเกณฑ์จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ • แรงแมเ่ หลก็ เป็นแรงทีเ่ กดิ ขน้ึ ระหว่างแม่เหล็ก ๔. ระบขุ ัว้ แมเ่ หล็กและพยากรณ์ผลที่เกดิ ข้นึ กับสารแมเ่ หลก็ หรือแมเ่ หลก็ กับแมเ่ หลก็ ระหว่างขวั้ แมเ่ หลก็ เมอ่ื นำมาเข้าใกลก้ นั จาก แม่เหล็ก มี ๒ ข้ัว คอื ขว้ั เหนือและขว้ั ใต้ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ข้ัวแม่เหลก็ ชนดิ เดยี วกันจะผลกั กัน ต่างชนดิ กนั จะ ดึงดูดกัน

23 ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.4 ๑. ระบผุ ลของแรงโนมถวงที่มีตอวตั ถุ • แรงโนมถวงของโลกเปนแรงดงึ ดูดทีโ่ ลก จากหลกั ฐานเชิงประจักษ กระทำตอวัตถมุ ที ศิ ทางเขาสูศนู ยกลางโลก ๒. ใชเคร่ืองช่ังสปริงในการวัดน้ำหนกั และเปนแรงไมสมั ผัส แรงดงึ ดดู ท่โี ลกกระทำ ของวัตถ กบั วตั ถหุ นึ่ง ๆ ทำใหวตั ถุตกลงสูพื้นโลกและ ทำใหวัตถุมนี ำ้ หนัก วดั น้ำหนกั ของวตั ถไุ ดจาก เครื่องชัง่ สปริง น้ำหนักของวตั ถขุ ้ึนกบั มวล ของวตั ถโุ ดยวัตถุทม่ี ีมวลมากจะมีนำ้ หนักมาก วตั ถุที่มีมวลนอยจะมีนำ้ หนักนอย ๓. บรรยายมวลของวตั ถุทม่ี ผี ลตอการ • มวล คือ ปริมาณเนือ้ ของสสารทั้งหมดที่ เปลีย่ นแปลงการเคลอ่ื นท่ขี องวัตถุจาก ประกอบกนั เปนวตั ถุซง่ึ มผี ลตอความยากงาย หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ ในการเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ วตั ถุท่มี มี วลมากจะเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ ไดยากกวาวัตถทุ มี่ ีมวลนอย ดงั นน้ั มวลของ วัตถุ นอกจากจะหมายถงึ เนอ้ื ทง้ั หมดของวตั ถุ น้ันแลว ยังหมายถึงการตานการเปล่ียนแปลง การเคลอ่ื นที่ของวตั ถุน้นั ดวย ป.๕ ๑. อธิบายวิธกี ารหาแรงลัพธ์ของแรงหลาย • แรงลัพธเ์ ปน็ ผลรวมของแรงทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ โดย แรงในแนวเดียวกันทกี่ ระทำตอ่ วตั ถุในกรณที ่ี แรงลัพธ์ของแรง ๒ แรงทกี่ ระทำต่อวัตถเุ ดยี วกันจะ วัตถุอยู่นิง่ จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ มีขนาดเทา่ กับผลรวมของแรงทง้ั สองเม่ือแรงท้ังสอง ๒. เขยี นแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ อยใู่ นแนวเดยี วกันและมีทศิ ทางเดยี วกนั แต่จะมี ท่ีอยู่ในแนวเดียวกนั และแรงลัพธท์ กี่ ระทำตอ่ ขนาดเทา่ กับผลต่างของแรงทงั้ สอง เม่อื แรงทัง้ สอง วตั ถุ อยูใ่ นแนวเดยี วกันแตม่ ที ิศทางตรงขา้ มกัน สำหรับ ๓. ใช้เครอ่ื งชง่ั สปรงิ ในการวดั แรงทก่ี ระทำ วตั ถทุ อ่ี ยู่นิ่งแรงลัพธท์ ี่กระทำตอ่ วัตถุมีคา่ เปน็ ศูนย์ ตอ่ วตั ถุ • การเขยี นแผนภาพของแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ สามารถเขยี นไดโ้ ดยใช้ลกู ศร โดยหัวลูกศรแสดง ทศิ ทางของแรง และความยาวของลกู ศรแสดง ขนาดของแรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุ ๔. ระบุผลของแรงเสียดทานทีม่ ีตอ่ การ • แรงเสียดทานเป็นแรงทีเ่ กดิ ขึน้ ระหวา่ งผิวสัมผัส เปลีย่ นแปลงการเคลอ่ื นที่ของวัตถจุ าก ของวตั ถุ เพอ่ื ต้านการเคลือ่ นท่ีของวัตถุนัน้ โดยถ้า หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ออกแรงกระทำตอ่ วตั ถุทีอ่ ย่นู ิ่งบนพน้ื ผิวหน่ึงให้ เคล่ือนท่ี แรงเสยี ดทานจากพืน้ ผวิ นัน้ กจ็ ะต้านการ

24 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๕. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและ เคลือ่ นที่ของวตั ถุ แต่ถ้าวตั ถกุ ำลังเคลอ่ื นท่ี แรง แรง ทีอ่ ยใู่ นแนวเดยี วกันทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ เสยี ดทานกจ็ ะทำใหว้ ัตถุนน้ั เคลื่อนทช่ี ้าลงหรือหยุด นิ่ง ป.๖ ๑. อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟา้ ซึง่ • วตั ถุ ๒ ชนิดท่ีผ่านการขดั ถแู ล้ว เมื่อนำเข้าใกล้กัน เกดิ จากวัตถุทีผ่ า่ นการขดั ถู โดยใช้หลักฐาน อาจดงึ ดดู หรือผลกั กนั แรงทเ่ี กดิ ขึน้ นเี้ ป็นแรงไฟฟา้ เชิงประจกั ษ์ ซ่งึ เปน็ แรงไม่สัมผัส เกิดข้นึ ระหว่างวตั ถทุ มี่ ปี ระจุ ไฟฟา้ ซง่ึ ประจุไฟฟา้ มี ๒ ชนิด คือ ประจไุ ฟฟ้าบวก และประจไุ ฟฟ้าลบ วัตถทุ ีม่ ีประจุ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ ง สสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณท์ ่เี กี่ยวข้องกับ เสยี ง แสง และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการ • เสยี งเกดิ จากการส่นั ของวัตถุ วตั ถุที่ทำให้เกิดเสียง เคล่อื นทขี่ องเสยี งจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เปน็ แหล่งกำเนิดเสียง ซึ่งมที ้งั แหลง่ กำเนิดเสียงตาม ธรรมชาตแิ ละแหล่งกำเนดิ เสียงที่มนุษย์สร้างข้ึน เสยี งเคล่อื นทอ่ี อกจากแหล่งกำเนิดเสียงทุกทิศทาง ป.๒ ๑. บรรยายแนวการเคล่ือนที่ของแสงจาก • แสงเคล่อื นทจี่ ากแหลง่ กำเนิดแสงทกุ ทศิ ทางเป็น แหล่งกำเนดิ แสง และอธบิ ายการมองเห็น แนวตรง เมอ่ื มีแสงจากวตั ถมุ าเข้าตาจะทำให้ วัตถจุ ากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ มองเห็นวตั ถุนัน้ การมองเหน็ วัตถุทเ่ี ป็น ๒. ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรขู้ องการ แหลง่ กำเนิดแสง แสงจากวัตถุนัน้ จะเข้าสู่ตา มองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกนั โดยตรง สว่ นการมองเหน็ วตั ถุที่ไม่ใช่แหล่งกำเนดิ อันตราย จากการมองวัตถทุ อี่ ยใู่ นบริเวณทม่ี ี แสง ตอ้ งมีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงไปกระทบวัตถุ แสงสว่างไมเ่ หมาะสม แลว้ สะทอ้ นเขา้ ตา ถ้ามแี สงที่สวา่ งมาก ๆ เข้าสตู่ า อาจเกิดอันตรายตอ่ ตาได้ จงึ ตอ้ งหลกี เลีย่ งการมอง หรือใช้แผน่ กรองแสงท่ีมีคุณภาพเม่ือจำเปน็ และ ตอ้ งจดั ความสว่างใหเ้ หมาะสมกับการทำกิจกรรม ต่าง ๆ เชน่ การอา่ นหนงั สือ การดูจอโทรทัศน์ การ ใชโ้ ทรศัพท์เคลอ่ื นทแ่ี ละแท็บเล็ต

25 ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๓ ๑. ยกตวั อย่างการเปลยี่ นพลงั งาน • พลังงานเป็นปริมาณที่แสดงถงึ ความสามารถ ใน หนงึ่ ไปเป็นอีกพลงั งานหนงึ่ จากหลักฐานเชิง การทำงาน พลังงานมหี ลายแบบ เชน่ พลังงานกล ประจักษ์ พลังงานไฟฟา้ พลงั งานแสง พลงั งานเสียง และ พลงั งานความร้อน โดยพลงั งานสามารถเปล่ียนจาก พลังงานหนง่ึ ไป เปน็ อีกพลงั งานหนึ่งได้ เช่น การถูมอื จนรู้สกึ ร้อน เป็นการเปลยี่ นพลังงานกลเป็นพลงั งาน ความรอ้ น แผงเซลล์สุริยะเปลีย่ นพลงั งานแสงเป็น พลงั งานไฟฟา้ หรือเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เปลีย่ นพลังงาน ไฟฟ้าเปน็ พลงั งานอน่ื ๒. บรรยายการทำงานของเคร่อื งกำเนิด • ไฟฟาผลิตจากเครื่องกำเนดิ ไฟฟาซ่งึ ใช พลงั งาน ไฟฟาและระบแุ หลงพลังงานในการผลติ จากแหลงพลังงานธรรมชาติหลายแหลง เชน ไฟฟาจากขอมูลท่รี วบรวมได พลังงานจากลม พลงั งาน จากนำ้ พลงั งานจาก ๓. ตระหนกั ในประโยชนและโทษ แกสธรรมชาติ ของไฟฟา โดยนําเสนอวิธีการใชไฟฟา • พลังงานไฟฟามคี วามสำคัญตอ ชวี ิตประจำวนั อยางประหยัด และปลอดภยั การใชไฟฟานอกจากตองใช อยางถูกวธิ ปี ระหยัด และคุมคาแลว ยังตอง คำนึงถึงความปลอดภยั ดวย ป.๔ ๑. จําแนกวัตถเุ ปนตัวกลางโปรงใส • เมื่อมองสิ่งตาง ๆ โดยมวี ัตถุตางชนิดกันมากน้ั แสง ตวั กลางโปรงแสง และวัตถุทบึ แสง จะทำใหลักษณะการมองเห็นสง่ิ นนั้ ๆ ชดั เจนตาง จากลกั ษณะการมองเห็นส่งิ ตาง ๆ กัน จึงจาํ แนกวตั ถุท่มี ากัน้ ออกเปนตัวกลางโปรงใส ผานวตั ถนุ ้ันเปนเกณฑ โดยใชหลกั ฐาน ซ่ึงทำใหมองเห็นส่งิ ตาง ๆ ไดชดั เจน ตัวกลาง เชิงประจกั ษ์ โปรงแสงทำใหมองเหน็ ส่งิ ตาง ๆ ไดไมชดั เจน และวัตถทุ บึ แสงทำใหมองไมเหน็ ส่งิ ตาง ๆ ป.๕ ๑. อธิบายการไดย้ นิ เสียงผา่ นตัวกลางจาก • การไดย้ ินเสยี งตอ้ งอาศัยตวั กลาง โดยอาจเป็น หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ของแขง็ ของเหลว หรืออากาศ เสยี งจะสง่ ผ่าน ตวั กลางมายงั หู ๒. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธบิ ายลักษณะ • เสียงทไี่ ด้ยินมีระดับสงู ตำ่ ของเสียงต่างกนั ขึ้นกบั และการเกิดเสยี งสูง เสยี งตำ่ ความถี่ของการสั่นของแหลง่ กำเนิดเสยี ง โดยเมอื่ ๓. ออกแบบการทดลองและอธิบายลกั ษณะ แหลง่ กำเนิดเสียงสัน่ ด้วยความถ่ตี ำ่ จะเกิดเสียงต่ำ และการเกิดเสียงดัง เสยี งค่อย แต่ถา้ สัน่ ดว้ ยความถ่ีสูงจะเกดิ เสียงสงู ส่วนเสียงดัง ๔. วดั ระดับเสียงโดยใช้เครอ่ื งมอื วดั ระดบั ค่อยท่ไี ด้ยนิ ขึน้ กบั พลังงานการสั่นของแหล่งกำเนดิ เสียง เสียง โดยเมื่อแหล่งกำเนดิ เสียงสั่นดว้ ยพลังงาน ๕. ตระหนักในคณุ คา่ ของความรเู้ ร่ืองระดับ มากจะเกดิ เสยี งดัง แตถ่ ้าแหลง่ กำเนดิ เสียงสั่นด้วย เสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เลี่ยง พลังงานนอ้ ยจะเกดิ เสยี งค่อย และลดมลพิษทางเสยี ง

26 ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง • เสียงดังมาก ๆ เปน็ อันตรายตอ่ การได้ยนิ และ เสยี งทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความรำคาญเป็นมลพษิ ทางเสียง เดซเิ บลเปน็ หน่วยทีบ่ อกถึงความดังของเสยี ง ป.6 ๑. ระบสุ ่วนประกอบและบรรยายหนา้ ทขี่ อง • วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยประกอบดว้ ย แหลง่ กำเนิด แต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย ไฟฟ้า สายไฟฟ้า และเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ หรอื อุปกรณ์ จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ไฟฟา้ แหล่งกำเนิดไฟฟา้ เช่น ถา่ นไฟฉาย หรือ ๒. เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ ง แบตเตอร่ี ทำหนา้ ที่ใหพ้ ลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้า ง่าย เปน็ ตวั นำไฟฟ้า ทำหนา้ ทเี่ ชอื่ มตอ่ ระหว่าง แหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ และเคร่ืองใช้ไฟฟา้ เขา้ ดว้ ยกัน เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ามีหนา้ ทีเ่ ปลี่ยนพลงั งานไฟฟา้ เปน็ พลังงานอนื่ ๓. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธี • เม่ือนำเซลลไ์ ฟฟา้ หลายเซลลม์ าตอ่ เรียงกัน โดย ที่เหมาะสมในการอธิบายวธิ ีการและผลของ ใหข้ ั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึง่ ต่อกบั ขว้ั ลบ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ของอีกเซลลห์ นงึ่ เป็นการตอ่ แบบอนุกรม ทำให้มี ๔. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรู้ของการ พลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกับเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า ซึ่งการ ต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรมโดยบอก ต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมสามารถนำไปใช้ ประโยชนแ์ ละการประยุกต์ใชใ้ น ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั เชน่ การต่อเซลล์ไฟฟา้ ชวี ติ ประจำวนั ในไฟฉาย ๕. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ี • การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมเมอื่ ถอดหลอด ทเ่ี หมาะสมในการอธบิ ายการต่อหลอดไฟฟา้ ไฟฟ้าดวงใดดวงหนง่ึ ออกทำให้หลอดไฟฟ้าท่เี หลือ แบบอนุกรมและแบบขนาน ดบั ทง้ั หมด สว่ นการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบขนาน ๖. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรูข้ องการ เมื่อถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนึง่ ออก หลอด ตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน ไฟฟา้ ทเี่ หลือกย็ ังสวา่ งได้ การตอ่ หลอดไฟฟ้าแต่ละ โดยบอกประโยชน์ ขอ้ จำกดั และการ แบบสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ เชน่ การต่อ ประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั หลอดไฟฟา้ หลายดวงในบา้ นจึงตอ้ งตอ่ หลอด ไฟฟา้ แบบขนาน เพือ่ เลือกใช้หลอดไฟฟา้ ดวงใด ดวงหนึ่งได้ตามต้องการ ๗. อธบิ ายการเกิดเงามืดเงามวั จากหลักฐาน • เม่ือนำวัตถทุ ึบแสงมากั้นแสงจะเกดิ เงาบนฉาก เชงิ ประจักษ์ รับแสงท่อี ยดู่ ้านหลงั วตั ถุ โดยเงามรี ปู ร่างคลา้ ย ๘. เขียนแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกดิ วตั ถทุ ท่ี ำใหเ้ กดิ เงา เงามวั เป็นบริเวณท่มี ีแสง เงามดื เงามวั บางส่วนตกลงบนฉาก ส่วนเงามดื เป็นบรเิ วณทไ่ี มม่ ี แสงตกลงบนฉากเลย

27 สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมทงั้ ปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสรุ ิยะทส่ี ่งผลตอ่ ส่งิ มชี ีวิต และการประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยีอวกาศ ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. ระบุดาวท่ีปรากฏบนท้องฟา้ ในเวลา • บนท้องฟา้ มดี วงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ซึ่ง กลางวัน และกลางคนื จากขอ้ มลู ท่รี วบรวม ในเวลากลางวันจะมองเหน็ ดวงอาทติ ย์และอาจ ได้ มองเหน็ ดวงจันทรบ์ างเวลาในบางวัน แตไ่ ม่ ๒. อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ สามารถมองเห็นดาว ในเวลากลางวนั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ • ในเวลากลางวนั มองไมเ่ หน็ ดาวส่วนใหญ่ เนอ่ื งจาก แสงอาทติ ย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว ส่วนใน เวลากลางคนื จะมองเหน็ ดาวและมองเห็นดวงจันทร์ เกือบทกุ คนื ป.๒ - - ป.๓ ๑. อธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขึน้ และตก • คนบนโลกมองเหน็ ดวงอาทติ ย์ปรากฏขึ้น ของดวงอาทิตย์โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ทางด้านหน่งึ และตกทางอกี ดา้ นหนง่ึ ทุกวัน ๒. อธิบายสาเหตกุ ารเกดิ ปรากฏการณ์การ หมุนเวียนเปน็ แบบรูปซำ้ ๆ ขนึ้ และตกของดวงอาทติ ย์ การเกิดกลางวนั • โลกกลมและหมุนรอบตวั เองขณะโคจรรอบดวง กลางคนื และการกำหนดทิศ โดยใช้ อาทติ ย์ ทำให้บรเิ วณของโลกได้รบั แสงอาทิตยไ์ ม่ แบบจำลอง พรอ้ มกนั โลกดา้ นท่ไี ด้รับแสงจากดวงอาทิตยจ์ ะ ๓. ตระหนักถงึ ความสำคัญของดวงอาทติ ย์ เป็นกลางวนั ส่วนดา้ นตรงข้ามที่ไม่ได้รับแสงจะเปน็ โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทติ ยต์ อ่ กลางคนื นอกจากนีค้ นบนโลกจะมองเหน็ ดวง ส่ิงมชี ีวติ อาทิตยป์ รากฏข้ึนทางด้านหน่ึง ซ่ึงกำหนดให้เปน็ ทิศตะวันออก และมองเห็นดวงอาทติ ยต์ กทางอกี ดา้ นหน่ึง ซึ่งกำหนดใหเ้ ป็นทศิ ตะวนั ตก และเมือ่ ให้ดา้ นขวามืออยูท่ างทศิ ตะวันออกดา้ นซา้ ยมอื อยู่ ทางทศิ ตะวันตก ด้านหน้าจะเป็นทิศเหนือ และ ด้านหลงั จะเป็นทศิ ใต้ • ในเวลากลางวันโลกจะไดร้ ับพลังงานแสงและ พลังงานความร้อนจากดวงอาทติ ย์ ทำให้สง่ิ มีชวี ิต ดำรงชวี ติ อยไู่ ด้ ป.4 ๑. อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการขน้ึ และตก • ดวงจนั ทรเ์ ป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์ ของดวงจนั ทร์ โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ หมนุ รอบตัวเองขณะโคจรรอบโลก ขณะท่ีโลกก็ หมุนรอบตัวเองดว้ ยเช่นกนั การหมุนรอบตวั เอง ของโลกจากทศิ ตะวนั ตกไปทศิ ตะวนั ออกใน

28 ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ทศิ ทางทวนเขม็ นาฬกิ าเม่ือมองจากข้ัวโลกเหนือ ทำใหม้ องเหน็ ดวงจนั ทรป์ รากฏข้นึ ทางด้านทิศ ตะวนั ออกและตกทางดา้ นทศิ ตะวันตกหมุนเวียน เปน็ แบบรปู ซำ้ ๆ ๒. สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธบิ ายแบบรูป การ • ดวงจันทร์เป็นวตั ถทุ ี่เปน็ ทรงกลม แตร่ ูปร่างของ เปลีย่ นแปลงรูปรา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ ดวงจันทร์ทมี่ องเห็นหรือรปู รา่ งปรากฏของดวง และพยากรณร์ ปู รา่ งปรากฏของดวงจันทร์ จันทร์บนทอ้ งฟ้าแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละวนั โดยใน แต่ละวันดวงจนั ทร์จะมีรปู รา่ งปรากฏเป็นเสยี้ วที่มี ขนาดเพ่ิมขึ้นอย่างตอ่ เน่ืองจนเตม็ ดวง จากนั้น รปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทรจ์ ะแหวง่ และมขี นาด ลดลงอย่างตอ่ เน่อื งจนมองไมเ่ หน็ ดวงจันทร์ จากนนั้ รปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทรจ์ ะเป็นเสีย้ ว ใหญ่ขึน้ จนเตม็ ดวงอกี คร้งั การเปลยี่ นแปลงเชน่ น้ี เปน็ แบบรูปซ้ำกนั ทกุ เดอื น ๓. สรา้ งแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของ • ระบบสรุ ยิ ะเปน็ ระบบทีม่ ดี วงอาทิตย์เป็น ระบบสุรยิ ะ และอธิบายเปรยี บเทียบคาบ ศนู ย์กลางและมีบริวารประกอบดว้ ย ดาวเคราะห์ การโคจรของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ จาก แปดดวง และบริวาร ซง่ึ ดาวเคราะห์แต่ละดวงมี แบบจำลอง ขนาดและระยะหา่ งจากดวงอาทิตย์แตกต่างกนั และยงั ประกอบด้วย ดาวเคราะหแ์ คระ ดาว เคราะหน์ ้อย ดาวหาง และวัตถขุ นาดเลก็ อ่ืน ๆ โคจรอย่รู อบดวงอาทติ ย์ วตั ถขุ นาดเลก็ อนื่ ๆ เม่ือ เขา้ มาในชัน้ บรรยากาศเน่ืองจากแรงโน้มถ่วงของ โลก ทำใหเ้ กิดเปน็ ดาวตกหรือผพี ุ่งไตแ้ ละ อกุ กาบาต ป.5 ๑. เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของดาว • ดาวท่มี องเห็นบนทอ้ งฟ้าอยใู่ นอวกาศซง่ึ เป็น เคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง บริเวณท่อี ยู่นอกบรรยากาศของโลก มีทั้งดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์ ดาวฤกษเ์ ป็นแหลง่ กำเนิดแสงจึง สามารถมองเห็นได้ สว่ นดาวเคราะหไ์ ม่ใช่ แหล่งกำเนิดแสง แต่สามารถมองเหน็ ได้เนื่องจาก แสงจากดวงอาทติ ย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว สะท้อนเข้าสู่ตา ๒. ใช้แผนทีด่ าวระบุตำแหนง่ และเสน้ ทาง • การมองเห็นกลุม่ ดาวฤกษ์มีรูปรา่ งต่าง ๆ เกดิ การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า จากจินตนาการของผ้สู งั เกต กลุ่มดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏในท้องฟ้าแตล่ ะกลุม่ มีดาวฤกษแ์ ต่ละดวง

29 ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง และอธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขน้ึ และตก เรยี งกันทตี่ ำแหนง่ คงที่ และมีเส้นทางการขึ้นและ ของกลุ่มดาวฤกษ์บนทอ้ งฟ้าในรอบปี ตกตามเสน้ ทางเดิมทกุ คนื ซ่ึงจะปรากฏตำแหนง่ เดิม การสังเกตตำแหน่งและการขึ้นและตกของ ดาวฤกษ์ และกลมุ่ ดาวฤกษ์ สามารถทำไดโ้ ดยใช้ แผนท่ีดาว ซงึ่ ระบุมมุ ทิศและมุมเงยทก่ี ล่มุ ดาวนนั้ ปรากฏ ผสู้ งั เกตสามารถใช้มือในการประมาณคา่ ของมมุ เงยเม่ือสงั เกตดาวในทอ้ งฟา้ ป.6 ๑. สร้างแบบจำลองทอี่ ธิบายการเกดิ และ • เม่อื โลกและดวงจนั ทร์ โคจรมาอยใู่ นแนว เปรยี บเทียบปรากฏการณ์สรุ ยิ ุปราคา และ เส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทติ ย์ในระยะทางที่ จันทรุปราคา เหมาะสม ทำใหด้ วงจนั ทร์บังดวงอาทิตย์ เงาของ ดวงจันทรท์ อดมายังโลก ผู้สงั เกตทีอ่ ยู่บรเิ วณเงา จะมองเห็น ดวงอาทติ ยม์ ดื ไป เกดิ ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา ซง่ึ มีท้ังสุรยิ ปุ ราคาเตม็ ดวง สุรยิ ปุ ราคา บางส่วน และสรุ ิยปุ ราคาวงแหวน • หากดวงจันทรแ์ ละโลกโคจรมาอยใู่ นแนว เส้นตรงเดียวกนั กบั ดวงอาทติ ย์ แลว้ ดวงจันทร์ เคลอ่ื นที่ผ่านเงาของโลก จะมองเห็นดวงจันทร์มืด ไป เกิดปรากฏการณ์จนั ทรุปราคา ซ่ึงมที ง้ั จันทรุปราคาเต็มดวง และจันทรปุ ราคาบางสว่ น ๒. อธิบายพฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ • เทคโนโลยีอวกาศเร่มิ จากความตอ้ งการของ และยกตัวอยา่ งการนำเทคโนโลยอี วกาศมา มนษุ ย์ในการสำรวจวัตถทุ ้องฟา้ โดยใช้ตาเปล่า ใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวนั จากข้อมูลท่ี กล้องโทรทรรศน์ และได้พฒั นาไปสกู่ ารขนส่งเพอ่ื รวบรวมได้ สำรวจอวกาศดว้ ยจรวดและยานขนสง่ อวกาศ และยังคงพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ปัจจบุ ันมกี ารนำ เทคโนโลยอี วกาศบางประเภทมาประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวนั เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อการ ส่ือสาร การพยากรณ์อากาศ หรอื การสำรวจ ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้อปุ กรณ์วดั ชพี จรและ การเต้นของหวั ใจ หมวกนริ ภยั ชดุ กีฬา

30 สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลกและ บนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมท้ังผล ต่อสิง่ มชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.1 ๑. อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของหิน จาก • หินที่อย่ใู นธรรมชาติมลี กั ษณะภายนอก ลกั ษณะเฉพาะตัวทีส่ งั เกตได้ เฉพาะตวั ที่สังเกตได้ เช่น สี ลวดลาย น้ำหนกั ความแข็ง และเนือ้ หนิ ป.๒ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของดนิ และจำแนก • ดนิ ประกอบดว้ ยเศษหิน ซากพชื ซากสตั วผ์ สม ชนิดของดินโดยใชล้ ักษณะเนือ้ ดินและการ อยู่ในเน้อื ดนิ มอี ากาศและน้ำแทรกอยู่ตาม จบั ตวั เปน็ เกณฑ์ ช่องว่างในเนือ้ ดิน ดนิ จำแนกเป็น ดนิ รว่ น ดนิ ๒. อธิบายการใช้ประโยชนจ์ ากดิน จาก เหนยี ว และดินทราย ตามลกั ษณะเน้ือดนิ และการ ข้อมูล ทรี่ วบรวมได้ จับตวั ของดนิ ซง่ึ มผี ลต่อการอ้มุ น้ำทแ่ี ตกต่างกัน • ดนิ แต่ละชนดิ นำไปใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ตกต่างกัน ตามลกั ษณะและสมบัตขิ องดนิ ป.3 ๑. ระบุสว่ นประกอบของอากาศ บรรยาย • อากาศโดยทั่วไปไม่มีสี ไมม่ ีกล่ิน ประกอบด้วย ความสำคญั ของอากาศ และผลกระทบของ แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แกส๊ มลพิษทางอากาศตอ่ สิ่งมีชวี ติ จากขอ้ มูลที่ คารบ์ อนไดออกไซด์ แก๊สอืน่ ๆ รวมทัง้ ไอน้ำ และ รวบรวมได้ ฝุ่นละออง อากาศมีความสำคัญต่อส่ิงมีชวี ติ หาก ๒. ตระหนักถงึ ความสำคัญของอากาศ โดย ส่วนประกอบของอากาศไม่เหมาะสม เน่ืองจากมี นำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนในการลดการ แก๊สบางชนดิ หรอื ฝุ่นละอองในปริมาณมาก อาจ เกิดมลพษิ ทางอากาศ เป็นอันตรายตอ่ สง่ิ มชี ีวติ ชนดิ ต่าง ๆ จดั เปน็ มลพษิ ทางอากาศ • แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเพือ่ ลดการปล่อยมลพษิ ทางอากาศ เช่น ใช้พาหนะรว่ มกนั หรอื เลือกใช้ เทคโนโลยที ี่ลดมลพิษทางอากาศ ๓. อธบิ ายการเกดิ ลมจากหลักฐานเชงิ • ลม คือ อากาศที่เคลือ่ นท่ี เกิดจากความแตกต่าง ประจกั ษ์ กนั ของอณุ หภมู อิ ากาศบรเิ วณทอ่ี ยู่ใกลก้ นั โดย อากาศบริเวณที่มอี ณุ หภูมิสูงจะลอยตวั สูงขน้ึ และ อากาศบริเวณท่ีมีอุณหภูมิตำ่ กวา่ จะเคลื่อนเข้าไป แทนที่

31 ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. บรรยายประโยชน์และโทษของลม จาก • ลมสามารถนำมาใชเ้ ป็นแหลง่ พลงั งานทดแทนใน ข้อมูลทีร่ วบรวมได้ การผลติ ไฟฟา้ และนำไปใช้ประโยชน์ในการทำ กจิ กรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ หากลมเคลื่อนทดี่ ้วย ความเร็วสูงอาจทำใหเ้ กิดอนั ตรายและความ เสียหายต่อชวี ติ และทรพั ย์สินได้ ป.๔ - - ป.5 ๑. เปรียบเทียบปรมิ าณนำ้ ในแต่ละแหลง่ • โลกมีท้ังน้ำจืดและน้ำเค็มซ่ึงอย่ใู นแหลง่ นำ้ ตา่ ง ๆ และระบปุ ริมาณน้ำท่ีมนุษย์สามารถนำมาใช้ ทม่ี ที ง้ั แหลง่ น้ำผิวดนิ เช่น ทะเล มหาสมุทร บึง ประโยชนไ์ ด้ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ แม่นำ้ และแหล่งนำ้ ใต้ดนิ เชน่ นำ้ ในดนิ และน้ำ บาดาล น้ำท้งั หมดของโลกแบง่ เปน็ น้ำเคม็ ประมาณรอ้ ยละ ๙๗.๕ ซงึ่ อยใู่ นมหาสมุทรและ แหลง่ น้ำอ่นื ๆ และทเ่ี หลอื อกี ประมาณร้อยละ ๒.๕ เป็นนำ้ จืด ถา้ เรียงลำดบั ปรมิ าณนำ้ จืดจาก มากไปนอ้ ยจะอยทู่ ่ี ธารนำ้ แข็ง และพดื นำ้ แขง็ น้ำ ใต้ดนิ ชั้นดินเยือกแขง็ คงตวั และน้ำแขง็ ใต้ดิน ทะเลสาบ ความชื้นในดนิ ความชืน้ ในบรรยากาศ บงึ แม่น้ำ และน้ำในสงิ่ มชี วี ติ ๒. ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำโดยนำเสนอ • น้ำจืดท่มี นุษยน์ ำมาใช้ได้มีปรมิ าณนอ้ ยมาก จงึ แนวทางการใช้นำ้ อยา่ งประหยดั และการ ควรใช้นำ้ อยา่ งประหยัดและรว่ มกันอนุรักษน์ ำ้ อนรุ กั ษ์น้ำ ๓. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการหมุนเวยี น • วัฏจักรนำ้ เป็นการหมนุ เวยี นของนำ้ ท่มี แี บบรูป ของน้ำในวัฏจกั รนำ้ ซำ้ เดิม และตอ่ เน่อื งระหว่างนำ้ ในบรรยากาศ นำ้ ผิวดิน และน้ำใตด้ ิน โดยพฤตกิ รรมการดำรงชีวิต ของพชื และสตั วส์ ง่ ผลตอ่ วฏั จักรน้ำ ๔. เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ เมฆ หมอก • ไอน้ำในอากาศจะควบแนน่ เปน็ ละอองนำ้ เลก็ ๆ นำ้ ค้าง และนำ้ คา้ งแข็ง จากแบบจำลอง โดยมีละอองลอย เชน่ เกลอื ฝุน่ ละออง ละออง เรณขู องดอกไม้ เปน็ อนภุ าคแกนกลาง เมอื่ ละออง น้ำจำนวนมากเกาะกลมุ่ รวมกันลอยอยู่สงู จาก พื้นดนิ มาก เรยี กวา่ เมฆ แต่ละอองน้ำที่เกาะกลุ่ม

32 ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง รวมกนั อยู่ใกล้พน้ื ดิน เรยี กว่า หมอกสว่ นไอน้ำท่ี ควบแนน่ เปน็ ละอองนำ้ เกาะอยู่บนพน้ื ผิววตั ถุใกล้ พืน้ ดนิ เรยี กวา่ นำ้ ค้าง ถา้ อณุ หภูมิใกล้พนื้ ดนิ ต่ำ กว่าจุดเยือกแข็ง น้ำคา้ งก็จะกลายเป็นนำ้ คา้ งแขง็ ๕. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดฝน หมิ ะ • ฝน หมิ ะ ลกู เห็บ เป็นหยาดน้ำฟ้าซงึ่ เป็นนำ้ ที่มี และลกู เห็บ จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ สถานะต่าง ๆ ที่ตกจากฟา้ ถึงพื้นดนิ ฝนเกดิ จาก ละอองน้ำในเมฆทร่ี วมตัวกนั จนอากาศไมส่ ามารถ พยงุ ไวไ้ ด้จงึ ตกลงมา หิมะเกิดจากไอน้ำในอากาศ ระเหดิ กลบั เปน็ ผลกึ น้ำแข็ง รวมตวั กนั จนมนี ้ำหนกั มากข้ึนจนเกนิ กว่าอากาศจะพยงุ ไวจ้ ึงตกลงมา ลกู เหบ็ เกิดจากหยดนำ้ ท่เี ปลีย่ นสถานะเป็นน้ำแขง็ แลว้ ถกู พายพุ ดั วนซ้ำไปซ้ำมาในเมฆฝนฟา้ คะนอง ทีม่ ีขนาดใหญ่และอยใู่ นระดับสงู จนเป็นก้อน นำ้ แข็งขนาดใหญ่ขึ้นแล้วตกลงมา ป.๖ ๑. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดหนิ อคั นี หนิ • หนิ เป็นวสั ดแุ ขง็ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ตะกอน และหินแปร และอธบิ ายวัฏจักรหนิ ประกอบดว้ ยแรต่ ้งั แตห่ นึ่งชนิดขึน้ ไป สามารถ จากแบบจำลอง จำแนกหินตามกระบวนการเกดิ ได้เป็น ๓ประเภท ได้แก่หินอัคนี หินตะกอนและหนิ แปร • หินอคั นเี กดิ จากการเย็นตวั ของแมกมา เนอ้ื หนิ มลี กั ษณะเป็นผลกึ ท้ังผลกึ ขนาดใหญ่และขนาด เลก็ บางชนดิ อาจเป็นเน้อื แก้วหรือมรี ูพรุน • หนิ ตะกอน เกิดจากการทบั ถมของตะกอนเม่ือ ถกู แรงกดทับและมีสารเชื่อมประสานจึงเกิดเป็น หิน เนอ้ื หินกลุ่มน้ีส่วนใหญ่มลี กั ษณะเป็นเมด็ ตะกอนมที ้ังเนอ้ื หยาบและเนอ้ื ละเอียด บางชนดิ เปน็ เนื้อผลึกท่ียดึ เกาะกันเกิดจากการตกผลกึ หรอื ตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะน้ำทะเล บางชนิดมี ลักษณะเปน็ ชน้ั ๆ จึงเรียกอกี ช่ือว่า หนิ ชนั้

33 ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง • หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหนิ เดมิ ซงึ่ อาจเปน็ หินอคั นี หนิ ตะกอน หรอื หินแปร โดยการ กระทำของความร้อน ความดัน และปฏกิ ิรยิ าเคมี เนือ้ หินของหินแปรบางชนิดผลึกของแรเ่ รียงตัว ขนานกันเปน็ แถบ บางชนดิ แซะออกเปน็ แผ่นได้ บางชนิดเป็นเนื้อ ผลึกทมี่ ีความแข็งมาก • หนิ ในธรรมชาตทิ ้ัง ๓ ประเภท มกี ารเปลีย่ นแปลง จากประเภทหนงึ่ ไปเป็นอกี ประเภทหนง่ึ หรอื ประเภทเดิมได้ โดยมแี บบรปู การเปล่ียนแปลงคงท่ี และต่อเนื่องเป็น วัฏจักร ๒. บรรยายและยกตัวอย่างการใชป้ ระโยชน์ • หินและแรแ่ ต่ละชนดิ มีลักษณะและสมบัติ ของหินและแรใ่ นชีวติ ประจำวนั จากขอ้ มลู ที่ แตกต่างกนั มนุษยใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากแร่ใน รวบรวมได้ ชวี ิตประจำวนั ในลักษณะต่าง ๆ เช่น นำแรม่ าทำ เครือ่ งสำอาง ยาสฟี ัน เคร่อื งประดบั อปุ กรณท์ าง การแพทย์ และนำหินมาใช้ในงานก่อสรา้ งต่าง ๆ เป็นตน้ ๓. สร้างแบบจำลองทอ่ี ธิบายการเกิดซากดึก • ซากดกึ ดำบรรพ์เกดิ จากการทบั ถมหรือการ ดำบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มใน ประทบั รอยของส่ิงมชี ีวิตในอดีต จนเกดิ เปน็ อดีตของซากดกึ ดำบรรพ์ โครงสรา้ งของซากหรอื รอ่ งรอยของส่งิ มชี วี ิตท่ี ปรากฏอยใู่ นหนิ ในประเทศไทยพบซากดกึ ดำ บรรพท์ ี่หลากหลาย เชน่ พชื ปะการงั หอย ปลา เต่า ไดโนเสาร์ และรอยตนี สตั ว์ • ซากดกึ ดำบรรพส์ ามารถใช้เป็นหลักฐานหนึ่งท่ี ชว่ ยอธบิ ายสภาพแวดลอ้ มของพื้นทใี่ นอดตี ขณะ เกดิ สงิ่ มชี วี ติ นั้น เช่น หากพบซากดึกดำบรรพ์ ของ หอยน้ำจืด สภาพแวดล้อมบริเวณนน้ั อาจเคยเป็น แหล่งน้ำจดื มาก่อน และหากพบซากดึกดำบรรพ์

34 ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ของพชื สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นป่า มากอ่ น นอกจากน้ีซากดึกดำบรรพ์ ยงั สามารถใช้ ระบอุ ายขุ องหิน และเปน็ ขอ้ มลู ในการศกึ ษา วิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวิต ๔. เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และ • ลมบก ลมทะเล และมรสมุ เกดิ จากพน้ื ดินและ มรสมุ รวมท้งั อธิบายผลทมี่ ตี ่อสิ่งมีชวี ติ และ พื้นน้ำ รอ้ นและเยน็ ไมเ่ ท่ากันทำให้อุณหภมู ิอากาศ สงิ่ แวดลอ้ ม จากแบบจำลอง เหนือพื้นดนิ และพน้ื นำ้ แตกต่างกัน จงึ เกดิ การ เคล่อื นทข่ี องอากาศจากบริเวณทม่ี ีอณุ หภูมิต่ำ ไป ยงั บรเิ วณที่มอี ุณหภมู ิสงู • ลมบกและลมทะเลเป็นลมประจำถิน่ ท่ีพบ บริเวณชายฝ่งั โดยลมบกเกดิ ในเวลากลางคนื ทำ ให้มลี มพดั จากชายฝง่ั ไปส่ทู ะเล ส่วนลมทะเลเกิด ในเวลากลางวัน ทำให้มีลมพัดจากทะเลเขา้ สู่ ชายฝง่ั ๕. อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ • มรสุมเป็นลมประจำฤดูเกิดบรเิ วณเขตรอ้ นของ ประเทศไทย จากขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ โลก ซึ่งเปน็ บรเิ วณกวา้ งระดับภูมภิ าค ประเทศ ไทยไดร้ บั ผลจากมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือในช่วง ประมาณกลางเดอื นตุลาคมจนถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ทำให้เกิดฤดูหนาว และไดร้ บั ผลจากมรสุม ตะวันตกเฉียงใตใ้ นชว่ งประมาณกลางเดือน พฤษภาคมจนถงึ กลางเดือนตลุ าคมทำให้เกิดฤดูฝน ส่วนช่วงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธจ์ นถึง กลางเดือนพฤษภาคมเป็นชว่ งเปลยี่ นมรสุมและ ประเทศไทยอยู่ใกลเ้ สน้ ศูนยส์ ตู ร แสงอาทติ ย์เกอื บ ต้ังตรงและตัง้ ตรงประเทศไทยในเวลาเท่ยี งวัน ทำ ให้ไดร้ ับความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่างเตม็ ท่ี อากาศจึงรอ้ นอบอา้ วทำให้เกดิ ฤดูรอ้ น

35 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๖.บรรยายลักษณะและผลกระทบ • นำ้ ท่วม การกัดเซาะชายฝ่งั ดินถลม่ แผน่ ดนิ ไหว ของน้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝง่ั ดนิ ถล่ม และสนึ ามิ มีผลกระทบตอ่ ชีวติ และส่ิงแวดล้อม แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ แตกต่างกนั ๗. ตระหนกั ถึงผลกระทบของภยั ธรรมชาติ • มนุษย์ควรเรยี นรู้วธิ ีปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภัย เชน่ และธรณีพิบัติภัย โดยนำเสนอแนวทางใน ตดิ ตามข่าวสารอยา่ งสมำ่ เสมอ เตรียมถุงยงั ชพี ให้ การเฝ้าระวังและปฏิบตั ิตนให้ปลอดภัยจาก พรอ้ มใช้ตลอดเวลา และปฏบิ ตั ิตามคำสั่งของ ภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี ิบัตภิ ยั ทอี่ าจเกดิ ใน ผปู้ กครองและเจ้าหน้าที่อย่างเครง่ ครัดเม่อื เกิดภัย ทอ้ งถนิ่ ธรรมชาติและธรณีพบิ ตั ภิ ัย ๘. สร้างแบบจำลองที่อธบิ ายการเกิด • ปรากฏการณเ์ รือนกระจกเกิดจากแก๊สเรอื น ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก และผลของ กระจกในช้ันบรรยากาศของโลกกกั เก็บความร้อน ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกต่อสง่ิ มีชีวติ แล้ว คายความร้อนบางส่วนกลับสู่ผิวโลก ทำให้ ๙. ตระหนักถงึ ผลกระทบของปรากฏการณ์ อากาศ บนโลกมีอุณหภมู ิเหมาะสมต่อการ เรอื นกระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบตั ิ ดำรงชวี ิต ตนเพื่อลดกจิ กรรมทก่ี ่อให้เกิดแกส๊ เรอื น • หากปรากฏการณ์เรอื นกระจกรนุ แรงมากขนึ้ จะ กระจก มีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก มนุษยจ์ งึ ควรร่วมกนั ลดกจิ กรรมท่ีก่อใหเ้ กิดแกส๊ เรือน กระจก สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอ่ื การดำรงชวี ิตในสังคมท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ น่ื ๆ เพอ่ื แก้ปญั หาหรือ พฒั นางานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวิต สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๑ - - ป.๒ - - ป.๓ - - ป.๔ - - ป.๕ - - ป.๖ - -

36 สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และ การแกป้ ญั หาได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. แก้ปัญหาอย่างงา่ ยโดยใช้การลองผิดลอง • การแกป้ ญั หาใหป้ ระสบความสำเรจ็ ทำได้โดยใช้ ถกู การเปรียบเทียบ ข้ันตอนการแก้ปญั หา • ปัญหาอยา่ งงา่ ย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกตา่ งของภาพ การจัดหนงั สอื ใสก่ ระเป๋า ๒. แสดงลำดับขน้ั ตอนการทำงานหรอื การ • การแสดงขน้ั ตอนการแกป้ ัญหา ทำไดโ้ ดยการ แกป้ ัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ เขยี น บอกเลา่ วาดภาพ หรอื ใช้สญั ลกั ษณ์ หรือขอ้ ความ • ปัญหาอย่างงา่ ย เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจุด แตกต่างของภาพ การจัดหนังสอื ใสก่ ระเป๋า ๓. เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้ • การเขยี นโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดับของคำสงั่ ซอฟต์แวร์หรือส่อื ใหค้ อมพวิ เตอรท์ ำงาน • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมสั่งให้ ตวั ละครยา้ ยตำแหน่ง ยอ่ ขยายขนาด เปลี่ยนรปู ร่าง • ซอฟต์แวรห์ รอื ส่ือทใ่ี ช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ ใชบ้ ตั รคำสัง่ แสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org ๔. ใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง จัดเกบ็ เรยี กใช้ • การใชง้ านอปุ กรณ์เทคโนโลยีเบอื้ งตน้ เช่น การ ขอ้ มูลตามวตั ถปุ ระสงค์ ใชเ้ มาส์ คีย์บอร์ด จอสัมผัส การเปิด-ปิด อปุ กรณ์ เทคโนโลยี • การใชง้ านซอฟตแ์ วร์เบือ้ งต้น เชน่ การเขา้ และ ออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเก็บ การ เรยี กใช้ไฟล์ ทำได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรม ประมวลคำ โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนำเสนอ • การสรา้ งและจัดเกบ็ ไฟลอ์ ย่างเปน็ ระบบจะทำให้ เรียกใช้ ค้นหาข้อมลู ได้ง่ายและรวดเร็ว ๕. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เช่น ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ รจู้ ักขอ้ มูลสว่ นตวั อันตรายจากการเผยแพรข่ อ้ มลู รว่ มกัน ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์เบือ้ งต้น ใชง้ าน สว่ นตัว และไมบ่ อกข้อมลู สว่ นตัวกับบคุ คลอื่น อย่างเหมาะสม ยกเวน้ ผูป้ กครองหรือครู แจ้งผูเ้ กย่ี วขอ้ งเมอื่ ต้องการความช่วยเหลอื เกย่ี วกบั การใชง้ าน

37 ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง • ขอ้ ปฏิบัตใิ นการใช้งานและการดูแลรักษา อุปกรณ์ เชน่ ไมข่ ดี เขียนบนอุปกรณ์ ทำความ สะอาด ใช้อุปกรณ์อยา่ งถกู วิธี • การใช้งานอย่างเหมาะสม เชน่ จัดท่านง่ั ให้ ถกู ต้อง การพักสายตาเมื่อใช้อปุ กรณ์เป็นเวลานาน ระมดั ระวงั อุบตั เิ หตุจากการใช้งาน ป.๒ ๑. แสดงลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานหรือการ • การแสดงขนั้ ตอนการแกป้ ญั หา ทำไดโ้ ดยการ แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณ์ เขยี น บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลกั ษณ์ หรอื ขอ้ ความ • ปัญหาอย่างง่าย เชน่ เกมตัวตอ่ ๖-๑๒ ชนิ้ การ แตง่ ตัวมาโรงเรียน ๒. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้ • ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมสงั่ ให้ ตวั ซอฟต์แวรห์ รอื สื่อ และตรวจหาข้อผดิ พลาด ละครทำงานตามท่ีตอ้ งการ และตรวจสอบ ของโปรแกรม ข้อผดิ พลาด ปรบั แก้ไขใหไ้ ด้ผลลพั ธต์ ามท่ีกำหนด • การตรวจหาข้อผดิ พลาด ทำไดโ้ ดยตรวจสอบ คำสัง่ ท่ีแจ้งข้อผดิ พลาด หรอื หากผลลัพธไ์ มเ่ ปน็ ไป ตามที่ต้องการให้ตรวจสอบการทำงานทีละคำส่ัง • ซอฟตแ์ วรห์ รือสือ่ ทใ่ี ช้ในการเขยี นโปรแกรม เชน่ ใช้บตั รคำสง่ั แสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org ๓. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดหมวดหมู่ • การใชง้ านซอฟตแ์ วรเ์ บ้อื งต้น เชน่ การเข้าและ ค้นหา จดั เกบ็ เรียกใช้ขอ้ มลู ตาม ออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์ การจัดเกบ็ การ วัตถุประสงค์ เรยี กใชไ้ ฟล์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทำได้ ใน โปรแกรม เชน่ โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรม กราฟกิ โปรแกรมนำเสนอ • การสรา้ ง คัดลอก ยา้ ย ลบ เปล่ียนช่อื จดั หมวดหม่ไู ฟล์ และโฟลเดอร์อย่างเป็นระบบจะทำ ให้เรยี กใช้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเรว็ ๔. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั • การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เช่น ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ รูจ้ ักข้อมูลส่วนตัว อนั ตรายจากการเผยแพร่ขอ้ มูล ร่วมกนั ดแู ลรักษาอุปกรณ์เบ้อื งตน้ ใชง้ าน ส่วนตัว และไม่บอกข้อมลู สว่ นตวั กบั บุคคลอ่นื อยา่ งเหมาะสม ยกเว้นผู้ปกครองหรือครู แจ้งผเู้ ก่ยี วขอ้ งเมื่อ ต้องการความช่วยเหลือเก่ียวกบั การใช้งาน • ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใชง้ านและการดแู ลรกั ษา อุปกรณ์ เช่น ไมข่ ีดเขียนบนอปุ กรณ์ ทำความ สะอาด ใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งถูกวิธี

38 ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง • การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านัง่ ให้ ถกู ต้อง การพักสายตาเมือ่ ใช้อปุ กรณ์เปน็ เวลานาน ระมดั ระวงั อุบตั ิเหตุจากการใช้งาน ป.3 ๑. แสดงอลั กอรทิ ึมในการทำงานหรอื การ • อัลกอรทิ มึ เป็นขัน้ ตอนที่ใช้ในการแก้ปญั หา แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณ์ • การแสดงอัลกอริทมึ ทำไดโ้ ดยการเขยี น บอก หรอื ข้อความ เลา่ วาดภาพ หรือใชส้ ัญลักษณ์ • ตัวอยา่ งปญั หา เช่น เกมเศรษฐี เกมบนั ไดงู เกม Tetris เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทำ ความสะอาดหอ้ งเรยี น ๒. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ • การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำส่ัง ซอฟต์แวรห์ รือส่ือ และตรวจหาข้อผดิ พลาด ใหค้ อมพวิ เตอรท์ ำงาน ของโปรแกรม • ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมที่สั่งให้ ตัวละครทำงานซำ้ ไมส่ ้นิ สุด • การตรวจหาข้อผดิ พลาด ทำไดโ้ ดยตรวจสอบ คำสั่งที่แจง้ ข้อผดิ พลาด หรอื หากผลลัพธไ์ มเ่ ปน็ ไป ตามท่ตี อ้ งการให้ตรวจสอบการทำงานทีละคำสง่ั • ซอฟต์แวร์หรอื สือ่ ทีใ่ ช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ ใช้บตั รคำส่งั แสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org ๓. ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตค้นหาความรู้ • อินเทอร์เนต็ เปน็ เครอื ข่ายขนาดใหญ่ช่วยให้ การ ตดิ ตอ่ ส่อื สารทำได้สะดวกและรวดเรว็ และเป็น แหลง่ ขอ้ มลู ความรทู้ ช่ี ว่ ยในการเรียน และการ ดำเนนิ ชีวิต • เว็บเบราวเ์ ซอรเ์ ปน็ โปรแกรมสำหรับอ่านเอกสาร บนเว็บเพจ • การสบื คน้ ขอ้ มูลบนอนิ เทอร์เน็ต ทำได้โดยใช้ เวบ็ ไซตส์ ำหรับสบื คน้ และตอ้ งกำหนดคำค้นท่ี เหมาะสมจึงจะไดข้ ้อมลู ตามต้องการ • ขอ้ มลู ความรู้ เชน่ วิธีทำอาหาร วิธีพับกระดาษ เป็นรปู ตา่ ง ๆ ขอ้ มลู ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย (อาจ เป็นความรูใ้ นวชิ าอ่นื ๆ หรอื เรอื่ งทีเ่ ปน็ ประเดน็ ท่ี สนใจในช่วงเวลานัน้ ) • การใช้อินเทอรเ์ นต็ อย่างปลอดภยั ควรอยูใ่ นการ ดูแลของครู หรอื ผู้ปกครอง

39 ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๔. รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล • การรวบรวมขอ้ มลู ทำได้โดยกำหนดหวั ขอ้ ท่ี โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ตามวตั ถุประสงค์ ตอ้ งการ เตรียมอุปกรณใ์ นการจดบันทกึ • การประมวลผลอย่างงา่ ย เช่น เปรยี บเทยี บ จดั กลมุ่ เรียงลำดบั • การนำเสนอข้อมลู ทำไดห้ ลายลกั ษณะตามความ เหมาะสม เช่น การบอกเล่า การทำ เอกสารรายงาน การจดั ทำป้ายประกาศ • การใชซ้ อฟตแ์ วร์ทำงานตามวตั ถปุ ระสงค์ เช่น ใช้ซอฟต์แวรน์ ำเสนอ หรอื ซอฟต์แวรก์ ราฟิก สร้าง แผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลคำ ทำปา้ ย ประกาศหรือเอกสารรายงาน ใช้ซอฟตแ์ วร์ตาราง ทำงานในการประมวลผลขอ้ มูล ๕. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลงในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ปกปอ้ งข้อมูลสว่ นตวั • ขอความช่วยเหลือจากครูหรอื ผู้ปกครอง เม่อื เกดิ ปญั หาจากการใชง้ าน เมื่อพบขอ้ มูลหรอื บคุ คล ท่ที ำให้ไม่สบายใจ • การปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จะทำให้ไม่เกดิ ความเสียหายตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ เช่น ไมใ่ ชค้ ำหยาบ ล้อเลียน ด่าทอ ทำใหผ้ ูอ้ ่นื เสยี หายหรือเสยี ใจ • ข้อดแี ละขอ้ เสยี ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร ป.5 ๑. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา การ • การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะเป็นการนำกฎเกณฑ์ อธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลพั ธ์ หรอื เง่ือนไขที่ครอบคลุมทกุ กรณีมาใช้พจิ ารณาใน จากปัญหาอยา่ งง่าย การแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทำงาน หรือการ คาดการณ์ ผลลพั ธ์ • สถานะเริม่ ตน้ ของการทำงานท่ีแตกต่างกนั จะให้ ผลลัพธ์ท่ีแตกตา่ งกัน • ตัวอย่างปญั หา เช่น เกม Sudoku โปรแกรม ทำนายตัวเลข โปรแกรมสรา้ งรูปเรขาคณติ ตามค่า ขอ้ มลู เขา้ การจดั ลำดับการทำงานบ้านในช่วง วนั หยุด จดั วางของในครวั

40 ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมทีม่ ีการใช้ • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขียน เหตผุ ลเชงิ ตรรกะอยา่ งงา่ ย ตรวจหา เป็นขอ้ ความหรือผังงาน ข้อผดิ พลาดและแกไ้ ข • การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการ ตรวจสอบเงื่อนไขทคี่ รอบคลุมทกุ กรณเี พื่อใหไ้ ด้ ผลลพั ธท์ ี่ถูกต้องตรงตามความตอ้ งการ • หากมีขอ้ ผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน ทลี ะ คำสัง่ เมอ่ื พบจดุ ท่ีทำให้ผลลพั ธไ์ มถ่ กู ตอ้ ง ใหท้ ำ การแก้ไขจนกว่าจะไดผ้ ลลัพธท์ ีถ่ ูกต้อง • การฝึกตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของ ผู้อ่ืน จะช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหา ได้ดีย่ิงขนึ้ • ตวั อยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่ เลขคี่ โปรแกรมรับขอ้ มลู น้ำหนักหรือส่วนสงู แลว้ แสดงผลความสมสว่ นของร่างกาย โปรแกรมส่งั ให้ ตวั ละครทำตามเง่อื นไขทก่ี ำหนด • ซอฟตแ์ วร์ที่ใช้ในการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, logo ๓. ใช้อนิ เทอร์เน็ตคน้ หาขอ้ มลู ติดตอ่ สอ่ื สาร • การคน้ หาขอ้ มูลในอนิ เทอร์เน็ต และการ และทำงานร่วมกนั ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถอื พิจารณาผลการค้นหา ของขอ้ มูล • การติดต่อส่ือสารผ่านอินเทอรเ์ น็ต เช่น อเี มล บลอ็ ก โปรแกรมสนทนา • การเขียนจดหมาย (บรู ณาการกบั วิชาภาษาไทย) • การใช้อินเทอร์เน็ตในการตดิ ต่อสื่อสารและ ทำงานรว่ มกนั เช่น ใช้นัดหมายในการประชมุ กลุ่ม ประชาสัมพนั ธก์ จิ กรรมในหอ้ งเรยี น การ แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นในการเรยี น ภายใต้การดูแลของครู • การประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู เชน่ เปรียบเทียบความสอดคลอ้ ง สมบรู ณ์ของข้อมูล จากหลายแหล่ง แหลง่ ตน้ ตอของข้อมลู ผู้เขยี น วนั ทีเ่ ผยแพรข่ ้อมลู • ขอ้ มลู ท่ีดีตอ้ งมีรายละเอยี ดครบทุกด้าน เชน่ ข้อดีและขอ้ เสยี ประโยชน์และโทษ

41 ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอขอ้ มูลและ • การรวบรวมข้อมลู ประมวลผล สรา้ งทางเลือก สารสนเทศ ตามวัตถปุ ระสงค์โดยใช้ ประเมินผล จะทำใหไ้ ด้สารสนเทศเพ่อื ใช้ในการ ซอฟต์แวร์หรือบรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตที่ แกป้ ญั หาหรือการตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ หลากหลาย เพ่ือแกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวัน • การใช้ซอฟต์แวร์หรือบรกิ ารบนอนิ เทอร์เน็ต ท่ี หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ ง ทางเลือก ประเมนิ ผล นำเสนอ จะชว่ ยให้ การ แก้ปัญหาทำไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง และแมน่ ยำ • ตัวอยา่ งปญั หา เชน่ ถ่ายภาพ และสำรวจแผนที่ ในท้องถ่ินเพื่อนำเสนอแนวทางในการจัดการพน้ื ท่ี ว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ทำแบบสำรวจความคิดเหน็ ออนไลน์ และวเิ คราะห์ขอ้ มูล นำเสนอข้อมูลโดย การใช้ blog หรอื web page ๕. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มี • อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม ทาง มารยาท เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีของตน อินเทอร์เนต็ เคารพในสิทธขิ องผู้อ่ืน แจ้งผู้เกีย่ วขอ้ งเม่ือ • มารยาทในการตดิ ตอ่ ส่อื สารผ่านอินเทอร์เนต็ พบข้อมูลหรอื บคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม (บรู ณาการกับวิชาทีเ่ กี่ยวขอ้ ง) ป.6 ๑. ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการอธิบายและ • การแก้ปญั หาอย่างเปน็ ขั้นตอนจะช่วยให้ ออกแบบวิธีการแก้ปญั หาท่พี บใน แก้ปัญหาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ชีวิตประจำวัน • การใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์ หรอื เง่อื นไขทค่ี รอบคลมุ ทกุ กรณมี าใช้พิจารณาใน การแก้ปญั หา • แนวคดิ ของการทำงานแบบวนซำ้ และเง่ือนไข • การพจิ ารณากระบวนการทำงานทม่ี กี ารทำงาน แบบวนซ้ำหรอื เง่อื นไขเปน็ วธิ ีการทจี่ ะช่วยใหก้ าร ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ • ตวั อย่างปญั หา เช่น การคน้ หาเลขหนา้ ท่ี ตอ้ งการใหเ้ รว็ ทสี่ ดุ การทายเลข ๑-๑,๐๐๐,๐๐๐ โดยตอบให้ถูกภายใน ๒๐ คำถาม การคำนวณ เวลาในการเดินทาง โดยคำนงึ ถงึ ระยะทาง เวลา จุดหยุดพกั ๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขยี น เพอ่ื แก้ปญั หาในชีวติ ประจำวนั ตรวจหา เป็นขอ้ ความหรือผังงาน ข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแกไ้ ข

42 ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง • การออกแบบและเขียนโปรแกรมทม่ี กี ารใช้ตัว แปร การวนซ้ำ การตรวจสอบเง่อื นไข • หากมขี ้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบการทำงานทลี ะ คำสงั่ เม่ือพบจุดที่ทำให้ผลลพั ธไ์ ม่ถกู ตอ้ ง ใหท้ ำ การแก้ไขจนกวา่ จะได้ผลลัพธท์ ่ถี ูกตอ้ ง • การฝกึ ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของ ผู้อน่ื จะช่วยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุของปญั หา ได้ดีย่ิงข้ึน • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรม หาค่า ค.ร.น. เกมฝึกพิมพ์ • ซอฟตแ์ วรท์ ใี่ ช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่ Scratch, logo ๓. ใช้อนิ เทอร์เน็ตในการคน้ หาขอ้ มูลอย่างมี • การค้นหาอยา่ งมีประสิทธิภาพ เป็นการค้นหา ประสทิ ธภิ าพ ขอ้ มลู ท่ีไดต้ รงตามความต้องการในเวลาทีร่ วดเรว็ จากแหล่งข้อมูลทนี่ ่าเชื่อถือหลายแหลง่ และขอ้ มูล มีความสอดคล้องกนั • การใช้เทคนคิ การคน้ หาขนั้ สูง เช่น การใช้ตัว ดำเนินการ การระบรุ ปู แบบของข้อมูลหรอื ชนิด ของไฟล์ • การจดั ลำดบั ผลลัพธ์จากการคน้ หาของโปรแกรม คน้ หา • การเรียบเรียง สรปุ สาระสำคัญ (บรู ณาการกับ วชิ าภาษาไทย) ๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกนั • อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรม ทาง อยา่ งปลอดภยั เข้าใจสิทธแิ ละหน้าท่ขี องตน อนิ เทอรเ์ นต็ แนวทางในการป้องกนั เคารพในสทิ ธิของผอู้ น่ื แจง้ ผู้เกย่ี วขอ้ งเม่ือ • วิธีกำหนดรหสั ผ่าน พบข้อมูลหรอื บคุ คลที่ไม่เหมาะสม • การกำหนดสิทธ์ิการใช้งาน (สิทธิใ์ นการเขา้ ถึง) • แนวทางการตรวจสอบและป้องกนั มัลแวร์ • อันตรายจากการติดตั้งซอฟต์แวรท์ ี่อยูบ่ น อินเทอรเ์ น็ต

43 คำอธิบายรายวชิ าและโครงสร้างรายวชิ า กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การวเิ คราะห์เพือ่ จัดทำคำอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเ ตัวชีว้ ดั สาระสำคญั ว.๑.๑ ป.๑/๑ - มคี วาม ๑. ระบชุ อื่ พชื และสตั ว์ที่อาศยั อยู่ - ชื่อพืชและสัตว์ท่อี าศยั อย่บู รเิ วณต่าง ๆ สัตว์ โคร บริเวณต่าง ๆ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ ของส่งิ มชี ว.๑.๑ ป.๑/๑ -มีความร ๒. บอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม - สภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสม อาศัย หล กับการดำรงชวี ติ ของสตั ว์ในบริเวณท่ี - การดำรงชีวิตของสตั วใ์ นบรเิ วณท่อี าศัยอยู่ สงิ่ มชี ีวติ อาศัยอยู่ ว.๑.๒ ป.๑/๑ - มคี วาม ๑. ระบุช่อื บรรยายลกั ษณะและบอก - ชอื่ ของสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ พชื การท หนา้ ทีข่ องส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย - สตั ว์ ของรา่ งก มนุษย์ สตั ว์ และพืช รวมท้งั บรรยาย - พืช - มคี วาม การทำหน้าท่รี ่วมกนั ของสว่ นต่าง ๆ - การทำหน้าท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของ ๆ ของรา่ ของรา่ งกายมนษุ ยใ์ นการทำกจิ กรรม ร่างกายมนษุ ย์ - การรกั ษ ตา่ ง ๆ จากขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ - การรกั ษ ว.๑.๒ ป.๑/๒ ๒. ตระหนกั ถึงความสำคัญของสว่ น - ความสำคญั ของสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย ตา่ ง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการ - การดูแลสว่ นต่าง ๆ ดแู ลสว่ นต่าง ๆ อย่างถูกตอ้ ง ให้ - ความปลอดภัย ปลอดภยั และรักษาความสะอาดอยู่ - รักษาความสะอาด เสมอ ว.๒.๑ ป.๑/๑ - สมบตั ิของวสั ดชุ นดิ เดยี ว - มคี วาม ๑. อธบิ ายสมบัตทิ ส่ี ังเกตได้ของวสั ดุ - หลายชนดิ ประกอบกัน สมบตั ทิ ี่ส ที่ใชท้ ำวัตถุซึง่ ทำจากวสั ดชุ นดิ เดยี ว ขรุขระ เร หรือหลายชนดิ ประกอบกนั โดยใช้

เรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ 44 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/ท้องถนิ่ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ / บรู ณาการศาสตร์พระราชา มรูเ้ กี่ยวกับสง่ิ มีชีวิตทง้ั พชื และ - มกี ารสงั เกต - ใฝ่เรียนรู้ รงสร้างลกั ษณะ การปรับตวั - มกี ารสบื คน้ ขอ้ มลู - มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ชวี ติ รอบตวั เอง - มีการตคี วามหมายข้อมลู - การศึกษาขอ้ มูลให้เป็นระบบ รเู้ ก่ียวกับการดำรงชีวิต อยู่ - มีการทดลอง - ระเบิดจากภายใน ลบภัยและเลย้ี งดูลูกอ่อนของ - มีการสอ่ื ความหมาย - ทำตามลำดับขัน้ ตอน ต - มกี ารพยากรณ์ - พ่งึ ตนเอง - มกี ารจำแนก - หาความรูจ้ ากการใช้ชีวติ ประจำวนั มรู้ดา้ นรา่ งกายมนุษย์ สตั ว์ และ - มีการสงั เกต - ใฝ่เรียนรู้ ทำหนา้ ที่ร่วมกันของสว่ นตา่ ง ๆ - มีการสืบคน้ ขอ้ มลู - มุง่ มั่นในการทำงาน กาย - มีการตีความหมายขอ้ มูล - การศกึ ษาขอ้ มลู ให้เปน็ ระบบ มรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ส่วนตา่ ง - มที ักษะการจดั ทำข้อมูล - ระเบิดจากภายใน างกายตนเอง - มกี ารสื่อความหมาย - ทำตามลำดับข้นั ตอน ษาความปลอดภัย - มกี ารลงความคดิ เหน็ - พ่ึงตนเอง ษาความสะอาด - มีการพยากรณ์ - หาความรู้จากการใช้ชวี ติ ประจำวนั มรู้เกี่ยวกบั วัสดุแตล่ ะชนิดมี - มีการสงั เกต - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ มน่ั ในการทำงาน สังเกตได้ต่าง (สี นุม่ แขง็ - มกี ารสบื คน้ ข้อมูล - การศกึ ษาข้อมลู ใหเ้ ป็นระบบ รยี บ ใส ขนุ่ ยืดหดได้ บิดงอได้) - มกี ารตีความหมายข้อมูล

ตวั ช้ีวดั สาระสำคญั - มีความ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ - ชนดิ ของวสั ดุ ว.๒.๑ ป.๑/๒ - การจัดกลุม่ วสั ดตุ ามสมบัติ ๒. ระบุชนิดของวัสดุและจดั กลุ่ม วัสดุตามสมบัติทีส่ งั เกตได้ ว.๒.๓ ป.๑/๑ - การเกดิ เสียง - มีความ ๑. บรรยายการเกิดเสียงและทศิ - ทศิ ทางการเคลอื่ นทขี่ องเสยี ง เคล่ือนท ทางการเคล่ือนที่ของเสยี งจาก หลักฐานเชิงประจกั ษ์ - มีความ บนทอ้ งฟ ว.๓.๑ ป.๑/๑ - มีความ ๑. ระบุดาวทปี่ รากฏบนท้องฟ้าใน - ดาวท่ปี รากฏบนทอ้ งฟา้ ของดาวเ เวลากลางวนั และกลางคนื จากข้อมลู - กลางวัน - มคี วาม เฉพาะตัว ท่รี วบรวมได้ - กลางคืน ว.๓.๑ ป.๑/๒ ๒. อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาว - สาเหตทุ ีม่ องไมเ่ ห็นดาวส่วนใหญ่ ในเวลา ส่วนใหญ่ ในเวลากลางวันจาก กลางวัน หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ว.๓.๒ ป.๑/๑ ๑. อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของหิน - ลกั ษณะภายนอกของหนิ จากลกั ษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้ - ลักษณะเฉพาะตวั ของหิน ว.๔.๒ ป.๑/๑ - การแก้ปัญหาจากการเปรยี บเทยี บ - มคี วาม ๑. แกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใช้การลอง ผิดลองถกู การเปรยี บเทยี บ - การเขียน - มคี วาม ว.๔.๒ ป.๑/๒ - บอกเล่า อยา่ งงา่ ย

45 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถิน่ ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ / บรู ณาการศาสตร์พระราชา - มีทักษะการจัดทำข้อมูล - ระเบดิ จากภายใน มรู้เกี่ยวกบั การจดั กลุ่มของวสั ดุ - มกี ารส่อื ความหมาย - ทำตามลำดบั ขนั้ ตอน - มกี ารลงความคิดเหน็ - พึ่งตนเอง - มกี ารพยากรณ์ - หาความร้จู ากการใช้ชวี ิตประจำวนั - ทำให้งา่ ย มรู้เกย่ี วกับการเกดิ เสียงทิศการ - มีการสังเกต - ใฝเ่ รยี นรู้ ทขี่ องเสียงเบอื้ งต้น - มีการสืบคน้ ข้อมลู - ระเบดิ จากภายใน - การทดลองการเกดิ เสยี ง - หาความรู้จากการใชช้ วี ิตประจำวัน อยา่ งงา่ ย - ทำให้ง่าย มรู้เกยี่ วกบั การปรากฏของดาว - มกี ารสังเกต - ใฝ่เรียนรู้ ฟ้าและช่วงเวลาทเี่ หน็ ดาว - มกี ารสบื ค้นรวบรวมข้อมลู - การศกึ ษาขอ้ มูลใหเ้ ป็นระบบ - สมารถอธบิ ายการปรากฏ - ระเบิดจากภายใน มรู้เกย่ี วกับสาเหตกุ ารปรากฏ ของดาว - ทำตามลำดบั ขัน้ ตอน เบื้องต้น - สามารถบอกสาเหตทุ ี่มองไม่ - พง่ึ ตนเอง เห็นดาว - หาความรู้จากการใชช้ วี ติ ประจำวนั - ทำให้ง่าย มรู้เก่ียวกับลกั ษณะภายนอก - มีการสังเกต - ใฝ่เรยี นรู้ วของหิน - มกี ารสืบค้นข้อมูล - มงุ่ มัน่ ในการทำงาน - สมารถอธิบายลกั ษณะ - ทำให้งา่ ย ภายนอกของหนิ - หาความรจู้ ากการใช้ชวี ติ ประจำวัน มร้เู ก่ียวกบั การเปรยี บเทยี บ - มกี ารสังเกต - ใฝเ่ รยี นรู้ - มีการสืบค้นขอ้ มลู - มงุ่ มนั่ ในการทำงาน มรูเ้ ก่ยี วกับลำดับข้ันตอนสน้ั - มีการตคี วามหมายขอ้ มูล - การศึกษาขอ้ มูลใหเ้ ปน็ ระบบ ย - มที ักษะการจัดทำขอ้ มูล - ระเบดิ จากภายใน - มีการทดลอง - ทำตามลำดับขน้ั ตอน