Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนารวมไฟล์ PDF

แผนพัฒนารวมไฟล์ PDF

Published by Guset User, 2022-07-26 03:44:47

Description: แผนพัฒนารวมไฟล์ PDF

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2564-2567 โรงเรียนบานเกษตรสมบูรณ สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบุรีรัมย เขต 2 สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก พนั ธสญั ญา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านเกษตรสมบูรณ์ ปกี ารศกึ ษา 256๔ – 256๗ ฉบบั นี้ จัดทา ขึน้ เพื่อใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบ้านเกษตรสมบูรณ์ อาเภอเมืองประโคนชัย จังหวดั บุรรี ัมย์ สังกดั เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษารรี ัมย์ เขต 2 ตาม ตัวชวี้ ัดและมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ระหวา่ งปีการศึกษา 256๔ ถงึ ปกี ารศึกษา 256๗พนั ธะสญั ญาฉบบั น้ีจัดทาข้นึ ระหว่าง นายสมาน วงศ์แต้ ผอู้ านวยการ โรงเรียนบ้านเกษตรสมบรู ณ์ และนายสรุ ินทร์ แกว้ ประโคน ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน โรงเรียนบ้าน เกษตรสมบูรณ์ วา่ จะร่วมมือกันพฒั นา ยกระดบั คุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบ้านเกษตรสมบรู ณ์ ใหเ้ ป็นไปตาม แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นเกษตรสมบูรณ์ ปกี ารศกึ ษา 256๔ – 256๗ ตามบทบาทหนา้ ท่ีของแต่ละ ฝ่ายใหเ้ กิดคุณภาพ สูงสดุ ลงชอื่ ผเู้ สนอพนั ธสญั ญา ( นายสมาน วงศแ์ ต้ ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านเกษตรสมบูรณ์ ลงชอ่ื ผูใ้ หค้ วามเหน็ ชอบพนั ธสัญญา ( นายสุริทร์ แกว้ ประโคน ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานโรงเรยี นบา้ นเกษตรสมบรู ณ์

ข คานา การจัดการศกึ ษาเป็นกระบวนการหนง่ึ ท่สี าคัญในการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ ใหม้ คี ุณลักษณะ ตามท่ี สังคมและประเทศชาตมิ ่งุ หวัง ซึง่ จะพัฒนาไปส่เู ปา้ หมายดังกล่าวได้ จาเปน็ ต้องมีวธิ ีการทเ่ี หมาะสมกบั สภาพสังคมท่ี เปลี่ยนไปและสอดคล้องกบั ความพรอ้ มขององค์กร ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนจึง จาเปน็ ตอ้ งกาหนดยทุ ธศาสตร์และ วางแผนการดาเนินการอย่างเหมาะสม โรงเรยี นบ้านเกษตรสมบรู ณ์จึง ได้จดั ทาแผนพฒั นาโรงเรียน เป็นระยะเวลา ๔ ปกี ารศึกษา ( พ.ศ. 256๔ – 256๗ ) เพื่อใหบ้ คุ ลากรใน โรงเรียนใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาให้มีมาตรฐาน บรรลุเปา้ หมายของการจัด การศกึ ษาของโรงเรยี นอย่างมีประสทิ ธิภาพสูงสุด โดยใช้ กระบวนการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม ในการจดั ทาแผนพัฒนาโรงเรยี น เรม่ิ จากการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนา โรงเรยี น ศกึ ษา พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 แผนแมบ่ ท การจดั การศึกษาของมาตรฐานการศึกษาของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา (สมศ.) วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นดว้ ยวธิ ี SWOT Analysis จากนน้ั กาหนดวสิ ัยทศั น์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายในการพัฒนา จัดทางาน โครงการ และกิจกรรมรองรบั โรงเรียนบ้านเกษตรสมบูรณข์ อขอบคุณทกุ ทา่ นท่มี สี ว่ นร่วมในการจดั ทาแผนพัฒนาฉบับนี้ใหส้ าเร็จ ลลุ ว่ ง ตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปน็ เอกสารทม่ี ีคณุ คา่ ต่อการจดั การศึกษาของโรงเรียน หวังเปน็ อย่างย่ิงวา่ บคุ ลากรในโรงเรียนจะ นาแผนพัฒนาฉบับน้ีไปใช้ในการพฒั นาโรงเรียนสืบต่อไป คณะผู้จัดทา

ค 0 สารบัญ หนา้ ก พันธสัญญา ข ค คานา ๑- ๗ สารบญั ๘- ๒๗ ส่วนท่ี 1 บทนา ๒๘-๕๓ - ความเป็นมา - วัตถปุ ระสงค์ ๕๔-๖๖ สว่ นที่ 2 ข้อมลู ทัว่ ไปและสถานภาพของโรงเรียน ๖๗-๖๙ ประวัติโรงเรียน - ขอ้ มูลอาคารสถานที่ - เปา้ หมายของโรงเรียน - โครงสร้างการบริหารจดั การศึกษาโรงเรยี นบ้านเกษตรสมบูรณ์ ส่วนท่ี 3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) สถานภาพของโรงเรยี นบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ ทศิ ทางของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ วิสัยทัศน์ และ พนั ธกจิ เปา้ ประสงคข์ องโรงเรียน กลยุทธก์ ารพัฒนาโรงเรียนบา้ นเกษตรสมบรู ณป์ ีการศึกษา256๔ – 256๗ - ตวั ชวี้ ัดและเปา้ หมายตามมาตรฐานของสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านเกษตรสมบรู ณ์ ปกี ารศึกษา 256๔ – 256๗ ระดับปฐมวยั แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน) - ตัวชีว้ ัดและเปา้ หมายตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ ปีการศึกษา 256๔ – 256๗ ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน โครงการ / กิจกรรมตามกลยทุ ธก์ ารศกึ ษา ปีการศึกษา 256๔ – 256๗ - ส่วนที่ 4 งบพฒั นาคุณภาพตามกลยุทธ์ - กลยุทธ์ สงู่ าน / โครงการ / กจิ กรรมระดบั ปฐมวยั ปกี ารศึกษา 256๔ – 256๗ กลยทุ ธ์ ส่งู าน / โครงการ / กจิ กรรมระดบั ระดบั ประถมศึกษาปีการศึกษา 256๔ – 256๗ - โครงการ / กจิ กรรมตามกลยุทธ์ ระดบั ปฐมวัย ปกี ารศึกษา 256๔ – 256๗ - โครงการ / กิจกรรมตามกลยุทธ์ ระดบั ประถมศึกษา ปีการศกึ ษา 256๔ – 256๗ ส่วนท่ี ๕ การนาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ การนาแผนไปสู่การปฏิบตั ิ ภาคผนวก คาสั่ง เรื่องการแตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

1 สว่ นที่ ๑ บทนา ความเปน็ มา โรงเรียนบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ ดาเนนิ การจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 256๔ – 256๗ โดยอาศัยอานาจตามพระราชบญั ญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542 ท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ.2545 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี 4 ) พ.ศ.2562 หมวด 6 วา่ ดว้ ยมาตรฐานและ การประกันคุณภาพไดบ้ ัญญตั เิ กีย่ วกบั ระบบประกนั คุณภาพของสถานศึกษาไวใ้ น มาตรา 43 ระบุใหม้ ี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษาของ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ประกอบด้วย ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน และระบบการ ประกนั คุณภาพภายนอก อีกทัง้ ไดบ้ ญั ญตั ิ มาตรา 48 ให้หน่วยงานตน้ สังกดั และ สถานศึกษาจดั ให้มีระบบประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษาและถอื วา่ การประกนั คุณภาพภายในเปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาทีต่ อ้ ง ดาเนินการอย่างต่อเน่อื ง โดยมกี ารจดั ทารายงาน ประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกดั หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง และ เปดิ เผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพฒั นา คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่อื รองรับการประกันคุณภาพภายนอก การดาเนินการเกี่ยวกับระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดอ้ อกกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เกย่ี วกบั การจดั ทาแผนพฒั นาการ จัด การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนนิ การตามแผนที่ กาหนดไว้ อีกท้ังจัดให้มี การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาจดั ทารายงาน ผลต่อหน่วยงานต้นสงั กัดหรือหนว่ ยงานที่ กากบั ดูแลสถานศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกาหนดทศิ ทางการพัฒนาการบริหารจดั การศกึ ษาของโรงเรียนบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ 2. เพ่ือกาหนดแนวทางการขับเคล่อื นการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนบ้านเกษตรสมบรู ณ์ ไปสู่การ ปฏบิ ัติ 3. เพ่ือบรู ณาการดาเนินงานตามหน้าทตี่ ่างๆภายในองคก์ ร มุ่งสคู่ วามสาเรจ็ ตามมาตรฐาน การศึกษา ภายใต้กระบวนการมีส่วนรว่ ม กรอบแนวคดิ การจดั ทาแผนพฒั นาโรงเรยี น การจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านเกษตรสมบูรณ์ ปกี ารศึกษา 256๔-256๗ ได้ นาบรบิ ททีเ่ กย่ี วข้องกบั ภารกิจการจัดการศึกษาและกฎหมาย นโยบายทเี่ กีย่ วข้องมากาหนด แนวทางการพฒั นาการศกึ ษาอนั นาไปสู่การกาหนดเปน็ วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และเปา้ หมาย ให้ครอบคลุม การ พฒั นาองคก์ รทุกดา้ น ดังน้ี

2 1. กฎหมาย ระเบยี บ แนวปฏิบตั แิ ละนโยบายทเ่ี กยี่ วข้องกบั ภารกิจการจัดการศึกษา 1.1 รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 มบี ทบัญญัตทิ เ่ี กี่ยวข้องกบั การจดั การศกึ ษา ได้แก่ มาตรา 54 ที่บัญญัติให้รัฐต้องดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนไดร้ ับการศึกษาเปน็ เวลา สบิ สองปี ตั้งแตก่ ่อนวยั เรียนจนจบ การศกึ ษาภาคบังคบั อยา่ งมีคุณภาพโดยไม่เกบ็ ค่าใชจ้ ่าย รัฐตอ้ ง ดาเนินการให้ เดก็ เล็กได้รบั การดแู ลและพัฒนากอ่ นเข้า รับการศึกษาตามวรรคหน่งึ เพอื่ พฒั นารา่ งกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญาให้สมกบั วยั โดยสง่ เสรมิ และ สนบั สนนุ ให้องคก์ รปกครอง สว่ นท้องถนิ่ และภาคเอกชนเข้ามสี ่วนร่วมในการดาเนินการด้วย รัฐตอ้ งดาเนินการใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศกึ ษา ตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้ง สง่ เสริม ใหม้ ีการ เรียนรตู้ ลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือกันระหวา่ งรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน และภาคเอกชน ในการจดั การศกึ ษา ทุกระดับ โดยรฐั มีหน้าที่ดาเนินการ กากับ สง่ เสรมิ และสนับสนุน ให้การจัดการศึกษา ดงั กลา่ วมคี ณุ ภาพและได้ มาตรฐานสากล ทัง้ นี้ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษา แหง่ ชาตซิ ่ึงอยา่ งนอ้ ย ตอ้ งมีบทบัญญตั ิเก่ยี วกบั การจัดทาแผนการ ศึกษาแห่งชาติและการดาเนินการ และตรวจสอบการดาเนินการ ให้เปน็ ไปตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติดว้ ย และ การศกึ ษาทง้ั ปวงตอ้ งมงุ่ พัฒนาผูเ้ รยี นใหเ้ ป็นคนดี มีวินยั ภูมใิ จในชาติ สามารถเชยี่ วชาญได้ ตามความถนดั ของตนและ มคี วาม รับผิดชอบ ตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ 1.2 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ท่ใี ชเ้ ป็นกรอบแนวทางการพฒั นา ประเทศในระยะ 20 ปี โดยกาหนดวสิ ัยทศั น์ เปา้ หมายและยุทธศาสตร์ ดังนี้ วสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง ม่งั คั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการ พฒั นาตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจน์ประจาชาติวา่ “ม่นั คง ม่ังค่งั ยง่ั ยืน”ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ เกย่ี วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาของสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา บุรีรมั ย์ เขต ๒ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความม่ันคง ได้แก่ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1.3 การรักษาความมนั่ คง ภายใน และความสงบเรยี บรอ้ ยภายใน ตลอดจนการบ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี 2.5 การลงทุน พัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน ในด้านการขนสง่ ดา้ น พลังงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และการวิจัย และพฒั นา ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ได้แก่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3.1 การ พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ใหส้ นบั สนุนการ เจรญิ เติบโตของประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3.2 การ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรูใ้ ห้มีคุณภาพเท่า เทียม ทั่วถงึ และยุทธศาสตร์ท่ี 3.3 การ ปลูกฝังระเบียบวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมทพ่ี ึง ประสงค์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสบนความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มกันทางสงั คม ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4.1 การสรา้ งความม่นั คงและการลดความเหลอื่ มล้าทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5.1 การจัดระบบอนุรักษ์

3 ยุทธศาสตร์ที่ 6 ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 6.1 การปรบั ปรงุ โครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ภาครฐั ให้มี ขนาดท่เี หมาะสม และยุทธศาสตรท์ ่ี 6.4 การต่อต้านการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ 1.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตไิ ด้จดั ทาแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สาหรบั ใชเ้ ป็นแผนพัฒนาประเทศไทย ในระยะ 5 ปี มยี ุทธศาสตรก์ าร พฒั นาประเทศ ประกอบดว้ ย 10 ยทุ ธศาสตร์ เกีย่ วข้องโรงเรยี นบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ ๖ ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ โดยมีเป้าหมาย การพฒั นา ใหค้ นไทย สว่ นใหญ่มีทัศนคติและพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐานที่ดีของสงั คมเพมิ่ ขึน้ คนใน สงั คมไทยทุกชว่ งวัยมีทกั ษะ ความรู้ ความสามารถเพ่มิ ข้นึ และคนไทยไดร้ บั การศึกษาที่มีคุณภาพสูง ตามมาตรฐานสากล สามารถเรียนร้ดู ้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การสร้างความเปน็ ธรรมลดความเหล่อื มล้าในสงั คม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การเติบโตท่ีเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมเพือ่ การพฒั นาอย่างย่ังยืน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความมน่ั คงแห่งชาติเพอ่ื การพัฒนาประเทศสู่ความมง่ั ค่ังและยั่งยนื ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 การบรหิ ารจัดการในภาครฐั การปอ้ งกนั การทุจรติ ประพฤติมิชอบและธรรมาภบิ าล ในสงั คมไทย ยุทธศาสตรท์ ่ี 8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 1.4 นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี) นายกรฐั มนตรไี ด้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานติ ิบัญญัตแิ ห่งชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2562 มีนโยบายที่เกย่ี วข้อภารกิจของโรงเรียนบา้ นเกษตรสมบูรณ์ ประกอบดว้ ย ๑.๕. ว่าด้วยการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้และการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวยั ได้แก ๕.1.1 สง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวยั จดั ใหม้ รี ะบบพัฒนาเดก็ แรกเกดิ อย่างต่อเน่ืองจนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพฒั นาตาม ศักยภาพ เพอ่ื สร้างคนไทยท่ีมีพฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพผา่ นครอบครวั ท่ีอบอุน่ ในทกุ รูปแบบครอบครัว เพ่ือสง่ ตอ่ การพฒั นาเด็กไทยให้มีคุณภาพสกู่ ารพฒั นาในระยะถัดไปบนฐาน การให้ความชว่ ยเหลือที่คานึงถึงศักยภาพของ ครอบครวั และพื้นที่ เตรียมความพร้อมการเปน็ พ่อแม่ ความร้เู รอื่ งโภชนาการและสุขภาพการอบรมเล้ียงดู การสง่ เสริม พัฒนาการเด็กปฐมวยั ผ่าน การให้บรกิ ารสาธารณะทีเ่ ก่ยี วข้องโดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ทว่ั ประเทศ ให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษาและผ้ดู แู ลเด็กปฐมวัยใหส้ ามารถจดั การศึกษาได้อยา่ งมคี ุณภาพ ๕.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคานึงถงึ พหปุ ญั ญาท่ีหลากหลายของเด็ก แต่ละคน ให้ได้รบั การส่งเสริมและพฒั นาอย่างเต็มตามศกั ยภาพ ผ่านการออกแบบการจดั การเรียนรู้ ที่ เชื่อมโยงกบั ระบบ โรงเรียนปกตทิ ี่ ๑.๖ พัฒนาบณั ฑติ พนั ธุ์ใหม่ ๑.๖.1 ปรบั รปู แบบการเรียนรแู้ ละการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะและอาชีพของคนทุก ช่รหิ าร จัดการความม่นั คงชายแดนและชายฝงั่ ทะเล

4 โดยปรบั โครงสร้างหลกั สตู รการศกึ ษาใหท้ ันสมยั มีการน˚าเทคโนโลยแี ละ การเรียนรผู้ ่าน ประสบการณ์จริงเขา้ มามสี ่วนในการจัดการเรียนการสอน และปรบั ระบบดึงดดู การ คดั เลอื ก การผลติ และพฒั นาครู ทีน่ าไปสู่การมีครสู มรรถนะสูงเป็นครูยคุ ใหมท่ ่ีสามารถออกแบบและ จัดระบบการสรา้ งความรู้ สร้างวินัย กระตุน้ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจ เปดิ โลกทศั น์มุมมองของเด็กและ ครูด้วยการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นให้มากข้ึน ควบคกู่ ับหลักการทางวิชาการ ๑.๖.2 จดั การศึกษาเชิงบรู ณาการกับการท˚างานเพื่อพฒั นาสมรรถนะของผู้เรียน ท้ังในสว่ น ฐานความรแู้ ละระบบความคิดในลักษณะสหวทิ ยาการ และตรงกบั ความต้องการของประเทศ ในอนาคต และเป็น ผูเ้ รียนทส่ี ามารถปฏบิ ัติไดจ้ รงิ และสามารถกากบั การเรยี นรู้ของตนเองได้ รวมถงึ มี ทกั ษะดา้ นภาษาอังกฤษและภาษาท่ี สามทีส่ ามารถสื่อสารและแสวงหาความร้ไู ด้ มีความพรอ้ มทั้งทักษะความรู้ ทักษะอาชพี และทักษะชีวติ ก่อนเข้าสู่ ตลาดแรงงาน 2. นโยบายการศกึ ษาระดบั ชาติและระดับกระทรวงศกึ ษาธิการ 2.1 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาไดจ้ ดั ทาแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพ่อื ใช้เปน็ แผน ยทุ ธศาสตรร์ ะยะยาว สาหรบั หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องกับการศึกษาของประเทศ ไดน้ าไปใชเ้ ป็นกรอบและแนวทางการ พฒั นาการศกึ ษาและเรยี นรสู้ าหรับพลเมอื ง ทุกช่วงวยั ตั้งแต่ แรกเกดิ จนตลอดชีวิต โดยมสี าระสาคัญ ดงั นี้ วสิ ยั ทัศน์ : คนไทยทกุ คนได้รับการศกึ ษาและเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างมคี ุณภาพ ดารงชวี ิต อยา่ งเป็นสขุ สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปลีย่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ 2.เพ่ือพฒั นาคนไทยใหเ้ ป็นพลเมืองดี มคี ณุ ลักษณะ ทกั ษะและสมรรถนะท่สี อดคลอ้ ง กับบทบัญญัตขิ อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาตแิ ละ ยุทธศาสตรช์ าติ 3.เพ่ือพฒั นาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรยี นรู้ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม รูจ้ ักสามคั คี และรว่ มมือผนึก กาลังมงุ่ สกู่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดกั ประเทศที่มรี ายได้ปานกลาง และความเหลือ่ มลา้ ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ 1. การจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลติ และพัฒนากาลังคน การวิจยั และนวัตกรรม เพื่อสร้างขดี ความสามารถในการ แขง่ ขนั ของ ประเทศ 3. การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษา 5. การจดั การศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดอมล้อม 6. การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา

5 2.2 นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 หลักการ 1. ใหค้ วามสาคัญกับประเดน็ คุณภาพและประสิทธภิ าพในทกุ มติ ิ ทงั้ ผู้เรยี น ครูและ บุคลากรทางการศึกษา ขา้ ราชการพลเรือน และผบู้ ริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับ ทกุ ประเภทและเป็น การศกึ ษาตลอดชีวิตเป็นระบบและมีทิศทางทช่ี ัดเจน 2. บรู ณาการการท˚างานร่วมกันระหวา่ งสว่ นราชการหลกั องค์การมหาชนในกากบั ของ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการใหม้ ีความคล่องตัว รวมท้งั หน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใน พนื้ ที่ภูมภิ าคให้ สามารถปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั ได้ เพ่ือดาเนนิ การปฏริ ปู การศกึ ษาร่วมกบั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตาม นโยบายประชารัฐระดับก่อนอนบุ าลเน้นประสานงานกบั ส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรยี มความพร้อมผู้เรียบ ใน ด้าน สุขภาพและโภชนาการ และจัดประสบการณ์การเรยี นรูท้ เ่ี ชอ่ื มโยงกับระบบโรงเรียนปกติ ระดับอนบุ าล เนน้ สร้างความรว่ มมือกับพอ่ แม่ผู้ปกครอง และชมุ ชน เพอื่ ออกแบบกจิ กรรม การพฒั นา ทกั ษะทีส่ าคัญด้านต่างๆ เช่น ทักษะทางสมอง ทกั ษะความคดิ ความจา ทักษะการควบคุม อารมณ์ ระดับประถมศกึ ษา มุ่งคานงึ ถึงพหปุ ัญญาของผ้เู รียนรายบุคคลท่หี ลากหลายตามศักยภาพ ด้วยจุดเนน้ ดังน้ี 1. ปลูกฝงั ความมรี ะเบียบวนิ ัย ทศั นคตทิ ่ีถกู ต้อง โดยใช้ 2. เรียนภาษาไทย เน้นเพ่ือใช้เปน็ เครือ่ งมือในการเรยี นรู้วิชาอ่นื 3. เรยี นภาษาอังกฤษ ภาษาพ้ืนถ่นิ ภาษาแม่ เน้นเพือ่ การสอื่ สาร 4.เรียนร้ดู ว้ ยวธิ ีการ Active Learningเพื่อพัฒนากระบวนการคิดการเรยี นรู้จาก ประสบการณ์จริงหรอื จากสถานการณจ์ าลองผา่ นการลงมือปฏบิ ัติ และเป็น โลกทัศนม์ ุมมองรวมกนั ของผู้เรียนและ ครูด้วยการจัดการเรียนการสอนในเพง่ิ แสดงความคิดเห็นใหม้ ากขนึ้ 5.สร้างแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพื่อการเรียนรแู้ ละใช้ดจิ ทิ ัลเป็นเคร่ืองมือการเรยี นรู้ 6. จดั การเรียนการสอนเพอื่ ฝึกทกั ษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเป็นขน้ั ตอน (Coding) 7. พัฒนาครูใหม้ ีความชานาญในการสอนภาษาอังกฤษและภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding) 8. จดั ให้มโี ครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรบั สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและ ภายนอกบริเวณโรงเรียนให้เอ้ือตอ่ การสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมและจติ สาธารณะ ระดับมัธยมศึกษา มุง่ ต่อยอดระดับประถมศึกษา ด้วยจุดเนน้ ดังนี้ 1. จดั การเรียนรู้ด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม คณิตศาสตร์ (STEM)การ ต่างประเทศ (ภาษาท่ีสาม)กระบวนการลกู เสือ และ เนตรนารีทกั ษะการรู้จักและประเมินตนเอง 2. จดั การเรียนร้ทู ี่หลากหลาย เพอื่ สร้างทักษะพ้นื ฐานทเ่ี ชื่อมโยงส่กู ารสรา้ งอาชีพ และ การมีงานท˚า เชน่ ทกั ษะด้านกีฬาทีส่ ามารถพัฒนาไปสูน่ ักกีฬาอาชีพ ทกั ษะภาษาเพ่ือเปน็ มัคคเุ ทศก์

6 การขับเคลื่อนสู่การปฏบิ ัติ 1. ทกุ หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ต้องปรับปรุงแผนปฏิบัตริ าชการ ให้ สอดคล้องกับ นโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใชง้ บประมาณเป็นรายไตรมาส รวมทัง้ ใชจ้ า่ ย งบประมาณใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับทเ่ี ก่ยี วข้อง 2. จัดทาฐานข้อมลู (Data) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารให้ครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทันสมยั 3. ใชเ้ ทคโนยแี ละดจิ ิทลั ในเคร่อื งมือในการพัฒนางานทงั้ ระบบเนน้ การเรียนรูแ้ ละ การบริหารจัดการ 4. ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของกระทรวงศึกษาธกิ ารให้เกิดความคล่องตัว หากติดขดั ในเรอ่ื งข้อกฎหมาย ใหผ้ บู้ ริหารระดับสงู ร่วมหาแนวทางการแกไ้ ขร่วมกัน 5. ใหห้ น่วยงานระดับกรม กาหนดในงานสนับสนนุ ทรัพยากร งบประมาณ อัตรากาลัง ตามความ ต้องการจาเปน็ ใหห้ นว่ ยงานในพ้ืนท่ีภูมภิ าค 6. ใชก้ ลไกกองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศึกษามาบรู ณาการการดาเนนิ งานรว่ มกับ หน่วยจัด การศกึ ษา 7. เร่งทบทวน (รา่ ง) พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. โดยปรบั ปรงุ สาระสาคัญ ใหเ้ อ้ือต่อการ ขับเคลอ่ื นนโยบายของรัฐบาล 8. ในระดับพืน้ ทีห่ ากเกิดปญั หาข้อตดิ ขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษา ตรวจสอบขอ้ มลู ขอ้ เท็จจรงิ ท่ี เกิดขึน้ เชน่ จานวนเด็กในพื้นทีน่ ้อยลง ซ่งึ จาเปน็ ตอ้ งมีการควบรวมโรงเรยี น ใหพ้ ิจารณา ส่อื สาร อธิบายทาความเข้าใจ ทช่ี ัดเจนกบั ชมุ ชน 9. วางแผนการใชอ้ ัตรากาลังครู โดยเฉพาะครรู ะดบั อนบุ าล และครรู ะดับอาชวี ศึกษา ให้ มี ประสทิ ธภิ าพ และจดั ทาการประเมนิ ครูอย่างเป็นระบบ รวมท้ังจดั ทาหลักสตู รการพัฒนาครู ให้มอี งค์ ความรู้และทักษะ ในด้านพหุปญั ญาของผู้เรียน 10. ให้ศึกษาธกิ ารจงั หวดั จัดทาแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจงั หวดั นาเสนอต่อ คณะกรรมการ ศกึ ษาธิการจังหวัด และขบั เคลื่อนส่กู ารปฏิบัติอย่างเปน็ รูปธรรม 11. ใหผ้ ูต้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มบี ทบาทหน้าที่ ตรวจ ราชการ ตดิ ตาม ประเมินผลในระดบั นโยบาย และจัดทารายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2.๓ นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ได้กาหนดนโยบาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ดงั น้ี วิสยั ทศั น์ สรา้ งคุณภาพทนุ มนุษย์ พันธกจิ 1. จดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมนั่ คงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองใน ระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ 2. พฒั นาผูเ้ รียนให้มีความสามารถความเปน็ เลิศทางวชิ าการเพ่อื สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ศตวรรษที่ 2 3. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพผเู้ รียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลกั ษณะใน 4. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนได้รับบรกิ ารทางส่สู งั คมอนาคตที่ ยั่งยืนการศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ และเทา่ เทยี ม 5. พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มอื อาชีพ 6. จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม ยดึ หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)

7 7. ปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทกุ ระดบั และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ลั (DigitalTechnolเพ่อื พฒั นามุ่งสู่ Thailand 4.๑ เป้าประสงค์ 1. ผเู้ รยี นมคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีทศั นคตทิ ี่ถูกตอ้ งต่อบ้านเมอื ง มหี ลักคิดท่ีถกู ต้อง และเปน็ พลเมืองดขี องชาติ มี คุณธรรม จริยธรรม มคี ่านิยมท่ีพึงประสงค์ มจี ติ สาธารณะ รบั ผิดชอบต่อสงั คม และผู้อน่ื ซือ่ สตั ย์ สจุ ริต มัธยัสถ์ อด ออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รักษาศีลธรรม 2. ผเู้ รยี นท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และอื่น ๆ ได้รบั การพัฒนาอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ 3. ผ้เู รียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คดิ รเิ รม่ิ และสร้างสรรคน์ วัตกรรม มีความรู้ มที กั ษะ มสี มรรถนะ ตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี ๒๑ มสี ขุ ภาวะท่ีเหมาะสมตามวยั มี ความสามารถในการพง่ึ พา ตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเป็นพลเมอื ง พลโลก ท่ีดี (Global Citizen) พร้อมกา้ วสู่สากล น˚าไปสกู่ ารสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 4. ผ้เู รยี นที่มีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ (ผ้พู กิ าร) กลมุ่ ชาติพันธุ์ กลมุ่ ผ้ดู อ้ ยโอกาส และ กลุ่มท่ีอยู่ใน พ้ืนท่หี า่ งไกลทรุ กนั ดาร ไดร้ บั การศกึ ษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ 5. ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ มคี วามรู้และ จรรยาบรรณ ตาม มาตรฐานวิชาชพี 6. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)และสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ส˚านกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา สถานศกึ ษา มี สมดลุ ในการบริหารจดั การเชงิ บูรณาการ มกี ารกากบั ตดิ ตาม ประเมินผล มรี ะบบขอ้ มูล สารสนเทศทม่ี ีประสิทธภิ าพ และ การรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้งานวจิ ัย เทคโนโลยีและนวตั กรรม ในการขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษา นโยบาย นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ นโยบายท่ี 2 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นโยบายที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ นโยบายท่ี 4 ด้านการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลื่อมลา้ ทางการศึกษา นโยบายที่ 5 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม นโยบายท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ

8

8 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ท่ัวไปและสถานภาพของโรงเรยี น 1. ประวตั โิ รงเรียน โรงเรียนบา้ นเกษตรสมบูรณ์ ตงั้ อยูห่ มู่ท่ี 7 ตาบลตะโกตาพิ อาเภอประโคนชยั จังหวดั บุรีรัมย์ รหสั ไปรษณีย์ 31140 โทรศัพท์ 089-8657610 โทรสาร – อีเมล์ [email protected] กลุ่มเครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษา ประโคนชัย 6 สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานกระทรวงศึกษาธกิ าร เปิดสอนระดับชน้ั อนุบาล ถึง ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น เขตพนื้ ทีบ่ ริการ 2 หม่บู ้านไดแ้ กห่ ม่ทู ี่ 7 บ้านโคกกระชายและหมทู่ ่ี 8 บ้านเกษตรสมบูรณ์ วนั เดอื นปที ีก่ ่อตง้ั ๒๔๘๖ ทหี่ มูบ่ า้ นดอนหนองแหน )เกษตรสมบูรณ์( ผู้บริหารคนปจั จุบนั ชอ่ื นายสมาน วงศแ์ ต้ วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ปบณั ฑติ . สาขาการบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งทโี่ รงเรยี นน้ีตง้ั แต่ 4 มกราคม 2562 จนถึงปัจจุบนั เป็นเวลา 3 ปี 1 เดอื น ในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเกษตรสมบูรณ์ ๒. ขอ้ มูลอาคารสถานที่ ๒.๑ วสั ดุอปุ กรณ์ ๒.๑.๑ อาคารเรยี นอาคารประกอบ ที่ แบบอาคาร ปีท่สี ร้าง หลัง ห้อง หมายเหตุ อาคารถาวร 1 6 หลงั คาชารดุ 1 3 หลังคาชารุด 1 สปช. 105/29 2531 1 8 หลงั คาชารดุ 2 สปช. 102/26 2544 2 1 จัดเปน็ หอ้ งสมุด 3 สปช. 105/29 2542 1 4 ชารุด 1 1 4 ชารดุ 2 อาคารอเนกประสงค์ 1 4 หลงั คาชารุด 1 สปช. 202/26 - 1 ชารดุ ใช้การไม่ได้ ส้วม 1 1 สปช. 601/26 2531 2 สปช. 601/26 2537 3 สปช. 602/26 2542 สนามบาสเก็ตบอล 1 กรมพลศกึ ษา 2537 ลานกีฬาอเนกประสงค์ 1 กรมพลศึกษา 2560

9 ๒.๑.๒ ห้องปฏบิ ตั กิ าร จานวนห้อง ใช้การได้ ชารดุ การใชป้ ระโยชน์ ที่ ช่อื ห้องปฏบิ ัติการ 1 - 1 สอนวิทยาศาสตร์ 1 ห้องวทิ ยาศาสตร์ 1 - 1 สอนภาษาอังกฤษ,อาเซยี น 2 ห้องอาเซยี น 1 - 1 สอนคอมพิวเตอร์ 3 หอ้ งคอมพิวเตอร์ ๒.๑.๓ รายการครุภณั ฑ์ จานวนทมี่ ี ท่ี รายการครุภณั ฑ์ 160 1 โตะ๊ นักเรียนเดี่ยวไม้ 12 2 โต๊ะนกั เรียนเด่ยี วพลาสติก 160 3 เกา้ อ้ีไม้ 20 4 เกา้ อี้พลาสตกิ 20 5 โตะ๊ ครู 20 6 เก้าอี้ครู 12 7 ตู้เกบ็ เอกสารเหลก็ 2 บาน 3 8 ตู้เก็บเอกสาร 15 ล้นิ ชกั /3 ลนิ้ ชกั 7 9 ตู้โชวเ์ กบ็ เอกสาร 4 ช้ัน 4 10 ตูโ้ ชวผ์ ลงานนักเรยี น 2 ชั้น 3 ประตู 7 11 โทรทัศน์ )DLIT( /คอมพวิ เตอร์ )ชดุ ( 1 12 เคร่อื งเลน่ แผ่นซีดี/ วซี ีดี 3 13 เครอ่ื งขยายเสยี ง 20 14 เครื่องคอมพวิ เตอร์ 5 15 เครือ่ งปร้นิ เตอร์ -๐ 16 หอ้ งปฏิบัติการภาษา 1 17 หอ้ งคอมพิวเตอร์ )6 เครอ่ื ง( 1 18 ห้องวทิ ยาศาสตร์ 4 19 ถงั นา้ ด่มื 1 20 ตู้เย็น 2 21 กระติกน้ารอ้ น 1 22 พัดลมตง้ั โต๊ะ )พัดลมโรงงาน( 2 23 โต๊ะหมู่บชู า 6 24 โตะ๊ เหลก็ ขาพบั พนื้ หนา้ ขาว 5 25 โตะ๊ ขาเหล็ก พื้นหน้าขาว สาหรับใช้ประชุม 2 26 รถตัดหญ้าแบบไส / สะพาย

10 ๓. ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากร ปีการศึกษา 652๔ จานวนขา้ ราชการครูและบุคลากร ตาแหน่งผ้อู านวยการ 1 คน รองผู้อานวยการ 0 คน ครผู สู้ อน 15 คน พนักงานราชการ 1 คน ครูอตั ราจา้ ง 0 คน เจา้ หน้าธุรการ 1 คน นกั การภารโรง 1 คน ๓.๑ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ครูและพนกั งานราชการจาแนกตามวิชาเอก ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ที่ ชือ่ สกลุ - ตาแหนง่ วทิ ยฐานะ อายุ วฒุ ิ วิชาเอก ชานาญการพเิ ศษ 58 ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา 1 นายสมาน วงศแ์ ต้ ผอ.รร. ชานาญการพิเศษ 60 ศษ.บ. สงั คมศึกษา ชานาญการพเิ ศษ 57 ค.บ. ภูมิศาสตร์ 2 นางสมจติ คะเชนชาติ ครู ชานาญการพเิ ศษ 59 ค.ม. หลักสตู รและการสอน )คหกรรม( ชานาญการพิเศษ 48 ค.บ. ปฐมวัย 3 นายชาลี อ่อนนา้ คา ครู ชานาญการพเิ ศษ 54 ค.บ. วิทยาศาสตร์ท่ัวไป ชานาญการพิเศษ 52 กศ.บ. ภาษาไทย 4 นางดุสติ เรืองศิลป์ ครู ชานาญการพเิ ศษ 54 ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป ชานาญการพเิ ศษ 50 ค.บ. ปฐมวยั 5 นางวนิดา ชมุ นมุ ดวง ครู ชานาญการพเิ ศษ 49 ค.บ. คณิตศาสตร์ ชานาญการพเิ ศษ 60 ค.บ. พลศึกษา 6 นางไฉน อ่อนน้าคา ครู ชานาญการพิเศษ 49 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ชานาญการพิเศษ 42 ศษ.ม. บริหารการศึกษา )คอมพิวเตอร์( 7 นายสงิ หท์ อง เสรมิ สขุ ครู ครูชานาญการ- 29 ศษ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา )ภาษาอังกฤษ( 26 ค.บ. ประถมศึกษา 8 นายสาเร็จ สวุ รรณหงษ์ ครู -ครู 33 ค.บ. ดนตรศี ึกษา 9 นางสนุ ีย์ สุวรรณหงษ์ ครู -- 10 นางสาวสายใจ เทยี มศกั ด์ิ ครู 11 นางสดุ าพร สภุ าภา ครู 12 นางจารวุ รรณ แดงชาติ ครู 13 นางสาวกญั ญาณัฐ บงั อร ครู 14 นางสาวพิมวิพา ทายประโคน ครู 15 นางสาวพทุ ธดิ า สมทอง ครู 16 นายพลากร ปาประโคน พนกั งาน ราชการ

11 ๓.๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา 6524 ท่ี ช่อื สกลุ - ประเภทตัวแทน ตาแหนง่ ปกติ 1 นายสุรนิ ทร์ แก้วประโคน ประธานกรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 2 นายกวน ชะมาประโคน รองประธานกรรมการ ผ้แู ทนผู้ปกครอง 3 นางจารุวรรณ แดงชาติ กรรมการ ผแู้ ทนครู 4 นายธนากร เทยี มทอง กรรมการ ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน 5 นายเทพวรรณ เลิศสกลุ กรรมการ ผแู้ ทนองคก์ รปกครองท้องถิ่น 6 นายจนิ ต์ เลศิ สกลุ กรรมการ ผู้แทนศิษย์เก่า 7 นายประมวล มพี วงผล กรรมการ ผ้แู ทนพระภกิ ษสุ งฆห์ รอื ผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นท่ี 8 นายนติ ิชยั ป่มุ ประโคน กรรมการ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ 9 นายสมาน วงศ์แต้ กรรมการและเลขานุการ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ๓.๓ เจ้าหนา้ ที่ และพนักงานจ้าง ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ที่ ช่อื สกลุ - อายุ วฒุ ิ ตาแหน่งงาน 1 นายนนทนนั ท์ แสนสุข 53 ป.6 นกั การภารโรง ๓.๔ ข้อมูลนักเรยี นนักเรยี นจาแนกรายชน้ั จานวนนักเรยี นปกี ารศึกษา 2564 รวมทง้ั สิ้น...168...... คน ดงั นี้ ระดบั ชั้น ชาย หญิง รวม ครูประจาช้นั อนบุ าล 3 ขวบ 00 0 - อนบุ าล 1 6 6 12 นางสุนยี ์ สุวรรณหงษ์ อนบุ าล 2 4 9 13 นางวนิดา ชุมนมุ ดวง รวมอนุบาล 10 15 25 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 15 6 21 นายชาลี อ่อนา้ คา ประถมศึกษาปีที่ 2 10 2 12 นางสาวพทุ ธิดา สมทอง ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 8 7 15 นางดุสิต เรอื งศลิ ป์ ประถมศึกษาปีท่ี 4 5 11 16 นางสาวพมิ วพิ า ทายประโคน ประถมศกึ ษาปีที่ 5 8 10 18 นายสาเร็จ สุวรรณหงษ์ ประถมศึกษาปที ี่ 6 14 5 19 นางสาวกญั ญาณฐั บังอร รวมประถม 60 41 101 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 8 8 16 นางจารุวรรณ แดงชาติอ่อนน้าคา นางไฉน/ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 9 4 13 นางสาวสายใจ เทยี มศักดิ์ นางสมจิต/คะเชนชาติ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 4 9 13 นายสิงห์ทอง เสริมสขุ นายพลากร ปาประโคน/ รวมมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 21 21 42 รวมท้ังหมด 91 77 168

12 ๓.๕ นักเรยี นทม่ี ีลกั ษณพ์ ิเศษ ขอ้ มลู ฐาน ปกี ารศกึ ษา 6524 ท่ี ชั้น ประเภทของคนพกิ าร หมายเหตุ 1 2 3 4 56 7 8 9 1 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 2 ประถมศึกษาปีท่ี 3 2 ขอ้ มูลจาก 3 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 4 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 5 การคดั กรอง 5 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 5 ตน้ ปกี ารศึกษา 6 มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 1 5 คือ บุคคลที่มคี วามบกพร่อง 7 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 6 ทางการเรียนรู้ 8 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 1 รวม 3 1 24 4. ตราโรงเรียนบ้านเกษตรสมบรู ณ์ คาขวัญประจาโรงเรยี น “สามคั คี มีวินัย ใฝศ่ ึกษา กฬี าเด่น” ปรชั ญาของโรงเรียน “กยิรา เจ กยาเถน” ความหมาย ถ้าจะทาก็พึงกระทาการน้ันจริง อักษรย่อของโรงเรยี น ชกษ. สปี ระจาโรงเรียน สีฟ้า ขาว

13 ๕ เปา้ หมายของโรงเรยี น 1.สถานศึกษามีหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐานการจัดการศึกษา และ มาตรฐานสากล มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรยี นอย่างรอบดา้ น ครอบคลุมทกุ กล่มุ เป้าหมาย 2. สถานศึกษานาหลกั สตู รไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน มีการประเมนิ ทบทวน ตรวจสอบ ปรบั ปรุง และรายงานผลการใช้หลกั สูตรสถานศึกษา 3. สถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจัดการคุณภาพตามรูปแบบการบรหิ าร KASET Model มงุ่ เน้นการ มีสว่ นร่วมของผู้เกีย่ วข้องทกุ ภาคส่วน 4. ครจู ดั กระบวนการเรียนรูต้ ามบันได 5 ขนั้ ของการพัฒนาผู้เรยี นสูม่ าตรฐานสากล (Five Step for student Development) และเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั โดยการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active learning) 5. ครมู กี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้เพ่ือยกระดบั คุณภาพการจดั การเรียนการสอน และบรหิ าร จดั การชั้น เรยี นเชงิ บวก 6. ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา มีคุณลักษณะของผเู้ รียนตาม มาตรฐานสากล มีทักษะความรู้ ความสามารถขนั้ สูงมากกว่าระดับปรกติ 7. ผู้เรียนมีความรทู้ ักษะพน้ื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชพี ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 8. ผู้เรยี นมีคุณธรรมจริยธรรม ภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย ยอมรับการอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย 9. ผเู้ รียนมคี วามรู้พืน้ ฐานในยุคดจิ ิทลั คิดประดิษฐอ์ ย่างมีความสามารถในการปรับตวั มที กั ษะ การ สื่อสารอยา่ งมปี ระสิทธิผล มีความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี 10. ครูมคี วามสามารถในการศกึ ษาคน้ ควา้ พฒั นางาน พัฒนาตนเองจากแหล่งวิชาการต่าง ๆ ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้และพฒั นาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการจดั การเรียนการสอน ใชก้ ารวจิ ัย สอ่ื นวัตกรรม มีการตรวจสอบ ประเมินผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียนอยา่ งต่อเนื่อง 11. สถานศึกษาพฒั นาครูใหเ้ ป็นผนู้ าและมีความเช่ียวชาญในการจดั การเรียนร้เู ฉพาะด้านสามารถใช้ ภาษาต่างประเทศ และใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ 12. สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสังคมทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ การใช้บริการ อยา่ งมี คณุ ภาพจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรูม้ ี สอ่ื การเรียนรู้ที่มี คุณภาพระดับมาตรฐานสากลเพยี งพอต่อนักเรยี น มเี ครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตแบบ ความเรว็ สงู เชือ่ มโยงครอบคลุมพน้ื ท่ี ของโรงเรียน

14

28 สว่ นท่ี 3 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมโรงเรยี น จากการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมของโรงเรียนบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ (SWOT Analysis) มีผลการ วิเคราะห์ ดงั นี้ 1.๑ ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม 1. สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียนมลี ักษณะสร้างบา้ นเรอื นตามแนวถนนลาดยางสองฝาก บา้ นเรอื นมสี ภาพเป็นบา้ นชั้นเดียวและสองชั้น เปน็ บา้ นปูนมีสภาพที่ม่ันคงและแขง็ แรง ประกอบดว้ ยสองหมู่บ้านบา้ น โคกกระชาย และบา้ นเกษตรสมบรู ณ์ มปี ระชากรประมาณ 1,550 คน บริเวณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ดา้ น ทิศเหนือเป็นแปลงนาท้ังหมด ด้านทิศตะวนั ออกติดถนนลาดยางใหญแ่ ละเป็นแปลงนา สลับกับบา้ นผู้ปกครอง ด้าน ทศิ ตะวนั ตก ติดแปลงนาและบา้ น ดา้ นทศิ ใต้ติดถนนลาดยางใหญ่ และมบี ้านผู้ปกครองอยู่คนละฝากถนน 2. ผูป้ กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษาปีท่ี 6 อาชีพหลกั คือ เกษตรกรรม และ คา้ ขายสว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 30,000 บาท จานวน คนเฉล่ยี ตอ่ ครอบครัว 4 คน 3. โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน มีจดุ เดน่ อยู่ท่บี คุ ลากรและผลผลิต กลา่ วคือ สถานศกึ ษามที ีมงาน / คณะครูทีม่ ศี ักยภาพสูง ครู ทกุ ทา่ นได้รับการยกย่องเปน็ ครดู เี ดน่ ครูแกนนาการปฏิรปู การเรยี นรู้ ครูต้นแบบฯ ครเู กียรตยิ ศ มีคณุ วุฒิปรญิ ญาตรี ขึ้นไปทุกคน และยงั มีความรู้ ความสามารถพิเศษ เช่น ดนตรพี นื้ เมือง นาฏศลิ ป์ฟ้อนรา ดา้ นกีฬา ตลอดจนถงึ ความมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์อธั ยาศัยทด่ี ี ภายใต้การนาของผูบ้ รหิ ารท่ีมีภาวะผนู้ า มีความสามารถในการบรหิ ารจดั การ ส่งผลใหม้ จี ดุ เด่นที่สอง คือ นักเรียนมคี วามสามารถด้านดนตรีไทย ดนตรีพ้ืนเมอื ง ฟ้อน สามารถนาดนตรนี าฏศิลป์ ดงั กลา่ ว ไปร่วมกจิ กรรมตา่ งๆ ในชมุ ชนได้อย่างดี นักเรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มารยาททด่ี ีงามเปน็ ท่ชี นื่ ชมของ บคุ คลทวั่ ไป นกั เรียนมสี ุขภาพ สุขนสิ ัยท่ดี ี มกี ารออกกาลังกายทุกวันอยา่ งสมา่ เสมอ ส่งผลใหบ้ รรลุเปา้ หมายทาง การศึกษา ทีต่ ้องการใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรูค้ ู่คณุ ธรรม มีสขุ ภาพท่ีสมบรู ณ์มคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ และอยู่ในสงั คมได้ อย่างมีความสขุ สถานศกึ ษามีวธิ กี ารดแู ลและการเตรียมความพร้อมเด็กในระดับปฐมวยั ได้ดรี วมถงึ มีความสามารถใน การจัดกิจกรรม เพ่ือเตรยี มความพร้อมใหผ้ ูเ้ รียนมสี ุขภาพสุขนิสยั ทีด่ ีฝกึ คิดวเิ คราะห์เบื้องตน้ เสรมิ พืน้ ฐานความรู้ ความสามารถได้อย่างเหมาะสม ผูเ้ รียนมีสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มีความพงึ พอใจที่ไดร้ ับดแู ลเตรียมความพร้อมอย่างถว้ นหนา้ ข้อจากดั ชุมชนชนบทที่มีประชากรประกอบอาชีพรับจ้างหรือการเกษตร ย่อมเปน็ ปจั จัยส่งเสรมิ ให้คนใน ชนบทหรือชานเมือง เขา้ ไปในเมืองมากขึ้น แต่ในชมุ ชนที่เป็นทต่ี ัง้ ของสถานศกึ ษาและเขตบริการท่ีกวา้ งขวาง ย่อม เปน็ โอกาสที่จะนาเสนอผลงานของนักเรยี น / ครูที่โดดเด่น และเป็นท่ียอมรับของสังคม ใหผ้ ู้ปกครองและชมุ ชนภมู ใิ จ และร่วมกันอนรุ ักษ์ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นดา้ นศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ ซง่ึ นบั วนั จะสูญหายไป การจัดทาหลักสูตรท้องถ่ิน และการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ควรให้มกี าร บูรณาการอย่างครบวงจรและตอ่ เนือ่ ง โดยให้ชมุ ชน เข้ามามีส่วน ร่วม สรา้ งค่านิยมในการรักถ่ินเกดิ มเี จตคติทด่ี ีต่อชมุ ชน

29 ๒. ทศิ ทางของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบา้ นเกษตรสมบูรณ์ ประจาปกี ารศึกษา 256๔-256๗ วสิ ัยทัศน์ โรงเรยี นบ้านเกษตรสมบูรณเ์ ป็นโรงเรยี นต้นแบบการจดั การศึกษาจัดการเรียนการสอนมี คณุ ภาพตาม มาตรฐานสากล (World Class Standard) มงุ่ สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการบนพ้นื ฐาน ความเป็นไทย พนั ธกจิ 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการจดั การศึกษา 2. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 3. ยกระดบั การจดั การเรยี นการสอนเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล (World Class Standard) และ ส่งเสริมการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก(Active learning) 4. พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามหลกั สูตรสถานศึกษา มีศักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) และ มอี จั ฉริยภาพม่งุ สูเ่ วทีการแข่งขันทางวิชาการทุกระดบั 5. พฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา และในระดับ เดยี วกับ มาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็น 6. สง่ เสริมและพฒั นาบคุ ลากรในการนานวตั กรรม/ผลวจิ ัยไปใช้ เพ่ือความเชย่ี วชาญทางวิชา 7. พฒั นาศนู ย์การเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้ เพื่อสนบั สนุนการพัฒนาให้ผู้เรียนมีอจั ฉริยภาพ เป้าประสงค์ของโรงเรียน 1.สถานศึกษามีหลักสตู รสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานการจดั การศึกษาและมาตรฐานสากล มุ่งเนน้ พัฒนาผู้เรยี นอยา่ งรอบด้าน ครอบคลุมทกุ กลมุ่ เปา้ หมายอาชีพ 2.สถานศึกษานาหลักสตู รไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน มีการประเมนิ ทบทวน ตรวจสอบ ปรับปรุง และรายงานผลการใชห้ ลักสตู รสถานศึกษา 3. สถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพตามรูปแบบการบริหาร ANBCR Model มุ่งเน้น การมสี ่วนร่วมของผเู้ กยี่ วข้องทุกภาคสว่ น 4. ครจู ัดกระบวนการเรียนรูต้ ามบนั ได 5 ขัน้ ของการพฒั นาผ้เู รยี นสู่มาตรฐานสากล (Five Step for student Development) และเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญโดยการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก(Active learning) 5. ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเ้ พอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการจดั การเรียนการสอน และบริหาร จดั การช้นั เรียนเชงิ บวก 6. ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา มคี ุณลักษณะของผเู้ รยี นตาม มาตรฐานสากล มที ักษะความรู้ ความสามารถข้ันสงู มากกว่าระดับปกติ 7.ผูเ้ รียนมีความรู้ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชพี ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 8. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมจริยธรรม ภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย ยอมรับการอยู่ร่วมกนั บน ความแตกตา่ งและหลากหลาย 9. ผเู้ รยี นมคี วามรู้พื้นฐานในยุคดิจิทลั คิดประดิษฐอ์ ย่างมคี วามสามารถในการปรับตัว มี ทักษะการ สอ่ื สารอยา่ งมปี ระสทิ ธิผล มคี วามสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ และการใชเ้ ทคโนโลยี

30 10. ครูมคี วามสามารถในการศกึ ษาคน้ ควา้ พัฒนางาน พฒั นาตนเองจากแหล่งวิชาการตา่ ง ๆ ใช้ แหล่งเรียนรแู้ ละพัฒนาส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน ใชก้ ารวิจัย ส่อื นวตั กรรม มีการตรวจสอบ ประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี นอยา่ งต่อเนอ่ื ง 11. สถานศึกษาพัฒนาครูให้เปน็ ผนู้ าและมีความเชยี่ วชาญในการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะด้าน สามารถ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ และใช้เทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู้ 12. สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ การใชบ้ ริการ อย่างมี คณุ ภาพจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้มี สือ่ การเรียนรทู้ ่ีมี คุณภาพระดับมาตรฐานสากลเพียงพอต่อนกั เรียน มเี ครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ แบบ ความเร็วสูงเช่ือมโยงครอบคลุมพนื้ ที่ ของโรงเรยี น กลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนบา้ นเกษตรสมบรู ณป์ ีการศึกษา 2563-2565 ประกอบดว้ ย กลยุทธ์ท่ี 1 พฒั นาผเู้ รยี นสคู่ วามเป็นเลิศ กลยุทธท์ ่ี 2 ยกระดบั คุณภาพการศึกษา กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสคู่ วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี กลยทุ ธ์ท่ี 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ กลยุทธ์ท่ี 5 พฒั นาการบรหิ ารจดั การและสร้างเครือข่าย

ตัวชว้ี ดั และเปา้ หมายตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นเกษตรสมบูรณ์ ปกี มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกายแขง็ แรงมีสขุ นสิ ยั ท่ีดแี ละดูแลความปลอดภัย มาตรฐาน/ประเด็น ค่าเป้าหมาย 1. เดก็ มีนา้ หนักและสว่ นสงู ตามเกณฑ์ ร้อยละ 9๕ 2. เด็กมสี ขุ ภาพอนามัย สุขนสิ ยั ทดี่ ี รอ้ ยละ 9๕ 3. เดก็ รกั ษาความปลอดภยั หลกี เลีย่ งสภาวะท่ีเส่ยี งตอ่ โรค สิ่งเสพตดิ และระวงั ภัยจากบุคคลสง่ิ แวดล้อมและสถานการณ์ ที่เสีย่ งอนั ตรายต่อตนเองและผู้อ่ืน รอ้ ยละ 9๕ 4.เด็กเคล่ือนไหวร่างกายอย่างคลอ่ งแคล่วประสาน สัมพันธแ์ ละทรงตวั ได้ รอ้ ยละ 9๕ 5. เดก็ ใชม้ ือ – ตา ประสานสัมพันธ์กนั ได้ดีตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ 9๕

31 การศึกษา 256๔-256๗ ระดบั ปฐมวยั ยของตนเองได้ คา่ เป้าหมายระยะ ๔ ปี ปี 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 87 รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์จิตใจควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ มาตรฐาน/ประเด็น ค่าเปา้ หมาย 6. เด็กแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวยั รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 9๕ 7. เดก็ มีความรสู้ กึ ที่ดตี ่อตนเองและผู้อืน่ 8.เดก็ สนใจและมีความสขุ และ ร้อยละ 9๕ แสดงออกผา่ นงานศิลปะ ดนตรี และ การเคล่ือนไหว รอ้ ยละ 9๕ 9. เดก็ มีความซื่อสัตย์ สจุ รติ รอ้ ยละ 9๕ 10. เด็กมีความเมตตา กรุณา มนี ้าใจ และช่วยเหลือ รอ้ ยละ 9๕ แบ่งปนั ร้อยละ 9๕ 11. เด็กมีความเหน็ อกเห็นใจผู้อนื่ 12. เด็กเคารพสทิ ธิ รหู้ น้าทีร่ บั ผดิ ชอบ

32 ค่าเปา้ หมายระยะ ๔ ปี ปี 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 87 รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 9๕ ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสังคมช่วยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม มาตรฐาน/ประเด็น ค่าเป้าหมาย 13. เดก็ ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ัติกจิ วัตรประจาวัน รอ้ ยละ 9๕ 14. เดก็ มวี นิ ยั ในตนเอง ร้อยละ 9๕ 15. เดก็ มีความประหยัดและพอเพียง ร้อยละ 9๕ 16. เด็กดแู ลรักษาธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม ร้อยละ 9๕ 17. เด็กมีมารยาทในการไหว้ ตามวัฒนธรรมไทย และ ร้อยละ 9๕ รักความเปน็ ไทย รอ้ ยละ 9๕ 18. เด็กยอมรบั ความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่าง ร้อยละ 9๕ บุคคล ร้อยละ 9๕ 19. เดก็ มีปฏิสมั พันธ์ทด่ี กี บั ผู้อ่ืน 20. เด็กปฏบิ ัติตนเบื้องต้นในการเปน็ สมาชิกท่ีดขี อง สังคม

33 คา่ เป้าหมายระยะ ๔ ปี ปี 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 9๕

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก 1.4 มพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญาสอ่ื สารได้มีทักษะการคิดพ้นื ฐานและแสว มาตรฐาน/ประเดน็ ค่าเป้าหมาย 21. เด็กสนทนาโตต้ อบอยา่ งงา่ ยได้ อย่างน้อย 2 ภาษา รอ้ ยละ 9๕ และเล่าเรอื่ งใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจ รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 9๕ 22. เดก็ มีความสามารถอ่าน เขียนภาพ และสญั ลักษณ์ รอ้ ยละ 9๕ ได้ รอ้ ยละ 9๕ 23. เด็กมีความสามารถในการคิดรวบยอด รอ้ ยละ 9๕ 24. เด็กมีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 9๕ 25. เดก็ มีความสามารถในการ วางแผน การคิด รอ้ ยละ 9๕ แก้ปัญหาและ ตัดสินใจ 26. เด็กทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ 27. เดก็ แสดงท่าทาง/เคลือ่ นไหว ตามจินตนาการอย่าง สร้างสรรค์ 28. เด็กมเี จตคติทดี่ ีต่อการเรียนรู้ 29. เด็กมีความสามารถในคดิ วเิ คราะห์ ใชเ้ ทคโนโลยีใน การแสวงหา ความรู้ และนาเสนอให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้

34 วงหาความรไู้ ด้ คา่ เปา้ หมายระยะ ๔ ปี ปี 256๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 87 รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ 9๕ รอ้ ยละ 85 รอ้ ยละ 87 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 9๕

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บริบทของท ค่าเป้าหมาย มาตรฐาน/ประเดน็ ค่าเป้าหมาย ปี 256๔ 1. มีหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ที่ สถานศึกษามหี ลกั สตู ร สถานศกึ ษา ครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ น สถานศึกษาปฐมวยั ท่ี สถานศกึ ษา เหมาะสมกับเดก็ สภาพท้องถิ่น และ ครอบคลุมพฒั นาการทัง้ 4 ครอบคลุมพ หลักสูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล ดา้ นเหมาะสมกับเด็กและ ทัง้ 4 ดา้ นเ สภาพท้องถ่ินและหลักสูตร กบั เดก็ และ โรงเรยี นมาตรฐานสากล ทอ้ งถ่ินและ โรงเรียน มาตรฐานสา

35 ท้องถนิ่ ปี 256๖ ปี 256๗ ยระยะ ๔ ปี สถานศกึ ษามี สถานศกึ ษามีหลักสูตร ปี 256๕ หลักสูตร สถานศกึ ษาปฐมวยั ท่ี ามีหลกั สูตร สถานศึกษามหี ลกั สตู ร สถานศึกษาปฐมวยั ที่ ครอบคลุมพฒั นาการ าปฐมวยั ที่ สถานศกึ ษา พฒั นาการ ปฐมวัยทีค่ รอบคลมุ ครอบคลุมพัฒนาการ ทัง้ 4 ด้านเหมาะสม เหมาะสม พัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น ะ สภาพ เหมาะสมกบั เด็กและ ทงั้ 4 ด้านเหมาะสม กับเด็กและ สภาพ ะหลักสูตร สภาพท้องถ่นิ และ กับเด็กและ สภาพ ท้องถิน่ และหลกั สูตร หลักสูตรโรงเรยี น ากล มาตรฐานสากล ทอ้ งถิน่ และหลักสูตร โรงเรยี น โรงเรยี น มาตรฐานสากล มาตรฐานสากล

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ 2.2 จดั ครใู หเ้ พยี งพอกับช้นั เรยี น มาตรฐาน/ประเดน็ คา่ เปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย 1. มีหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ท่ี สถานศกึ ษามีหลกั สตู ร ปี 256๔ ครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น สถานศกึ ษาปฐมวัยท่ี สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา เหมาะสมกบั เด็ก สภาพทอ้ งถิ่น และ ครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ครอบคลุมพ ทง้ั 4 ดา้ นเห หลักสตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากล ดา้ นเหมาะสมกบั เด็กและ กบั เด็กและ ทอ้ งถน่ิ และ สภาพทอ้ งถิ่นและหลักสูตร โรงเรยี น มาตรฐานสา โรงเรยี นมาตรฐานสากล มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การ 2.2 จดั ครใู ห้เพียงพอกับชั้นเรยี น มาตรฐาน/ประเดน็ คา่ เปา้ หมาย ค่าเป้าหมาย สถานศกึ ษามีครูครบทุกชน้ั 2. จดั ครจู บการศกึ ษาปฐมวยั สอน ปี 256๔ ครบทุกช้นั และครูกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร สถานศกึ ษา ทุกช้ัน

36 ยระยะ ๔ ปี ปี 256๖ ปี 256๗ ปี 256๕ สถานศึกษามี สถานศึกษามหี ลกั สูตร ามีหลกั สตู ร สถานศกึ ษามหี ลักสตู ร หลักสูตร สถานศกึ ษาปฐมวัยท่ี าปฐมวัยท่ี สถานศึกษา พัฒนาการ ปฐมวยั ที่ครอบคลมุ สถานศกึ ษาปฐมวัยที่ ครอบคลุมพัฒนาการ หมาะสม พฒั นาการทั้ง 4 ดา้ น สภาพ เหมาะสมกับเดก็ และ ครอบคลุมพฒั นาการ ทง้ั 4 ด้านเหมาะสม ะหลักสูตร สภาพท้องถ่ิน และ ทง้ั 4 ด้านเหมาะสม กบั เด็กและ สภาพ หลักสตู รโรงเรียน ากล มาตรฐานสากล กบั เดก็ และ สภาพ ท้องถนิ่ และหลกั สูตร ทอ้ งถ่ินและหลักสตู ร โรงเรยี น โรงเรยี น มาตรฐานสากล มาตรฐานสากล ยระยะ ๔ ปี ปี 256๖ ปี 256๗ ปี 256๕ สถานศกึ ษามคี รูครบ สถานศึกษามคี รูครบ ามคี รูครบ สถานศกึ ษามคี รูครบ ทกุ ชน้ั ทกุ ช้นั ทุกชั้น

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ 2.3 สง่ เสริมใหค้ รูมีความเชยี่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ มาตรฐาน/ประเดน็ คา่ เป้าหมาย คา่ เปา้ หมาย ปี 256๔ 3. พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ี ครรู ้อยละ 100 ได้รับการ ครูรอ้ ยละ 9 ความรูค้ วามสามารถในการวิเคราะห์ พฒั นาให้มีความรู้ และ ออกแบบหลกั สตู รสถานศกึ ษา ความสามารถในการวเิ คราะห์ และออกแบบหลักสตู ร สถานศกึ ษาการจัดการศึกษา เพื่อส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ทุก ดา้ นอย่างเหมาะสมไมต่ ่ากวา่ ปี ละ 20 ชวั่ โมงเป็นประจา ทุกปี 4. พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มี ครรู อ้ ยละ 90 ได้รับการ ความรคู้ วามสามารถในการจัด ประสบการณ์ แบบ Active พัฒนาความรู้ความสามารถใน Learning (HiScope การ วิเคราะห์และออกแบบ ,Project approach) การจัด ประสบการณแ์ บบ Active Learning ครูร้อยละ 8 5. สง่ เสริมครใู ห้มีทกั ษะในการจัด ครูร้อยละ 90 มีทกั ษะในการ ประสบการณ์และประเมนิ จดั ประสบการณ์และประเมนิ ครรู ้อยละ 8 พัฒนาการ เด็ก พฒั นาการเด็ก

37 ยระยะ ๔ ปี ปี 256๖ ปี 256๗ ปี 256๕ 90 ครูร้อยละ 100 ครูร้อยละ 100 ครรู ้อยละ 100 85 ครรู อ้ ยละ 87 ครรู อ้ ยละ 90 ครูร้อยละ 90 85 มี ครูร้อยละ 87 ครรู ้อยละ 90 ครรู อ้ ยละ 90

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ คา่ เป้าหมายระ มาตรฐาน/ประเด็น คา่ เป้าหมาย ปี 256๔ 6. มีอาคารเรยี นเปน็ เอกเทศ สะอาด จัดอาคารเรยี นเปน็ เอกเทศ จัดอาคารเรียน และปลอดภยั จัดสภาพแวดล้อมท่สี ะอาด รม่ จดั สภาพแวดล รืน่ คานงึ ถงึ ความปลอดภยั รม่ รน่ื คานงึ ถึง ปลอดภัย 7. ห้องเรียนมีมมุ ประสบการณม์ ีส่อื หอ้ งเรยี นมมี ุมประสบการณ์ ห้องเรียนมีมุม สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ อย่างน้อย 5 มมุ และมสี ื่อ ประสบการณ์ สนบั สนุนการจ สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ ประสบการณ์ 8. หอ้ งเรียนมีส่ืออานวยความสะดวก หอ้ งเรยี นมีส่อื อานวยความ ห้องเรียนมีสอื่ อยา่ งเพยี งพอ สะดวก ได้แก่ Smart TV สะดวก ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ ปรนิ ทเ์ ตอร์ คอมพวิ เตอร์ อนิ เทอร์เน็ต เครอื่ งเล่นดีวีดี อินเทอรเ์ น็ต ครบทกุ ห้องเรียน ดี อยา่ งน้อย 4 9. มีห้องเรยี นเสริมหลักสตู ร ให้เดก็ ได้ โรงเรยี นมีหอ้ งเรียนเสรมิ โรงเรยี นมหี ้อง เรียนรู้อย่างเพยี งพอ หลักสูตรให้เด็กได้เรยี นรอู้ ย่าง หลักสตู รให้เด็ก น้อย 5 ห้องเรยี น อยา่ ง น้อย 4

38 ะยะ ๔ ปี ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ นเปน็ เอกเทศ จดั อาคารเรียนเป็น จัดอาคารเรียนเป็น ลอ้ มทส่ี ะอาด เอกเทศ เอกเทศ งความ จัดสภาพแวดล้อมท่ี จดั สภาพแวดล้อมท่ี สะอาด ร่มรื่น คานงึ ถึง สะอาด ร่มรนื่ คานงึ ถึง ความปลอดภยั ความปลอดภยั ม ห้องเรียนมมี ุม หอ้ งเรียนมีมุม มี สือ่ ประสบการณ์อย่างน้อย ประสบการณ์ อย่าง จดั 5 มุม และมสี ่ือสนบั สนุน นอ้ ย 5 มุม และมีส่อื การจดั สนบั สนุนการจัด ประสบการณ์ ประสบการณ์ ออานวยความ หอ้ งเรียนมีสื่ออานวย ห้องเรยี นมีส่อื อานวย Smart TV ความสะดวก ความ ปรนิ ท์เตอร์ ไดแ้ ก่ Smart TV สะดวก ไดแ้ ก่ Smart เคร่อื งเล่นดีวีคอมพิวเตอร์ ปรนิ ท์ TV คอมพวิ เตอร์ 4 ประเดน็ เตอร์ อนิ เทอรเ์ นต็ ปรินท์เตอร์ เครอ่ื งเล่นดีวีดี ครบทุก อินเทอรเ์ น็ต เครือ่ ง หอ้ งเรียน เล่นดีวดี ี ครบทุก ห้องเรยี น งเรยี นเสริม โรงเรียนมีห้องเรยี นเสรมิ โรงเรยี นมหี ้องเรยี น กได้เรียนรู้ หลกั สตู รให้ เสรมิ หอ้ งเรียน เดก็ ได้เรยี นรู้อยา่ งน้อย 5 หลกั สูตรให้เดก็ ได้ ห้องเรียน เรยี นรูอ้ ย่าง นอ้ ย 5 หอ้ งเรียน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือสนบั สนุนการจัดป ค่าเปา้ หมายระ มาตรฐาน/ประเด็น คา่ เป้าหมาย ปี 256๔ 10. มหี ้องศูนย์วิชาการให้บริการส่ือ มีห้องศูนย์วชิ าการทใี่ ห้บริการ มหี อ้ งศูนยว์ ิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การ ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและ ใหบ้ รกิ ารสือ่ เท เรยี นรูเ้ พอื่ สนับสนนุ การจดั สื่อการเรยี นรู้เพือ่ สนบั สนนุ การ สารสนเทศและ ประสบการณ์ และพัฒนาครู จัดประสบการณ์ และพฒั นาครู เรยี นรู้เพอื่ สนบั อย่างเพยี งพอและทนั สมัย และ จัดประสบการ เป็นแหล่งเรยี นรใู้ ห้กบั บุคคล อืน่ พัฒนาครูอยา่ ง ได้ และทันสมยั

39 ประสบการณ์สาหรับครู ะยะ ๔ ปี ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ าการที่ มีหอ้ งศนู ยว์ ิชาการท่ี มีหอ้ งศนู ย์วิชาการท่ี มีหอ้ งศนู ย์วิชาการที่ ทคโนโลยี ให้บรกิ ารสือ่ ให้บริการสอ่ื เทคโนโลยี ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยี ะส่ือการ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศและส่ือการ สารสนเทศและส่ือการ บสนุน การ และสื่อการเรียนรู้ เพื่อ เรยี นรู้เพื่อสนับสนนุ เรียนรู้เพ่อื สนบั สนนุ รณ์ และ สนับสนนุ การจดั การจดั ประสบการณ์ การจัดประสบการณ์ งเพียงพอ ประสบการณ์ และ และ และ พัฒนาครูอย่างเพียงพอ พฒั นาครูอยา่ เพยี งพอ และทันสมยั และเปน็ และทันสมยั และเปน็ แหลง่ เรยี นร้ใู หก้ บั บคุ คล แหล่งเรยี นรู้ ใหก้ บั อืน่ ได้ บคุ คลอื่นได้

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม ค่าเปา้ หมายระ มาตรฐาน/ประเด็น ค่าเปา้ หมาย ปี 256๔ 11.สถานศึกษามีระบบบรหิ ารคณุ ภาพ สถานศึกษาจดั ทาระบบบริหาร สถานศึกษาจดั ที่เปิดโอกาสให้ผ้เู กี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมี ส่วน คุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ บริหารคณุ ภาพ รว่ ม โดย ผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม โดย โอกาสให้ ผูเ้ กย่ี 1) กาหนดมาตรฐานของสถานศึกษาท่ี 1) กาหนดมาตรฐานของ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาท่สี อดคลอ้ งกบั 1) กาหนดมาต ปฐมวัย และจดุ เนน้ ของสถานศกึ ษา 2) มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และ สถานศึกษาทสี่ จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของ จดุ เนน้ ของสถานศึกษา 2)จดั ทา มาตรฐานการศ สถานศกึ ษาท่ีสอดรับกบั มาตรฐานที่ แผนพฒั นาการศกึ ษา ของ และจุดเน้นขอ สถานศึกษากาหนด สถานศกึ ษาทีส่ อดรบั กับ สถานศึกษา 2 3) ดาเนนิ การตามแผน มาตรฐานท่ีสถานศกึ ษากาหนด แผนพฒั นาการ 4) ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพ 3) ดาเนินการตามแผน สถานศึกษาทสี่ ภายในสถานศึกษา 5)ตดิ ตามผลการ 4) ประเมินผลและตรวจสอบ มาตรฐานทีส่ ถ ดาเนินงานอยา่ ง สมา่ เสมอ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา กาหนด 3) ดาเนินการ 4) ประเมินผล ตรวจสอบ คุณ สถานศึกษา

40 ะยะ ๔ ปี ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ ดทาระบบ สถานศกึ ษาจัดทาระบบ สถานศกึ ษาจัดทาระบบ สถานศกึ ษาจัดทาระบบ พที่เปดิ บริหารคุณภาพท่เี ปิด บรหิ ารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ บริหารคุณภาพทเ่ี ปิด ยวข้องทุก โอกาสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทุก โอกาสให้ ผูเ้ กย่ี วข้องทุกโอกาสให้ ผู้เก่ียวข้องทุก ม โดย ฝ่ายมสี ว่ น ร่วม โดย ฝ่ายมีส่วนรว่ ม โดย ฝา่ ยมีส่วนร่วม โดย ตรฐานของ 1) กาหนดมาตรฐานของ 1) กาหนดมาตรฐาน 1) กาหนดมาตรฐาน สอดคลอ้ งกับ สถานศึกษาท่ี สอดคลอ้ ง ของ สถานศึกษาท่ี ของ สถานศกึ ษาที่ ศึกษาปฐมวัยกบั มาตรฐานการศึกษา สอดคลอ้ งกับ มาตรฐานสอดคล้องกบั มาตรฐาน อง ปฐมวยั และจดุ เน้นของ การศกึ ษาปฐมวัย และ การศึกษาปฐมวยั และ 2)จัดทา สถานศึกษา 2)จัดทา จดุ เน้นของสถานศึกษา จดุ เน้นของสถานศึกษา รศึกษา ของ แผนพฒั นาการศกึ ษาของ 2)จดั ทาแผนพฒั นา 2)จัดทาแผนพัฒนา สอดรบั กบั สถานศกึ ษาทส่ี อดรับกับ การศึกษา ของ การศกึ ษา ของ ถานศึกษา มาตรฐานที่ สถานศกึ ษา สถานศึกษาทีส่ อดรับ สถานศึกษาท่ีสอดรบั กาหนด กบั มาตรฐานท่ี กับ มาตรฐานที่ รตามแผน 3) ดาเนนิ การตามแผน สถานศกึ ษากาหนด สถานศกึ ษากาหนด ลและ 4) ประเมนิ ผลและ 3) ดาเนนิ การตามแผน 3) ดาเนนิ การตามแผน ณภาพภายใน ตรวจสอบคณุ ภาพ 4) ประเมินผลและ 4) ประเมินผลและ ภายในสถานศกึ ษา 5) ตรวจสอบ คุณภาพ ตรวจสอบ คณุ ภาพ ติดตามผลการดาเนนิ งาน ภายในสถานศึกษา ภายในสถานศึกษา อยา่ ง สม่าเสมอ

5)ติดตามผลการดาเนนิ งาน 5)ติดตามผลก 6) จัดทารายงานผลการประเมิน ตนเอง อย่างสมา่ เสมอ ดาเนนิ งาน ประจาปี นาผลการประเมินไป ปรับปรงุ 6) จัดทารายงานผลการ ประเมนิ อยา่ งสม่าเสมอ และพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา โดย ตนเองประจาปี นาผล การ 6) จัดทารายง ผปู้ กครองและ ผู้เกย่ี วข้องทุกฝ่ายมีส่วน ประเมนิ ไปปรบั ปรงุ และ พฒั นา ประเมินตนเอง รว่ มและจดั ส่ง รายงานผลการประเมิน คุณภาพสถานศึกษา โดย นาผล การประ ต่อตน้ สงั กดั ผปู้ กครองและผเู้ กย่ี วข้อง ทกุ ฝ่าย ปรบั ปรงุ และ พ มีสว่ นรว่ มและจดั ส่ง รายงานผล คุณภาพสถาน การประเมนิ ต่อต้น ผู้ปกครองและ สงั กดั ทุกฝ่ายมีสว่ นร จัดสง่ รายงาน ประเมนิ ต่อต้น สังกดั

41 การ 6) จดั ทารายงานผลการ 5)ตดิ ตามผลการ 5)ตดิ ตามผลการ ประเมนิ ตนเอง ประจาปี ดาเนินงาน ดาเนินงาน อ นาผลการประเมินไป อย่างสม่าเสมอ อยา่ งสมา่ เสมอ งานผลการ ปรบั ปรงุ และพฒั นา 6) จัดทารายงานผล 6) จัดทารายงานผล งประจาปี คุณภาพสถานศึกษา โดย การ ประเมินตนเอง การ ประเมินตนเอง ะเมนิ ไป ผู้ปกครองและผูเ้ กี่ยวขอ้ ง ประจาปี นาผล การ ประจาปี นาผล การ พัฒนา ทุกฝา่ ยมสี ่วน รว่ มและ ประเมินไปปรบั ปรุงและประเมินไปปรับปรงุ และ นศึกษา โดย จัดสง่ รายงานผลการ พัฒนาคุณภาพ พัฒนาคณุ ภาพ ะผูเ้ ก่ียวข้อง ประเมนิ ต่อตน้ สงั กัด สถานศกึ ษา โดย สถานศกึ ษา โดย ร่วมและ ผปู้ กครองและ ผู้ปกครองและ นผลการ ผ้เู กย่ี วขอ้ ง ทุกฝา่ ยมี ผ้เู ก่ียวข้อง ทุกฝา่ ยมี น สว่ นรว่ มและจัดสง่ ส่วนรว่ มและจดั ส่ง รายงานผลการประเมิน รายงานผลการประเมนิ ตอ่ ต้น ตอ่ ต้น สงั กัด สงั กัด

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสาคญั 3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมให้เด็กมีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภ ค่าเป้าหมายระ มาตรฐาน/ประเด็น ค่าเปา้ หมาย ปี 256๔ 1.ครูวเิ คราะห์ข้อมูลเดก็ เป็นรายบุคคล ครูรอ้ ยละ 90 วเิ คราะห์ข้อมูล ครรู ้อยละ 85 ข้อมูล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์ จาก เดก็ เป็นรายบุคคล จดั ทา เดก็ เปน็ รายบุค แผนการจดั ปร การวเิ คราะห์มาตรฐานคุณลกั ษณะที่ พึง แผนการจัดประสบการณ์ จาก จาก การวิเครา มาตรฐาน คณุ ประสงคใ์ นหลักสูตรสถานศึกษา การวเิ คราะห์มาตรฐาน ประสงค์ใน หล สถานศกึ ษา คุณลกั ษณะที่พึงประสงคใ์ น หลักสตู รสถานศึกษา 3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสุข สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ ครรู อ้ ยละ 90 จดั กิจกรรมที่ ครูร้อยละ 85 ตรง เลน่ และปฏิบตั อิ ยา่ งมีความสุข สง่ เสริมพัฒนาการเด็กครบทกุ ดา้ น ครรู อ้ ยละ90จดั กจิ กรรม โดย เดก็ ไดล้ งมอื กระทา สรา้ งองค์ ความรู้ ครรู อ้ ยละ 90 จดั ประสบการณ์ ครูรอ้ ยละ 85 ด้วยตนเอง แบบบรู ณาการโดยใชส้ ื่อท่ี หลากหลายตามความต้องการ ครรู ้อยละ90จดั กจิ กรรม โดย ความสนใจ ความสามารถ ของ เดก็ ไดล้ งมอื กระทา สรา้ งองค์ ความรู้ เด็กเป็นรายบคุ คล ดว้ ยตนเอง ครรู ้อยละ 85 จดั กจิ กรรม โดย ครรู ้อยละ 87 เดก็ ได้ลงมือกระทา สร้างองค์ ความรู้ดว้ ยตนเอง

42 ภาพ ะยะ ๔ ปี ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ 5 วเิ คราะห์ ครูร้อยละ 87วเิ คราะห์ ครูรอ้ ยละ 90วิเคราะห์ ครรู อ้ ยละ 90วิเคราะห์ ขอ้ มลู เด็กเป็น ข้อมูล ขอ้ มลู คคล จดั ทา รายบุคคล จดั ทาแผนการ เด็กเปน็ รายบุคคล เด็กเปน็ รายบคุ คล ระสบการณ์ จดั ประสบการณ์ จาก จดั ทา แผนการจดั จดั ทาแผนการจดั าะห์ การวเิ คราะห์ มาตรฐาน ประสบการณ์ จาก การ ประสบการณ์ จาก การ ณลักษณะที่พงึ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ วเิ คราะห์มาตรฐาน วิเคราะหม์ าตรฐาน ลักสูตร ใน หลกั สูตรสถานศึกษา คณุ ลักษณะทพี่ ึง คุณลักษณะทีพ่ ึง ประสงค์ใน หลักสูตร ประสงค์ใน หลกั สตู ร สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา 5 จัด ครรู อ้ ยละ 87จดั ครรู ้อยละ 90จดั 5 จัด ครรู ้อยละ 87 ครรู ้อยละ 90 7 ครรู อ้ ยละ90

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สาคัญ 3.3 จดั บรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับวยั มาตรฐาน/ประเด็น ค่าเปา้ หมาย ปี 25 ครูร้อยล 5. ครจู ัดหอ้ งเรยี นใหส้ ะอาด อากาศ ครูร้อยละ 90 จัดหอ้ งเรยี นให้ ครรู ้อยล ถ่ายเท ปลอดภัย มีพืน้ ที่แสดงผลงาน สะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภยั เด็ก พื้นท่สี าหรบั มุมประสบการณแ์ ละ มีพ้ืนท่ีแสดงผลงานเด็ก พน้ื ที่ การจัดกิจกรรม สาหรบั มุมประสบการณ์และการ จัดกิจกรรม 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอยา่ งมีความสขุ 6. ครใู ช้สอื่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ครูร้อยละ 90 ใชส้ อ่ื และ กับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวถิ ี เทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั ชว่ ง การเรียนรู้ของเด็ก อายุ ระยะความสนใจ และวิถี การเรยี นรูข้ องเดก็ เช่น ส่ือ สะเต็มศึกษา ที่กระตุ้นให้คิด สรา้ งสรรคผ์ ลงาน

43 ค่าเป้าหมายระยะ ๔ ปี 56๔ ปี 256๕ ปี 256๖ ปี 256๗ ละ 85 ครรู ้อยละ 87 ครูรอ้ ยละ 90 ครรู ้อยละ 90 ละ 85 ครูร้อยละ 87 ครูร้อยละ 90 ครรู อ้ ยละ 90

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เป็นสาคัญ 3.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรบั ปร คา่ เปา้ หมายระ มาตรฐาน/ประเด็น คา่ เป้าหมาย ปี 25 7. ครปู ระเมนิ พัฒนาการเด็กจาก ครรู ้อยล กจิ กรรมและกจิ วัตรประจาวนั ดว้ ย ครูรอ้ ยละ90ครปู ระเมิน เครื่องมือและวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย พฒั นาการเด็กจาก ครรู อ้ ยล กิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั 8. ครูวเิ คราะห์ผล การประเมิน ดว้ ย เครื่องมือและวธิ กี ารที่ พฒั นาการเด็ก โดยผปู้ กครองและ หลากหลาย ผู้เกยี่ วข้อง มสี ่วนร่วม และนาผลการ ประเมนิ ไปพฒั นาคณุ ภาพเดก็ ครูร้อยละ90ครวู เิ คราะห์ผล การ ประเมนิ พฒั นาการเด็ก โดยผปู้ กครอง และ ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง มีสว่ นรว่ ม และ นาผลการ ประเมนิ ไปพัฒนา คณุ ภาพเด็ก 9. ครนู าผลการประเมนิ ที่ไดไ้ ปพัฒนา ครรู ้อยละ 90 นาผลการ ครูรอ้ ยล คุณภาพเด็กและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การ ประเมินที่ได้ไปพัฒนาคณุ ภาพ จดั ประสบการณท์ ม่ี ีประสทิ ธิภาพ เดก็ และแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ารจัด ประสบการณ์ท่มี ี ประสิทธภิ าพ

รงุ การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ ปี 256๖ 44 ะยะ ๔ ปี ปี 256๗ 56๔ ปี 256๕ ละ 85 ครรู ้อยละ 87 ครูร้อยละ90 ครรู ้อยละ90 ละ 85 ครรู ้อยละ 87 ครูรอ้ ยละ90 ครูรอ้ ยละ90 ละ 85 ครรู อ้ ยละ 87 ครูร้อยละ 90 ครูรอ้ ยละ 90


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook