Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร-64มีคิวอาโคช

หลักสูตร-64มีคิวอาโคช

Published by montha chai, 2021-08-17 13:27:48

Description: หลักสูตร-64มีคิวอาโคช

Search

Read the Text Version

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรรู้ ายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์ เดก็ อ การเรยี นรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นอารมณแ์ ละ ตัวบ่งชที้ ี่ ๕.1 จิตใจ มาตรฐานข้อท่ี ๕ ซือ่ สัตย์สจุ ริต 5.1.1 ขออนญุ าตหร มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมี ตวั บ่งชี้ท่ี ๕.2 รอคอยเม่ือต้องการ จติ ใจที่ดีงาม มคี วามเมตตา กรณุ า มนี ้าใจ สงิ่ ของของผู้อน่ื ดว้ ย และช่วยเหลือ แบง่ ปนั ตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี ๕.3 5.2.1 แสดงความรัก มีความเหน็ อก เหน็ ใจผู้อื่น เพ่ือนและมเี มตตาสตั ตวั บ่งชท้ี ี่ ๕.4 เลย้ี ง มคี วามรบั ผดิ ชอบ 5.2.2 ช่วยเหลือและ แบง่ ปนั ผอู้ ่นื ไดด้ ้วย ตนเอง 5.3.1 แสดงสหี นา้ แ ท่าทางรบั รคู้ วามร้สู ึก ผ้อู ่นื อย่างสอดคล้องก สถานการณ์ 5.4.1 ทางานที่ไดร้ บั มอบหมายจนสาเรจ็ ด้วยตนเอง

๕๗ รับเดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดับชนั้ อนุบาลศึกษาปีที่ ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ีควรรู้ ประสบการณ์สาคญั รอื ๑. เรียนรู้การทางานทไ่ี ดร้ ับ 1. การแสดงความยนิ ดเี มื่อผู้อน่ื มอบหมาย มีความสุข เหน็ ใจเมอ่ื ผู้อ่ืน ๒. เรยี นรู้ เลน่ อสิ ระ เลน่ เศรา้ หรือเสยี ใจและการ รายบุคคล และเล่นเป็นกลุ่ม ช่วยเหลอื ปลอบโยนเม่อื ผู้อ่ืน ก ๓. การขออนุญาต การรอคอย ไดร้ ับบาดเจบ็ ตว์ ๔. เรยี นรวู้ า่ สง่ิ ของใดเป็นของ 2. การเล่นตามมุมประสบการณ์ ตนเองและสง่ิ ของใดเปน็ ของ 3. การเล่นรายบุคคล กลุ่มยอ่ ย ะ ผ้อู ่ืน กลุ่มใหญ่ ๕. เรยี นรกู้ ารเก็บสงิ่ ของหลังจาก ๔. การเรียนรู้การเกบ็ สิ่งของ การเลน่ แล้ว ตา่ งๆ หลังการเลน่ และ ๖. เรยี นรู้การทางานที่ได้รับ ๕. การเรยี นรู้ว่าของสิง่ ใด เป็น ก มอบหมาย ของตนเองและสิ่งใดเปน็ ของ กับ ๗. เรยี นรู้การแสดงความรัก ผอู้ น่ื เพื่อนและสัตว์ ๖. การแสดงความรักเพื่อน บ ๘. รู้จกั แบ่งปนั ส่งิ ของ และสัตว์ ๙. เรยี นรู้ท่จี ะแสดงความร้สู กึ ๗. การรจู้ ักแบง่ ปันสิง่ ของ ในทางท่ดี ี เชน่ การขอโทษ ๘. การฟงั นทิ านเก่ยี วกบั คุณธรรม จริยธรรม

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนร้รู ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพที่พึงประสงค์ เดก็ อ การเรียนรู้ ๕ – ๖ ปี ด้านสงั คม ตัวบง่ ชี้ท่ี ๖.1 มาตรฐานที่ 6 ช่วยเหลอื ตนเอง 6.1.1 แตง่ ตวั ดว้ ย มที ักษะชวี ิตและ ในการปฏบิ ัติ ตนเองได้อยา่ ง ปฏบิ ัติตนตามหลัก กิจวัตรประจาวัน คลอ่ งแคล่ว ปรัชญาของ 6.1.2 รบั ประทาน เศรษฐกจิ พอเพียง ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๖.2 อาหารดว้ ยตนเองอย มวี นิ ัยในตนเอง ถูกวธิ ี 6.1.3 ใช้และทาควา ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๖.3 สะอาดหลงั ใช้ห้องน้า ประหยัดและ หอ้ งสว้ มด้วยตนเอง พอเพียง 6.2.1 เกบ็ ของเลน่ ข ใชเ้ ขา้ ทอี่ ย่างเรียบรอ้ ดว้ ยตนเอง 6.2.2 เขา้ แถว ตามลาดบั ก่อนหลงั ได ด้วยตนเอง 6.3.1 ใชส้ ่ิงของ เครอื่ งใช้อย่างประหย และพอเพยี งเม่ือมผี ู้ ชแี้ นะ

๕๘ รบั เดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดับชน้ั อนบุ าลศกึ ษาปที ่ี ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระท่คี วรรู้ ประสบการณส์ าคัญ ๑. การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตร ๑. การปฏิบัติตนตามสุขอนามยั ประจาวนั สุขนสิ ยั ทด่ี ใี นกิจวตั รประจาวนั ๒. เรียนรู้การเกบ็ สงิ่ ของหลังจาก ๒. การเรยี นรู้การเกบ็ ส่งิ ของ การเล่นแล้ว ต่างๆ หลังการเลน่ ยา่ ง ๓. เรยี นร้กู ารใชห้ ้องนา้ หอ้ งส้วม ๓. การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกทดี่ ี ๔. ระเบยี บวนิ ยั ของห้องเรยี น าม ๕. การเข้าแถวรอคอยตามลาดบั ๔. การเลน่ และทางานรว่ มกับ า ก่อน – หลงั ผู้อนื่ ๖. การเข้าแถวเคารพธงชาติ ๕. การเล่นหรือทากจิ กรรม ของ ๗. การช่วยเหลือตนเองดว้ ยการ ร่วมกบั กลุ่มเพื่อน อย การแต่งตัวเอง ๖. การปฏบิ ัติตนตามแนวทาง ๘. การรับประทานอาหารอย่าง หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ ถูกวธิ ี พอเพยี ง ด้ ๙. มารยาทในการรบั ประทาน ๗. การนาวัสดุหรือสิง่ ของ อาหาร เคร่อื งใชท้ ่ีใชแ้ ลว้ มาใช้ซ้า ๑๐. การระวงั รกั ษาตนเองให้ หรอื แปรรูปแล้วนากลบั มาใช้ ยดั ปลอดภยั ใหม่ ๑๑. เรยี นรทู้ ่ีจะไมท่ าลายสิ่งของ ๘. การสนทนาขา่ วและ เครื่องใช้รอบตัว เหตกุ ารณท์ ่เี กีย่ วกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชีวติ ประจาวนั

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรรู้ ายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ เด็กอ การเรยี นรู้ ๕ – ๖ ปี ด้านสังคม ตวั บ่งช้ที ่ี ๗.1 มาตรฐานท่ี 7 ดูแลรักษา 7.1.1 ดแู ลรักษา รกั ธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละ ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อม สง่ิ แวดล้อมดว้ ยตนเอ วัฒนธรรม และ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๗.2 7.1.2 ทง้ิ ขยะได้ถูกท ความเปน็ ไทย มมี ารยาทตาม วัฒนธรรมไทย 7.2.1 ปฏิบัตติ นตาม และรักความเป็น มารยาทไทยได้ตาม ไทย กาลเทศะ 7.2.2 กล่าวคา ขอบคุณและขอโทษ ด้วยตนเอง 7.2.3 ยืนตรงและร่ว ร้องเพลงชาติไทยและ เพลงสรรเสรญิ พระ บารมี มาตรฐานที่ 8 ตัวบ่งชที้ ี่ ๘.1 8.1.1 เล่นและทา อยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนได้ ยอมรบั ความ กจิ กรรมรว่ มกับเด็กท อย่างมีความสุขและ เหมอื นและความ แตกตา่ งไปจากตน ปฏบิ ตั จิ นเปน็ แตกตา่ งระหว่าง สมาชิกทีด่ ีของ บคุ คล

๕๙ รับเดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ชั้นอนบุ าลศกึ ษาปีท่ี ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณ์สาคญั ๑. การดูแลรกั ษาธรรมชาติและ ๑. การช่วยเหลือตนเองใน สิ่งแวดลอ้ ม กิจวัตรประจาวนั อง ๒. การใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มค่า ๒. การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้ ที่ ๓. การกระทาที่สง่ ผลกระทบต่อ ๓. การเล้ยี งสัตว์ ม สง่ิ แวดลอ้ ม ๔. การมีส่วนรว่ มรับผดิ ชอบดแู ล ๔. การแสดงความเคารพ รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มท้ังภายใน ๕. การปฏบิ ตั ติ นตามมารยาท และภายนอกหอ้ งเรียน ไทย เชน่ การไหว้ การกราบ ๕. การดูแลห้องเรยี นร่วมกัน ๖. การกลา่ วขอบคุณ ๖. การปฏบิ ัติตนเปน็ สมาชิกทด่ี ี ของหอ้ งเรยี น วม ๗. การปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรม ะ ท้องถ่ินที่อาศัยและประเพณี ไทย ๘. การเลน่ บทบาทสมมติ การ ปฏบิ ัตติ นในความเป็นคน ไทย ๑. ความเหมอื นและความ ๑. การเล่นและการทางาน ที่ แตกต่างระหว่างบุคคล รว่ มกับผู้อนื่ ๒. การเลน่ และทากจิ กรรม ๒. การทาศลิ ปะแบบรว่ มมอื ร่วมกับเพ่ือน ๓. การเล่นหรือทากจิ กรรม ๓. การแสดงความคดิ เห็น ร่วมกบั กลมุ่ เพื่อน

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ เด็กอ การเรียนรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสงั คม สงั คมในระบอบ ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘.2 8.2.1 เลน่ หรอื ทางา ประชาธิปไตยอันมี มปี ฏิสมั พนั ธท์ ด่ี ี รว่ มกบั เพ่ือนอย่างมี พระมหากษัตริยท์ รง กบั ผอู้ ืน่ เปูาหมาย เป็นประมุข 8.2.2 ยม้ิ หรอื ทกั ทา และพูดคยุ กบั ผูใ้ หญ่ และบคุ คลท่ีคนุ้ เคยได เหมาะสมกับ สถานการณ์ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๘.3 8.3.1 มีส่วนรว่ มสรา้ ปฏบิ ัตติ นเบอ้ื งต้น ข้อตกลงและปฏบิ ัติ ในการเปน็ สมาชิก ตามข้อตกลงดว้ ย ที่ดีของสังคม ตนเอง 8.3.2 ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้นาและผู้ตามได้ เหมาะสมกับ สถานการณ์ 8.3.3 ประนปี ระนอ แก้ไขปญั หาโดย ปราศจากการใช้ความ รุนแรงด้วนตนเอง

๖๐ รับเดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ช้นั อนุบาลศกึ ษาปที ่ี ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระที่ควรรู้ ประสบการณ์สาคญั าน ๔. ประเพณแี ละวัฒนธรรม ๔. การปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรม ๕. การปฏบิ ัตติ นตามข้อตกลง ท้องถน่ิ ที่อาศัยและประเพณี ของหอ้ งเรียน ไทย าย ๖. การสรา้ งและปฏบิ ัตติ าม ๕. การละเล่นพ้ืนบ้านของไทย ข้อตกลง ๖. การสนทนาและแลกเปลีย่ น ด้ ๗. การปฏิบัติตนเปน็ ผู้นาและผู้ ความคิดเหน็ ตามท่ดี ี ๗. การปฏิบัติตนเปน็ สมาชกิ ท่ดี ี ๘. การรับฟังความคิดเห็นของ ของหอ้ งเรยี น าง ผอู้ ืน่ ๘. การมีส่วนรว่ มในการเลอื ก ๙. ระเบยี บวนิ ยั วธิ ีการแก้ปัญหา ๑๐. การปฏิบัตติ นตามหลัก ๙. การมสี ว่ นรว่ มในการ ศาสนาทต่ี นนับถอื แก้ปัญหาความขดั แยง้ น ๑๑. การเข้ารว่ มกิจกรรมที่ ๑๐. การรว่ มกาหนดขอ้ ตกลง เกย่ี วกบั สถาบนั ของห้องเรียน พระมหากษัตริยต์ ามที่ ๑๑. การให้ความรว่ มมอื ในการ โรงเรียนและชมุ ชนจัดข้นึ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่างๆ อม ๑๒. การเลน่ บทบาทสมมติการ ปฏบิ ัตติ นในความเป็นไทย ม

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ เดก็ อ การเรยี นรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสติปญั ญา ตวั บ่งชท้ี ่ี ๙.1 มาตรฐานท่ี 9 สนทนาโต้ตอบ 9.1.1 ฟังผอู้ ่ืนพูดจน ใชภ้ าษาสอ่ื สารได้ และเลา่ เร่อื งให้ จบและสนทนาโต้ตอ เหมาะสมกบั วัย ผูอ้ ่นื เขา้ ใจ อย่างต่อเน่อื งเช่ือมโย กับเรอื่ งทฟ่ี ัง ตัวบ่งชที้ ่ี ๙.2 9.1.2 เล่าเปน็ เร่อื งร อ่าน เขยี นภาพ ต่อเน่อื งได้ และสัญลักษณ์ได้ 9.2.1 อ่านภาพ สญั ลกั ษณ์ คา ดว้ ยก ชห้ี รือกวาดตามอง จุดเริ่มตน้ หรือจุดจบ ของขอ้ ความ 9.2.2 เขียนช่ือของ ตนเองตามแบบ เขยี น ขอ้ ความ ดว้ ยวิธีท่ี

๖๑ รับเด็กอายุ ๕ – ๖ ปี ระดับชัน้ อนุบาลศกึ ษาปีที่ ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทีค่ วรรู้ ประสบการณ์สาคัญ น ๑. การฟังและการพูด ๑. การรอจังหวะทีเ่ หมาะสมใน อบ ๒. การฟังนทิ านและการบอก การพดู ยง ความคิดรวบยอด ๒. การฟงั และปฏบิ ัตติ าม ๓. คาคล้องจอง คาแนะนา ราว ๔. การฟังและปฏิบัตติ าม ๓. การฟงั นทิ าน คาคลอ้ งจอง ๕. การสนทนา การอธิบายการ บทร้อยกรองหรือเรอ่ื งราว พดู เล่าเรอ่ื ง ต่างๆ การ ๖. การแสดงความคิดเห็น การ ๔. การเล่นคาคล้องจองง่าย แสดงความรู้สึก เพลง เกม ๗. มารยาทในการพดู ๕. การแสดงความคดิ ความรู้สึก ๘. การฟังและการถา่ ยทอด และความต้องการดว้ ยคาพดู เร่อื งราว ๖. การพดู กับผอู้ ่ืนเกยี่ วกบั น ๙. การเรียนรภู้ าพและสัญลักษณ์ ประสบการณข์ องตนเอง ๑๐. การอา่ นหนงั สอื หรอื เล่าเร่อื งราวเกี่ยวกบั ๑๑. การขีดเขียน เช่น ช่ือ ตนเอง ตวั อกั ษร คาหรอื ขอ้ ความ ๗. การอธบิ ายเก่ยี วกบั สิ่งของ เหตุการณ์และความสมั พนั ธ์ ของส่ิงต่างๆ ๘. การเช่อื มโยงภาพ ภาพถ่าย และรปู แบบต่างๆกับสงิ่ ของ หรือสถานทีจ่ รงิ

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ เดก็ อ การเรียนรู้ ๕ – ๖ ปี ด้านสตปิ ญั ญา มาตรฐานท่ี 9 ใช้ภาษาส่ือสารได้ เหมาะสมกบั วัย มาตรฐานที่ 10 ตวั บง่ ช้ีท่ี ๑๐.1 10.1.1 บอกลกั ษณ มคี วามสามารถใน ความสามารถใน สว่ นประกอบการ การคดิ ท่เี ปน็ การคิดรวบยอด เปลีย่ นแปลงหรอื พนื้ ฐานในการ ความสมั พันธข์ องสิ่ง เรยี นรู้ ตา่ งๆจากการสงั เกต โดยใช้ประสาทสัมผสั 10.1.2 จับค่หู รือ เปรียบเทยี บความ แตกต่างและความ เหมือนของส่ิงตา่ งๆโด ใช้ลักษณะท่สี ังเกตพ สองลกั ษณะขึน้ ไป 10.1.3 จาแนกและ

