Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาครู สายงานการสอน

รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาครู สายงานการสอน

Published by Tipanan Klaikatoke, 2021-06-29 08:40:53

Description: รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาครู สายงานการสอน

Search

Read the Text Version

รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. หลกั สตู รการวิจยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

(ก) คำนำ กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายการพัฒนาครูและคุณภาพการศึกษาที่มุ่งตอบสนองความ ต้องการจาเป็นต่อการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาพของแต่ละสถานศึกษาให้มากท่ีสุด เพราะ สถานศึกษาแต่ละแห่งย่อมมีสภาพปัญหาความต้องการจาเป็นที่แตกต่างกันอันเนื่องมาจากวิสัยทัศน์ เปา้ หมายการพฒั นามีความแตกต่างหลากหลาย การพัฒนาครูจงึ ใช้กระบวนการให้ครูได้มีโอกาสเลอื ก หลักสูตรท่ีจะเข้ารับการพัฒนาตามความต้องการ ประกอบกับสานักงาน กศน. ได้มีมติรับรอง หลักสูตรการอบรมหลักสตู รเพื่อการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สังกัด สานกั งาน กศน. จานวน 25 หลักสตู ร สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย ได้รับการรับรองหลักสูตรการวิจัยพัฒนาการเรียนการ สอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ซึ่งเป็นหลักสูตรระดับพ้ืนฐาน กาหนดชั่วโมงการอบรมจานวน 18 ชั่วโมง ระยะเวลาอบรมระหว่างวันที่ 17 – 19 พฤษภาคม 2564 ณ โรงแรมพาร์คแอนด์พูล รสี อร์ท อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ครูท่ีเข้ารับการพัฒนาเข้าใจ สภาพปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนโดยการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งครูท่ีเข้ารับการพัฒนา สามารถดาเนินการจัดทาวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้อง และสามารถ นาไปใช้แก้ปัญหาในช้ันเรียนได้อย่างมีคุณภาพและต่อเน่ือง รวมท้ังสามารถแสดงบทบาทหน้าท่ีของ ตนในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมืออาชีพโดยกลุ่มเป้าหมายท่ีเข้ารับการอบรมประกอบด้วยข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน จากท่วั ประเทศ ซ่ึงสานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย ไดจัดทารายงานผลการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สังกัด สานักงาน กศน. หลักสูตรการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในลักษณะคาเฉล่ีย (average)เพ่ืออธิบายผลท่ีไดจากการตอบแบบประเมินผลความพึงพอใจ จานวน 3 สวน คือ 1. แบบประเมินความพึงพอใจการดาเนินงาน 2. แบบประเมินความพึงพอใจวิทยากร หลักสตู ร 3. การเปรยี บเทยี บค่าร้อยละคะแนนกอน - หลังรับการพฒั นา ท้ังนี้ หวังเปนอยางย่ิงวารายงานผลการดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สังกัดสานักงาน กศน. หลักสูตรการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการ เรยี นรู้ทางวิชาชีพสานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย ฉบับน้ี จะเปนประโยชน์สาหรับข้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจ หากมีขอบกพรองประการใด คณะผูจัดขออภัยมา ณ ท่ีน้ีดวย กลุ่มอานวยการ สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. หลักสตู รการวิจัยพัฒนาการเรยี นการสอน/ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

สำรบญั (ข) คำนำ หน้ำ สำรบญั (ก) สำรบญั ตำรำง (ข) สำรบัญภำพ (ค) บทท่ี 1 บทนำ (ง) 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการประเมนิ 4 1.3 ขอบเขตของการประเมิน 4 1.4 วธิ ีดาเนินการของการประเมิน 4 1.5 งบประมาณ 6 1.6 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 6 1.7 ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 7 1.8 เครือข่าย 7 1.9 โครงการทเี่ ก่ียวข้อง 7 1.10 ผลลัพธ์ 7 1.11 ดชั นีช้วี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ 7 1.12 การติดตามและประเมินผล 7 บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 2.1 ความหมายความสาคญั และประโยชน์ของการวจิ ยั ในช้ันเรยี น 8 2.2 การเขยี นโครงรา่ งการวิจัย 18 2.3 เครอื่ งมอื ในการวจิ ัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล 25 2.4 การเผยแพร่ผลงานวิจัย 39 2.5 ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี 43 (Professional Learning Community : PLC) 47 บทที่ 3 วิธดี ำเนินงำนกำรประเมนิ 47 48 3.1 การกาหนดประชากร 49 3.2 เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ ข้อมลู 3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมลู รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. หลักสตู รการวิจยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

(ข) สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ บทที่ 4 กำรวิเครำะห์ผลกำรประเมิน 50 4.1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู การประเมินความพึงพอใจหลกั สูตร 55 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การประเมนิ ความพึงพอใจวทิ ยากร 56 4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลการประเมินก่อน-หลังเข้ารับการพฒั นา 58 บทที่ 5สรปุ ผล กำรอภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ 58 5.1 วัตถุประสงค์ของการประเมิน 58 5.2 ขอบเขตของการประเมิน 59 5.3 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 59 5.4 วิธวี เิ คราะหข์ อ้ มูล 59 5.5 สรุปผลการประเมิน 60 5.6 การอภิปรายผล 61 5.7 ขอ้ เสนอแนะ 63 บรรณำนกุ รม 96 ภำคผนวก 105 ภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ภาคผนวก ค. คณะผจู้ ดั ทำ รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. หลักสตู รการวิจัยพัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

สำรบัญตำรำง (ค) ตำรำงที่ หน้ำ 52 52 1. ระดับความพึงพอใจดา้ นวิทยากร 53 2. ระดับความพึงพอใจดา้ นด้านสถานท่/ี ระยะเวลา/อาหาร 53 3. ระดบั ความพึงพอใจดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจก่อนและหลังการอบรม 55 4. ระดับความพงึ พอใจด้านการนาความรู้ไปใช้ 56 5. การประเมินวทิ ยากรหลักสตู ร 6. การเปรยี บเทียบคารอยละคะแนนกอน - หลังรบั การพัฒนา รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. หลกั สตู รการวิจยั พัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

สำรบญั ภำพ (ง) ตำรำงท่ี หน้ำ 24 1. ตารางปฏิบัติงานโดยใช้ Gantt Chart 40 2. กระบวนการขั้นตอนงานวิจัย 50 3. ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นเพศ 51 4. ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นอายุ 51 5. ขอ้ มูลทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถามด้านการศึกษา รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. หลกั สตู รการวจิ ยั พัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

บทท่ี 1 บทนำ การรายงานผลการดาเนินงานการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงาน การสอน สังกัดสานักงาน กศน. หลักสูตรการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย ในครั้งน้ี ผู้จัดทาได้นาเสนอหัวข้อในการประเมิน โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของกำรประเมนิ กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายการพัฒนาครูและคุณภาพการศึกษาที่มุ่งตอบสนองความ ต้องการจาเป็นต่อการพัฒนาท่ีสอดคล้องกับสภาพของแต่ละสถานศึกษาให้มากท่ีสุด เพราะ สถานศึกษาแต่ละแห่งย่อมมีสภาพปัญหาความต้องการจาเป็นท่ีแตกต่างกัน อันเนื่องมาจากวสิ ัยทัศน์ เป้าหมายการพฒั นามีความแตกตา่ งหลากหลายการพัฒนาครูจึงใช้กระบวนการให้ครูได้มีโอกาสเลือก หลกั สตู รที่จะเข้ารบั การพฒั นาตามความต้องการ โดยความเหน็ ชอบของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา การสร้างหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครูท่ีมีความเท่าทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและโลก ศตวรรษที่ 21 จึงสร้างโอกาสการมีส่วนร่วมจากผู้พัฒนาหลักสูตรท่ีมีจากทั้งภาคเอกชน สถาบันอุดมศึกษา สถานศึกษา สมาคม มูลนิธิ และส่วนราชการ ทั้งนี้ การสร้างการมีส่วนร่วมในการ นาเสนอหลักสูตรของหน่วยงานต่าง ๆ น้ัน จะเป็นไปตามทิศทางการกาหนดแนวคิดทางวิชาการของ สถาบนั คุรุพฒั นาซ่ึงเปน็ ส่วนหน่งึ ขององคก์ รวชิ าชีพครู การนาหลักสูตรไปใช้จะเป็นอิสระของส่วนราชการที่มีความต้องการจาเป็น โดยส่วนราชการ เหล่านั้นอาจนาหลักสูตรหนึ่งหลักสูตรใดไปใช้หรือไม่นาไปใช้ก็ได้ตามเหตุผลและความจาเ ป็นของ แตล่ ะส่วนราชการ สถาบันคุรุพัฒนา สานักงานเลขาธิการคุรุสภา จึงได้กาหนดแนวทางการรับรองหลักสูตร เพ่ือการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน โดยมีกรอบแนวคิดพื้นฐานที่คานึงถึง หลักการตามมาตรฐาน ดงั น้ี (ก) มาตรฐานหลักสูตร เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่มีหลักการและกรอบแนวคิดท่ีชัดเจนระบุ ถึงกล่มุ สาระ ระดบั และประเภทการศกึ ษา และระดบั ความลมุ่ ลึกของหลกั สูตร ได้อยา่ งชัดเจน (ข) มาตรฐานการดาเนินงาน เป็นการบริหารจัดการที่มีผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรชัดเจน มีระบบ การรายงานข้อมูลของครูที่เข้ารับการพัฒนาได้อย่างครบถ้วนมีระบบการติดตาม ประเมินผลของ หลกั สตู ร (ค) มาตรฐานวิทยากร ต้องคัดกรองบุคคลที่จะมาทาหน้าท่ีเป็นวิทยากรพัฒนาครู โดยต้อง คานึงถึง คุณวุฒิประสบการณ์ ความเช่ียวชาญ วิทยฐานะ หรือตาแหน่งทางวิชาการท่ีเป็นไปตาม เกณฑ์ท่ีสถาบันครุ ุพฒั นากาหนด (ง) มาตรฐานผู้เขา้ รบั การพฒั นา เป็นการกาหนดกลุม่ เป้าหมายครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอนท่ีชัดเจน มีการกาหนดคุณสมบัติผู้ที่จะเข้าร่วมกิจกรรมในหลักสูตร และมี กระบวนการคดั เลือกท่ีจะเขา้ รับการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. หลักสตู รการวิจัยพฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย

การรับรองหลักสูตรเพ่ือพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอนนี้ เป็นการ ดาเนินงานเพื่อให้หลักสูตรการพัฒนาครูมีมาตรฐานและมีคุณภาพ อันเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและ การจดั ระเบียบการพฒั นาครู การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นการกระจายอานาจการจัดการศึกษาจากส่วนกลางไปยัง ท้องถิ่นโดยตรงโดยมุ่งสนองความต้องการของท้องถ่ินและให้ทุกฝ่ายในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาให้จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทางานเป็นทีมแสดงออกอย่างอิสระโดย การทาโครงงานเป็นผู้ปฏิบัติจริงมีส่วนร่วมทุกกระบวนการและทุกกิจกรรมอันจะนาไปสู่การพัฒนา เต็มตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยการให้ความรู้และประสบการณ์ จากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ ท้ังนคี้ รผู ู้สอนต้องเปน็ กลไกในการจดั การเรยี นรโู้ ดยใหผ้ ู้เรียนเปน็ ศูนย์กลางการ เรียนรู้และครูจาเป็นต้องมีศักยภาพในการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายเมื่อกระบวนการเรียนรู้ จ า เป็ น ต้ อ งเป ลี่ ย น แ ป ล ง ไป บ ท บ า ท ข อ ง ค รู ก็ ค ว ร เป ลี่ ย น ไป ด้ ว ย เพ ร า ะ ค รู เป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ใน กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนรวมทั้งในการจัดการเรียนการสอนต้องจัดให้มีเนื้อหาสาระ และกิจกรรมสอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคลจัด กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงเป็นการผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้านต่างๆเข้า ด้วยกันให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเรียนรดู้ ้วยความเข้าใจมากกว่าการท่องจาดังน้ัน ครูจึงจาเป็นต้องคิดค้นหาวิธีการและทดลองวิธีใช้เทคนิควิธีการใหม่ ๆ ซึ่งครูสามารถนา กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพได้การวิจัยเป็นการ ค้นหาความจริงอย่างเป็นระบบช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในการเรียนการสอนและช่วยพัฒนา ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของครูให้มีประสิทธิภาพอีกด้วย (กรมวิชาการ, 2542 : 2) การวจิ ัยถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสาคัญทจ่ี ะช่วยให้ครูผสู้ อนสามารถพัฒนาการเรียนรขู้ องนกั เรียนได้เป็น อย่างดีเพราะการวิจัยเป็นวิธีการนาไปสู่การค้นพบคาตอบของประเด็นปัญหาต่าง ๆ ทั้งทางด้าน วทิ ยาศาสตร์และสังคมศาสตร์การพัฒนาหรอื การปฏิบัติงานจากผลการวิจยั ทาให้การพฒั นาเป็นไปใน ทิศทางทถ่ี ูกต้องการวิจยั จึงเป็นวธิ กี ารที่นามาใช้ในการพัฒนาการศึกษาซงึ่ สปิ ปนนท์ เกตุทัต (2538 : 1) กล่าวว่าการวิจัยเป็นกิจกรรมท่ีได้รับการยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นวิธีการหรือเครื่องมือในการ พัฒนาภูมิปัญญาของประเทศให้ก้าวหน้ายิ่ง ๆ ข้ึนไปปัจจุบันการจัดการศึกษาของไทยได้ให้ ความสาคัญกับการวิจัยมากซึ่งจะเห็นได้ว่าพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 และมาตรา 30 กาหนดให้ครูผู้สอนใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนโดยให้ สถานศึกษาพัฒนาส่งเสริมการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา พร้อมทั้งได้กาหนดเป็นยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545– 2559) โดยให้สถานศึกษาสร้างนักวิจัยฝึกหัดด้วยการฝึกอบรมครูอาจารย์ให้มีความรู้ความสามารถ ในการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาเป็นฐานของการวิจัยและดาเนิน งานการวิจัยพัฒนา น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า สื่ อ เท ค โน โล ยี เพื่ อ ป ร ะ โย ช น์ ส า ห รั บ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ให้ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ประสิทธิภาพเพ่ือพัฒนาสังคมไทยเป็นสังคมแห่งคุณธรรมภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 68–69) การนาการวิจัยมาพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียนนั้นมุ่งเน้นให้ครูผู้สอนนาการวิจัยที่ตนรับผิดชอบอย่างเป็นระบบครูต้องใช้กระบวนการ บูรณาการความรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติในการคิดค้นวิธีสอนสื่อหรือนวัตกรรมต่าง ๆ ผสานกับ รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 2 หลักสตู รการวจิ ยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย

แนวคิดพ้ืนฐานของการวิจัยในการประยุกต์ใช้เพื่อการวางแผนและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหรื อ แก้ปัญหาที่พบในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนการวิจัยในช้ันเรียนจึงเป็นทักษะท่ีครูต้องฝึกฝน ให้เกิดความชานาญการอันเป็นองค์ประกอบสาคัญประการหนึ่งของความเป็นครูมืออาชีพในยุคของ การปฏิรูปการเรียนรู้ (ยุทธนา ปฐมวรชาติ, 2544 : 59) การสารวจปัญหาและความต้องการ เกี่ยวกับการจัดทาวิจัยในช้ันเรียนของครูในโรงเรียนโดยการประชุมวิชาการและใช้แบบสอบถามครู เก่ียวกับปัญหาการทาวิจัยในชั้นเรียนสามารถสรุปปัญหาของครูเกี่ยวกับการทาวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือ พัฒนาการเรียนการสอนได้ 2 ข้อคือครูไม่มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการทาวิจัยในชั้นเรียนและครู ไม่สามารถทาวจิ ัยในช้ันเรียนได้ครูส่วนใหญ่มีความเห็นว่าควรมีการสง่ เสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอน ทาการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเน่ืองท้ังน้ีเน่ืองจากว่า รปู แบบการพัฒนาครูด้านการทาวิจัยในชั้นเรียนที่ได้ดาเนินการผ่านมาน้ันมีลกั ษณะเป็นการฝึกอบรม เชิงปฏิบัติการให้ความรู้วิชาการและฝึกปฏิบัติการในวันอบรมเม่ือเสร็จสิ้นการฝึกอบรมแล้วฝ่าย บริหารหรือวิทยากรผู้เช่ียวชาญที่ให้การอบรมไม่ได้นิเทศติดตามผลการฝึกอบรมเสนอแนะช่วยเหลือ อย่างเต็มท่ีทาให้เกิดความไม่มั่นใจท่ีจะดาเนินการทาวิจัยในช้ันเรียนเพราะเมื่อเกิดปัญหาขึ้นมาไม่ ทราบว่าจะปรึกษาใครส่งผลให้เกิดทัศนคติท่ีไม่ดีต่อการทาวิจัยในช้ันเรียนทาให้รู้สึกว่าการทาวิจัยใน ชั้นเรียนเป็นเรื่องยุ่งยากและเป็นการเพ่ิมภาระให้กับตนเองจึงไม่อยากทาวิจัยในชั้นเรียนจากปัญหา ดังกล่าวจึงจาเป็นที่จะต้องพัฒนาให้ครูให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถทาวิจัยในช้ันเรียนเพื่อ ประโยชน์ในด้านการพัฒนาหรือคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม (โรงเรียนบ้านท่าสองคอน, 2549 : 15) ผู้วิจัยในฐานะที่ปฏิบัติงานในตาแหน่งรองผู้อานวยการ โรงเรียนบ้านท่าสองคอนจึงมีความสนใจ ที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวโดยการศึกษาและกาหนดวิธีการ ดาเนินการพัฒนาครูเกี่ยวกับการจัดทาการวิจัยในช้ันเรียนที่เป็นระบบครบวงจรโดยมีการติดตาม นิเทศภายในชว่ ยเหลือแนะนาหลังการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแต่ละคร้ังโดยการดาเนินการคร้งั นี้ใชว้ ธิ ีการ วจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการจานวน 3 รอบในแต่ละวงรอบจะมีการเก็บรวบรวมข้อมลู เพ่ือการสะทอ้ นผลโดยใช้ เครื่องมือสะท้อนผลที่หลากหลาย เพื่อปรับปรุงการดาเนินการให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นและเม่ือ ดาเนินการครบ 3 วงรอบปฏิบัติจะทาการประเมินผลการพัฒนาครูด้านความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ การวิจัยในช้ันเรียนและด้านความสามารถในการทาวิจัยในช้ันเรียนโดยใช้วิธีการและเคร่ืองมือที่ พัฒนาข้ึนการวิจัยครั้งนี้นอกจากจะเป็นการพัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้น เรียนและสามารถทาวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของตนให้มีประสิทธิภาพแล้วยังจะ ทาให้ไดน้ วัตกรรมใหมๆ่ ด้านการจดั การอบรมเพื่อให้ครูผ้สู อนนาไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการ พฒั นาครใู นดา้ นอน่ื ๆ ตอ่ ไป สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย ได้รับการรับรองหลักสูตร จานวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ซึ่งเป็ นหลักสูตร ระดับพ้ืนฐาน ช่ัวโมงการอบรมจานวน 18 ชั่วโมง กาหนดการอบรมระหว่างวันที่ 17 – 19 พฤษภาคม 2564 ณ โรงแรมพาร์คแอนด์พูล รีสอร์ท อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย โดยผู้ ที่เข้ารับ การอบรมสามารถนาผ ลที่ ผ่านการพั ฒ นาไป ใช้เป็นคุณ ส มบัติเพื่ อขอมีห รื อเลื่ อน วทิ ยฐานะ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 3 หลักสตู รการวิจยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ สานกั งาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

วัตถุประสงค์ของกำรประเมิน 1) เพ่อื ให้ครูทีเ่ ข้ารับการพัฒนาเข้าใจสภาพปัญหาและวิธกี ารแกป้ ญั หาหรือพัฒนา ผู้เรียนโดยการวจิ ัยในชน้ั เรยี น 2) เพอ่ื ให้ครทู ี่เขา้ รบั การพฒั นามีความร้คู วามเขา้ ใจ ปฏิบตั ิการทาวจิ ัยในช้ันเรียน และเผยแพรผ่ ลงานการวิจัยในชนั้ เรียนได้อยา่ งถูกต้อง 3) เพ่อื ให้ครูที่เขา้ รบั การพัฒนาสามารถดาเนนิ การจัดทาวจิ ัยในช้ันเรยี นเพือ่ พฒั นาการเรียนการสอนไดอ้ ย่างถกู ต้อง และสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในช้ันเรยี นได้อย่างมีคุณภาพ และตอ่ เน่ืองและสามารถแสดงบทบาทหน้าทีข่ องตนในการพัฒนาผู้เรยี นได้อย่างมืออาชพี ขอบเขตของกำรประเมิน เชิงปรมิ ำณ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน จานวน 44 คน เชิงคุณภำพ ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารบั การพฒั นามีความรู้ความเข้าใจ ปฏิบัติการทาวจิ ยั ในช้ันเรยี น และเผยแพร่ผลงานการวจิ ยั ในชนั้ เรยี นไดอ้ ย่างถูกต้องและสามารถแสดงบทบาทหนา้ ทขี่ องตนในการ พฒั นาผูเ้ รยี นได้อยา่ งมืออาชพี วธิ ีดำเนินกำรของกำรประเมิน กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้ำหมำย เปำ้ หมำย พน้ื ท่ดี ำเนินงำน ระยะเวลำ งบประมำณ 1. ประชมุ 1. เพือ่ หาแนว 1. ผบู้ ริหาร 13 หอ้ งประชมุ สองฝั่ง 5 - วางแผน ทางการดาเนนิ การ 2. เจา้ หนา้ ที่ กศน. คน โขง กศน.อาเภอ พฤษภาคม การดาเนินงาน หลกั สตู ร จงั หวัดหนองคาย เมืองหนองคาย 2563 2. เพ่อื ประสานงาน และวางแนวทาง 2. ประชุม เพอ่ื มอบหมาย 1. ผบู้ รหิ าร 20 กศน.อาเภอโพน 11 - 2. เจา้ หน้าท่ี กศน. คน พสิ ัย จงั หวัด พฤษภาคม คณะกรรมการ ภารกจิ หน้าท่ีให้กบั จงั หวดั หนองคาย หนองคาย 2564 3. เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ กศน.อาเภอ รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 4 หลกั สตู รการวิจยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย

วิธีดำเนินกำรของกำรประเมิน (ต่อ) กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปำ้ หมำย เป้ำหมำย พ้ืนทด่ี ำเนินงำน ระยะ งบ เวลำ ประมำณ 3. ดาเนินการ 1. เพ่ือใหค้ รูทเ่ี ขา้ รับ ข้าราชการครูและ 44 โรงแรมพาร์คแอนด์ 17 – 19 179,952 พัฒนาครู การพัฒนาเขา้ ใจ บคุ ลากรทางการ คน พูล รสี อร์ท อาเภอ พฤษภาคม บาท สภาพปญั หาและ ศกึ ษา สายงาน เมอื งหนองคาย 2564 วิธกี ารแกป้ ญั หา การสอน จากท่ัว จังหวดั หนองคาย หรือพฒั นาผู้เรียน ประเทศ ที่สมคั ร โดยการวจิ ัยใน เข้ารับการพฒั นา ชั้นเรยี น 2. เพ่ือใหค้ รูท่เี ข้ารบั การพฒั นามีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัตกิ ารทาวจิ ยั ใน ชน้ั เรียน และ เผยแพรผ่ ลงานการ วิจยั ในชนั้ เรียนได้ อย่างถูกตอ้ ง 3. เพื่อใหค้ รูที่เขา้ รบั การพฒั นาสามารถ ดาเนนิ การจัดทา วจิ ยั ในชัน้ เรียนเพื่อ พฒั นาการเรยี นการ สอนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และสามารถนาไปใช้ แกป้ ัญหาในชัน้ เรียน ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ และต่อเนื่องและ สามารถแสดง บทบาทหนา้ ทขี่ อง ตนในการพัฒนา ผู้เรยี นได้อย่างมอื อาชพี 4. ประเมินผล เพ่อื ทราบผลการ ขา้ ราชการครูและ 44 ทางระบบออนไลน์ มถิ นุ ายน - การดาเนินการ พฒั นาตนเองของผู้ บคุ ลากร ทาง คน - พฒั นาฯ เขา้ รับการพฒั นา การศึกษา สาย ธนั วาคม งานการสอน จาก 2564 ทัว่ ประเทศ ที่ สมคั รเขา้ รับการ พัฒนา รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 5 หลักสตู รการวจิ ัยพัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

งบประมำณ เงินงบประมาณ แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขบั เคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ยงั่ ยืน กิจกรรมพัฒนาบุคลากร สานักงาน กศน. งบรายจ่ายอื่น รายการค่าใช้จ่ายโครงการพัฒนาบุคลากร สานักงาน กศน. เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สังกัดสานักงาน กศน. รหัสงบประมาณ 2000235052700003 จานวน 179,952 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นเก้าพัน เก้ารอ้ ยห้าสบิ สองบาทถ้วน) ดังนี้ - ค่าอาหารกลางวัน (300 บาท x 67 คน x 3 มอื้ ) เป็นเงิน 60,300 บาท - ค่าอาหารเย็น (300 บาท x 67 คน x 2 ม้ือ) เปน็ เงนิ 40,200 บาท - คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดม่ื (50 บาท x 67 คน x 6 ม้ือ) เป็นเงิน 20,100 บาท - คา่ เช่าห้องประชุม (5,000 บาท x 3 วนั ) เป็นเงนิ 15,000 บาท - คา่ ตอบแทนวิทยากร (600 บาท x 6 คน x 3 วัน x 3 ช่วั โมง) เป็นเงนิ 32,400 บาท - ค่าท่ีพักวิทยากร (1,100 บาท x 2 คน x 1 คนื ) เปน็ เงนิ 2,200 บาท - ค่าทีพ่ ักวิทยากร (800 บาท x 1 คน x 3 คนื ) เป็นเงนิ 2,400 บาท - ค่าพาหนะวทิ ยากร 3 คน เป็นเงนิ 7,352 บาท รวมทั้งสิน้ เป็นเงิน 179,952 บำท (หนง่ึ แสนเจด็ หมื่นเกำ้ พันเก้ำรอ้ ยหำ้ สบิ สองบำทถ้วน) หมำยเหตุ ขอถวั จา่ ยทุกรายการเท่าทจี่ ่ายจริง แผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ กิจกรรมหลกั ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ต.ค. 63 – ธ.ค. 63 ม.ค. 64 – มี.ค. 64 เม.ย. 64 – ม.ิ ย. 64 ก.ค. 64 – ก.ย. 64 เรือ่ ง นวัตกรรม PLC ชมุ ชนการ - เรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional - - Learning Community - PLC) เร่อื ง ความหมายของการวจิ ัยใน - - - ชัน้ เรยี น เรือ่ ง ความสาคญั ของการวิจยั ใน - -- ชนั้ เรยี น - 179,952 เรอ่ื ง ประโยชน์ของการวจิ ยั ใน - บาท - ชั้นเรียน เรอ่ื ง การกาหนดและวเิ คราะห์ ปญั หาและการสรา้ งกรอบความคดิ การวิจัยในชน้ั เรียน,การต้ังชื่อเรื่อง, - - - การเขยี นวัตถุประสงค,์ การกาหนด ขอบเขต,การสรา้ งเครอ่ื งมอื วจิ ยั ในชั้นเรยี น รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 6 หลกั สตู รการวจิ ัยพัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

แผนกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ (ต่อ) กิจกรรมหลกั ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 เรอ่ื ง การเกบ็ รวบรวมข้อมูล, ต.ค. 63 – ธ.ค. 63 ม.ค. 64 – ม.ี ค. 64 เม.ย. 64 – มิ.ย. 64 ก.ค. 64 – ก.ย. 64 การวเิ คราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มลู เรือ่ ง การเขยี นสรุปผล, -- - การอภปิ รายผลการวิจัย เร่ือง การเผยแพร่ผลงานวจิ ยั 179,952 - - บาท - -- - ผรู้ ับผิดชอบโครงกำร งานบคุ ลากร กลุ่มอานวยการ สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย เครอื ข่ำย สถานศึกษาในสงั กัดสานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย ท้ัง 9 แหง่ โครงกำรทเ่ี ก่ยี วข้อง - ผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการพฒั นามคี วามรู้ความเข้าใจ ปฏบิ ัติการทาวิจัยในชน้ั เรียน และ เผยแพรผ่ ลงานการวิจยั ในชน้ั เรยี นได้อย่างถูกต้องและสามารถแสดงบทบาทหน้าที่ของตนในการพฒั นา ผู้เรียนไดอ้ ยา่ งมอื อาชีพ ดชั นชี ว้ี ดั ควำมสำเร็จของโครงกำร 1. ตวั ชี้วัดผลผลติ (Output) ผู้เขา้ รับการพฒั นา รอ้ ยละ 100 มีความรคู้ วามเข้าใจในการทาวจิ ยั ในชั้นเรยี น 2. ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ (Outcomes) ผเู้ ขา้ รับการพฒั นามคี วามรคู้ วามเข้าใจ ปฏบิ ตั กิ ารทาวิจัยในช้นั เรยี น และเผยแพร่ ผลงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี นได้อย่างถูกต้องและสามารถแสดงบทบาทหนา้ ที่ของตนในการพัฒนาผเู้ รยี น ได้อย่างมืออาชีพ กำรตดิ ตำมและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลความสาเร็จของเป้าหมายเชงิ ปรมิ าณโดยใช้วธิ ดี ังน้ี - แบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจ 2. ประเมินผลความสาเร็จของเป้าหมายเชิงคุณภาพ โดยใช้วธิ ี ดงั นี้ - การสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ ม รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 7 หลักสตู รการวิจยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สานักงาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

บทท่ี 2 เอกสำร งำนวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง การรายงานผลการดาเนินการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงาน การสอน สังกัดสานักงาน กศน. หลักสูตรการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าและนาเสนอหัวข้อโดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1. ความหมายความสาคัญ และประโยชนข์ องการวิจยั ในชั้นเรียน 2. การเขียนโครงร่างการวิจัย 3. เครื่องมอื ในการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมลู 4. การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั 5. ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) 1. ควำมหมำยควำมสำคญั และประโยชนข์ องกำรวิจัยในชน้ั เรียน 1.1 ควำมหมำยของกำรวิจัยในช้นั เรียน กำรวิจัย หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตาม ธรรมชาติ การค้นคว้าหาความรู้ใหม่อย่างมีระบบ ระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน เพื่อให้ได้ ความร้ทู ี่เช่ือถอื ได้มีเหตุมีผลเปน็ ไปตามวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ กำรวิจัย หมายถึง กระบวนการค้นหาแล้วค้นหาอีก หาจนกระทั่งม่ันใจได้ว่าได้ ข้อเท็จจริงในเรื่องนนั้ จนถถ่ี ้วน โดยมีผใู้ ห้ความหมายไวห้ ลากหลายดังนี้ พจน์ สะเพียรชัย กล่าวว่า \"การวิจัยคือวิธีแก้ปัญหาท่ีมีระบบแบบแผนเช่ือถือได้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรทู้ ีเ่ ชือ่ ถอื ได้\" อนันต์ ศรีโสภำ กล่าวว่า \"การวิจัยเป็นกระบวนการเสาะแสวงหาความรจู้ ากปัญหา ท่ีชัดเจนอย่างมีระบบโดยมีการทดสอบสมมติฐานท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล ซ่ึง สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายในเร่ืองนั้น ๆ เพื่อนาไปพยากรณ์หรือสงั เกตการเปล่ียนแปลง เมื่อควบคุมส่ิง หนง่ึ สงิ่ ใดใหค้ งท่ี\" เบส (Best) ให้ความหมายไว้ว่า \"การวิจัยเป็นแบบแผนหรือกระบวนการวิเคราะห์ อย่างเป็นปรนัยมโี ครงสร้างที่เป็นระเบียบ มีการจดบนั ทึกรายงานและสรุปผลเปน็ กฎเกณฑ์หรอื ทฤษฎี ขน้ึ เพอื่ นาไปอธิบาย ทานาย หรอื ควบคุมปรากฏการณ์ต่าง ๆ\" โดยสรุปแล้ว กำรวิจัย คือ กระบวนการที่เป็นระบบน่าเช่ือถือ สาหรับใช้เป็น เครอ่ื งมอื ในการคน้ ควา้ หาความร้เู ก่ยี วกับปรากฏการณต์ ่าง ๆ ทส่ี นใจ จดุ มุ่งหมำยท่ัวไปของกำรวจิ ัย การวิจัยเป็นกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ความจริงตามระเบียบวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ ในการค้นคว้าหาความรู้ความจริงของนักวิจยั นนั้ ก็เพ่ือจุดม่งุ หมาย ดงั ตอ่ ไปนี้ รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. หลักสตู รการวิจยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

1. เพ่ือใช้ในกำรทำนำยผล ผลท่ีได้จากการวิจัยสามารถนาไปใช้พยากรณ์หรือ ทานายเหตุการณ์ในอนาคตได้ว่าจะมีอะไรเกิดข้ึนหรือมีแนวโน้มอย่างไร ทั้งนี้ก็เพ่ือจะได้เตรียมตัวรับ สถานการณ์ไว้ล่วงหน้า เช่น การวิจัยเร่ืองการสารวจราคาสินค้าสามารถนาผลมาทานายได้ว่า แนวโน้มของราคาสินค้าในอนาคตจะเป็นอย่างไรและยังสามารถทานายสภาพเศรษฐกิจของประเทศ ในอนาคตได้อกี ดว้ ย 2. เพ่ือใช้ในกำรอธิบำย เพื่อนาผลท่ีได้ไปใช้อธิบายปัญหาหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ี ยังไม่ทราบสาเหตุว่าสิ่งใดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลหรอื สิ่งใดเป็นผลที่ทาให้เกิดสาเหตุนั้น ๆ เช่น การ วจิ ยั หาสาเหตุท่ที าให้ผลการเรียนของนกั เรียนตกต่า ผลที่ไดจ้ ากการวจิ ัยจะสามารถนามาอธิบายได้ว่า มอี ะไรบ้างทเ่ี ปน็ สาเหตทุ ท่ี าใหผ้ ลการเรียนของนักเรียนตกต่า 3. เพอื่ ใช้ในกำรบรรยำย เป็นการมุ่งนาผลที่ได้จากการวิจัยไปใช้บรรยายสภาพและ ลักษณะของปัญหาว่าปัญหาท่ีเกิดขึ้นน้ันมีสภาพและลักษณะอย่างไร เช่น การวิจัยเพื่อการสารวจ ความต้องการของนิสิตที่มีต่อการจัดบริการของมหาวิทยาลัย การวิจัยในลักษณะน้ีมีจุดมุ่งหมาย เพื่อนาผลที่ได้จากการวิจัยมาบรรยายสภาพและลักษณะความต้องการของนิสติ ซึ่งการนาผลท่ีไดจ้ าก การวจิ ัยมาบรรยายจะทาไดถ้ ูกต้องตรงตามความเปน็ จริง มากกว่าการบรรยายสภาพและลกั ษณะของ ปัญหาท่เี กดิ จากความคดิ เห็นหรือการวิเคราะหข์ องบคุ คลใดบคุ คลหนึ่ง 4. เพื่อใช้ในกำรควบคมุ จดุ มุ่งหมายการวิจยั ประการนกี้ เ็ พอ่ื นาผลท่ีได้จากการวจิ ัย ไปวางแผนหรอื กาหนดวิธกี ารในการควบคุมส่ิงต่าง ๆ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขนึ้ เช่น การวิจยั หาสาเหตุ ทท่ี าใหผ้ ลการเรยี นของนกั เรยี นตกตา่ เม่ือพบสาเหตกุ ส็ ามารถหาทางควบคุมหรอื ป้องกันได้ 5. เพื่อใช้ในกำรพัฒนำ ผลการวิจัยอาจนามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาได้ เช่น การพัฒนาบุคคล พัฒนาระบบการทางาน พัฒนาอาคารสถานท่ี ฯลฯ ดังผลการวิจัยท่ีพบว่าอาจารย์ ส่วนใหญส่ อนวิชาวทิ ยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมโดยวธิ ีบรรยายมากกว่าการทดลอง ดังนั้นอาจารย์และ ผู้บริหารของโรงเรียนก็ควรที่จะได้หาทางปรับปรุงวิธีการสอนให้ถูกต้องและสอดคล้องกับธรรมชาติ ของวิชามากขนึ้ ปัจจุบันน้ีบุคคลในวงการต่าง ๆ ได้ให้ความสนใจการวิจัยมากข้ึน ท้ังน้ีเพราะได้ เลง็ เห็นประโยชน์ของการวิจัยที่มีต่อมวลมนุษย์น่ันเอง แต่ประโยชน์ของการวิจัยจะมีมากน้อยเพียงใด น้ันข้ึนอยู่กับข้อมูลและวิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีความเชื่อถือและถูกต้องมากน้อยเพียงใด ถ้า ข้อมลู เป็นเทจ็ ผลการวิจัยทีไ่ ด้แทนที่จะเปน็ ประโยชนจ์ ะกลับกลายเปน็ โทษต่อผู้นาผลการวจิ ยั นน้ั ไปใช้ ดังน้ันการวิจัยจะมีประโยชน์อย่างแท้จริงหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของนักวิจัย ตลอดจน ความรว่ มมอื ของผูใ้ หข้ ้อมลู ดว้ ย โดยทว่ั ไปแลว้ อาจกลา่ วได้ว่า การวิจยั มปี ระโยชน์ดงั ต่อไปนี้ 1. การวจิ ัยชว่ ยให้เกิดวิทยาการใหม่ ๆ เพิม่ พนู มากย่ิงขึน้ ทงั้ ทางดา้ นทฤษฎี และปฏิบตั ิ 2. การวิจัยสามารถใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและ ยุตธิ รรม 3. การวจิ ัยจะชว่ ยให้เข้าใจปรากฏการณ์และพฤติกรรมตา่ ง ๆ ไดด้ ขี ึ้น และ สามารถใชท้ านายปรากฏการณ์และพฤติกรรมตา่ ง ๆ ได้อย่างถกู ต้องและมปี ระสิทธภิ าพมากกว่าการ คาดคะเนแบบสามัญสานกึ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 9 หลกั สตู รการวิจัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย

4. การวิจัยสามารถช่วยในด้านการกาหนดนโยบาย การวางแผนงาน การ ตดั สนิ ปัญหาหรือการวนิ จิ ฉยั สงั่ การของผบู้ ริหารใหเ้ ปน็ ได้อย่างถูกตอ้ งและรวดเร็ว 5. การวิจยั สามารถตอบคาถามทีย่ ังคลุมเครือใหก้ ระจา่ งชัดยิ่งขนึ้ 6. การวิจยั จะช่วยกระตุ้นความสนใจของนักวชิ าการ ให้มกี ารใชผ้ ลการวิจัย และทางานคน้ ควา้ วิจยั ต่อไป 7. การวิจัยจะทาให้ทราบข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซ่ึงนามาใช้เป็นประโยชน์เพ่ือ การปรับปรงุ หรอื พฒั นาบคุ คลและหน่วยงานตา่ ง ๆ ให้เจริญก้าวหนา้ ดยี งิ่ ขึ้น 8. การวิจัยทาให้มีผลงานวิจัยเพิ่มมากข้ึน ซึ่งจะช่วยเสริมให้ทราบ ขอ้ เทจ็ จริงไดก้ ว้างขวางและแจม่ ชดั ย่ิงขน้ึ 9. การวิจัยจะช่วยกระตุ้นบุคคลให้มีเหตุผล รู้จักคิดและค้นคว้าหาความ รูอ้ ยูเ่ สมอ 10. การวิจัยช่วยให้มีเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่ีทันสมัยเกิดข้ึนอยู่ ตลอดเวลาซึ่งอานวยความสะดวกสบายใหแ้ ก่มนุษย์เป็นอย่างมาก กำรวิจยั ในช้นั เรยี น : ควำมสำคญั ของกำรวจิ ยั ในช้ันเรียน การวิจัยในชั้นเรียนมีความสาคัญต่อวงการวิชาชีพครูเป็นอย่างยิ่งเน่ืองจากครู จาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรวิธีการเรียนการสอนการจูงใจให้ ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเรียนการ พัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิในการเรียนและการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เพ่ือให้เกิด การเรียนรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การวิจัยในช้ันเรียนเป็นการเปล่ียนแปลงบทบาทด้ังเดิมของครูที่มีความเช่ียวชาญ และสนใจเร่ืองการสอนโดยเน้นเนื้อหาสาระของบทเรียนจึงทุ่มเทการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลทฤษฎี ที่เป็นส่วนหนึ่งของหลักสตู รมากกวา่ การศกึ ษาวิธีการพัฒนาหรือปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียนผลงาน ของอาจารย์ส่วนใหญ่จึงเปน็ ผลงานหนังสือตาราบทความหรอื เอกสารทางวิชาการมากกว่าผลงานวิจัย ปัจจุบันการวิจัยมีบทบาทเพิ่มข้ึนเนื่องจากการขยายตัวทางการศึกษาที่เปิดระดับการศึกษาถึงขั้น ปริญญาโทและปริญญาเอกในประเทศไทยทาให้มีการเรียนการสอนระเบียบวิธีวิจัยตลอดจนการ กาหนดให้ทาวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษาจึงมีผู้รวู้ ิธีการทาวิจัยเพ่ิมขึ้นท่ีสาคญั คือการขอกาหนด ตาแหน่งทางวิชาการหรือการเลื่อนระดับของผู้อยู่ในสายวิชาชีพทางการศึกษามีข้อกาหนดให้ส่งผล งานวิชาการและงานวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของการพิจารณาผู้ที่อยู่ในแวดวงการศึกษาจึงต้องหันมาสนใจ เร่ืองของการวิจัยเพ่ิมข้ึนประกอบกับการท่ีกฎหมายได้กาหนดให้มีการส่งเสริมการวิจัยในมาตรา 24 ดังนี้ มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้….(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมส่ือการเรียนและอานวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังความสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ทั้งน้ีผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการต่างๆด้วยปัจจัยดังกล่าวจึงทาให้ครูอาจารย์ ต้องเปล่ียนบทบาทจากผู้สอนมาเป็นผู้วิจัยเพ่ือมีส่วนร่วมในการพัฒนาการสอนการเรียนรู้ของผู้เรียน และการพฒั นาวิชาชีพครเู พิม่ ข้นึ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 10 หลักสตู รการวิจยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย

ควำมหมำยของกำรวิจัยในชั้นเรยี น การวจิ ยั ในชน้ั เรียนหมายถงึ การวิจยั ท่ที าในบริบทของชน้ั เรียนและมุ่งนาผลการวจิ ยั มาใชใ้ นการพฒั นาการเรียนการสอนของตนเป็นการนากระบวนการวิจยั ไปใชใ้ นการพฒั นาครูใหไ้ ปสู่ ความเป็นเลิศและมีอสิ ระทางวชิ าการ (ทิศนา แขมมณี 2540 : 5) การวิจัยในชั้นเรียนคือกระบวนการแสวงหาความรู้อันเป็นความจริงที่เชื่อถือได้ใน เน้อื หาเกีย่ วกับการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือการพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรียนในบริบทของ ชนั้ เรียน (สุวัฒนา สวุ รรณเขตนิคม 2540 : 3) การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการศึกษาค้นคว้าของครูซ่ึงจัดว่าเป็นผปู้ ฏิบัตงิ านในช้ันเรียน เพื่อแก้ปัญหา (Problem Solving) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือพฤติกรรมนักเรียนและคิด วิเคราะห์ (Critical Thinking) เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน (ประวิต เอราวรรณ์ 2542 : 3) การวิจัยในชั้นเรียนคือการวิจัยที่ทาโดยครูผู้สอนในห้องเรียนเพื่อแก้ ไขปัญ หาที่ เกิดข้ึนในห้องเรียนและนาผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนเป็นการ วิจัยที่ตอ้ งทาอย่างรวดเร็วนาผลไปใช้ทันทีและสะทอ้ นข้อมูลเก่ียวกับการปฏิบัตงิ านต่าง ๆ ของตนเอง ใหท้ ง้ั ตนเองและกลุ่มเพ่อื นร่วมงาน (สุวิมล ว่องวานชิ 2543 : 163) การวิจัยในชั้นเรียนคือกระบวนการแสวงหาความจริงด้วยวิธีการที่เชื่อถือได้ใน เน้ือหาที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาความสามารถของ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ (ประกอบ มณโี รจน์ 2544 : 4) 1.2 ควำมสำคญั ของกำรวจิ ัยในชนั้ เรียน การวิจัยในช้ันเรียนมีความสาคัญต่อวงการวิชาชีพครูเป็นอย่างย่ิง เน่ืองจากครู จาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตร วิธีการเรียนการสอน การจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเรียน การ พัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน การเพิ่มสัมฤทธิ์ผลการเรียน และการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้เกิด การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยในช้ันเรียนเป็นการเปล่ียนแปลงบทบาทดั้งเดิมของครูท่ีมี ความเช่ียวชาญและสนใจเร่ืองการสอนโดยเน้นเน้ือหาสาระของบทเรียน จึงทุ่มเทการศึกษา ค้นคว้า หาข้อมลู ทฤษฎี ท่ีเป็นสว่ นหนึ่งของหลักสตู ร มากกว่าการศึกษาวิธีการพัฒนาหรือปรบั ปรงุ การเรียนรู้ ของผเู้ รียน ผลงานของอาจารย์สว่ นใหญจ่ ึงเป็นผลงานหนงั สือ ตารา บทความหรอื เอกสารทางวชิ าการ มากกวา่ ผลงานวจิ ัย ปัจจุบัน การวิจัยมีบทบาทเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากการขยายตัวทางการศึกษา ท่ีเปิดระดับ การศึกษาถึงขั้นปริญญาโทและปริญญาเอกในประเทศไทย ทาให้มีการเรียนการสอนระเบียบวิธีวิจัย ตลอดจนการกาหนดให้ทาวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา จึงมีผู้รู้วิธกี ารทาวจิ ัยเพ่ิมข้ึน ท่ีสาคัญคือ การขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ หรือ การเล่ือนระดับของผู้อยู่ในสายวิชาชีพทางการศึกษา มี ข้อกาหนดให้ส่งผลงานวิชาการและงานวิจัย เป็นส่วนหน่ึงของการพจิ ารณา ผู้ทีอ่ ยใู่ นแวดวงการศึกษา จึงตอ้ งหันมาสนใจเร่ืองของการวิจัยเพ่ิมขึ้น ประกอบกับการท่ีกฎหมายได้กาหนดให้มีการส่งเสริมการ วิจัยในมาตรา ๒๔ ดังนี้มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้....….(๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอน สามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 11 หลกั สตู รการวจิ ัยพัฒนาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

เรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งความสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ดว้ ยปัจจัยดังกล่าวจึงทาใหค้ รอู าจารย์ตอ้ งเปล่ียนบทบาทจากผู้สอนมาเป็นผู้วจิ ัยเพ่ือมีส่วนรว่ มในการ พฒั นาการสอน การเรยี นร้ขู องผู้เรียนและการพฒั นาวชิ าชีพครเู พิ่มขึ้น กำรวจิ ยั ในช้นั เรยี นเป็นอย่ำงไร การวิจัยในช้ันเรียน เป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคาตอบของปัญหาท่ีเกิดขึ้น จากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การจัดการเรยี นรหู้ รือเปน็ ข้อค้นพบที่เกิดขึ้นจากการจัดการ เรียนรู้การวิจัยในช้ันเรียนกับการเรียนการสอนถือว่าเป็นเร่ืองเดียวกัน กล่าวคือ ครู สามารถทาการ วิจัยไปพร้อมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยปกติได้ตลอดเวลา โดยยึดหลักว่า การสอนนา และการวิจัยตาม ซ่ึงไม่จาเป็นต้องใช้สถิติช้ันสูง เหมือนกับการวิจัยทางการศึกษาโดยทั่วไปก็ได้ เช่น ค่าร้อยละ คา่ เฉลย่ี และการแจกแจงความถ่ี เปน็ ต้น ลกั ษณะของกำรวจิ ัยในชั้นเรยี น ๑. ครเู ป็นผู้วจิ ยั เอง เพอ่ื เพมิ่ พูนความรใู้ ห้แก่วงการวิชาชพี ครู ๒. ผลการวิจยั สามารถแก้ปญั หาผู้เรยี นไดท้ นั เวลา และตรงจุด ๓. การวจิ ยั ช่วยเช่อื มชอ่ งวา่ งระหวา่ งทฤษฏีและการปฏิบัติ ๔. การเพม่ิ ศักยภาพการคิดสะท้อน (Reflective Thinking) ของครตู ่อปัญหาทเี่ กิด ในหอ้ งเรยี น ๕. การเพิ่มพลงั ความเปน็ ครูในวงการการศึกษา ๖. การเปิดโอกาสใหค้ รูก้าวหนา้ ทางวิชาการ ๗. การพฒั นา และทดสอบการแก้ปญั หาในชน้ั เรยี น ๘. การเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนแสดงความคิดเรื่องการเรยี นการสอน และทางแกป้ ัญหา ๙. การนาเสนอขอ้ ค้นพบและการรบั ฟังขอ้ เสนอแนะจากกลุ่มครู ๑๐. การวิจยั และพัฒนาเปน็ วงจร (Cycle) เพอ่ื ทาใหข้ ้อคน้ พบสมบูรณ์ขึ้น สรุปควำมสำคัญของกำรวจิ ยั ในชน้ั เรียน การวิจัยในชั้นเรียนเกิดจากแนวคิดพื้นฐาน คือ การบูรณาการวิธีการปฏิบัติงานกับ การพัฒนาองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการปฏิบัติ กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ (2542 : 10) ระบุ ถึงความสาคญั ของการวิจยั ในชนั้ เรียน ดังน้ี 1. เป็นการพัฒนาหลักสูตร และการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนด้วยการวิจัย 2. เป็นการพฒั นาวิชาชพี ครู 3. เป็นการแสดงความก้าวหน้าทางวิชาชีพครูด้วยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้ จากการปฏิบตั ิ 4. เปน็ การสง่ เสริมสนับสนุนความก้าวหน้าของการวิจัยทางการศึกษา รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 12 หลกั สตู รการวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย

สุวิมล ว่องวานิช (2544 : 14-15) ได้กล่าวถึงความสาคัญและความจาเป็นของ การวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ ดังน้ี 1. ให้โอกาสครูในการสร้างองค์ความรู้ ทักษะและการทา วิจัย การ ประยกุ ต์การตระหนักถึง เปน็ ทางเลือกทเี่ ป็นไปไดท้ ่ีจะเปลี่ยนแปลงโรงเรยี นให้ดีข้นึ 2. เปน็ การสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ นอกเหนือจากการเปล่ยี นแปลง หรือ สะท้อนผลการทางาน 3. เป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติโดยตรง เน่ืองจากช่วยพัฒนาตนเองด้าน วิชาชีพ 4. ช่วยทาให้เกิดการพัฒนาท่ีต่อเนื่อง และเกิดการเปลี่ยนแปลงผ่าน กระบวนการวิจัยในที่ทา งาน ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อองค์กร เน่ืองจากนา ไปสกู่ ารปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลง การปฏบิ ตั แิ ละการแก้ไขปญั หา 5. เป็นการวิจัยเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติในการวิจัยทาให้ กระบวนการวิจยั มคี วามเป็นประชาธิปไตย ทาใหเ้ กดิ การยอมรบั ในความร้ขู องผปู้ ฏบิ ัติ 6. ชว่ ยตรวจสอบวิธีการทา งานของครูท่ีมีประสิทธิผล 7. ทาให้ครเู ปน็ ผู้นาการเปลย่ี นแปลง (change agent) 1.3 ประโยชน์ของกำรวิจัยในช้ันเรียน การวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียนเป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู เน่ืองจากข้อค้นพบที่ได้มาจากกระบวนการสืบค้นท่ีเป็นระบบและเช่ือถือได้ ทาให้ผู้เรียนเกิดการ พัฒนาการเรียนรู้และด้วยหลักการสาคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการท่ีเน้นการสะท้อนผล ทาให้การ วิจัยแบบนี้ส่งเสริมบรรยากาศของการทา งานแบบประชาธิปไตยท่ีทุกฝ่ายเกิดการแลกเปล่ียน ประสบการณ์และยอมรับในการคน้ พบรว่ มกนั (สวุ มิ ล, 2544 : 15) การวิจัยปฏิบัติการในชน้ั เรียนเป็นการวิจยั ทางการศึกษาแขนงหนงึ่ ท่มี ปี ระโยชน์และ คุณค่าต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการศึกษาในหลาย ๆ ด้าน โดยนักการศึกษาหลายๆ คนได้ กล่าวถึงเรื่องนีไ้ ว้ คอื กมล สุดประเสริฐ (2528 : 4) กล่าวว่า เราจะชี้แนวทางให้ไปถึงครูผู้สอนว่าเขา สามารถท่ีจะทาวิจัยเก็บผลงานต่าง ๆ ของเขาไว้วันหนึ่งในอนาคตเขาจะเป็นครูชั้นเย่ียมครูท่ีทางาน ด้วยผลงานวิจัย มีผลงานวิจัยว่าได้แก้ปัญหาเด็กต่าง ๆ อย่างไรได้สามารถใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ใน การศกึ ษาและทาใหล้ ูกศิษยข์ องตนก้าวหน้าในทางที่ควร วิเวก ปางพุทธิพงษ์ (2529 : 16) ได้กล่าวถึงคุณค่าของการวิจัยในโรงเรียนไว้ว่า งานวิจัยน้ีไม่จาเป็นต้องวางโครงการใหญ่โต เพอื่ จะวิจัยหรือแกป้ ัญหาระดับสงู ในระดับกรม กระทรวง เท่าน้ัน ปัญหาในห้องเรียนของเราปัญหาที่เราสอนนักเรียนทุก ๆ วัน ปัญหาเฉพาะกิจเฉพาะอย่างยิ่ง เราก็ต้องมีการศึกษาวิจัยปัญหาน้ันเกิดอย่างไร และจะแก้ไขอย่างไร งานสอนในโรงเรียน ก็มีเรื่อง ต่าง ๆ ที่จะต้องศึกษาวิเคราะห์วิจัยมากมาย ถ้าเราเอาหลกั งานวิจยั ไปใช้ในห้องเรียนเรากจ็ ะได้ผลงาน อย่างน้อยก็ทาให้การเรียนการสอนในโรงเรียนดีขึ้น ถ้าเราใช้หลักวทิ ยาศาสตร์นีม้ าวิเคราะห์มาพัฒนา แลว้ ก็จะทาใหง้ านนนั้ ดาเนินไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 13 หลักสตู รการวจิ ยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

โอภาส ตรีปัญญา (2529 : 46) กล่าววา่ ผลการวิจัยทาให้นักการศึกษาสามารถใช้ ในการจัดทาหลักสูตรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธ์ิตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไว้ สามารถเลือกใช้วิธีการประเมินผลได้แม่นตรง รวมท้ังผลการวิจัยยังมีประโยชน์ต่อการ บรหิ ารให้มีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ พนม พงษ์ไพบูลย์ (2537 : 30 - 31) กล่าวว่า การวิจัยเป็นการช่วยครใู นด้านการ เรียนรู้ให้รู้จักเลือกใช้วิธีสอนได้อย่างเหมาะสม ปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ รู้สาเหตุของปัญหาที่ เกดิ ขึน้ ไมเ่ พยี งเทา่ น้นั ครกู ไ็ ด้พัฒนาทางด้านวชิ าการไปดว้ ยประโยชนข์ องการวิจยั ในชนั้ เรียน สุวฒั นา สุวรรณเขตนิคม (2537 : 6 -7) กลา่ วว่า ถ้าครูทาวิจัยในชนั้ เรียนควบค่ไู ป กับการปฏบิ ัติการสอนอย่างเหมาะสมจะก่อใหเ้ กิดผลดี คอื 1. นกั เรียนจะมีการเรียนรู้ทม่ี ีคณุ ภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึน้ 2. ในวงวิชาการการศึกษาจะมีข้อความรู้ หรือนวัตกรรมทางการจัดการ เรียนรู้ที่เป็นจริงเกิดมากขึ้นอันจะเป็นประโยชน์ต่อตัวครูและเพ่ือนครูในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เปน็ อยา่ งมาก 3. วัฒนธรรมในการท างานของครู จะพัฒนาไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพ (professional teacher) มากยิ่งขึ้น เพราะครูจะมีคุณสมบัติของการเป็นผู้แสวงหาความรู้หรือ นักเรยี น (learner) ในศาสตร์ของการสอนอย่างต่อเนื่องและมีชีวติ ชวี า ชัยพจน์ รักงาม (2539: 25) กล่าวว่า การวิจัยในช้ันเรียนจึงเป็นประโยชน์กับครู ในแง่ที่เป็นการสืบค้นปัญหาโดยครูผู้สอน ดาเนินการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหาโดยครู นั่นคือ “ครูค้น ครูคิด และครแู ก้ปญั หาในชัน้ เรยี นได้” กรมสามัญศึกษา (2540 : 3-4) ได้กล่าวถึงความสาคัญของการนาผลการวิจัยใน ชนั้ เรียนไปใช้ ดงั นี้ 1. ครูสามารถใช้นวัตกรรม วิธีการ เทคนิคการสอนหรอื สิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่มี คุณภาพผ่านกระบวนการตรวจสอบทเี่ ช่ือถือได้มาใช้แก้ปัญหาในช้ันเรยี นโดยตรง ส่งผลให้การจัดการ เรยี นการสอนบรรลผุ ลตามจัดมงุ่ หมายของหลกั สูตรย่ิงขน้ึ 2. ครูสามารถนาข้อมูลอันเป็นข้อค้นพบของการวิจัยมาปรับปรุง เปล่ียนแปลงการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน ทาให้การพัฒนางานของครู มมี าตรฐานสงู ขนึ้ 3. ครูสามารถส่งเสรมิ หรือพฒั นาผู้เรียนได้ตรงตามสภาพความเปน็ จริงของ ผเู้ รียนแต่ละคนทาให้นกั เรียนได้รบั การส่งเสริมจนบรรลุศักยภาพสงู สุด 4. ผูบ้ ริหารหรือหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องสามารถนาขอ้ มูลต่าง ๆ อันเป็นผลมา จากการวิจัยไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานบริหารจัดการหรืองานด้านอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ การศกึ ษา ส่งผลให้เกิดการพฒั นา 5. ครูสามารถนาผลการวิจัยไปใช้เป็นผลงานทางวิชาการเพ่ือขอกาหนด ตาแหนง่ ใหส้ งู ขึน้ ได้ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 14 หลักสตู รการวจิ ัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สานกั งาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

6. ปรับปรุงหรือดัดแปลงงานให้เป็นไปตามเป้าหมายอย่างมีระบบเป็นการ นาผลการวิจัยเชิงสารวจหรือเชิงประเมินด้านอื่น ๆ ที่จัดทาข้ึนมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงหรือ ดัดแปลงงานในส่วนทเ่ี กี่ยวข้อง 7. วางแผนการดาเนินงานหรือกาหนดนโยบายต่าง ๆ งานวิจัยในช้ันเรียน บางครงั้ จะเปน็ การสารวจความคดิ เห็นหรือความต้องการด้านตา่ ง ๆ ซ่ึงข้อมูลจากผลการวจิ ัยสามารถ ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานหรือกาหนดนโยบายของหน่วยงานหรือองค์กรไดก้ ารปฏิรปู การศกึ ษา ท้ังระบบ โดยมุ่งปรับวิธีคิดและวิธีการทางานใหม่ให้กับทุกฝ่ายท่ีจะต้องมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พัฒนา นากระบวนการวิจัย นาผลการวิจัยที่เชื่อถือได้มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาซ่ึงทางเลือกน้ี น่าจะช่วยให้ผู้บริหารและผู้สอนได้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก้ปัญหาได้ตรงจุด ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจ ปรากฏการณ์ที่ชัดเจนข้ึน ช่วยให้ได้แนวทางใหม่ในการทางานอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิผลซ่ึงมี ผลต่อการปฏิรูปสถานศึกษาท่ีถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุดและสิ่งท่ีเชื่อว่าจะตามมาอย่างเป็นรูปธรรม คือ ความก้าวหน้าของผบู้ ริหาร ผู้สอนและผูท้ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง (จิรพนั ธ์, 2543 : 67) สุภาภรณ์ ม่ันเกตุวิทย์ (2544 : 6) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการวิจัยในช้ันเรียน ไว้วา่ 1. ช่วยแก้ปัญหาในห้องเรียน 2. ช่วยทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงในทางทดี่ ี 3. ปรับเปลี่ยนบทบาทครูใหม่ 4. เสรมิ พลงั อานาจแก่ครูในการแก้ปญั หาในช้ันเรียน 5. ทาให้ไดร้ ูถ้ งึ วิธกี ารเรียนการสอนที่มปี ระสทิ ธผิ ล 6. กระตุน้ การสอนแบบสะท้อนกลับ 7. กระตุ้นให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสอนท่ีมี ประสิทธิผล 8. ช่วยตรวจสอบวิธีการทางานของครูใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 9. ช่วยพัฒนาทกั ษะทางวิชาชพี ครู 10. เป็นการเชอื่ มโยงระหว่างวิธสี อนกบั ผลทไ่ี ด้รับ 11. ช่วยให้ครนู าผลการวิจัยไปใชใ้ นห้องเรียน 12. ทาให้ครูสามารถเป็นองค์กรที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ (change agent) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเป็นเคร่ืองมือสาคัญ ที่ช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู เนื่องจากให้ข้อค้นพบที่ได้มาจากกระบวนการสืบค้นท่ีเป็นระบบ และเชื่อถือได้ทาให้ผู้เรียนเกิดการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนนอกจากน้ียังพัฒนาผู้ที่มีส่วนร่วมนาไปสู่การพัฒนาชุมชนแห่งการ เรียนรู้ และด้วยหลักการสาคัญของการวิจัยปฏิบัติที่เน้นสะท้อนผล ทาให้การวิจัยแบบน้ีส่งเสริม บรรยากาศของการทางานแบบประชาธิปไตยท่ีทุกฝ่ายเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และยอมรับ ในขอ้ คน้ พบร่วมกนั (สวุ ิมล, 2544 : 15) รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 15 หลักสตู รการวิจยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย

กำรเขียนประโยชน์ของกำรวิจัยในชน้ั เรยี น การทาวิจยั ทุกเรื่อง ผูท้ าวจิ ัยจะต้องทราบวา่ เมอื่ ทาเสร็จแลว้ ผลการวิจัยจะก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างไรประโยชน์ของการวิจัยมีได้หลายลักษณะ เชน่ การนาผลการวิจัยไปใช้ในการกาหนด นโยบาย ปรับปรุงการปฏิบัติงาน ใช้เป็นแนวทางการตัดสินใจ ใช้ในการแก้ปัญหา หรือทาวิจัยต่อไป เป็นตน้ ประโยชน์จึงเป็นการอธิบายถึงประโยชน์ของงานวิจัยน้ี โดยอาศัยความสาคัญของ เร่อื ง ควรพยายามให้เห็นประโยชน์ต่อวงวชิ าการ ประชากร ฯลฯการเขียนประโยชน์ของงานวิจัยควร เขียนเป็นข้อ ๆ เพ่ือระบุถึงประโยชน์ที่จะเกิดข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จะต้องเขียน ด้วยภาษาทอี่ า่ นง่ายและพยายามโนม้ นา้ วใหผ้ อู้ ่านเห็นประโยชน์ของงานวจิ ยั ให้มากท่สี ุด แนวทำงกำรเขียนประโยชน์ทีค่ ำดวำ่ จะได้ 1. เขยี นประโยชน์ที่ไดร้ บั โดยตรงมากท่สี ดุ ไปหาประโยชน์น้อยทสี่ ุดจากการวิจยั 2. ไม่ขยายความเกินความเป็นจริง ต้องอยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ท่ีศึกษา เทา่ น้ัน 3. ควรเขียนให้ครอบคลุมทั้งผลในระยะส้ันและระยะยาว ท้ังผลทางตรงและ ทางออ้ ม 4. ควรระบใุ นรายละเอียดวา่ ผลดังกล่าวจะตกกบั ใครเปน็ สาคญั 5. ไมค่ วรเขียนในลักษณะทลี่ ้อจากวัตถุประสงค์ ตัวอยำ่ ง หัวข้อกำรวิจัย : การสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านคาท่ีใช้อักษร ร ล ว ควบกล้า สาหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ประโยชน์ที่ไดร้ บั : 1. นกั เรียนสามารถอ่านคาท่ีใช้อกั ษร ร ล ว ควบกลา้ ไดถ้ ูกต้องชัดเจน จาก แบบฝกึ ทักษะการอา่ นที่สร้างขึ้น 2. นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงข้ึน 3. นกั เรียนมเี จตคติท่ีดตี ่อภาษาไทย 4. ครูผู้สอนทราบปัญหาการอ่านคาที่มีอักษร ร ล ว ควบกล้าของนักเรียน ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 5. สามารถนาแบบฝกึ ทักษะการอา่ นไปประยุกต์ใชไ้ ด้ หวั ข้อกำรวิจัย : การพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วเชิงอนุรกั ษ์ : กรณีศกึ ษาตลาดน้าตล่งิ ชนั ประโยชน์ท่ไี ด้รับ: 1. ผลจากการวิจัยคร้ังน้ีสามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนปรับปรุง และพัฒนาการส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเกาะเกร็ด จงั หวดั นนทบรุ ี 2. เปน็ ข้อมลู และแนวทางในการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวอ่ืน ๆ 3. เป็นขอ้ มลู เบ้ืองต้นสาหรบั ผู้ทจ่ี ะศึกษาต่อไป รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 16 หลักสตู รการวิจัยพฒั นาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

ตัวอยำ่ ง โครงกำรวิจัยเร่ือง : ความคิดเห็นของครูที่มีต่อพฤติกรรมด้านมนุษย์สัมพันธ์ของ ผู้บรหิ ารโรงเรยี นมัธยมศึกษา ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ: 1. ผลการวิจัยน้ีทาให้ทราบพฤติกรรมมนุษย์สัมพันธ์ของตนตามความ คิดเห็นของครูซ่ึงจะกระตุ้นให้ผู้บริหารเกิดความกระตือรือร้นที่จะเข้าใจปัญหาและความต้องการของ ครูซง่ึ จะเป็นแนวทางไปสูก่ ารสร้างบรรยากาศการมีมนุษยส์ มั พันธท์ ่ีดีในสถานศึกษา 2. เป็นแนวทางในการจัดฝึกอบรมผู้บริหารโรงเรียนในเรื่องมนุษย์สัมพันธ์ โครงกำรวิจัยเร่ือง : ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเก่ียวกับการนิเทศ ภายในโรงเรียนประถมศกึ ษาในสงั กดั จังหวัดสงขลา ประโยชน์ท่ไี ด้รับ: 1. เป็นแนวทางให้กับผู้บริหารและครูในการจัดกิจกรรมและส่งเสริมการ ดาเนนิ งานนิเทศในโรงเรียนประถมศึกษาในจงั หวดั สงขลา 2. เป็นแนวทางให้กับผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาในการนิเทศ ภายในโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสงขลา 3. ผลการวิจยั ทไี่ ด้จะเป็นประโยชนต์ ่อหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องใช้เปน็ แนวทาง ในการวางแผนการปฏิบตั ิงานดา้ นการนเิ ทศภายในโรงเรยี นประถมศกึ ษาในจงั หวัดสงขลา การวิจัยย่อมปรากฏผลทั้งทางทฤษฎแี ละทางปฏิบัติ แต่จะมีประโยชน์มากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการให้ความหมายข้อมูลว่ามี ความเช่ือถือและเท่ียงตรงได้หรือไม่เพียงใด ถ้าข้อมูลเป็นเท็จก็จะกลับเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการนา ผลไปใช้ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามงานวจิ ยั ท่ีดยี อ่ มมคี ุณประโยชน์ สรปุ ประโยชนข์ องกำรวจิ ยั ในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยที่มีประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรยี นรู้ที่สาคัญหลายประการ ดังนี้ 1. การวิจัยในช้ันเรียน ทาให้ครูได้ค้นพบนวัตกรรมใหม่ที่ใช้ในการ แก้ปัญหาการพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ เน่ืองจากการวิจัยในช้ันเรียนเป็นกระบวนการค้นหา ความรคู้ วามจริงดว้ ยวิธกี ารทเ่ี ป็นระบบและเชื่อถือได้ 2. การวิจัยในช้ันเรียน ทาให้ครูได้พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ ปัญหาแสวงหานวัตกรรมในการแก้ปญั หาเพอื่ การพัฒนาผูเ้ รยี นและการจัดการเรยี นร้ขู องตนเองได้ 3. การวิจัยในช้ันเรียนทาให้ครูเป็นครูมืออาชีพท่ีสามารถพัฒนาตนเองและ พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีความรู้ความสามารถและคุณลักษณะท่ีสาคัญตามมาตรฐานการเรยี นรู้ได้ 4. การวิจัยในช้ันเรียนทาให้ครูสามารถสร้างองค์ความรู้และนาไปต่อยอด เปน็ ความร้ใู หม่ท่ใี ชใ้ นการแกป้ ัญหาหรือพัฒนาผเู้ รียนได้ 5. การวิจัยในชั้นเรียนทาให้ครูเกิดทักษะการวิจัย ความสามารถในการ ประยุกต์ใช้และความพยายามแสวงหาทางเลือกทจ่ี ะนาไปส่กู ารเปล่ียนแปลงท่ดี ีข้นึ รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 17 หลักสตู รการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

6. การวิจยั ในช้ันเรียน ทาให้ผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาความรู้ ความสามารถท่ี จาเปน็ และสาคญั ต่อการนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต 7. การวิจัยในชั้นเรียนทาให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ด้วยนวตั กรรม กรรมที่มีความหลากหลายทันสมัยและมีความเหมาะสมต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้อย่าง เต็มที่ 8. การวิจัยในช้ันเรียนทาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ มีการ เก็บรวบรวมข้อมูลด้านพัฒนาการ ความสามารถจุดเด่นและจุดด้อยที่ควรได้รับการพัฒนาท้ัง รายบคุ คลและรายกล่มุ 2. กำรเขยี นโครงร่ำงกำรวิจัย การวิจัย คือ กระบวนการค้นหาความรู้ ข้อเท็จจริง อย่างมีระบบ มีกฎเกณฑ์ในการรวบรวม ขอ้ มูลวิเคราะห์และแปลความข้อมูล เพ่ือแสวงหาคาตอบสาหรับคาถามหรือประเด็นการศึกษาที่ตั้งไว้ ด้วยกระบวนการ อันเป็นท่ียอมรับในแต่ละสาขาวิชา ซ่ึงในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ นิยมใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพราะเชอื่ วา่ วธิ นี ้ีมคี วามถกู ต้อง เชอื่ ถอื ไดม้ ากทส่ี ดุ โดยทั่วไปก่อนท่ีนักวิจัยจะทาการวิจัยจะต้องมีการวางแผนเกี่ยวกับเรื่องที่จะทาการวิจัยไว้ ล่วงหน้าการเขียนโครงร่างการวิจัย (Research proposal) นอกจากจะทาให้ผู้วจิ ัยทราบข้ันตอนและ รายละเอียดในแต่ละข้ันตอนของการวิจัยแล้วยังใช้เป็นเคร่ืองมือในการพิจารณาขออนุมัติทาวิจัยหรือ ขอทุนสาหรับวิจัยอีกด้วย เพ่ือใหผ้ ู้พิจารณาอนุมัติเช่ือว่าการวิจยั ทจ่ี ะทาน้ันมีระเบียบวธิ ีการวจิ ัยที่ดี มี ความเป็นไปไดใ้ นการวจิ ัยให้สาเร็จ และประโยชน์ สมควรได้รบั การอนมุ ตั ใิ หท้ าการวิจยั ได้ สิง่ สาคัญท่ีสุดในการเขียนโครงรา่ งการวิจยั ที่ดี ก็คอื ความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ของผู้ ที่จะทาการวิจัยเรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์อะไร จะใช้ระเบียบวิธีการศึกษาอะไรและอย่างไร และ งานวิจยั น้ันมีประโยชน์อะไรบ้าง ซึ่งหากผู้ที่ทาวิจัยไมม่ ีความชัดเจนในเรือ่ งต่าง ๆ เหล่านี้แล้ว ก็ยากท่ี จะเขยี นขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ทีด่ ีได้ องคป์ ระกอบของโครงร่ำงกำรวิจัย โครงร่างการวิจยั ควรมอี งค์ประกอบสาคัญดงั นี้ 1. ชอื่ เร่อื ง 2. ความสาคญั และทม่ี าของปัญหาการวจิ ัย 3. วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 4. คาถามของการวจิ ยั 5. ทฤษฎีและงานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ ง 6. การทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 7. สมมตภิ าพและกรอบแนวคดิ 8. ขอบเขตของการวจิ ยั 9. ตวั แปรท่ใี ช้ในการวจิ ัย 10. นิยามศัพท์ 11. ระเบยี บวิธดี าเนนิ การวจิ ัย รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 18 หลักสตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย

12. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 13. ระยะเวลาทาการวิจัย 14. รายละเอยี ดงบประมาณ ค่าใชจ้ ่ายในการวิจัย 15. บรรณนกุ รม 16. ภาคผนวก 17. ประวัตขิ องการดาเนนิ การวิจยั *ไม่จาเป็นต้องมที กุ โครงการ 1. ชอ่ื เรื่อง (The Title) ชือ่ เรือ่ งควรมีความหมายส้ัน กะทัดรัดและชัดเจน เพื่อระบุถึงเรื่องท่ีจะทาการศึกษา วิจัยว่าทาอะไรกับใคร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด หรือต้องการผลอะไร ยกตัวอย่างเช่น “ปัจจัยท่ีมีผลต่อ พฤติกรรมการท่องเทียวของนักท่องเที่ยวไทยในตลาดนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม” ในกรณีที่ จาเป็นต้องใช้ช่ือที่ยาวมาก ๆ อาจแบ่งชื่อเร่ืองออกเป็น 2 ตอน โดยให้ช่ือในตอนแรกมีน้าหนัก ความสาคัญมากกว่า และตอนท่ีสองเป็นเพียงส่วนประกอบหรือส่วนขยาย เช่น “โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์และการใช้ถุงยางอนามัย เพ่ือป้องกันโรคของนักเรียนชาย : การเปรียบเทียบระหว่าง นักเรียกอาชีวศึกษากับนกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร 2547” นอกจากนี้ ควรคานึงด้วยว่าช่อื เร่ืองกับเนื้อหาของเรื่องท่ีต้องการศึกษาควรมีความสอดคล้อง กันการเลือกเร่ืองในการทาวิจัยเป็นจุดเริม่ ตน้ ทีส่ าคัญท่ีต้องพิจารณารายละเอยี ดต่าง ๆ หลายประเด็น โดยเฉพาะประโยชนท์ ่ีจะไดร้ ับจากผลของการวจิ ัย ในการเลือกหัวเร่ืองของการวิจยั มขี ้อควรพิจารณา 4 หวั ขอ้ คอื 1.1 ความสนใจของผู้วิจัย ควรเลอื กเร่ืองทตี่ นเองสนใจมาท่สี ุด และควรเปน็ เครอื่ งทไ่ี มย่ ากจนเกินไป 1.2 ความสาคญั ของเรือ่ งท่ีจะทาวจิ ยั ควรเลือกเร่ืองที่มีความสาคัญและนาไปใช้ปฏิบัติหรือสร้างแนวความคิด ใหม่ ๆ ได้โดยเฉพาะเกย่ี วกับงานด้านการท่องเทีย่ วหรือเช่ือมดยงกับแหล่งท่องเท่ียว 1.3 เป็นเรื่องทสี่ ามารถทาวจิ ยั ได้ เรื่องที่เลือกต้องอยู่ในวิสัยท่ีจะทาวิจัยได้ โดยไม่มีผลกระทบอันเน่ืองจาก ปัญหาต่าง ๆ เช่น ด้านจริยธรรม ด้านงบประมาณ ด้านตัวแปรและการเก็บข้อมูล ด้านระยะเวลาการ บรหิ าร ด้านการเมอื ง หรอื เกนิ ความสามารถของผูว้ ิจยั 1.4 ไม่ซ้าซ้อนกับงานวิจัยที่ทามาแล้วซึ่งอาจมีความซ้าซ้อนในประเด็นต่าง ๆ ที่ต้อง พิจารณาเพ่ือหลีกเล่ียง ได้แก่ ช่ือเร่ืองและปัญหาของการวิจัย (พบมากท่ีสุด) สถานที่ท่ีทาวิจัย ระยะเวลาทท่ี าการวจิ ัย วิธีการ หรอื ระเบียบวธิ ีวจิ ัยของการวจิ ัย 2. ผู้วิจยั /คณะผวู้ ิจัยดำเนินกำรวิจยั การใส่ช่ือผู้วิจัยหรือคณะผู้วิจัย ควรที่จะระบุวุฒิด้วยเพ่ือสร้างความเชื่อม่ันในระดับ หน่ึงแก่ผอู้ ่านและในการทมี่ ีทป่ี รึกษาโครงการวจิ ัย ผวู้ ิจยั ควรท่ีจะระบุใหช้ ดั เจนดว้ ยเชน่ กัน รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 19 หลกั สตู รการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

3. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำ (background and rationale) ส่วนน้ีเป็นส่วนสาคัญท่ีชักจูงให้ผู้อ่านเข้าใจ และเป็นถึงความสาคัญของการทางาน วิจัยในส่วนน้ีจึงควรให้รายละเอียดเก่ียวกับความเป็นมาของสถานการณ์ท่ีสนใจ และความเก่ียวเนื่อง ไปสู่สถานการณ์อื่นข้อสงสัยที่เกิดขึ้นซึ่งนาไปสู่ปัญหาการวิจัย ตลอดจนผลท่ีจะได้รับหากมีการวิจัย เร่ืองนี้ การเขยี นในส่วนนค้ี วรมีการอ้างอิงหลกั ฐานหรือเหตกุ ารณ์ 4. วตั ถุประสงค์ของกำรวจิ ยั (objectives) เป็นการกาหนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้าง ในเรื่องจะทาวิจัย ต้องชัดเจน และเฉพาะเจาะจงไม่คลุมเครือ โดยบ่งช้ีถึงส่ิงท่ีจะทา ท้ังขอบเขต และคาตอบท่ีคาดวา่ จะได้รับ ทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว การต้งั วตั ถุประสงค์ ต้องให้สมเหตุสมผลกับทรัพยากรที่เสนอขอและเวลาที่จะ ใช้จาแนกได้เปน็ 2 ชนดิ คอื 4.1 วตั ถุประสงค์ท่วั ไป (General Objective) กลา่ วถงึ สิ่งท่ีคาดหวัง (implication) หรือส่ิงท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนี้ เป็นการแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย ในระดับ กวา้ ง จึงควรครอบคลุมงานวิจยั ที่จะทาทั้งหมดตัวอยา่ งเชน่ เพ่ือศึกษาถึงปัจจัยทางด้านแหล่งท่องเที่ยว ท่ีมีต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเท่ียวของนักท่องเท่ียวชาวไทยในตลาดนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม 4.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงส่ิงที่จะเกิดข้ึนจริง ในงานวิจัยน้ีโดยรายละเอียดว่า จะทาอะไร โดยใครทามากน้อยเพียงใดท่ีไหน เมื่อไร และเพ่ืออะไร โดยการเรยี งหัวข้อควรเรียงตามลาดับความสาคัญ ก่อน หลัง ตัวอย่างเช่นเพื่อศึกษาถึงปัจจัยทางด้าน ส่วนประสมการตลาดท่ีมีต่อพฤติกรรมการท่องเทียวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในตลาดนครชัยศรี จงั หวัดนครปฐม 5. คำถำมของกำรวิจยั (research question) เป็นส่ิงสาคญั ท่ีผู้วิจัยต้องกาหนดขึ้น (problem identification) และใหน้ ยิ ามปญั หา น้ันอย่างชัดเจนเพราะปัญหาที่ชัดเจนจะช่วยให้ผู้วิจัย กาหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมิฐาน ให้นิยามตัว แปรที่สาคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่าน้ันได้ ถ้าผู้วิจัยต้ังคาถามที่ไม่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แมแ้ ต่ตัวกย็ ังไมแ่ นใ่ จว่าจะศึกษาอะไร ทาให้การวางแผนในขั้นตอ่ ไปนี้ เกิดความสบั สนได้ คาถามของการวิจัยต้องเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ์กับเรื่องที่จะศึกษา โดยควรมีคาถามท่ีสาคัญท่ีสุด ซ่ึงผู้วิจัยต้องการคาตอบมากที่สุด เพ่ือคาถามเดียวเรียนคาถามหลัก (primary research question) ซ่ึงคาถามหลักน้ี จะนามาใช้เป็นข้อมูลในการคานวณขนาดของ ตัวอย่าง (sample size) แต่ผู้วิจัยอาจกาหนดให้มีคาถามรอง (secondary research question) อีกจานวนหนึ่งก็ได้ซึ่งคาถามรองนี้เป็นคาถามที่เราต้องการตาอบ เช่นเดียวกัน แต่มีความสาคัญ รองลงมา โดยผู้วิจัยต้องระลึกผลของการวิจัยอาจไม่สามารถตอบคาถามรองนี้ได้ ทั้งนี้เพราะการ คานวณขนาดตัวอย่างไม่ได้คานวณเพ่ือตอบคาถามรองเหล่านี้ 6. กำรทบทวนเอกสำรและงำนวิจยั ที่เกี่ยวข้อง การทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวข้องที่มีคุณภาพ จะแสดงถึงความเป็นไปได้ของ โครงการวิจัยความสอดคล้องของตัวแปรที่เลือกศึกษาและความรอบรู้ของผู้วิจัย ข้อความที่ใช้ควรจะ กระชับไม่เย่ินเย่อมากเกินไป เพราะจะทาให้กรอบความคิดในส่วนนี้ไม่ชัดเจน การแสดงกรอบ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 20 หลักสตู รการวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

ความคิดในการวิจัยดังลักษณะของแผนภูมิจะแสดงให้เห็นถึงผลที่ไดจากการทบทวนเอกสารท่ี เกยี่ วขอ้ งได้ชดั เจนยิ่งขึ้น หลังจากทีผ่ ู้วิจัยได้เขยี นเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแล้วควรมกี ารประเมินงาน เขียนเรียบเรียงน้ันอีกครั้งหนึ่งว่ามีความสมบูรณ์ท้ังเน้ือหา ภาษา และความต่อเนื่องมากน้อยแค่ไหน สาหรับการประเมินการเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรม Posit & Bungler (1983, อ้างใน ธวัชชัย วรพงศธร. 2538) ได้เสนอขอ้ เสนอแนะท่ีสาคญั ไว้โดยการใหต้ อบคาถามต่อไปน้ี 6.1 รายงานน้ันได้มีการเชื่อโยงปัญหาท่ีศึกษากับปัญหาวิจัยที่เก่ียวข้อง ซึ่งศึกษา ก่อนแล้วหรือไม่ 6.1.1 รายงานนั้นได้เรียบเรียงจากแหล่งเอกสารทุตยิ ภูมิมากเกินไปหรือไม่ ซึ่งตามความเปน็ จริงแลว้ ควรใช้แหลงเอกสารปฐมภูมิ (ต้นฉบับ) ให้มากทีส่ ุด 6.1.2 รายงานได้ครอบคลุมเอกสารที่สาคัญที่เก่ียวข้องกับปัญหาที่ศึกษา ครบหมดหรือไม่ 6.1.3 รายงานได้ครอบคลุมเอกสารใหมๆ่ หรอื ไม่ 6.1.4 รายงานได้เน้นในเรื่องความคิดเห็นหรือการบันทกเหตุการณ์ เก่ยี วกับพฤตกิ รรมมากเกินไป และมกี ารเน้นผลการวจิ ัยดา้ นปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ น้อยไปหรือไม่ 6.1.5 รายงานได้เรียบเรยี งข้อความอย่างต่อเน่ืองสมบูรณ์หรือไม่ หรือเป็น เพียงแต่ 6.1.6 ลอกขอ้ ความจากเอกสารตน้ ฉบบั มาเรยี งต่อกันเท่านัน้ 6.1.7 รายงานนั้นเป็นแต่เพียงสรุปผลการศึกษาท่ีทามาแล้วเท่าน้ัน หรือ เป็นการเขยี นในเชิงวิเคราะห์ และเปรียบเทยี บกับผลงานเดน่ ๆ ทศ่ี ึกษามาแลว้ หรือไม่ 6.1.8 รายงานทเี่ รียบเรียงชัดเจนมากน้อยแค่ไหน 6.1.9 รายงานได้นาผลสรุปของงานวิจัยและข้อเสนอแนะของการนา ผลการวจิ ัยไปใช้ทง้ั หมดมาเชอื่ มโยงกับปญั หาทีศ่ ึกษามากน้อยแคไ่ หน 6.2 รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาท่ีศึกษากับกรอบทฤษฎีหรือกรอบแนวคิด หรอื ไม่ 6.2.1 รายงานได้เชื่อมโยงกรอบทฤษฎีกับปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็น ธรรมชาตหิ รอื ไม่ 6.2.2 รายงานได้เปิดช่องโหว่ให้เห็นถึงกรอบแนวคิดอ่ืนท่ีเหมาะสมกว่า หรอื ไม่ 6.2.3 รายงานได้เชื่อโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอย่างมี เหตุผลหรือไม่ 7. สมมติฐำน (Hypothesis) และกรอบแนวคิดในกำรวิจยั (Conceptual framework) การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือการทายคาตอบอยา่ งมเี หตผุ ล ซง่ึ ไดจ้ ากการ ทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวข้อง มักเขียนในลักษณะการแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระหรือตัว แปรต้น (independent variables) และตัวแปรตาม (dependent variable) เช่น ระดับรายได้ของ นักท่องเท่ียวเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการท่องเท่ียว สมมติฐานทาหน้าท่ีเสมอนเป็นทิศทางและแนวทางใน รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 21 หลกั สตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

