๙๔ ๒.๓.๑ ระดบั คณุ ภาพผลการประเมินพัฒนาการเด็ก การให้ระดับคณุ ภาพผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ทั้งในระดบั ชนั้ เรียนและระดับสถานศึกษาควรกาหนด ในทิศทางหรอื รปู แบบเดียวกัน สถานศกึ ษาสามารถใหร้ ะดับคณุ ภาพผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กที่สะท้อน มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวบง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ หรอื พฤตกิ รรมทจ่ี ะประเมิน เปน็ ระบบตวั เลข เช่น ๑ หรอื ๒ หรือ ๓ หรอื เป็นระบบท่ใี ชค้ าสาคัญ เชน่ ดี พอดี หรอื ควรสง่ เสริม ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ตวั อยา่ งเช่น ระบบตัวเลข ระบบทีใ่ ช้คาสาคัญ ๓ ดี ๒ ๑ พอใช้ ควรสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาอาจกาหนดระดับคณุ ภาพของการแสดงออกในพฤติกรรม เป็น ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ระบบท่ใี ช้คาสาคญั ๑ หรอื ควรส่งเสรมิ เด็กมีความลงั เล ไมแ่ น่ใจ ไม่ยอมปฏบิ ัติกิจกรรม ทง้ั นี้ เนื่องจากเด็กยงั ไม่พร้อม ยัง ม่นั ใจ และกลวั ไม่ปลอดภยั ผู้สอนต้องยั่วยุหรือแสดงให้เหน็ เป็นตัวอย่างหรือต้อง คอยอยู่ใกลๆ้ ค่อยๆให้เด็กทาทลี ะขนั้ ตอน พร้อมต้องให้กาลังใจ ๒ หรอื พอใช้ เดก็ แสดงไดเ้ อง แตย่ ังไมค่ ล่อง เด็กกลา้ ทามากข้นึ ผู้สอนกระตุ้นน้อยลง ผู้สอนต้อง คอยแกไ้ ขในบางครง้ั หรือคอยใหก้ าลงั ใจใหเ้ ด็กฝึกปฏิบัติมากขน้ึ ๓ หรือ ดี เด็กแสดงไดอ้ ยา่ งชานาญ คล่องแคลว่ และภูมิใจ เด็กจะแสดงได้เองโดยไม่ตอ้ ง กระตุ้น มีความสัมพนั ธ์ทดี่ ี ตวั อย่างคาอธบิ ายคุณภาพ พฒั นาการด้านร่างกาย : สุขภาพอนามัย พัฒนาการดา้ นร่างกาย : กระโดดเทา้ เดียว ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ ๑หรอื ควรสง่ เสรมิ สง่ เสริมความสะอาด ๑หรอื ควรส่งเสรมิ ทาไดแ้ ตไ่ ม่ถูกต้อง ๒ หรือ พอใช้ สะอาดพอใช้ ๒ หรอื พอใช้ ทาได้ถกู ต้อง แต่ไม่คล่องแคล่ว ๓ หรือ ดี สะอาด ๓ หรอื ดี ทาได้ถกู ต้อง และคล่องแคลว่ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ : ประหยัด ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ ๑หรอื ควรส่งเสรมิ ใชส้ ิ่งของเครอื่ งใช้เกินความจาเปน็ ๒ หรอื พอใช้ ใช้สงิ่ ของเครื่องใชอ้ ยา่ งประหยัดเปน็ บางครงั้ ๓ หรอื ดี ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยดั ตามความจาเปน็ ทุกครัง้ พัฒนาการดา้ นสังคม : ปฏิบัติตามข้อตกลง ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ ๑หรือ ควรสง่ เสริม ไมป่ ฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ๒ หรอื พอใช้ ปฏิบัติตามข้อตกลง โดยมผี ู้ช้ีนาหรือกระต้นุ ๓ หรือ ดี ปฏิบัตติ ามข้อตกลงไดด้ ้วยตนเอง
๙๕ พัฒนาการด้านสติปัญญา : เขียนชอื่ ตนเองตามแบบ ระดบั คุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ ๑หรอื ควรส่งเสรมิ เขยี นชื่อตนเองไม่ได้ หรือเขยี นเปน็ สญั ลกั ษณ์ท่ไี ม่เป็นตวั อักษร ๒ หรือ พอใช้ เขียนชื่อตนเองได้ มีอักษรบางตวั กลับหัว กลับดา้ นหรือสลบั ที่ ๓ หรอื ดี เขียนชื่อเองได้ ตวั อกั ษรไม่กลบั หัว ไมก่ ลับดา้ นไม่สลบั ที่ ๒.๓.๒ การสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเด็ก หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช... กาหนดเวลาเรียนสาหรบั เดก็ ปฐมวัยต่อปีการศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วัน สถานศึกษาจึงควรบริหารจดั การเวลาทไี่ ด้รบั นี้ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดต่อการพัฒนาเด็กอย่างรอบด้านและ สมดลุ ผสู้ อนควรมเี วลาในการพัฒนาเดก็ และเติมเตม็ ศักยภาพของแดก็ เพ่ือใหก้ ารจัดประสบการณ์การเรยี นรู้มี ประสิทธิภาพ ผูส้ อนต้องตรวจสอบพฤติกรรมท่ีแสดงพฒั นาการของเด็กตอ่ เน่ืองมกี ารประเมินซ้าพฤติกรรมน้ันๆอย่าง นอ้ ย ๑ คร้งั ตอ่ ภาคเรยี น เพ่ือยืนยนั ความเช่อื ม่นั ของผลการประเมินพฤติกรรมนนั้ ๆ และนาผลไปเป็นขอ้ มลู ในการ สรปุ การประเมนิ สภาพที่พึงประสงค์ของเด็กในแต่ละสภาพที่พงึ ประสงค์ นาไปสรปุ การประเมินตวั บง่ ช้แี ละมาตรฐาน คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ตามลาดบั อนง่ึ การสรปุ ระดับคุณภาพของการประเมินพัฒนาการเดก็ วิธกี ารทางสถติ ิทเ่ี หมาะสมและสะดวกไม่ยุ่งยาก สาหรบั ผสู้ อน คือการใช้ฐานนิยม (Mode) ในบางครงั้ พฤติกรรม หรือสภาพที่พงึ ประสงค์หรือตัวบ่งช้ีนิยมมากวา่ ๑ ฐานนยิ ม ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษา กลา่ วคือ เม่ือมรี ะดบั คุณภาพซ้ามากกวา่ ๑ ระดับ สถานศึกษาอาจ ตดั สินสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการบนพื้นฐาน หลกั พฒั นาการและการเตรยี มความพรอ้ ม หากเป็นภาคเรียนที่ ๑ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใชฐ้ านนิยมทม่ี รี ะดบั คณุ ภาพต่ากว่าเพื่อใชเ้ ป็นข้อมูลในการพฒั นาเดก็ ใหพ้ ร้อมมากข้ึน หากเป็นภาคเรยี นท่ี ๒ สถานศกึ ษาควรเลอื กตัดสินใจใช้ฐานนยิ มทม่ี ีระดบั คุณภาพสงู กว่าเพ่อื ตดั สนิ และการสง่ ตอ่ เดก็ ในระดับชน้ั ทสี่ งู ขน้ึ ๒.๓.๓ การเล่อื นช้ันอนุบาลและเกณฑก์ ารจบการศึกษาระดับปฐมวัย เมื่อส้นิ ปกี ารศึกษา เด็กจะได้รับการเลอื่ นชั้นโดยเด็กต้องไดร้ ับการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ทงั้ ๑๒ ข้อ ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั เพือ่ เปน็ ข้อมลู ในการส่งตอ่ ยอดการพฒั นาให้กับเด็กในระดับสงู ข้ึนตอ่ ไป และเนื่องจากการศึกษาระดับอนบุ าลเปน็ การจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐานท่ีไม่นบั เปน็ การศึกษาภาคบงั คับ จึงไม่มกี าร กาหนดเกณฑ์การจบชน้ั อนบุ าล การเทียบโอนการเรียน และเกณฑก์ ารเรยี นซ้าชัน้ และหากเด็กมแี นวโน้มว่าจะมี ปัญหาต่อการเรียนรใู้ นระดบั ทีส่ งู ขึ้น สถานศึกษาอาจตัง้ คณะกรรมการเพอื่ พิจารณาปญั หา และประสานกบั หน่วยงาน ที่เก่ียวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เชน่ เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ ส่งเสริมตาบล นักจติ วทิ ยา ฯลฯ เขา้ รว่ มดาเนนิ งาน แก้ปัญหาได้ อย่างไรกต็ าม ทักษะที่นาไปสู่ความพร้อมในการเรียนรทู้ ี่สามารถใช้เป็นรอยเชื่อมต่อระหวา่ งชัน้ อนุบาลกบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ท่ีควรพิจารณามีทักษะดงั น้ี ๑. ทกั ษะการช่วยเหลือตนเอง ได้แก่ ใชห้ อ้ งน้า หอ้ งส้วมได้ด้วยตนเอง แตง่ กายไดเ้ อง เก็บของเขา้ ท่ีเมือ่ เลน่ เสร็จและช่วยทาความสะอาด รูจ้ กั รอ้ งขอใหช้ ว่ ยเม่ือจาเปน็ ๒. ทักษะการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ ไดแ้ ก่ วงิ่ ได้อย่างราบรนื่ วง่ิ ก้าวกระโดดได้ ด้วยสองขาพ้นจากพนื้ ถือจบั ขวา้ ง กระดอนลกู บอลได้ ๓. ทกั ษะการใชก้ ลา้ มเนื้อเล็ก ไดแ้ ก่ ใชม้ ือหยบิ จบั อปุ กรณ์วาดภาพและเขียน วาดภาพคนมแี ขน ขา และ สว่ นต่างๆของรา่ งกาย ตัดตามรอยเสน้ และรูปต่างๆ เขียนตามแบบอย่างได้ ๔. ทกั ษะภาษาการรหู้ นังสอื ไดแ้ ก่ พูดใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจได้ ฟงั และปฏบิ ตั ิตามคาชี้แจงงงา่ ยๆ ฟังเรอื่ งราวและคา คลอ้ งจองต่างๆอย่างสนใจ เข้ารว่ มฟังสนทนาอภิปรายในเร่ืองตา่ งๆ รจู้ ักผลดั กนั พูดโตต้ อบ เลา่ เร่ืองและทบทวน
๙๖ เร่ืองราวหรือประสบการณ์ต่างๆ ตามลาดบั เหตุการณ์เล่าเร่ืองจากหนงั สือภาพอยา่ งเปน็ เหตเุ ป็นผล อ่านหรือจดจาคา บางคาท่ีมีความหมายตอ่ ตนเอง เขียนช่อื ตนเองได้ เขยี นคาทม่ี คี วามหมายตอ่ ตนเอง ๕. ทกั ษะการคิด ได้แก่ แลกเปล่ยี นความคิดและใหเ้ หตผุ ลได้ จดจาภาพและวัสดทุ ี่เหมือนและตา่ งกันได้ ใช้ คาใหมๆ่ ในการแสดงความคิด ความรู้สึก ถามและตอบคาถามเกย่ี วกับเรื่องที่ฟงั เปรยี บเทียบจานวนของวตั ถุ ๒ กลุ่ม โดยใช้คา “มากกวา่ ” “น้อยกวา่ ” “เทา่ กัน” อธิบายเหตุการณ์/เวลา ตามลาดับอย่างถูกตอ้ ง รจู้ ักเชอ่ื มโยงเวลากับ กิจวตั รประจาวัน ๖. ทกั ษะทางสังคมและอารมณ์ ได้แก่ ปรบั ตัวตามสภาพการณ์ ใช้คาพูดเพื่อแก้ไขขอ้ ขดั แยง้ น่งั ได้นาน ๕-๑๐ นาที เพ่ือฟังเรื่องราวหรือทากิจกรรม ทางานจนสาเรจ็ รว่ มมือกับคนอื่นและรจู้ ักผลดั กันเลน่ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้ เมื่อกังวลหรือตืน่ เต้น หยุดเล่นและทาในสิง่ ทผ่ี ้ใู หญต่ ้องการใหท้ าได้ ภมู ใิ จในความสาเร็จของตนเอง ๓. การายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการเปน็ การส่ือสารให้พ่อแม่ ผู้ปกครองได้รับทราบความก้าวหนา้ ในการ เรยี นร้ขู องเด็ก ซึ่งสถานศึกษาต้องสรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการ และจดั ทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็น ระยะๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพที่แตกต่างไปตามพฤติกรรมท่ี แสดงออกถึงพัฒนาการแตล่ ะด้าน ทีส่ ะท้อนมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคท์ ั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลกั สตู รการศึกษา ปฐมวยั ๓.๑ จดุ มงุ่ หมายการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ ๑) เพอ่ื ให้ผ้เู ก่ยี วข้อง พ่อ แม่ และผ้ปู กครองใชเ้ ป็นข้อมูลในการปรับปรงุ แก้ไข สง่ เสรมิ และ พัฒนาการเรียนรู้ของเดก็ ๒) เพื่อให้ผสู้ อนใช้เปน็ ข้อมูลในการวางแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ๓) เพอ่ื เปน็ ข้อมลู สาหรบั สถานศกึ ษา เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา และหน่วยงานตน้ สงั กัดใชป้ ระกอบในการ กาหนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓.๒ ข้อมลู ในการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ ๓.๒.๑ ข้อมูลระดับช้ันเรียน ประกอบดว้ ย เวลาเรยี นแบบบันทกึ การประเมินพัฒนาการตาม หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมนิ พัฒนาการประจาช้ัน และสมดุ รายงานประจาตัวนกั เรียน และ สารนิทศั นท์ ี่สะทอ้ นการเรยี นรขู้ องเด็ก เป็นข้อมลู สาหรับรายงานใหผ้ ู้มสี ่วนเก่ยี วข้อง ได้แก่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา ผู้สอน และผู้ปกครอง ไดร้ บั ทราบความก้าวหน้า ความสาเร็จในการเรียนรูข้ องเด็กเพ่ือนาไปในการวางแผนกาหนด เปูาหมายและวธิ กี ารในการพัฒนาเดก็ ๓.๒.๒ ข้อมลู ระดับสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย ผลการประเมินมาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ท้ัง ๑๒ ข้อตามหลักสตู ร เพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรียนการสอนและ คณุ ภาพของเด็ก ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และแจ้งให้ผู้ปกครอง และผูเ้ กี่ยวข้องได้รบั ทราบ ขอ้ มูล โดยผู้มหี นา้ ที่รับผิดชอบแต่ละฝุายนาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาเด็กใหเ้ กดิ พัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนาไปจดั ทาเอกสารหลักฐานแสดงพฒั นาการของผ้เู รียน ๓.๒.๓ ขอ้ มลู ระดับเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ได้แก่ ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ท้ัง ๑๒ ข้อ ตามหลกั สูตรเปน็ รายสถานศกึ ษา เพื่อเป็นข้อมลู ท่ีศึกษานเิ ทศก/์ ผเู้ ก่ียวข้องใชว้ างแผนและดาเนนิ การพัฒนา คุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นทีก่ ารศึกษา เพื่อให้เกิดการยกระดับคณุ ภาพเด็กและมาตรฐาน การศึกษา
๙๗ ๓.๓ ลกั ษณะขอ้ มูลสาหรับการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลือกลกั ษณะข้อมลู สาหรับการรายงานได้หลาย รูปแบบให้เหมาะสมกับวิธกี ารรายงานและสอดคลอ้ งกับการให้ระดับผลการประเมินพัฒนาการโดยคานึงถึง ประสิทธภิ าพของการรายงานและการนาขอ้ มูลไปใช้ประโยชนข์ องผู้รายงานแตล่ ะฝุายลกั ษณะข้อมลู มรี ปู แบบ ดงั น้ี ๓.๓.๑ รายงานเปน็ ตัวเลข หรอื คาท่ีเป็นตัวแทนระดับคุณภาพพฒั นาการของเด็กทเ่ี กิดจากการ ประมวลผล สรปุ ตัดสนิ ข้อมูลผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก ได้แก่ - ระดับผลการประเมินพฒั นาการมี ๓ ระดบั คือ ๓ ๒ ๑ - ผลการประเมินคุณภาพ “ดี” “พอใช้” และ “ควรสง่ เสรมิ ” ๓.๓.๒ รายงานโดยใช้สถิติ เปน็ รายงานจากข้อมูลท่ีเปน็ ตัวเลข หรือข้อความให้เปน็ ภาพแผนภูมิหรอื เส้นพฒั นาการ ซึ่งจะแสดงใหเ้ ห็นพฒั นาการความกา้ วหน้าของเด็กว่าดขี ้ึน หรือควรไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งไร เมอ่ื เวลา เปลี่ยนแปลงไป ๓.๓.๓ รายงานเปน็ ขอ้ ความ เปน็ การบรรยายพฤติกรรมหรอื คณุ ภาพทผ่ี ู้สอนสงั เกตพบ เพอ่ื รายงาน ใหท้ ราบว่าผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองทราบวา่ เด็กมีความสามารถ มีพฤตกิ รรมตามคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตามหลักสตู รอย่างไร เช่น - เดก็ รบั ลกู บอลที่กระดอนจากพ้นื ดว้ ยมือทั้ง ๒ ข้างได้โดยไม่ใชล้ าตัวช่วยและลกู บอลไมต่ กพื้น - เดก็ แสดงสหี น้า ท่าทางสนใจ และมีความสุขขณะทางานทุกชว่ งกจิ กรรม - เด็กเลน่ และทางานคนเดยี วเป็นส่วนใหญ่ - เด็กจับหนงั สือไมก่ ลบั หัว เปิด และทาท่าทางอ่านหนังสือและเลา่ เรอื่ งได้ ๓.๔ เปา้ หมายของการรายงาน การดาเนนิ การจดั การศึกษาปฐมวยั ประกอบดว้ ย บุคลากรหลายฝุายรว่ มมอื ประสานงานกันพฒั นา เดก็ ทางตรงและทางออ้ ม ใหม้ ีพฒั นาการ ทักษะ ความสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะที่พึง ประสงค์โดยผู้มีสว่ นรว่ มเก่ยี วข้องควรได้รับการายงานผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กเพ่อื ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการ ดาเนินงาน ดงั น้ี กลุ่มเปาู หมาย การใชข้ ้อมลู ผูส้ อน -วางแผนและดาเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาเด็ก -ปรับปรุงแกไ้ ขและพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา -ส่งเสริมพฒั นากระบวนการจัดการเรียนร้รู ะดับปฐมวยั ของสถานศกึ ษา พอ่ แม่ และผูป้ กครอง -รบั ทราบผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็ก -ปรบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นาการเรียนรู้ของเด็ก รวมทงั้ การดูแลสขุ ภาพอนามยั ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และพฤตกิ รรมตา่ งๆของเดก็ คณะกรรมการสถานศึกษา -พัฒนาแนวทางการจดั การศึกษาปฐมวยั สถานศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน สานกั งานเขตพ้ืนที่ -ยกระดบั และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษาในเขตพืน้ ที่การศกึ ษา การศกึ ษา/หน่วยงานต้น นิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลและใหค้ วามช่วยเหลอื การพฒั นาคุณภาพการศึกษา สงั กัด ปฐมวยั ของสถานศึกษาในสงั กัด
๙๘ ๓.๕ วธิ ีการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการให้ผูเ้ ก่ียวข้องรับทราบ สามารถดาเนินการ ไดด้ ังน้ี ๓.๕.๑ การรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการในเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ข้อมลู จากแบบ รายงาน สามารถใช้อา้ งอิง ตรวจสอบ และรบั รองผลพฒั นาการของเดก็ เชน่ - แบบบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจาชั้น - แฟูมสะสมงานของเด็กรายบุคคล -สมดุ รายงานประจาตวั นกั เรียน -สมดุ บนั ทกึ สุขภาพเด็ก ฯลฯ ๓.๕.๒ การรายงานคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัยให้ผู้เกย่ี วข้องทราบ สามารถรายงานได้หลายวธิ ี เช่น - รายงานคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัยประจาปี - วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา -จดหมายสว่ นตัว -การใหค้ าปรึกษา -การใหพ้ บครูทป่ี รกึ ษาหรอื การประชมุ เครือขา่ ยผปู้ กครอง - การใหข้ ้อมลู ทางอนิ เตอรเ์ น็ตผา่ นเวป็ ไซต์ของสถานศึกษา ภารกจิ ของผู้สอนในการประเมนิ พฒั นาการ การประเมินพฒั นาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยท่ีมคี ุณภาพและประสิทธิภาพน้ัน เกดิ ขนึ้ ในห้องเรียน และระหว่างการจัดกิจกรรมประจาวันและกิจวัตรประจาวนั ผสู้ อนต้องไม่แยกการประเมินพฒั นาการออกจากการ จัดประสบการณต์ ามตารางประจาวนั ควรมีลกั ษณะการประเมนิ พัฒนาการในชั้นเรียน (Classroom Assessment) ซง่ึ หมายถงึ กระบวนการและการสังเกต การบันทึกและรวบรวมข้อมูลจากการปฏบิ ัติกจิ วัตรประจาวัน/กิจกรรม ประจาวันตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ผู้สอนควรจัดทาข้อมลู หลกั ฐานหรือเอกสารอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อ เปน็ หลกั ฐานแสดงใหเ้ ห็นรอ่ งรอยของการเจริญเตบิ โตพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวยั แลว้ นามาวิเคราะห์ ตีความ บนั ทึกขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการประเมินพฒั นาการว่าเดก็ รู้อะไร สามารถทาอะไรได้ และจะทาต่อไปอยา่ งไร ดว้ ย วิธีการและเคร่ืองมือท่ีหลากหลายทั้งท่เี ป็นทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งนนั้ การดาเนนิ การดังกล่าวเกิดขน้ึ ตลอด ระยะเวลาของการปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจาวัน/กิจกรรมประจาวันและการจัดประสบการณเ์ รียนรู้ ดังนนั้ ขอ้ มลู ทเ่ี กิดจากการประเมนิ ที่มคี ณุ ภาพเทา่ นนั้ จึงสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ตรงตามเปูาหมาย ผสู้ อน จาเปน็ ต้องมีความร้คู วามเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ในหลักการ แนวคดิ วิธีดาเนนิ งานในส่วนต่างๆที่เก่ยี วข้องกบั หลักสูตรการ จดั ประสบการเรียนรู้ เพ่อื สามารถนาไปใชใ้ นการวางแผนและออกแบบการประเมินพฒั นาการได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ บนพื้นฐานการประเมนิ พฒั นาการในช้ันเรียนท่ีมีความถูกตอ้ ง ยตุ ิธรรม เชื่อถือได้ มคี วามสมบูรณ์ ครอบคลุมตาม จดุ หมายของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สะท้อนผลและสภาพความสาเรจ็ เมือ่ เปรยี บเทียบกับเปาู หมายของการ ดาเนินการจดั การศึกษาปฐมวัย ทั้งในระดับนโยบาย ระดบั ปฏิบัติการ และผ้มู ีส่วนเก่ยี วข้องต่อไป
๙๙ ๑. ขนั้ ตอนการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั การประเมินพัฒนาการเดก็ ของผสู้ อนระดับปฐมวยั จะมีขัน้ ตอนสาคญั ๆคลา้ ยคลงึ กบั การประเมนิ การศึกษา ทั่วไป ข้นั ตอนตา่ งๆอาจปรบั ลด หรอื เพ่มิ ได้ตามความเหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษาและสอดคลอ้ งกบั การจดั ประสบการณ์ หรืออาจสลบั ลาดบั ก่อนหลงั ไดบ้ ้าง ขัน้ การประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั โดยสรปุ ควรมี ๖ ข้ันตอน ดังน้ี ขน้ั ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พงึ ประสงค์ ตวั บ่งช้ี และ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ทีส่ ัมพนั ธ์กบั หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ตา่ งๆ อนั จะเป็นประโยชนใ์ นการดาเนนิ งานการประเมิน พฒั นาการอยา่ งเป็นระบบและครอบคลุมทว่ั ถงึ ขนั้ ตอนที่ ๒ การกาหนดส่งิ ที่จะประเมินและวิธีการประเมิน ในขนั้ ตอนนส้ี ่งิ ทผี่ ู้สอนต้องทาคือ การ กาหนดการประเด็นการประเมนิ ได้แก่ สภาพที่พงึ ประสงค์ในแตล่ ะวัยของเด็กทีเ่ กิดจากกาจดั ประสบการณ์ในแต่ การ จดั ประสบการณ์ มากาหนดเป็นจุดประสงค์การเรยี นรู้ของหน่วยการเรยี นรู้ จุดประสงค์ยอ่ ยของกิจกรรมตามตาราง ประจาวนั ๖กิจกรรมหลกั หรือตามรปู แบบการจัดประสบการณ์ท่กี าหนด ผสู้ อนต้องวางแผนและออกแบบวิธีการ ประเมินให้เหมาะสมกบั กจิ กรรม บางครงั้ อาจใชก้ ารสังเกตพฤติกรรม การประเมินผลงาน/ชิน้ งาน การพูดคยุ หรือ สัมภาษณเ์ ดก็ เปน็ ต้น ทัง้ น้ีวธิ ีการทผี่ ูส้ อนเลือกใช้ต้องมีความหมายหลากหลาย หรอื มากวา่ ๒ วธิ ีการ ขัน้ ตอนท่ี ๓ การสรา้ งเครื่องมือและเกณฑก์ ารประเมนิ ในข้ันตอนนี้ ผ้สู อนจะต้องกาหนดเกณฑ์การ ประเมนิ พฒั นาการใหส้ อดคล้องกับพฤตกิ รรมทีจ่ ะประเมนิ ในขั้นตอนที่ ๒ อาจใชแ้ นวทางการกาหนดเกณฑ์ท่ี กลา่ วมาแล้ว ขา้ งตน้ ในสว่ นท่ี ๒ เป็นเกณฑ์การประเมนิ แยกสว่ นของแต่ละพฤติกรรมและเกณฑส์ รุปผลการ ประเมิน พร้อมกับ จัดทาแบบบนั ทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพที่พึงประสงค์ของแต่ละหนว่ ยการจัดประสบการณน์ น้ั ๆ ขั้นตอนที่ ๔ การดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปน็ ขนั้ ตอนท่ีผู้สอนออกแบบ/วางแผนและทาการสงั เกต พฤติกรรมของเด็กเปน็ รายบคุ คล รายกลุ่ม การพูดคุยหรือการสัมภาษณ์เดก็ หรือการประเมินผลงาน/ชน้ิ งานของเดก็ อย่างเปน็ ระบบ เพื่อรวบรวมขอ้ มลู พัฒนาการของเด็กให้ทั่วถึงครบทกุ คน สอดคลอ้ งและตรงประเด็นการประเมินที่ วางแผนไวใ้ นขั้นตอนที่ ๔ บันทกึ ลงในเคร่ืองมือท่ผี สู้ อนพัฒนาหรอื จัดเตรยี มไว้ การบนั ทกึ ผลการประเมนิ พฒั นาการตามสภาพท่พี ึงประสงค์ของแตล่ ะหน่วยการจดั ประสบการณน์ ั้น ผ้สู อนเป็นผ้ปู ระเมินเด็กเป็นรายบคุ คลหรือรายกลุ่ม อาจให้ระดับคุณภาพ ๓ หรอื ๒ หรือ ๑ หรอื ให้คาสาคญั ทเ่ี ป็นคณุ ภาพ เชน่ ดี พอใช้ ควรสง่ เสริม กไ็ ด้ ทัง้ นี้ควรเป็นระบบเดียวกนั เพอื่ สะดวกในการวิเคราะห์ขอ้ มูลและแปล ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็ก ในระยะตน้ ควรเป็นการประเมนิ เพื่อความก้าวหนา้ ไม่ควรเป็นการประเมนิ เพื่อตดั สน้ิ พฒั นาการเด็ก หากผลการประเมินพบวา่ เดก็ อยใู่ นระดับ ๑ พฤติกรรมหน่ึงพฤติกรรมใดผ้สู อนตอ้ งทาความเขา้ ใจว่า เดก็ คนน้นั มีพฒั นาการเรว็ หรือช้า ผูส้ อนจะต้องจัดประสบการณ์ส่งเสรมิ ในหน่วยการจดั ประสบการณ์ตอ่ ไปอย่างไร ดงั นนั้ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผลการประเมนิ พฒั นาการในแต่ละหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ของผู้สอน จงึ เป็น การ สะสมหรือรวบรวมข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการของเดก็ รายบคุ คล หรือรายกลมุ่ น่ันเอง เมื่อผ้สู อนจดั ประสบการณ์ครบทุกหนว่ ยการจดั ประสบการณต์ ามท่ีวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรรู้ ายปีของแต่ละภาคเรียน ขั้นตอนที่ ๕ การวเิ คราะห์ข้อมูลและแปลผล ในขนั้ ตอนน้ี ผสู้ อนทีเ่ ป็นผูป้ ระเมิน ควรดาเนินดาร ดงั น้ี ๑) การวเิ คราะห์และแปลผลการประเมินพัฒนาการเม่ือส้ินสดุ หน่วยการจดั ประสบการณ์ ผสู้ อนจะ บันทกึ ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กลงในแบบบันทึกผลการสงั เกตพฤติกรรมตามสภาพทพ่ี ึงประสงค์ของหนว่ ย การจดั ประสบการณห์ น่วยที ๑ จนถึงหน่วยสดุ ท้ายของภาคเรยี น ๒) การวเิ คราะห์และแปลผลการประเมนิ ประจาภาคเรียนหรือภาคเรียนที่ ๒ เม่ือสิน้ ปีการศึกษา ผสู้ อนจะนาผลการประเมนิ พัฒนาการสะสมท่รี วบรวมไวจ้ ากทุกหนว่ ยการเรียนร้สู รุปลงในสมดุ บนั ทกึ ผลประเมนิ พฒั นาการประจาชั้น และสรุปผลพฒั นาการรายด้านท้งั ช้ันเรียน ข้นั ตอนท่ี ๖ การสรุปรายงานผลและการนาข้อมลู ไปใช้ เป็นขัน้ ตอนท่ีผู้สอนซ่งึ เป็นครปู ระจาชั้นจะสรปุ ผล เพอ่ื ตัดสินพฒั นาการของเด็กปฐมวัยเป็นรายตัวบ่งช้ีรายมาตรฐานและพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เพือ่ นาเสนอผูบ้ รหิ าร
๑๐๐ สถานศึกษาอนุมัติการตัดสิน และแจง้ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พร้อมกบั ครปู ระจาช้ันจะจดั ทารายงานผล การประเมนิ ประจาตวั นักเรียน นาขอ้ มูลไปใชส้ รุปผลการประเมนิ คุณภาพเด็ก ของระบบประกนั คุณภาพภายในของ สถานศึกษาเมื่อสิ้นภาคเรียนท่ี ๒ หรอื เม่อื สิน้ ปีการศึกษา ข้ันตอนการประเมินพัฒนาการเด็ก สรปุ ได้ตามแผนภาพ
๑๐๑ แผนภาพ ข้ันตอนการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั หลกั สตู รสถานศกึ ษา กิจวตั รประจาวัน การประเมนิ พฒั นาการ ปฐมวัย การจัดประสบการณ์ ๑. การวิเคราะห์มาตรฐาน มาตรฐาน หน่วยการจดั ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ คณุ ลักษณะ ประสบการณ์ และกาหนดการประเมนิ ท่ีพงึ ประสงค์ แผนการจัด ๒. การกาหนดวิธีการและ ตัวบ่งชี้ ประสบการณ์ เครื่องมือที่ใชป้ ระเมิน สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ - จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓. การกาหนดเกณฑ์การ - ประสบการณ์สาคัญ - สาระการเรียนรู้ ประเมนิ และระดับคุณภาพ - สาระท่ีควรเรยี นรู้ - กจิ กรรมการเรียนรู้ - ส่อื ๔. การดาเนนิ การเกบ็ - การประเมินผล รวบรวมข้อมลู - บันทึกหลงั การจดั ประสบการณ์ ๕. การสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการ ๖. การรายงานผลการ ประเมนิ และการนาข้อมูลไป ใช้
๑๐๒ รายละเอยี ดการดาเนนิ งานแต่ละขัน้ ตอน มดี ังน้ี ขน้ั ตอนที่ ๑ การวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ และสภาพทีพ่ ึงประสงค์ตามหลกั สูตรสถานศึกษา โดยนาข้อมลู จากการ วเิ คราะหก์ ารเรียนรรู้ ายปีในหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยมาตรวจสอบความถ่ีของตวั บ่งช้ี และสภาพท่ีพงึ ประสงคว์ า่ เกิดขนึ้ กับเดก็ ตามหน่วยการจัดประสบการณเ์ รียนรใู้ ดบ้าง ขั้นตอนที่ ๑.๑ การวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้รายปีของโรงเรียน ข้นั ตอนที่ ๑.๒ ตรวจสอบความถ่เี พ่ือตรวจสอบจานวนคร้ังของตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ว่าวางแผนใหเ้ กดิ พฒั นาการในหน่วยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใดบ้างจากหลกั สตู รสถานศึกษา ขั้นตอนท่ี ๒ กาหนดส่ิงทีป่ ระเมินและวธิ กี ารประเมิน โดยกาหนดสภาพท่พี ึงประสงค์ทีว่ ิเคราะห์ไวใ้ นขั้นตอน ที่ ๑.๒ มากาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นร้ใู น ๖ กิจกรรมหลัก ๒.๑ การเขียนหรอื กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยการจัดประสบการณ์ ๒.๒ การวางแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ขน้ั ตอนท่ี ๓ การสรา้ งเคร่ืองมือและเกณฑ์การประเมนิ ผ้สู อนจะตอ้ งกาหนดเกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการ เดก็ ใหส้ อดคลอ้ งกบั พฤติกรรมที่จะประเมินตามแผนการจัดกิจกรรม พรอ้ มทาเกณฑ์การประเมินและสรุปผลการ ประเมิน พร้อมจัดทาแบบบันทกึ ผลหลงั สอนประจาหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ขนั้ ตอนที่ ๔ การดาเนนิ การเปน็ การรวบรวมขอ้ มูล ข้ันตอนนี้ ผสู้ อนท่ีทาหนา้ ท่เี ปน็ ผู้ประเมินโดยการสังเกต พฤติกรรมของเด็กรายบคุ คล รายกลมุ่ การพดู คยุ หรือสมั ภาษณเ์ ด็ก หรือการประเมนิ ผลงานชิ้นงานของเดก็ อยา่ งเป็น ระบบ ไปพร้อมๆกับกิจกรรมให้เด็ก เพื่อรวบรวมขอ้ มูลพัฒนาการของเด็กทกุ คน และบันทกึ ลงแบบบนั ทึกผลหลงั สอน ประจาหน่วยการจัดประสบการณ์ ทจี่ ัดเตรยี มไว้ ขั้นตอนท่ี ๕ การวเิ คราะห์ข้อมูลและแปลผลเม่ือสนิ้ สุดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ ผู้สอนจะตรวจสอบความ ครบถว้ น สมบูรณข์ องผลการประเมินในแบบบันทึกผลการประเมนิ พฒั นาการของเดก็ หลังการจัดประสบการณ์ลงใน แบบบนั ทกึ ผลหลังการจดั ประสบการณ์ประจาหนว่ ยการจัดประสบการณ์ และเก็บสะสมเพือ่ นาได้สรุปผลในการ ตดั สนิ พัฒนาการเดก็ ในภาพรวมเมอ่ื ส้ินปีการศึกษา โดยผูส้ อนจะนาผลการประเมนิ พฒั นาสะสมท่ีรวบรวมไวท้ ุกหนว่ ย การเรยี นรู้ มาสรปุ ลงในสมดุ บันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจาช้ันและสรุปผลพฒั นาการรายดา้ นท้งั ช้ันเรยี น ท้งั น้กี ารสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการ ผสู้ อนควรใช้ ฐานนยิ ม (Mode) จึงเหมาะสมและสอดคล้องกับการประเมนิ มากทสี่ ดุ ตามทีก่ ล่าวมาแลว้ ข้างต้น ขั้นตอนที่ ๖ การสรปุ รายงานผลและการนาข้อมูลไปใช้ ครูประจาช้นั จะสรุปผลเพ่ือพฒั นาการของเด็ก ปฐมวยั เปน็ รายตวั บง่ ชี้ รายมาตรฐานและพฒั นาการท้ัง๔ ด้าน และรายงานต่อผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติผลการ ตัดสินและแจง้ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน พร้อมกับครูประจาช้ันจะจัดทารายงานผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็กรายบุคคล รายภาค และรายปตี ่อผ้ปู กครองในสมุดรายงานประจาตวั เดก็ นักเรียน
๑๐๓ การบริหารจัดการหลกั สูตร การนาหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ประสิทธภิ าพตามจดุ หมายของ หลักสตู ร ผู้เกย่ี วข้องกับการบรหิ ารจดั การหลักสูตรในระบบสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ าร ผ้สู อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และ ชมุ ชน มีบทบาทสาคัญยง่ิ ต่อการพฒั นาคุณภาพของเด็ก ๑. บทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษาปฐมวยั การจดั การศึกษาแก่เด็กปฐมวัยในระบบสถานศึกษาใหเ้ กิดประสทิ ธิผลสูงสดุ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมบี ทบาท ดงั นี้ ๑.๑ ศึกษาทาความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั และมีวสิ ัยทัศนด์ ้านการจัดการศึกษาปฐมวยั ๑.๒ คัดเลอื กบคุ ลากรทีท่ างานกับเดก็ เชน่ ผ้สู อน พเี่ ล้ียง อย่างเหมาะสม โดยคานงึ ถงึ คุณสมบตั ิ หลักของบุคลากร ดงั น้ี ๑.๒.๑ มีวุฒิทางการศกึ ษาด้านการอนบุ าลศกึ ษา การศึกษาปฐมวยั หรอื ผ่านการอบรมเกย่ี วกบั การจดั การศึกษาปฐมวยั ๑.๒.๒ มีความรักเด็ก จิตใจดี มอี ารมณ์ขันและใจเย็น ให้ ความเป็นกนั เองกับเด็กอยา่ ง เสมอภาค ๑.๒.๓ มบี ุคลกิ ของความเปน็ ผู้สอน เข้าใจและยอมรับธรรมชาตขิ องเดก็ ตามวยั ๑.๒.๔พูดจาสุภาพเรียบร้อย ชดั เจนเป็นแบบอย่างได้ ๑.๒.๕ มคี วามเป็นระเบยี บ สะอาด และรู้จกั ประหยดั ๑.๒.๖ มีความอดทน ขยนั ซื่อสตั ยใ์ นการปฏิบัติงานในหน้าทแ่ี ละ การปฏบิ ัตติ อ่ เด็ก ๑.๒.๗ มีอารมณร์ ว่ มกบั เด็ก รจู้ ักรับฟัง พจิ ารณาเร่ืองราวปัญหาต่างๆ ของเด็กและตัดสินปัญหา ตา่ งๆอยา่ งมีเหตผุ ลดว้ ยความ เปน็ ธรรม ๑.๒.๘ มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ สมบรู ณ์ ๑.๓ ส่งเสรมิ การจัดบรกิ ารทางการศึกษาใหเ้ ด็กไดเ้ ข้าเรยี นอย่างทัว่ ถึง และเสมอภาค และ ปฏบิ ตั ิการรบั เดก็ ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ๑.๔ ส่งเสริมให้ผสู้ อนและผูท้ ่ีปฏบิ ัติงานกบั เดก็ พัฒนาตนเองมีความรกู้ ้าวหนา้ อยู่เสมอ ๑.๕ เปน็ ผู้นาในการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาโดยร่วมให้ความเห็นชอบ กาหนดวิสยั ทศั น์ และ คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของเด็กทกุ ช่วงอายุ ๑.๖ สรา้ งความร่วมมอื และประสานกับบุคลากรทุกฝาุ ยในการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา ๑.๗ จัดให้มีข้อมลู สารสนเทศเกยี่ วกบั ตัวเด็ก งานวิชาการหลักสูตร อย่างเปน็ ระบบและมกี าร ประชาสัมพนั ธห์ ลักสตู รสถานศกึ ษา ๑.๘ สนบั สนุนการจดั สภาพแวดลอ้ มตลอดจนส่ือ วสั ดุ อปุ กรณท์ ีเ่ ออื้ อานวยต่อ การเรยี นรู้ ๑.๙ นิเทศ กากับ ติดตามการใช้หลกั สูตร โดยจัดใหม้ ีระบบนเิ ทศภายในอยา่ งมรี ะบบ ๑.๑๐ กากับติดตามให้มีการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาและนาผลจากการประเมนิ ไปใชใ้ น การพัฒนาคุณภาพเดก็ ๑.๑๑ กากบั ติดตาม ใหม้ กี ารประเมนิ การนาหลักสตู รไปใช้ เพือ่ นาผลจากการประเมินมา ปรบั ปรุงและพฒั นาสาระของหลักสูตรของสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของเดก็ บริบทสังคมและใหม้ ี ความทันสมัย
๑๐๔ ๒. บทบาทผ้สู อนปฐมวยั การพฒั นาคณุ ภาพเด็กโดยถือวา่ เด็กมีความสาคญั ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสริมให้ เดก็ สามารถพฒั นาตนตามธรรมชาติ สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการและเตม็ ตามศักยภาพ ดังน้ัน ผู้สอนจงึ มีบทบาทสาคัญ ยง่ิ ทจ่ี ะทาให้กระบวนการจดั การเรยี นร้ดู งั กล่าวบรรลุผลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ผู้สอนจงึ ควรมีบทบาท / หนา้ ท่ี ดังนี้ ๒.๑ บทบาทในฐานะผเู้ สรมิ สร้างการเรียนรู้ ๒.๑.๑ จัดประสบการณ์การเรยี นรู้สาหรบั เดก็ ทเี่ ด็กกาหนดขึ้นดว้ ยตัวเดก็ เองและผ้สู อนกับ เดก็ ร่วมกันกาหนด โดยเสริมสรา้ งพัฒนาการเด็กให้ครอบคลมุ ทุกดา้ น ๒.๑.๒ ส่งเสรมิ ให้เดก็ ใช้ข้อมูลแวดลอ้ ม ศักยภาพของตวั เด็ก และหลักทางวิชาการในการ ผลิตกระทา หรือหาคาตอบในสง่ิ ท่ีเด็กเรยี นรู้อย่างมเี หตผุ ล ๒.๑.๓ กระตุน้ ให้เดก็ ร่วมคิด แก้ปัญหา คน้ คว้าหาคาตอบดว้ ยตนเองดว้ ยวิธกี ารศกึ ษาท่ี นาไปสูก่ ารใฝุรู้ และพัฒนาตนเอง ๒.๑.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มและสรา้ งบรรยากาศการเรียนทส่ี ร้างเสรมิ ให้เดก็ ทากจิ กรรมได้ เตม็ ศกั ยภาพและความแตกต่างของเดก็ แต่ละบุคคล ๒.๑.๕ สอดแทรกการอบรมด้านจรยิ ธรรมและค่านิยมที่พึงประสงคใ์ นการจดั การเรียนรู้ และกิจกรรมตา่ งๆอยา่ งสม่าเสมอ ๒.๑.๖ ใชก้ ิจกรรมการเล่นเป็นสื่อการเรยี นรูส้ าหรับเดก็ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๑.๗ ใชป้ ฏสิ มั พันธ์ทีด่ ีระหวา่ งผสู้ อนและเด็กในการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน อย่างสม่าเสมอ ๒.๑.๘ จดั การประเมินผลการเรียนรทู้ ส่ี อดคล้องกบั สภาพจริงและนาผลการประเมินมา ปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพเด็กเต็มศกั ยภาพ ๒.๒ บทบาทในฐานะผูด้ ูแลเด็ก ๒.๒.๑ สังเกตและสง่ เสริมพัฒนาการเด็กทกุ ดา้ นท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และ สติปัญญา ๒.๒.๒ ฝกึ ใหเ้ ด็กชว่ ยเหลือตนเองในชวี ิตประจาวนั ๒.๒.๓ ฝกึ ให้เดก็ มีความเชอ่ื ม่ัน มีความภูมใิ จในตนเองและกลา้ แสดงออก ๒.๒.๔ ฝึกการเรยี นรหู้ นา้ ที่ ความมีวินัย และการมีนสิ ยั ที่ดี ๒.๒.๕ จาแนกพฤติกรรมเด็กและสรา้ งเสริมลกั ษณะนสิ ัยและแก้ปญั หาเฉพาะบุคคล ๒.๒.๖ ประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา บา้ น และชมุ ชน เพอื่ ให้เดก็ ได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและมีมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๒.๓ บทบาทในฐานะนักพัฒนาเทคโนโลยีการสอน ๒.๓.๑ นานวัตกรรม เทคโนโลยีทางการสอนมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกบั สภาพบรบิ ท สงั คม ชุมชน และทอ้ งถิน่ ๒.๓.๒ ใชเ้ ทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชนในการเสรมิ สร้างการเรยี นรู้ใหแ้ ก่เดก็ ๒.๓.๓ จัดทาวิจัยในชัน้ เรียน เพอ่ื นาไปปรับปรุงพฒั นาหลกั สตู ร / กระบวนการเรยี นรู้ และพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ๒.๓.๔ พฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ มีคุณลักษณะของผู้ใฝรุ ู้มวี ิสยั ทัศนแ์ ละ ทันสมยั ทันเหตุการณ์ในยุคของขอ้ มลู ข่าวสาร
๑๐๕ ๒.๔ บทบาทในฐานะผูบ้ ริหารหลักสูตร ๒.๔.๑ ทาหนา้ ทวี่ างแผนกาหนดหลักสตู ร หน่วยการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ ๒.๔.๒ จัดทาแผนการจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเป็นสาคัญ ให้เด็กมอี สิ ระในการเรียนรู้ทัง้ กายและใจ เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กเลน่ /ทางาน และเรยี นรู้ท้ังรายบคุ คลและเป็นกลมุ่ ๒.๔.๓ ประเมินผลการใชห้ ลักสตู ร เพอื่ นาผลการประเมนิ มาปรับปรงุ พฒั นาหลกั สตู รให้ ทนั สมยั สอดคล้องกบั ความต้องการของ ผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น ๓. บทบาทของพ่อแมห่ รือผูป้ กครองเด็กปฐมวยั การศกึ ษาระดับปฐมวยั เปน็ การศึกษาทีจ่ ัดให้แกเ่ ด็กทีผ่ ู้สอนและพ่อแมห่ รือผปู้ กครองตอ้ งสอื่ สารกัน ตลอดเวลา เพ่อื ความเขา้ ใจตรงกนั และพรอ้ มร่วมมือกันในการจัดการศกึ ษาให้กับเด็ก ดังน้ัน พ่อแม่หรอื ผูป้ กครอง ควรมบี ทบาทหน้าที่ ดังนี้ ๓.๑ มสี ว่ นรว่ มในการกาหนดแผนพฒั นาสถานศกึ ษาและให้ความเหน็ ชอบ กาหนด แผนการเรยี นรขู้ องเด็กร่วมกับผสู้ อนและเด็ก ๓.๒ ส่งเสริมสนบั สนุนกจิ กรรมของสถานศึกษา และกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาเด็กตาม ศกั ยภาพ ๓.๓ เป็นเครอื ข่ายการเรยี นรู้ จดั บรรยากาศภายในบา้ นใหเ้ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ๓.๔ สนบั สนนุ ทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาตามความเหมาะสมและจาเปน็ ๓.๕ อบรมเล้ยี งดู เอาใจใสใ่ ห้ความรัก ความอบอนุ่ ส่งเสริมการเรยี นร้แู ละพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็ก ๓.๖ ปูองกนั และแกไ้ ขปญั หาพฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ตลอดจนส่งเสรมิ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยประสานความรว่ มมือกับผู้สอน ผู้เก่ยี วข้อง ๓.๗ เป็นแบบอยา่ งทดี่ ที ั้งในด้านการปฏิบัตติ นให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และมี คุณธรรมนาไปสู่ การพัฒนาใหเ้ ปน็ สถาบนั แห่งการเรยี นรู้ ๓.๘ มสี ว่ นรว่ มในการประเมินผลการเรียนรขู้ องเด็กและในการประเมินการจดั การศึกษาของ สถานศึกษา ๔. บทบาทของชุมชน การปฏริ ปู การศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กาหนดให้ชุมชนมบี ทบาทใน การมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา โดยใหม้ กี ารประสานความร่วมมอื เพ่ือ ร่วมกนั พัฒนาผู้เรียนตามศกั ยภาพ ดงั นนั้ ชมุ ชนจงึ มีบทบาทในการจัดการศึกษาปฐมวัย ดงั น้ี ๔.๑ มสี ่วนร่วมในการบรหิ ารสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคม / ชมรมผ้ปู กครอง ๔.๒ มสี ่วนร่วมในการจัดทาแผนพฒั นาสถานศึกษาเพื่อเปน็ แนวทางในการดาเนนิ การของ สถานศกึ ษา ๔.๓ เป็นศนู ย์การเรียนรู้ เครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ ใหเ้ ด็กได้เรียนร้แู ละมปี ระสบการณ์จากสถานการณ์ จรงิ ๔.๔ ให้การสนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องสถานศึกษา
๑๐๖ ๔.๕ สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอก และภมู ิปญั ญา ทอ้ งถน่ิ เพ่ือเสริมสรา้ งพัฒนาการของเดก็ ทุกดา้ น รวมทง้ั สืบสานจารตี ประเพณี ศิลปวฒั นธรรมของท้องถน่ิ และของ ชาติ ๔.๖ ประสานงานกับองค์กรทัง้ ภาครัฐและเอกชน เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ แหล่งวทิ ยาการของ ชมุ ชน และมสี ว่ นในการพฒั นาชุมชนและท้องถ่นิ ๔.๗ มีส่วนรว่ มในการตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ทาหนา้ ทเี่ สนอแนะในการพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา การจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ( เดก็ อายุ ๓ – ๖ ปี ) สาหรับกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ การจดั การศึกษาสาหรบั กลมุ่ เปูาหมายเฉพาะสามารถนาหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยไปปรับใชไ้ ด้ ทงั้ ในส่วน ของโคตรสร้างหลักสตู ร สาระการเรียนรู้ การจดั ประสบการณ์ และการประเมินพัฒนาการให้เหมาะสมกบั สภาพ บรบิ ท ความต้องการ และศักยภาพของเดก็ แตล่ ะประเภทเพ่ือพัฒนาให้เด็กมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี ึง ประสงค์ที่หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนดโดยดาเนินการดงั น้ี ๑. เปาู หมายคณุ ภาพเด็ก หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไดก้ าหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และสาระ การเรยี นรู้ เปน็ เปูาหมายและกรอบทิศทางเพ่ือให้ทุกฝาุ ยท่ีเกย่ี วขอ้ งใช้ในการพฒั นาเด็ก สถานศกึ ษาหรือผูจ้ ดั การ ศกึ ษาสาหรับกลุ่มเปูาหมายเฉพาะ สามารถเลอื กหรอื ปรับใช้ ตวั บ่งชี้และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ในการพัฒนาเด็ก เพื่อ นาไปทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคลแต่ยงั คงไว้ซ่งึ คุณภาพพฒั นาการของเด็กทัง้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ๒. การประเมนิ พัฒนาการ จะตอ้ งคานึงถงึ ปจั จยั ความแตกต่างของเด็ก อาทิ เด็กที่พิการอาจตอ้ งมกี ารปรับ การประเมินพฒั นาการทเ่ี อื้อต่อสภาพเด็ก ทงั้ วิธีการเครื่องมือที่ใช้ หรือกลุ่มเด็กทมี่ ีจุดเน้นเฉพาะด้าน การเชื่อมตอ่ ของการศึกษาระดบั ปฐมวัยกับระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ การเช่ือมต่อของการศึกษาระดบั ปฐมวัยกบั ระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑ มีความสาคญั อยา่ งยงิ่ บุคลากรทุกฝาุ ย จะตอ้ งใหค้ วามสนใจต่อการช่วยลดช่องว่างของความไม่เข้าใจในการจัดการศึกษาท้ังสองระดับ ซึ่งจะสง่ ผลต่อการ จดั การเรียนการสอน ตัวเดก็ ครู พ่อแม่ ผปู้ กครอง และบุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื ๆทงั้ ระบบ การเชือ่ มต่อของ การศึกษาระดับปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ จะประสบผลสาเร็จไดต้ อ้ งดาเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ บุคคลสาคญั ที่มีบทบาทเปน็ ผนู้ าในการเช่อื มต่อโดยเฉพาะระหวา่ งหลกั สตู ร การศกึ ษาปฐมวยั ในช่วงอายุ ๓ – ๖ ปี กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานในช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ โดยต้อง ศึกษาหลักสูตรทั้งสองระดบั เพอ่ื ทาความเขา้ ใจ จดั ระบบการบริหารงานด้านวชิ าการท่จี ะเอื้อต่อการเชอ่ื มโยง การศึกษาโดยการจดั กจิ กรรมเพอื่ เชื่อมต่อการศึกษา ดังตวั อย่างกจิ กรรมต่อไปน้ี ๑.๑ จดั ประชมครูระดับปฐมวัยและครรู ะดับประถมศึกษารว่ มกันสรา้ งรอยเชื่อมต่อของหลกั สตู รทงั้ สอง ระดับใหเ้ ป็นแนวปฏิบัตขิ องสถานศึกษาเพือ่ ครูทง้ั สองระดับจะได้เตรียมการสอนให้สอดคล้องกับเด็กวัยน้ี ๑.๒ จัดหาเอกสารดา้ นหลักสูตรและเอกสารทางวชิ าการของทงั้ สองระดับมาไว้ใหค้ รูและบุคลากรอน่ื ๆได้ ศกึ ษาทาความเขา้ ใจ อยา่ งสะดวกและเพยี งพอ
๑๐๗ ๑.๓ จดั กจิ กรรมใหค้ รทู ้งั สองระดบั มีโอกาสแลกเปลีย่ นเผยแพร่ความรู้ใหมๆ่ ท่ีไดร้ ับจากการอบรม ดู งาน ซึ่งไม่ควรจัดให้เฉพาะครูในระดบั เดียวกันเท่าน้ัน ๑.๔ จดั เอกสารเผยแพร่ตลอดจนกจิ กรรมสัมพันธใ์ นรูปแบบตา่ งๆ ระหว่างสถานศกึ ษา พ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศกึ ษาอย่างสม่าเสมอ ๑.๕ จัดให้มีการพบปะ หรอื การทากิจกรรมร่วมกบั พ่อแม่ ผู้ปกครองอยา่ งสม่าเสมอต่อเนื่อง ในระหว่าง ทเี่ ด็กอยใู่ นระดับปฐมวยั เพื่อพอ่ แม่ ผปู้ กครอง จะไดส้ ร้างความเขา้ ใจและสนบั สนุนการเรียน การสอนของบุตรหลาน ตนไดอ้ ย่างถูกต้อง ๑.๖ จดั กจิ กรรมให้ครทู ้ังสองระดับได้ทากิจกรรมรว่ มกันกับพ่อแม่ ผปู้ กครองและเด็กในบางโอกาส ๑.๗ จัดกิจกรรมปฐมนิเทศพ่อแม่ ผู้ปกครองอยา่ งน้อย ๒ ครงั้ คือ ก่อนเด็กเขา้ เรียนระดับปฐมวัยศึกษา และก่อนเด็กจะเล่อื นขน้ึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เพ่ือให้พ่อแม่ ผู้ปกครองเข้าใจ การศึกษาทัง้ สองระดับและให้ความ ร่วมมือในการช่วยเด็กให้สามารถปรับตวั เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มใหม่ไดด้ ี ๒. ครูระดบั ปฐมวัย ครรู ะดบั ปฐมวยั นอกจากจะตอ้ งศึกษาทาความเข้าใจหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และจัดกจิ กรรมพัฒนาเด็ก ของตนแลว้ ควรศึกษาหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน การจัดการเรยี นการสอนในชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ และสรา้ ง ความเขา้ ใจให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคลากรอื่นๆ รวมท้ังชว่ ยเหลือเด็กในการปรับตวั กอ่ นเลื่อนข้นึ ช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ โดยครูอาจจดั กิจกรรมดังตวั อยา่ งต่อไปน้ี ๒.๑ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกับตวั เดก็ เปน็ รายบุคคลเพื่อส่งตอ่ ครชู ัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ซง่ึ จะทาให้ครู ระดับประถมศึกษาสามารถใช้ขอ้ มลู น้นั ชว่ ยเหลือเด็กในการปรบั ตวั เขา้ กับการเรียนรใู้ หม่ต่อไป ๒.๒ พูดคุยกบั เด็กถึงประสบการณ์ที่ดีๆ เกยี่ วกบั การจัดการเรยี นร้ใู นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เพื่อให้ เด็กเกิดเจตคตทิ ี่ดีต่อการเรยี นรู้ ๒.๓ จดั ให้เด็กไดม้ โี อกาสทาความรจู้ ักกบั ครูตลอดจนสภาพแวดล้อม บรรยากาศของห้องเรยี นชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ทง้ั ที่อย่ใู นสถานศกึ ษาเดยี วกนั หรือสถานศึกษาอน่ื ๓. ครูระดับประถมศกึ ษา ครูระดับประถมศึกษาต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจในพฒั นาการเด็กปฐมวยั และมีเจตคติที่ดีต่อการจดั ประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั เพื่อนามาเป็นข้อมลู ในการพัฒนาจัดการเรยี นรู้ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ของตนใหต้ ่อเน่ืองกับการพฒั นาเดก็ ในระดับปฐมวยั ดังตัวอย่าง ต่อไปน้ี ๓.๑ จดั กิจกรรมใหเ้ ดก็ พอ่ แม่ และผู้ปกครอง มีโอกาสได้ทาความรจู้ กั ค้นุ เคยกับครแู ละห้องเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ก่อนเปิดภาคเรยี น ๓.๒ จัดสภาพห้องเรยี นให้ใกล้เคยี งกับห้องเรียนระดับปฐมวยั โดยจัดใหม้ ีมมุ ประสบการณ์ภายในหอ้ ง เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดม้ ีโอกาสทากิจกรรมได้อย่างอสิ ระเชน่ มุมหนังสือ มุมของเล่น มุมเกมการศึกษา เพ่ือชว่ ยใหเ้ ด็กช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ได้ปรับตัวและเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ตั จิ ริง ๓.๓ จดั กจิ กรรมร่วมกันกบั เด็กในการสร้างขอ้ ตกลงเกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ น ๓.๔ เผยแพรข่ ่าวสารดา้ นการเรยี นร้แู ละสร้างความสมั พันธ์ทดี่ ีกับเด็ก พ่อแม่ ผ้ปู กครอง และชุมชน
๑๐๘ ๔. พ่อแม่ ผู้ปกครองและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ่อแม่ ผปู้ กครอง และบุคลากรทางการศึกษาต้องทาความเข้าใจหลักสูตรของการศึกษาท้งั สองระดับ และ เข้าใจวา่ ถงึ แมเ้ ด็กจะอย่ใู นระดบั ประถมศึกษาแลว้ แต่เด็กยังต้องการความรักความเอาใจใส่ การดแู ลและการ ปฏสิ ัมพนั ธท์ ไ่ี ม่ได้แตกต่างไปจากระดบั ปฐมวยั และควรให้ความรว่ มมือกบั ครูและสถานศึกษาในการช่วยเตรยี มตวั เด็ก เพ่อื ใหเ้ ด็กสามารถปรบั ตัวได้เรว็ ยิง่ ขน้ึ การกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงาน การจัดสถานศึกษาปฐมวัยมีลักการสาคัญในการใหส้ ังคม ชุมชน มสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาและกระจาย อานาจการศึกษาลงไปยังท้องถ่นิ โดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ซง่ึ เป็นผู้จัดการศกึ ษาใน ระดบั น้ี ดังนั้น เพื่อใหผ้ ลผลติ ทางการศึกษาปฐมวัยมคี ุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสอดคล้องกบั ความต้องการของชมุ ชนและสงั คมจาเปน็ ต้องมีระบบการกากบั ติดตาม ประเมินและรายงานท่มี ีประสทิ ธิภาพ เพื่อให้ ทกุ กล่มุ ทุกฝุายทม่ี สี ว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบในการจดั การศึกษา เห็นความก้าวหนา้ ปญั หา อุปสรรค ตลอดจนการให้ความ รว่ มมือชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ สนับสนุน การวางแผน และดาเนินงานการจัดการศึกษาปฐมวยั ให้มีคุณภาพอย่างแท้จรงิ การกากับ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการจดั การศึกษาปฐมวยั เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบรหิ าร การศกึ ษาและระบบการประกนั คณุ ภาพทตี่ ้องดาเนนิ การอย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน การศึกษาปฐมวยั สรา้ งความม่นั ใจใหผ้ ูเ้ กยี่ วข้อง โดยตอ้ งมีการดาเนินการทเ่ี ป็นระบบเครือขา่ ยครอบคลุมท้งั หนว่ ยงานภายในและภายนอกต้ังแต่ระดบั ชาติ เขตพน้ื ที่ทุกระดบั ละทกุ อาชพี การกากับดูแลประเมนิ ผลต้องมีการ รายงานผลจากทกุ ระดบั ให้ทุกฝุายรวมทัง้ ประชาชนท่ัวไปทราบ เพื่อนาขอ้ มูลจากรายงานผลมาจัดทาแผนพฒั นา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยต่อไป
๑๐๙ ภาคผนวก
๑๑๐
๑๑๑ คณะผจู้ ัดทาเอกสาร คณะทางาน ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นมาบคล้า ตาแหน่งครู นายวรพัฒน์ พรรตั นกิจกุล ตาแหนง่ ครู นางอ้อ สงแพง ตาแหน่งครู นางสาวศริ ิพร บญุ สง่ ตาแหนง่ ครผู ูช้ ่วย นางสาววัชรนิ พร หล่มวงษ์ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ นางสาวนวพร ปาสานัง ตาแหนง่ ครูอตั ราจา้ ง นางสาวมณฑา กนั ทรพนั ธ์ นางสาวศศมิ า ปัญจวกิ รม
๑๑๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169