๖๒ รบั เด็กอายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ช้นั อนบุ าลศึกษาปที ่ี ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระท่ีควรรู้ ประสบการณส์ าคัญ ๙. การอ่านในหลายรูปแบบ ผ่านประสบการณ์ท่ีสือ่ ความหมายตอ่ เด็ก อา่ น ภาพหรอื สัญลกั ษณ์จาก หนังสือนิทาน/เร่ืองราวท่ี สนใจ ๑๐. การอ่านนทิ านและเลา่ เรื่อง ด้วยเสียงที่หลากหลาย ณะ ๑. การตัดสินใจในเรือ่ งราวต่างๆ ๑. การลงความคดิ เห็นจาก ๒. วิธกี ารแกป้ ัญหา ข้อมูลอย่างมีเหตผุ ล ๓. การคิดเชิงเหตผุ ล ๒. การแสดงการแก้ปญั หาที่พบ ๔. การเชอ่ื มโยงอยา่ งมเี หตผุ ล ระหวา่ งทากจิ กรรม ๕. การสังเกตโดยใช้ประสาท ๓. การลงมือแก้ปญั หาหรือ ส สมั ผสั ความตอ้ งการอยา่ งเป็น ๖. ลกั ษณะของสง่ิ ของตา่ งๆ ระบบ และการใช้สิง่ ของ ๗. การจาแนกรปู เรขาคณิตสาม เคร่อื งใช้ในชวี ิตประจาวนั มติ ิและรเู รขาคณิตสองมิติ เพอ่ื ชว่ ยในการแก้ปัญหาหรือ ดย ๘. การบอกสว่ นประกอบของรปู สนองความต้องการอย่าง พบ เรขาคณิตสามมิติและรูป ถกู ต้องปลอดภัย เรขาคณิตสองมติ ิ ๔. การเลือกวธิ ีแกป้ ญั หาทท่ี กุ ะ ๙. การเปล่ียนแปลงรปู เรขาคณิต คนยอมรบั

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นร้รู ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ เดก็ อ การเรยี นรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสตปิ ัญญา มาตรฐานที่ 10 ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๐.1 จัดกลุ่มสง่ ตา่ งๆโดยใ มีความสามารถใน การคิดทีเ่ ป็น ความสามารถใน ตัง้ แต่สองลักษณะข้นึ พ้นื ฐานในการ เรยี นรู้ การคดิ รวบยอด ไปเปน็ เกณฑ์ 10.1.4 เรียงลาดบั ส่งิ ของหรือเหตุการณ อยา่ งน้อย 5 ลาดบั ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๐.2 10.2.1 อธิบาย มีความสามารถใน เช่ือมโยงสาเหตแุ ละผ การคดิ เชงิ เหตุผล ที่เกดิ ขึน้ ในเหตุการณ หรือการกระทาด้วย ตนเอง 10.2.2 คาดเดาหรือ คาดคะเนสิง่ ท่ีอาจจะ เกิดขึ้น และมีส่วนรว่ ในการลงความเหน็ จา ข้อมูลอยา่ งมีเหตผุ ล ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๐.3 10.3.1 ตัดสินใจใน มีความสามารถใน เรื่องง่ายๆ และยอมร การคิดแกป้ ัญหา ผลที่เกิดขึ้น และตัดสนิ ใจ 10.3.2 ระบุปญั หา สร้างทางเลอื กและ

๖๓ รับเดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ชนั้ อนุบาลศกึ ษาปที ี่ ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทีค่ วรรู้ ประสบการณ์สาคญั ใช้ สามมิตแิ ละรปู เรขาคณติ ๕. การวางแผนและปฏบิ ตั ติ น น สองมติ ิ ตามแผนทีต่ ้งั ใจไว้ ๑๐. การเปรียบเทยี บความ ๖. การสงั เกตส่ิงต่างๆโดยใช้ เหมือนและความแตกต่าง ประสาทด้วยการมอง ฟงั ณ์ ๑๑. การเรยี งลาดับสง่ิ ของหรือ สมั ผัส ชิมรสและดมกลน่ิ เหตุการณ์ อย่างเหมาะสม ๑๒. การคาดคะเนและสรุปผล ๗. การพยากรณ/์ คาดคะเนส่ิงท่ี ผล อย่างมีเหตผุ ล คาดหวงั สิง่ ทจ่ี ะเกิดข้ึนอย่าง ณ์ มีเหตผุ ล ๘. การลงข้อสรุปส่งิ ท่ีค้นพบ หรอื สง่ิ ทีไ่ ด้เรยี นรู้ อ ๙. การอธิบายเกย่ี วกบั สงิ่ ของ ะ เหตุการณแ์ ละความสัมพนั ธ์ วม ของสงิ่ ต่างๆ าก ๑๐. การประกอบอาหาร ๑๑. การสงั เกตสิ่งต่างๆโดยใช้ ประสาทด้วยการมอง ฟัง รับ สัมผสั ชิมรสและดมกลิ่น อย่างเหมาะสม ๑๒. การฟังเสยี งต่างๆใน สิง่ แวดลอ้ ม

ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรรู้ ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ เด็กอ การเรียนรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสตปิ ญั ญา มาตรฐานที่ 10 เลอื กวธิ แี กป้ ัญหา มีความสามารถใน การคดิ ทเี่ ปน็ พื้นฐานในการ เรยี นรู้

๖๔ รบั เด็กอายุ ๕ – ๖ ปี ระดับชัน้ อนบุ าลศึกษาปีท่ี ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ๑๓. การรบั รแู้ ละแสดง ความร้สู กึ ผ่านสอ่ื วสั ดุ ของ เลน่ และผลงาน ๑๔. การวางแบบรูปใหเ้ หมือน ต้นแบบ ๑๕. การต่อแบบรูป ๑๖. การสรา้ งแบบรปู ๑๗. การเปรยี บเทยี บจานวน ของส่งิ ต่างๆ ๑๘. การเปรยี บเทยี บจานวน มากกวา่ น้อยกว่า เท่ากัน ๑๙. การมปี ระสบการณ์กับ จานวนหรือปรมิ าณทเ่ี พิ่มขนึ้ หรือลดลง ๒๐. การเปรยี บเทียบเรียงลาดับ แลว้ วดั ความยาว/ความสงู นา้ หนักและปริมาตรของส่ิง ต่างๆ โดยใชเ้ คร่ืองมือและ หนว่ ยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ๒๑. การเปรียบเทยี บความยาว/ ความสงู น้าหนักและ

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนร้รู ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ เดก็ อ การเรยี นรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสตปิ ญั ญา มาตรฐานที่ 10 มคี วามสามารถใน การคิดที่เปน็ พน้ื ฐานในการ เรียนรู้

๖๕ รบั เดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ช้ันอนุบาลศึกษาปที ี่ ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ปริมาตรของสงิ่ ตา่ งๆ ๒๒. การวดั ความยาวความสูง โดยใชเ้ ครือ่ งมือและหนว่ ยที่ ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน ๒๓. การชั่งน้าหนักโดยใช้ เคร่อื งมือและหนว่ ยท่ีไมใ่ ช่ หน่วยมาตรฐาน ๒๔. การตวงปริมาตรของส่ิง ตา่ งๆ โดยใชเ้ คร่อื งมือและ หน่วยที่ไมใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน ๒๕. การบอกชนดิ และคา่ ของ เงนิ ๒๖. การเปรียบเทียบเวลา เชน่ ตอนเช้า ตอนเย็น เมื่อวานน้ี พรงุ่ นี้ ฯลฯ ๒๗. เรียงความยาว/ความสูง น้าหนกั และปริมาตรของส่ิง ต่างๆ ๒๘. การเรยี งลาดบั กจิ กรรม หรอื เหตกุ ารณต์ ามเวลา ๒๙. การลงความคิดเหน็ จาก

ตารางวิเคราะหส์ าระการเรียนรู้รายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค การเรยี นรู้ เดก็ อายุ ๕ – ๖ ป ดา้ นสติปัญญา มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถใน การคดิ ท่ีเป็น พน้ื ฐานในการ เรยี นรู้

๖๖ รบั เด็กอายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ชน้ั อนุบาลศึกษาปีที่ ๓ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระท่คี วรรู้ ประสบการณส์ าคัญ ขอ้ มูลอย่างมีเหตุผล ๓๐. การต่อเขา้ ดว้ ยกนั การแยก ออก การบรรจแุ ละการเท ออก ๓๑. การสงั เกตสง่ิ ตา่ งๆและ สถานทจี่ ากมมุ มองที่ตา่ งๆ กนั ๓๒. การมปี ระสบการณ์และการ อธบิ ายในเรอื่ งตาแหน่งของ ส่ิงตา่ งๆทสี่ มั พันธก์ ัน ๓๓. การมีประสบการณ์และการ อธิบายในเรอ่ื งทิศทางการ เคล่อื นทีข่ องคนและสิ่ง ต่างๆ ๓๔. การสือ่ ความหมายของมิติ สัมพนั ธ์ดว้ ยภาพวาด ภาพถา่ ยและรูปภาพ ๓๕. การแก้ปญั หาเกยี่ วกับมติ ิ สัมพันธ์ในการเล่น

ตารางวิเคราะห์สาระการเรยี นรูร้ ายปี สาหร พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ เด การเรียนรู้ อายุ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสติปัญญา ตวั บ่งช้ี ๑๑.1 มาตรฐานท่ี 11 ทางานศิลปะตาม 11.1.1 สรา้ งงาน มีจนิ ตนาการและ จนิ ตนาการและ ศลิ ปะเพ่อื สื่อสาร ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคิด ความคดิ ความรสู้ ึกข สร้างสรรค์ ตนเองโดยมีการ ดัดแปลง มาตรฐานท่ี 12 ตัวบ่งงช้ี 11.2 และแปลกใหมจ่ ากเด มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ การ แสดงท่าทาง/ หรือมรี ายละเอียด เรยี นรู้ และมี เคลื่อนไหวตาม เพมิ่ ขนึ้ ความสามารถใน จินตนาการอยา่ ง สรา้ งสรรค์ 11.2.1 เคลอ่ื นไหว ทา่ ทางเพื่อส่ือสาร ตัวบ่งชี้ ๑๒.๑ ความคดิ ความรูส้ ึกข มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อ ตนเองอย่าง การเรียนรู้ หลากหลายและแปล ใหม่ 12.1.1 สนใจหยบิ หนงั สอื มาอ่านและ เขยี นสอ่ื ความคิดดว้ ย ตนเองเปน็ ประจาอย ตอ่ เนื่อง 12.1.2 กระตือรือรน้

๖๗ รับเดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดับชั้นอนบุ าลศึกษาปีที่ ๓ ด็ก สาระการเรียนรู้ สาระทค่ี วรรู้ ประสบการณส์ าคญั ๑. การทางานศลิ ปะตาม ๑. การพดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ใน จนิ ตนาการ การเลน่ และการกระทาต่างๆ ของ ๒. การเคล่ือนไหวตาม ๒. ความคดิ ริเร่ิมจากการสารวจ จินตนาการและความคิด สง่ิ ตา่ งๆรอบตัว สรา้ งสรรค์ ๓. การสร้างสรรค์ชน้ิ งานจากรูป ดิม เรขาคณติ สามมิติและรูป เรขาคณติ สองมติ ิ ๔. การเลียนแบบการกระทา และเสียงต่างๆ ๕. การแสดงความคิดสร้างสรรค์ ของ ผา่ นสื่อวสั ดตุ า่ งๆ ลก ๑. เจตคติท่ดี ีต่อการเรยี นรู้ ๑. การมงุ่ มั่นในการทากจิ กรรม ๒. การอ่าน และสญั ลักษณ์ มีสมาธจิ ดจอ่ ย ๓. การถามคาถามและแสดง ย่าง ความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรื่องที่ ๒. ความคิดรเิ ร่ิมจากการสารวจ ส่ิงต่างๆรอบตัว สนใจและเรอื่ งตา่ งๆ น ๔. ความสามารถในการแสวงหา ๓. การอา่ นในหลายรูปแบบ ผ่านประสบการณท์ ี่ส่ือ

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรรู้ ายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ เดก็ อ การเรยี นรู้ ๕ – ๖ ปี ดา้ นสติปัญญา การแสวงหาความรู้ ในการรว่ มกจิ กรรม ได้เหมาะสมกับวัย ตั้งแต่ตน้ จนจบ ตัวบง่ ช้ี ๑๒.2 12.2.คน้ หาคาตอบ มีความสามารถใน ของขอ้ สงสัยตา่ งๆโด การแสวงหา วิธีการท่หี ลากหลาย ความรู้ ดว้ ยตนเอง 12.2.2 ใชป้ ระโยค คาถามวา่ “เม่ือไร” “อยา่ งไร” ในการ ค้นหาคาตอบ

๖๘ รับเด็กอายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ช้นั อนุบาลศึกษาปีที่ ๓ อายุ สาระการเรยี นรู้ สาระทคี่ วรรู้ ประสบการณ์สาคัญ ความรู้ ความหมายตอ่ เด็ก อ่าน ๕. เหตกุ ารณต์ ่างๆ ภาพหรือสัญลักษณจ์ าก ๖. รูปเรขาคณิต หนงั สือนิทาน/เรอื่ งราวที่ ดย ๗. การนบั จานวน ตวั เลข สนใจ ๘. การเชอ่ื มโยงความรูแ้ ละ ๔. การอา่ นนทิ านและเลา่ เร่อื ง ทักษะตา่ งๆ ใชใ้ น ด้วยเสียงท่หี ลากหลาย ชีวิตประจาวัน เชน่ การนับ ๕. การสืบเสาะหาความรโู้ ดย ปากเปลา่ การตัง้ คาถาม การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การสรา้ ง คาอธิบายเพอื่ ตอบคาถาม การเช่ือมโยงคาอธิบายของ ตนเองกับผอู้ น่ื และการ สื่อสารนาเสนอความคิดหรือ สง่ิ ทพ่ี บ ๖. การจบั คู่หนึง่ ต่อหน่ึง ๗. การแสดงส่งิ ต่างๆใน ชวี ิตประจาวนั ทเ่ี หมอื นหรอื คล้ายรปู เรขาคณติ สามมติ ิ หรือรปู เรขาคณิตสองมิติ ๘. การมสี ว่ นรว่ มในการให้ ข้อมลู

ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรู้รายปี สาหร พัฒนาการ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค การเรยี นรู้ เดก็ อายุ ๕ – ๖ ป ด้านสตปิ ัญญา มาตรฐานที่ 12 มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการ เรยี นรู้ และมี ความสามารถใน การแสวงหาความรู้ ได้เหมาะสมกับวยั

๖๙ รบั เดก็ อายุ ๕ – ๖ ปี ระดบั ช้ันอนุบาลศึกษาปีท่ี ๓ ค์ สาระการเรียนรู้ ปี สาระที่ควรรู้ ประสบการณส์ าคัญ ๙. การรวบรวมขอ้ มลู และการ จัดกระทา ๑๐. การนาเสนอข้อมูลในรปู แผนภมู ิอย่างงา่ ย ๑๑. การเช่ือมโยงภาพ ภาพถ่าย และรปู แบบตา่ งๆกับ สิ่งของหรือสถานท่จี ริง ๑๒. การนบั ปากเปลา่ ๑๓. การนับจานวนของสิ่งตา่ งๆ ๑๔. การรู้จักตวั เลข ๑ – ๙ ๑๕. การใช้คารวมท้งั สญั ลักษณ์ แสดงจานวน ๑๖. วางแบบรูปใหเ้ หมอื น ต้นแบบ ๑๗. การเร่ิมตน้ และการหยดุ กระทาโดยสญั ญาณ ๑๘. การสังเกตความ เปล่ยี นแปลงของฤดู

๗๐ การจัดเวลาเรยี น หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจดั ประสบการณใ์ หก้ ับเดก็ ๑-๓ ปกี ารศึกษา โดยประมาณ ท้ังน้ี ขนึ้ อยู่กบั อายุของเด็กทเ่ี รม่ิ เข้าสถานศกึ ษาหรือสถาบนั พัฒนาเด็กปฐมวยั เวลาเรยี นสาหรบั เด็ก ปฐมวัยขึ้นอยูก่ บั สถานศึกษาแตล่ ะแห่ง โดยมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่า ๑๘๐ วนั ต่อ ๑ ปีการศึกษา ในแต่ละวนั จะใช้เวลา ไมน่ อ้ ยกว่า ๕ ชัว่ โมง โดยสามารถปรับเปล่ยี นให้เหมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษาและสถาบนั พฒั นาเด็กปฐมวยั สาระการเรียนรู้รายปี สาระการเรยี นรใู้ ชเ้ ป็นสื่อกลางในการจดั ประสบการณ์การเรียนรใู้ ห้กับเด็กเพ่ือสง่ เสรมิ พัฒนาการทกุ ด้าน ใหเ้ ปน็ ไปตามจุดหมายของหลักสูตรท่ีกาหนด ประกอบดว้ ย ประสบการณ์สาคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ดงั น้ี ๑. ประสบการณส์ าคญั ประสบการณส์ าคัญเป็นแนวทางสาหรบั ผู้สอนไปใชใ้ นการออกแบบการจัดประสบการณ์ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั เรยี นรู้ ลงมือปฏบิ ตั ิ และได้รับการส่งเสริมพฒั นาการครอบคลมุ ทกุ ดา้ น ดงั น้ี ๑.๑ ประสบการณส์ าคญั ทีส่ ่งเสริมพัฒนาการดา้ นร่างกาย เป็นการสนับสนนุ ใหเ้ ด็กได้มโี อกาส พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเลก็ และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกลา้ มเนื้อและระบบประสาท ในการทา กิจวัตรประจาวันหรือทากจิ กรรมตา่ งๆและสนับสนุนใหเ้ ดก็ มโี อกาสดแู ลสขุ ภาพและสุขอนามยั และการรักษาความ ปลอดภัย ดังน้ี ๑.๑.๑ การใชก้ ล้ามเน้อื ใหญ่ ๑.๑.๑.๑ การเคลื่อนไหวอยู่กับท่ี ๑.๑.๑.๒ การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนที่ ๑.๑.๑.๓ การเคล่ือนไหวพร้อมวสั ดอุ ปุ กรณ์ ๑.๑.๑.๔ การเคลือ่ นไหวทใี่ ช้การประสานสมั พันธ์ของการใชก้ ล้ามเน้อื มัดใหญ่ในการขว้าง การจบั การโยน การเตะ ๑.๑.๑.๕ การเล่นเครอื่ งเลน่ สนามอย่างอสิ ระ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนอ้ื เลก็ ๑.๑.๒.๑ การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและการสร้างจากแท่งไม้ บลอ็ ก ๑.๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเล่นกับสี ๑.๑.๒.๓ การป้ัน ๑.๑.๒.๔ การประดิษฐ์สงิ่ ต่างๆดว้ ย เศษวสั ดุ ๑.๑.๒.๕ การหยบิ จับ การใชก้ รรไกร การฉกี การตดั การปะ และการรอ้ ยวสั ดุ ๑.๑.๓ การรกั ษาสุขภาพอนามยั ส่วนตวั ๑.๑.๓.๑ การปฏบิ ตั ติ นตามสขุ อนามัย สุขนสิ ัยท่ีดีในกิจวัตรประจาวนั ๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภยั ๑.๑.๔.๑ การปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยในกจิ วัตรประจาวนั ๑.๑.๔.๒ การฟังนิทาน เรื่องราว เหตกุ ารณ์ เกย่ี วกบั การปอู งกนั และรักษาความปลอดภัย

๗๑ ๑.๑.๔.๓ การเลน่ เครอ่ื งเลน่ อยา่ งปลอดภยั ๑.๑.๔.๔ การเล่นบทบาทสมมตเิ หตกุ ารณต์ ่างๆ ๑.๑.๕ การตระหนกั รู้เกี่ยวกับร่างกายตนเอง ๑.๑.๕.๑ การเคล่อื นไหวเพื่อควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพ้ืนที่ ๑.๑.๕.๒ การเคล่ือนไหวข้ามส่งิ กดี ขวาง ๑.๒ ประสบการณส์ าคญั ที่สง่ เสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจเป็นการสนบั สนนุ ให้เด็กได้ แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองทเี่ หมาะสมกบั วัย ตระหนักถึงลกั ษณะพิเศษเฉพาะที่เปน็ อัตลกั ษณ์ ความเปน็ ตัวของตัวเอง มคี วามสุข รา่ เริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พฒั นาคุณธรรม จริยธรรม สุนทรียภาพ ความรสู้ ึกทีด่ ตี ่อตนเอง และความเชื่อม่ันในตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ดงั น้ี ๑.๒.๑ สนุ ทรียภาพ ดนตรี ๑.๒.๑.๑ การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกริ ิยาโต้ตอบเสียงดนตรี ๑.๒.๑.๒การเล่นเคร่ืองดนตรีประกอบจังหวะ ๑.๒.๑.๓ การเคลอ่ื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๑.๔ การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๑.๕ การทากจิ กรรมศิลปะตา่ งๆ ๑.๒.๑.๖ การสรา้ งสรรค์สิ่งสวยงาม ๑.๒.๒ การเล่น ๑.๒.๒.๑ การเล่นอสิ ระ ๑.๒.๒.๒ การเล่นรายบคุ คล กลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่ ๑.๒.๒.๓ การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ ๑.๒.๒.๔ การเลน่ นอกห้องเรียน ๑.๒.๓ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑.๒.๓.๑ การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาทน่ี บั ถือ ๑.๒.๓.๒ การฟงั นทิ านเก่ยี วกับคุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๒.๓.๓ การร่วมสนทนาแลกเปลยี่ นความคิดเห็นเชงิ จรยิ ธรรม ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความรสู้ ึกของตนเองและผู้อน่ื ๑.๒.๔.๒ การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๔.๓ การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี ๑.๒.๔.๔การร้องเพลง ๑.๒.๔.๕ การทางานศลิ ปะ ๑.๒.๕ การมีอัตลกั ษณ์เฉพาะตนและเชื่อวา่ ตนเองมคี วามสามารถ ๑.๒.๕.๑ การปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง

๗๒ ๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ื่น ๑.๒.๖.๑ การแสดงความยินดีเมอ่ื ผู้อื่นมีความสุข เห็นอกเห็นใจเมือ่ ผู้อน่ื เศรา้ หรือเสียใจ และการ ชว่ ยเหลอื ปลอบโยนเม่ือผูอ้ ืน่ ได้รับบาดเจบ็ ๑.๓ ประสบการณ์สาคญั ทสี่ ง่ เสริมพัฒนาการดา้ นสงั คม เป็นการสนบั สนนุ ให้เด็กได้มโี อกาส ปฏิสมั พนั ธก์ ับบคุ ลและส่ิงแวดลอ้ มตา่ งๆรอบตวั จากการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ ผา่ นการเรยี นร้ทู างสังคม เช่น การเลน่ การทางานกบั ผู้อื่น การปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวัน การแก้ปัญหาขอ้ ขดั แย้งต่างๆ ๑.๓.๑ การปฏบิ ัตกิ ิจวตั รประจาวัน ๑.๓.๑.๑ การชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจาวนั ๑.๓.๑.๒การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑.๓.๒ การดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ๑.๓.๒.๑ การมสี ว่ นร่วมรับผิดชอบดแู ลรกั ษาส่ิงแวดล้อมทง้ั ภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น ๑.๓.๒.๒การใชว้ สั ดุและสิง่ ของเคร่ืองใชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่า ๑.๓.๒.๓ การทางานศิลปะทใี่ ช้วสั ดุหรอื ส่งิ ของท่ีใชแ้ ลว้ มาใช้ซ้าหรือแปรรูปแล้วนากลับมา ใชใ้ หม่ ๑.๓.๒.๔ การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ ๑.๓.๒.๕ การเลีย้ งสตั ว์ ๑.๓.๒.๖ การสนทนาขา่ วและเหตกุ ารณท์ เี่ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมในชวี ติ ประจาวัน ๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถ่ินทอ่ี าศัยและความเปน็ ไทย ๑.๓.๓.๑ การเลน่ บทบาทสมมุตกิ ารปฏบิ ัติตนในความเป็นคนไทย ๑.๓.๓.๒ การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นท่ีอาศัยและประเพณีไทย ๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย ๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานท่ี ๑.๓.๓.๕ การละเลน่ พืน้ บา้ นของไทย ๑.๓.๔ การมปี ฏิสัมพนั ธ์ มีวินัย มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสังคม ๑.๓.๔.๑ การรว่ มกาหนดข้อตกลงของห้องเรียน ๑.๓.๔.๒ การปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิทีด่ ขี องห้องเรียน ๑.๓.๔.๓ การให้ความรว่ มมือในการปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ ๑.๓.๔.๔ การดแู ลหอ้ งเรยี นร่วมกัน ๑.๓.๔.๕ การร่วมกิจกรรมวนั สาคัญ ๑.๓.๕ การเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ ๑.๓.๕.๑ การร่วมสนทนาและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ๑.๓.๕.๒ การเลน่ และทางานรว่ มกบั ผู้อื่น ๑.๓.๕.๓ การทาศลิ ปะแบบร่วมมอื ๑.๓.๖ การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ๑.๓.๖.๑ การมสี ่วนร่วมในการเลอื กวธิ ีการแก้ปัญหา

๗๓ ๑.๓.๖.๒ การมีสว่ นร่วมในการแกป้ ัญหาความขัดแย้ง ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ๑.๓.๗.๑ การเล่นหรือ ทากิจกรรมร่วมกับกลมุ่ เพื่อน ๑.๔ ประสบการณส์ าคญั ทส่ี ่งเสริมพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา เป็นการสนับสนนุ ให้เด็กไดร้ บั รู้ เรยี นรู้ส่ิงตา่ งๆรอบตวั ผ่านการมปี ฏิสมั พันธก์ ับสิง่ แวดล้อม บคุ คลและสือ่ ต่างๆ ด้วยกระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย เพื่อเปดิ โอกาสให้เด็ก พัฒนาการใชภ้ าษา จินตนาการความคดิ สรา้ งสรรค์ การแก้ปญั หา การคิดเชงิ เหตผุ ล และการคดิ รวบยอดเก่ียวกับส่งิ ต่างๆ รอบตวั และมคี วามคดิ รวบยอดทางคณติ ศาสตรท์ เี่ ปน็ พนื้ ฐานของการเรียนรู้ในระดับท่สี งู ขน้ึ ต่อไป ๑.๔.๑ การใช้ภาษา ๑.๔.๑.๑ การฟงั เสียงตา่ งๆ ในส่งิ แวดลอ้ ม ๑.๔.๑.๒ การฟงั และปฏิบัตติ ามคาแนะนา ๑.๔.๑.๓ การฟังเพลง นิทาน คาคลอ้ งจอง บทร้อยกรองหรือเร่อื งราวตา่ งๆ ๑.๔.๑.๔ การแสดงความคิด ความรู้สึก และความต้องการ ๑.๔.๑.๕ การพูดกับผู้อน่ื เก่ียวกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรอื พูดเล่าเร่ืองราวเก่ียวกับตนเอง ๑.๔.๑.๖ การพดู อธบิ ายเกี่ยวกบั สง่ิ ของ เหตกุ ารณ์ และความสัมพนั ธ์ของสิ่งตา่ งๆ ๑.๔.๑.๗ การพดู อย่างสรา้ งสรรค์ในการเล่น และการกระทาตา่ งๆ ๑.๔.๑.๘ การรอจงั หวะท่ีเหมาะสมในการพดู ๑.๔.๑.๙ การพดู เรยี งลาดบั เพือ่ ใชใ้ นการสือ่ สาร ๑.๔.๑.๑๐ การอ่านหนังสือภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ ๑.๔.๑.๑๑ การอา่ นอิสระตามลาพงั การอา่ นร่วมกนั การอา่ นโดยมผี ู้ชแ้ี นะ ๑.๔.๑.๑๒ การเหน็ แบบอย่างของการอ่านทีถ่ ูกตอ้ ง ๑.๔.๑.๑๓ การสงั เกตทิศทางการอ่านตัวอักษร คา และขอ้ ความ ๑.๔.๑.๑๔ การอา่ นและชข้ี ้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา จากบนลงลา่ ง ๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตวั อกั ษรในช่อื ของตน หรอื คาคุ้นเคย ๑.๔.๑.๑๖ การสังเกตตัวอักษรท่ปี ระกอบเป็นคาผา่ นการอ่านหรือเขยี นของผู้ใหญ่ ๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคา วลี หรอื ประโยค ที่มีโครงสรา้ งซ้าๆกนั จากนทิ าน เพลง คาคล้องจอง ๑.๔.๑.๑๘ การเลน่ เกมทางภาษา ๑.๔.๑.๑๙ การเห็นแบบอยา่ งของการเขียนที่ถกู ตอ้ ง ๑.๔.๑.๒๐ การเขียนร่วมกันตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ ๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคาทีม่ ีความหมายกบั ตัวเดก็ /คาคุน้ เคย ๑.๔.๑.๒๒ การคดิ สะกดคาและเขียนเพือ่ สื่อความหมายดว้ ยตนเองอย่างอิสระ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การตดั สนิ ใจและแก้ปัญหา ๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพนั ธข์ องสิง่ ต่างๆ โดยใช้ ประสาทสัมผสั อยา่ งเหมาะสม ๑.๔.๒.๒ การสังเกตสง่ิ ตา่ งๆ และสถานที่จากมุมมองที่ต่างกัน

๗๔ ๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตาแหนง่ ทศิ ทาง และระยะทางของส่ิงตา่ งๆดว้ ยการกระทา ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ ๑.๔.๒.๔ การเลน่ กับสื่อต่างๆท่ีเปน็ ทรงกลม ทรงสี่เหลีย่ มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ๑.๔.๒.๕ การคดั แยก การจดั กลมุ่ และการจาแนกสิง่ ตา่ งๆตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง ๑.๔.๒.๖ การต่อของชนิ้ เลก็ เติมในชน้ิ ใหญใ่ ห้สมบูรณ์ และการแยกชน้ิ สว่ น ๑.๔.๒.๗ การทาซา้ การต่อเติม และการสรา้ งแบบรูป ๑.๔.๒.๘ การนับและแสดงจานวนของสง่ิ ต่างๆในชวี ิตประจาวัน ๑.๔.๒.๙ การเปรยี บเทียบและเรียงลาดบั จานวนของส่ิงต่างๆ ๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสิง่ ตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอันดบั ที่ของส่งิ ตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๒ การชง่ั ตวง วัดสิ่งต่างๆโดยใชเ้ ครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน ๑.๔.๒.๑๓ การจับคู่ การเปรยี บเทียบ และการเรียงลาดับ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะความยาว/ความสูง น้าหนัก ปริมาตร ๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรยี งลาดบั กจิ กรรมหรือเหตกู ารณ์ตามชว่ งเวลา ๑.๔.๒.๑๕ การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กบั เหตุการณ์ในชวี ติ ประจาวนั ๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชือ่ มโยงสาเหตแุ ละผลที่เกิดข้ึนในเหตุการณห์ รอื การกระทา ๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนส่งิ ที่อาจเกิดขนึ้ อย่างมีเหตุผล ๑.๔.๒.๑๘ การมีสว่ นรว่ มในการลงความเห็นจากข้อมลู อย่างมเี หตุผล ๑.๔.๒.๑๙ การตัดสนิ ใจและมีสว่ นร่วมในกระบวนการแก้ปญั หา ๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ ๑.๔.๓.๑ การรับรู้ และแสดงความคิดความรู้สกึ ผา่ นสื่อ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน ๑.๔.๓.๒ การแสดงความคดิ สรา้ งสรรคผ์ า่ นภาษา ทา่ ทาง การเคลอ่ื นไหว และศลิ ปะ ๑.๔.๓.๓ การสรา้ งสรรคช์ ิ้นงานโดยใชร้ ปู ร่างรูปทรงจากวสั ดุท่ีหลากหลาย ๑.๔.๔ เจตคติที่ดีต่อการเรียนร้แู ละการแสวงหาความรู้ ๑.๔.๔.๑ การสารวจส่งิ ต่างๆ และแหลง่ เรยี นรู้รอบตัว ๑.๔.๔.๒ การตั้งคาถามในเรอื่ งทส่ี นใจ ๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรู้เพื่อคน้ หาคาตอบของข้อสงสัยต่างๆ ๑.๔.๔.๔ การมีสว่ นร่วมในการรวบรวมข้อมลู และนาเสนอข้อมลู จากการสบื เสาะหาความรู้ใน รูปแบบต่างๆและแผนภมู อิ ย่างงา่ ย สาระท่ีควรเรียนรู้ สาระท่ีควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตวั เดก็ ทน่ี ามาเป็นสอ่ื กลางในการจัดกิจกรรมใหเ้ ดก็ เกิดแนวคิดหลังจาก นาสาระการเรียนรนู้ ั้น ๆ มาจัดประสบการณ์ใหเ้ ดก็ เพ่ือให้บรรลุจดั หมายทก่ี าหนดไว้ทงั้ นี้ ไม่เน้นการทอ่ งจาเนือ้ หา ครสู ามารถกาหนดรายละเอยี ดขึน้ เองใหส้ อดคล้องกับวัย ความตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ ผา่ นประสบการณ์สาคัญ ทงั้ นี้ อาจยดื หยุ่นเนอื้ หาได้โดยคานึงถึงประสบการณ์และสิง่ แวดลอ้ มในชวี ิตจรงิ ของเด็ก ดงั น้ี