การวิจัย จะช่วยเสนอแนะแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป สมมติฐาน ตองตอบวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัยไดค้ รบถว้ นและทดสอบและวดั ได้ 8. ขอบเขตของกำรวจิ ัย เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เน่ืองจาก ผู้วิจัยไม่สามารถทาการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น จึงต้องกาหนดขอบเขตของ การศึกษาให้แน่นอนว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง ซ่ึงอาจทาได้โดยการขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะ ตอนใดตอนหน่งึ ของสาขาวชิ าหรอื กาหนดกล่มุ ประชากร สถานทีว่ ิจยั หรือระยะเวลา 9. ตวั แปรทใ่ี ช้ในกำรวิจัย ผ้วู ิจัยควรระบุตัวแปรทั้งหมดท่ีต้องการศึกษา พร้อมกับการจัดหมวดหมู่ชนิดของตัว แปรว่าเป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม นอกจากน้ีผู้วิจัยควรนาเอาสมมติฐานต่างๆที่เขียนไว้มา รวมกันให้เป็นระบบและมีความเชอื่ มโยงกัน ในลักษณะท่ีเปน็ กรอบแนวความคิดของการศึกษาวจิ ัยทั้ง เรื่อง เช่น จะศึกษาถึงพฤติกรรมสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนงานอาจต้องแสดง (นิยมทาเป็นแผนภูมิ) ถึงท่ีมาและปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดในพฤติกรรมดังกล่าวหรือในทางกลับกันผู้วิจัยอาจกาหนดกรอบ แนวความคิดของการวิจัย ซ่ึงระบุว่าการวิจัยนี้เป็นตัวแปรอะไรบ้างและตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์ กันอย่างไรก่อน แล้วจึงเขียนสมมติฐานท่ีระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในลักษณะท่ีเป็นข้อ ๆ ในภายหลงั 10. กำรใหค้ ำนยิ ำมเชิงปฏบิ ัติทีจ่ ะนำมำใชใ้ นกำรวิจยั (operational definition) ในการวิจัยอาจมีตัวแปร (variables) หรือคา (terms) ศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ท่ี จาเป็นต้องให้คาจากัดความอย่างชัดเจน ในรูปที่สามารถสังเกต (observation) หรือวัด (measurement) ได้ไม่เช่นนั้นแล้วอาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทางตัวอย่างเช่น คาว่า คณุ ภาพชีวติ , ตัวแปรทเ่ี ก่ยี วกับความรู้, ทัศนคต,ิ ความพงึ พอใจ เปน็ ตน้ 11. ระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) เป็นการให้รายละเอียดเก่ียวกับขั้นตอน ในการดาเนินงานการวิจัยว่าแต่ละขั้นตอนจะทาอย่างไรโดยทั่วไปเป็นการให้รายละเอียดในเร่ือง ตอ่ ไปนีค้ ือ 11.1 วิธีวิจัย จะเลือกใช้วิธีแบบใด เช่น การใช้การวิจัยเอกสาร การวิจับแบบ ทดลอง การวิจัยเชิงสารวจการวิจัยเชิงคุณภาพ หรือจะใช้หลายวิธีรวมกัน ซ่ึงจะต้องระบุให้ชัดเจนว่า จะใช้วิธอี ะไรบา้ ง 11.2 แหล่งข้อมูล จะเก็บข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง เช่น จะเก็บข้อมูลทุติยภูมิจาก ทะเบียนราษฎร์สมุดสถิติรายปี สามะโนประชากรและเคหะ ฯลฯ หรือจะเป็นข้อมูลปฐมภูมิจากการ สารวจ การสนทนากลุม่ การสงั เกตการสมั ภาษณ์ระดบั ลกึ ฯลฯ เปน็ ต้น 11.3 ประชากรที่ศึกษา ระบุให้ชัดเจนว่าใครคือประชากรที่จะต้องศึกษา และ กาหนดคุณลักษณะของประชากรท่ีจะต้องศึกษาให้ชดั เจน เช่น เพศ อายุสถานภาพสมรส ศาสนา เขต ที่อยู่อาศัย บ้างคร้ังประชากรท่ีต้องศึกษาอาจไม่ใช่ปัจเจกบุคคลก็ได้เช่น อาจเป็นครัวเรือน หมู่บ้าน อาเภอ จงั หวัด ฯลฯ เป็นต้น รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 22 หลกั สตู รการวิจยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ สานักงาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

11.4 วิธีการสุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องระบุกลมุ่ ตัวอย่างและวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดย ละเอียดและแสดงเป็นขั้นตอนของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างควรอธิบายว่าจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบใด ขนาดกลุ่มตัวอยา่ งมจี านวนเท่าใด เกบ็ ข้อมลู จากท่ไี หน และจะเขา้ กลุ่มตัวอยา่ งได้อย่างไร 11.5 วิธกี ารเก็บข้อมูล ระบุว่าจะใช้วิธีการเก็บข้อมลู อย่างไร มีการใช้เครื่องมือและ ทดสอบเคร่ืองมืออย่างไร เช่น จะใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์การสัมภาษณ์แบบมี แบบสอบถามการสังเกต หรือการสนทนากลมุ่ เป็นตน้ 11.6 การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการบอกแนวทางกว้าง ๆ ในการวเิ คราะห์ข้อมูลตลอดจนเทคนิคทางสถิติท่ีเลือกมาใช้เป็นการระบุและการประมวลผลข้อมูลจะ ทาอย่างไร จะใช้เครื่องมืออะไรในการประมวลผลข้อมูล และในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือการทดสอบ สมมตฐานจะทาอย่างไรจะใช้สถิติอะไรบ้างในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้สามารถตอบคาถามของการ วิจัยทต่ี ้องการได้ 12. ประโยชนท์ ่ีคำดวำ่ จะได้รับ ผู้วิจัยต้องเขียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยไม่ต้องเขียนสิ่งท่ีอยู่ นอกเหนอื จากงานวจิ ยั นนั้ และจะต้องมีความเปน็ ไปได้ 13. ระยะเวลำในกำรดำเนินงำน ผู้วิจัยต้องระบุถึงระยะเวลาที่จะใช้ในการดาเนินงานวิจัยท้ังหมดว่าจะใช้เวลานาน เท่าใดและต้องระบุระยะเวลาท่ีใช้สาหรับแต่ละข้ันตอนของการวิจัย วิธีการเขียนรายละเอียดของ หวั ขอ้ นอ้ี าจทาได้ 2 แบบ ตามท่แี สดงไว้ในตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ (การวิจัยใชเ้ วลาดาเนินการ 12 เดอื น) ตัวอยำ่ งที่ 1 ก. ขน้ั ตอนการเตรียมการ : ค้นคว้าชื่อเรือ่ งหรือปัญหาทจี่ ะทา (3 เดอื น) 1. ศกึ ษาเอกสารและรายงานการวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง 2. ติดต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง(ขออนุมัติดาเนินการ, ติดต่อผู้นาชุมชน, เตรียม ชุมชน)และรวบรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่จี าเปน็ 3. สร้างเครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย 4. จดั หาและฝกึ อบรมผชู้ ่วยนกั วิจยั 5. ทดสอบและแก้ไขเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย ข. ขัน้ ตอนการเก็บขอ้ มูล (2 เดือน) 6. เลือกประชากรตวั อย่าง 7. สัมภาษณป์ ระชากรตวั อย่าง ค. ขนั้ ตอนประมวลผลข้อมูลและวิเคราะหข์ ้อมลู (3 เดอื น) 8. ลงรหัส ตรวจสอบรหัส นาข้อมูลเข้าเครื่อง และทาการบรรณาธิการด้วยเครื่อง คอมพวิ เตอร์ 9. เขยี นโปรแกรมเพ่อื ทาการวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยใช้สถติ ิตา่ ง ๆ ตามทีก่ าหนดไว้ รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 23 หลักสตู รการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

ง. การเขยี นรายงานและการเผยแพรผ่ ลงาน (4 เดอื น) 10. เขยี นรายงานการวจิ ัย 3 เดอื น 11. จัดพิมพ์ 1 เดือน ตัวอย่ำงท่ี 2 ตารางปฏบิ ตั งิ านโดยใช้ Gantt Chart 14. รำยละเอยี ดงบประมำณค่ำใช้จ่ำยในกำรวิจยั ข้อเสนอโครงการวจิ ัยที่เสนอข้องบประมาณ หรอื ขอทุนอุดหนุนการวิจัยจาเป็นอยา่ ง ย่ิงท่ีจะต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับงบประมาณท่ีใช้ใน การวิจัยเพื่อประกอบในการพิจารณ าอนุ มัติ งบประมาณหรือเงินทุนการกาหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัยน้ันควรแบ่งเป็นหมวด ๆ ว่าแต่ ละหมวดจะใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทาได้หลายวิธีตัวอย่างหนึ่งของการแบ่ง หมวดคอื แบง่ เป็น 8 หมวดใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ 14.1 เงนิ เดือนและคา่ ตอบแทนบุคลากร 14.2 ค่าใชจ้ า่ ยสาหรบั งานสนาม 14.3 ค่าใชจ้ า่ ยสานกั งาน 14.4 คา่ ครุภัณฑ์ 14.5 คา่ ประมวลผลข้อมูล 14.6 คา่ พิมพร์ ายงาน 14.7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพ่ือปรึกษาเร่ืองการดาเนินการงานหรือเพ่ือเสนอ ผลงานวิจัยเมื่อจบโครงการแลว้ 14.8 ค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 24 หลกั สตู รการวจิ ัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

15. เอกสำรอ้ำงองิ (references) หรอื บรรณนุกรม (bibliography) ตอนสุดท้ายของโครงร่างการวิจัย จะต้องมีเอกสารอ้างอิงหรือรายงานอ้างอิง อันได้แก่ รายชื่อหนังสือส่ิงพิมพ์อ่ืน ๆ โสตทัศนวัสดุตลอดจนวิธีการ ท่ีได้ข้อมูลมาเพื่อประกอบการ เอกสารการวิจัยเร่ืองน้ันๆ รายการอ้างอิง จะอยู่ต่อจากส่วนเนื้อเร่ืองและประกอบภาคผนวก โดยรูปแบบที่ใช้ควรเป็นไปตามหลักสากลนิยม เช่น Vancouver Style หรือ APA (American Psychological Association) style 16. ภำคผนวก (appendix) สิ่งท่ีนิยมเอาไว้ท่ีภาคผนวก เช่น แบบสอบถาม แบบฟอร์มในการเก็บหรือบันทึก ข้อมลู เมื่อภาคผนวกมีหลายภาคให้ใชเ้ ป็นภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ แต่ละภาคผนวกให้ขึ้นหน้า ใหม่ 17. ประวัติของผดู้ ำเนนิ กำรวิจัย (biography) ประวัติของผู้วิจัย เป็นข้อมูลท่ีผู้วิจัยมักจะใช้ประกอบพิจารณาให้ทุนวิจัย ซ่ึงถ้ามี ผูว้ ิจัยหลายคนก็ต้องมีประวัติของผู้วิจัยท่ีอยู่ในตาแหน่งสาคัญ ๆ ทุกคนจะต้องระบุว่าใครเป็นหัวหน้า โครงการ ใครเป็นผู้รว่ มโครงการในตาแหน่งใด และใครเปน็ ที่ปรึกษาโครงการ ประวตั ิผดู้ าเนนิ การวจิ ัย ควรประกอบด้วยประวัติส่วนตัว (เช่น อายุ เพศ การศึกษา) ประวัติการทางานและผลงานวิชาการ ตา่ ง ๆ 3. เครือ่ งมอื ในกำรวจิ ัยและกำรเก็บรวบรวมข้อมลู 3.1 เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นกำรวจิ ยั เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นสิ่งท่ีมีความสาคัญและมีบทบาทอย่างมากในการวิจัย การเลือกใช้เคร่ืองมือใดน้ันข้ึนอยู่กับสถานการณ์และลักษณะพฤติกรรมที่ต้องการจะวดั ซงึ่ หมายความ ว่าจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยดว้ ยเช่นกัน ในการวจิ ัยพบว่าเคร่อื งมือที่นิยมใชใ้ นการเก็บ รวบรวมข้อมูลมี 5 ประเภท ได้แก่ แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบ ประเมินการปฏิบัติ เคร่ืองมือแต่ละประเภทจะมีลักษณะที่สาคัญและความสามารถในการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลไดแ้ ตกต่างกันออกไป เพ่ือให้ผู้วิจัยสามารถเลือกใช้เครื่องมอื ได้เหมาะสมกบั วัตถุประสงค์การวจิ ัย จึงขอนาเสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ิ, 2553 : 81-156; พิสณุ ฟองศรี. 2552 : 123-136; สมนึก ภัททิย ธาน.ี 2551 : 32-72; ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543 : 21-32) 1. แบบทดสอบ (test) คือ ชุดของคาถาม งานหรือสถานการณ์ที่กาหนดขึ้น เพื่อใช้ เป็นสิ่งเร้าให้บุคคลแสดพฤตกิ รรมตอบสนองออกมา ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวน้ีมีความหมายครอบคลุมท้ัง ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัยแบบทดสอบ (ข้อสอบ) เป็นเคร่ืองมือหลักที่ครูต้องใช้วัดผลการ เรยี นของผู้เรยี นมาโดยตลอด รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 25 หลักสตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

หลักในกำรสร้ำงแบบทดสอบ ในการสรา้ งแบบทดสอบนน้ั แบบทดสอบจะถูกสร้างขนึ้ โดยใช้หลกั สูตร มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั เป็นกรอบการกาหนดเนื้อหาของแบบทดสอบ โดยแบบทดสอบจะมหี ลักในการสร้าง ดงั ต่อไปนี้ 1. วเิ คราะหจ์ ุดประสงค์ เน้ือหาวชิ า กาหนดพฤติกรรมทีต่ ้องการวดั โดย วเิ คราะห์ดูว่าเนอื้ หาสาระใดบ้างท่ีต้องการใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ แต่ละหวั ข้อเหล่านนั้ ต้องการให้ ผเู้ รียนเกิดพฤตกิ รรมอะไร จากน้นั ผู้วจิ ยั จะต้องจัดทาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชีว้ ดั 2. ตารางวเิ คราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัด มกั จาแนกพฤติกรรมของผเู้ รยี น ตามแนวคิดของบลูม และคณะได้แก่ ความจา ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ การประเมิน การสังเคราะห์และสรา้ งสรรค์ 3. กาหนดรรูปแบบของแบบทดสอบให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวช้วี ัด เนื้อหาและระยะเวลาและศึกษาวธิ ีการสรา้ ง การหาคุณภาพของแบบทดสอบด้วย 4. ลงมอื เขยี นข้อคาถามตามจดุ ประสงคท์ ี่กาหนดไว้ โดยเลอื กสถานการณ์ และเนือ้ หามาเป็นสิ่งเรา้ ให้ผู้ตอบแสดงพฤติกรรมออกมา 5. นาแบบทดสอบทีเ่ ขยี นไวม้ าทบทวน แล้วนาไปใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญพิจารณา ความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหาและพฤติกรรมทตี่ ้องการวดั 6. พมิ พ์แบบทดสอบทงั้ ฉบับ ตรวจแกไ้ ขแล้วนาไปทดลองใชก้ บั กลุม่ ทมี่ ี ลกั ษณะใกลเ้ คียง กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีจะใช้แบบทดสอบในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เพื่อตรวจสอบคณุ ภาพ ในดา้ นความยากง่ายอานาจจาแนกและความเช่อื มนั่ 7. ปรับปรุงแก้ไข พิมพ์แบบทดสอบฉบบั จรงิ แล้วนาไปเกบ็ รวบรวมข้อมูลกบั กลมุ่ ตัวอย่างทใี่ ชใ้ นการวิจยั ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัด มีประโยชน์อย่างมากต่อการสร้างแบบทดสอบ ในการวิจัยหรือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ทาให้ผู้วิจัยหรือครูผู้สอนรู้ว่าจะต้องออกข้อสอบ ในมาตรฐานน้ีก่ีข้อ ตัวชี้วดั น้ีกี่ข้อ และต้องออกข้อสอบวดั พฤติกรรมของผู้เรียนในด้านใดบ้าง จานวนก่ี ข้อและเมื่อผู้วิจัยนาแบบทดสอบไปให้ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพของแบบทดสอบด้าน ความเท่ียงตรง กจ็ ะทาใหผ้ ู้เช่ยี วชาญ/ผู้ทรงคณุ วุฒิสามารถตรวจสอบไดว้ า่ แบบทดสอบท่ผี ู้วิจยั สร้างข้ึน น้ันวัดได้ตรงตามคุณลักษณะท่ีต้องการวัดตามหลักสูตร มาตรฐานและตัวช้ีวัดหรือไม่ และคาถามใน แบบทดสอบนั้นครอบคลุมเนื้อหา มีสัดส่วนของจานวนข้อคาถามในแต่ละเน้ือหาตรงตามท่ีระบุไว้ใน ตารางวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานและตัวช้ีวัดหรือไม่ และตรวจสอบได้ว่าแบบทดสอบที่สร้างข้ึนวัด พฤติกรรมของผู้เรียนทั้ง 6 ระดับสอดคล้องกับที่กาหนดไวห้ รอื ไมถ่ ้ามีก็แสดงว่าแบบทดสอบนั้นมีความ เที่ยงตรงเชิงเน้ือหา นอกจากน้ันแล้วในกรณีที่แบบทดสอบบางข้อไม่มีคุณภาพและถูกตัดท้ิง ผู้วิจัย ก็สามารถรวู้ ่าขอ้ นนั้ อยใู่ นมาตรฐานและตัวช้ีวัดใดโดยแบบทดสอบมที ั้งข้อดีและขอ้ จากดั ดงั น้ี รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 26 หลกั สตู รการวิจยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย

ข้อดี 1. เป็นเคร่ืองมือที่เหมาะสาหรับใช้วัดพฤติกรรมด้านปัญญา หรือด้าน พทุ ธิพสิ ัยได้ดีกว่าเครือ่ งมือชนดิ อน่ื 2. แบบทดสอบมีหลายชนิด หลายรูปแบบทาให้สามารถเลือกสร้าง และใช้ ให้เหมาะจดุ มุง่ หมายทตี่ ่างกัน 3. ใช้ไดส้ ะดวก และประหยัด เน่ืองจากใชส้ ามารถใชส้ อบนกั เรยี นได้จานวน มากในเวลาเดียวกนั ขอ้ จากดั 1. แบบทดสอบที่มีคุณภาพดี ต้องใช้เวลาสร้างนาน ต้องใช้ความรู้และ ประสบการณด์ ้านการวัดผลมาเปน็ พ้นื ฐานในการสร้างจงึ จะช่วยใหม้ คี ุณภาพทเ่ี ทยี่ งตรงดยี ิง่ ขนึ้ 2. สร้างแบบทดสอบให้มีคุณภาพเป็นมาตรฐานตายตัวไม่ได้ เพราะคาถาม หรือสถานการณ์ที่กาหนดเป็นเพียงตัวแทนของพฤติกรรมท่ีครูสุ่มข้ึนมา ซึ่งอาจจะเปลี่ยนแปลงหรือ ปรับปรุงใหม่ไดเ้ สมอไมม่ ที ี่สน้ิ สุด 3. คะแนนผลการสอบมีความผิดพลาดคลาดเคล่ือนได้เสมอไม่มากก็น้อย ทุกครั้งท่ีมีการสอบวัดผลจะมีสาเหตทุ ่ีทาให้คะแนนคลาดเคล่ือนจากความเป็นจริงเสมอ เช่น คาถามใน แบบทดสอบไม่เป็นตัวแทนที่ดี ความบกพร่องทางเทคนคิ การสร้างแบบทดสอบ การดาเนินการสอบไม่ รัดกมุ สภาพแวดล้อมไมด่ ี ตลอดจนผสู้ อบขาดความพร้อม จากการศึกษางานวิจัย พบว่า แบบทดสอบท่ีนิยมใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการ วิจัยมีหลายประเภทข้ึนอยู่กับลักษณะที่ยึดถือในการจาแนก เช่น จาแนกตามพฤติกรรมท่ีต้องการวัด จาแนกตามรูปแบบของคาถาม จาแนกตามรูปแบบการสอบจาแนกตามกาหนดเวลาท่ีให้ตอบจาแนก ตามจานวนผ้เู ข้าสอบ และจาแนกตามจดุ มุ่งหมายพเิ ศษ 2. แบบสังเกต (observation form) คอื เครอื่ งมือทใี่ ชป้ ระกอบการสังเกตเปน็ ชุด ของพฤติกรรมที่ผวู้ ิจัยต้องการศึกษาแบบสังเกตมหี ลายชนิด เช่น ระเบยี นพฤติกรรม แบบตรวจสอบ รายการ (checklist) และแบบจัดอนั ดับคุณภาพ (rating scale) การสงั เกตเปน็ วิธีการซ่ึงใช้ประสาท สัมผสั ของผู้สังเกต โดยเฉพาะตาและหู เพ่ือตดิ ตามศึกษาพฤติกรรมทบี่ ุคคลท่แี สดงออกไดท้ กุ ดา้ น แบบ สงั เกตเปน็ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ทผี่ ู้วิจัยสามารถใช้ไดต้ ลอดเวลา หลกั ในกำรสรำ้ งแบบสังเกต ในการสร้างแบบสังเกตนน้ั ประเด็นในการสังเกตจะถูกสรา้ งข้ึนจากกรอบ แนวคดิ ทฤษฎขี องตัวแปรที่ต้องการสังเกตหรอื ต้องการวัด โดยแบบสังเกตจะมหี ลักในการสร้าง ดังตอ่ ไปนี้ 1. ศกึ ษาพฤติกรรมทีจ่ ะสังเกต โดยการศึกษาพฤติกรรมย่อยทต่ี อ้ งการ สังเกตให้ชัดเจน วา่ มีกี่พฤติกรรมอะไรบ้าง โดยการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วข้องกับตัวแปร ทจ่ี ะสังเกต/วัด แลว้ สรปุ เปน็ นิยามตัวแปรในเชิงปฏบิ ัติการ 2. นิยาม หรอื ให้ความหมายพฤติกรรมยอ่ ยเหล่านน้ั ซึ่งเป็นการนิยามแบบ วดั ไดเ้ ป็นพฤติกรรมที่สงั เกตเห็นไดอ้ ย่างชดั เจน เชน่ การเข้าห้องเรียนตรงเวลา รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 27 หลกั สตู รการวิจยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี สานกั งาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

3. เขียนโครงรา่ งพฤติกรรมย่อยและสว่ นประกอบของแบบสังเกตและ กาหนดว่าจะเก็บข้อมูลเชงิ คุณภาพหรอื เชงิ ปริมาณ 4. ตรวจสอบแบบสงั เกตด้านความเท่ียงตรงดว้ ยตนเองและผเู้ ชย่ี วชาญ และ นาผลทีไ่ ด้ มาปรบั ปรงุ แก้ไข 5. ทดลองใชเ้ พื่อหาคา่ ความเชื่อมน่ั โดยการนาแบบสังเกตไปทดลองใชก้ ับ กลุ่มทีไ่ มใ่ ช่กลุ่มตวั อย่างหรือกล่มุ ทจ่ี ะนาแบบสังเกตไปใช้จริงและนาผลทไ่ี ด้มาคานวณหาค่าความ เชื่อมน่ั 6. ปรบั ปรงุ แก้ไข พิมพ์แบบสังเกตฉบบั จริง แลว้ นาไปเก็บรวบรวมขอ้ มูลกับ กลมุ่ ตวั อย่างที่ใชใ้ นการวิจยั จากการศึกษางานวิจัย พบวา่ แบบสงั เกตที่นยิ มใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการ วิจัยมี 3 แบบ ได้แก่ แบบระเบียนพฤติกรรม ลักษณะเป็นแบบฟอรม์ สาหรับบันทึกพฤติกรรม โดย เขยี นบนั ทกึ พฤตกิ รรมทบี่ ุคคลน้นั แสดงออกเปน็ ข้อความบรรยาย มกั ใช้ในการสงั เกตพฤตกิ รรมที่ไมใ่ ห้ผู้ ถูกสงั เกตรู้ตัว แบบมำตรประเมนิ คำ่ หรอื แบบจัดอนั ดับคณุ ภาพลงในชอ่ งที่ตรงกับระดับคะแนนในการ ลกั ษณะเป็นแบบฟอร์มกาหนดรายการพฤติกรรมทีจ่ ะสงั เกต โดยใหท้ าเครื่องหมาย ประเมิน พฤติกรรมแตล่ ะรายการที่สงั เกต และแบบสำรวจรำยกำร ลักษณะเปน็ แบบฟอร์มกาหนดรายการ พฤติกรรมทีจ่ ะสงั เกตโดยให้ทาเครอ่ื งหมายลงในช่องเพื่อบันทกึ พฤติกรรมทีส่ งั เกตพบแล้วและควร บนั ทึกซ้าหลายครัง้ โดยแบบสงั เกตมีท้ังข้อดแี ละขอ้ จากดั ดงั น้ี ข้อดี 1. แบบสังเกตสามารถเปน็ เคร่อื งมือท่ใี ชต้ ดิ ตามศึกษาพฤติกรรมของบคุ คลที่ แสดงออกมาได้ทุกดา้ น 2. แบบสังเกตเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ไดส้ ะดวกใชไ้ ด้ทุกเวลาและใช้ได้ทกุ สถานท่ี 3. แบบสงั เกตใช้สงั เกตพฤติกรรมของบุคคล ทุกเพศ ทุกวยั โดยไม่ขึน้ อยู่กับ ระดับการศึกษา ขอ้ จากัด 1. พฤติกรรมหลายอยา่ งสังเกตได้ยากและต้องสังเกตหลายครัง้ ทาใหเ้ สียเวลา สงั เกตนาน 2. ถา้ ผู้สังเกตขาดความพร้อม และทักษะในการสงั เกต จะทาให้การบนั ทึก ขอ้ มูลลงในแบบสังเกตเป็นข้อมูลท่ีไม่มีประโยชนห์ รือมีความผดิ พลาด 3. ผสู้ งั เกตอาจมคี วามลาเอยี งหรอื อคตติ ่อผูถ้ ูกสังเกตบางคน ทาให้ได้ขอ้ มูล ที่บนั ทกึ ลงในแบบสงั เกตบดิ เบอื นทาให้การแปลผลการสังเกตคลาดเคลื่อน 4. ถา้ ผถู้ กู สังเกตร้ตู ัว จะเกิดการระวังตวั และปิดบงั พฤติกรรมที่แทจ้ ริง แบบสังเกตได้ถูกนาใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลพฤตกิ รรมในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้าน พุทธิพิสัยหรือด้านปัญญา เป็นการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลท่ีแสดงออกถึงความรู้ ความคิดออกมา ทางการพูดและการเขียนซ่ึงผู้วิจัยสามารถสังเกตได้ด้านจิตพิสัยหรือด้านความรู้สึก ตลอดจนคุณธรรม ซ่ึงบุคคลจะแสดงออกมาทางการพูดและแสดงออกทางการประพฤติปฏิบัติจนทาให้ผู้วิจัยรับรู้ได้ด้วย การสังเกต และด้านทักษะพิสัยหรือด้านการปฏิบัติ ซึง่ บุคคลจะต้องลงมอื ปฏิบัติหรือมีส่วนร่วมในการ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 28 หลกั สตู รการวิจยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

ปฏิบัติงานและกิจกรรม ผู้วิจัยจึงสามารถติดตามสังเกตความสามารถในการปฏิบัติของบุคคลนั้นได้ และผู้วจิ ยั จะพิจารณาคุณภาพของผลงาน เพ่ือนาขอ้ มูลไปใช้ในการวเิ คราะห์เพื่อสรุปผลการวจิ ยั ต่อไป 3. แบบสัมภำษณ์ (Interview form) คือ เครื่องมือที่ใช้ประกอบการสัมภาษณ์ จะเป็นแบบบันทึกคาให้สัมภาษณ์ซ่ึงผู้สัมภาษณ์สร้างข้ึนมาเพ่ืออานวยความสะดวกในการรวบรวม ข้อมูล ลักษณะของแบบสัมภาษณ์อาจจะคล้ายกับแบบสอบถามนอกจากน้ียังมีเครื่องมือทีใ่ ช้ประกอบ ในการสัมภาษณ์เป็นสื่อประเภทเครือ่ งบันทึกเสียง ซึ่งใชอ้ านวยความสะดวกในการบันทึกรายละเอียด ของข้อมูล ช่วยให้ผู้สัมภาษณ์พิจารณาย้อนทวนข้อมูลได้ และสามารถสรุปข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ชดั เจน หลักในกำรสร้ำงแบบสัมภำษณ์ ในการสรา้ งแบบสัมภาษณ์นน้ั ประเดน็ ในการสมั ภาษณ์จะถูกสร้างขน้ึ จาก กรอบแนวคิดทฤษฎขี องตัวแปรทีต่ ้องการศึกษา โดยแบบสัมภาษณ์จะมีหลกั ในการสร้างดงั ต่อไปน้ี 1. ศึกษาแนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับเรื่องทีจ่ ะสัมภาษณ์ใหช้ ัดเจน โดยการศึกษา เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้องวา่ มกี ่ปี ระเด็น อะไรบา้ ง 2. นิยามหรือให้ความหมายพฤตกิ รรมท่จี ะสมั ภาษณ์ แยกเป็นรายละเอยี ดท่ี จะสรา้ งเปน็ ข้อกระทงคาถามทจี่ ะสัมภาษณไ์ ด้ 3. รา่ งข้อกระทงคาถามที่จะสัมภาษณ์ ถ้าเป็นแบบสมั ภาษณ์แบบมี โครงสร้างใหเ้ รยี งลาดบั คาถามให้เกดิ ความราบรน่ื 4. ตรวจสอบแบบสัมภาษณด์ ้านความเทีย่ งตรงด้วยตนเองและผู้เชี่ยวชาญ และนาผลทไ่ี ด้ มาปรับปรงุ แก้ไข 5. ทดลองใช้เพ่ือหาคา่ ความเช่อื มน่ั นาแบบสมั ภาษณ์ไปทดลองใชก้ ับบุคคล ท่ไี มใ่ ช่กลุ่มตวั อย่าง หรือกลุ่มท่ีจะนาแบบสัมภาษณ์ไปใชจ้ ริงและนาผลทไี่ ดม้ าคานวณหาค่าความ เชอื่ มัน่ 6. ปรบั ปรุงแก้ไข พิมพแ์ บบสัมภาษณฉ์ บับจรงิ แล้วนาไปเก็บรวบรวมข้อมลู กบั กล่มุ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวิจัย จากการศึกษางานวิจัยพบว่าแบบสัมภาษณ์ท่ีนิยมใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการ วจิ ัยมี 2 แบบ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เป็นแบบสัมภาษณ์ทีต่ ้องเตรยี มรายการคาถามไว้ เป็นแนวทางโดยสร้างเป็นแบบฟอร์มคล้ายกับแบบสอบถามมีส่วนของคาถาม และช่องว่างสาหรับ บันทึกคาตอบ คาถามน้ันอาจจะเป็นแบบให้ตอบเสรีหรือเป็นแบบกาหนดคาตอบให้เลือกก็ได้แบบ สมั ภาษณแ์ บบไม่มีโครงสร้างเป็นแบบสัมภาษณ์ที่ไม่มีแบบฟอรม์ หรอื ไม่ตอ้ งเตรียมข้อคาถามเอาไวแ้ ละ อาจจะไม่ตอ้ งนัดแนะเวลาในการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้าแต่จะสัมภาษณ์เม่ือโอกาสอานวย การตั้งคาถาม นั้นยืดหย่นุ ได้โดยผสู้ ัมภาษณม์ ีจุดประสงค์หรือทศิ ทางการถามอยู่ในใจส่วนผู้ถูกสัมภาษณก์ ใ็ หค้ าตอบได้ อย่างอิสระ โดยความสาคัญอยู่ท่ีท้ังสองฝ่ายต้องมีสัมพันธภาพท่ีดีต่อกัน รูปแบบน้ีเหมาะสาหรับใช้วัด แนวความคดิ ความเช่อื ความรู้สกึ ทอ่ี ยใู่ นระดบั ลึกจึงอาจจะต้องใช้ระยะเวลาในการสมั ภาษณ์มาก รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 29 หลักสตู รการวิจยั พัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชพี สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย

อย่างไรก็ตามผู้วิจัยอาจใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยจะมีแนวคาถามไว้เป็นแนวทางในการสัมภาษณ์บ้าง แต่ไม่ได้ทาเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง ซึง่ จะทาให้ผู้วิจยั เกิดความยืดหยนุ่ ในการตั้งคาถาม แบบสมั ภาษณ์แบบกึ่งโครงสรา้ งน้ีเหมาะ สาหรับผู้วิจัยที่มีประสบการณ์ไม่มากนักในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์ โดยแบบ สมั ภาษณม์ ีทัง้ ขอ้ ดีและข้อจากัด ดังนี้ ขอ้ ดี 1. แบบสมั ภาษณ์เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้ผู้วจิ ัยทราบข้อมูลที่แอบแฝงอยู่ในใจ ของผู้รับการสัมภาษณ์ได้ โดยใช้เทคนิคการพูดคุยที่ฉลาดจะทาให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ยอมเปิดเผยข้อมูล ออกมา 2. การสัมภาษณ์จะช่วยให้ได้ข้อมูลประกอบเกี่ยวกับบุคลิกภาพของผู้ถูก สัมภาษณ์ ซง่ึ สามารถสงั เกตไปพร้อมกับการสมั ภาษณ์ 3. แบบสมั ภาษณ์เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ได้กับบุคคล ทุกเพศ ทุกวยั โดยไม่ขนึ้ กับ ระดับการศกึ ษา ขอ้ จากดั 1. เนื่องจากต้องสัมภาษณ์แบบคนต่อคน ทาให้ต้องส้ินเปลืองเวลามากและ ในกรณที ีต่ ้องเดินทางสัมภาษณน์ อกสถานที่จะส้นิ เปลอื งค่าใช้จา่ ยและเวลาเพ่ิมขึ้น 2. เปน็ วธิ ีการที่ตอ้ งรบกวนผถู้ กู สัมภาษณ์ มักจะสร้างความเบอ่ื หน่ายราคาญ และอาจจะไม่ไดร้ ับความร่วมมือเทา่ ท่คี วร 3. ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสัมภาษณ์ค่อนขา้ งเป็นอัตนยั ความเท่ียงตรงของข้อมูล จงึ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการตคี วาม และสรปุ ความของผู้สมั ภาษณ์ 4. ถา้ ผ้สู มั ภาษณ์ไม่มีเทคนิคในการพดู คุย หรอื มีบุคลกิ ภาพท่ีไม่ดี อาจไม่ได้ รับความไวว้ างใจและไม่ได้ขอ้ มูลทเ่ี ปน็ จริง แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลอีกวิธีหน่ึงท่ีผู้วิจัยมักจะ นามาใช้ในการวิจัยเพ่ือการติดตามศึกษาพฤติกรรมทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย หรือ ทักษะพสิ ยั 4. แบบสอบถำม (questionnaire) คือ เครื่องมือท่ีใช้วัดพฤติกรรมภายในของ บุคคลเกี่ยวกับความรู้สึก ความคิดเห็นเจตคติ ความสนใจ ฯลฯ ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นพฤติกรรมด้านจิต พสิ ัยน่ันเอง นอกจากน้ียังเหมาะสาหรับศึกษาข้อมลู ส่วนตัวของบุคคลด้วย แบบสอบถามมีลักษณะเป็น ชดุ ของคาถามท่สี รา้ งขึน้ เพ่อื ให้ศกึ ษาหาขอ้ มูลตามจดุ ประสงค์ หลกั ในกำรสรำ้ งแบบสอบถำม ในการสร้างแบบสอบถามนั้นข้อคาถามของแบบสอบถามจะถูกสร้างข้ึนจาก กรอบแนวคิดทฤษฎีของตัวแปรท่ีต้องการศึกษาหรือต้องการวัด ซึ่งการออกแบบมาตรท่ีใช้ต้อง เหมาะสมกับประเด็นทจี่ ะวัดโดยแบบสอบถามจะมหี ลักในการสร้างดังต่อไปน้ี 1. พิจารณาขอบข่ายของข้อมูลท่ีต้องการทั้งหมด โดยการสังเคราะห์จาก กรอบแนวคิดทฤษฎีที่ได้ศึกษาไว้ในบทท่ี 2 มาเป็นนิยามตัวแปรเชิงปฏิบัติการ เช่น แรงจูงใจใน การศึกษาต่อในสาขาวิชาชีพครู หมายถึง ความรู้สึกชอบ พอใจมีแรงกระตุ้นท่ีอยู่ภายในตัวของ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 30 หลักสตู รการวิจยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

นักศึกษาวิชาชีพครู โดยมีเป้าหมายที่จะเรียนครูในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมที่ส่งผลให้นักศึกษา เกิดการมุ่งความสาเร็จ มุ่งม่ัน ใส่ใจ กระตือรือร้น เชื่อม่ัน ทุ่มเท ทะเยอทะยานและต้ังเป้าหมาย ในการศึกษาในสาขาวิชาชพี ครู 2. เลือกรูปแบบของคาถามให้เหมาะสมกับกลุ่มที่จะถามว่าควรใช้รูปแบบ ของคาถามแบบปลายเปิดหรือปลายปิด นอกจากรูปแบบของคาถามท่ีใช้แล้ว ผู้วิจัยควรคานึงถึง ความสามารถ ในการระบุความเห็นดว้ ยมาก-น้อยของผู้เรียนด้วย โดยถ้าผ้เู รียนมอี ายุน้อยหรือเรยี นอยู่ ในระดับช้ันประถมต้น ผู้วิจัยก็ไม่ควรใช้มาตรประเมินค่าที่สูงเกินไป (5 ระดับ) อาจใช้เพียง 3 ระดับ และควรออกแบบมาตรวัดใหเ้ หมาะสม เช่น มี – ไม่มี ใช่ – ไม่ใช่ ก็ควรใช้แบบตรวจสอบรายการแต่ถ้า ต้องการระบุการกระทามาก-น้อย เห็นด้วยมากที่สุด-น้อยที่สุด ก็ควรใช้มาตรประเมินค่า และควร คานึงถึงลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ ตลอดจนวางแผนไปถึงการจัดกระทากับข้อมูลที่สะดวก รวดเร็ว และใหข้ อ้ สรุปทีช่ ดั เจนดว้ ย 3. สร้างคาถามตามรปู แบบท่ีเลือกไว้ให้ครอบคลุมทุกด้านและถามส่ิงสาคัญ ให้ครบถ้วน ในการตั้งคาถามต้องคานึงถึงเทคนิคการสร้างคาถาม เช่น ตั้งคาถามให้ชัดเจน ถามให้ตรง ประเดน็ ใชภ้ าษางา่ ย หลีกเลี่ยงคาศพั ท์ทางเทคนคิ 4. จัดทาต้นฉบับของแบบสอบถามที่สมบูรณ์ มีส่วนประกอบครบตามท่ี ต้องการ คือ มีช่ือแบบสอบถาม มีคาชี้แจง มีคาถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบและมีข้อคาถาม เกี่ยวกับข้อมูลหลักที่ต้องการทั้งหมด โดยวางรูปแบบให้ถูกต้องเหมาะสม สะดวกในการตอบและ สะดวกในการจดั กระทาขอ้ มลู หลงั จากเก็บแบบสอบถามกลบั คนื มาแล้ว 5. ตรวจสอบ และปรับปรุงข้อบกพร่องก่อนท่ีจะพิมพ์ฉบับจริงไปใช้ เพื่อให้ เกิดความเชื่อม่นั ในคณุ ภาพของแบบสอบถาม ซ่งึ อาจจะปฏิบตั ิไดเ้ ปน็ 2 ระดบั ดังนี้ ระดับที่ 1 เป็นการตรวจสอบคุณภาพในด้านความเท่ียงตรง ผู้สร้าง แบบสอบถามด้วยตนเองควรอ่านทบทวนทุกส่วน และพิจารณาให้ละเอียดถี่ถ้วน ว่ายังมีสิ่งใดขาดไป หรือยังมีตรงไหนบกพร่องให้เพ่ิมเติม และปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ แต่การพิจารณาเองมักจะไม่เห็น ข้อบกพร่องของตนเอง ควรจะนาไปให้ผู้มีประสบการณ์ หรือมีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสาระท่ีจะถาม ตลอดจนเทคนิคการสร้างแบบสอบถาม ช่วยพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ ก็จะช่วยให้แบบสอบถาม มคี ณุ ภาพสมบรู ณ์ยิง่ ขน้ึ ระดับท่ี 2 เป็นการตรวจสอบคุณภาพโดยการหาค่าอานาจจาแนกและค่า ความเชื่อมั่น ในกรณีท่ีต้องการข้อมูลไปใช้เพ่ือการทาวิจัยที่ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ จะต้อง นาแบบสอบถามที่ผ่านการปรับปรุงในระดับที่ 1 มาพิมพ์เป็นฉบับทดลองแล้วนาไปทดลองกับกลุ่ม ตัวอย่างที่ไม่ใช่กลุ่มจริง แต่มีสถานะเทียบเท่ากับกลุ่มจริง เพื่อนาผลมาพิจารณาหาจุดบกพร่อง และ ปรับปรุงแก้ไขเป็นครง้ั สดุ ท้าย ซ่ึงจะมีการนาข้อมูลมาคานวณค่าอานาจจาแนกและค่าความเช่ือมั่นของ แบบสอบถามดว้ ย จากน้นั จึงพิมพเ์ ป็นฉบบั ทใ่ี ชจ้ รงิ ตอ่ ไป การใช้แบบสอบถามเป็นวธิ ีการท่ีผู้วจิ ัยนามาใช้แทนการสมั ภาษณ์ไดใ้ นบางกรณี เช่น ถ้าต้องการจะสารวจข้อเท็จจริงความรู้สึกหรือความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้ปกครองตลอดจนบุคคลอื่น ก็นาประเด็นคาถามมาสร้างเป็นแบบสอบถามแล้วส่งไปสอบถาม ก็จะช่วยให้มีความสะดวกและ ประหยัดทุกด้าน และทาใหง้ านสาเรจ็ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยแบบสอบถามมีทั้งข้อดแี ละขอ้ จากัด ดังนี้ รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 31 หลักสตู รการวิจยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สานักงาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

ข้อดี 1. เป็นเครื่องมือท่ีใช้ได้กับบุคคลจานวนมากได้ในเวลาพร้อมกัน ทาให้ ประหยดั เวลาและคา่ ใช้จ่าย 2. แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือท่ีให้เวลาในการตอบอย่างอิสระได้ โดยให้ ผตู้ อบรบั ไปตอบ และนดั หมายเวลาสง่ คืน ซึ่งไม่สรา้ งความตึงเครียดใหผ้ ู้ตอบ 3. สามารถฝากส่งและรับแบบสอบถามคืนไดห้ ลายวธิ ี ทาให้มคี วามสะดวก ในการใช้เครอ่ื งมอื 4. แบบสอบถามที่ประกอบด้วยข้อคาถามปลายปิดที่ออกแบบดี จะช่วยให้ สะดวกในการรวบรวมคาตอบและวิเคราะห์คาตอบ ข้อจากดั 1. แบบสอบถามเหมาะสาหรบั ผู้ทอี่ า่ นและเขยี นหนังสอื คลอ่ งเท่าน้นั 2. ผ้ตู อบแบบสอบถามอาจไม่ได้ตง้ั ใจตอบ หรือไม่ให้ความสาคัญต่อข้อมูลท่ี เป็นจรงิ หรือมอบใหค้ นอน่ื ตอบแทนทาให้ข้อมลู ที่ไดม้ าไม่ตรงหรอื คลาดเคล่ือนจากความจริง 3. คาถามบางข้ออาจไม่ชัดเจนสาหรับผู้ตอบบางคน และไม่มีโอกาสได้รับ คาช้แี จง ทาให้คาตอบท่ีได้มาไม่มีประโยชน์ จากการศึกษางานวิจัย พบว่า แบบสอบถามท่ีนิยมใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการ วจิ ัย มี 2 แบบ ไดแ้ ก่ แบบคาถามปลายเปิด และแบบคาถามปลายปดิ โดยการใชแ้ บบสอบถามในการ เก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย ผู้วิจัยควรออกแบบมาตรวัดให้มีความเหมาะสมกับประเด็น/ส่ิงที่ต้องการ วัด เช่น ผู้วิจัยต้องการวัดระดับความคิดเห็นของผู้เรียนต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนโดยใช้แบบสอบถาม ผู้วิจัยก็ควรเลือกใช้แบบสอบถามท่ีเป็นมาตรประเมินค่า เพื่อให้ผู้เรียน สามารถระบุความคิดเห็นของตนได้ว่าอยู่ในระดับใดในขณะเดียวกันผู้วิจัยควรคานึงถึงความสามารถ ในการระบุความเห็นด้วยมาก-น้อยของผู้เรียนด้วย นอกจากนั้นแล้วในการออกแบบมาตรประเมินค่า จะมีผลต่อการออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยผู้วิจัยจะต้อง เลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับข้อมูลท่ีได้จากมาตรวัดท่ี เลือกใช้ เช่น ถ้าผู้วจิ ยั ใช้แบบตรวจสอบรายการ ซ่ึงเป็นการระบุถงึ สิ่งท่ี มี – ไม่มี ใช่ – ไม่ใช่ หรือแบบ มีคาตอบให้เลือก เช่น ชาย-หญิง การวิเคราะห์ข้อมูลก็ควรใช้ ความถ่ีร้อยละ หรือผู้วิจัยใช้มาตร ประเมินคา่ ซึ่งเป็นการระบุถึงระดับความมาก-น้อย และเป็นการวิเคราะห์ขอ้ มูลระดับของตัวแปรน้ันก็ ควรใช้ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ส่วนการเลือกใช้สถิติทดสอบผู้วจิ ัยควรพิจารณาให้เหมาะสม กับวตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย มาตรวัดตัวแปรและข้อตกลงเบอื้ งตน้ ของสถิติทดสอบทีเ่ ลือกใช้ด้วย 5. แบบประเมินกำรปฏิบัติ (performance assessment form) คือ เคร่ืองมือ ทใี่ ช้ประกอบการประเมินการให้ปฏิบัตจิ ริงมักเป็นแบบบันทึกผลการปฏบิ ัตติ ลอดกระบวนการโดยการ ให้ปฏิบัติเป็นรูปแบบ หรือวิธีการที่กาหนดข้ึนเพ่ือวัดความสามารถในการปฏิบัติงานหรือปฏิบัติ กิจกรรมที่จัดเป็นพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เช่น เร่ิมวัดตั้งแต่ความสามารถในการเตรียมงาน วัดการ ลงมอื ปฏิบัตใิ นแต่ละขั้นตอน วดั ผลงานและวัดพฤตกิ รรมด้านจติ พสิ ยั บางประการ รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 32 หลักสตู รการวิจัยพัฒนาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

หลกั ในกำรสรำ้ งแบบประเมินกำรปฏิบัติ ในการสร้างแบบประเมินการปฏิบัติน้ัน ประเด็นการประเมินจะถูกสร้างขึ้น จากกรอบแนวคิดทฤษฎีของตัวแปรท่ีต้องการศึกษาหรือต้องการวัดโดยแบบประเมินการปฏิบัติจะมี หลักในการสร้างดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ศึกษาพฤติกรรมที่จะให้ปฏิบัติ หรือวิเคราะห์จุดประสงค์สาคัญที่ต้องการ ประเมินผลการปฏิบตั ิ 2. นิยามหรือความหมายพฤติกรรมที่จะให้ปฏิบัติ และกาหนดรูปแบบของ วิธีการประเมินให้สอดคล้องกับพฤติกรรมที่ต้องการว่าจะใช้รูปแบบท่ีให้แสดงออกถึงความสามารถ ทางอ้อม หรือให้ปฏิบัติในสถานการณ์จาลองหรือให้ปฏิบัติในสถานการณ์จริง เช่น ในการสร้างเกณฑ์ การประเมินทักษะการสร้างสื่อการสอนของครู ผู้วิจัยควรศึกษาแนวคิดทฤษฎี องค์ประกอบของส่ือว่า ประกอบด้วยอะไรบ้าง เช่น การประเมินเนื้อหา ลักษณะของส่ือ การพิมพ์ ขนาด รูปเล่ม คุณค่าและ ประโยชน์ ความสะดวกในการนาไปใช้ 3. สร้างเคร่ืองมือบันทึกผลการประเมินตามรายการท่ีวิเคราะห์ไว้ ซึ่งอาจจะ เป็นแบบสารวจรายการหรือแบบจัดอันดบั คุณภาพก็ได้ 4. กาหนดเกณฑ์ หรอื มาตรฐานข้นั ตา่ ท่ีใชต้ ัดสินและสรุปผลการปฏบิ ัติงาน 5. ตรวจสอบแบบประเมินการปฏิบัติด้านความเท่ียงตรงด้วยตนเองและ ผู้เชี่ยวชาญ และนาผลทไ่ี ด้มาปรับปรุงแก้ไข 6. ทดลองใช้เพื่อหาค่าความเช่ือม่ัน นาแบบประเมินการปฏิบัติไปทดลองใช้ กับบุคคลที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มท่ีจะนาแบบประเมินการปฏิบัติไปใช้จริงและนาผลท่ีได้มา คานวณหาค่าความเชอื่ มัน่ 7. ปรับปรุงแก้ไข พิมพ์แบบประเมินการปฏิบัติฉบับจริง แล้วนาไปเก็บ รวบรวมขอ้ มลู กบั กล่มุ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวิจยั จากการศึกษางานวิจัย พบว่า แบบประเมินการปฏิบัติที่นิยมใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลในการวิจัยมี 3 รูปแบบได้แก่ แบบประเมินการปฏิบัติทางอ้อม โดยการให้ระบุ จาแนก หรือ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ท่ีจาเป็นต้องใช้ แบบประเมินการปฏิบัติในสถานการณ์จาลอง ในการปฏิบัติงาน บางอย่างต้องอาศัยทักษะหลายด้านประกอบกันและต้องอาศัยเวลาฝึกเพื่อสะสมประสบการณ์ให้เกิด ความชานาญก่อนท่ีจะปฏิบัติในสถานการณ์จริงไดโ้ ดยไมเ่ กดิ ผลเสียหาย จึงจาเป็นต้องฝึกสถานการณ์ จาลองก่อน เช่น การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุแบบประเมินการปฏิบัติในสถานการณ์จริง รปู แบบนค้ี ือการให้บุคคลได้ปฏบิ ัติ ในสถานการณ์ที่เป็นจริง หรือเหมือนที่ปฏิบัติจริงในชีวติ ประจาวัน เช่น การให้ปฐมพยาบาลคนท่ีได้รับอุบัตเิ หตจุ ริง หรือให้ออกไปขับรถในถนนท่ีมีสภาพการจราจรปกติ การเลือกใช้รูปแบบใดข้ึนอยู่กับลักษณะของจุดประสงค์ของการวิจัยว่าจะให้บุคคลเกิดทักษะถึงระดับ ใดก็ต้องเลือกรูปแบบให้สอดคล้องกัน ซ่ึงบางงานท่ีต้องฝึกประสบการณ์ถึงขั้นชานาญ ก็อาจจะต้อง ผ่านรูปแบบวิธีการวัดท้ัง 3 รูปแบบเลยก็ได้ นอกจากนี้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานมีส่ิงที่ควร จะต้องวัด 2 ประการคือ การวัดวิธีการปฏิบัติงาน (procedure) และการวัดผลงาน (product) ส่วนการวัดพฤติกรรมของนักเรียน คือการวัดคุณลักษณะบางประการท่ีต้องการปลูกฝัง ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของพฤติกรรมด้านจิตพิสัย เช่น ความตั้งใจทางาน ความอดทน ความร่วมมือ ความรับผิดชอบ รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 33 หลกั สตู รการวจิ ัยพฒั นาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

ความมีวินัยในตนเอง (Nitko. 2004 : 257) โดยแบบการประเมินการปฏิบัติมีท้ังข้อดีและข้อจากัด ดังนี้ ข้อดี 1. เป็นเคร่ืองมือที่เหมาะสาหรับใชว้ ัดพฤตกิ รรมด้านทกั ษะการใช้กล้ามเนื้อ หรอื ด้านทกั ษะพิสัย 2. รูปแบบของวิธีการวัดในแบบประเมินการปฏิบัติเป็นแบบอิสระ สามารถ กาหนดขึ้นให้เหมาะกับงานหรือกิจกรรมที่ต้องการวัด ซึ่งแตกต่างกันไปตามธรรมชาติของแต่ละงาน หรอื กิจกรรม ข้อจากดั 1. ต้องใช้เวลาในการวัดมาก โดยเฉพาะการวัดเป็นรายบุคคล เพราะต้อง พิจารณาตลอดท้ังกระบวนการปฏบิ ตั ติ ง้ั แต่เรมิ่ ตน้ จนเกิดผลสมบรู ณ์ 2. ควบคุมสถานการณ์การสอบวัดให้เป็นแบบเดียวกันโดยให้ทุกคนแสดง ความสามารถของตนเองอยา่ งอิสระไม่ได้ 2.1 ถ้าสอบวัดพร้อมกัน โดยให้ทางานหรือกิจกรรมเดียวกัน ก็จะ มีปัญหาเรื่องการควบคุมการปฏิบัติของแต่ละกลุ่มให้เป็นอิสระไม่ได้ และการตรวจวัดผลงานของทุก คนในกลมุ่ ทาได้ไม่ทว่ั ถงึ และไมท่ นั เวลา 2.2 ถ้าสอบวัดโดยให้ทางานหรือกิจกรรมต่างกัน กจ็ ะเกิดความไม่ เท่าเทียมกันเรื่องความยากง่ายของกิจกรรม หรืออาจกาหนดกิจกรรมได้ไม่ครบทุกด้าน ทาให้ผลการ วดั เอามาใชป้ ระโยชนใ์ นการเปรยี บเทียบหรือตดั สินไม่ได้ 2.3 ถ้าสอบวัดโดยให้บุคคลปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม ทุกคนในกลุ่มก็ ควรจะได้คะแนนเท่ากันทั้งที่มีความสามารถหรือทักษะไม่เท่ากัน คะแนนของบางคนจึงไม่สอดคล้อง กนั ตามสภาพจรงิ 3. การพิจารณาคะแนนผลการปฏิบตั งิ าน หรอื ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม ทาได้ ยากเพราะค่อนข้างเป็นอัตนัย แมจ้ ะมีแบบฟอร์มกาหนดรายการวัด และบรรยายคณุ ภาพตามคะแนน ไว้อยา่ งชดั เจนแลว้ กต็ าม การให้คะแนนแต่ละรายการก็จาเป็นต้องใช้ความรู้สึกส่วนตัวช่วยตัดสินด้วยการให้ ปฏิบัติเป็นรูปแบบของวิธีการประเมินผลท่ีใช้เป็นแบบทดสอบประเภทหนึ่งได้เรียกว่าแบบทดสอบ ภาคปฏิบัติหรือแบบประเมินการปฏิบัติ แบบประเมินการปฏิบัติจงึ มีบทบาทสาคัญ สาหรับงานวิจัยท่ี ต้องการรู้ว่ากลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยรู้วิธีการปฏิบัติและปฏิบัติได้จรงิ ซึ่งในปัจจุบัน นิยมนาไปใช้ในการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอน ในบทความน้ีได้นาเสนอเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยว่าประกอบด้วย 5 ประเภท ได้แก่ แบบทดสอบแบบสังเกต แบบสมั ภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมนิ การปฏิบัติ ซึ่งเครอ่ื งมอื ทั้ง 5 ประเภทน้ีต่างมีข้อดีและข้อจากัดที่แตกต่างกันไปและมีหลักในการสร้างท่ีแตกต่างกันด้วย โดย แบบทดสอบจะถูกสร้างขึ้นโดยใช้หลักสูตร มาตรฐาน ตัวช้ีวัดเป็นกรอบการกาหนดเน้ือหาของ แบบทดสอบ แบบสงั เกตน้นั ประเด็นในการสังเกตจะถูกสรา้ งข้ึนจากกรอบแนวคิดทฤษฎีของตัวแปรท่ี ต้องการสังเกตหรือต้องการวัด แบบสัมภาษณ์น้ันประเด็นในการสัมภาษณ์จะถูกสร้างข้ึนจากกรอบ รายงานผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 34 หลักสตู รการวจิ ัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

แนวคิดทฤษฎขี องตัวแปรที่ต้องการศึกษา แบบสอบถามนั้นข้อคาถามจะถูกสรา้ งข้ึนจากกรอบแนวคิด ทฤษฎีของตัวแปรท่ีต้องการศกึ ษาหรือต้องการวัด ซึ่งการออกแบบมาตรที่ใช้ตอ้ งเหมาะสมกับประเด็น ทจี่ ะวดั คณุ ลกั ษณะของเครอ่ื งมือท่ีดี เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษาแต่ละชนิดมีท้ังข้อดีและข้อจากัดในการใช้ ดังน้ัน การสร้างเคร่ืองมือแต่ละชนิดจึงต้องมีการควบคุมคุณลักษณะสาคัญหลายประการ เพ่ือให้ได้ เคร่ืองมือที่ดี มีจุดอ่อนน้อยที่สุด คุณลักษณะสาคัญของเคร่ืองมือทุกชนิดท่ีจะต้องพิจารณามี 4 ประการ (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2543:21-32, บุญเรียง ขจรศิลป์. 2543 : 161- 172. Neuman. 2007 : 115-116) ดังนี้ 1. มคี วามเท่ียงตรง (validity) เปน็ คุณลักษณะของเครอื่ งมอื ท่ีทาให้ได้ผลการวัดตรง ตามจุดมุ่งหมายในการวัดหมายความว่า เคร่ืองมือน้ันวัดลักษณะท่ีต้องการได้จริง ถ้าเป็นคุณลักษณะ ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนธรรมดา ก็ต้องการเพียงว่าแบบทดสอบนั้นสามารถวัดได้ ครอบคลุมเนื้อหาที่เรียน วัดได้ตรงจุดประสงค์ของการเรียนรู้ท่ีสาคัญวัดเนื้อหาทุกเรื่องโดยมีสัดส่วน จานวนขอ้ ทดสอบมาก-น้อยเหมาะสมกับเนื้อหาท่ีเน้นตา่ งกนั 2. ความเชื่อม่ัน (reliability) เป็นคุณลักษณะของเคร่ืองมือที่ทาให้ได้ผลการวัดคงที่ แน่นอนหรือ คงเส้นคงวากล่าวได้ว่า ถ้านาเคร่ืองมือน้ันไปวัดซ้าอีกก่ีครั้งก็ตาม ก็จะให้ผลการวัด เหมือนเดิม หรือคลาดเคล่ือนจากเดิมน้อยมากถ้าไม่มตี วั แปรแทรกซอ้ น การควบคุมการสรา้ งเครือ่ งมือ ศกึ ษาให้มคี วามเช่ือมนั่ ต้องคานึงถงึ สิ่งสาคัญตอ่ ไปนี้ 2.1 ต้องสร้างเครื่องมือให้มีความเที่ยงตรงตามจุดประสงค์ท่ีต้องการก่อน จะชว่ ยใหเ้ ครอื่ งมอื นนั้ มีความเชือ่ มั่นสงู ด้วย 2.2 จานวนของข้อคาถาม หรือคุณลักษณะที่ต้องการศึกษาต้องมีมาก เพียงพอหรอื วัดไดค้ รอบคลุมจึงจะช่วยใหม้ ีความเชือ่ มน่ั สูง 2.3 ข้อคาถามทุกข้อ องค์ประกอบของคุณลักษณะที่วัดต้องมีความชัดเจน ทุกดา้ นหรือเรยี กว่ามีความเปน็ ปรนัย จึงจะสง่ เสริมใหม้ คี วามเชื่อมน่ั สูง 2.4 ถ้าเป็นแบบทดสอบ ต้องประกอบด้วยข้อคาถามท่ียากง่ายพอเหมาะ ไม่มีคาถามท่ียากเกินไป หรือคาถามที่ง่ายเกินไป เพราะหากคาถามเหล่าน้ีจาแนกความสามารถของ บคุ คลไมไ่ ด้ จะมีผลตอ่ ความเชอื่ ม่ันของแบบทดสอบ นอกจากความเชื่อมั่นจะขึ้นอยู่กับคุณภาพของเครื่องมือหลายประการดังกล่าวแล้ว ยังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอ่ืนอีก เช่น ยังขึ้นอยู่กับจานวนข้อสอบหรือข้อคาถาม จานวนกลุ่มท่ีทดลอง ใช้ เวลาที่ใช้ในการวดั มากหรือน้อยเกินไปความพร้อมของผู้ท่รี ับการสอบวดั วิธปี ฏิบัติของผู้เก็บข้อมูล ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้ออานวย 3. มีความเป็นปรนัย (objectivity) เป็นคุณลักษณะท่ีทาให้เครื่องมือมีความชัดเจน ในแงก่ ารนาไปใช้ 3 ประการ 3.1 ข้อคาถามหรือรายการวัดท่ีกาหนดไว้มีความชัดเจน ทุกคนอ่านแล้วมี ความเข้าใจตรงกัน ใช้ภาษาง่ายชัดเจนรัดกมุ ไมม่ คี วามบกพรอ่ งทางภาษา รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 35 หลกั สตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย

3.2 การตรวจให้คะแนนมีความแน่นอนชัดเจน มีวิธีท่ีชัดเจนในการจัด กระทากับข้อมูล หรือกาหนดค่าเป็นตัวเลขให้กับข้อมูล มีเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่เป็นมาตรฐาน เดยี วกนั สาหรับคนตรวจทกุ คน 3.3 การแปลความหมายมีความชัดเจน ผลการสรุปและประเมินเป็นท่ี ยอมรับได้ของทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงหมายถึงว่าผลที่ได้มาน้ันสอดคล้องกับคุณลักษณะที่เป็นจริงทุก ฝ่ายแปลความหมายของคะแนนไดต้ รงกัน 4. มีประสิทธิภาพ (efficiency) เป็นคุณลักษณะของเครื่องมือที่พิจารณาในแง่ ประโยชน์ใช้สอย ดงั นี้ 4.1 จัดรูปแบบได้เหมาะสม มีคาชี้แจงหรือแนวดาเนินการท่ีชัดเจน ออกแบบใหเ้ กิดความสะดวกต่อผู้ใช้ 4.2 มีรูปแบบท่ีสะดวกต่อการจัดกระทากับข้อมูล ซึ่งทาให้สะดวกในการ วเิ คราะห์ และแปลความหมายของข้อมูลดว้ ย 4.3 มคี วามกะทดั รดั คือ กาหนดรายการทจ่ี ะวดั เท่าทจี่ าเปน็ ไม่มากเกนิ ไป แต่ให้ผลการวัดเที่ยงตรง และเชอื่ ถอื ได้ 4.4 มีความประหยัดหลายด้าน เช่น ประหยัดวัสดุในการสร้างเครื่องมือ ประหยัดเวลาในการนาไปวัดพฤติกรรม ประหยัดแรงงานในการจัดกระทากับข้อมูล และวิเคราะห์ ขอ้ มลู 4.5 ไม่มีความบกพร่องทางด้านภาษาซ่ึงทาให้การส่ือความผิดพลาดไปใน กรณที เ่ี ปน็ เครื่องมอื ประเภทแบบทดสอบ อาจจะต้องการคณุ ลกั ษณะสาคัญเพิ่มอีก ดงั นี้ 5. มีความยาก (difficulty) หมายถึง ข้อทดสอบแต่ละข้อ หรือข้อทดสอบรวมท้ัง ฉบบั ตอ้ งไม่ยากเกนิ ไปหรอื ง่ายเกินไปสาหรบั กล่มุ ผู้สอบ 6. มีอานาจจาแนก (discrimination) หมายถึง ข้อทดสอบแต่ละข้อหรือข้อทดสอบ รวม ท้งั ฉบับจะสามารถจาแนกระดบั พฤตกิ รรมทางปัญญาทแี่ ตกต่างกนั ของผู้สอบได้ 7. มีความยุติธรรม (fair) หมายถึง แบบทดสอบที่ไม่ทาให้เกิดการได้เปรียบ เสียเปรียบระหว่างผู้ตอบ เช่นแบบทดสอบที่ค่อนข้างยากทั้งฉบับ แบบทดสอบที่ใช้ทักษะบางอย่าง หรือแบบทดสอบที่มีแนวทางการเดา ดังน้ันแบบทดสอบที่ยุติธรรม จะต้องสร้างให้ครอบคลุมเน้ือหา คือ สร้างตามตารางวิเคราะห์เนื้อหา และจุดประสงค์ของการเรียนรู้ และปฏิบัติตามหลักการสร้าง แบบทดสอบชนดิ นัน้ 8. ถามลึก (searching) หมายถึง แบบทดสอบท่ีมีคาถามวัดความคิดหลายระดับ ไมใ่ ชม่ แี ตค่ าถามวดั ความรคู้ วามจาอยา่ งเดียว 9. มีลักษณะจงู ใจ (exemplary) หมายถึง แบบทดสอบที่มีลักษณะชวนให้ผู้สอบคิด หรือตอบไปจนตลอดฉบับโดยการเรียงจากคาถามง่ายไปหาคาถามยาก หรือให้มีรูปแบบที่แปลกใหม่ ดึงดูดความสนใจจากคุณลักษณะที่ดีของเครื่องมือดังกล่าวจะเห็นได้ว่า เคร่ืองมือแต่แต่ละชนิดจะมี ลักษณะท่ีบ่งชี้คุณภาพของเคร่ืองมือที่แตกต่างกัน ในการสร้างและพัฒนาเครื่องมือแต่ละชนิด ผู้วิจัย จึ งต้ อ งศึ กษ าคุ ณ ลั ก ษ ณ ะข องเค ร่ื องมื อ แ ต่ล ะช นิ ด ให้ เกิ ด ค ว าม เข้าใจ อ ย่ างถ่ องแท้ แล ะชั ด เจ น รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 36 หลักสตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

ทั้งกระบวนการสร้างและการหาคณุ ภาพของเครื่องมือ เพราะคุณภาพของเคร่อื งมือจะมีผลต่อคุณภาพ และความเที่ยงตรงภายในของงานวจิ ยั ดว้ ย 3.2 กำรเก็บรวมรวมข้อมลู กำรเก็บรวบรวมข้อมูล หมายถึง กระบวนการที่จะได้ข้อมูลท่ีตอบสนอง วัตถุประสงค์ของการวิจัยซึ่งแบ่งออกได้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล การเก็บ ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิและปฐมภูมิ โดยใช้เครื่องมือการสัมภาษณ์ การสารวจ การสังเกต การกรอกแบบสอบถาม รายงานและเอกสารตา่ ง ๆ ลกั ษณะสำคัญของกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะสาคญั ของการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลที่ดตี ่อการวจิ ัย มีดงั นี้ 1. จะต้องสนองตอบต่อวัตถุประสงค์ของการวิจัยอย่างครบถ้วน โดย หลังจากผู้วิจัยวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลเสร็จแล้ว ควรพิจารณาว่าข้อมูลท่ีได้มีความครอบคลุม วัตถุประสงค์ของการวิจัย หรือไม่ 2. จะต้องสนองตอบต่อการวิจัยตามกรอบแนวคิดการวิจัยและใช้ในการ ทดสอบสมมตุ ิฐานไดอ้ ย่างครบถ้วน 3. จะต้องมีการดาเนินการด้วยความระมัดระวัง รอบคอบในการเลือกใช้ เคร่ืองมือในการวจิ ยั เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลตามสภาพความเป็นจริง กำรเตรียมกำรสำหรบั กำรเก็บรวบรวมข้อมลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ควรได้มีการเตรียมการสาหรับการเก็บรวบรวม ข้อมูล ดังน้ี 1. วิธกี ารที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจะต้องดาเนินการตามแผนท่ีกาหนด ไว้ โดยอาจใช้เครื่องมือประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือสองประเภท เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง ชัดเจน และสมบรู ณ์มากท่สี ดุ 2. ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยใด ๆ เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีดีผู้วิจัยจะต้อง เก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเอง เนื่องจากเป็นผู้ท่ีวางแผน และรู้เรื่อง/ข้อมูลท่ีจะเก็บรวบรวมได้ดีท่ีสุด แต่ถ้าในการวิจัยมีผู้ช่วยเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องให้คาแนะนา หรือคาช้ีแจงให้แก่ผู้เก็บรวบรวม ข้อมูลได้เข้าใจวิธีการและข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวม เพ่ือให้การเก็บรวบรวมข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถว้ นและปราศจากความลาเอยี ง 3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องทราบว่า เป็นใคร จานวน เท่าไร อยู่ท่ีไหน ที่จะปรากฏในแผนการดาเนินการวิจัยที่จะต้องกาหนดให้ชัดเจนว่า จะเก็บรวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเอง หรือจดั ส่งทางไปรษณีย์ หรือใชผ้ ู้ชว่ ยผู้วิจยั 4. ลักษณะเฉพาะของผู้ให้ข้อมูล เป็นลักษณะของผู้ให้ข้อมูลท่ีผู้วิจัยจะต้อง รบั ทราบวา่ เป็นอย่างไร โดยเฉพาะเวลาท่จี ะใหแ้ ก่ผู้วิจยั ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. กาหนดระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องทราบว่าจะเก็บ ข้อมูลในช่วงใดที่สอดคล้องกับประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีควรจะต้องมีการวางแผนดาเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลว่าจะใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลเท่าไร ใช้งบประมาณและแรงงานในการเก็บ รวบรวมข้อมูลมากน้อยเพียงใด รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 37 หลักสตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

6. จานวนข้อมูลที่ได้รับคืนจากการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเฉพาะจากการ จัดส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์จะต้องได้รับกลับคืนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของแบบสอบถามที่ จัดส่งทั้งหมด และถ้ารวมกับจานวนข้อมูลที่เก็บรวบรวมด้วยตนเองจะมีการสูญหายของข้อมูลได้ไม่ เกนิ ร้อยละ 5 จงึ จะเปน็ ข้อมูลท่เี พยี งพอและนา่ เชอ่ื ถือทจี่ ะนามาวิเคราะห์สรุปผลการวจิ ัย 7. การตรวจสอบความเรียบร้อยของข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อได้รับข้อมลู กลับคนื แล้วจะต้องตรวจสอบความสมบรู ณ์ของข้อมูลวา่ มคี วามครบถ้วนตามที่ต้องการ หรือไม่ ถ้าตรวจสอบแล้วพบว่ามีการไม่ตอบในบางประเด็นอาจจะต้องมีการติดตามเป็นการเฉพาะ รายบุคคลอย่างเร่งด่วน แต่ถ้าไม่สามารถดาเนินการได้หรือพิจารณาแล้วว่ามีความไม่สมบูรณ์ของ ข้อมูลให้นาขอ้ มลู ชดุ นั้นออกจากการวเิ คราะหข์ ้อมลู ข้นั ตอนในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล จาแนกเปน็ ขนั้ ตอนดังน้ี 1. กาหนดข้อมูลและตัวชี้วัด เป็นการกาหนดว่าข้อมูลท่ีต้องการมี อะไรบ้าง โดยการศึกษาและวิเคราะห์จากวัตถุประสงค์หรือปัญหาของการวิจัยว่ามีตัวแปรอะไรบ้าง ที่เป็นตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรท่ีเกี่ยวข้อง และจะใช้อะไรเป็นตัวชี้วัดจึงจะได้ข้อมูล ทส่ี อดคล้องกบั สภาพความเปน็ จริง 2. กาหนดแหล่งข้อมูล เป็นการกาหนดว่าแหล่งข้อมูลหรือผู้ให้ข้อมูลเป็น ใครอยู่ที่ไหนมีขอบเขตเท่าไร ที่จะต้องกาหนดให้ชัดเจน และเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ แลว้ จะต้องพิจารณาวา่ แหลง่ ข้อมลู น้ัน ๆ สามารถที่จะใหข้ ้อมูลไดอ้ ย่างครบถ้วนหรอื ไม่ 3. กาหนดกลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างเหมาะสม และขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างทเี่ หมาะสม 4. เลือกวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ท่ีเหมาะสม (แหล่งข้อมลู /ขนาดกลุ่มตัวอย่าง/การวเิ คราะหข์ ้อมลู ) ประหยัด ได้ข้อมูลอย่างครบถว้ นมี มากเพียงพอและเปน็ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ 5. นาเครื่องมือเก็บรวบรวมขอ้ มูลไปทดลองใช้ เป็นการทดลองใช้เคร่อื งมือ ท่ีสร้างขึ้นหรือนาของคนอ่ืนมาใช้กับกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก เพื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์ตรวจสอบ คุณภาพที่จะต้องปรับปรุงและแก้ไขให้อยใู่ นสภาพที่สามารถเก็บรวบรวมขอ้ มูลไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ มาไวแ้ ละปรับเปล่ยี นวธิ ีการตามสถานการณท์ ่ีเปลยี่ นแปลง เพ่อื ใหไ้ ด้รบั ข้อมูลกลบั คนื มา มากที่สดุ ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับกำรพิจำรณำเลือกเครื่องมือและวิธีกำรในกำรเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ในการพิจารณาเลือกเครื่องมือและวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีปัจจัย ทเี่ กยี่ วข้อง ดังนี้ (ปารชิ าติ สถาปิตานนท์, 2546 : 163-165) 1. ลักษณะของปัญหาการวิจัยท่ีจะต้องชัดเจน ที่จะช่วยให้ทราบประเด็น สาคัญ กลุ่มเปา้ หมายทจี่ ะเป็นกฎเกณฑ์เบอ้ื งตน้ ในการเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือและวธิ ีการในการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู เพอื่ ตอบปญั หาการวิจัย 2. กรอบแนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้เห็นแนวทางของการวิจัยใน ประเดน็ ใด ๆ ในอดีตว่าใช้ระเบียบการวจิ ยั อย่างไรในการดาเนินการวัดตัวแปรนน้ั ๆ รายงานผลการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 38 หลกั สตู รการวิจัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย

3. ระเบียบวิธีวิจัยท่ีแต่ละรูปแบบจะมีหลักการ ประเด็นคาถามและ แนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู อยู่แล้ว 4. หน่ วยการวิเคราะห์ ได้แก่ บุ คคล กลุ่มบุ คคล วัตถุ ที่ ใช้เป็ น “เป้าหมาย” ในการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรท่ีกาหนดตามเครื่องมือและวิธีการที่ สอดคล้องกบั หนว่ ยการวเิ คราะห์ 5. ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อพิจารณาการใช้เวลาและงบประมาณในการ วจิ ัย 6. คุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มตัวอย่าง อาทิ กลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นเด็กเล็ก จะต้องใช้วิธกี ารสมั ภาษณ์ หรอื การสังเกตแทนการใช้แบบสอบถาม เปน็ ต้น ตัวอยำ่ ง หัวข้อกำรวิจัย : การสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านคาท่ีใช้อักษร ร ล ว ควบกล้า สาหรับนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. ผ้วู จิ ยั นาแบบสอบถามการอ่านคาท่ใี ช้อักษร ร ล ว ควบกล้า ทสี่ ร้าง แบบทดสอบกลมุ่ ตวั อย่าง เพื่อเก็บขอ้ มูลข้อมูลก่อนการฝึก 2. นาผลการสอบกลมุ่ ตัวอยา่ งมาวิเคราะห์หาจานวนคนที่อ่านผดิ คิดเป็น รอ้ ยละจากมากไปหาน้อย 3. นาแบบฝกึ ทักษะการอ่านคาทใี่ ชอ้ ักษรร ล ว ควบกล้าท่สี ร้างจากกลุ่ม ตวั อย่าง และเนื่องตากมีเวลาจากัด จึงสุ่มแบบฝึกทักษะการอ่านท่ีมลี ักษณะไม่ซา้ กนั แบบฝกึ ทกั ษะใช้ เวลาในการฝกึ 5 สปั ดาห์ โดยผวู้ ิจยั เปน็ ผู้ฝกึ ดว้ ยตนเอง 4. นาแบบสอบการอ่านคาที่ใชอ้ กั ษรร ล ว ควบกล้ามาทดสอบตวั อย่าง อีกครั้ง เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลหลังการฝกึ 5. นาแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็นไปให้กล่มุ ตัวอย่างกรอกนาผลมา วิเคราะห์เพื่อวัดเจตคตขิ องนักเรยี นที่มีต่อการเรียนการสอน 4. กำรเผยแพร่ผลงำนวจิ ัย การเผยแพร่งานวิจยั เปน็ ขั้นตอนทีส่ าคัญข้นั ตอนหนงึ่ ของงานวจิ ยั งานวจิ ัยจะไมส่ มบรู ณ์เลย หากทาแลว้ ไม่มีการเผยแพรง่ านวิจยั และการเผยแพร่งานวจิ ัย เป็นข้อกาหนดขอรบั ทุนการวจิ ยั และ เป็นขอ้ กาหนดในการพิจารณากาหนดตาแหน่งทางวิชาการทุกระดับ ตามหลักสากลของนกั วจิ ัย ท่วั โลก กาหนดกระบวนการข้ันตอนงานวจิ ัยดงั น้ี รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานกั งาน กศน. 39 หลักสตู รการวจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย

กระบวนการวิจัย ของนูรแ์ มน กระบวนการวิจยั ของ ศ. ดร. รตั นะ บวั สนธิ์ กระบวนการวจิ ยั ของ ดร. สุธาสนิ ี บญุ ญาพิทักษ์ รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 40 หลกั สตู รการวิจยั พัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรเผยแพร่งำนวจิ ัย 1. เพื่อการนาเสนอผลงานวจิ ัยต่อผู้เก่ียวข้องเพอ่ื นาไปสูก่ ารใชป้ ระโยชน์จากข้อ ค้นพบของการวิจยั 2. เพอื่ เป็นข้อมูลสาหรบั นกั วิจัยอนื่ นาไปใช้เป็นแนวทางในการศกึ ษาต่อไป ซึง่ อาจ เป็นการวิจยั เพิม่ เตมิ หรอื ขยายผลหรอื ทาการวิจยั ซา้ ในกลุ่มอื่น รปู แบบของกำรเผยแพรง่ ำนวิจยั การเผยแพร่งานวิจยั ทาไดห้ ลายรูปแบบ แต่สามารถสรุปได้เป็น 2 รูปแบบกว้าง ๆ ได้ดังน้ี 1. กำรเผยแพรง่ ำนวิจัยดว้ ยกำรพูด ( Oral Presentation) เปน็ การเผยแพร่ งานวจิ ยั โดยการบรรยาย พรอ้ มสอ่ื ประกอบ ในเวทวี ิชาการ การเผยแพรง่ านวิชาการด้วยวาจา มขี อ้ ดี มีข้อดี คือใช้เวลาในการรอคอยนอ้ ยกวา่ การเสนอบทความตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ 2. กำรเผยแพรง่ ำนวิจัยด้วยวรรณกรรม 2.1 การเผยแพร่งานวิจัยฉบับสมบรู ณ์ (Research Process) เปน็ การนา งานวิจยั ฉบับสมบรู ณ์ เผยแพรต่ ามแหลง่ สบื ค้นตา่ ง ๆ เชน่ สานักวิทยบรกิ ารของมหาวิทยาลัย หอ้ งสมดุ ประชาชน 2.2 การเผยแพรง่ านวิจัยด้วยโปสเตอร์ (Poster Presentation) เปน็ การ สรุปงานวิจยั ทต่ี ้องการเผยแพร่ พิมพล์ งในแผ่นกระดาษ แผ่นผ้า พลาสตกิ แลว้ นาไปวางเผยแพรใ่ น เวทวี ิชาการหรือแหลง่ สบื ค้นต่าง ๆ 2.3 การเผยแพร่งานวจิ ยั ดว้ ยบทความลงตีพมิ พ์ในวารสาร (Research Article Presentation) เป็นการเสนอบทความวจิ ยั ไปยงั วารสารวิชาการในประเทศและหรือต่างประเทศ เพือ่ ขอรับการตีพิมพ์ เทคนคิ กำรเผยแพรง่ ำนวิจยั กำรเผยแพร่งำนวจิ ัยฉบับสมบูรณ์ (Research Process) 1. เลอื กแหล่งเผยแพร่งานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้องกับงานวิจัย 2. จัดทาหนงั สือราชการขอเผยแพร่ผลงานวิจยั พร้อมแนบงานวจิ ัยฉบับ สมบรู ณ์ และแผน่ CD, QR code 3. รอเอกสารตอบรับ กำรเผยแพร่งำนวจิ ยั ด้วยโปสเตอร์ (Poster Presentation) ผู้วจิ ยั สามารถเผยแพร่งานวิจัยแบบนี้ ได้ 2 แบบ แบบท่ี 1 1. ออกแบบและจดั ทาโปสเตอร์เพื่อเผยแพร่ ขนาดกว้าง x ยาว พมิ พแ์ บบ แนวตังหรือแนวนอน โปสเตอร์มีหลายแบบ เชน่ โปสเตอรแ์ บบผา้ โปสเตอรแ์ บบกระดาษเคลอื บมัน โปสเตอรแ์ บบแผน่ พลาสติก โปส โดยต้องมีเน้ือหาท่สี รุปครบถว้ น ทั้ง 5 บทโปสเตอร์ ควรจะมี ภาพประกอบ/แผนภูม/ิ ตาราง ทอี่ ่านแล้วเขา้ ใจง่าย รายงานผลการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 41 หลักสตู รการวิจัยพฒั นาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

2. เลือกแหล่งเผยแพร่งานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้องกับงานวจิ ยั 3. จัดทาหนงั สือราชการขอเผยแพร่ผลงานวิจยั พรอ้ มแนบโปสเตอร์ 4. รับเอกสารตอบรบั แบบท่ี 2 1. ค้นหาเวทีเผยแพร่งานวิจัย ทเ่ี กย่ี วข้องกบั งานวจิ ยั 2. สมคั รลงทะเบยี นไปนาเสนอผลงาน โดยระบวุ ิธกี ารนาเสนอด้วย โปสเตอร์ การลงทะเบียนมหี ลายชอ่ งทางในการลงทะเบยี น เชน่ หนังสือราชการ จดหมาย อเิ ล็คทรอนิกส์ โทรสาร พร้อมชาระค่าลงทะเบยี น 3. รอการตอบรับ เมื่อได้รับการตอบรับแล้ว ควรศึกษารายละเอียดของ วธิ ีการนาเสนอให้เข้าใจ โดยผู้จัดจะแจ้ง วนั เวลา สถานท่ี เตรียมพร้อม การนาเสนอ ในภาพรวม เช่น การแตง่ กาย บุคลกิ ภาพ การซกั ซอ้ มการนาเสนอในรปู แบบของโปสเตอร์ 4. ออกแบบโปสเตอร์ ขนาดกว้าง x ยาว พิมพ์แบบแนวต้ังหรือแนวนอน โปสเตอร์มีหลายแบบ เช่น โปสเตอร์แบบผ้า โปสเตอร์แบบกระดาษเคลือบมัน โปสเตอร์แบบแผ่น พลาสติก โปส โดยต้องมีเนื้อหาท่ีสรุปครบถ้วน ทั้ง 5 บทโปสเตอร์ ควรจะมีภาพประกอบ/แผนภูมิ/ ตาราง ที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ผู้จัดการประชุมทางวิชาการบางแห่ง จะเป็นคนกาหนดรูปแบบของ โปสเตอร์ 5. ดาเนนิ การนาโปสเตอรไ์ ปตดิ ตัง้ ก่อนอยา่ งน้อย 1-3 ชม. 6. ผู้เผยแพร่งานวิจัยดาเนินการเผยแพร่งานวิจัยด้วยโปสเตอรต์ ามวันเวลา ที่กาหนด กำรเผยแพร่งำนวิจัยด้วยบทควำมลงตีพิมพ์ในวำรสำรวิชำกำร (Research Article ) 1. ค้นหาแหล่งตีพิมพ์เพื่อเผยแพรง่ านวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้องการสาขาการวิจัย 2. สมคั รลงทะเบยี นเปน็ สมาชิกของวารสารวชิ าการ 3. ส่งบทความงานวจิ ัยเพ่ือขอรับการตพี ิมพ์ 4. รอการตอบรับจาก บรรณาธิการ การตอบรับบรรณาธิการ จะแจ้งให้ทราบ 3 กรณี ดงั นี้ 4.1 แจง้ วา่ บทความไดร้ บั การตีพิมพ์ 4.2 แจ้งว่าบทความตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ขตน้ ฉบับ 4.3 แจง้ ปฏิเสธการตีพมิ พ์ ช่องทำงกำรเผยแพร่งำนวจิ ัย หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องกบั การศึกษาในประเทศ 1. สานักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา 2. กระทรวงอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม 3. สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ 4. ศนู ยด์ ชั นีอ้างองิ วารสารไทย Thai Citation Index (TCI) รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 42 หลักสตู รการวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย

หน่วยงำนท่เี กี่ยวขอ้ งกับกำรศกึ ษำต่ำงประเทศ ผู้วิ จั ย ส ามารถศึกษ าแ ล ะสื บ ค้น ฐ าน ข้อมูล ว ารส ารเพ่ื อการตี พิ มพ์ บ ท ควา มห รื อ นาเสนองานวิจัย ได้หลายช่องทาง เช่น ฐานข้อมูลดัชนี วารสารนานาชาติ จากสานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (สกว.) ERIC (Educationad Resources Information Center) ศึกษา ค้นควา้ วารสารวิชาการนานาชาตไิ ดท้ ีส่ านกั วทิ ยบรกิ ารของสถาบันอดุ มศึกษา 5. ชมุ ชนกำรเรียนรทู้ ำงวชิ ำชีพ (Professional Learning Community) ในยุคปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ในแต่ละช้ันเรียนจะมีนักเรียนที่มีความสามารถ ท่ีหลากหลายและแตกต่างกัน ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 มาตรา 10 ท่ีระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและ โอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมี คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึง ไม่สามารถพ่ึงตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ ความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา นอกจากนี้แล้วในมาตรา 22 ยังระบุถึงหลกั การจดั การศกึ ษาว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนา ตนเองได้ต้องจัดการศึกษาที่พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ ครูทุกคนมคี วามจาเป็นอย่าง ย่ิ ง ท่ี จ ะ ต้ อ ง แ ส ว ง ห า วิ ธี ก า ร ท่ี จ ะ ช่ ว ย ให้ นั ก เรี ย น ทุ ก ค น ส า ม า ร ถ เรี ย น รู้ ได้ ต า ม เจ ต น า ร ม ณ์ ข อ ง พระราชบัญญัติดงั กล่าว ซึ่งนวัตกรรมใหมท่ ่ีครูจะต้องทราบคือ Professional Learning Community (PLC) โดยที่ PLC ย่อมาจาก Professional Learning Community ซ่ึงหมายถึง Community of Practice (CoP) ในการทาหน้าท่ีครูน่ันเองหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการรวมตัวกันทางานไปพัฒนา ทักษะและการเรียนรู้เพ่ือปฏิบัติหน้าที่ครูเพ่ือศิษย์ไปโดยรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ลปรร.) จาก ประสบการณ์ตรง ทาให้การทาหน้าที่ครูเพ่ือศษิ ย์เป็นการทางานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม ซงึ่ อาจเป็นทมี ใน โรงเรยี นเดยี วกนั ก็ได้ ตา่ งโรงเรยี นกนั กไ็ ด้ หรอื อาจจะอยูห่ ่างไกลกันก็ได้ โดย ลปรร. ผา่ น ICT ชุมชนแหง่ กำรเรียนร้ทู ำงวชิ ำชีพ (PLC) คืออะไร ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหรือ PLC คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกัน ของครู ผู้บริหารและนักการศึกษาในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังท่ี Sergiovanni (1994) ได้กล่าวว่า PLC เป็นสถานที่สาหรับ “ปฏิสัมพันธ์” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของ มวลสมาชกิ วชิ าชีพครขู องโรงเรยี นในการทางาน เพื่อปรบั ปรุงผลการเรียนของนกั เรยี นหรืองานวิชาการ โรงเรียน ซึ่ง Hord (1997) มองในมุมมองเดียวกัน โดยมองการรวมตัวกันดังกล่าว มีนัยยะแสดงถึง การเป็นผู้นาร่วมกันของครูหรือเปิดโอกาสให้ครูเป็น “ประธาน” ในการเปลี่ยนแปลง (วิจารณ์ พานิช, 2555) การมีคุณค่าร่วมและวิสัยทัศน์ร่วมกันไปถึงการเรียนรู้ร่วมกันและการนาส่ิงท่ีเรียนรู้ไป ประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน การรวมตัวในรูปแบบน้ีเป็นเหมือนแรงผลักดัน โดยอาศัยความ ต้องการและความสนใจของสมาชกิ ใน PLC เพ่ือการเรยี นรู้และพฒั นาวิชาชีพส่มู าตรฐานการเรยี นรู้ของ นักเรียนเป็นหลัก (Senge, 1990) การพัฒนาวิชาชีพให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์” (วิจารณ์ พานิช, 2555) รายงานผลการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สานักงาน กศน. 43 หลักสตู รการวจิ ัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี สานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook