Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการอนุมัติ อนุญาตขอใช้พื้นที่ ปี 2564

คู่มือการอนุมัติ อนุญาตขอใช้พื้นที่ ปี 2564

Description: กระทรวงมหาดไทยได้จัดทำคู่มือการอนุมัติ อนุญาต ขอใช้พื้นที่จากส่วนราชการขึ้น ซึ่งมีการรวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ขั้นตอนการดำเนินการ แผนภาพแสดงขั้นตอนการดำเนินการ (Flowchart) และหน่วยงานผู้มีอำนาจในการอนุมัติอนุญาตตามสภาพของพื้นที่ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้สนใจได้ศึกษาระเบียบ
ข้อกฎหมาย ทำความเข้าใจขั้นตอน วิธีการในการขออนุมัติ อนุญาตใช้พื้นที่จากส่วนราชการให้ถูกต้องซึ่งจะช่วยลดปัญหาในกระบวนการปฏิบัติงาน ให้แก่หน่วยงานที่ยืนคำขอและหนวยงานที่มีหน้าที่พิจารณา ทั้งยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย

Search

Read the Text Version

5. แบบฟอรม์ คำ� ขออนุญาต แบบคำ� ขออนุญาตปลูกสร้างอาคารในเขตโบราณสถาน 6. เอกสารหลกั ฐาน 6.1 บัตรประจ�ำตัวประชาชน หรือบัตรประจำ� ตวั เจ้าหน้าท่ขี องรัฐฉบบั จรงิ สำ� หรับ ใช้แสดงตอ่ เจ้าหนา้ ที่เพอื่ ยนื ยนั ตัวตนและตรวจสอบจากระบบ 6.2 ในกรณีผู้ขออนุญาตเป็นพระสงฆ์ ให้น�ำใบสุทธิประจ�ำตัวพระสงฆ์ฉบับจริงมา ใชแ้ สดงต่อเจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื ยืนยนั ตัวตนและตรวจสอบจากระบบ 6.3 ในกรณผี ขู้ ออนญุ าตเปน็ นติ บิ คุ คล ใหน้ ำ� หนงั สอื รบั รองนติ บิ คุ คลฉบบั จรงิ มาใช้ แสดงตอ่ เจ้าหนา้ ทเ่ี พอื่ ยนื ยันตัวตนและตรวจสอบจากระบบ 6.4 หนังสือมอบอ�ำนาจ/มอบฉันทะให้กระท�ำแทนฉบับจริง (ถ้ามี) โดยในกรณีนี้ ผรู้ บั มอบอำ� นาจตอ้ งนำ� สำ� เนาบตั รประจำ� ตวั ประชาชนหรอื บตั รประจำ� ตวั เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ของผมู้ อบ อ�ำนาจ พรอ้ มรับรองสำ� เนาถกู ตอ้ ง จำ� นวน 1 ฉบับ มาใชป้ ระกอบการมอบอ�ำนาจ/มอบฉันทะดว้ ย 6.5 ส�ำเนารูปแบบรายการอาคารท่ีจะปลูกสร้างในเขตโบราณสถาน พร้อมด้วย แผนทีแ่ สดงตำ� แหนง่ ของสิ่งปลกู สร้างทขี่ ออนุญาต และภาพถ่ายภาพพนื้ ท่ีปจั จบุ ัน จ�ำนวน 2 ชดุ 6.6 หนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในที่ดินฉบับจริง ส�ำหรับใช้แสดง ตอ่ เจ้าหน้าทเี่ พอ่ื ยนื ยนั ตัวตนและตรวจสอบจากระบบ 6.7 หนังสืออนุญาตหรือหนังสือรับรองให้ใช้ประโยชน์ในท่ีดินบริเวณที่ขออนุญาต จากเจ้าของท่ีดินหรือส่วนราชการ จ�ำนวน 2 ฉบับ ในกรณีท่ีผู้ขออนุญาตมิได้เป็นเจ้าของ หรอื ผ้คู รอบครองทด่ี นิ 6.8 หลักฐานแสดงการรับรองมีสิ่งปลูกสร้างเดิม ส�ำหรับกรณีที่ประสงค์จะขอ อนุญาตปลกู สร้างอาคารทดแทนอาคารหลังเดมิ จำ� นวน 1 ฉบบั คู่มอื การอนุมตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ ้ืนทจ่ี ากส่วนราชการ 145

วา่ งขาว 146



วา่ งขาว 148

พ้ืนทกี่ ำรรถไฟแหง่ ประเทศไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟแหงประเทศไทยก�าหนดให้สวนราชการสามารถขอใช้พื้นที่ได้ส�าหรับ การสร้างถนน คู คลอง ปรับภูมิทัศนลานกีฬา คลองสงน้�าเพ่ือการเกษตร มีรายละเอียด และข้นั ตอนทเ่ี ก่ยี วข้อง ดงั น้ี 1. กฎหมำยท่เี กีย่ วขอ้ ง 1.1 พระราชบัญญัตกิ ารรถไฟแหงประเทศไทย พ.ศ. 2494 1.2 อนุมัติหลักการในการอนุญาตให้หนวยงานราชการและหนวยงานของรัฐ ใชท้ ด่ี นิ ของการรถไฟฯ โดย รวก.2 รกั ษาการในตา� แหนง ผวก. ลงวนั ท ่ี 2 เมษายน 2550 ทา้ ยหนงั สอื ฝ่ายบรหิ ารทรพั ยสินเลขท ่ี บส./พส.2/038/2550 ลงวนั ที่ 23 มีนาคม 2550 1.3 อนมุ ตั คิ า ธรรมเนยี มการใชส้ ทิ ธเิ หนอื พน้ื ดนิ โดย ผวก. ลงวนั ท ่ี 16 กรกฎาคม 2563 ท้ายหนังสอื ฝ่ายบรหิ ารทรัพยส นิ เลขที ่ รฟ.บส.1000/1222/2563 ลงวันท ่ี 9 กรกฎาคม 2563 1.4 หลกั เกณฑก ารพจิ ารณาลดทางตดั ผา นและอนญุ าตเฉพาะรายระหวา งทางรถไฟ กบั ทางรถยนต  พ.ศ. 2559 กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง 2. ผูม้ ีอ�ำนำจอนมุ ตั ิ ผูว้ าการรถไฟแหงประเทศไทย 3. สถำนท่ยี ื่นคำ� ขอ การรถไฟแหงประเทศไทย ส�าหรับสวนกลาง หรือเขตและแขวงบ�ารุงทางในสวน ภมู ภิ าคตามตารางหนว ยงานรับผดิ ชอบของการรถไฟแหง ประเทศไทย ค่มู ือการอนุมัติ อนญุ าตขอใชพ้ ้ืนท่ีจากสว นราชการ 149

ช่อื หนว่ ยงาน ชื่อหน่วยงาน ตัวย่อ ชอ่ื หนว่ ยงาน ตัวย่อ เบอร์ ศนู ยบ์ �ำรุงทางภาคกลาง กองบ�ำรุงทางเขต โทรศัพท์ ศนู ยบ์ ำ� รงุ ทางภาคเหนอื แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 6066 กรุงเทพ กรุงเทพ กท. 6212 08 9080 5205 วบข.กท. แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 7295 กองบำ� รุงทางเขต บางซื่อ บซ. 2086 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1942 ฉะเชิงเทรา นครปฐม คฐ. 0279 08 4674 0099 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 09 2630 กองบ�ำรุงทางเขต ฉะเชงิ เทรา ฉท. 9000 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1659 หวั หนิ วบข.ฉท. ปราจีน ปจ. 4787 08 4000 0383 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1862 กองบ�ำรุงทางเขต วฒั นานคร วค. 0174 แขวงบำ� รงุ ทาง สบท. 08 1861 นครสวรรค์ ศรีราชา ศช. 5815 08 6620 6086 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 5290 กาญจนบรุ ี กญ. 0124 วบข.หห. แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1856 เพชรบรุ ี พบ. 4122 แขวงบำ� รงุ ทาง สบท. 08 7675 วงั ก์พง วพ. 4108 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 9126 อยุธยา อย. 7329 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1983 วบข.นว. ลพบรุ ี ลบ. 6509 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 9710 นครสวรรค์ นว. 0102 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1533 พษิ ณโุ ลก พล. 4704 150 คู่มอื การอนุมัติ อนุญาตขอใชพ้ ื้นท่จี ากส่วนราชการ

ช่อื หนว่ ยงาน ช่ือหนว่ ยงาน ตวั ย่อ ชื่อหนว่ ยงาน ตวั ยอ่ เบอร์ กองบ�ำรงุ ทางเขต โทรศพั ท์ ศูนย์บ�ำรงุ ทางภาค แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 9561 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลำ� ปาง อตุ รดติ ถ์ อด. 2984 ศูนย์บำ� รุงทางภาคใต้ 08 9435 7700 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1674 วบข.ลป. เดน่ ชยั ดช. 8517 กองบำ� รงุ ทางเขต แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 09 5292 สรุ ินทร์ ลำ� ปาง ลป. 9228 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1952 08 9053 3768 ล�ำพนู ลพ. 6945 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1571 กองบ�ำรุงทางเขต แก่งคอย กค. 9496 ขอนแก่น แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1282 วบข.สร. นครราชสมี า รส. 7029 08 1346 7650 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 7779 กองบำ� รงุ ทางเขต ล�ำปลายมาศ ลำ� . 9599 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1877 ท่งุ สง ศรสี ะเกษ เก. 5258 08 9036 7942 แขวงบำ� รงุ ทาง สบท. 08 6657 ล�ำนารายณ์ ลา. 2897 แขวงบำ� รงุ ทาง สบท. 08 1262 วบข.ขอ. บวั ใหญ่ วญ. 1437 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1592 ขอนแก่น ขอ. 7931 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 4028 อุดรธานี รด. 4769 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1896 บ้านกรดู กร. 4013 วบข.ทส. แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1494 2145 ชุมพร ชพ. คมู่ ือการอนุมัติ อนญุ าตขอใช้พน้ื ทจี่ ากสว่ นราชการ 151

ชอื่ หนว่ ยงาน ช่อื หน่วยงาน ตวั ยอ่ ชือ่ หน่วยงาน ตัวยอ่ เบอร์ ศูนย์อาคารและสถานท่ี โทรศัพท์ กองบ�ำรงุ ทางเขต หาดใหญ่ แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1539 บา้ นสอ้ ง สอ. 6093 08 1335 2129 แขวงบำ� รงุ ทาง สบท. 08 9295 กองบำ� รุงอาคาร ทุ่งสง ทส. 7374 สถานที่กรงุ เทพ แขวงบำ� รงุ ทาง สบท. 08 8791 08 1944 6210 เขาชมุ ทอง ชท. 1393 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1897 วบข.หใ. หาดใหญ่ หใ. 9570 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 4750 เทพา เท. 3840 แขวงบ�ำรุงทาง สบท. 08 1368 ตนั หยงมสั ยม. 2282 ง า น ส ถ า น ท่ี สสถ. 08 9105 กรงุ เทพ กท. 7159 กบข.กท. งานสถานที่ สสถ. 08 6360 7677 บางซอื่ บซ. 4. แบบฟอรม์ ค�ำขออนุญาต - 5. เอกสารหลักฐาน -  152 ค่มู ือการอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใชพ้ ื้นท่จี ากสว่ นราชการ

6. ข้นั ตอนการขออนมุ ัต/ิ อนุญาต คู่มอื การอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใชพ้ ื้นท่จี ากสว่ นราชการ 153

154 คมู่ อื การอนุมตั ิ อนุญาตขอใช้พนื้ ท่ีจากส่วนราชการ



วา่ งขาว 156

กำรขออนญุ ำตขุดเจำะ นำ้� บำดำลและกำรใชน้ ้ำ� บำดำล กรมทรัพยากรน้า� บาดาล 1. กฎหมำยท่เี กีย่ วขอ้ ง 1.1 พระราชบัญญัติน้�าบาดาล พ.ศ. 2520 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ นา้� บาดาล (ฉบบั ท ี่ 2) พ.ศ. 2535 และพระราชบญั ญตั นิ า้� บาดาล (ฉบบั ท ี่ 3) พ.ศ. 2546 (มาตรา 16) 1.2 กฎกระทรวงก�าหนดประเภทการใช้น�้าบาดาลและการขอใบอนุญาตและ การออกใบอนญุ าตเก่ยี วกับการประกอบกิจการน้า� บาดาล พ.ศ. 2556 (ข้อ 8 (2)) 1.3 ระเบียบกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วาด้วยหลักเกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการพจิ ารณาออกใบอนญุ าตและตอ อายใุ บอนญุ าตประกอบกจิ การนา้� บาดาล พ.ศ. 2560 1.4 คา� สง่ั กรมทรพั ยากรน�้าบาดาล ท่ ี 11/2560 ลงวนั ท ่ี 1 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2560 เรอื่ ง แตง ตง้ั พนกั งานนา�้ บาดาลประจา� ทอ้ งท ี่ และมอบหมายใหเ้ ปน็ ผอู้ อกใบอนญุ าตและมอบอา� นาจ ใหป้ ฏบิ ตั ริ าชการแทนอธบิ ดกี รมทรพั ยากรนา�้ บาดาล (สา� นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม จงั หวดั ) 1.5 ค�าสงั่ กรมทรัพยากรน้�าบาดาล ที่ 12/2560 ลงวนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ  พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง แตง ตงั้ พนกั งานนา�้ บาดาลประจา� ทอ้ งท ี่ และมอบหมายใหเ้ ปน็ ผอู้ อกใบอนญุ าตและมอบอา� นาจ ใหป้ ฏบิ ตั ริ าชการแทนอธบิ ดกี รมทรพั ยากรนา้� บาดาล (สา� นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวดั เชียงใหม จังหวดั ขอนแกน และจงั หวดั นครราชสมี า) 1.6 ค�าสัง่ กรมทรัพยากรนา�้ บาดาล ที่ 13/2560 ลงวนั ที่ 1 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง แตง ตง้ั พนกั งานนา้� บาดาลประจา� ทอ้ งท ี่ และมอบหมายใหเ้ ปน็ ผอู้ อกใบอนญุ าตและมอบอา� นาจ ใหป้ ฏิบัตริ าชการแทนอธิบดีกรมทรัพยากรน้�าบาดาล (สา� นักควบคมุ กจิ การน้า� บาดาล) 1.7 คา� ส่ังกรมทรพั ยากรน�้าบาดาล ที่ 14/2560 ลงวนั ท ี่ 1 กมุ ภาพันธ  พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง แตง ตง้ั พนกั งานนา�้ บาดาลประจา� ทอ้ งท ี่ และมอบหมายใหเ้ ปน็ ผอู้ อกใบอนญุ าตและมอบอา� นาจ ให้ปฏบิ ัตริ าชการแทนอธบิ ดกี รมทรพั ยากรน�า้ บาดาล (องคกรปกครองสว นทอ้ งถนิ่ ) กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง 157 คมู่ อื การอนุมตั ิ อนุญาตขอใช้พืน้ ทีจ่ ากสวนราชการ

2. ผมู้ อี ำ� นาจอนุมตั ิ อธิบดีกรมทรัพยากรน้�ำบาดาล หรือผู้ซ่ึงอธิบดีกรมทรัพยากรน้�ำบาดาลมอบหมาย ตามมาตรา 16 แหง่ พระราชบญั ญตั นิ ำ้� บาดาล พ.ศ. 2520 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ซง่ึ อธบิ ดกี รมทรพั ยากร น้ำ� บาดาลได้มอบหมาย ดงั นี้ 2.1 ในเขตน�้ำบาดาลกรุงเทพมหานคร มอบหมายให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักควบคุม กจิ การน�ำ้ บาดาลเปน็ ผ้อู อกใบอนุญาต 2.2 ในเขตน�้ำบาดาลจังหวัดอื่น มอบหมายให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัด เป็นผู้ออกใบอนุญาต ยกเว้น 3 จังหวัด ถ่ายโอนภารกิจ ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดนครราชสีมา ได้มอบหมายให้นายกเทศบาล หรือ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล เปน็ ผอู้ อกใบอนญุ าตตามขนาดบอ่ และปรมิ าณนำ�้ บาดาลทกี่ ำ� หนด 3. สถานท่ยี ่ืนคำ� ขอ 3.1 กรุงเทพมหานครให้ยื่นค�ำขอที่ส�ำนักควบคุมกิจการน�้ำบาดาล กรมทรัพยากร น�้ำบาดาล 3.2 จงั หวัดขอนแกน่ เชยี งใหม่ และนครราชสมี า ให้ยืน่ คำ� ขอทส่ี ำ� นักงานองค์การ บริหารส่วนตำ� บล (อบต.) หรอื เทศบาลทอ่ี ยูใ่ นพ้ืนที่ 3.3 พ้ืนท่จี ังหวดั อนื่ ๆ ใหย้ ื่นคำ� ขอที่สำ� นกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม จงั หวดั นน้ั   158 คู่มือการอนุมตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ นื้ ที่จากส่วนราชการ

4. ข้นั ตอนขออนมุ ตั ิ/อนญุ าต คู่มอื การอนุมตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ ้นื ท่จี ากสว่ นราชการ 159

5. แบบฟอร์มค�ำขออนญุ าต   160 คู่มือการอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใชพ้ ืน้ ทีจ่ ากสว่ นราชการ

ค่มู ือการอนุมตั ิ อนุญาตขอใชพ้ ้นื ที่จากส่วนราชการ 161

6. เอกสารหลกั ฐาน 6.1 หนังสือแสดงสิทธิ์ในทด่ี นิ 6.2 หนังสือมอบอ�ำนาจและส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนของผู้มอบอ�ำนาจ (กรณผี ู้ขอรบั อนญุ าตไมม่ ายน่ื ดว้ ยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ 30 บาท) 6.3 หนังสือใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน (กรณีโรงงานอุตสาหกรรม) 6.4 หนงั สือรับรองนติ บิ คุ คล (กรณีผขู้ อรบั ใบอนุญาตฯ เปน็ นติ ิบคุ คล) 162 ค่มู อื การอนมุ ัติ อนญุ าตขอใชพ้ ื้นทจ่ี ากส่วนราชการ



วา่ งขาว 164

กำรจัดท�ำรำยงำนกำรประเมนิ ผลกระทบส่งิ แวดล้อม สา� นักงานนโยบายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ตามพระราชบญั ญตั สิ ง เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มแหง ชาต ิ(ฉบบั ท ่ี2) พ.ศ. 2561 ก�าหนดค�านิยาม “การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม” หมายความวา กระบวนการศึกษาและ ประเมินผลที่อาจเกิดข้ึนจากการด�าเนินโครงการหรือกิจการหรือการด�าเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐ จะอนญุ าตใหม้ กี ารดา� เนนิ การทอ่ี าจมผี ลกระทบตอ ทรพั ยากรธรรมชาต ิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม สขุ ภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนได้เสียอ่ืนใดของประชาชนหรือชุมชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยผานกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชน เพื่อก�าหนดมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบ ดังกลาว ผลการศึกษา เรยี กวา รายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดล้อม การจดั ทา� รายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม กา� หนดไวต้ ามประเภทและขนาด ของโครงการ ซงึ่ ตอ้ งพจิ ารณาดา� เนนิ การตามประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เร่ือง ก�าหนดโครงการ กิจการ หรือการด�าเนินการ ซึ่งต้องจัดท�ารายงานการประเมินผลกระทบ สง่ิ แวดลอ้ ม จา� นวน 35 ประเภทโครงการ และโครงการซง่ึ ตอ้ งจดั ทา� รายงานการประเมนิ ผลกระทบ ส่งิ แวดลอ้ มสา� หรับโครงการ กจิ การ หรือการดา� เนินการทอ่ี าจมผี ลกระทบตอ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชนอยางรุนแรง จ�านวน 12 ประเภทโครงการ นอกจากน ้ี ยงั มกี ารจดั ทา� รายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มในพนื้ ทท่ี ไ่ี ดม้ กี าร ประกาศเปน็ พื้นที่คุม้ ครองส่ิงแวดล้อม ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ือง ก�าหนดพ้ืนที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ซ่ึงก�าหนดประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจการท่ีต้องจัดท�ารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและรายงานผลกระทบ สิง่ แวดล้อมเบ้ืองตน้ รวมทั้งมตคิ ณะรฐั มนตรีเก่ียวกบั ปา่ อนุรกั ษเพ่มิ เตมิ (วันท่ี 13 กนั ยายน 2537) และกลไกการด�าเนินงานด้านการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดล้อมของโครงการตาง ๆ ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมอ่ื วนั ที ่ 26 เมษายน 2554 รายงานการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม แบง ไดเ้ ปน็ 3 รปู แบบ ไดแ้ ก1 1. รายงานผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบอื้ งตน้ (Initial Environmental Examination : IEE) 2. รายงานการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmental Impact Assessment : EIA) ๑ กองวิเคราะหผ ลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม สา� นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 165 คมู่ อื การอนุมัติ อนุญาตขอใช้พน้ื ท่จี ากสวนราชการ

3. รายงานการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม สำ� หรบั โครงการ กจิ การหรอื การดำ� เนนิ การ ที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชมุ ชนอยา่ งรนุ แรง (Environmental and Health Impact Assessment : EHIA) 1. กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง 1.1 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เร่ือง กำ� หนดโครงการ กจิ การ หรอื การดำ� เนนิ การ ซงึ่ ตอ้ งจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม และหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขในการจดั ท�ำรายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 1.2 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม เร่อื ง ก�ำหนดโครงการ กจิ การ หรอื การดำ� เนนิ การ ซงึ่ ตอ้ งจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม และหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขในการจดั ท�ำรายงานการประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วนั ที่ 28 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 1.3 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เร่อื ง ก�ำหนดโครงการ กจิ การ หรอื การดำ� เนนิ การ ซงึ่ ตอ้ งจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม และหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขในการจัดทำ� รายงานการประเมินผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2564 ประกาศ ณ วันท่ี 18 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 1.4 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม เรื่อง กำ� หนดโครงการ กจิ การ หรอื การดำ� เนนิ การที่อาจมผี ลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ คุณภาพส่งิ แวดล้อม สขุ ภาพ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชมุ ชนอยา่ งรนุ แรง ซง่ึ ตอ้ งจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 1.5 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม เรื่อง กำ� หนดโครงการ กจิ การ หรอื การด�ำเนนิ การที่อาจมีผลกระทบต่อทรพั ยากรธรรมชาติ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม สุขภาพ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชมุ ชนอยา่ งรนุ แรงซง่ึ ตอ้ งจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบ ส่ิงแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบ สงิ่ แวดล้อม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 1.6 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม เรื่อง ขยายระยะเวลา การใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง ก�ำหนดเขตพื้นท่ีและ มาตรการคมุ้ ครองสงิ่ แวดลอ้ ม ในบรเิ วณทอ้ งทตี่ ำ� บลตลง่ิ งาม ตำ� บลบอ่ ผดุ ตำ� บลมะเรต็ ตำ� บลแมน่ ำ�้ ตำ� บลหนา้ เมอื ง ตำ� บลอา่ งทอง ตำ� บลลปิ ะนอ้ ย อำ� เภอเกาะสมยุ และตำ� บลเกาะพะงนั ตำ� บลบา้ นใต ้ ต�ำบลเกาะเตา่ อ�ำเภอเกาะพะงนั จงั หวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2557 166 คมู่ ือการอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใชพ้ น้ื ที่จากส่วนราชการ

1.7 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เร่ือง ขยายระยะเวลา การใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก�ำหนดเขตพ้ืนท่ีและ มาตรการคมุ้ ครองส่งิ แวดลอ้ ม ในท้องทีอ่ �ำเภออ่าวลึก อ�ำเภอเมืองกระบ่ี อำ� เภอเหนือคลอง อำ� เภอ คลองท่อม และอำ� เภอเกาะลนั ตา จงั หวัดกระบ่ี พ.ศ. 2559 1.8 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เรือ่ ง ขยายระยะเวลา การใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง ก�ำหนดเขตพื้นที่และ มาตรการคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ในทอ้ งที่อ�ำเภอคุระบรุ ี อำ� เภอตะกั่วปา่ อำ� เภอท้ายเหมือง อ�ำเภอ ทับปุด อ�ำเภอเมอื งพังงา อำ� เภอตะกัว่ ทุ่ง และอ�ำเภอเกาะยาว จังหวดั พังงา พ.ศ. 2559 1.9 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม เรือ่ ง ก�ำหนดเขตพน้ื ที่ และมาตรการคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ในท้องท่ีอ�ำเภอคุระบุรี อ�ำเภอตะก่ัวป่า อ�ำเภอท้ายเหมือง อำ� เภอทบั ปดุ อำ� เภอเมอื งพงั งา อำ� เภอตะกวั่ ทงุ่ และอำ� เภอเกาะยาว จงั หวดั พงั งา (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2563 1.10 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรือ่ ง ก�ำหนดเขตพื้นที่ และมาตรการคุ้มครองส่งิ แวดลอ้ ม ในบริเวณพ้ืนที่จงั หวดั ภเู ก็ต พ.ศ. 2560 1.11 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เรอ่ื ง กำ� หนดเขตพ้นื ที่ และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดลอ้ ม ในบรเิ วณพ้นื ท่ีจงั หวดั ภูเก็ต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 1.12 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรอื่ ง กำ� หนดเขตพนื้ ที่ และมาตรการคมุ้ ครองสง่ิ แวดลอ้ ม ในบรเิ วณพนื้ ที่ อำ� เภอบางละมงุ และอำ� เภอสตั หบี จงั หวดั ชลบรุ ี พ.ศ. 2563 1.13 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม เร่อื ง ก�ำหนดเขตพน้ื ท่ี และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่อ�ำเภอบ้านแหลม อ�ำเภอเมืองเพชรบุร ี อ�ำเภอทายาง และอ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี อ�ำเภอหัวหิน และอ�ำเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบครี ขี ันธ์ พ.ศ. 2553 1.14 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม เรื่อง ก�ำหนดเขตพ้นื ที่ และมาตรการคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ในท้องที่ต�ำบลวัดเกต ต�ำบลหนองหอย อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ ตำ� บลหนองผึง้ ตำ� บลยางเน้งิ และตำ� บลสารภี อำ� เภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และในท้องท่ีต�ำบล อุโมงค์ อ�ำเภอเมืองล�ำพนู จงั หวัดล�ำพูน พ.ศ. 2558 กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง คู่มอื การอนมุ ัติ อนุญาตขอใชพ้ ้นื ทจี่ ากส่วนราชการ 167

2. ผูพ้ ิจารณารายงานการประเมินผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม 2.1 การพิจารณารายงาน EIA/EHIA กรณีการด�ำเนนิ โครงการหรือกจิ การหรือ การดำ� เนนิ การของเอกชนทตี่ อ้ งไดร้ บั อนญุ าตตามกฎหมาย หรอื หนว่ ยงานของรฐั ทไี่ มต่ อ้ งขอรบั ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรี หรอื ไม่ตอ้ งไดร้ ับอนญุ าตตามกฎหมาย คณะกรรมการผชู้ ำ� นาญการพจิ ารณารายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม (คชก.) ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ เป็นผู้พิจารณา ใหค้ วามเหน็ ชอบหรอื ไมใ่ หค้ วามเหน็ ชอบ และกำ� หนดใหเ้ จา้ หนา้ ทซ่ี งึ่ มอี ำ� นาจอนญุ าตตามกฎหมาย น�ำมาตรการตามที่เสนอไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปก�ำหนดเป็นเงื่อนไข ในการสงั่ อนญุ าตหรอื ตอ่ อายใุ บอนญุ าต โดยใหถ้ อื วา่ เปน็ เงอ่ื นไขทกี่ ำ� หนดตามกฎหมายในเรอื่ งนน้ั ดว้ ย 2.2 การพิจารณารายงาน EIA/EHIA การด�ำเนินโครงการหรือกิจการหรือ การด�ำเนินการ ของหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐด�ำเนินการร่วมกับเอกชน ที่ต้อง เสนอขอรบั ความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรี 2.2.1 คณะกรรมการผู้ช�ำนาญการพิจารณารายงานการประเมินผลกระทบ ส่งิ แวดลอ้ ม ซ่ึงเป็นคณะกรรมการที่แต่งตงั้ โดยคณะกรรมการสง่ิ แวดล้อมแหง่ ชาติ เปน็ ผู้พิจารณา ให้ความเหน็ และเสนอตอ่ คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ 2.2.2 คณะกรรมการสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ เปน็ ผพู้ จิ ารณา โดยมคี วามเหน็ ของ คณะกรรมการผชู้ ำ� นาญการฯ ประกอบการพจิ ารณา และเสนอความเหน็ ประกอบการพจิ ารณาของ คณะรฐั มนตรี 2.2.3 คณะรฐั มนตรี 3. สถานท่ยี น่ื รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม 3.1 สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื หนว่ ยงาน ของรัฐ ตามทีค่ ณะกรรมการสง่ิ แวดล้อมแหง่ ชาตมิ อบหมายใหป้ ฏบิ ัติหนา้ ที่แทน 3.2 ส�ำหรับกรณีโครงการเอกชนที่ต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ให้ย่ืนรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อหน่วยงานอนุญาตในกิจการอันเป็นสาระส�ำคัญส�ำหรับ การด�ำเนนิ โครงการหรือกจิ การหรือการดำ� เนินการนั้นเพิ่มเตมิ ด้วย 4. ขน้ั ตอนการพิจารณารายงานการประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4.1 การพิจารณารายงาน EIA/EHIA กรณีการด�ำเนนิ โครงการหรือกิจการหรือ การดำ� เนนิ การของเอกชนทตี่ อ้ งไดร้ บั อนญุ าตตามกฎหมาย หรอื หนว่ ยงานของรฐั ทไี่ มต่ อ้ งขอรบั ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี หรอื ไมต่ ้องไดร้ ับอนุญาตตามกฎหมาย 4.1.1 ผูด้ ำ� เนนิ การหรือผขู้ ออนุญาต ศกึ ษาและจดั ทำ� รายงาน EIA หรือ EHIA ในขนั้ การขออนญุ าตตามกฎหมาย 168 ค่มู อื การอนุมัติ อนุญาตขอใชพ้ ืน้ ท่จี ากส่วนราชการ

4.1.2 เสนอรายงานใหห้ น่วยงานตาม ขอ้ 3 4.1.3 เจ้าหน้าท่ีผู้พิจารณารายงาน ตรวจสอบความถูกต้องและความ ครบถว้ น ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขทกี่ ำ� หนด 4.1.3.1 รายงานถูกตอ้ ง/ข้อมูลครบถว้ น ด�ำเนินการต่อ 4.1.3.2 รายงานไม่ถูกต้อง/ข้อมูลไม่ครบถ้วน แจ้งผู้ด�ำเนินการหรือ ผูข้ ออนุญาตทราบภายใน 15 วนั นับแตว่ นั ท่ีได้รับรายงาน 4.1.3.3 เจา้ หนา้ ทผี่ พู้ จิ ารณารายงาน พจิ ารณาเสนอความเหน็ เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั รายงานภายใน 30 วนั นบั แต่วันท่ไี ดร้ บั รายงาน 4.1.4 คณะกรรมการผูช้ ำ� นาญการฯ พจิ ารณารายงานภายใน 45 วัน นับแต่ วันท่ีได้รับรายงาน และส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเป็น ผู้แจ้งผลการพจิ ารณาโดยแบ่งเปน็ 2 กรณี คือ 4.1.4.1 ใหค้ วามเหน็ ชอบ เจา้ หนา้ ทซี่ ง่ึ มอี ำ� นาจอนญุ าต นำ� มาตรการ ทก่ี ำ� หนดในรายงานไปเปน็ เงอ่ื นไขในการอนญุ าต สว่ นการเหน็ ชอบกรณโี ครงการทอี่ าจมผี ลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติ คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม สขุ ภาพ อนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน อยา่ งรนุ แรง (EHIA) หนว่ ยงานของรฐั ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการหรอื หนว่ ยงานของรฐั ผอู้ นญุ าตโครงการ จัดรบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชนฯ ตามมาตรา 58 ของรฐั ธรรมนญู ฯ 4.1.4.2 ไม่ใหค้ วามเห็นชอบ 1) แจ้งให้ผู้ด�ำเนินการ/ผู้ขออนุญาต แก้ไข เพิ่มเติม หรือจดั ทำ� รายงานใหม่ 2) ผู้ด�ำเนินการ/ผู้ขออนุญาต แก้ไข เพ่ิมเติม หรือจัดท�ำ รายงานใหม่ และเสนอรายงานฉบบั แก้ไขภายใน 180 วนั นับแต่วนั ทไ่ี ด้รบั แจง้ ผลการพจิ ารณา 3) กรณีผู้ด�ำเนินการ/ผู้ขออนุญาต ไม่แก้ไข เพิ่มเติม หรือ จดั ทำ� รายงานใหม่ และเสนอภายใน 180 วนั ตามทกี่ ำ� หนด ใหถ้ อื วา่ จบกระบวนการพจิ ารณารายงาน 4.1.5 คณะกรรมการผู้ช�ำนาญการฯ พจิ ารณารายงาน 30 วนั นับแตว่ นั ที่ได้ รับรายงาน 4.1.5.1 ใหค้ วามเหน็ ชอบ เจา้ หนา้ ทซ่ี ง่ึ มอี ำ� นาจอนญุ าต นำ� มาตรการ ที่กำ� หนดในรายงานไปเป็นเง่อื นไขในการอนุญาต กรณีโครงการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพ สงิ่ แวดลอ้ ม สขุ ภาพ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชมุ ชนอยา่ งรนุ แรง (EHIA) ผดู้ ำ� เนนิ การ/ ผู้ขออนุญาต ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชน ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ตามมาตรา 58 ของรัฐธรรมนญู ฯ ค่มู อื การอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใช้พนื้ ทจ่ี ากส่วนราชการ 169

4.1.5.2 ไม่ใหค้ วามเหน็ ชอบ ถอื วา่ จบกระบวนการพจิ ารณารายงาน โดยผดู้ �ำเนนิ การ/ผขู้ ออนญุ าต สามารถพิจารณาด�ำเนินการ ดังนี้ 1) มสี ทิ ธนิ �ำคดีไปสูศ่ าลปกครอง ภายใน 90 วัน หรือ 2) สามารถเสนอรายงานเขา้ สกู่ ระบวนการพจิ ารณารายงานใหม่ 170 คูม่ อื การอนุมัติ อนุญาตขอใช้พ้นื ที่จากสว่ นราชการ

4.2 ขน้ั ตอนการพจิ ารณารายงาน EIA/EHIA กรณกี ารดำ� เนนิ โครงการหรอื กจิ การ หรอื การดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานของรฐั หรอื หนว่ ยงานของรฐั ดำ� เนนิ การรว่ มกบั เอกชน ทต่ี อ้ ง เสนอขอรับความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรี 4.2.1 ผดู้ ำ� เนนิ การหรอื ผขู้ ออนญุ าต ศกึ ษาและจดั ทำ� รายงาน EIA หรอื EHIA ในข้ันจดั ทำ� รายงานตง้ั แต่ในระยะทำ� การศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการ 4.2.2 เสนอรายงานใหห้ นว่ ยงานตามขอ้ 3 4.2.3 เจา้ หนา้ ทผ่ี พู้ จิ ารณารายงาน ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และความครบถว้ น ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขท่ีกำ� หนด 4.2.4 คณะกรรมการผชู้ ำ� นาญการฯ พจิ ารณารายงาน และสำ� นกั งานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มเปน็ ผแู้ จง้ ผลการพจิ ารณาโดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือ 4.2.4.1 ขอ้ มลู เพยี งพอ แจง้ ผดู้ ำ� เนนิ การหรอื ผขู้ ออนญุ าตและดำ� เนนิ การ จดั ท�ำเล่มรายงานตามทกี่ �ำหนด พร้อมดว้ ยเอกสารต่าง ๆ เสนอคณะกรรมการสง่ิ แวดล้อมแหง่ ชาติ 4.2.4.2 ข้อมูลไม่เพียงพอ แจ้งผู้ด�ำเนินการหรือผู้ขออนุญาต แก้ไข เพม่ิ เตมิ หรอื จดั ทำ� รายงานใหม่ และเสนอรายงานเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของคณะกรรมการผชู้ ำ� นาญการฯ อีกคร้งั 4.2.5 เจา้ หนา้ ทผี่ พู้ จิ ารณารายงาน สรปุ ความเหน็ คณะกรรมการผชู้ ำ� นาญการฯ เสนอต่อคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ 4.2.6 คณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พจิ ารณารายงาน 4.2.6.1 เห็นชอบ เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของ คณะรัฐมนตรี 4.2.6.2 ไม่เห็นชอบ ผู้ด�ำเนินการหรือผู้ขออนุญาตด�ำเนินการ ตามความเหน็ ของคณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ 4.2.7 คณะรัฐมนตรีพิจารณา ตามความเห็นประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ โดยคณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใดซ่ึงมีความ ช�ำนาญหรือเช่ียวชาญเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมท�ำการศึกษาและเสนอรายงาน หรือความเหน็ เพอื่ ประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ กรณีโครงการท่ีอาจมผี ลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง (EHIA) ผู้ด�ำเนินการ/ผู้ขออนุญาต ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนท่ีเก่ียวข้อง ตามมาตรา 58 ของรฐั ธรรมนูญฯ   คู่มอื การอนมุ ัติ อนุญาตขอใช้พน้ื ทจ่ี ากสว่ นราชการ 171

172 คมู่ อื การอนุมตั ิ อนุญาตขอใช้พนื้ ท่ีจากส่วนราชการ

5. สาระสำ� คัญในรายงานการประเมนิ ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม2 5.1 รายงานผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มเบอื้ งตน้ (Initial Environmental Examination : IEE) (ตน้ ฉบบั 1 ฉบบั ส�ำเนาอย่างน้อย 14 ฉบบั ) 5.1.1 บทนำ� 5.1.2 รายละเอยี ดโครงการ 5.1.3 สภาพสงิ่ แวดล้อมปจั จบุ ัน 5.1.4 การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม 5.1.5 มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม และมาตรการตดิ ตาม ตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอ้ ม 5.1.6 ส่วนประกอบทา้ ยรายงาน 5.1.7 เอกสารประกอบการเสนอรายงาน 1) แบบรายการแสดงผลกระทบสิ่งแวดล้อมท่ีส�ำคัญ มาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อม ตามแบบ สผ. 1 2) ปกหน้าและปกในของรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ตามแบบ สผ. 2 3) หนังสือรับรองการจัดท�ำรายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น ตามแบบ สผ. 3 4) บัญชีรายชื่อผู้จัดท�ำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้ืองต้น ตามแบบ สผ. 4 5) แบบแสดงรายละเอียดการเสนอรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เบือ้ งต้น ตามแบบ สผ. 5 6) สำ� เนาใบอนญุ าตเปน็ ผมู้ สี ทิ ธจิ ดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบ ส่งิ แวดล้อม 5.2 รายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) 5.2.1 รายงานฉบบั หลัก (ต้นฉบบั 1 ฉบับ ส�ำเนาอย่างนอ้ ย 14 ฉบบั ) 1) บทนำ� 2) รายละเอยี ดโครงการ 3) สภาพสง่ิ แวดล้อมปจั จุบัน 4) การประเมินผลกระทบสงิ่ แวดล้อม 2 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เร่ือง กำ� หนดโครงการ กจิ การ หรอื การดำ� เนินการ ซงึ่ ต้องจัดทำ� รายงาน การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 คมู่ ือการอนมุ ัติ อนญุ าตขอใชพ้ ืน้ ทีจ่ ากส่วนราชการ 173

5) มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม และมาตรการ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม 6) สว่ นประกอบทา้ ยรายงาน 5.2.2 รายงานฉบับย่อ (ต้นฉบับ 1 ฉบับ) เฉพาะกรณีการด�ำเนินโครงการ กิจการ หรอื การดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานของรัฐ หรือหนว่ ยงานของรฐั ด�ำเนินการรว่ มกับเอกชน 1) บทนำ� 2) รายละเอียดโครงการ กจิ การ หรอื การด�ำเนินการโดยสงั เขป 3) ตารางสรปุ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี ำ� คญั พรอ้ มมาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 5.2.3 เอกสารประกอบการเสนอรายงาน 1) แบบรายการแสดงผลกระทบส่ิงแวดล้อมท่ีส�ำคัญ มาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามแบบ สผ. 1 2) ปกหนา้ และปกในของรายงานการประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ตามแบบ สผ. 6 3) หนังสือรับรองการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบ สงิ่ แวดลอ้ ม ตามแบบ สผ. 7 4) บัญชีรายช่ือผู้จัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามแบบ สผ. 8 5) แบบแสดงรายละเอียดการเสนอรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดลอ้ ม ตามแบบ สผ. 9 6) สำ� เนาใบอนญุ าตเปน็ ผมู้ สี ทิ ธจิ ดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบ ส่งิ แวดลอ้ ม 5.3 รายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม ส�ำหรับโครงการ กิจการหรือการ ดำ� เนนิ การทอ่ี าจมผี ลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม สขุ ภาพ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชมุ ชนอยา่ งรนุ แรง (Environmental and Health Impact Assessment : EHIA)3 5.3.1 รายงานฉบบั หลัก (ต้นฉบับ 1 ฉบบั สำ� เนาอย่างน้อย 14 ฉบับ) 1) บทน�ำ 2) รายละเอียดโครงการ 3 ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม เรอ่ื ง ก�ำหนดโครงการกิจการ หรือการดำ� เนินการที่อาจมผี ลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสงิ่ แวดล้อม สุขภาพ อนามยั คุณภาพชีวติ ของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง ซง่ึ ต้องจัดท�ำรายงาน การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม ประกาศ ณ วนั ท่ี 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 174 คมู่ ือการอนุมตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ ้ืนทีจ่ ากสว่ นราชการ

3) สภาพสิง่ แวดล้อมปจั จุบนั 4) การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม 5) มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม และมาตรการ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดล้อม 6) ส่วนประกอบท้ายรายงาน 5.3.2 รายงานฉบับย่อ (ต้นฉบับ 1 ฉบับ) เฉพาะกรณีการด�ำเนินโครงการ กจิ การ หรอื การด�ำเนินการ ของหนว่ ยงานของรฐั หรอื หนว่ ยงานของรฐั ด�ำเนินการรว่ มกบั เอกชน 1) บทนำ� 2) รายละเอียดโครงการ กจิ การ หรอื การด�ำเนินการโดยสังเขป 3) ตารางสรปุ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี ำ� คญั พรอ้ มมาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 5.3.3 เอกสารประกอบการเสนอรายงาน 1) แบบรายการแสดงผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญ มาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อม ตามแบบ สผร. 1 2) ปกหนา้ และปกในของรายงานการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม ตามแบบ สผร. 2 3) หนังสือรับรองการจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบ สงิ่ แวดล้อม ตามแบบ สผร. 3 4) บัญชีรายช่ือผู้จัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม ตามแบบ สผร. 4 5) แบบแสดงรายละเอียดการเสนอรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดลอ้ ม ตามแบบ สผร. 5 6) สำ� เนาใบอนญุ าตเปน็ ผมู้ สี ทิ ธจิ ดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลกระทบ สง่ิ แวดล้อม คู่มือการอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใชพ้ ้ืนทจ่ี ากส่วนราชการ 175

วา่ งขาว 176



วา่ งขาว 178

แนวทำงกำรด�ำเนนิ งำน ศนู ย์รำชกำรระดับจงั หวัด สา� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย 1. ควำมเป็นมำ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี 1 ธันวาคม 2535 เห็นชอบหลักการและแนวทาง การดา� เนนิ งานจดั วางผงั แมบ ทศนู ยร าชการสว นภมู ภิ าค เพอื่ ใหท้ กุ จงั หวดั และหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ใช้เป็นแนวทางประกอบการด�าเนินงานเร่ืองศูนยราชการ ตอมาในปี 2539 ได้ก�าหนดระเบียบ สา� นักนายกรฐั มนตรวี าดว้ ยการอา� นวยการจดั ระบบศนู ยร าชการ พ.ศ. 2539 ระเบียบฯ ดังกลา วนี้ กา� หนดขนึ้ เพอ่ื ใหก้ ารพจิ ารณาและการดา� เนนิ งานเกยี่ วกบั การจดั ระบบศนู ยร าชการทง้ั ในระดบั ชาติ ระดบั จังหวัด และเฉพาะโครงการ สามารถด�าเนนิ การได้อยางมเี อกภาพ และเป็นระบบไมซ�้าซอ้ น โดยมีคณะกรรมการอ�านวยการจัดระบบศูนยราชการ (กศร.) ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีหรือ รองนายกรฐั มนตร ี ซงึ่ นายกรฐั มนตรมี อบหมายเปน็ ประธานกรรมการ รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการ ปลัดส�านักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวง การคลัง ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ผู้อ�านวยการส�านักงบประมาณ ผู้อ�านวยการส�านักงาน ทรพั ยส นิ สว นพระมหากษตั รยิ  อธบิ ดกี รมธนารกั ษ  อธบิ ดกี รมทด่ี นิ และผทู้ รงคณุ วฒุ อิ กี ไมเ กนิ หา้ คน ซง่ึ ประธานกรรมการแตง ตั้งเปน็ กรรมการ ให้เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ปัจจุบัน เรียกวา เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ) เป็นกรรมการและเลขานุการ และใหเ้ ลขาธกิ ารสา� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม อธบิ ดกี รมโยธาธกิ าร และผังเมือง และเจ้าหน้าท่ีส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ปัจจุบัน เรียกวา ส�านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ) ท่ีได้รับมอบหมายเป็น กรรมการและผชู้ ว ยเลขานกุ าร โดยจดั ตงั้ สา� นกั งานคณะกรรมการอา� นวยการจดั ระบบศนู ยร าชการ (สศร.) เปน็ หนว ยงานภายในสา� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต ิ (ปจั จบุ นั เรยี กวา สา� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต)ิ ทา� หนา้ ทเี่ ปน็ สา� นกั งานเลขานกุ าร ของ กศร. เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ระเบยี บสา� นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว้ ยการอา� นวยการจดั ระบบศนู ยร าชการ (ฉบบั ท ี่ 2) พ.ศ. 2548 ในป ี 2548 ได้มกี ารแกไ้ ขเพิม่ เตมิ ระเบยี บสา� นกั นายกรฐั มนตรีวา ดว้ ยการอา� นวยการ จัดระบบศูนยราชการ พ.ศ. 2539 ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง คู่มอื การอนุมตั ิ อนุญาตขอใช้พ้ืนที่จากสวนราชการ 179

ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยได้ก�ำหนดระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอ�ำนวยการ จัดระบบศูนย์ราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ซึ่งระเบียบฯ ดังกล่าวได้ปรับปรุงองค์ประกอบ ของคณะกรรมการฯ และอำ� นาจหน้าทข่ี อง กศร. ปจั จบุ นั การดำ� เนนิ งานเรอื่ งศนู ยร์ าชการระดบั จงั หวดั จงึ อยภู่ ายใตร้ ะเบยี บสำ� นกั นายก รฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการ พ.ศ. 2539 และระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2548 กศร. ไดม้ คี ำ� สง่ั เมอื่ วนั ที่ 15 กรกฎาคม 2553 แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการภายใต้ กศร. จ�ำนวน 2 คณะ คือ (1) คณะอนุกรรมการพิจารณาสถานท่ีท�ำงานของหน่วยราชการในเขต กรงุ เทพมหานครและเมอื งหลกั มสี ำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร รบั ผดิ ชอบในการพจิ ารณาการ จดั ทำ� แผนการใชท้ ด่ี นิ และการจดั ทำ� ผงั แมบ่ ทศนู ยร์ าชการ ในเขตกรงุ เทพมหานคร ปรมิ ณฑล และ เมอื งหลกั 32 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ภาคกลาง กรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี ปทมุ ธานี สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร นครปฐม กาญจนบรุ ี ฉะเชงิ เทรา เพชรบุรี ราชบรุ ี สระบรุ ี ภาคตะวันออก ชลบรุ ี ระยอง ภาคใต้ กระบ่ี นครศรีธรรมราช พงั งา ภูเก็ต สงขลา สุราษฎร์ธานี ภาคเหนอื เชยี งราย เชยี งใหม่ ลำ� ปาง พษิ ณโุ ลก นครสวรรค์ ขอนแกน่ นครราชสมี า อดุ รธานี มกุ ดาหาร รอ้ ยเอด็ สกลนคร ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สุรนิ ทร์ อบุ ลราชธานี และ (2) คณะอนกุ รรมการจดั วางผงั แมบ่ ทศนู ยร์ าชการสว่ นภมู ภิ าค มสี ำ� นกั นโยบายและแผน สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร รบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ การใน 45 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ปราจีนบุรี สมุทรสงคราม สระแก้ว สุพรรณบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ก�ำแพงเพชร ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท ภาคตะวันออก นครนายก ประจวบคีรขี ันธ์ ภาคใต้ จันทบรุ ี ตราด ภาคเหนือ ชมุ พร ตรัง ปตั ตานี สตลู ระนอง นราธวิ าส พัทลุง ยะลา นา่ น ตาก พจิ ติ ร แพร่ แมฮ่ อ่ งสอน อตุ รดติ ถ์ เพชรบรู ณ์ ลำ� พนู ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อทุ ัยธานี สโุ ขทัย พะเยา หนองบัวล�ำภู อ�ำนาจเจริญ บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ยโสธร ศรีสะเกษ หนองคาย เลย ชัยภูมิ นครพนม บึงกาฬ 180 ค่มู อื การอนุมัติ อนญุ าตขอใชพ้ นื้ ทจ่ี ากส่วนราชการ

2. วัตถุประสงค์ในการก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานศูนย์ราชการ ระดับจังหวัด เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานเรอ่ื งศนู ยร์ าชการสอดคลอ้ งกบั สถานการณป์ จั จบุ นั และสภาพปญั หา รวมท้ังสอดคล้องกับข้อกฎหมาย และแนวนโยบายของรัฐท่ีปรับเปล่ียนไป กระทรวงมหาดไทย รว่ มกบั สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ประกอบดว้ ย สำ� นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง และกรมธนารกั ษ์ จึงได้กำ� หนดแนวทางการด�ำเนินงาน ศูนย์ราชการระดับจังหวัด โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดังนี้ 2.1 เพ่ือให้คณะอนุกรรมการภายใต้ กศร. จังหวัด และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีแนวทางการด�ำเนินงานเรอ่ื งศนู ย์ราชการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2.2 เพ่ือให้ศูนย์ราชการระดับจังหวัดเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการท่ีมี ประสทิ ธภิ าพของจังหวัด 2.3 เพอ่ื ใหท้ ตี่ งั้ ศนู ยร์ าชการจงั หวดั มคี วามเหมาะสม สงา่ งาม มเี อกลกั ษณข์ องแตล่ ะ ทอ้ งถน่ิ และมคี วามสอดคลอ้ งกบั ผงั เมอื งรวมตามศกั ยภาพของพน้ื ท่ี และเปน็ ไปในทศิ ทางทจ่ี งั หวดั ต้องการโดยให้ศูนย์ราชการจังหวัดเป็นตัวน�ำในการพัฒนาเมือง เพ่ือลดความแออัดในชุมชนเมือง แล้วกระจายความเจริญไปยังพ้ืนที่ใหม่ตามทิศทางการพัฒนาเมือง โดยให้มีการศึกษาแผนการใช้ ทีด่ นิ และจัดวางผังแมบ่ ทศนู ยร์ าชการควบคูก่ ันไปดว้ ย 2.4 เพอื่ ใหก้ ารใชง้ บประมาณและการใชท้ ดี่ นิ ของรฐั เปน็ ไปอยา่ งประหยดั และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ 2.5 เพ่ือให้การด�ำเนินงานศูนย์ราชการส่วนภูมิภาคได้ค�ำนึงถึงการรักษาคุณภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และศลิ ปกรรม 3. แนวทางการด�ำเนนิ งานศนู ยร์ าชการระดับจังหวดั 3.1 นยิ ามศูนยร์ าชการ ตามระเบียบคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ ว่าด้วยการบริหาร ศนู ยร์ าชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 ก�ำหนดใหศ้ นู ย์ราชการ หมายถึง สถานทซ่ี ่งึ คณะกรรมการ อ�ำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ ก�ำหนดให้เป็นท่ีต้ังของหน่วยงานราชการ ซึ่งประกอบด้วย อาคารที่ท�ำการของหน่วยราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค ที่เป็นหน่วยงานบริหาร หน่วยงานบริการ หรือหน่วยงานปฏิบัติการด้วย รวมท้ังบริเวณท่ีตั้งบ้านพักข้าราชการ และให้ หมายความรวมถึงพื้นท่ีและอาคารที่อยู่ในบริเวณเกี่ยวเนื่องหรือเชื่อมโยงกับสถานท่ีดังกล่าว ตามท่ีคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการก�ำหนด ทั้งนี้ ไม่รวมถึงอาคารที่ท�ำการของ คู่มอื การอนุมัติ อนญุ าตขอใชพ้ น้ื ท่ีจากสว่ นราชการ 181

หนว่ ยราชการในสงั กดั กระทรวงกลาโหม หนว่ ยราชการสงั กดั สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ และโรงเรยี น ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการตลอดจนสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ในก�ำกับหรือสังกัด ส่วนราชการใดกต็ าม ในกรณีที่มีหน่วยงานประสงค์จะใช้พ้ืนท่ีภายในศูนย์ราชการ แต่ไม่เป็นไปตามนิยาม ในข้างตน้ รวมถึงหน่วยราชการในสังกัดกระทรวงกลาโหม ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ และสถาบนั การศึกษาให้จงั หวดั ดำ� เนินการขอยกเว้นการปฏิบัตติ ามระเบยี บใน 2 ขั้นตอน ได้แก่ 3.1.1 ให้จังหวัดเสนอเรื่องดังกล่าวต่ออธิบดีกรมธนารักษ์ ตามระเบียบ คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ ว่าด้วยการบริหารศูนย์ราชการ พ.ศ. 2542 ขอ้ 6 ทก่ี ำ� หนดใหใ้ นกรณที ม่ี ปี ญั หาหรอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนไี้ ด้ หรอื ในกรณที ไี่ มม่ กี ำ� หนดไว้ ในระเบยี บน้ี ใหอ้ ธิบดกี รมธนารักษเ์ ป็นผู้วินิจฉัยชขี้ าด 3.1.2 ให้จังหวัดเสนอเรื่องต่อคณะอนุกรรมการพิจารณาสถานที่ท�ำงาน ของหน่วยราชการในเขตกรุงเทพมหานครและเมืองหลักหรือคณะอนุกรรมการจัดวางผังแม่บท ศนู ย์ราชการส่วนภมู ภิ าค แลว้ แตก่ รณี 3.2 องค์ประกอบของศูนย์ราชการจังหวดั ประกอบด้วย 3.2.1 ศูนย์บริหาร หรือศูนย์ราชการหลัก หมายถึง พื้นท่ีส�ำหรับรวมกลุ่ม อาคารด้านบริหาร ไว้ในบริเวณเดียวกัน ประกอบด้วย ส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะงานหลัก เป็นงานบริหาร โดยมีอาคารศาลากลาง จังหวัด อาคารศาลจังหวัด อาคารส�ำนักงานอัยการ อาคารอเนกประสงค์ (หอประชมุ ) อาคารเกบ็ พสั ดเุ ปน็ สว่ นประกอบ สำ� หรบั จงั หวดั ทม่ี พี น้ื ทมี่ ากเพยี งพอ กใ็ หม้ สี ่วนราชการอืน่ หรอื หน่วยงานอ่นื ๆ ของรฐั เข้ามาอยูใ่ นศูนย์บริหาร หรือศนู ยร์ าชการหลักได้ ตามความเหมาะสม 3.2.2 ศนู ย์ปฏิบตั ิการ หรือศูนยร์ าชการรอง หมายถงึ พืน้ ท่ีส�ำหรบั รวมกล่มุ อาคารของหน่วยงาน ทม่ี ีลักษณะงานหลักเป็นงานปฏิบัตกิ าร หรืองานบริการประชาชน ซึ่งแตล่ ะ หนว่ ยงานใช้พ้นื ท่จี ำ� นวนมาก 3.2.3 ศูนย์บ้านพักข้าราชการ หมายถึง พื้นที่อันเป็นที่ตั้งของศูนย์รวมหรือ ท่ีรวมของอาคารพักอาศัยและอาคารประกอบของศูนย์บ้านพักข้าราชการ และพื้นที่นันทนาการ โดยมีระบบสาธารณปู โภคและสาธารณปู การรว่ มกัน 3.2.4 อนึ่ง ในแต่ละจังหวัดอาจมีศูนย์ปฏิบัติการหรือศูนย์ราชการรอง และศนู ยบ์ า้ นพกั ขา้ ราชการ มากกวา่ 1 แหง่ ตามความจำ� เปน็ และความเหมาะสม ทง้ั น้ี ขน้ึ อยกู่ บั ขนาด ของพืน้ ที่ที่จัดหาได้ และการรวมกล่มุ ของหนว่ ยราชการทีม่ ีอยู่เดิม 182 คูม่ อื การอนมุ ตั ิ อนุญาตขอใช้พ้ืนทีจ่ ากส่วนราชการ

3.3 การเลือกพนื้ ท่ีตั้งศูนยร์ าชการ 3.3.1 จังหวัดพิจารณาแต่งต้ังคณะกรรมการจัดวางผังแม่บทศูนย์ราชการ ระดับจังหวัดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ หัวหน้าหน่วยราชการท่ีเก่ียวข้อง เป็นกรรมการ และหัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยมีร่างองค์ประกอบ และหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบทเ่ี สนอแนะปรากฏตามภาคผนวก ก 3.3.2 หลักเกณฑ์การเลือกพ้ืนท่ีบริเวณศาลากลางจังหวัดเดิมเป็นศูนย์ ราชการ 3.3.2.1 มีศักยภาพในการขยายต่อเติม โดยการส�ำรวจสภาพอาคาร ศาลากลางจงั หวดั ปจั จบุ นั ในกรณที สี่ ามารถดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ ตอ่ เตมิ ใชเ้ ปน็ ศนู ยร์ าชการไดภ้ ายใต้ เงอ่ื นไขมพี น้ื ทบี่ รเิ วณรอบอาคารศาลากลางจงั หวดั มากพอ และไมอ่ ยใู่ นบรเิ วณอนรุ กั ษโ์ บราณสถาน 3.3.2.2 สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผแู้ ทนประชาชนในทกุ ระดบั และผแู้ ทนชมุ ชนในพนื้ ท่ี โดยตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั วชิ าการในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ การจดั ระบบการจราจร และการจดั ภมู ิทศั น์ 3.3.2.3 ให้คณะกรรมการจัดวางผังแม่บทศูนย์ราชการระดับจังหวัด มอี ำ� นาจหนา้ ท่ใี นการพจิ ารณาความเหมาะสมของทีด่ นิ ในเบอ้ื งต้น 3.3.3 หลกั เกณฑ์การเลือกพ้ืนทตี่ ้ังศูนยร์ าชการจังหวดั ในพ้นื ทแ่ี ห่งใหม่ 3.3.3.1 กรณพี นื้ ทบี่ รเิ วณศาลากลางจงั หวดั เดมิ ไมส่ ามารถขยายหรอื ตอ่ เตมิ ไดใ้ หพ้ จิ ารณาคดั เลอื กพนื้ ทตี่ ง้ั ศนู ยร์ าชการในพนื้ ทแี่ หง่ ใหม่ โดยมหี ลกั เกณฑใ์ นการพจิ ารณา เลือกทต่ี ง้ั ดังน้ี 1) ท�ำเลท่ีตั้งควรสอดคล้องกับผังเมืองรวม และสอดคล้อง กบั ทศิ ทางการพฒั นาเมอื ง รวมทง้ั คำ� นงึ ถงึ ความเหมาะสมของลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ปจั จบุ นั และกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องประกอบด้วย 2) ขนาดของทดี่ นิ ควรมเี นอื้ ทไี่ มต่ ำ�่ กวา่ 70 ไร่ หรอื มจี ำ� นวน พื้นทที่ ีเ่ พียงพอ เพื่อเปน็ พื้นทสี่ �ำหรบั อาคารศาลากลาง อาคารประกอบอน่ื ๆ อาคารท่ที ำ� การของ หนว่ ยงานอนื่ ทจี่ ำ� เปน็ พน้ื ทนี่ นั ทนาการ พน้ื สำ� รองสำ� หรบั อนาคต และพนื้ ทส่ี เี ขยี ว ทตี่ อ้ งมอี ยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 30 จากพนื้ ท่ีทงั้ หมด ค่มู อื การอนุมัติ อนญุ าตขอใช้พืน้ ท่จี ากส่วนราชการ 183

3) พ้ืนที่ตั้งศูนย์ราชการจังหวัดในพื้นท่ีแห่งใหม่ไม่ควรห่าง จากศนู ยร์ าชการเดมิ เกนิ 10 กโิ ลเมตร มกี ารคมนาคมสะดวก และมกี ารวางแผนระบบขนสง่ มวลชน รองรับการเดินทาง รวมท้ังต้องค�ำนึงถึงความเพียงพอ และความพร้อมของระบบสาธารณูปโภค สาธารณปู การ อาทิ ระบบน�้ำประปา ระบบสื่อสาร 4) ค�ำนึงถึงการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ เชน่ ไมค่ วรอยใู่ นบรเิ วณทมี่ มี ลภาวะ หลกี เลยี่ งการตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ และโบราณสถาน แหล่งอารยธรรม แหล่งประวัติศาสตร์ พ้ืนท่ีชุ่มน้�ำ และหลีกเล่ียงการใช้ประโยชน์บริเวณพ้ืนท ี่ ลาดชนั เชิงเขา เปน็ ต้น รวมทัง้ ใหป้ ฏบิ ตั ิตามแผนปฏบิ ตั ิการเชิงนโยบายด้านการจดั การพ้ืนทสี่ เี ขยี ว ชุมชนเมืองอย่างย่งั ยืน 5) หลักการประหยัดงบประมาณ ควรพิจารณาเลือกท่ีดิน ของรฐั เปน็ ลำ� ดบั แรกกอ่ น อาททิ ร่ี าชพสั ดุ และทสี่ าธารณประโยชน์ โดยตอ้ งมกี ารตรวจสอบประเภท และสถานะการใชท้ ่ดี นิ ให้เปน็ ปจั จุบัน กรณหี ากไมม่ ที ี่ดนิ ท่เี หมาะสมอาจพิจารณาทีด่ นิ บรจิ าคของ เอกชนหรอื พจิ ารณาจดั ซอื้ ทดี่ นิ ซงึ่ ตอ้ งไมอ่ ยใู่ นเงอ่ื นไขใด ๆ รวมทงั้ ตอ้ งเปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวง การคลงั วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทมี่ ผี บู้ รจิ าคใหท้ างราชการ พ.ศ. 2526 และกฎหมายอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งดว้ ย 3.3.3.2 หลักความสอดคล้องกับความต้องการของจังหวัด โดย ต้องเป็นไปตามหลักวิชาการในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน การจัดระบบการจราจร และการจัดภมู ทิ ัศนด์ ้วย 3.3.3.3 ก�ำหนดแผนการใช้ประโยชน์อาคารศาลากลางจังหวัด หลังเดิมใหช้ ดั เจนตามแนวทาง ดงั นี้ 1) มอี ายกุ ารใชง้ านมานาน (มากกว่า 30 ป)ี (1) มีโครงสร้างท่ีมั่นคงแข็งแรง มีความเป็นมา ทางประวตั ศิ าสตรท์ ย่ี าวนาน มรี ปู แบบทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ สงา่ งาม สมควรทจี่ ะอนรุ กั ษไ์ วเ้ ปน็ โบราณสถาน พิพิธภณั ฑ์ หรือใช้เปน็ หอ้ งสมุด หรอื อน่ื ๆ ตามท่จี ะเหน็ สมควร (2) โครงสร้างไม่มั่นคงแข็งแรง ไม่มีความโดดเด่น ทางประวัติศาสตร์หรือศิลปวัฒนธรรม ไม่ควรใช้สถานที่เพื่อท�ำประโยชน์อ่ืนใด อาจจะร้ือถอน เพื่อปรับการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ใหม่ 2) มีอายุการใช้งานไม่นานมาก เห็นควรให้หน่วยงานอื่น เข้าใช้ประโยชน์ เน่อื งจากมคี วามจ�ำเป็นของการใชส้ ถานที่ทำ� งาน พิจารณาจากองคป์ ระกอบ ดังนี้ (1) หน่วยงานที่มีลักษณะงานที่ประสานสอดคล้องกับ หนว่ ยงานในศนู ยร์ าชการ โดยใหค้ วามสำ� คญั กับงานบรหิ าร และงานบรกิ ารประชาชน 184 ค่มู อื การอนมุ ตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ ้นื ท่จี ากสว่ นราชการ

(2) หน่วยงานมากกว่าหน่ึงหน่วยงานมาอยู่รวมกัน ควรเปน็ หนว่ ยงานในกลมุ่ งานเดยี วกนั หรอื สังกดั กระทรวงเดียวกัน (3) ใหค้ วามสำ� คญั กบั หนว่ ยงานสงั กดั การบรหิ ารราชการ ส่วนภูมิภาคเป็นล�ำดบั แรก 3) พจิ ารณาตามความจำ� เปน็ ของแตล่ ะจังหวดั โดยมปี จั จยั ของทำ� เลที่ตั้ง สภาพแวดลอ้ ม สภาพทางสงั คม หรือความต้องการของพน้ื ที่ 4) กรณกี ารปรบั ปรงุ และการยา้ ยหนว่ ยงานออกจากอาคาร ศาลากลางหลังเดิมให้จังหวัดกำ� หนดแผนงานในการน�ำอาคารและสถานที่ไปใช้ประโยชน์เพ่ือการ อน่ื ๆ อาทิ ปรับปรงุ เปน็ พิพิธภณั ฑ์ให้ชดั เจน ประกอบการจัดท�ำผงั แมบ่ ทศูนยร์ าชการด้วย 3.4 การจดั ท�ำแผนการใช้ท่ดี ินและการจดั วางผังแม่บทศนู ย์ราชการจงั หวดั 3.4.1 จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการจัดวางผังแม่บท ศนู ยร์ าชการสว่ นภมู ภิ าคใหจ้ งั หวดั ดำ� เนนิ การศกึ ษาและจดั ทำ� แผนการใชท้ ด่ี นิ และจดั วางผงั แมบ่ ท ศูนย์ราชการจังหวัด โดยมีส�ำนักสถาปัตยกรรม ส�ำนักผังเมืองรวม กรมโยธาธิการและผังเมือง และสำ� นกั นโยบายและแผน สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย รว่ มกบั จงั หวดั ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ หนว่ ยงาน ก�ำกับการศึกษา และคณะกรรมการจัดวางผังแม่บทศูนย์ราชการระดับจังหวัด เป็นผู้พิจารณา ความเห็นชอบในเบ้ืองต้นก่อนท่ีจะให้เสนอคณะอนุกรรมการจัดวางผังแม่บทศูนย์ราชการ สว่ นภมู ภิ าค คณะกรรมการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการ และคณะรฐั มนตรพี จิ ารณาตามขน้ั ตอน 3.4.2 จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการพิจารณา สถานทท่ี ำ� งานของหนว่ ยราชการในเขตกรงุ เทพมหานครและเมอื งหลกั ใหจ้ งั หวดั ดำ� เนนิ การศกึ ษาจดั ทำ� แผนการใช้ที่ดินและจัดวางผังแม่บทศูนย์ราชการระดับจังหวัด โดยมีส�ำนักงานนโยบายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ใหค้ วามเหน็ และขอ้ เสนอแนะในการดำ� เนนิ การรว่ มกบั จงั หวดั และคณะกรรมการจัดวางผังแม่บทศูนย์ราชการระดับจังหวัด เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ ในเบ้ืองต้นก่อนที่จะเสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาสถานท่ีท�ำงานของหน่วยราชการในเขต กรงุ เทพมหานครและเมอื งหลกั คณะกรรมการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการ และคณะรฐั มนตรี พจิ ารณาตามขัน้ ตอน (ขน้ั ตอนการจัดท�ำแผนการใช้ที่ดนิ ของหนว่ ยราชการ ผงั แม่บทศูนยร์ าชการ และแผนปฏบิ ตั กิ ารตามผงั แมบ่ ทศนู ยร์ าชการ และการปรบั ปรงุ แผนการใชท้ ด่ี นิ ของหนว่ ยราชการ และผงั แม่บทศนู ย์ราชการ ปรากฏตามภาคผนวก ข) ท้ังนี้ หากมีการเปลยี่ นแปลงการใชป้ ระโยชน์ ท่ดี นิ ทีต่ ้งั ของหน่วยงาน ให้ระบุเหตุผลการเปล่ียนแปลงท่ีชัดเจน พร้อมมีแผนภาพประกอบ คูม่ อื การอนมุ ัติ อนุญาตขอใชพ้ ืน้ ท่ีจากสว่ นราชการ 185

3.4.3 การจดั หนว่ ยราชการเขา้ ใชป้ ระโยชนพ์ น้ื ทบี่ นอาคารศาลากลางจงั หวดั มีแนวทางการพจิ ารณา ดังนี้ 3.4.3.1 หน่วยราชการส่วนภูมิภาคที่มีลักษณะงานหลักเป็นงาน บรหิ าร 3.4.3.2 หน่วยราชการทเี่ ปน็ ตัวแทนของกระทรวงทุกกระทรวง 3.4.3.3 หนว่ ยราชการทม่ี แี ผนถา่ ยโอนภารกจิ สว่ นใหญใ่ หก้ บั องคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ การจดั ให้อย่บู นอาคารศาลากลางจังหวัดตอ้ งสอดคลอ้ งกับแผนการถา่ ยโอน ภารกจิ ของหน่วยงานนน้ั ๆ ซึ่งต้องแสดงถึงภารกิจของหนว่ ยงานท่ยี งั คงอยู่ 3.4.3.4 หนว่ ยราชการทต่ี อ้ งใชส้ ถานทท่ี ำ� งาน มเี ครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั รกล หรือต้องใช้บริเวณ/พ้ืนท่ีขณะปฏิบัติงานมากเป็นพิเศษ อาทิ ส�ำนักงานขนส่งจังหวัด ส�ำนักงาน สาธารณสขุ จงั หวัด อาจมที ีต่ ั้งทก่ี ระจายตวั ตามส่วนตา่ ง ๆ ของเมอื งท่เี หมาะสม หรือหากจงั หวดั ได้มีศูนย์ราชการรองหรือศูนย์ปฏิบัติการ อาจย้ายหน่วยงานในพื้นที่ดังกล่าวตามความเหมาะสม หรือในกรณีที่ศูนย์ราชการหลักมีพื้นท่ีมากเพียงพอ อาจจัดบริเวณที่เหมาะสมส�ำหรับหน่วยงาน ลกั ษณะดงั กลา่ วได้ และหนว่ ยราชการสว่ นภมู ภิ าคทม่ี สี ำ� นกั งานอยใู่ นบรเิ วณศนู ยร์ าชการใกลเ้ คยี งกบั อาคารศาลากลางจงั หวดั อยแู่ ลว้ อาจจะพจิ ารณายกเวน้ ไมต่ อ้ งเขา้ มาอยรู่ วมภายในอาคารศาลากลาง จังหวัดได้ และหากอาคารหมดสภาพอายุการใช้งาน ควรก�ำหนดแผนการย้ายหน่วยราชการ ท่ีเห็นว่ามคี วามจ�ำเป็นและเหมาะสมท่ีจะเขา้ มารวมอยู่ภายในอาคารศาลากลางจงั หวัด 3.4.3.5 หน่วยงานของรัฐท่ีคณะกรรมการบริหารศูนย์ราชการระดับ จังหวัดจะพิจารณาเห็นสมควร 3.4.4 การจดั วางผังแมบ่ ทศนู ย์ราชการหลัก 3.4.4.1 จัดวางผังบริเวณศูนย์ราชการที่ก่อสร้างใหม่ หรือปรับปรุง ในพื้นที่เดิมให้ค�ำนึงถึงความสง่างาม การอ�ำนวยความสะดวกในการใช้งานแก่ข้าราชการและ ประชาชนที่มาติดต่อ 3.4.4.2 การออกแบบระบบการสัญจรภายในศูนย์ราชการ ให้ค�ำนึง ถงึ ความสะดวกในการเชอ่ื มตอ่ กบั ระบบการขนสง่ มวลชนจากภายนอก การใชจ้ กั รยาน และทางเทา้ เพ่ือลดการใช้พลังงานและมลพิษ 3.4.4.3 การจัดวางผังบริเวณศูนย์ราชการที่ก่อสร้างใหม่ท่ีไม่มี การใช้ประโยชน์อยู่เดิม และไม่มีข้อจ�ำกัดในขนาดท่ีดินในการก่อสร้าง หรือปรับปรุงในพ้ืนท่ีเดิม ต้องมีพื้นที่สีเขียวอย่างน้อยร้อยละ 30 - 50 ของแปลงท่ีดิน และพ้ืนที่สีเขียวดังกล่าว ต้องช่วย ส่งเสริมสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของศูนย์ราชการให้สง่างามและมีสภาพแวดล้อมที่ดี (สัดส่วน พ้ืนท่ีสีเขียวตามแผนปฏิบัติการเชิงนโยบาย ด้านการจัดการพ้ืนท่ีสีเขียวชุมชนเมืองอย่างย่ังยืน โดยมตคิ ณะรฐั มนตรี เมื่อวันท่ี 10 กรกฎาคม 2550) 186 คมู่ ือการอนมุ ัติ อนุญาตขอใชพ้ น้ื ท่ีจากสว่ นราชการ

3.4.4.4 การออกแบบระบบสาธารณูปโภคภายในศูนย์ราชการ ควรค�ำนึงถึงการน�ำทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ด้วย เช่น ระบบระบายน้�ำฝน ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ทส่ี ามารถนำ� นำ�้ ทบี่ ำ� บดั แลว้ มาใชป้ ระโยชน์ เชน่ รดนำ้� กบั พน้ื ทสี่ เี ขยี ว หรอื เปน็ องคป์ ระกอบในการ สรา้ งภมู ทิ ศั นข์ องศนู ยร์ าชการได้ 3.4.4.5 การก่อสร้างอาคาร ควรจะต้องเป็นอาคารรวม ยกเว้นกรณี ท่ีมีความจ�ำเป็นของหน่วยงาน ร้ัวกั้นบริเวณโดยรอบศูนย์ราชการเป็นรั้วรวม ไม่ควรมีร้ัวแบ่งแยก หน่วยงาน หากจ�ำเป็นต้องมีควรเป็นร้ัวท่ีมีลักษณะเตี้ยหรือใช้แนวต้นไม้ และเสาธงควรมีเพียง เสาธงเดยี ว 3.4.4.6 การจัดวางผังบริเวณท่ีตั้งอาคารส�ำนักงาน แต่ละหน่วยงาน ต้องยึดหลักประหยัดตามความจ�ำเป็นของการใช้พื้นท่ี มีความสอดคล้องกลมกลืนกัน และ มีบริเวณพ้ืนท่ีใช้สอยร่วมกัน เช่น เส้นทางสัญจรภายในบริเวณศูนย์ราชการ บริเวณลานจอดรถ พ้ืนท่นี นั ทนาการ พื้นทสี่ เี ขยี วตามความเหมาะสม 3.4.5 การจัดวางผังแม่บทศูนย์ปฏิบัติการ หรือศูนย์ราชการรอง พิจารณา ตามความจ�ำเป็น ความต้องการ และความพร้อมของแต่ละจังหวัด ในแต่ละจังหวัดสามารถม ี ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารหรอื ศนู ยร์ าชการรอง ไดม้ ากกวา่ 1 แหง่ ขน้ึ อยกู่ บั จำ� นวนหนว่ ยงานทจี่ ะตอ้ งรวมกลมุ่ อยู่ในบรเิ วณเดียวกนั และขนาดของพืน้ ทีท่ ่ีจัดหาได้ 3.4.6 ศูนย์บ้านพกั ขา้ ราชการ หรอื กลมุ่ บา้ นพักข้าราชการ 3.4.6.1 ให้มีศูนย์บ้านพักข้าราชการ หรือกลุ่มบ้านพักข้าราชการ เฉพาะจังหวัดท่ีมคี วามจำ� เป็น เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการอยา่ งแทจ้ รงิ 3.4.6.2 การจัดองค์ประกอบศนู ยบ์ ้านพัก หรือกลมุ่ บา้ นพกั 1) ข้าราชการท้ังหมดควรอยู่รวมกันเป็นลักษณะอาคารชุด และทกุ สว่ นราชการใชร้ ว่ มกนั โดยพจิ ารณาแบง่ พน้ื ทใี่ ชส้ อยตามตำ� แหนง่ และระดบั ของขา้ ราชการ โดยส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้จัดต้ังงบประมาณส�ำหรับการก่อสร้างส่วนการบริหาร การดแู ลรกั ษาเปน็ ไปตามระเบยี บคณะกรรมการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการวา่ ดว้ ยการบรหิ าร ศูนยร์ าชการ พ.ศ. 2542 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2546 2) ใ ห ้ มี พื้ น ท่ี นั น ท น า ก า ร ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค และสาธารณปู การใช้ประโยชน์ร่วมกนั 3.4.6.3 ให้น�ำบ้านพักข้าราชการท่ีมีอยู่เดิมท่ีสามารถใช้งานได้มา ปรับปรุงใชเ้ ป็นส่วนหน่งึ แทนการกอ่ สรา้ งใหม่ คมู่ ือการอนุมัติ อนุญาตขอใช้พน้ื ท่ีจากสว่ นราชการ 187

3.4.7 การด�ำเนินการก่อสร้างอาคารท่ีท�ำการภายในศูนย์ราชการ ให้ปฏิบัติ ตามกฎหมาย และระเบียบที่เก่ียวข้องอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายผังเมอื ง และกฎหมายส่ิงแวดล้อม 3.4.8 ก�ำหนดกรอบระยะเวลาในแผนปฏิบัติการตามผังแม่บทศูนยร์ าชการ จังหวัดเป็นระยะสั้น และระยะยาวให้ชัดเจน โดยแผนการด�ำเนินงานการพัฒนาผังแม่บท ให้มี แผนงานโครงการเพื่อขับเคล่ือนภายใต้แผนแม่บท โดยมีระยะเวลา กิจกรรม กรอบวงเงินลงทุน ในการดำ� เนินการเพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณ 3.4.9 การทบทวนแผนการใชท้ ดี่ นิ กรณที แี่ ผนการใชท้ ดี่ นิ ผา่ นความเหน็ ชอบ จากคณะรัฐมนตรีเป็นระยะเวลานานแล้ว และต่อมามีการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดิน และกิจกรรมของหน่วยงานราชการท่ีแจ้งความประสงค์เข้าใช้พ้ืนท่ีในบริเวณพ้ืนท่ีตั้งศูนย์ราชการ แหง่ ใหม่ ใหจ้ งั หวดั ตรวจสอบ ทบทวนแผนการใชท้ ด่ี นิ และชแ้ี จงรายละเอยี ดการเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ประกอบการจดั ทำ� ผังแม่บทศนู ยร์ าชการด้วย 3.5 การออกแบบอาคาร 3.5.1 รูปแบบอาคารควรจะต้องมีรูปแบบท่ีสะท้อนถึงสถาปัตยกรรมไทย สถาปัตยกรรมท้องถ่ิน มีความสง่างาม และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ตั้งและบริเวณโดยรอบ รวมท้ังอาคารท่ีเป็นองค์ประกอบของอาคารศาลากลางจังหวัด และอาคารของหน่วยงานท่ีจ�ำเป็น ตอ้ งมอี าคารเปน็ เอกเทศ จะตอ้ งมรี ปู แบบอาคารทก่ี ลมกลนื กบั อาคารศาลากลางจงั หวดั นอกจากน ี้ ขนาดของพื้นที่ต้องค�ำนึงถึงความต้องการใช้พื้นที่ของส่วนราชการตามความจ�ำเป็นอย่างแท้จริง และเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดขุ องกรมธนารกั ษ์ (คำ� สง่ั กรมธนารกั ษ์ ท่ี 455/2558 ลงวนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2558) เรอ่ื ง การกำ� หนดเกณฑม์ าตรฐานการใชท้ ี่ราชพสั ดุ มาตรฐานการใช ้ พื้นท่ีต่อคนโดยให้ออกแบบอาคาร และศูนย์บ้านพักข้าราชการ หรือกลุ่มบ้านพักข้าราชการ โดยค�ำนึงถึงมาตรฐานขนาดพ้ืนที่ตามบัญชีราคามาตรฐานการออกแบบอาคารท่ีท�ำการ อาคาร ท่ีอยู่อาศัยรวม และบ้านพัก รวมท้ังบัญชีราคามาตรฐานส่ิงก่อสร้างของส�ำนักงบประมาณ (มตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วันท่ี 5 เมษายน 2559) 3.5.2 ยดึ หลกั การประหยดั อาคารศนู ยร์ าชการในสว่ นภมู ภิ าคไมค่ วรมขี นาดใหญ่ เกินความจ�ำเป็น ค�ำนึงถึงการประหยัดพลังงานเป็นหลัก มีรูปแบบท่ีสามารถต่อเติมเพ่ือรองรับ การขยายตวั ในอนาคตได้ 3.5.3 กรณีการต่อเติมศาลากลางจังหวัด ให้ค�ำนึงถึงความเหมาะสม ทางสถาปัตยกรรมและความสง่างาม 3.5.4 การติดตั้งสอ่ื สัญญาณ เสาสัญญาณโทรทศั น์ ควรติดตง้ั ไวเ้ ป็นเสารวม และเดินสายสญั ญาณฝงั ไว้ในตัวอาคารเพื่อความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย 188 คู่มอื การอนมุ ตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ ้ืนทจ่ี ากสว่ นราชการ

3.6 แนวทางการบริหารศูนย์ราชการจังหวดั แนวทางการบริหารศูนยร์ าชการจงั หวัด ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการ อ�ำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ ว่าด้วยการบริหารศูนย์ราชการ พ.ศ. 2542 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2546 ระเบียบนี้ใช้บังคับ เฉพาะพื้นที่ที่เป็นศูนย์ราชการท่ีเกิดขึ้นตามระเบียบส�ำนักนายก รฐั มนตรี ว่าดว้ ยการอ�ำนวยการจดั ระบบศูนยร์ าชการ พ.ศ. 2539 และฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2548 ในทางปฏิบัติจังหวัดที่ประกาศเป็นศูนย์ราชการจังหวัดโดยผังแม่บท ศนู ยร์ าชการจงั หวดั ไดผ้ า่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการ และ คณะรฐั มนตรแี ลว้ การบรหิ ารศนู ยร์ าชการจงั หวดั ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บคณะกรรมการอำ� นวยการ จดั ระบบศนู ยร์ าชการฯ โดยใหด้ ำ� เนนิ การในรปู ของคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยร์ าชการระดบั จงั หวดั ประกอบด้วย ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดทศ่ี นู ย์ราชการต้ังอยู่เป็นประธานกรรมการ ผแู้ ทนจากหนว่ ยงาน ทเี่ ขา้ ใชป้ ระโยชนใ์ นศนู ยร์ าชการทผ่ี วู้ า่ ราชการจงั หวดั เหน็ สมควรอกี ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน เปน็ กรรมการ ธนารักษ์พื้นที่เป็นกรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการมีอ�ำนาจหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย หลกั เกณฑ์ และระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการจดั การเกย่ี วกบั ศนู ยร์ าชการ และกำ� กบั ดแู ล ใหห้ นว่ ยราชการ ใชป้ ระโยชนใ์ นศนู ยร์ าชการตามผงั แมบ่ ท (รา่ งคำ� สงั่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารศนู ยร์ าชการจงั หวดั ปรากฏตามภาคผนวก ง) ระเบียบคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ ว่าด้วยการบริหาร ศูนย์ราชการ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2546 ให้กรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการบรหิ ารศนู ยร์ าชการ ระดับจังหวัด มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลให้หน่วยราชการต่าง ๆ ที่เข้าใช้ประโยชน์ในศูนย์ราชการ มหี นา้ ทดี่ แู ลและบำ� รงุ รกั ษาพนื้ ทใ่ี ชส้ อยในสว่ นทไี่ ดร้ บั การจดั สรรให้ รวมทงั้ จะตอ้ งรบั ภาระคา่ ใชจ้ า่ ย ท่ีเป็นปกติ ส่วนการจัดต้ังงบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายดังต่อไปน้ีให้เป็นหน้าท่ีของส�ำนักงาน ปลดั กระทรวงมหาดไทย (1) การปรับปรุงซ่อมแซมและบำ� รงุ รักษาศูนย์ราชการจงั หวดั (2) การรักษาความปลอดภยั และรกั ษาความสะอาด (3) ค่าสาธารณูปโภคส่วนกลาง (4) คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ๆ 3.7 การกำ� กับ ดูแลการใชป้ ระโยชนใ์ นศูนย์ราชการจงั หวดั การกำ� กบั ดแู ลการใชป้ ระโยชนใ์ นศนู ยร์ าชการจงั หวดั ใหค้ ณะกรรมการบรหิ าร ศนู ยร์ าชการระดบั จงั หวดั พจิ ารณาการจดั สรรพน้ื ทบี่ นอาคารศาลากลางจงั หวดั ใหห้ นว่ ยราชการตา่ ง ๆ เขา้ ใช้พน้ื ที่ ปรับปรงุ เปล่ียนแปลงการใชพ้ น้ื ทข่ี องแตล่ ะหนว่ ยงานบนอาคารศาลากลางจังหวดั ได้ ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม ส�ำหรับกรณีหน่วยราชการขอใช้ที่ดินในบริเวณศูนย์ราชการ เพอื่ เปน็ ท่ตี ง้ั ส�ำนักงาน มแี นวทางดำ� เนินการใน 2 กรณี ดงั น้ี คู่มือการอนมุ ัติ อนญุ าตขอใช้พื้นทจ่ี ากสว่ นราชการ 189

กรณีท่ี 1 การขอใช้ท่ีดินราชพัสดุท่ีเป็นไปตามท่ีก�ำหนดไว้ในผังแม่บท ศูนย์ราชการ หากคณะกรรมการบริหารศูนย์ราชการระดับจังหวัดตรวจสอบแล้วเห็นว่าเป็นไป ตามที่ก�ำหนดไว้ในผังแม่บทศูนย์ราชการ สามารถด�ำเนินการได้โดยไม่ต้องเสนอขอความเห็นชอบ จากคณะอนกุ รรมการพจิ ารณาสถานทที่ ำ� งานของหนว่ ยราชการในเขตกรงุ เทพมหานครและเมอื งหลกั หรอื คณะอนกุ รรมการจดั วางผงั แมบ่ ทศนู ยร์ าชการสว่ นภมู ภิ าค คณะกรรมการอำ� นวยการจดั ระบบ ศูนย์ราชการ (กศร.) และคณะรัฐมนตรี กรณีที่ 2 การขอใช้ท่ีดินราชพัสดุที่ไม่เป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในผังแม่บท ศูนยร์ าชการหากคณะกรรมการบรหิ ารศนู ย์ราชการระดบั จังหวดั พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการ ปรับผงั แม่บทศนู ย์ราชการในเบ้อื งตน้ แล้ว ใหน้ ำ� เสนอคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาสถานทีท่ �ำงาน ของหน่วยราชการในเขตกรงุ เทพมหานครและเมอื งหลัก หรอื คณะอนุกรรมการฯ จดั วางผงั แมบ่ ท ศูนยร์ าชการส่วนภมู ิภาค พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ ท้ังน้ี เมื่อหน่วยราชการผ้ขู อใชท้ ด่ี นิ ทง้ั 2 กรณี ได้รบั ความเหน็ ชอบให้ใช้พนื้ ที่ ในบริเวณศูนย์ราชการเรียบร้อยแล้ว หากพ้ืนท่ีดังกล่าวเป็นท่ีราชพัสดุซ่ึงส�ำนักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยครอบครองใช้ประโยชน์อยู่ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากส�ำนักงานปลัดกระทรวง มหาดไทยก่อนท่ีจะยื่นค�ำขอใช้ท่ีราชพัสดุต่อส�ำนักงานธนารักษ์พื้นที่ตามระเบียบและกฎหมาย เกย่ี วกับทรี่ าชพสั ดุ 3.8 การบรหิ ารการจัดการศูนยร์ าชการจงั หวดั การบรหิ ารจดั การศนู ยร์ าชการ ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บคณะกรรมการอำ� นวยการ จัดระบบ ศูนย์ราชการ ว่าด้วยการบริหารศูนย์ราชการ พ.ศ. 2542 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2546 โดยมีข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดังน้ี 3.8.1 เปดิ โอกาสใหจ้ งั หวดั สามารถหารายไดจ้ ากการขออนญุ าตใชป้ ระโยชน์ อาคารอเนกประสงค์ (หอประชุม) อาคารในศนู ย์ราชการ เพอื่ น�ำรายไดม้ าใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ ดแู ลรักษาศนู ยร์ าชการ 3.8.2 จัดท�ำแผนปฏิบัติการย้ายหน่วยงานและการใช้ประโยชน์ในตัวอาคาร โดยระบุหน่วยงานรบั ผดิ ชอบ อตั รากำ� ลัง ประมาณการวงเงนิ และการคนื หรือขอใช้พ้นื ทีร่ าชพสั ดุ ให้ชดั เจน 3.8.3 การบริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการหรือศูนย์ราชการรอง ให้แต่ละ ส่วนราชการดูแลอาคารส�ำนักงานของตนเอง ส�ำหรับพื้นที่และทรัพย์สินส่วนกลางท่ีมิได้เป็นของ สว่ นราชการใดโดยเฉพาะใหถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บคณะกรรมการอำ� นวยการจดั ระบบศนู ยร์ าชการ ว่าดว้ ยการบริหารศนู ยร์ าชการ พ.ศ. 2542 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2546 190 ค่มู อื การอนมุ ตั ิ อนญุ าตขอใชพ้ ื้นที่จากส่วนราชการ

3.8.4 การควบคมุ การใชพ้ น้ื ทบี่ รเิ วณโดยรอบศนู ยร์ าชการจงั หวดั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสงา่ งามเปน็ ระเบยี บ ใหก้ รมโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจดั ทำ� ผงั และมาตรการควบคมุ การใชพ้ นื้ ท่ี บรเิ วณโดยรอบ และบริเวณเกี่ยวเนอ่ื งหรอื เชอ่ื มโยงกับศูนยร์ าชการ 3.9 กระบวนการตดิ ตามและตรวจสอบการด�ำเนนิ งาน ให้คณะกรรมการบริหารศูนย์ราชการจังหวัด ก�ำหนดกระบวนการติดตาม และตรวจสอบการด�ำเนินงานจดั ระบบศนู ยร์ าชการในระดับจงั หวัดภายหลังผงั แม่บทศูนย์ราชการ จงั หวดั ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรีแล้ว เพื่อใหม้ ีการกำ� กบั ดูแลการด�ำเนนิ งานให้เป็นไป ตามผงั แมบ่ ท คมู่ อื การอนุมตั ิ อนญุ าตขอใช้พน้ื ท่จี ากส่วนราชการ 191

วา่ งขาว 192



วา่ งขาว 194