๗๕ ๒.๑ เรือ่ งราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรรจู้ ักชอ่ื นามสกุล รูปรา่ งหนา้ ตา รู้จกั อวัยวะต่างๆ วิธีระวงั รักษา ร่างกายใหส้ ะอาดและมีสุขภาพอนามยั ทด่ี ี การรบั ประทานอาหารท่เี ปน็ ประโยชน์ การระมดั ระวงั ความปลอดภยั ของ ตนเองจากผู้อื่นและภยั ใกลต้ ัว รวมทง้ั การปฏิบตั ิต่อผู้อืน่ อย่างปลอดภัย การร้จู กั ความเป็นมาของตนเองและ ครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครวั และโรงเรยี น การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผ้อู ่นื การรจู้ ักแสดง ความคิดเหน็ ของตนเองและรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ การกากบั ตนเอง การเล่นและทาสง่ิ ต่างๆดว้ ยตนเองตาม ลาพงั หรอื กบั ผู้อ่ืน การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภมู ิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรอู้ ารมณแ์ ละความรู้สึก ของตนเองและผอู้ ื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม การแสดงมารยาทท่ีดี การมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๒ เรอื่ งราวเกย่ี วกับบคุ คลและสถานที่แวดล้อมเดก็ เด็กควรเรียนรเู้ กย่ี วกับครอบครัว สถานศกึ ษา ชุมชน และบุคคลต่างๆ ทีเ่ ด็กต้องเก่ียวข้องหรอื ใกล้ชิดและมปี ฏิสัมพนั ธ์ในชวี ิตประจาวัน สถานท่ีสาคัญ วนั สาคญั อาชีพของ คนในชมุ ชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลกั ษณส์ าคญั ของชาตไิ ทยและการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถน่ิ และความเป็นไทย หรือแหล่งเรยี นรจู้ ากภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ อ่ืนๆ ๒.๓ ธรรมชาตริ อบตวั เด็กควรเรียนรู้เก่ยี วกบั ช่อื ลักษณะ สว่ นประกอบ การเปลีย่ นแปลงและความสัมพนั ธ์ ของมนษุ ย์ สตั ว์ พืช ตลอดจนการรจู้ กั เกีย่ วกบั ดิน น้า ทอ้ งฟูา สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง และพลงั งานใน ชวี ติ ประจาวนั ทแ่ี วดล้อมเด็ก รวมทง้ั การอนุรกั ษส์ ิง่ แวดล้อมและการรกั ษาสาธารณสมบัติ ๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรยี นรู้เก่ียวกบั การใช้ภาษาเพือ่ ส่ือความหมายในชีวิตประจาวนั ความรู้ พื้นฐานเก่ียวกบั การใช้หนังสอื และตัวหนงั สือ รู้จักชอ่ื ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รปู รา่ ง รปู ทรง ปรมิ าตร น้าหนัก จานวน ส่วนประกอบ การเปล่ยี นแปลงและความสัมพันธข์ องสิง่ ต่างๆรอบตัว เวลา เงนิ ประโยชน์ การใช้งาน และ การเลอื กใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการส่ือสารต่างๆ ท่ีใช้อยู่ในชีวติ ประจาวันอย่าง ประหยัด ปลอดภัยและรักษาสิง่ แวดลอ้ ม การจัดประสบการณ์ การจดั ประสบการณส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ ๓ – ๖ ปี เปน็ การจัดกิจกรรมในลกั ษณะบูรณาการผา่ นการ เล่น การลงมอื กระทาจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกดิ ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม รวมทั้งเกิดการ พัฒนาท้งั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญา ไม่จดั เป็นรายวิชาโดยมหี ลกั การ และแนวทางการจัด ประสบการณ์ ดังนี้ ๑. หลักการจดั ประสบการณ์ ๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่นและการเรียนรหู้ ลากหลาย เพื่อพฒั นาเด็กโดยองคร์ วมอย่างสมดุลและ ตอ่ เนือ่ ง ๑.๒ เนน้ เด็กเปน็ สาคญั สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและบริบทของ สังคมทีเ่ ด็กอาศยั อยู่ ๑.๓ จัดใหเ้ ดก็ ได้รบั การพัฒนา โดยให้ความสาคัญกับกระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาการของเด็ก ๑.๔ จดั การประเมินพัฒนาการใหเ้ ป็นกระบวนการอย่างตอ่ เนือ่ ง และเปน็ สว่ นหน่งึ ของการจัด ประสบการณ์ พรอ้ มทงั้ นาผลการประเมินมาพฒั นาเด็กอย่างตอ่ เน่ือง ๑.๕ ให้พอ่ แม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝาุ ยที่เกีย่ วขอ้ งมสี ่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก

๗๖ ๒. แนวทางการจัดประสบการณ์ ๒.๑ จัดประสบการณใ์ หส้ อดคล้องกับจติ วทิ ยาพัฒนาการและการทางานของสมองทเี่ หมาะสมกับ อายุ วุฒภิ าวะและระดับพฒั นาการ เพื่อใหเ้ ด็กทุกคนไดพ้ ัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๒.๒ จดั ประสบการณ์ใหส้ อดคล้องกับแบบการเรยี นรขู้ องเดก็ เด็กไดล้ งมือกระทาเรียนรู้ผา่ นประสา สมั ผัสทั้งห้า ไดเ้ คลื่อนไหว สารวจ เลน่ สงั เกต สบื ค้น ทดลอง และคิดแก้ปญั หาด้วยตนเอง ๒.๓ จัดประสบการณ์แบบบูรณาการ โดยบูรณาการทงั้ กจิ กรรม ทกั ษะ และสาระการเรยี นรู้ ๒.๔ จดั ประสบการณใ์ ห้เด็กไดร้ เิ รมิ่ คดิ วางแผน ตดั สินใจลงมือกระทาและนาเสนอความคิดโดยครู หรอื ผ้จู ดั ประสบการณ์เป็นผ้สู นับสนนุ อานวยความสะดวก และเรียนรู้ร่วมกบั เด็ก ๒.๕ จัดประสบการณ์ใหเ้ ด็กมีปฏสิ ัมพันธ์กบั เดก็ อืน่ กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ในบรรยากาศที่อบอุ่นมคี วามสขุ และเรยี นร้กู ารทากิจกรรมแบบรว่ มมอื ในลกั ษณะตา่ งๆกนั ๒.๖ จดั ประสบการณใ์ หเ้ ด็กมีปฏิสัมพันธก์ บั ส่ือและแหล่งการเรียนร่หี ลากหลายและอยใู่ นวิถีชวี ติ ของเด็ก ๒.๗ จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมลักษณะนสิ ัยท่ดี ีและทักษะการใช้ชวี ิตประจาวนั ตลอดจนสอดแทรก คณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้เป็นสว่ นหนึ่งของการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง ๒.๘ จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะทีด่ ีการวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ และแผนที่เกดิ ข้นึ ในสภาพจริงโดย ไมไ่ ด้คาดการณ์ไว้ ๒.๙ จดั ทาสารนิทศั นด์ ้วยการรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับพัฒนาการและการเรยี นรู้ของเด็กเป็น รายบุคคล นามาไตรต่ รองและใช้ให้เปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาเดก็ และการวจิ ัยในชัน้ เรียน ๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครวั และชมุ ชนมสี ่วนรว่ มท้งั การวางแผน การสนับสนุน สอื่ แหล่งเรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรม และการประเมินพัฒนาการ ๓. การจดั กจิ กรรมประจาวัน กจิ กรรมสาหรบั เด็กอายุ ๓ – ๖ ปบี รบิ ูรณ์ สามารถนามาจัดเป็นกจิ กรรมประจาวันได้หลายรปู แบบเปน็ การ ชว่ ยใหค้ รูผู้สอนหรอื ผ้จู ดั ประสบการณท์ ราบว่าแตล่ ะวนั จะทากิจกรรมอะไร เม่ือใด และอยา่ งไร ท้ังนี้ การจัดกิจกรรม ประจาวันสามารถจดั ได้หลายรูปแบบ ขนึ้ อยู่กับความเหมาะสมในการนาไปใช้ของแตล่ ะหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่ สาคญั ครผู ู้สอนต้องคานึงถงึ การจดั กจิ กรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านการจัดกิจกรรมประจาวนั มีหลักการจัด และขอบข่ายกจิ กรรมประจาวัน ดงั น้ี ๓.๑ หลักการจัดกจิ กรรมประจาวนั ๑. กาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกับวัยของเดก็ ในแตล่ ะวันแต่ ยดื หยนุ่ ได้ตามความต้องการและความสนใจของเด็ก เช่น วัย ๓-๔ ปี มคี วามสนใจช่วงส้นั ประมาณ ๘-๑๒ นาที วยั ๔ – ๕ ปี มคี วามสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๒-๑๕ นาที วัย ๕-๖ ปี มคี วามสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที ๒. กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดท้ังในกลุ่มเล็กและกล่มุ ใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกนิ กว่า ๒๐ นาที

๗๗ ๓. กิจกรรมทเ่ี ดก็ มีอิสระเลือกเลน่ เสรี เพ่อื ชว่ ยให้เดก็ รู้จักเลือกตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ เช่น การเลน่ ตามมมุ การเล่นกลางแจง้ ฯลฯ ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที ๔. กิจกรรมควรมคี วามสมดลุ ระหวา่ งกิจกรรมในหอ้ งและนอกห้อง กจิ กรรมท่ีใชก้ ล้ามเน้ือใหญแ่ ละ กลา้ มเน้อื เล็ก กิจกรรมทเ่ี ปน็ รายบุคคล กลมุ่ ย่อยและกลมุ่ ใหญ่ กจิ กรรมทเ่ี ด็กเปน็ ผูร้ ิเริม่ และครูผสู้ อนหรือผู้จัด ประสบการณ์เปน็ ผู้ริเร่มิ และกิจกรรมท่ีใชก้ าลงั และไมใ่ ชก้ าลงั จดั ให้ครบทุกประเภท ท้ังนี้ กิจกรรมท่ีต้องออกกาลัง กายควรจัดสลับกบั กจิ กรรมท่ีไมต่ ้องออกกาลงั มากนัก เพ่ือเดก็ จะไดไ้ มเ่ หนอ่ื ยเกินไป ๓.๒ ขอบขา่ ยของกิจกรรมประจาวัน การเลอื กกจิ กรรมท่ีจะนามาจัดในแต่ละวันสามารถจดั ไดห้ ลายรปู แบบ ท้ังนี้ ข้นึ อยกู่ ับความเหมาะสมในการ นาไปใชข้ องแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ทส่ี าคญั ครูผูส้ อนต้องคานึกถึงการจดั กิจกรรมใหค้ รอบคลุมพัฒนาการ ทุกด้าน ดงั ต่อไปนี้ ๓.๒.๑ การพัฒนากลา้ มเน้ือใหญ่ เปน็ การพัฒนาความแขง็ แรง การทรงตัว ความยืดหยนุ่ ความ คล่องแคลว่ ในการใช้อวยั วะต่าง ๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ โดยจัดกจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ อสิ ระกลางแจง้ เล่นเคร่ืองเล่นสนาม ปีนปุายเล่นอิสระ เคลือ่ นไหวรา่ งกายตามจังหวะดนตรี ๓.๒.๒ การพัฒนาการกล้ามเน้อื เลก็ เปน็ การพัฒนาความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อเลก็ กลา้ มเนอื้ มือ- นิ้วมอื การประสานสัมพันธ์ระหวา่ งกลา้ มเน้ือมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสมั พันธ์ โดย จัดกจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ เครื่องสมั ผสั เล่นเกมการศึกษา ฝึกชว่ ยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจับชอ้ นสอ้ ม และใช้ อปุ กรณ์ศลิ ปะ เชน่ สีเทียน กรรไกร พู่กัน ดนิ เหนียว ฯลฯ ๓.๒.๓ การพฒั นาการอารมณ์ จติ ใจ และปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ การปลกู ฝังใหเ้ ด็กมี ความรูส้ กึ ทด่ี ีต่อตนเองและผู้อน่ื มคี วามเชื่อมั่น กลา้ แสดงออก มีวนิ ัย รับผิดชอบ ซอื่ สตั ย์ ประหยัด เมตตากรุณา เออื้ เฟ้ือ แบง่ ปัน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาที่นับถือโดยจัดกิจกรรมต่างๆ ผา่ นการเล่นให้ เดก็ ได้มโี อกาสตัดสินใจเลอื ก ได้รบั การตอบสนองตาความต้องการไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั โิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอย่าง ตอ่ เน่อื ง ๓.๒.๔ การพฒั นาสงั คมนสิ ัย เปน็ การพัฒนาใหเ้ ดก็ มลี ักษณะนสิ ยั ทด่ี ี แสดงออกอยา่ งเหมาะสมและ อย่รู ว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้อย่างมีความสขุ ชว่ ยเหลอื ตนเองในการทากจิ วตั รประจาวันมนี ิสยั รักการทางาน ระมัดระวงั ความ ปลอดภัยของตนเองและผู้อนื่ โดยรวมทงั้ ระมดั ระวังอันตรายจากคนแปลกหน้า ใหเ้ ด็กได้ปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาวนั อยา่ ง สมา่ เสมอ เช่น รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทาความสะอาดร่างกาย เล่นและทางานรว่ มกบั ผ้อู ื่น ปฏิบัตติ ามกฎกติกาข้อตกลงของรว่ มรวม เกบ็ ของเข้าท่ีเมอ่ื เล่นหรือทางานเสรจ็ ๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เปน็ การพฒั นาใหเ้ ด็กมีความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาความ คิดรวบ ยอดทางคณติ ศาสตร์ และคดิ เชิงเหตุผลทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรโ์ ดยจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กไดส้ นทนา อภปิ ราย และเปลีย่ นความคิดเหน็ เชญิ วทิ ยากรมาพดู คุยกบั เดก็ ศกึ ษานอกสถานที่ เลน่ เกมการศึกษา ฝกึ การแกป้ ัญหาใน ชวี ติ ประจาวนั ฝึกออกแบบและสรา้ งชิน้ งาน และทากจิ กรรมทง้ั เป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่และรายบุคคล ๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เปน็ การพัฒนาให้เดก็ ใชภ้ าษาส่ือสารถ่ายทอดความรู้สกึ นึกคดิ ความรู้ ความเขา้ ใจในสง่ิ ตา่ งๆ ท่ีเด็กมปี ระสบการณโ์ ดยสามารถตั้งคาถามในสงิ่ ท่ีสงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มคี วาม หลากหลายในสภาพแวดลอ้ มท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ มงุ่ ปลูกฝังใหเ้ ด็กได้กลา้ แสดงออกในการฟัง พดู อ่าน เขยี น มีนิสยั รัก การอา่ น และบุคคลแวดล้อมตอ้ งเปน็ แบบอย่างทีด่ ีในการใช้ภาษา ทั้งน้ตี อ้ งคานกึ ถงึ หลักการจดั กิจกรรมทางภาษาที่ เหมาะสมกบั เด็กเป็นสาคัญ

๗๘ ๓.๒.๗ การสง่ เสริมจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ เปน็ การส่งเสริมใหเ้ ด็กมคี วามคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ไดถ้ ่ายทอดอารมณค์ วามร้สู กึ และเห็นความสวยงามของสงิ่ ตา่ งๆ โดยจดั กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรคด์ นตรี การเคลอ่ื นไหวและจงั หวะตามจินตนาการ ประดษิ ฐ์สิง่ ต่างๆ อยา่ งอิสระ เลน่ บทบาทสมมุติ เลน่ น้า เลน่ ทราย เลน่ บลอ็ ก และเล่นกอ่ สร้าง การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ การจัดสภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษา มคี วามสาคัญตอ่ เดก็ เน่ืองจากธรรมชาติของเด็กในวยั นีส้ นใจท่ีจะเรียนรู้ คน้ คว้า ทดลอง และต้องการสัมผสั กับส่ิงแวดล้อมรอบๆตัว ดังนัน้ การจัดเตรยี มส่ิงแวดล้อมอยา่ งเหมาะสมตามความ ตอ้ งการของเดก็ จงึ มีความสาคญั ทีเ่ กี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนร้จู ากการเลน่ ที่ เป็น ประสบการณ์ตรงท่เี กิดจากการรบั รดู้ ว้ ยประสาทสมั ผัสทง้ั ห้าจึงจาเปน็ ต้องจัดสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาให้ สอดคล้องกับสภาพ และความตอ้ งการของหลกั สูตร เพอ่ื ส่งผลให้บรรลจุ ดุ หมายในการพัฒนาเดก็ การจดั สภาพแวดล้อมคานงึ ถึงสิง่ ต่อไปน้ี ๑.ความสะอาด ความปลอดภยั ๒.ความมีอิสระอยา่ งมขี อบเขตในการเลน่ ๓.ความสะดวกในการทากิจกรรม ๔.ความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น หอ้ งเรยี น ห้องน้าห้องสว้ ม สนามเด็กเลน่ ฯลฯ ๕.ความเพยี งพอเหมาะสมในเรอื่ งขนาด น้าหนัก จานวน สีของสื่อและเครอื่ งเล่น ๖.บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจัดทเ่ี ลน่ และมุมประสบการณ์ตา่ ง ๆ สภาพแวดล้อมภายในห้องเรยี น หลกั สาคญั ในการจดั ตอ้ งคานึงถงึ ความปลอดภยั ความสะอาด เปาู หมายการพัฒนาเด็ก ความเปน็ ระเบยี บ ความเป็นตวั ของเด็กเอง ใหเ้ ด็กเกดิ ความรูส้ ึกอบอุ่น มน่ั ใจ และมีความสุข ซ่ึงอาจจดั แบ่งพื้นท่ีใหเ้ หมาะสมกับการ ประกอบกจิ กรรมตามหลักสูตร ดงั น้ี ๑. พืน้ ท่ีอานวยความสะดวกเพ่อื เดก็ และผู้สอน ๑.๑ ท่ีแสดงผลงานของเด็ก อาจจัดเป็นแผน่ ปาู ย หรือทแี่ ขวนผลงาน ๑.๒ ท่เี ก็บแฟมู ผลงานของเด็ก อาจจัดทาเป็นกล่องหรอื จัดใสแ่ ฟูมรายบุคคล ๑.๓ ทเี่ ก็บเครื่องใช้สว่ นตัวของเด็ก อาจทาเปน็ ช่องตามจานวนเดก็ ๑.๔ ท่ีเกบ็ เคร่อื งใช้ของผู้สอน เช่น อุปกรณ์การสอน ของสว่ นตัวผู้สอน ฯลฯ ๑.๕ ปูายนเิ ทศตามหน่วยการสอนหรือสง่ิ ที่เด็กสนใจ ๒. พ้ืนทป่ี ฏบิ ัติกจิ กรรมและการเคลอ่ื นไหว ต้องกาหนดใหช้ ดั เจน ควรมพี ื้นที่ทเ่ี ด็กสามารถจะทางานได้ดว้ ย ตนเอง และทากิจกรรมด้วยกันในกลมุ่ เล็ก หรือกลมุ่ ใหญ่ เดก็ สามารถเคลอื่ นไหวได้อย่างอิสระจากกิจกรรมหน่ึงไปยัง กจิ กรรมหนึง่ โดยไม่รบกวนผู้อ่ืน ๓. พ้นื ทจ่ี ัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ สามารถจัดได้ตามความเหมาะสมขึน้ อยู่กับสภาพของห้องเรยี น จดั แยกส่วนทีใ่ ช้เสียงดงั และเงียบออกจากกนั เช่น มุมบลอ็ กอยหู่ ่างจากมุมหนงั สือ มมุ บทบาทสมมติอย่ตู ดิ กับมมุ บล็อก มมุ วทิ ยาศาสตร์อยูใ่ กล้มมุ ศิลปะฯ ลฯ ท่ีสาคญั จะต้องมีของเลน่ วสั ดอุ ุปกรณ์ในมมุ อยา่ งเพียงพอต่อการเรียนรู้ของเดก็ การเล่นในมุมเล่นอย่างเสรี มกั ถูกกาหนดไว้ในตารางกจิ กรรมประจาวัน เพื่อให้ โอกาสเดก็ ได้เลน่ อย่างเสรีประมาณวันละ ๖๐ นาทกี ารจดั มุมเล่นตา่ งๆ ผสู้ อนควรคานึงถงึ สงิ่ ต่อไปน้ี ๓.๑ ในห้องเรยี นควรมมี มุ เล่นอยา่ งน้อย ๓-๕ มมุ ทั้งนข้ี น้ึ อย่กู ับพนื้ ที่ของห้อง ๓.๒ ควรไดม้ ีการผลดั เปลีย่ นสื่อของเลน่ ตามมุมบ้าง ตามความสนใจของเด็ก

๗๙ ๓.๓ ควรจดั ใหม้ ปี ระสบการณ์ทีเ่ ดก็ ไดเ้ รยี นรู้ไปแล้วปรากฏอยใู่ นมุมเลน่ เชน่ เดก็ เรยี นรู้เรื่องผเี สือ้ ผสู้ อนอาจจัดให้มีการจาลองการเกดิ ผีเส้อื ล่องไวใ้ หเ้ ด็กดูในมมุ ธรรมชาติศกึ ษาหรอื มุมวทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ ๓.๔ ควรเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กมสี ่วนร่วมในการจดั มมุ เลน่ ทง้ั นเ้ี พ่ือจงู ใจให้เดก็ รู้สึกเปน็ เจ้าของ อยากเรียนรู้ อยากเข้าเล่น ๓.๕ ควรเสริมสร้างวนิ ยั ใหก้ บั เด็ก โดยมขี ้อตกลงรว่ มกันว่าเม่อื เลน่ เสร็จแล้วจะต้องจัดเกบ็ อุปกรณ์ทุก อย่างเข้าทีใ่ หเ้ รียบร้อยสภาพแวดลอ้ มนอกหอ้ งเรียน คอื การจัดสภาพแวดล้อมภายในอาณาบรเิ วณรอบ ๆ สถานศึกษา รวมท้ังจดั สนามเด็กเลน่ พร้อมเครื่องเล่นสนาม จัดระวงั รักษาความปลอดภยั ภายในบริเวณสถานศึกษาและ บริเวณรอบนอกสถานศกึ ษา ดูแลรกั ษาความสะอาด ปลกู ตน้ ไม้ให้ความรม่ รื่นรอบๆบริเวณสถานศกึ ษา สิ่งต่างๆ เหลา่ นี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ที่ส่งผลตอ่ การเรยี นรูแ้ ละพัฒนาการของเดก็ บริเวณสนามเดก็ เลน่ ต้องจดั ให้สอดคล้องกบั หลกั สตู ร ดังน้ี สนามเดก็ เล่น มพี ้ืนผิวหลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญา้ พนื้ ทีส่ าหรับเล่นของเล่นที่มีล้อ รวมทงั้ ท่ี รม่ ท่ีโล่งแจ้ง พนื้ ดินสาหรบั ขุด ทเ่ี ล่นนา้ บ่อทราย พรอ้ มอุปกรณ์ประกอบการเล่น เคร่ืองเล่นสนามสาหรับ ปนี ปาุ ย ทรงตวั ฯลฯ ทั้งน้ีต้องไมต่ ดิ กบั บรเิ วณที่มอี ันตราย ตอ้ งหมั่นตรวจตราเครอื่ งเล่นให้อยู่ในสภาพแข็งแรง ปลอดภยั อย่เู สมอ และหม่นั ดูแลเรอื่ งความสะอาด ทนี่ ัง่ เล่นพักผ่อน จดั ทนี่ งั่ ไวใ้ ต้ต้นไม้มรี ่มเงา อาจใชก้ จิ กรรมกลุ่มยอ่ ย ๆ หรือกจิ กรรมท่ีตอ้ งการความ สงบ หรืออาจจัดเปน็ ลานนิทรรศการใหค้ วามรูแ้ ก่เด็กและผปู้ กครองบริเวณธรรมชาติ ปลูกไมด้ อก ไมป้ ระดับ พชื ผกั สวนครวั หากบริเวณสถานศกึ ษา มไี ม่มากนัก อาจปลูกพชื ในกระบะหรอื กระถาง สื่อและแหล่งเรียนรู้ ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั ทง้ั ทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ควร มีสื่อทงั้ ท่ีเป็นประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มติ ิ ทเ่ี ป็นสือ่ ของจริง สอื่ ธรรมชาติ ส่อื ทอ่ี ย่ใู กล้ตวั เด็ก สื่อสะท้อน วฒั นธรรม ส่อื ทป่ี ลอดภัยต่อตัวเดก็ ส่ือเพ่ือพฒั นาเดก็ ในด้านตา่ งๆใหค้ รบทุกด้านสอ่ื ท่เี อื้อให้เดก็ เรียนร้ผู ่านประสาท สมั ผสั ท้ังห้า โดยการจัดการใชส้ ื่อเร่ิมต้นจาก สื่อของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงรา่ ง และ สัญลักษณ์ ทง้ั น้ีการใชส้ ือ่ ตอ้ งเหมาะสมกบั วยั วฒุ ภิ าวะ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กที่หลากหลาย ตัวอยา่ งสอ่ื ประกอบการจัดกิจกรรม มีดงั น้ี กจิ กรรมเสรี /การเล่นตามมุม ๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเปน็ มมุ เล่น ดงั นี้ ๑.๑ มุมบ้าน  ของเลน่ เครอ่ื งใช้ในครวั ขนาดเล็ก หรอื ของจาลอง เชน่ เตา กระทะ ครก กาน้า เขยี ง มดี พลาสตกิ หม้อ จาน ช้อน ถว้ ยชาม กะละมงั ฯลฯ  เครื่องเลน่ ตุ๊กตา เสอื้ ผ้าตกุ๊ ตา เตียง เปลเด็ก ต๊กุ ตา  เคร่อื งแตง่ บา้ นจาลอง เชน่ ชุดรบั แขก โตะ๊ เคร่ืองแปูง หมอนองิ กระจกขนาดเห็นเต็มตวั หวี ตลบั แปูง ฯลฯ  เครอ่ื งแต่งกายบุคคลอาชีพตา่ ง ๆ ทใี่ ช้แลว้ เช่น ชุดเครื่องแบบทหาร ตารวจ ชดุ เสื้อผ้าผูใ้ หญช่ ายและหญิง รองเทา้ กระเปา๋ ถือที่ไม่ใชแ้ ลว้ ฯลฯ  โทรศัพท์ เตารีดจาลอง ท่รี ีดผ้าจาลอง  ภาพถ่ายและรายการอาหาร ๑.๒ มุมหมอ

๘๐ - เครอื่ งเลน่ จาลองแบบเคร่ืองมือแพทยแ์ ละอุปกรณ์การรักษาผูป้ ุวย เชน่ หูฟงั เสือ้ คลุมหมอ ฯลฯ  อุปกรณ์สาหรับเลียนแบบการบันทึกข้อมลู ผู้ปวุ ย เช่น กระดาษ ดินสอ ฯลฯ ๑.๓ มมุ ร้านค้า  กล่องและขวดผลติ ภัณฑ์ต่างๆทใี่ ชแ้ ลว้  อุปกรณ์ประกอบการเลน่ เชน่ เคร่ืองคดิ เลข ลกู คิด ธนบตั รจาลอง ฯลฯ ๒. มุมบล็อก  ไม้บลอ็ กหรือแท่งไม้ทีม่ ีขนาดและรูปทรงต่างๆกัน จานวนต้ังแต่ ๕๐ ชิ้นขนึ้ ไป  ของเลน่ จาลอง เช่น รถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ คน สตั ว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ  ภาพถ่ายต่างๆ - ทจ่ี ัดเก็บไมบ้ ล็อกหรือแทง่ ไม้อาจเป็นชนั้ ลังไม้หรือพลาสติก แยกตามรปู ทรง ขนาด ๓. มมุ หนังสอื  หนังสือภาพนทิ าน สมดุ ภาพ หนงั สือภาพที่มีคาและประโยคสนั้ ๆพร้อมภาพ  ชน้ั หรอื ท่วี างหนงั สือ  อปุ กรณ์ต่าง ๆ ท่ใี ชใ้ นการสรา้ งบรรยากาศการอา่ น เชน่ เส่ือ พรม หมอน ฯลฯ  สมุดเซ็นยืมหนงั สือกลบั บ้าน  อุปกรณส์ าหรบั การเขียน  อปุ กรณ์เสรมิ เช่น เครอื่ งเล่นเทป ตลับเทปนทิ านพร้อมหนงั สอื นทิ าน หูฟงั ฯลฯ ๔. มุมวทิ ยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาตศิ ึกษา  วสั ดุต่าง ๆ จากธรรมชาติ เชน่ เมล็ดพืชตา่ ง ๆ เปลือกหอย ดนิ หนิ แร่ ฯลฯ  เครือ่ งมือเคร่อื งใช้ในการสารวจ สงั เกต ทดลอง เชน่ แว่นขยาย แม่เหล็ก เขม็ ทิศ เครื่องช่ัง ฯลฯ ๕.มมุ อาเซียน  ธงของแต่ละประเทศในกลมุ่ ประเทศอาเซียน  คากลา่ วทักทายของแต่ละประเทศ  ภาพการแต่งกายประจาชาติในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ควรมีวสั ดุ อุปกรณ์ ดงั นี้ ๑. การวาดภาพและระบายสี - สีเทียนแทง่ ใหญ่ สไี ม้ สชี อล์ก สีน้า - พ่กู ันขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ ) - กระดาษ - เส้ือคลุม หรอื ผา้ กันเปื้อน ๒. การเลน่ กับสี  การเปุาสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีนา้  การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กนั สีนา้  การพบั สี มี กระดาษ สนี า้ พู่กัน  การเทสี มี กระดาษ สีนา้  การละเลงสี มี กระดาษ สนี า้ แปงู เปียก

๘๑ ๓. การพมิ พ์ภาพ  แม่พิมพ์ต่าง ๆ จากของจรงิ เช่น นิ้วมอื ใบไม้ ก้านกลว้ ย ฯลฯ  แม่พิมพ์จากวสั ดุอน่ื ๆ เช่น เชอื ก เส้นด้าย ตรายาง ฯลฯ  กระดาษ ผา้ เชด็ มอื สีโปสเตอร์ (สนี ้า สีฝุน ฯลฯ) ๔.การปน้ั เช่น ดินนา้ มัน ดนิ เหนยี ว แปูงโดว์ แผน่ รองปน้ั แมพ่ ิมพ์รูปตา่ ง ๆ ไม้นวดแปูง ฯลฯ ๕.การพับ ฉกี ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวสั ดุอื่นๆทจี่ ะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก ปลายมน กาวนา้ หรือแปูงเปยี ก ผา้ เช็ดมอื ฯลฯ ๖. การประดิษฐ์เศษวสั ดุ เช่น เศษวสั ดตุ ่าง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผ้า เศษไหม กาว กรรไกร สี ผา้ เชด็ มือ ฯลฯ ๗. การร้อย เชน่ ลกู ปัด หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ ๘.การสาน เชน่ กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ ๙. การเล่นพลาสติกสรา้ งสรรค์ พลาสตกิ ชิ้นเลก็ ๆ รูปทรงต่าง ๆ ผ้เู ล่นสามารถนามาตอ่ เปน็ รูปแบบตา่ ง ๆ ตามความต้องการ ๑๐.การสรา้ งรูป เชน่ จากกระดานปักหมดุ จากแปนู ตะปูท่ใี ช้หนงั ยางหรอื เชือก ผกู ดึงใหเ้ ปน็ รปู รา่ งต่าง ๆ เกมการศกึ ษา ตัวอย่างสื่อประเภทเกมการศึกษามดี ังน้ี ๑. เกมจับคู่  จับคู่รูปรา่ งท่เี หมือนกัน  จับคูภ่ าพเงา  จับค่ภู าพที่ซ่อนอย่ใู นภาพหลัก  จบั ค่สู ิง่ ทม่ี คี วามสัมพนั ธ์กัน สิ่งท่ีใชค้ กู่ ัน  จับคู่ภาพส่วนเตม็ กบั สว่ นย่อย  จับคภู่ าพกับโครงร่าง  จับคู่ภาพชนิ้ ส่วนทหี่ ายไป  จบั คู่ภาพที่เป็นประเภทเดียวกนั  จบั คภู่ าพท่ซี ่อนกัน  จบั คภู่ าพสมั พนั ธ์แบบตรงกนั ข้าม  จับคู่ภาพทส่ี มมาตรกัน  จับคูแ่ บบอปุ มาอปุ ไมย  จบั คู่แบบอนุกรม ๒. เกมภาพตดั ตอ่  ภาพตดั ต่อทส่ี มั พันธก์ ับหน่วยการเรยี นต่าง ๆ เชน่ ผลไม้ ผัก ฯลฯ ๓. เกมจดั หมวดหมู่  ภาพสง่ิ ตา่ ง ๆ ทีน่ ามาจดั เปน็ พวก ๆ  ภาพเก่ียวกบั ประเภทของใช้ในชวี ิตประจาวัน  ภาพจดั หมวดหม่ตู ามรปู ร่าง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณิต ๔. เกมวางภาพต่อปลาย (โดมโิ น)  โดมิโนภาพเหมือน  โดมิโนภาพสัมพันธ์ ๕. เกมเรยี งลาดบั  เรยี งลาดับภาพเหตกุ ารณ์ต่อเนอื่ ง

๘๒  เรียงลาดบั ขนาด ๖. เกมศกึ ษารายละเอียดของภาพ (ล็อตโต้) ๗. เกมจบั คู่แบบตารางสัมพันธ์ (เมตรกิ เกม) ๘. เกมพื้นฐานการบวก กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ /กจิ กรรมในวงกลม ตัวอย่างส่ือมีดงั นี้ ๑.ส่ือของจรงิ ท่ีอยใู่ กลต้ ัวและสื่อจากธรรมชาติหรือวสั ดทุ ้องถิ่น เชน่ ตน้ ไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เส้ือผา้ ฯลฯ ๒. ส่อื ทีจ่ าลองข้ึน เชน่ ลูกโลก ตกุ๊ ตาสตั ว์ ฯลฯ ๓. สื่อประเภทภาพ เชน่ ภาพพลิก ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ ๔. ส่อื เทคโนโลยี เช่น วทิ ยุ เคร่ืองบันทกึ เสียง เคร่ืองขยายเสยี ง โทรศัพท์ กิจกรรมกลางแจง้ ตวั อย่างสื่อมดี ังน้ี ๑. เครื่องเลน่ สนาม เช่น เคร่อื งเล่นสาหรบั ปีนปาุ ย เครื่องเล่นประเภทลอ้ เลอื่ น ฯลฯ ๒. ทีเ่ ลน่ ทราย มที รายละเอียด เครอ่ื งเล่นทราย เครอื่ งตวง ฯลฯ ๓. ทเี่ ลน่ นา้ มีภาชนะใสน่ ้าหรืออ่างนา้ วางบนขาตั้งที่มัน่ คง ความสูงพอที่เด็กจะยนื ได้พอดี เสื้อคลุมหรือผ้า กนั เปอ้ื นพลาสติก อปุ กรณ์เล่นนา้ เชน่ ถ้วยตวง ขวดต่างๆ สายยาง กรวยกรอกน้า ตุก๊ ตายาง ฯลฯ กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ ตัวอยา่ งส่ือมดี ังน้ี ๑. เคร่อื งเคาะจังหวะ เชน่ ฉงิ่ เหลก็ สามเหลี่ยม กรับ รามะนา กลอง ฯลฯอุปกรณ์ประกอบการ เคลอ่ื นไหว เช่น หนังสอื พมิ พ์ ริบบิน้ แถบผา้ ห่วง ๒. หวาย ถงุ ทราย ฯลฯ การเลือกส่ือ มวี ธิ กี ารเลือกส่ือ ดงั นี้ ๑. เลอื กใหต้ รงกับจุดมุ่งหมายและเร่อื งท่ีสอน ๒. เลือกใหเ้ หมาะสมกบั วัยและความสามารถของเด็ก ๓. เลอื กให้เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มของท้องถ่ินที่เด็กอย่หู รือสถานภาพของสถานศึกษา ๔. มวี ิธีการใช้ง่าย และนาไปใชไ้ ด้หลายกิจกรรม ๕. มีความถกู ต้องตามเนอ้ื หาและทนั สมัย ๖. มีคุณภาพดี เชน่ ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใช้สีสะทอ้ นแสง ๗. เลอื กส่อื ทเ่ี ด็กเขา้ ใจงา่ ยในเวลาสั้น ๆ ไม่ซบั ซอ้ น ๘. เลอื กสื่อทีส่ ามารถสมั ผสั ได้ ๙. เลอื กส่ือเพ่ือใชฝ้ ึก และส่งเสรมิ การคิดเป็น ทาเป็น และกล้าแสดงความคิดเหน็ ด้วยความม่ันใจ การจัดหาสอื่ สามารถจดั หาไดห้ ลายวิธี คือ ๑. จดั หาโดยการขอยมื จากแหลง่ ตา่ งๆ เช่น ศนู ยส์ ่อื ของสถานศกึ ษาของรฐั บาล หรือ สถานศึกษา เอกชน ฯลฯ ๒.จดั ซ้อื สอ่ื และเคร่อื งเลน่ โดยวางแผนการจัดซ้ือตามลาดบั ความจาเปน็ เพื่อใหส้ อดคล้องกับงบประมาณที่ทาง สถานศึกษาสามารถจดั สรรให้และสอดคล้องกับแผนการจัดประสบการณ์ ๓.ผลิตสอื่ และเคร่ืองเล่นข้นึ ใช้เองโดยใช้วัสดทุ ี่ปลอดภัยและหางา่ ยเปน็ เศษวสั ดเุ หลือใช้ ท่ีมีอยู่ในทอ้ งถ่นิ นัน้ ๆ เชน่ กระดาษแขง็ จากลังกระดาษ รูปภาพจากแผ่นปาู ยโฆษณา รปู ภาพจากหนังสือนิตยสารต่าง ๆ เป็นตน้

๘๓ ขั้นตอนการดาเนินการผลติ สือ่ สาหรบั เด็ก มีดงั นี้ ๑. สารวจความต้องการของการใช้สือ่ ให้ตรงกบั จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้และกจิ กรรมทจ่ี ัด ๒. วางแผนการผลติ โดยกาหนดจุดมงุ่ หมายและรูปแบบของสอ่ื ให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเดก็ สื่อน้นั จะต้องมีความคงทนแข็งแรง ประณตี และสะดวกตอ่ การใช้ ๓. ผลิตส่ือตามรปู แบบที่เตรยี มไว้ ๔. นาส่ือไปทดลองใชห้ ลาย ๆ คร้ังเพื่อหาข้อดี ข้อเสียจะได้ปรับปรุงแก้ไขใหด้ ีย่ิงขึ้น ๕. นาส่อื ทป่ี รับปรงุ แก้ไขแล้วไปใช้จรงิ การใช้ส่อื ดาเนนิ การดังน้ี ๑.การเตรียมพร้อมกอ่ นใช้สื่อ มขี ั้นตอน คอื ๑.๑ เตรียมตัวผสู้ อน  ผู้สอนจะตอ้ งศึกษาจดุ มงุ่ หมายและวางแผนวา่ จะจดั กิจกรรมอะไรบา้ ง  เตรยี มจัดหาสื่อและศึกษาวธิ กี ารใชส้ ื่อ  จัดเตรียมสอ่ื และวัสดอุ ืน่ ๆ ทจี่ ะต้องใช้รว่ มกนั  ทดลองใชส้ ื่อกอ่ นนาไปใช้จรงิ ๑.๒ เตรยี มตวั เดก็  ศึกษาความร้พู ้นื ฐานเดมิ ของเดก็ ให้สัมพันธ์กบั เรอ่ื งทจ่ี ะสอน  เร้าความสนใจเด็กโดยใช้สอื่ ประกอบการเรียนการสอน  ให้เด็กมีความรับผิดชอบ ร้จู ักใชส้ ือ่ อย่างสรา้ งสรรค์ ไม่ใช่ทาลาย เล่นแล้วเก็บให้ถูกที่ ๑.๓ เตรยี มสอ่ื ให้พรอ้ มก่อนนาไปใช้  จดั ลาดับการใชส้ อื่ ว่าจะใช้อะไรก่อนหรือหลงั เพอ่ื ความสะดวกในการสอน  ตรวจสอบและเตรยี มเครอื่ งมือใหพ้ ร้อมที่จะใช้ได้ทันที  เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับสื่อ ๒.การนาเสนอสอื่ เพ่ือให้บรรลุผลโดยเฉพาะใน กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ / กิจกรรมวงกลม / กิจกรรมกล่มุ ย่อย ควรปฏบิ ัติ ดังนี้ ๒.๑ สร้างความพร้อมและเร้าความสนใจใหเ้ ด็กก่อนจดั กจิ กรรมทุกครัง้ ๒.๒ ใชส้ ่ือตามลาดับข้ันของแผนการจดั กจิ กรรมท่ีกาหนดไว้ ๒.๓ ไม่ควรให้เด็กเหน็ ส่ือหลายๆชนดิ พรอ้ มๆกัน เพราะจะทาให้เดก็ ไมส่ นใจ กจิ กรรมทีส่ อน ๒.๔ ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรอื ดา้ นหลงั ของส่ือท่ีใช้กบั เดก็ ผ้สู อนไม่ควรยนื หนั หลงั ใหเ้ ดก็ จะต้องพูดคยุ กบั เด็กและสงั เกตความสนใจ ของเดก็ พร้อมทัง้ สารวจขอ้ บกพร่องของส่อื ที่ใช้ เพื่อนาไปปรบั ปรุงแก้ไข ให้ดีขึ้น ๒.๕เปิดโอกาสให้เดก็ ได้รว่ มใช้ส่อื

๘๔ ขอ้ ควรระวังในการใช้ส่ือการเรยี นการสอน การใชส้ ื่อในระดบั ปฐมวยั ควรระวังในเร่ืองตอ่ ไปนี้ ๑.วสั ดุทีใ่ ช้ ต้องไม่มีพษิ ไม่หัก และแตกงา่ ย มีพื้นผิวเรียบ ไม่เปน็ เสย้ี น ๒.ขนาด ไม่ควรมขี นาดใหญ่เกนิ ไป เพราะยากต่อการหยบิ ยก อาจจะตกลงมา เสียหาย แตก เปน็ อนั ตรายต่อเดก็ หรือใชไ้ มส่ ะดวก เชน่ กรรไกรขนาดใหญ่ โตะ๊ เก้าอี้ที่ใหญ่ และสูงเกนิ ไป และไม่ควรมีขนาดเลก็ เกินไป เด็กอาจจะนาไปอมหรือกลนื ทาใหต้ ิดคอหรือ ไหลลงท้องได้ เชน่ ลูกปดั เล็ก ลกู แก้วเล็ก ฯลฯ ๓. รูปทรง ไมเ่ ป็นรปู ทรงแหลม รูปทรงเหล่ียม เป็นสนั ๔. น้าหนัก ไม่ควรมนี ้าหนักมาก เพราะเด็กยกหรือหยบิ ไม่ไหว อาจจะตกลงมาเป็นอันตรายต่อตัวเด็ก ๕. ส่ือหลีกเล่ยี งสอื่ ที่เป็นอนั ตรายตอ่ ตัวเด็ก เชน่ สารเคมี วัตถไุ วไฟ ฯลฯ ๖. สี หลีกเล่ียงสที ีเ่ ปน็ อนั ตรายต่อสายตา เช่น สีสะทอ้ นแสง ฯลฯ การประเมนิ การใชส้ อ่ื ควรพจิ ารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้สอน เดก็ และสอื่ เพอ่ื จะได้ทราบวา่ ส่อื นั้นช่วยใหเ้ ด็กเรยี นรู้ ได้มากน้อยเพียงใด จะได้นามาปรับปรงุ การผลติ และการใช้สื่อใหด้ ีย่งิ ข้นึ โดยใช้วิธสี งั เกต ดังนี้ ๑. สอ่ื นน้ั ช่วยใหเ้ ดก็ เกดิ การเรียนรเู้ พียงใด ๒. เด็กชอบสอ่ื นน้ั เพยี งใด ๓. ส่อื น้ันชว่ ยให้การสอนตรงกบั จุดประสงค์หรือไม่ ถูกตอ้ งตามสาระการเรยี นรูแ้ ละทันสมัยหรือไม่ ๔. สือ่ นนั้ ช่วยใหเ้ ดก็ สนใจมากนอ้ ยเพียงใด เพราะเหตุใด การเก็บ รกั ษา และซ่อมแซมสื่อ การจดั เกบ็ ส่ือเป็นการสง่ เสริมให้เดก็ ฝกึ การสังเกต การเปรยี บเทยี บ การจดั กลุ่ม สง่ เสรมิ ความรับผดิ ชอบ ความมีน้าใจ ชว่ ยเหลอื ผูส้ อนไม่ควรใช้การเกบ็ สื่อเปน็ การลงโทษเดก็ โดยดาเนินการดังนี้ ๑. เก็บสอ่ื ใหเ้ ป็นระเบยี บและเป็นหมวดหม่ตู ามลักษณะประเภทของส่ือ สื่อทเ่ี หมือนกนั จัดเกบ็ หรือจัดวางไว้ ด้วยกัน ๒. วางสอ่ื ในระดับสายตาของเดก็ เพ่ือให้เด็กหยบิ ใช้ จัดเก็บไดด้ ว้ ยตนเอง ๓. ภาชนะท่ีจดั เก็บสอื่ ควรโปร่งใส เพอื่ ใหเ้ ด็กมองเห็นสง่ิ ท่ีอยูภ่ ายในได้ง่ายและควรมมี ือจับเพอ่ื ใหส้ ะดวกใน การขนย้าย ๔. ฝกึ ใหเ้ ด็กรู้ความหมายของรปู ภาพหรอื สีทเี่ ปน็ สญั ลกั ษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทส่ือ เพ่ือเด็กจะไดเ้ ก็บเขา้ ที่ไดถ้ ูกต้อง การใชส้ ัญลักษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนรขู้ องเด็ก สญั ลักษณ์ควรใช้ส่ือของจรงิ ภาพถ่ายหรือสาเนา ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบตั รคาตดิ คู่กับสญั ลกั ษณ์อย่างใดอย่างหน่ึง ๕.ตรวจสอบสอ่ื หลงั จากทใ่ี ชแ้ ลว้ ทุกครั้งว่ามีสภาพสมบรู ณ์ จานวนครบถว้ นหรือไม่ ๖. ซ่อมแซมส่ือชารุด และทาเตมิ ส่วนทีข่ าดหายไปใหค้ รบชุด การพัฒนาสอ่ื การพฒั นาสื่อเพ่ือใชป้ ระกอบการจัดกจิ กรรมในระดับปฐมวัยน้นั กอ่ นอ่ืนควรได้สารวจข้อมลู สภาพปัญหา ตา่ งๆของสอื่ ทุกประเภททีใ่ ช้อย่วู า่ มีอะไรบ้างท่ีจะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพื่อจะไดป้ รับเปลย่ี นใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการ แนวทางการพัฒนาสือ่ ควรมีลกั ษณะเฉพาะ ดังน้ี ๑. ปรบั ปรุงส่อื ให้ทันสมัยเขา้ กบั เหตกุ ารณ์ ใชไ้ ด้สะดวก ไม่ซบั ซ้อนเกินไป เหมาะสมกับวัย ของเด็ก ๒. รกั ษาความสะอาดของส่ือ ถ้าเป็นวสั ดทุ ล่ี ้างนา้ ได้ เมื่อใชแ้ ลว้ ควรได้ลา้ งเชด็ หรือ ปดั ฝุนให้สะอาด เก็บไว้ เป็นหมวดหมู่ วางเปน็ ระเบยี บหยิบใช้งา่ ย

๘๕ ๓. ถ้าเปน็ ส่ือทผี่ สู้ อนผลติ ขน้ึ มาใช้เองและผ่านการทดลองใชม้ าแลว้ ควรเขยี นคมู่ ือประกอบการใช้สื่อนั้น โดยบอกชื่อสื่อ ประโยชน์และวธิ ใี ชส้ ่อื รวมทั้งจานวนชิ้นสว่ นของสื่อในชดุ นน้ั และเกบ็ คู่มือไวใ้ นซองหรือถุง พร้อมส่ือ ท่ีผลติ ๔. พฒั นาสอื่ ที่สรา้ งสรรค์ ใช้ได้เอนกประสงค์ คือ เป็นได้ท้ังส่อื เสริมพัฒนาการ และเป็นของเลน่ สนุกสนานเพลิดเพลิน แหลง่ การเรยี นรู้ โรงเรยี นบา้ นมาบลาบดิ ( สงา่ อทุ ศิ ) ไดแ้ บง่ ประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ ได้ดังน้ี ๑. แหล่งเรยี นร้ปู ระเภทบุคคล ไดแ้ ก่ วิทยากรหรือผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะดา้ น ทีจ่ ัดหามาเพือ่ ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจอย่างกระจา่ งแก่เด็กโดยสอดคล้องกบั เน้อื หาสาระการเรียนรตู้ ่างๆ ได้แก่ - กานนั ตาบลคลองกวิ่ - ผู้ใหญบ่ ้านหมู่ ๗ - นายก อบต. คลองก่วิ - เจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข - พระสงฆ์ - พอ่ คา้ – แม่คา้ - เจ้าหน้าทต่ี ารวจ - ผ้ปู กครอง - ชา่ งตดั ผม / ชา่ งเสริมสวย - ครู - ภารโรง - ฯลฯ ๒. แหลง่ เรยี นรู้ภายในชมุ ชน ได้แก่ แหล่งขอ้ มลู หรือแหล่งวิทยาการตา่ งๆ ทีอ่ ยู่ในชุมชน มคี วามสัมพนั ธ์กับเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณชี ่วยให้เดก็ สามารถเชื่อมโยงโลกภายในและโลกภายนอก (inner world & outer world) ได้ และสอดคล้องกับวถิ ีการดาเนินชีวิตของเด็กปฐมวยั ได้แก่ - หอ้ งสมดุ โรงเรยี นเชีย่ วสกุล - ห้องวิทยาศาสตรป์ ฐมวยั - วัดราษฎรเ์ รอื งสุข(มาบลาบิด ) - สถานีอนามัยเฉลิมพระเกยี รติ - ปูอมตารวจ - ร้านคา้ ในหมูบ่ ้าน - ร้านตดั ผมชาย-หญงิ ๓. สถานทีส่ าคญั ต่างๆ ได้แก่ แหล่งความร้สู าคญั ต่างๆ ท่เี ด็กใหค้ วามสนใจ ได้แก่ - วดั ราษฎรเ์ รอื งสุข ( มาบลาบดิ ) - ไร่อ้อย , ไร่มัน - โรงงาน - สวนผกั ชาวบา้ น - สวนมะพร้าว - ปุาไม้ ภูเขา ทะเล นา้ ตก - สวนสตั ว์ - ฯลฯ

๘๖ การประเมนิ พัฒนาการ การประเมินพฒั นาการเดก็ อายุ ๓ – ๖ ปี เปน็ การประเมนิ พัฒนาการทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญาของเด็ก โดยถือเปน็ กระบวนการตอ่ ตนเอง และเป็น ส่วนหนง่ึ ของกิจกรรมปกติท่ี,จดั ให้ เด็กในแตล่ ะวนั ผลทไ่ี ด้จากการสงั เกตพฒั นาการเด็กต้องนามาจัดทาสารนิทัศน์หรือจัดทาข้อมูลหลักฐานหรือเอกสาร อย่างเปน็ ระบบ ดว้ ยการวบรวมผลงานสาหรบั เดก็ เปน็ รายบคุ คลท่ีสามารถบอกเร่ืองราวหรอื ประสบการณท์ ่เี ด็กไดร้ บั ว่าเด็กเกดิ การเรียนรแู้ ละมคี วามกา้ วหนา้ เพยี งใด ทั้งน้ี ให้นาข้อมูลผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ มาพิจารณา ปรบั ปรุง วางแผล การจดั กิจกรรม และสง่ เสริมให้เดก็ แต่ละคนไดร้ บั การพัฒนาตามจดุ หมายของหลกั สตู รอยา่ งต่อเนื่อง การ ประเมินพัฒนาการควรยดึ หลัก ดงั น้ี ๑. วางแผนการประเมนิ พัฒนาการอย่างเป็นระบบ ๒. ประเมินพฒั นาการเด็กครบทุกด้าน ๓. ประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบคุ คลอย่างสม่าเสมอต่อเน่ืองตลอดปี ๔. ประเมินพฒั นาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจาวนั ดว้ ยเคร่ืองมอื และวิธกี ารท่ีหลากหลาย ไม่ควรใช้ แบบทดสอบ ๕. สรุปผลการประเมิน จัดทาขอ้ มูลและนาผลการประเมินไปใชพ้ ัฒนาเด็ก สาหรับวิธกี ารประเมินทเ่ี หมาะสมและควรใชก้ บั เด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบนั ทกึ พฤตกิ รรม การสนทนากับเดก็ การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานเดก็ ทเ่ี กบ็ อย่างมีระบบ ประเภทของการประเมินพฒั นาการ การพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ของเด็ก ประกอบดว้ ย ๑) วตั ถปุ ระสงค์ (Obejetive) ซ่งึ ตามหลกั สูตร การศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช....หมายถงึ จุดหมายซึง่ เป็นมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตัวบ่งชแ้ี ละสภาพที่พึง ประสงค์ ๒) การจดั ประสบการณการเรียนรู้ (Leanning) ซ่ึงเป็นกระบวนการได้มาของความรู้หรือทกั ษะผา่ นการ กระทาสิ่งต่างๆทส่ี าคญั ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั กาหนดให้หรอื ทีเ่ รยี กว่า ประสบการณ์สาคัญ ในการชว่ ยอธิบาย ให้ครูเขา้ ใจถงึ ประสบการณ์ที่เด็กปฐมวยั ต้องทาเพ่อื เรียนรู้ส่งิ ต่างๆรอบตวั และช่วยแนะผ้สู อนในการสังเกต สนบั สนนุ และวางแผนการจดั กิจกรรมใหเ้ ดก็ และ ๓) การประเมนิ ผล(Evaluation) เพ่อื ตรวจสอบพฤติกรรมหรอื ความสามารถ ตามวยั ทีค่ าดหวังใหเ้ ด็กเกิดขึ้นบนพื้นฐานพัฒนาการตามวัยหรอื ความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดบั อายุ เรยี กว่า สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ท่ีใช้เปน็ เกณฑส์ าคัญสาหรบั การประเมินพฒั นาการเดก็ เป็นเปาู หมายและกรอบทิศทาง ในการพัฒนาคุณภาพเด็กท้ังน้ีประเภทของการประเมนิ พัฒนาการ อาจแบ่งไดเ้ ป็น ๒ ลักษณะ คือ ๑) แบง่ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ การแบ่งตามวัตถุประสงคข์ องการประเมนิ แบง่ ได้ ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑.๑) การประเมินความก้าวหนา้ ของเด็ก (Formative Evaluation) หรอื การประเมนิ เพือ่ พัฒนา (Formative Assessment) หรอื การประเมินเพอ่ื เรียน (Assessment for Learning) เป็นการประเมินระหวา่ งการ จัดระสบการณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมลู เกีย่ วกับผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในระหวา่ งทากจิ กรรมประจาวัน/ กิจวัตรประจาวันปกติอยา่ งต่อเนื่อง บนั ทึก วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมลู แล้วนามาใช้ในการสง่ เสรมิ หรือปรบั ปรุง แก้ไขการเรยี นรู้ของเด็ก และการจัดประสบการณ์การเรยี นรูข้ องผ้สู อน การประเมนิ พัฒนาการกับการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ของผู้สอนจึงเป็นเรอ่ื งที่สมั พันธก์ นั หากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดการจดั ประสบการณ์การเรียนรกู้ ็ขาด ประสทิ ธภิ าพ เปน็ การประเมินผลเพ่ือให้ร้จู ดุ เดน่ จุดทคี่ วรส่งเสริม ผ้สู อนตอ้ งใชว้ ิธกี ารและเครื่องมือประเมิน พฒั นาการที่หลากหลาย เชน่ การสังเกต การสมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงานทแ่ี สดงออกถึงความกา้ วหน้าแต่ละดา้ น

๘๗ ของเด็กเปน็ รายบุคคล การใช้แฟูมสะสมงาน เพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปของประเดน็ ท่ีกาหนด สง่ิ ท่ีสาคญั ทสี่ ดุ ในการประเมิน ความก้าวหน้าคือ การจัดประสบการณใ์ ห้กับเดก็ ในลักษณะการเชอ่ื มโยงประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณ์ใหมท่ าให้ การเรียนรขู้ องเดก็ เพิ่มพูน ปรับเปลยี่ นความคิด ความเข้าใจเดมิ ท่ไี ม่ถูกตอ้ ง ตลอดจนการใหเ้ ดก็ สามารถพัฒนาการ เรยี นรขู้ องตนเองได้ ๑.๒) การประเมินผลสรปุ (Summatie Evaluation) หรอื การประเมินเพื่อตดั สินผลพฒั นาการ (Summatie Assessment) หรือการประเมินสรปุ ผลของการเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็นการประเมนิ สรปุ พฒั นาการ เพอ่ื ตดั สนิ พัฒนาการของเด็กว่ามคี วามพร้อมตามมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของหลักสตู ร การศกึ ษาปฐมวยั หรือไม่ เพือ่ เป็นการเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวยั กบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ดังนัน้ ผู้สอนจงึ ควรใหค้ วามสาคญั กับการประเมินความกา้ วหน้าของเด็กในระดับหอ้ งเรียนมากกว่าการ ประเมนิ เพอ่ื ตัดสินผลพัฒนาการของเด็กเม่ือส้นิ ภาคเรยี นหรือสิน้ ปีการศึกษา ๒) แบ่งตามระดับของการประเมิน การแบ่งตามระดบั ของการประเมิน แบ่งไดเ้ ป็น ๒ ประเภท ๒.๑) การประเมนิ พัฒนาการระดับชนั้ เรยี น เปน็ การประเมินพัฒนาการท่ีอยูใ่ นกระบวนการจัด ประสบการณ์การเรยี นรู้ ผูส้ อนดาเนนิ การเพอ่ื พัฒนาเด็กและตดั สนิ ผลการพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา จากกจิ กรรมหลกั /หนว่ ยการเรยี นร(ู้ Unit) ท่ีผู้สอนจัดประสบการณ์ใหก้ บั เด็ก ผู้สอนประเมนิ ผล พฒั นาการตามสภาพที่พึงประสงคแ์ ละตวั บ่งชีท้ ีก่ าหนดเป็นเปูาหมายในแตล่ ะแผนการจัดประสบการณ์ของหนว่ ยการ เรยี นรูด้ ้วยวธิ ีตา่ งๆ เช่น การสงั เกต การสนทนา การสมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงานทแี่ สดงออกถึงความก้าวหนา้ แต่ ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล การแสดงกรยิ าอาการต่างๆของเด็กตลอดเวลาทจี่ ัดประสบการณ์เรยี นรู้ เพ่ือตรวจสอบ และประเมนิ ว่าเดก็ บรรลตุ ามสภาพท่พี ึงประสงค์ละตวั บง่ ช้ี หรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลสุ ภาพท่ีพึงประสงค์และตวั บง่ ชี้ เพียงใด แล้วแกไ้ ขข้อบกพร่องเป็นระยะๆอยา่ งตอ่ เน่ือง ทงั้ นี้ ผสู้ อนควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการวา่ เด็กมผี ลอัน เกิดจากการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้หรือไม่ และมากน้อยเพยี งใด โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือรวบรวมหรือสะสมผลการ ประเมนิ พัฒนาการในกจิ กรรมประจาวัน/กจิ วัตรประจาวนั /หน่วยการเรยี นรู้ หรือผลตามรปู แบบการประเมิน พฒั นาการที่สถานศึกษากาหนด เพื่อนามาเป็นข้อมลู ใชป้ รังปรุงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และเปน็ ข้อมูลในการ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาในระดบั สถานศึกษาตอ่ ไปอีกด้วย ๒.๒) การประเมนิ พฒั นาการระดบั สถานศกึ ษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมินพัฒนาการของเด็กเป็น รายบุคคลเปน็ รายภาค/รายปี เพ่ือให้ได้ข้อมูลเกย่ี วกบั การจัดการศึกษาของเด็กในระดับปฐมวยั ของสถานศึกษาวา่ สง่ ผลตาการเรยี นรูข้ องเด็กตามเปูาหมายหรือไม่ เด็กมสี งิ่ ท่ีต้องการได้รบั การพฒั นาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผล การประเมนิ พัฒนาการของเด็กในระดับสถานศึกษาไปเป็นข้อมูลและสารสนเทศในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวยั โครงการหรือวิธกี ารจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ตลอดจนการจัดแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ของ สถานศึกษาตามแผนการประกนั คุณภาพการศกึ ษาและการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพเดก็ ตอ่ ผู้ปกครอง นาเสนอ คณะกรรมการถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานรบั ทราบ ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธรณชน ชุมชน หรือหนว่ ยงานตน้ สังกดั หรอื หน่วยงานต้นสังกดั หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องต่อไป อน่ึง สาหรบั การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ในระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาหรือระดบั ประเทศนนั้ หากเขต พ้ืนทีก่ ารศึกษาใดมีความพรอ้ ม อาจมีการดาเนินงานในลักษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเดก็ ปฐมวัยเข้ารบั การประเมนิ กไ็ ด้ ทงั้ น้ี การประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ขอให้ถอื ปฏบิ ัตติ ามหลักการการประเมนิ พัฒนาการตามหลกั สูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

๘๘ บทบาทหน้าที่ของผ้เู กยี่ วข้องในการดาเนนิ งานประเมินพัฒนาการ การดาเนนิ งานประเมนิ พัฒนาการของสถานศึกษานั้น ตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวข้องเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการ ประเมินพฒั นาการและรว่ มรับผิดชอบอยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาแต่ละขนาด ดังนี้ ผู้ปฏิบตั ิ บทบาทหนา้ ท่ีในการประเมินพฒั นาการ ผู้สอน ๑. ศกึ ษาหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั และแนวการปฏิบตั ิการประเมนิ พฒั นาการตาม หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ๒. วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการประเมนิ พฒั นาการทส่ี อดคลอ้ งกบั หน่วยการเรยี นรู้/กจิ กรรม ประจาวนั /กิจวัตรประจาวัน ๓. จดั ประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทึกผลการประจาวัน/ กจิ วตั รประจาวนั ๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมนิ เม่ือส้นิ ภาคเรียน และสน้ิ ปกี ารศึกษา ๕. สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการระดบั ชั้นเรยี นลงในสมุดบันทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการ ประจาชน้ั ๖. จัดทาสมุดรายงานประจาตวั นกั เรียน ๗. เสนอผลการประเมนิ พฒั นาการต่อผู้บริหารสถานศึกษาลงนามอนมุ ัติ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ๑.กาหนดผรู้ ับผดิ ชอบงานประเมนิ พัฒนาการตามหลักสูตร และวางแนวทางปฏบิ ัติการ ประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๒. นิเทศ กากับ ตดิ ตามใหก้ ารดาเนินการประเมนิ พัฒนาการใหบ้ รรลุเปาู หมาย ๓. นาผลการประเมินพฒั นาการไปจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งานกาหนดนโยบายและ วางแผนพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัย พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ๑. ให้ความรว่ มมือกับผสู้ อนในการประเมินพฤติกรรมของเดก็ ทส่ี งั เกตไดจ้ ากที่บา้ นเพ่ือเป็น ข้อมลู ประกอบการแปลผลท่ีเทย่ี งตรงของผู้สอน ๒. รับทราบผลการประเมินของเดก็ และสะท้อนให้ข้อมูลย้อนกลบั ที่เป็นประโยชนใ์ นการ สง่ เสริมและพฒั นาเด็กในปกครองของตนเอง ๓. ร่วมกับผูส้ อนในการจัดประสบการณห์ รือเปน็ วิทยากรท้องถ่ิน คณะกรรมการ ๑. ใหค้ วามเห็นชอบและประกาศใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั และแนวปฏบิ ัตใิ นการ สถานศกึ ษาขนั้ ประเมินพัฒนาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พ้นื ฐาน ๒. รับทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ เพื่อการประกันคุณภาพภายใน

๘๙ ผ้ปู ฏิบตั ิ บทบาทหนา้ ท่ีในการประเมนิ พัฒนาการ สานักงานเขตพืน้ ที่ ๑. สง่ เสรมิ การจัดทาเอกสารหลกั ฐานว่าด้วยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ของ การศึกษา สถานศึกษา ๒. ส่งเสริมให้ผสู้ อนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในแนวปฏิบตั กิ ารประเมนิ พฒั นาการตามมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคต์ ามหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั ตลอดจนความเข้าใจในเทคนิควธิ ีการประเมินพฒั นาการในรปู แบบตา่ งๆโดยเน้นการ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ๓. ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาพฒั นาเคร่อื งมอื พฒั นาการตามมาตรฐานคุณลักษณะที่ พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยและการจดั เกบ็ เอกสารหลักฐานการศึกษาอย่าง เป็นระบบ ๔. ให้คาปรกึ ษา แนะนาเก่ียวกบั การประเมนิ พฒั นาการและการจัดทาเอกสารหลกั ฐาน ๕. จัดใหม้ กี ารประเมินพฒั นาการเดก็ ทีด่ าเนินการโดยเขตพื้นทีก่ ารศึกษาหรือหนว่ ยงานต้น สังกดั และให้ความร่วมมือในการประเมินพัฒนาการระดับประเทศ แนวปฏิบตั ิการประเมนิ พฒั นาการ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยั เป็นกิจกรรมท่สี อดแทรกอยู่ในการจัดประสบการณ์ทุกขนั้ ตอนโดยเร่ิม ตงั้ แตก่ ารประเมินพฤติกรรมของเดก็ ก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเดก็ ขณะปฏิบัติกจิ กรรม และ การประเมินพฤตกิ รรมเดก็ เมื่อสิ้นสุดการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ท้ังน้ี พฤติกรรมการเรยี นรู้และพัฒนาการดา้ นตา่ งๆ ของเด็ก ทไ่ี ดร้ ับการประเมินน้นั ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ตวั บ่งช้ี และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ของ หลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ที่ผ้สู อนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมินพัฒนาการจงึ เปน็ เครอื่ งมือสาคัญทจี่ ะ ชว่ ยให้การเรียนรู้ของเด็กบรรลุตามเปาู หมายเพ่ือนาผลการประเมินไปปรบั ปรุง พัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ และใช้เป็นข้อมูลสาหรับการพัฒนาเดก็ ต่อไป สถานศึกษาควรมีกระบวนการประเมนิ พัฒนาการและการจัดการอยา่ ง เป็นระบบสรุปผลการประเมินพฒั นาการท่ตี รงตามความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมทีแ่ ท้จริงของเด็ก สอดคล้องตามหลักการประเมินพฒั นาการ รวมทั้งสะท้อนการดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา อยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง แนวปฏิบัติการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยของสถานศกึ ษา มีดงั น้ี ๑. หลกั การสาคัญของการดาเนินการประเมินพฒั นาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สถานศึกษาที่จดั การศึกษาปฐมวัยควรคานึงถงึ หลักสาคญั ของการดาเนนิ งานการประเมนิ พัฒนาการตาม หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สาหรับเด็กปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดังนี้ ๑.๑ ผสู้ อนเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยั โดยเปดิ โอกาสให้ผทู้ ี่เก่ยี วขอ้ งมีส่วนรว่ ม ๑.๒ การประเมินพฒั นาการ มีจดุ มุง่ หมายของการประเมินเพื่อพฒั นาความก้าวหน้าของเดก็ และสรปุ ผลการ ประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ๑.๓ การประเมนิ พฒั นาการต้องมีความสอดคลอ้ งและครอบคลุมมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์แตล่ ะวัยซ่ึงกาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ๑.๔ การประเมินพฒั นาการเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ต้องดาเนินการด้วย เทคนิควิธกี ารทีห่ ลากหลาย เพอ่ื ให้สามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้อย่างรอบด้านสมดุลทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา รวมท้งั ระดบั อายขุ องเด็ก โดยต้ังอยู่บนพนื้ ฐานของความเที่ยงตรง ยตุ ธิ รรมและเชื่อถือได้

๙๐ ๑.๕ การประเมนิ พฒั นาการพิจารณาจากพัฒนาการตามวยั ของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรแู้ ละการ ร่วมกจิ กรรม ควบคู่ไปในกระบวนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับอายุ และรปู แบบ การจัดการศกึ ษา และต้องดาเนนิ การประเมนิ อยา่ งตอ่ เน่ือง ๑.๖ การประเมนิ พฒั นาการต้องเปิดโอกาสใหผ้ มู้ สี ว่ นเก่ียวข้องทุกฝาุ ยได้สะท้อนและตรวจสอบผลการ ประเมนิ พฒั นาการ ๑.๗ สถานศึกษาควรจดั ทาเอกสารบันทกึ ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ในระดับชน้ั เรยี นและ ระดบั สถานศึกษา เชน่ แบบบันทึกการประเมนิ พัฒนาการตามหน่วยการจดั ประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมน พฒั นาการประจาช้นั เพื่อเป็นหลกั ฐานการประเมินและรายงานผลพฒั นาการและสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน เพื่อ เปน็ การสือ่ สารข้อมลู การพัฒนาการเด็กระหวา่ งสถานศึกษากับบา้ น ๒. ขอบเขตของการประเมินพัฒนาการ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ได้กาหนดเปาู หมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั เปน็ มาตรฐาน คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ซึง่ ถือเปน็ คุณภาพลกั ษณะที่พงึ ประสงคท์ ี่ต้องการใหเ้ กดิ ขึ้นตวั เดก็ เม่ือจบหลักสตู รการศึกษา ปฐมวัย คณุ ลกั ษณะท่รี ะบุไว้ในมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคถ์ ือเปน็ สงิ่ จาเปน็ สาหรับเดก็ ทุกคน ดงั น้ัน สถานศึกษาและหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องมีหนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบในการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาเด็กให้มีคณุ ภาพ มาตรฐานทีพ่ ึงประสงค์กาหนด ถอื เป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการขับเคลอื่ นและพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั แนวคิด ดังกล่าวอยบู่ นฐานความเชอ่ื ที่ว่าเดก็ ทุกคนสามารถพัฒนาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมได้ ขอบเขตของการประเมิน พัฒนาการประกอบด้วย ๒.๑ สง่ิ ทจ่ี ะประเมนิ ๒.๒ วธิ ีและเครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ ๒.๓ เกณฑก์ ารประเมินพัฒนาการ ๒.๑ ส่งิ ท่ีจะประเมิน การประเมินพัฒนาการสาหรับเดก็ อายุ ๓-๖ ปี มเี ปาู หมายสาคัญคือ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ จานวน ๑๒ ข้อ ดังน้ี ๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมสี ุขนสิ ยั ที่ดี มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเน้ือใหญ่และกล้ามเน้ือเลก็ แข็งแรงใชไ้ ด้อย่างคล่องแคลว่ และประสานสัมพนั ธ์ กนั ๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ มาตรฐานที่ ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมจี ติ ใจท่ดี ีงาม ๓. พฒั นาการด้านสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ๔. พัฒนาการด้านสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกบั วัย

๙๑ มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่ีเปน็ พน้ื ฐานในการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการเรยี นรูแ้ ละมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกับ วยั สงิ่ ทจี่ ะประเมินพฒั นาการของเด็กปฐมวยั แต่ละด้าน มดี งั น้ี ด้านร่างกาย ประกอบด้วย การประเมินการมนี า้ หนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามยั สขุ นิสยั ที่ดี การ รู้จกั รักษาความปลอดภยั การเคล่อื นไหวและการทรงตัว การเลน่ และการออกกาลงั กาย และการใชม้ ืออย่าง คลอ่ งแคล่วประสานสมั พันธ์กัน ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมนิ ความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับ วัยและสถานการณ์ ความรสู้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื มีความรสู้ กึ เห็นอกเหน็ ใจผ้อู นื่ ความสนใจ/ความสามารถ/และมี ความสุขในการทางานศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว ความรับผิดชอบในการทางาน ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ และรู้สึก ถกู ผดิ ความเมตตากรุณา มีน้าใจและช่วยเหลือแบง่ ปัน ตลอดจนการประหยดั อดออม และพอเพยี ง ด้านสังคม ประกอบดว้ ย การประเมนิ ความมีวนิ ยั ในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิกจิ วตั ร ประจาวัน การระวังภัยจากคนแปลกหนา้ และสถานการณ์ทีเ่ สี่ยงอันตราย การดแู ลรักษาธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม การมีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเปน็ ไทย การยอมรับความเหมอื นและความแตกตา่ ง ระหว่างบุคคล การมีสมั พันธท์ ี่ดีกับผู้อื่น การปฏิบัตติ นเบื้องต้นในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ด้านสติปญั ญา ประกอบด้วย การประเมนิ ความสามารถในการสนทนาโตต้ อบและเล่าเรื่องให้ผูอ้ นื่ เข้าใจ ความสามารถในการอ่าน เขียนภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแกป้ ญั หา คิดเชงิ เหตผุ ล คิดรวบยอด การ เล่น/การทางานศลิ ปะ/การแสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรคข์ องตนเอง การมเี จตคติที่ ดีตอ่ การเรยี นรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้ ๒.๒ วธิ ีการและเครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมินพฒั นาการ การประเมินพฒั นาการเดก็ แต่ละคร้ังควรใชว้ ิธกี ารประเมินอยา่ งหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบรู ณท์ ่ีสดุ วธิ กี ารทเี่ หมาะสมและนิยมใชใ้ นการประเมินเด็กปฐมวยั มีด้วยกันหลายวธิ ี ดังต่อไปนี้ ๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสงั เกตอยา่ งมีระบบ ได้แก่ การสงั เกตอยา่ งมี จุดมุ่งหมายที่แน่นอนตามแผนท่ีวางไว้ และอกี แบบหนึ่งคือ การสงั เกตแบบไมเ่ ป็นทางการ เปน็ การสังเกตในขณะท่ี เดก็ ทากจิ กรรมประจาวันและเกิดพฤติกรรมท่ไี มค่ าดคดิ ว่าจะเกดิ ข้ึนและผู้สอนจดบันทึกไว้การสงั เกตเป็นวธิ กี ารที่ ผ้สู อนใช้ในการศึกษาพฒั นาการของเด็ก เม่ือมีการสงั เกตก็ตอ้ งมีการบันทึก ผ้สู อนควรทราบวา่ จะบนั ทึกอะไรการ บนั ทึกพฤตกิ รรมมคี วามสาคัญอยา่ งย่งิ ที่ตอ้ งทาอยา่ งสม่าเสมอ เนอ่ื งจากเด็กเจริญเติบโตและเปลยี่ นแปลงอย่าง รวดเรว็ จงึ ต้องนามาบนั ทึกเป็นหลกั ฐานไวอ้ ยา่ งชดั เจน การสงั เกตและการบนั ทึกพัฒนาการเดก็ สามารถใช้แบบงา่ ยๆ คอื ๑.๑ แบบบันทกึ พฤตกิ รรม ใช้บันทกึ เหตุการณ์เฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผบู้ ันทกึ ต้อง บันทกึ วัน เดอื น ปเี กิดของเด็ก และวัน เดอื น ปี ท่ีทาการบันทกึ แต่ละคร้ัง ๑.๒ การบันทึกรายวนั เปน็ การบนั ทึกเหตุการณ์หรือประสบการณ์หรอื ประสบการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ ในช้นั เรยี น ทกุ วนั ถ้าหากบนั ทกึ ในรปู แบบของการบรรยายก็มกั จะเนน้ เฉพาะเดก็ รายที่ต้องการศกึ ษา ข้อดขี องการบันทึกรายวัน คอื การชใี้ หเ้ หน็ ความสามารถเฉพาะอยา่ งของเด็ก จะชว่ ยกระตุน้ ให้ผู้สอนได้พิจารณาปัญหาของเด็กเปน็ รายบุคคล ชว่ ยให้ผ้เู ชียวชาญมขี ้อมูลมากขึ้นสาหรบั วินจิ ฉัยเด็กวา่ สมควรจะได้รับคาปรกึ ษาเพ่ือลดปัญหาและส่งเสรมิ พัฒนาการ ของเด็กได้อย่างถกู ตอ้ ง นอกจากนนั้ ยังช่วยชใ้ี หเ้ ห็นข้อเสียของการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ได้เปน็ อย่างดี ๑.๓ แบบสารวจรายการ ช่วยใหส้ ามารถวเิ คราะห์เด็กแตล่ ะคนได้ค่อนข้างละเอยี ด

๙๒ ๒. การสนทนา สามารถใช้การสนทนาไดท้ ้ังเป็นกลุ่มหรือรายบคุ คล เพ่ือประเมนิ ความสามารถในการแสดง ความคดิ เห็น และพัฒนาการด้านภาษาของเด็กและบนั ทกึ ผลการสนทนาลงในแบบบนั ทึกพฤติกรรมหรือบันทึกรายวัน ๓. การสมั ภาษณ์ ด้วยวธิ ีพูดคยุ กบั เด็กเปน็ รายบุคคลและควรจดั ในสภาวะแวดลอ้ มเหมาะสมเพือ่ ไม่ให้เกิด ความเครียดและวติ กกังวล ผู้สอนควรใชค้ าถามทเ่ี หมาะสมเปิดโอกาสใหเ้ ด็กได้คดิ และตอบอย่างอิสระจะทาใหผ้ สู้ อน สามารถประเมินความสามารถทางสตปิ ัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศกั ยภาพในตวั เดก็ ได้โดยบนั ทึกข้อมูลลงใน แบบสมั ภาษณ์ การเตรียมการก่อนการสัมภาษณ์ ผสู้ อนควรปฏิบัติ ดงั น้ี - กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์ - กาหนดคาพดู /คาถามท่ีจะพดู กับเด็ก ควรเป็นคาถามที่เด็กสามารถตอบโตห้ ลากหลาย ไม่ผดิ /ถกู การปฏิบตั ขิ ณะสมั ภาษณ์ - ผสู้ อนควรสรา้ งความคุน้ เคยเปน็ กันเอง - ผูส้ อนควรสร้างสภาพแวดลอ้ มทีอ่ บอนุ่ ไมเ่ คร่งเครียด - ผสู้ อนควรเปดิ โอกาสเวลาใหเ้ ด็กมีโอกาสคดิ และตอบคาถามอยา่ งอิสระ - ระยะเวลาสัมภาษณ์ไม่ควรเกิน ๑๐-๒๐ นาที ๔. การรวบรวมผลงานท่ีแสดงออกถึงความก้าวหนา้ แตล่ ะดา้ นของเดก็ เปน็ รายบุคคล โดยจดั เก็บรวบรวม ไวใ้ นแฟูมผลงาน (portfolio) ซึ่งเป็นวิธรี วบรวมและจัดระบบข้อมลู ต่างๆทเ่ี กีย่ วกับตัวเดก็ โดยใช้เคร่ืองมือตา่ งๆ รวบรวมเอาไว้อยา่ งมจี ุดมุ่งหมายที่ชดั เจน แสดงการเปลีย่ นแปลงของพัฒนาการแตล่ ะด้าน นอกจากนี้ยงั รวมเคร่ืองมือ อนื่ ๆ เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบบันทึกสขุ ภาพอนามัย ฯลฯ เอาไว้ในแฟมู ผลงาน เพ่ือ ผสู้ อนจะได้ข้อมลู เก่ียวกบั ตัวเด็กอย่างชัดเจนและถูกต้อง การเกบ็ ผลงานของเด็กจะไมถ่ ือว่าเป็นการประเมินผลถา้ งาน แต่ละช้นิ ถกู รวบรวมไวโ้ ดยไม่ไดร้ บั การประเมนิ จากผสู้ อนและไม่มีการนาผลมาปรบั ปรุงพฒั นาเดก็ หรือปรับปรุงการ สอนของผสู้ อน ดงั น้ันจงึ เปน็ แตก่ ารสะสมผลงานเทา่ นน้ั เช่นแฟูมผลงานขีดเขียน งานศิลปะ จะเป็นเพียงแค่แฟมู ผลงานท่ไี มม่ ีการประเมิน แฟูมผลงานนจ้ี ะเปน็ เครื่องมอื การประเมินต่อเน่ืองเมื่องานที่สะสมแต่ละช้ินถูกใช้ในการบ่ง บอกความกา้ วหน้า ความต้องการของเดก็ และเปน็ การเก็บสะสมอยา่ งต่อเนื่องที่สร้างสรรค์โดยผสู้ อนและเด็ก ผู้สอนสามารถใชแ้ ฟมู ผลงานอยา่ งมีคุณค่าส่อื สารกับผู้ปกครองเพราะการเกบ็ ผลงานเด็กอยา่ งต่อเนอ่ื งและ สมา่ เสมอในแฟูมผลงานเปน็ ข้อมูลใหผ้ ้ปู กครองสามารถเปรียบเทียบความกา้ วหน้าทล่ี ูกของตนมีเพ่ิมขนึ้ จากผลงาน ช้ินแรกกบั ชิ้นต่อๆมาข้อมลู ในแฟูมผลงานประกอบด้วย ตัวอยา่ งผลงานการเขยี ดเขยี น การอ่าน และขอ้ มลู บาง ประการของเดก็ ทีผ่ ู้สอนเป็นผู้บนั ทึก เช่นจานวนเล่มของหนังสือทเ่ี ด็กอ่าน ความถ่ีของการเลอื กอ่านท่มี ุมหนังสอื ใน ชว่ งเวลาเลอื กเสรี การเปลี่ยนแปลงอารมณ์ ทศั นคติ เป็นต้น ขอ้ มูลเหล่าน้ีจะสะท้อนภาพของความงอกงามในเดก็ แต่ ละคนไดช้ ัดเจนกวา่ การประเมินโดยการให้เกรด ผสู้ อนจะต้องชีแ้ จงใหผ้ ้ปู กครองทราบถึงท่มี าของการเลือกช้ินงานแต่ ละช้ินงานที่สะสมในแฟูมผลงาน เชน่ เป็นช้ินงานท่ดี ีท่สี ดุ ในช่วงระยะเวลาท่เี ลอื กชนิ้ งานนนั้ เป็นชิน้ งานทีแ่ สดงความ ตอ่ เนื่องของงานโครงการ ฯลฯ ผู้สอนควรเชิญผู้ปกครองมามีสว่ นรว่ มในการคดั สรรช้นิ งานที่บรรจุลงในแฟูมผลงาน ของเด็ก ๕. การประเมนิ การเจรญิ เติบโตของเดก็ ตัวชี้ของการเจริญเติบโตในเดก็ ที่ใช้ท่วั ๆไป ได้แก่ นา้ หนัก ส่วนสูง เส้นรอบศรี ษะ ฟนั และการเจรญิ เตบิ โตของกระดูก แนวทางประเมินการเจริญเตบิ โต มีดังนี้ ๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการชั่งน้าหนักและวัดสว่ นสงู เดก็ แล้วนาไปเปรียบเทยี บกับเกณฑป์ กติ ในกราฟแสดงน้าหนักตามเกณฑอ์ ายุกระทรวงสาธารณสขุ ซึ่งใช้สาหรับติดตามการเจรญิ เติบโตโดยรวม วิธีการใช้ กราฟมีขัน้ ตอน ดังน้ี เม่อื ช่งั นา้ หนกั เดก็ แล้ว นานา้ หนักมาจดุ เครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอา่ นการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ โดยดูเคร่อื งหมายกากบาทวา่ อยู่ในแถบสีใด อา่ นข้อความบนแถบสนี ้ัน ซง่ึ แบง่ ภาวะโภชนาการเปน็ ๓ กลุม่ คือ

๙๓ นา้ หนักทอี่ ยู่ในเกณฑ์ปกติ นา้ หนกั มากเกนเกณฑ์ นา้ หนักน้อยกวา่ เกณฑ์ ข้อควรระวังสาหรบั ผ้ปู กครองและผู้สอนคือ ควรดูแลนา้ หนักเดก็ อยา่ งใหแ้ บ่งเบนออกจากเส้นประเมนิ มิเช่นนนั้ เด็กมีโอกาสนา้ หนักมากเกนิ เกณฑ์หรือน้าหนกั น้อย กวา่ เกณฑ์ได้ ขอ้ ควรคานึงในการประเมนิ การเจริญเติบโตของเดก็ -เดก็ แตล่ ะคนมคี วามแตกต่างกนั ในด้านการเจริญเติบโต บางคนรปู ร่างอ้วน บางคนชว่ งครง่ึ หลังของ ขวบปีแรก น้าหนักเด็กจะขึน้ ชา้ เนอื่ งจากหว่ งเลน่ มากขนึ้ และความอยากอาหารลดลง รา่ งใหญ่ บางคนร่างเล็ก -ภาวะโภชนาการเป็นตวั สาคัญที่เกยี่ วข้องกับขนาดของรูปร่าง แต่ไม่ใช่สาเหตเุ ดยี ว -กรรมพันธุ์ เดก็ อาจมรี ูปร่างเหมอื นพ่อแม่คนใดคนหนง่ึ ถา้ พอ่ หรือแม่เต้ีย ลูกอาจเต้ยี และพวกนี้อาจ มีนา้ หนักต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ยได้และมักจะเป็นเดก็ ที่ทานอาหารไดน้ ้อย ๕.๒ การตรวจสขุ ภาพอนามยั เปน็ ตัวช้ีวดั คุณภาพของเด็ก โดยพิจารณาความสะอาดสง่ิ ปกติขอรา่ งกายที่จะ สง่ ผลต่อการดาเนินชวี ิตและการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ซึ่งจะประเมินสขุ ภาพอนามัย ๙ รายการคือ ผมและศรี ษะ หูและ ใบหู มอื และเลบ็ มือ เท้าและเลบ็ เทา้ ปาก ล้นิ และฟนั จมกู ตา ผิวหนังและใบหนา้ และเสือ้ ผา้ ๒.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ พัฒนาการ การสร้างเกณฑ์หรือพฒั นาเกณฑ์หรือกาหนดเกณฑ์การประเมินพฒั นาการของเดก็ ปฐมวัย ผูส้ อนควรให้ ความสนใจในสว่ นท่ีเกย่ี วข้อ ดงั น้ี ๑. การวางแผนการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเปน็ ระบบ เชน่ จะสงั เกตเด็กคนใดบ้างในแตล่ ะวนั กาหนด พฤติกรรมทีส่ ังเกตใหช้ ัดเจน จดั ทาตารางกาหนดการสงั เกตเด็กเปน็ รายบคุ คล รายกลมุ่ ผ้สู อนต้องเลือกสรร พฤติกรรมทต่ี รงกบั ระดบั พัฒนาการของเด็กคนนนั้ จรงิ ๆ ๒. ในกรณที ห่ี อ้ งเรียนมีนักเรียนจานวนมาก ผสู้ อนอาจเลือกสงั เกตเฉพาะเด็กท่ที าได้ดแี ลว้ และเด็กท่ยี ังทา ไม่ได้ ส่วนเด็กปานกลางให้ถือวา่ ทาไดไ้ ปตามกจิ กรรม ๓. ผสู้ อนต้องสังเกตจากพฤติกรรม คาพูด การปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอนในระหวา่ งทางาน/กจิ กรรม และคุณภาพ ของผลงาน/ช้นิ งาน ร่องรอยท่ีนามาใชพ้ ิจารณาตดั สินผลของการทางานหรือการปฏบิ ัติ ตัวอย่างเชน่ ๑) เวลาท่ีใช้ในการทากิจกรรม/ทางาน ถา้ เด็กไม่ชอบ ไม่ชานาญจะใชเ้ วลามาก มที ่าทางอดิ ออด ไม่ กลา้ ไมเ่ ต็มใจทางาน ๒) ความตอ่ เนื่อง ถ้าเด็กยงั มีการหยดุ ชะงัก ลงั เล ทางานไม่ต่อเนื่อง แสดงว่าเด็กยังไมช่ านาญหรือยัง ไมพ่ ร้อม ๓) ความสัมพนั ธ์ ถา้ การทางาน/ปฏบิ ัตินนั้ ๆมีความสมั พันธ์ตอ่ เนอ่ื ง ไม่ราบร่ืน ทา่ ทางมือและเทา้ ไม่ สัมพันธก์ นั แสดงว่าเด็กยงั ไม่ชานาญหรอื ยงั ไมพ่ ร้อม ทา่ ท่ีแสดงออกจงึ ไม่สง่างาม ๔) ความภมู ใิ จ ถา้ เด็กยงั ไม่ชื่นชม ก็จะทางานเพยี งใหแ้ ล้วเสรจ็ อยา่ งรวดเร็ว ไม่มีความภูมใิ จในการ ทางาน ผลงานจึงไม่ประณีต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook