งานประชาสมั พันธ์ ๐๔หน่วยที่ งานเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ ความส�ำคญั ของการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธง์ าน กศน. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งาน กศน. มคี วามสำ�คัญต่อองค์กร กศน. ดงั น้ี ๑. เพ่อื เป็นการส่อื สารกับคน กศน.ภายในองค์กร ให้ได้รับรู้ รับทราบถึงข่าวสารข้อมูล เร่อื งราวต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ นโยบาย ระเบยี บปฏบิ ตั ขิ องทางราชการ หนงั สอื เวยี น หนงั สอื สง่ั การ เปน็ ตน้ ๒. เพอ่ื เปน็ การพฒั นาคน กศน. ภายในองคก์ ร ใหไ้ ดเ้ รยี นรถู้ งึ เหตกุ ารณป์ จั จบุ นั ของสงั คมประเทศ ขา่ วสาร ขอ้ มลู เร่อื งราวต่าง ๆ ที่จำ�เป็นต่อการปฏิบตั งิ านหรอื การดำ�รงชวี ิต เชน่ ข่าวประจำ�วัน ๓. เพ่ือเป็นการเผยแพร่ผลงาน กศน.ขององค์กร ทำ�ให้คนภายนอกองค์กร ภาคีเครือข่าย ได้รับรู้ และเขา้ ใจงาน กศน. และมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา ๔. เพอ่ื เป็นการสรา้ งความเช่อื ถอื รกั ษา และแก้ไขภาพลักษณ์โดยรวมให้แกอ่ งค์กร ๕. เพ่อื เปน็ การสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดรี ะหว่างองคก์ รกับประชาชนกลมุ่ เปา้ หมาย บทบาทหนา้ ทแ่ี ละวิธีการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์งาน กศน. ผ้รู ับผิดชอบงานเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ มีบทบาทหน้าท่แี ละวิธีการดำ�เนนิ งาน แบ่งเปน็ ๒ ส่วน คอื ๑. การประชาสมั พนั ธ์ภายในองค์กร ได้แก่ ๑.๑ การจดั ทำ�หนังสือเวียน ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ มีบทบาทหน้าที่ในการเวียนหนังสือราชการ คำ�สั่ง ระเบียบ ท่ี สำ�คัญ เพื่อแจ้งให้บุคลากรทุกคนลงนามรับทราบและถือปฏิบัติ เม่ือบุคลากรขององค์กรลงชื่อรับทราบ ครบแลว้ ให้จัดเกบ็ เข้าแฟม้ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน ๑.๒ การจดั บอรด์ หรอื ปา้ ยนิเทศประชาสัมพนั ธ์ ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ ควรจัดทำ�ส่ือสำ�หรับประชาสัมพันธ์ ได้แก่ บอร์ดหรือป้าย นิเทศประชาสัมพันธ์ เพื่อแจ้งข่าวสารข้อมูลขององค์กร หน่วยงาน ร้านค้า หรือใช้แสดงผลงานนักศึกษา ไดท้ กุ ระดบั ปจั จบุ นั แมว้ า่ จะมเี ทคโนโลยใี หมๆ่ เขา้ มาแทนแตป่ า้ ยนเิ ทศกย็ งั ใชป้ ระโยชนไ์ ดด้ ี(สเุ ชาว์รกั ษว์ งศ,์ ม.ป.ป. : ๔-๑๒) ป้ายนิเทศ จำ�แนกได้เปน็ ๒ ชนดิ ได้แก่ (๑) ปา้ ยนเิ ทศชนดิ ถาวร ไมส่ ามารถเคลอื่ นทไ่ี ด้ เชน่ ปา้ ยหรอื บอรด์ ทที่ ำ�ตดิ ผนงั แบบถาวร ชนดิ นผ้ี อู้ า่ น หรอื กลมุ่ เปา้ หมายตอ้ งรวู้ า่ อยทู่ ไี่ หนและตอ้ งคอยไปตรวจดวู า่ มเี หตกุ ารณอ์ ะไรใหมๆ่ หรอื เปลย่ี นแปลงบา้ ง ปา้ ยชนดิ นส้ี ่วนใหญ่จะมอี ย่ตู ามสถานศึกษา หนว่ ยงาน และเป็นการรู้หรือทราบกนั ในกล่มุ เป้าหมายทีอ่ ย่ใู นสถานศึกษา หรอื หน่วยงานนั้นๆ 101
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป (๒) ปา้ ยชนดิ เคลอ่ื นทไี่ ด้ ชนดิ นอ้ี าจจะทำ�เปน็ แบบถาวร สามารถถอดประกอบเปน็ ระบบ knock down ได้ เพอ่ื สะดวกแกก่ ารเคลอ่ื นยา้ ยไปวางตามสถานทต่ี า่ งๆ ตามความประสงคข์ องผจู้ ดั ปา้ ยนเิ ทศ เหมาะสำ�หรบั การนำ� ไปใชใ้ นการจดั แสดงนทิ รรศการ รูปแบบของปา้ ยชนดิ นีม้ หี ลากหลายรูปแบบ เช่น ชนดิ เปน็ แผ่น ชนดิ ม้วน บางชนิด ใช้วางกับพ้นื บางชนดิ ใช้แขวน เป็นตน้ ประโยชนข์ องป้ายนเิ ทศ (๑) ประโยชนข์ องหน่วยงาน ใช้ปดิ ประกาศแจง้ ข่าวสารแกส่ มาชิกในหนว่ ยงานหรอื การประชาสมั พันธ์ หน่วยงานด้านตา่ งๆ (๒) ประโยชนส์ ำ�หรบั สถาบัน หรอื สถานศกึ ษา ใชป้ ดิ ประกาศ กิจกรรมและผลงานนักศึกษา ขน้ั ตอนในการด�ำ เนินการจดั ปา้ ยนเิ ทศ (๑) เลือกเร่ืองทจี่ ะนำ�มาแสดง ต้องเปน็ เรอ่ื งเดยี วกันไม่ควรจดั หลายเรื่องบนแผ่นเดียว (๒) ตัดสินใจกำ�หนดหัวข้อและความคิดหลักท่ีจะจัดป้ายนิเทศ ศึกษาเน้ือหา คิดหาข้อความหรือคำ�ท่ี สามารถจับความสนใจของผ้ดู ูและสามารถสอ่ื ความหมายไดด้ ี (๓) วางแผนการจัดป้ายนิเทศไว้ล่วงหน้าโดยสเก๊ตซ์ภาพคร่าวๆ ลงบนกระดาษ ว่าจะใช้ภาพถ่าย ภาพวาด สง่ิ พมิ พ์ ของจรงิ และของจำ�ลองอะไรบา้ ง ตลอดจนหวั ขอ้ เรอ่ื งและขอ้ ความตา่ งๆ อย่างไร วางอะไรลงบนส่วน ไหนของป้าย ควรลองสเก๊ตซ์หลายๆ แบบแล้วจงึ เลอื กแบบที่ดีท่ีสุด (๔) ในข้นั สดุ ทา้ ยจัดเตรียมวัสดตุ ่างๆ ตามแบบที่วางไว้ (๕) ประเมนิ ดูว่าป้ายนิเทศทจ่ี ัดแล้วมีลักษณะอย่างไร หลกั การและเทคนิคการจดั ปา้ ยนิเทศ การจดั ปา้ ยนเิ ทศทดี่ มี คี ณุ คา่ ในการสอ่ื ความหมาย มปี ระสทิ ธภิ าพในการกระตนุ้ ความสนใจ ควรคำ�นงึ ถงึ องค์ประกอบตา่ งๆ หลักการและเทคนิคดังต่อไปนี้ (๑) การกระตุ้นความสนใจ ชอื่ เรื่อง จะต้องสัน้ อ่านงา่ ย เด่นชดั สามารถมองเห็นไดใ้ นระยะไกล ดงึ ดูด ความสนใจได้ทันที (๒) การมีส่วนร่วม ข้อความเชิญชวนหรือคำ�อธิบาย ควรมีลักษณะกะทัดรัด สั้น อ่านง่ายได้ใจความ ชดั เจน จดั ชอ่ งไฟได้เหมาะสม ควรเขยี นข้อความใหผ้ ้ชู มมคี วามรสู้ ึกวา่ เขามสี ่วนร่วมดว้ ย (๓) การตรงึ ความสนใจ การสรา้ งมติ เิ พอ่ื การรบั รู้ การสรา้ งภาพลวงตาใหด้ วู า่ ปา้ ยนเิ ทศมลี กั ษณะตนื้ ลกึ ดว้ ยเสน้ หรอื แถบสี (๔) ความสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบ การจดั องคป์ ระกอบใหม้ คี วามกลมกลนื กนั ทงั้ การใชร้ ปู ภาพ สี แสง เงา การตกแตง่ พน้ื ป้ายนิเทศ และบริเวณท่วี า่ งอย่างสมดุล (๕) การเนน้ ขนาดของตวั อกั ษรควรมขี นาดใหญ่ เหมาะสมกบั ขนาดของปา้ ยนเิ ทศ และมขี นาดลดหลน่ั กนั ลงมาตามลำ�ดบั ความสำ�คญั นอกจากนค้ี วรเนน้ ขอ้ ความทสี่ ำ�คญั ใหส้ ะดดุ ตาและมคี วามแตกตา่ งจากขอ้ ความอนื่ ๆ 102
งานประชาสัมพนั ธ์ ๐๔หน่วยที่ (๖) การใชส้ ี การใชส้ เี พื่อดงึ ดดู ตา เนน้ จุดสนใจและเรา้ ความสนใจของผดู้ ู ใช้สที ีห่ ลากหลายเพ่อื ชว่ ยให้ ภาพเลก็ หรอื ใหญ่ หรอื เพอื่ เป็นสญั ลกั ษณ์ของบางสิง่ ทำ�ใหภ้ าพมคี วามรู้สึก เคลอ่ื นไหว (๗) การจดั ป้ายนิเทศรว่ มกบั สื่ออนื่ จะชว่ ยใหก้ ารถ่ายทอดเน้อื หาสมบรู ณแ์ ละน่าสนใจย่ิงขึ้น (๘) การใช้เนื้อหาหรือกิจกรรมเป็นตวั กำ�หนด ตัวอย่างปา้ ยนิเทศ 103
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป 104
งานประชาสัมพนั ธ์ ๐๔หน่วยที่ ๑.๓ การเผยแพรป่ ระชาสัมพันธผ์ า่ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีการประชาสัมพันธ์ท่ีมีประสิทธิภาพ มากในปัจจุบัน ซึ่งสำ�นักงาน กศน.จังหวัด มีการสร้างเว็บไซด์ไว้สำ�หรับเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล รวมทง้ั เปน็ ชอ่ งทาง ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั คนภายในและภายนอกองคก์ ร ดงั นน้ั ผรู้ บั ผดิ ชอบงานประชาสมั พนั ธ์ จงึ ควรดำ�เนนิ การดงั น้ี (๑) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื ใหม้ สี ว่ นรว่ มในการใหข้ า่ วประชาสมั พนั ธ์ ซึ่งประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มตา่ งๆ ของ สำ�นกั งาน กศน.จังหวดั และผ้บู ริหาร กศน.อำ�เภอ (๒) รวบรวมข่าวและภาพประชาสมั พันธ์ ตรวจสอบและนำ�เสนอผบู้ รหิ ารสำ�นักงาน กศน.จงั หวัด (๓) ส่งขา่ วและภาพขึ้นเวบ็ ไซดข์ องสำ�นักงาน กศน.จงั หวัด และสำ�นกั งาน กศน. ๒. การประชาสัมพันธภ์ ายนอกองค์กร ๒.๑ การประสานงานกับหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ผรู้ บั ผดิ ชอบงานประชาสมั พนั ธม์ บี ทบาทเปน็ ผปู้ ระสานงานกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน ซึง่ เป็นภาคีเครือขา่ ย หรอื ร่วมปฏบิ ัตงิ านเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ ัน ซง่ึ ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี (๑) ตดิ ตอ่ สอ่ื สารเพอ่ื การประสานงาน โดยทำ�หนงั สอื ราชการแจง้ ขา่ วสารขอ้ มลู เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรไปยัง หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง 105
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป (๒) ติดตอ่ สอ่ื สารทางโทรศพั ท์ เพอ่ื ประสานงานอยา่ งไม่เป็นทางการ หรอื มเี รือ่ งเรง่ ด่วน ซ่ึงจำ�เป็นตอ้ ง จดั ทำ�รายชือ่ ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทรของหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง (๓) ไปตดิ ตอ่ ประสานงานดว้ ยตนเอง ซง่ึ ตอ้ งระมดั ระวงั เรอ่ื งการแตง่ กายและคำ�พดู ทเ่ี หมาะสม (๔) สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย โดยการจัดกิจกรรมหรือนิทรรศการเรื่องต่างๆ เช่น การแสดงผลงานที่ได้รว่ มกนั ดำ�เนนิ การ (๕) รายงานผบู้ รหิ ารเกย่ี วกบั การไปรว่ มงานหรอื กจิ กรรมของภาคเี ครอื ขา่ ยทจ่ี ดั ซง่ึ บางครง้ั อาจได้รับมอบ หมายจากผู้บริหารใหไ้ ปรว่ มงาน ๒.๒ การประสานงานกบั สอ่ื มวลชน การสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี กี บั สอ่ื มวลชนเปน็ ปจั จยั สำ�คญั ในการสง่ เสรมิ ความสำ�เรจ็ ใหแ้ กง่ านประชาสมั พนั ธ์ ประชาชนจะเชอ่ื ขา่ วสารในสอ่ื มวลชนวา่ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ไมใ่ ชก่ ารโฆษณา และหากองคก์ รมคี วามสามารถในการจดั การ ประเดน็ และสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ขา่ วสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธน์ นั้ จะมคี วามแนบแนน่ เนยี นไปเปน็ เนอื้ เดยี วกนั กบั ข่าว ระดับความนา่ เชอ่ื ถือกจ็ ะยิง่ เพม่ิ ขึน้ ที่สำ�คญั เมอื่ คำ�นวณคา่ ใชจ้ า่ ยต่อหวั ในการเสนอขา่ วสารเพ่ือไปยังกลมุ่ เปา้ หมายโดยการเสนอผา่ นสอื่ มวลชนพบวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยจะต่ำ�กวา่ การพยายามผลติ สอ่ื เพอื่ เผยแพรไ่ ปยงั กลมุ่ เปา้ หมายโดย หน่วยงานเอง อย่างไรก็ตาม แนวโน้มของความร่วมมือในปัจจุบันเร่ิมเปลี่ยนแปลงไป สื่อมวลชนและ นักประชาสัมพันธ์ต่างมีความร่วมมือในเร่ืองของการเผยแพร่ข่าวสารมากขึ้น สื่อมวลชนเองก็มีความยินดี และเต็มใจที่จะช่วยเผยแพร่ข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้แก่องค์การต่างๆ จะเห็นได้ในแต่ละวัน สื่อมวลชนแต่ละประเภทหรือหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับได้นำ�เสนอข่าวประชาสัมพันธ์องค์การเป็นจำ�นวน มาก หากข่าวน้นั เปน็ ขา่ วทม่ี ีคณุ ค่าของความเป็นข่าว เป็นทน่ี ่าสนใจ และมปี ระโยชน์แก่สาธารณชนทว่ั ไป เขยี นขา่ ว มีความถูกต้องตามหลักและวิธีการเขียนข่าว เน้นความจริงตรงไปตรงมา และนักประชาสัมพันธ์จะต้องคำ�นึง ไวเ้ สมอวา่ สอื่ มวลชนนนั้ ตอ้ งทำ�งานแขง่ กบั เวลา ดงั นน้ั ขา่ วใดกต็ ามทม่ี คี ณุ สมบตั คิ รบถว้ นและมคี ณุ คา่ ของความเปน็ ขา่ วสอื่ มวลชนกย็ ่อมคัดเลอื กข่าวนนั้ มีข้อน่าสังเกต สื่อมวลชนต้องการข่าวสาร ที่มีสาระ สามารถตีพิมพ์เป็นข่าวได้ ดังนั้น หาก หน่วยงานต้องการสร้างความสัมพันธ์กับส่ือมวลชน วิธีการท่ีดีที่สุดคือ ต้องเสนอข่าวท่ีมีคุณค่า มีคุณภาพ เสมอ การกินเล้ียง พบปะสังสรรค์กับสื่อมวลชนยังมีความสำ�คัญรองลงมาจาก การให้ข่าวท่ีมีคุณภาพ เพราะแม้หน่วยงานจะมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับสื่อมวลชนเพียงใด แต่ถ้าไม่สามารถมีข้อมูลที่ควรค่าแก่การ เป็นขา่ วได้ สื่อมวลชนกค็ งไมเ่ ปน็ มติ รกับเราได้นานนัก นกั ขา่ วเขาคดิ อยา่ งไร ประเด็นข่าวที่เขาสนใจ ข่าวท่ีเป็นปัจจุบัน มีเนื้อหาสามารถขายสีสัน แต่ต้องไมห่ ลดุ จากกรอบทว่ี างไว้ เมอ่ื เสนอขา่ วนแ้ี ลว้ ตอ้ งไดร้ บั ความสนใจจากประชาชนในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ และสงั คม วธิ กี ารนำ�เสนอข่าว ใหป้ ระสบความสำ�เรจ็ นั้น มหี ลกั การ ๒ ขอ้ 106
งานประชาสมั พันธ์ ๐๔หน่วยที่ (๑) เนอื้ หา คอื ต้องเปน็ เร่อื งท่ีมีเนอ้ื หานา่ สนใจ มสี าระ ได้รบั ประโยชน์จากการนำ�เสนอหรอื เผยแพร่ ออกไปแล้ว และเป็นเรอื่ งราวทที่ นั ยคุ สมัยในปจั จุบัน (๒) การน�ำ เสนอ คอื ตอ้ งมกี ารนำ�เสนอที่นา่ สนใจ ให้คนอา่ นข่าวหรอื ดูข่าวแลว้ รูส้ กึ อยากติดตามเกาะ กระแส และไม่ยึดกรอบในทางปฏิบัติมากเกินไป องคป์ ระกอบหลกั ของขา่ ว ประกอบดว้ ย ความสะเทอื นใจ, ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ , ความดงั ของคนในขา่ ว, ความใกล้ตัว, ความซบั ซอ้ นมีเงอื่ นงำ�, เพศ ในขา่ วนน้ั ๆ, ความแปลก ความไม่ธรรมดา, ความรวดเรว็ ของนักขา่ ว หรอื สอื่ , สถานการณ์ในปัจจบุ นั , ความเปน็ ท่ีสดุ หรอื เป็นคร้ังแรก ใหญ่ที่สดุ เช่น ข่าวคุณครูจูหลงิ ท่เี กดิ ขึ้นนน้ั จะไดร้ บั ความสนใจเป็นอย่างมากไม่วา่ จะนำ�เสนอในประเด็นใดกต็ าม ฉะนัน้ ในการที่จะเขยี นขา่ วแลว้ ส่ือโทรทศั น์ วทิ ยุ หนงั สอื พิมพ์ ให้ความสนใจและสามารถขายไดห้ รอื ดึงดูดให้นักข่าวนำ�ข่าวน้ันไปนำ�เสนอ จะต้องรู้จักประเด็นที่เลือกมาทำ�ข่าวต้องเป็นข่าวทันสถานการณ์หรือมีองค์ ประกอบหลกั ของข่าวตรงกับทเี่ สนอขา้ งตน้ วิธีน�ำ เสนอภาพข่าวและข้อมลู ทเ่ี ก็บรวบรวม ลักษณะภาพทไ่ี ด้ลงข่าว ภาพทล่ี งขา่ วตอ้ งเปน็ ภาพลกั ษณะประมวลภาพขา่ วหรอื ภาพการทำ�กจิ กรรมชว่ ยเหลอื รว่ มกบั ชมุ ชน ชาวบา้ น เดก็ หรอื ผปู้ ระสบภยั ตา่ งๆ แตเ่ นน้ ผล คอื ตอ้ งเปน็ ภาพทอ่ี ยใู่ นสถานการณน์ น้ั จรงิ ๆ ข้อมูลท่ีเป็นข่าว คือ ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดของเร่ืองราวน้ันๆ แล้วนำ�มาจัดลำ�ดับ เหตุการณ์ จะทำ�ใหเ้ ขา้ ใจเนื้อข่าวไดม้ ากข้ึน ซ่ึงทำ�ใหข้ า่ วนน้ั เปน็ ท่ีน่าสนใจและนิยมของบคุ คลโดยทว่ั ๆ ไปท่ชี อบขา่ ว แบบประมวลข่าว วธิ กี ารสรา้ งขา่ ว (๑) หนว่ ยงานตอ้ งมกี ารสรา้ งภาพลกั ษณข์ น้ึ มาบา้ ง เชน่ ในเรอ่ื งยางพารา อาจจะแนะนำ�นกั วชิ าการ หรอื อาจารยท์ ี่มีความรใู้ นเร่อื งนี้ แล้วบอกสือ่ วา่ ทา่ นเป็นผ้เู ช่ียวชาญในเรื่องยางพาราอยา่ งลึกซง้ึ สง่ ผลให้เมือ่ มเี รอื่ งเกยี่ ว กับยางพารา หรือเร่ืองตา่ งๆ ทไ่ี ดเ้ สนอไปว่ามีใครเป็นผู้รู้ ผูเ้ ชย่ี วชาญอยู่ ทำ�ใหน้ กั ขา่ วรวู้ า่ ควรจะคยุ กบั ใคร ใหเ้ ปน็ ขา่ ว ได้ และนอกจากจะเปน็ การสรา้ งชอ่ื เสยี งใหต้ นเองแลว้ สง่ ผลใหอ้ งค์การมชี อ่ื เสียงด้วย เนื่องจากมีผู้เช่ยี วชาญทจ่ี ะออก มาให้ความรเู้ กีย่ วกับข่าวน้ันได้ (๒) องคก์ รจดั งานเปดิ เวทีเสวนาต่างๆ กบ็ อกรายละเอียดของงานหรือกจิ กรรมให้ละเอยี ด แตท่ ่สี ำ�คญั คือ ตอ้ งบอกถงึ จุดเดน่ ไฮไลท์หลักในการจดั งานครงั้ นี้ เพอ่ื จะได้เป็นแรงดงึ ดูดนักข่าว ส่ือ หรือบคุ คลท่วั ๆ ไปใหเ้ ข้า มาร่วมงาน (๓) การให้ข่าวตอ้ งสื่อใหต้ รงจุด ต้องเตรยี มพร้อมเร่อื งข้อมูล จดั ทน่ี ง่ั แสดงความสนใจนักข่าว คุยเรอ่ื ง ประเดน็ ข่าวใหต้ รงกัน เลือกสือ่ ให้ตรงกับเนอ้ื หาข่าว เชน่ ข่าวสหกรณ์ ตอ้ งเชิญส่ือหรอื นักข่าวในสายเศรษฐกจิ เป็น หลักเพราะสหกรณ์เป็นเรื่องของหลักเศรษฐศาสตร์ (ไม่ใช่สายเกษตรอย่างที่เราเข้าใจกันแต่สายเกษตรควรเป็นสาย รอง) เพอ่ื ท่จี ะได้สื่อขา่ วได้ตรงจุด (๔) รจู้ กั คน้ หาประเดน็ ดๆี เดน่ ๆ ทน่ี า่ สนใจจากแหลง่ ขา่ วเพอื่ เพม่ิ คณุ คา่ ขา่ ว อาจจะนำ�เรอื่ งใกลต้ วั /ใกล้ ชมุ ชนมาทีม่ ีความน่าสนใจมานำ�เสนอต่อสอ่ื มวลชนใหน้ ำ�เสนอเป็นข่าว 107
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป (๕) การทำ�ข่าววิทยุควรนำ�เสียงประกอบ เช่น เสียงบรรยากาศ ความวุ่นวายสับสนของสถานการณ์ท่ี เกิดขึ้นมาประกอบ ด้วยเพราะเป็นลักษณะเด่นของการใช้เสยี งสำ�หรับข่าววทิ ยุ (๖) การใชเ้ ดก็ เปน็ ตวั แทนในการนำ�เสนอขา่ วบางกรณี เพราะเดก็ สามารถดงึ ดดู ใจผชู้ มไดด้ กี ารนำ�เสนอ ข่าวโดยมุ่งแตส่ มั ภาษณ์แต่ไมเ่ จาะประเดน็ (๗) เลอื กประเดน็ ทค่ี นทว่ั ไปสนใจ/ขา่ วกระแสการเมอื งทก่ี ำ�ลงั hot ตอ้ งตดิ ตามแตข่ า่ วสมั มนาเรากส็ ามารถ ทำ�ใหเ้ ปน็ ขา่ วทนี่ า่ สนใจไดส้ รุปส้นั ๆ ๒–๕ นาที เป็นต้น (๘) การทำ�ขา่ วเชงิ คณุ ภาพตอ้ งมกี ารประชมุ ทมี ขา่ วทกุ วนั ทำ�งานเปน็ ทมี โดยบรู ณาการกบั ฝา่ ยอนื่ และ งดรับทำ�ข่าวฝากทไ่ี ม่มปี ระเด็น ไม่อยใู่ นกระแสแบบเร่งด่วน (๑๐) ผรู้ บั ผิดชอบงานประชาสัมพนั ธ์ในองคก์ รตา่ งๆ ควรท่จี ะเขยี นขา่ วโดยการเลอื กประเด็นหลกั ๆ ให้ กับสื่อ หรือนักข่าว แทนการเชิญนักข่าวมาทำ�ข่าวแต่ไม่มีรายละเอียดหรือจุดสำ�คัญหรือไฮไลท์ของข่าวเตรียมไว้ให้ เพราะบอ่ ยครงั้ ทนี่ กั ขา่ วมกั มงี านหลายแหง่ จงึ อาจไมม่ เี วลามากนกั ทำ�ใหส้ อื่ จะเสยี เวลามาอา่ นหรอื มารอทำ�ขา่ วทไี่ มม่ ี จดุ เด่นอะไร ด้วยเหตุน้ี ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์จึงมีหน้าที่ในการจัดทำ�ข้อมูล กำ�หนดประเด็น เตรียมความ พร้อม การตดิ ต่อประสานงานกับสือ่ มวลชน วางกลยทุ ธ์ของการสื่อสาร ในขณะทท่ี างด้านส่ือมวลชนก็ตอ้ งการขา่ ว โดยเฉพาะหากเปน็ ขา่ วทจี่ ะไปนำ�เสนอตอ่ นนั้ เปน็ ขา่ วทน่ี า่ สนใจ สรา้ งความแปลกใหม่ หรอื โดดเดน่ กวา่ ขา่ วโดยทว่ั ไป ด้วยแลว้ จะยง่ิ ทำ�ให้งานนั้นเชอื่ มโยงไปถงึ สาธารณชนไดร้ ับรขู้ ่าวทไี่ ดร้ ับการเผยแพรต่ ีพมิ พ์ ถา่ ยทอดออกมาให้เหน็ เสน้ ทางเหล่านจ้ี ึงชว่ ยสร้างภาพลกั ษณ์ทดี่ ใี หก้ ับองค์กรได้ หลักการบรหิ ารสอื่ มวลชนสมั พันธ์ (๑) จดั ทำ�บญั ชีรายชอื่ ท่อี ยู่ เบอร์โทรศัพท์ อเี มล์ FB TW ของผสู้ ่ือข่าว และบรรณาธกิ าร หรอื รายการ สอ่ื ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ธรุ กิจขององคก์ ารให้ถกู ต้องและทันสมัยอยู่ตลอดเวลา (Update List) (๒) ใหเ้ กียรตสิ อื่ มวลชนทุกรายโดยเสมอกนั (๓) ให้ความร่วมมือในการสมั ภาษณ์ (๔) ไมเ่ ข้าไปก้าวก่ายวธิ ีการทำ�งานของส่ือมวลชน (๕) หากมีการนำ�เสนอขา่ วผิด ไมค่ วรทำ�การเรียกร้องเพื่อใหส้ อ่ื มวลชนมาขอโทษ (๖) ขอโอกาสท่ีจะชีแ้ จงขอ้ เท็จจรงิ โดยเรว็ เพือ่ ใหเ้ ขาไดข้ ้อมูลท่ถี กู ต้อง (๗) พยายามรักษาบรรยากาศแห่งความเป็นมติ รท่ดี ตี อ่ กันกบั สอ่ื มวลชน (๘) อย่าพูดจาเปน็ เท็จต่อสื่อมวลชน เพราะสกั วนั ความจรงิ ต้องปรากฏและสอื่ มวลชนรคู้ วามไมน่ ่าเชือ่ ถือจะปรากฏโดยทนั ที และลบออกไปได้ยาก (๙) ใหค้ วามเป็นกันเองกับสือ่ มวลชน อย่าแสดงอาการแบ่งชั้นวรรณะใดๆ (๑๐) การมองการนำ�เสนอขา่ วอยา่ งเปน็ ธรรมทงั้ ในแงม่ มุ ขององคก์ รเอง และมมุ มองของผบู้ รโิ ภค เพราะ สอื่ มวลชนจะนำ�เสนอภาพทเี่ ปน็ ตัวแทนของสาธารณชนสว่ นใหญ่ 108
งานประชาสมั พันธ์ ๐๔หน่วยที่ (๑๑) ควรมีการพบปะสงั สรรคก์ บั ส่อื มวลชนบ้าง เพอ่ื สมั พันธภาพทีด่ ีและยาวนาน (๑๒) สนบั สนนุ กิจกรรมของสือ่ มวลชนตามสมควรแก่โอกาส (๑๓) หากเปน็ องค์การใหญ่ มขี ่าวมากมาย ควรจะพบปะเพ่อื สานสัมพันธ์ตอ่ เน่ือง และให้เวลาทจี่ ะให้ ขอ้ มูลตอ่ ส่อื มวลชนอย่างสมำ่ �เสมอ (๑๔) ในการจดั กจิ กรรมพเิ ศษ เมอ่ื มกี ารเชญิ สอ่ื มวลชนเขา้ รว่ มงานกค็ วรจะใหเ้ กยี รตอิ ยา่ งเหมาะสม ไมน่ ้อย ไปและไมม่ ากจนเกินพอดี จะเห็นได้วา่ งานเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์งาน กศน. ทงั้ ภายในและภายนอก มคี วามสำ�คัญอย่างยิ่ง เพราะ ทำ�ให้องค์กรมีภาพลกั ษณ์ที่ดี อกี ท้ังเป็นการใหบ้ คุ คลท้งั ภายในและภายนอกรับรูก้ จิ กรรมและความเคลอ่ื นไหว เรือ่ ง ราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานและส่งผลให้องค์กรเป็นที่รู้จักเกิดการประสานงานได้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 109
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป เอกสารอ้างองิ หนังสือ/คู่มอื ๑. “เทคนิคการเขียนหนังสือราชการ หนังสือโต้ตอบและรายงานการประชุม” โดยนภาลัย สุวรรณธาดา และอดลุ ย์ จนั ทรศักด์ิ พิมพ์โดย หา้ งหนุ้ สว่ นจ�ำกดั ภาพพิมพ์ ๒๕๕๔ พิมพ์ครั้งท่ี ๗ ๒. “เทคนิคการเขยี นบนั ทึกเสนอและการเกษียนหนังสอื ” โดย พลตรี กิจคณิตพงศ์ อนิ ทอง พมิ พ์โดย หา้ งหุ้นส่วนจำ� กดั ภาพพมิ พ์ ๒๕๕๒ หนา้ ๒๓ ๓. “การท�ำบันทึกเสนอ การจดรายงานการประชุม การเขียนค�ำกล่าวในพิธี” โดย ประวีณ ณ นคร สำ� นกั งาน ก.พ. ๔. “คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานเลขานุการ Secretary Works” งานเลขานุการกิจและ สภาคณาจารย์ กองบรหิ ารงานทว่ั ไป ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี เรยี บเรยี งโดย ตรีเพ็ชร์ อำ�่ เมอื ง ๕. “ค่มู ือการจดั เกบ็ หนงั สือราชการ” โดย ดลิ ก พัฒนว์ ิชัยโชติ ๖. “การเขียนสำ� หรบั ขา้ ราชการไทย” โดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ว่าท่ีรอ้ ยโท ธนู ทดแทนคณุ ๗. “การจดั ประชมุ และฝกึ อบรมอย่างมปี ระสิทธภิ าพ” โดย ดร.วรวรรณ์ ศรัยาภัย ๘. “คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ านเลขานกุ าร” โดย ทองใบ โชตกิ สมบตั ิ ๙. “เทคนิคการจดั ปา้ ยบอร์ดหรอื ป้ายนิเทศดว้ ยตนเอง” โดย สุเชาว์ รกั ษว์ งศ์ กฎหมาย ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ที่เกย่ี วข้อง ๑. ระเบียบสำ� นักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เติม ๒. ระเบียบสำ� นกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๓. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนและสทิ ธิประโยชนข์ อง พนักงานราชการ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ ๔. ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการอนมุ ตั ใิ หเ้ ดนิ ทางไปราชการ และการจดั การประชมุ ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๒๔ ๕. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการให้ข้าราชการไปศึกษาต่อและฝึกอบรม ภายในประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ ๖. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ก�ำหนดหลักเกณฑ์การท�ำสัญญา ค�้ำประกันของข้าราชการที่ลาไปศึกษาว่า ผู้ค�้ำประกันจะต้องเป็นบิดา หรือมารดาของผู้ท่ีจะไปศึกษา หากไม่สามารถจดั หาผคู้ �้ำประกันท่ีเป็นบดิ า หรอื มารดาได้ 110
เอกสารอา้ งอิง / ภาคผนวก ๗. ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการทำ� สญั ญาและการชดใชเ้ งินกรณรี ับทุน ลาศึกษา ฝึก อบรม ปฏิบัตกิ ารวิจยั และปฏิบตั ิงานในองค์การระหวา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๘. หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดท�ำสัญญาและการชดใช้เงิน กรณีรับทุน ลา ศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย และปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๔๐๖.๒/ว ๘๓ ลงวันที่ ๒๖ กนั ยายน ๒๕๔๙ ๙. กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑๐. ค�ำส่ังส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๒๗๐/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เร่ือง มอบอ�ำนาจให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดและผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด/ กรุงเทพมหานคร ปฏบิ ัตริ าชการแทน ๑๑. ระเบยี บ ก.ค.ศ. วา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหข้ า้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไปศึกษา ฝกึ อบรม ดงู าน หรอื ปฏิบัติงานวิจัยและพฒั นา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑๒. แนวปฏบิ ตั ใิ นการขออนมุ ตั แิ ละแนวทางการพจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หข้ า้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษาลาศึกษา ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัย ถือเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการและมิสิทธิได้รับการ พิจารณาเลอื่ นข้นั เงนิ เดือนในระหวา่ งลาศกึ ษา ตามนยั หนังสอื ส�ำนกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๗/ว ๘ ลงวันที่ ๒๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๔ และหนังสือดว่ นมาก ที่ ศธ ๐๒๐๖.๗/ว ๒๖ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ๑๓. ระเบยี บสำ� นักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๔. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา และเลอื กสรรพนกั งานราชการ และแบบสัญญาจา้ งของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑๕. หนังสือส�ำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ลงวนั ท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๕๒ ๑๖. หนงั สอื ส�ำนกั งาน ก.พ. ด่วนทส่ี ุด ที่ นร ๑๐๐๘.๑/ว ๒๘ ลงวันที่ ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๒ ๑๗. ประกาศส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ผลการปฏบิ ตั ิราชการของขา้ ราชการพลเรือนสามัญ ๑๘. หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลการปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา (หนงั สือสำ� นกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๕/๔๘๒ ลงวันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๕๑) ๑๙. หนงั สอื สำ� นกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๒/ว ๘ ลงวันท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๐ ๒๐. ประกาศสำ� นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง หลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินผลการ ปฏิบัติราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ค. (๒) ลงวันท่ี ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ 111
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป ๒๑. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของลูกจ้าง ประจ�ำ (หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค ๐๔๒๘/ว ๙๐ ลงวันที่ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๓) ๒๒. ระเบียบสำ� นกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒๓. ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ เรือ่ ง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติ งานของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๔. ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เรอ่ื ง สทิ ธปิ ระโยชนข์ องพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๕. ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เร่ือง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๖. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนของพนกั งานราชการ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๗. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง คา่ ตอบแทนของพนกั งานราชการ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๘. ประกาศคณะกรรมการบริหารพนกั งานราชการ เร่ือง คา่ ตอบแทนของพนกั งานราชการ (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๙. ประกาศส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ผลการปฏบิ ัติงานของพนกั งานราชการท่วั ไป สงั กัดสำ� นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๓๐. ประกาศส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีพิจารณา เลื่อนค่าตอบแทนประจำ� ปขี องพนักงานราชการ สังกัดสำ� นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๓๑. ประกาศสำ� นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารบรหิ ารวงเงนิ งบประมาณ การเลือ่ นค่าตอบแทนประจำ� ปีของพนักงานราชการ สงั กัดสำ� นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ๓๒. พระราชบญั ญตั ิเครื่องราชอสิ รยิ าภรณอ์ ันเปน็ ทีเ่ ชดิ ชูย่งิ ชา้ งเผอื ก พ.ศ. ๒๔๘๔ ๓๓. พระราชบญั ญัตเิ ครื่องราชอิสรยิ าภรณ์อันมีเกียรตยิ ศม่งิ มงกฎุ ไทย พ.ศ. ๒๔๘๔ ๓๔. ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นท่ี เชิดชูย่งิ ช้างเผอื ก และเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณอ์ ันมเี กยี รตยิ ศยิง่ มงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๓๖ ๓๕. ระเบียบส�ำนกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการประดับเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณไ์ ทย พ.ศ. ๒๕๓๖ ๓๖. ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เร่อื ง การปรับปรงุ ราคาชดใช้แทนเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณท์ ่ี ไม่สามารถส่งคืนตามกฎหมาย ประจำ� ปีงบประมาณ ๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ ๓๗. หนงั สอื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/ว ๑๙๔ ลงวนั ที่ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๓๕ เรือ่ ง การจัดทำ� ประวตั ิผ้ไู ดร้ ับพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ 112
เอกสารอา้ งอิง / ภาคผนวก ๓๘. หนงั สอื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/ว ๓๙ ลงวนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๖ เร่อื ง การขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ๓๙. หนงั สอื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๒๐๔/ว ๘๗ ลงวนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๗ เรื่อง การขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์เปน็ กรณีพเิ ศษ ๔๐. หนงั สอื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ท่ี นร ๐๒๐๔/ว ๓๗ ลงวนั ท่ี ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๐ เรื่อง การขอแกไ้ ขค�ำผิดของคำ� นำ� หนา้ ชือ่ ชือ่ ตัว และหรือชอ่ื สกุลในราชกจิ จานุเบกษา ๔๑. หนังสอื ส�ำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๗/ว ๑๘๓ ลงวันที่ ๕ กนั ยายน ๒๕๔๐ เร่อื ง การขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณช์ ้นั สายสะพายใหแ้ ก่ข้าราชการท่เี กษียณอายุราชการ ๔๒. หนงั สอื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๗/ว ๑๒๖ ลงวนั ที่ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๓ เร่อื ง การขอพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ในวโรกาสพระราชพธิ เี ฉลิมพระชนมพรรษาประจำ� ปี ๔๓. หนังสอื สำ� นักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๗/ว ๖๓ ลงวันท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๔๔ เร่อื ง การจา่ ยเครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ชน้ั ต่�ำกวา่ สายสะพาย ๔๔. หนงั สือส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๗/ว ๖๓ ลงวันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๔๕ เร่อื ง การเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณป์ ระจำ� ปี ๔๕. หนังสือส�ำนักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๒๐๗/๙๘๕๖ ลงวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เรื่อง หารือการเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ ๔๖. หนงั สอื สำ� นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ที่ นร ๐๕๐๗/ว ๑๕๐ ลงวนั ที่ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๔๖ เรอื่ ง การนบั ระยะเวลาสำ� หรบั การเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณป์ ระจำ� ปใี หแ้ กข่ า้ ราชการทไี่ ดร้ บั การบรรจุกลบั เข้ารบั ราชการ ๔๗. หนงั สอื สำ� นักงาน ก.ค.ศ. ดว่ นทส่ี ุด ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๔/ว ๑๗ ลงวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๒ เรือ่ ง หลักเกณฑ์และวธิ กี ารให้ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีวทิ ยฐานะและเล่อื นวทิ ยฐานะ ๔๘. หนังสือส�ำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๔/ว ๑๐ ลงวันท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เรื่อง หลักเกณฑแ์ ละวิธีการใหข้ า้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในจังหวดั ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ สงขลา (เฉพาะพน้ื ที่อ�ำเภอเทพา สะบ้ายอ้ ย นาทวี และจะนะ) มีวทิ ยฐานะและมีหรือเล่ือนวทิ ยฐานะช�ำนาญ การพิเศษ ๔๙. หนังสือส�ำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๔/๔๔๘๘ ลงวันท่ี ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๓ เรือ่ ง การพจิ ารณาประสบการณเ์ พอื่ ขอมวี ทิ ยฐานะครชู �ำนาญการ ๕๐. พระราชบัญญตั ิบัตรประจ�ำตัวเจ้าหน้าท่ขี องรฐั พ.ศ. ๒๕๔๒ 113
เอกสารประกอบการพัฒนาสายงานนักจัดการงานทั่วไป รายช่อื คณะท�ำ งานจดั ทำ�หลกั สูตรผปู้ ฏิบัตงิ านในสายงาน นกั จัดการงานทว่ั ไป ท่ปี รกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน. จำ�จด รองเลขาธิการ กศน. ๑. นายประเสริฐ วงศาโรจน์ ผูอ้ ำ�นวยการกลมุ่ การเจา้ หนา้ ที่ ๒. นายสรุ พงษ์ ๓. นายสัจจา คณะท�ำ งาน ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่ ประธานคณะทำ�งาน ๑. นายศภุ กร ศรศี กั ดา ๒. นางสาวทิพวรรณ เตยี งธวัช รองผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั งาน กศน.จังหวัดลำ�ปาง คณะทำ�งาน ๓. นางนาถยา ผวิ มนั่ กิจ รองผอู้ ำ�นวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนอื คณะทำ�งาน ๔. นางสุวภ ี คงด ี นักจัดการงานทัว่ ไปชำ�นาญการพเิ ศษ คณะทำ�งาน ๕. นางเบ็ญจางค ์ ถน่ิ ธานี นักทรัพยากรบุคคลชำ�นาญการพิเศษ คณะทำ�งาน ๖. นางสาวประนัดดา ปะนัดตงั นกั วิชาการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร คณะทำ�งานและ เลขานกุ าร บรรณาธิการ ศรีศกั ดา ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นกั งาน กศน.จังหวดั เชยี งใหม่ ถิน่ ธาน ี นักทรัพยากรบคุ คลชำ�นาญการพเิ ศษ ๑. นายศุภกร ปะนดั ตัง นกั วิชาการศึกษาปฏิบัติการ ๒. นางเบ็ญจางค์ ออกแบบ/ปก นางสาวประนัดดา 114
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114