Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจ ครั้งที่ ๑๒ “ปทุมธานี … เมืองบัว”

การพัฒนาบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจ ครั้งที่ ๑๒ “ปทุมธานี … เมืองบัว”

Published by Bensiya Panpunyadet, 2015-10-22 05:11:37

Description: เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ การพัฒนาบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจ ครั้งที่ ๑๒ “ปทุมธานี … เมืองบัว” วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘
ณ ห้องประชุมรินลอุบล ชั้น ๑ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๔๘
พระชันษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Keywords: ประชุมวิชาการ, การพัฒนาบัวให้เป็นพืชเศรษฐกิจ ครั้งที่ ๑๒,RMUTT

Search

Read the Text Version

ประชมุ วิชาการ การพฒั นาบวั ใหเปน พชื เศรษฐกิจ คร้ังที่ ๑๒ “ปทมุ ธานี … เมืองบัว” วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ หองประชุมรินลอุบล ช้ัน ๑ อาคารเฉลมิ พระเกียรติ ๔๘พระชนั ษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดโดย พพิ ธิ ภัณฑบัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ้ ป็นพชื เศรษฐกิจ ครงั้ ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบวั วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑ์บัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี การใชป้ ระโยชน์บวั หลวงเพือ่ สุขภาพ ไฉน น้อยแสง วทิ ยาลัยการแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ธัญบุรี บัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) เป็นพืชสมุนไพรไทย พืชวงศ์ NELUMBONACEAE มีชื่อสามัญว่า โลตัส (Lotus) ชื่อเรียกอื่นๆ ได้แก่ บัวหลวง บุณฑริก ปทุม ปทุมมาลย์ สัตตบุษย์ สัตตบงกช และอบุ ล บวั หลวงถือว่าเป็นราชินีแห่งพื้นน้ามีถ่ินก้าเนิดแถบเอเชีย เช่น จีน อินเดีย และไทย (สุรัตน์วดี วงค์คลังและคณะ, 2557) บวั หลวงมลี ักษณะทางพฤกษศาสตรค์ อื เปน็ ไมล้ ้มลกุ มีเหง้าและไหลอยู่ใต้ดิน เหง้า: จะมีลักษณะเป็นทอ่ นยาว มปี ล้องสเี หลืองอ่อนจนถึงเหลือง แข็งเล็กน้อย ถ้าตัดตามขวางจะเป็นรูกลมๆ หลายรู ไหล: จะเป็นส่วนที่เจริญไปเป็นต้นใหม่ ใบ: ใบเดี่ยว ออกสลับ แผ่นใบจะชูเหนือน้า รูปใบเกือบกลม ขนาดใหญ่ ขอบใบเรียบ และเป็นคล่ืน ผวิ ใบมนี วล ก้านใบแข็งเปน็ หนาม ถ้าตัดตามขวางจะเห็นเป็นรูภายใน ก้านใบมีน้ายางขาวเมือ่ หักจะมสี ายใยสีขาว ใบอ่อนสีเทานวล ปลายม้วนงอขึ้นทง้ั สองดา้ น ก้านใบจะติดตรงแผ่นใบ ดอก: เดี่ยว มีสีขาว สีชมพู กล่ินหอม บัวหลวงจะเริ่มบานต้ังแต่ตอนเช้า ก้านดอกยาวมีหนามเหมือนก้านใบ ชูดอกเหนือน้าและชสู งู กวา่ ใบเล็กน้อย กลีบเล้ียง 4-5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรือสีเทาอมชมพู ร่วงง่าย กลีบดอกมีจ้านวนมากเรียงซ้อนหลายชนั้ เกสรตวั ผ้มู จี า้ นวนมากสเี หลือง ปลายอบั เรณูมรี ยางค์คล้ายกระบองเล็กๆ สีขาวเกสรตัวเมยี จะฝังอยใู่ นฐานรองดอกรปู กรวยสีเหลืองนวล ผล: รปู กลมรีสีเขยี วนวล มีจ้านวนมาก ฝังอยู่ในส่วนที่เป็นรูปกรวย เมอื่ ออ่ นมสี เี หลอื ง รปู กรวยน้เี มอ่ื เป็นผลแก่จะขยายใหญ่ขึ้นมีสีเทาอมเขียว ท่ีเรียกว่า “ฝักบัว”มีผลสเี ขยี วออ่ นฝงั อยู่จ้านวนมาก (สุนทรี สิงหบุตรา, 2540 และ ส้านักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดา้ ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี, 2558) มนษุ ยไ์ ด้รู้จกั คุณค่าในการน้าบัวหลวงมาใช้ประโยชน์เพื่อสุขภาพมาช้านาน เหง้า รากบัว: น้ามาต้มกับน้าเป็นเคร่ืองด่ืม มีสรรพคุณแก้ไข้ แก้ร้อนใน และแก้กระหายน้าเป็นต้น และใช้เป็นอาหารท้ังคาวและอาหารหวาน ใบ: น้ามาเป็นภาชนะใชห้ อ่ ของแทนใบตอง ใชห่ อ่ ทัง้ ของสดและของแหง้ หรอื นา้ มาท้า “ข้าวห่อใบบวั ”จะสรา้ งกลิน่ หอมหวนให้กบั อาหาร ใบออ่ นรบั ประทาน ดอก: น้ามาเป็นเคร่ืองยาไทยมีสรรพคุณแก้ไข้และเป็นเคร่ืองยาในต้ารับยาบ้ารุงหัวใจ กลีบดอก: น้ามาตากแห้งใช้มวนบุหรี่สูบ เมล็ดจากฝักบัว: น้ามารับประทานไดท้ ้งั ดบิ ๆ หรือตากเมล็ดให้แหง้ ท้าเป็นของหวาน บริโภคได้คุณค่า หรือน้ามาประกอบอาหารคาวและอาหารหวาน (อ้อมใจ วงศ์มณฑา, 2552) ตามต้ารายาไทยกลา่ วไว้วา่ บวั หลวงมีสรรพคณุ ทางยาคือ เมล็ดบัว: บ้ารุงรักษาประสาท และไต หรือแกอ้ าการทอ้ งรว่ งหรอื บิดเรื้อรัง ดบี ัวหรอื ตน้ อ่อนท่ีอยู่ในเมล็ด: ใช้เป็นเคร่ืองยาของต้ารับยาไทย มีสรรพคุณบา้ รุงหวั ใจโดยมีกลไกในการออกฤทธ์ิไปช่วยขยายหลอดเลือดที่ไปเล้ียงกล้ามเน้ือหัวใจ เกสรตัวผู้: น้ามาตากแหง้ ใชเ้ ป็นเคร่ืองยาไทย พบวา่ ตวั ยามฤี ทธิ์ในการขยายหลอดเลอื ดท่ีไปเลี้ยงกล้ามเน้ือหัวใจ และเกสรตัวผู้ตากแห้งยังใช้เป็นเครื่องยาของต้ารับยาไทย-ต้ารับยาจีนหลายขนาน เช่น ยาลม ยาหอม หรือแม้แต่ยานัตถุ์ ๓๒

การประชมุ วิชาการ “การพฒั นาบัวให้เป็นพชื เศรษฐกจิ ครั้งท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภัณฑ์บัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีนอกจากน้ียงั น้ามาต้มน้าดม่ื กา้ นใบและกา้ นดอก: นา้ มาท้าเครื่องยาเเก้อาการท้องร่วง รากหรือเหง้า: น้ามาต้มน้าแกอ้ าการร้อนใน และกระหายน้า รวมถึงมสี รรพคณุ หา้ มเลือด (อ้อมใจ วงศม์ ณฑา, 2552) องค์ประกอบทางเคมีที่ส้าคัญในส่วนต่างๆ ของบัวหลวง ใบ: anonaine, armepavine, N-nor-armepavine, asimilobine, N-methyl asimilobine, ginnol, liensinine, lirinidine, liriodenine,nuciferine, nor-nuciferine, isoquerctrin, roemerine, และβ-sitosterol น้ามันหอมระเหยจากใบ:alkanes (C12 ถึง C27), phytol เมล็ด: liensinine, iso-liensinine, lotusine, neferine, nelumbopolysaccharide, nuciferine, N-nor-nuciferine, pro-nuciferine, β-sitosterol ฝักและเมล็ด: N-nor-armepavine, liriodenine, nuciferine, (-) nor-nuciferine ต้นอ่อนภายในเมล็ด: (DL) armepavine, 4-methyl-coclaurine, cynaroside, hyperoside, liensinine, iso-liensinine, neferine, rutinต้นอ่อนจากเมล็ด: hyperoside, liensinine, neferine, rutin Torus: hyperoside, kaempferol-3-O-b-D-glucuronide, meratin, quercetin-3-O-b-D-glucoronide ฐานรองดอก: quercetin น้ามันหอมระเหยจาก petiole: linalool, N-nonadecane ส่วนที่อยู่พ้นน้า: N-nor-nuciferine (นันทวัน บุณยะประภัศร,2541 และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์, 2588) การศึกษาฤทธิ์ทางเภสชั วิทยาของบัวหลวง พบว่าสารสกัดเอทานอลมีฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยยับย้ังการเพ่ิมจ้านวนของที เซลล์ (T cells) ที่ถูกกระตุ้นโดยไฟโตฮีมแอกกลูตินิน (phytohemagglutinin) โดยไปยับย้ังวงจรชีวิตของเซลล์ (cell cycle) และลดการสร้างไซโตไคน์ เช่น cytokines IL-2, IL-4, IL-10, และIFN- ɣ (Liu et al., 2004) สาร (S)-armepavine จากบัวหลวง มีฤทธ์ิลดการเกิด lymphadenopathy ลดการเพ่มิ จา้ นวน ของ T cells ลดการสร้าง IL-2 และ IFN-ɣ ในหนู และท้าให้หนูซ่ึงถูกท้าให้มีลักษณะ ของโรคhuman SLE มชี วี ิตอยู่ได้นานขึ้น (Liu et al., 2006) สารสกัดไดคลอโรมีเทน เอทิลลอะซิเตต และเอทานอลจากบัวหลวงมีฤทธิ์ตา้ นอนุมูลอิสระ (antioxidant) (Jung et al., 2003 และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2558) การทดสอบฤทธิ์ในการยับยง้ั เอนไซม์ อะซิติลโคลินเอสเทอเรส (Acetylcholinesterase;AChE) อาจส่งผลในการป้องกันการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได์ (Jung et al., 2010) กลีบดอกบัวหลวงมีฤทธ์ิลดระดับไขมัน และน้าตาลในเลือด และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ (Bhuvana et al., 2008)เหงา้ มีฤทธ์ลิ ดไข้ แก้รอ้ นใน และแก้อกั เสบ (Mukherjee et al., 1997) ใบมีฤทธ์ิในการลดความอ้วน และจากการทดสอบความเปน็ พิษในสตั วท์ ดลอง พบว่าไม่ก่อให้เกิดความเป็นผิดปกติหรือความเป็นพิษ (Kunanusornet al., 2011) อย่างไรก็ตามการบริโภคเกสรบัวหลวงควรระมัดระวังอาจก่อให้เกิดอาการแพ้ได้ในบางรายโดยเฉพาะคนทแ่ี พ้เกสรดอกไม้ ๓๓

การประชุมวชิ าการ “การพฒั นาบัวใหเ้ ปน็ พชื เศรษฐกจิ ครง้ั ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัววันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑ์บัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ก) (ข) (ค) ๓๔

การประชมุ วิชาการ “การพฒั นาบัวให้เปน็ พชื เศรษฐกิจ คร้งั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบวั วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑบ์ ัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี (ง)รูปที่ 1 ลกั ษณะส่วนต่างๆ ของบวั หลวง (ก) เกสร; (ข) กลบี ดอก; (ค) ผล และเมล็ด; และ(ง) ใบ เอกสารอ้างองิคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . “การศึกษาฤทธิ์ปรับเปลย่ี นภมู คิ ุ้มกันของสารสกัดน้าพกิ ดั เกสรท้งั หา้ และ องคป์ ระกอบของพกิ ดั ตอ่ เซลลแ์ มคโครฟาจ”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: www.md.chula.ac.th. [2 ต.ค. 2558].คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์.“สรรพคุณ และฤทธข์ิ องเกสรบวั หลวง”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: www. drug.pharmacy.psu.ac.th. [2 ต.ค. 2558].นันทวนั บณุ ยะประภัศร. 2541. สมนุ ไพรไม้พืน้ บา้ น (2). กรุงเทพฯ: บริษทั ประชาชน จา้ กัด, 640 หนา้ .ส้านกั งานโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี. “บัวหลวง”. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: www.rspg.or.th. [2 ต.ค. 2558].สุนทรี สิงหบตุ รา. 2540. สรรพคณุ สมุนไพร 200 ชนดิ . โรงพมิ พ์ดอกเบี้ย, กรงุ เทพฯ. 260 หนา้ .สุรตั น์วดี วงค์คลัง เลอลักษณ์ เสถยี รรตั น์ และอรุณพร อิฐรัตน์. 2557. การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของ บัวหลวง, วารสารวทิ ยาศาสตร์เกษตร, 45(2) (พิเศษ): 673-676.ออ้ มใจ วงศ์มณฑา, 2552, ดอกบัว...จากโคลนตมส่คู วามนยิ มบูชา, วารสารรสู มแิ ล, 30(2): 24-28.Bhuvana S, Mahesh R, Begum VH. Effect of Nelumbo nucifera flowers on plasma lipids and glucose in young, middleaged and aged rats. Pharmacologyonline 2008; 2: 863-74.Jung HA, Kim JE, Chung HY, Choi JS. Antioxidant principles of Nelumbo nucifera stamens. Arch Pharm Res 2003; 26: 279-285.Jung HA, Jung JY, Hyun SK, Min BS, Kim DW, Jung JH, et al. Selective cholinesterase inhibitory activities of a new monoterpene diglycoside and other constituents from Nelumbo nucifera stamens. Biol Pharm Bull 2010; 33(2): 267-72. ๓๕

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเ้ ป็นพืชเศรษฐกิจ คร้ังที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบวั วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภัณฑบ์ วั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีKunanusorn P, Panthong A, Pittayanurak P, Wanauppathamkul S , Nathasaend N, Reutrakul V. Acute and subchronic oral toxicity studies of Nelumbo nucifera stamens extract in rats. J Ethnopharmacol 2011; 134(3): 789–95.Liu CP, Tsai WJ, Lin YL, Liao JF, Chen CF, et al. The extracts from Nelumbo nucifera suppress cell cycle progression, cytokine genes expression, and cell proliferation in human peripheral blood mononuclear cells. Life Sci 2004; 75: 699–716.Liu CP, Tsai WJ, Lin YL, Liao JF, Chen CF, et al. Inhibition of (S)-armepavine from Nelumbo nucifera on autoimmune disease of MRL/MpJ-lpr/lpr mice. Eur J Pharmacol 2006; 531: 270–279.Mukherjee PK, Saha K, Das J, Pal M, Saha BP. Studies on the anti-inflammatory activity of rhizomes of Nelumbo nucifera. Planta Med 1997; 63(4): 367-9. ๓๖

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพชื เศรษฐกิจ คร้ังที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบวั วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภณั ฑบ ัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี การทําดอกบวั สดอบแหง พพิ ธิ ภัณฑบ ัวของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ไดส บื สานการอนรุ กั ษข ยายพันธุบวั ตามโครงการอนุรักษพ ันธุกรรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดํารสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีนอกจากน้นั พพิ ิธภณั ฑแหง น้ี ยงั มีเปา หมาย ในการปลูกรกั ษา , ศึกษาวจิ ัยนาํ ไปใชประโยชน , จดั เกบ็รวบรวมเกี่ยวกับบัว และการพฒั นาสายพนั ธบุ ัวตางๆมากมายกวา 400 สายพันธุ ถือไดวา เปน แหลง เรยี นรูและแหลงทอ งเทย่ี ว ทงั้ เปนผกู อใหเกิดการสรา งคน สรา งงาน สรางอาชพี ใหกับชุมชนหรือผูทส่ี นใจ เพอื่ตองการนําไปประกอบอาชพี จากบัวอยางกวา งขวาง ๓๗

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปน พืชเศรษฐกิจ คร้งั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบ วั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี พิพิธภณั ฑบัวไดเ ก็บรวบรวมสายพนั ธุบัวไวหลากหลายลวนงดงาม เปน เอกลกั ษณข อง “ราชนิ แี หงไมนาํ้ ”แตเปน ท่ี นาเสียดายอยางย่งิ เมอ่ื ดอกบวั ท่ีบานสวยงามตอ งรวงโรยไป ถา จะเกบ็ รกั ษาดอกบัวบานไวช ่ืนชมไดน านเปนเดือน หรือเปน ป กน็ าจะมีวธิ ีที่สามารถทาํ ได จึงเปนทม่ี าของการทดลองทําดอกบวั สดอบแหง ซ่งึประสบความสําเร็จจนมีบณั ฑติ ของคณะศลิ ปกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี นาํ ไปตอยอดเชงิ พาณิชย เปน เถาแกน อ ย สรา งรายไดจ นเปน ทรี่ จู กั กันในนามของราน “ดอกแกว” ซง่ึ ไดม ีดอกไมหลากหลายชนิดทไ่ี ดน าํ มาอบแหง เชน ดอกกุหลาบ ดอกกลว ยไม ดอกลีลาวดี ดอกบวั และใบไมช นดิตา งๆ ดว ยเทคนิควธิ ที ี่แตกตางกนั ไปตามชนิดของดอกไม ๓๘

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพืชเศรษฐกจิ คร้งั ท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑบ ัวมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีวสั ดุและอปุ กรณสาํ หรบั การทําดอกบวั สดอบแหงทส่ี าํ คญั มดี ังนีค้ ือ1. ซิลกิ าทราย สาํ หรบั อบแหง ดอกบวั สด2. ซลิ ิกา เจลสาํ หรับเก็บรกั ษาดอกบวั ทผ่ี า นการอบแหง3. ดอกบวั และใบบัวสด ๓๙

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเปน พชื เศรษฐกจิ ครั้งที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบวั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 4. กลอ งพลาสติกพรอ มฝาปด 5. แกว สาํ หรบั จดั ดอกบวั พรอ มฝาปด 6. วัสดุประดิษฐ เชน ฟลอรา เทป กระดาษสี กระดาษทราย ลวด กาว เปนตน 7. อปุ กรณป ระดิษฐ เชน คมี คบี คีมตดั กรรไกร ปนกาว พูก ัน เปนตนวิธกี ารทาํ ดอกบวั สดอบแหง 1. เตรียมดอกบัวท่ตี องการ นํามาตดั กา นดอกเหลือความยาวกานประมาณ 1 – 1.5 เซนติเมตร (เพื่อ การคีบจับ) นํามาสะบดั นํ้าออก 2. เทซลิ กิ า ทรายใสกลอ งพลาสติก ใหท รายสงู ประมาณ 3 เซนตเิ มตร ใชค มี จบั กานดอกบวั ปกลงในกลอ ง ทรายใหดอกบัวไมข ยบั หรอื เอียงตัว จากนั้นโรยทรายใหท ่ัวดอกบัวทีละนอยจนกลบดอกบวั หมด 3. ปดฝากลองพลาสติกใหส นิท ทิ้งไวประมาณ 7 วัน เพ่อื ใหท รายดดู ความชน้ื ออกจากดอกบัว 4. นําใบบัวมาทําการอบแหง เชน เดียวกับการอบดอกบวั แตกตา งกันที่วธิ กี ารจดั วางเรียงและเวลาในการ อบ เน่อื งจากมีขนาดเลก็ และจาํ นวนมาก 5. เทซิลิกา ทรายใสก ลองพลาสตกิ ใหท รายสูงประมาณ 3 เซนติเมตร วางเรียงใบบวั ใหเตม็ พน้ื ทีแ่ ลวโรย ทรายกลบทบั สาํ หรบั ภาชนะทม่ี คี วามสูงและมีพ้ืนท่ี สามารถวางเรียงซอ นกันหลายชั้นได 6. ปด ฝากลองพลาสตกิ ใหส นิท ทง้ิ ไวป ระมาณ 5 วนั ๔๐

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเปน พืชเศรษฐกิจ คร้ังท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบวั วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบวั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 7. เมอ่ื ครบกําหนดเวลาการอบแหง ใหท าํ ดอกบวั ออกจากกลองพลาสตกิ คอ ยๆเทซลิ ิกาทรายออกจน เหน็ ดอกบวั จงึ ใชอ ปุ กรณค บี จับดอกบวั ออก เคาะทรายออกจากดอกบวั ใหเรยี บรอ ย 8. เทซิลกิ า เจลใสก ลอ งพลาสตกิ สูงประมาณ 3 เซนตเิ มตร นาํ ดอกบัวอบแหง เกบ็ ไวใ นซลิ กิ าเจล ปด กลองใหส นทิ ซลิ กิ า เจลจะชว ยควบคุมความชืน้ เพ่ือเก็บรกั ษาดอกบวั จนกวา จะนําไปใชงานตอไป ทาํ การเกบ็ รกั ษาใบบวั เชนเดียวกับดอกบัววธิ กี ารจดั ดอกบวั สดอบแหง 1. เลือกภาชนะแกว และฝาปดแกว รูปทรงท่เี หมาะสมกบั การจดั ดอกบัวสดอบแหง เชน ทรงกลม ทรงกระบอก เปน ตน 2. ขดั ปากแกว (สาํ หรับปดกาว) และขดั ลบคมฝากระจกสาํ หรบั ปดแกวดว ยกระดาษทรายกอ นทําการปด ดว ย กาวอีพอ กซ่ี 3. ทาํ ฐานใสซ ิลกิ า เจลดว ยขวดพลาสตกิ หรือภาชนะอนื่ ๆโดยใหซ ลิ กิ าเจลสามารถดดู ความชน้ื ไดเมือ่ อยู ในภาชนะปด 4. ตดั โฟมสาํ หรบั ปดฐานใสซลิ ิกา เจล และเพื่อใชปกดอกบัวและใบบัวในการจัดชนิ้ งาน 5. นําดอกบัว และใบบวั มาเคาะทรายออกใหหมดอกี คร้ังกอนนํามาตอ กานลวดสาํ หรบั ปก งาน ยดึ ตดิ ดว ย ปน กาว และพนั หมุ ดวยฟลอราเทปเพอื่ ความสวยงาม 6. นําฐานซลิ กิ า เจลมาติดกับภาชนะแกวดว ยกาวอีพอกซ่ี 7. ปก ดอกบวั และ ใบบวั ลงบนฐานซลิ กิ า โดยใชก าวลาเทก ซ ตกแตง ดอกไมตา งๆโดยใชปนกาวในการยดึ ตดิ 8. ตรวจสอบความสะอาด และความเรยี บรอยของชน้ิ งานกอนทําการปดฝาแกว ๔๑

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพืชเศรษฐกจิ คร้ังท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวัวันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบวั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ๔๒

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเปนพืชเศรษฐกิจ คร้งั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบัว วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบ วั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ชน้ิ งานหรือผลติ ภณั ฑท ี่ไดจ ะเปนของฝาก ของขวญั ของทีร่ ะลกึ ทสี่ วยงาม คงสภาพเหมือนเดมิ เก็บไวช่นื ชมหรอื มอบใหบ ุคคลสาํ คญั ที่แสดงถึงความรกั ความเคารพนับถือ หรอื ในโอกาสตางๆ ส่งิ ทต่ี อ งพึงระวังในการเก็บรกั ษา อยา ใหโดนแสงแดดหรอื ความรอน เพราะอาจทําใหส ขี องดอกบัวซีดจางลงได ปจ จบุ นั พพิ ิธภณั ฑบวั โดยทีมงานของผูช ว ยศาสตราจารยภรู นิ ทร อคั รกลุ ธร ไดช ว ยแนะนาํ จดั อบรมการปลกู เพาะพนั ธุบวั และการบํารงุ รกั ษาท่ีถกู วิธใี หกบั ชุมชนชาวปทมุ ธานี ซึ่งไดหันมาปลกู บวั เพาะพันธุบวั สวยงามขายหนอบัว และตัดดอกขายเปน อาชพี หลกั หรืออาชีพเสรมิ เพ่อื สรา งรายได และบางรายตอยอดทําดอกบัวสดอบแหงสง จําหนา ยใหกับกลุมผูประกอบอาชพี ซ่งึ นาํ มาทาํ เปนผลิตภณั ฑด อกไมสดอบแหง ในโหลแกว สุดทา ยขอขอบพระคณุ พิพธิ ภณั ฑบ ัว ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรที ก่ี รุณาใหทดลองการทาํ ดอกไมส ดอบแหง ผเู ขียนหวังเปน อยางยิง่ วาบทความทีน่ ําเสนอในคร้ังนจี้ ะเปน ประโยชนต อผทู ่ีสนใจ ผูท รี่ กั และหลงใหลในความสวยงามของดอกบัวไดนําไปทดลองทาํ ดว ยตนเอง ซึง่ ทานสามารถแนะนําและแลกเปลี่ยนขอ มลู ตางๆไดดวยความยินดเี ปน อยางย่งิ ผเู ขียน/เรยี บเรยี ง ผชู ว ยศาสตราจารยดร.วนิดา ฉินนะโสต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี โทร. 086-7863253 Email:[email protected] . Facebook: ดอกไมสดไมร ูโรย ๔๓

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเปนพืชเศรษฐกจิ ครัง้ ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภัณฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพกั ตัวของบัวฝรั่ง โดยนายเกรยี งศกั ดิ์ คาํ แหง สวนอุบลชาติ บานคุณพระ การพักตัว คือ การหยุดการเจริญเติบโต ของบัว เน่ืองจากอุณหภูมิของฤดูกาล เปนตัว แปรท่สี ําคัญสงผลใหบัวพักตัว สวนใหญไมไดเกิด จากโรคระบาดและศัตรูพืชรบกวน มักเกิดข้ึนกับ บัวฝร่ัง (อุบลชาติยืนตน) บางพันธุ โดยปกติแลว บัวฝรั่งจะทําการพักตัวในชวงฤดูหนาว (ชวง ประมาณปลายเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือน กุมภาพันธ) ในชวงนี้มีการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศตามฤดูกาล มีชวงกลางวันส้ันกวากลางคืน อีกท้ังอากาศแหงและเย็น สงผลใหอุณหภูมิในนํ้าต่ํา เนื่องจากอากาศหนาวจัด บัวจึงตองปรับตัวใหเขากับสภาพอากาศ เพื่อสะสมอาหารรักษาความสมดลุ โดยชะลอการเจริญเตบิ โต งดการใหด อกหรือใหดอกนอยลง ใบลดปริมาณ มีขนาดเล็กลงและแกเร็วหรือท้ิงใบ แตผลิตใบส้ันและมีความหนา มีสีออกน้ําตาลแดงหดตัวรวมเปนกระจุกอยูใตน้ําเปนลักษณะเฉพาะของบัวฝร่ัง เพอ่ื ทาํ การสะสมอาหารและรอการเจริญเติบโตอีกครั้งเมื่อเขาสูฤดูรอนที่มแี สงแดดและสภาพอากาศท่วั ไปเปน ปกติ ในชวงที่บัวกําลังทําการพักตัว บัวจะมีอาการออนแอมาก ผูเล้ียงบัวตองเอาใจใสเปนพิเศษคอยดูแลเรื่องน้ําอยาใหเนาเสีย เพราะจะทําใหหนอ เหงา ไหลหรือตนบัวเสื่อมสภาพและตายได ตองหม่ันดูแลเร่ืองตะไครนํ้าและสาหรายท่ีขึ้นอยูในภาชนะปลูกเล้ียงบัว พยายามเก็บออกใหหมด อยาใหไปพันยอด หรือขึ้นอยูท่ีบริเวณเหงาและที่โคนตนบัว เพราะเมื่อมีสาหรายหรือตะไครนํ้าในปริมาณที่มากเกินไป จะทําใหตนบัวไดรับสารอาหารไมเพียงพอ เนื่องจากตะไครนํ้าและสาหรายจะทําการแยงอาหารทบ่ี วั ตองการ จนบวั ไมส ามารถสะสมอาหารไดเพียงพอ ทําใหท รุดโทรมลง ไมควรใสปุยเรงดอกในชวงที่บัวยังทําการพักตัวอยู เพราะเปนการกระตุนบัวจนเกินไป ถาใสปุยเรงดอก (สูตรตัวกลางสูง) บอยในชวงน้ีอาจจะทําใหดินเนาเสียไดไว สงผลใหไหลหรือเหงาของบัวตดิ เชื้อโรคและเนา ตายได ๔๔

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพืชเศรษฐกิจ คร้งั ท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบ ัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีการแกไข ถาปลูกบัวฝร่ังเปนไมดอกไมประดับเพื่อความสวยงามของสถานที่ อาคาร บานเรือน แลวไมอยากใหบัวพักตัวมวี ิธีแกไ ขดังน้ี กรณีที่ปลูกในภาชนะแลวยกแชลงในอาง ใหแกไขโดยหาวัสดุ เชน อิฐ กระถางดินเผาขนาดพอเหมาะมารองภาชนะที่ใชปลูก เพื่อปรับระดับใหภาชนะปลูกสูงข้ึน แลวบัวอยูใกลผิวน้ํา บัวก็จะเจริญเติบโตไดตามปกติ แตจะใหดอกนอ ยลง กรณีที่ปลูกลงดินในบอดินหรือสระนํ้าประดับสวนวิธีน้ีไมสามารถยกตนบัวใหขึ้นมาได เพราะอยูในดิน แกไขโดยการปรับระดับนํ้าลดลงใหตื้น พอท่ีบัวจะอยูใกลผิวน้ําและไดร ับแสงแดดบัวกไ็ มพักตวั เหตุท่ีตองยกภาชนะหรือปรับระดับนํ้าใหต้ืน เพื่อที่จะใหตนบัวอยูใกลกับผิวน้ําเปนเพราะอุณหภูมิของผิวน้ําจะสูงกวาดานลางของภาชนะปลูกเลี้ยงบัวไมวาจะเปนอาง บอ หรือสระน้ําเนื่องจากผิวนํ้าไดรับแสงแดดสองถึงทําใหน้ําอุน บัวจึงสามารถท่ีจะเจริญเติบโตตอไปได แตการใหดอกอาจจะนอ ยลงกวา ปกตหิ รอื ไมก็งดการออกดอกในชว งนี้ ถาจะใสปุยบํารุงแนะนําใหใสปุยสูตรตัวหนาสูง เชน 25-7-7 เพื่อเปนการบํารุงไหลและเหงาทาํ ใหบ วั มีแรธาตสุ ารอาหารเพียงพอและไมควรใสครงั้ ละมากๆ เพ่อื ปอ งกนั ดนิ และน้าํ เนาเสีย การพักตัวของบัวนี้ใชเวลานานมาก เพราะบัวทําการพักตัวจริงๆ ผูเล้ียงบัวตองทําใจ อยาใจรอนปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติดีกวา พอส้ินสุดฤดูหนาวเขาหนารอนบัวก็ฟนตัวอยางรวดเร็ว ถาเล้ียงไวนานบัวแกเหงาใหญจะใหหนอเพ่ิม พรอมทั้งแตกใบและใหดอกท่ีมีความสมบูรณมาก บัวฝรั่งบางพันธุเม่ือพนจากการพักตัวแลว ผูเล้ียงจึงไดเห็นดอก บัวบางชนิดตองอาศัยการพักตัว เพ่ือท่ีทําการสรา งหนอ หรือหัว การพักตัวจงึ มีความสําคัญกบั ตน บวั มากเพราะฉะนนั้ ควรท่ีจะปลอยใหบัวไดทําการพักตัวในชวงฤดูกาล เพราะผลที่ไดมาหลังจากการพักตัวและการรอคอยน้ันตนบัวจะสมบูรณและแข็งแรง ๔๕

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปน พชื เศรษฐกจิ คร้งั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ชาสมุนไพรบวั หลวง บวั หลวงชือ่ วทิ ยาศาสตร : Nelumbo nucifera Gaertn.ชื่อสามัญ : Lotusวงศ : Nelumbonaceaeลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมลมลุก มีเหงาและไหลอยูใตดิน เหงาจะมีลักษณะเปนทอนยาวมีปลองสีเหลืองออนจนถึงเหลือง แข็งเล็กนอย ถาตัดตามขวางจะเปนรูกลมๆ หลายรู ไหลจะเปนสวนที่เจริญไปเปนตนใหม ใบเปนใบเดี่ยวรูปโล ออกสลับ แผนใบจะชูเหนือน้ํา รูปใบเกือบกลมขนาดใหญ ขอบเรียบและเปนคล่ืน ผิวใบมีนวล กานใบแข็งเปนหนาม ถาตัดตามขวางจะเห็นเปนรูภายในกานใบมีนํ้ายางขาว เมื่อหักจะมีสายใยสีขาว ใบออนสีเทานวล ปลายมวนงอข้ึนทั้งสองดานกานใบจะติดตรงกลางแผนใบ ดอกเดี่ยว มีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม บัวหลวงจะเริ่มบานตั้งแตตอนเชากา นดอกยาว มีหนามเหมอื นกานใบ ชูดอกเหนือน้ํา และชูสูงกวา ใบเล็กนอย กลีบเล้ียง 4- 5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรือสีเทาอมชมพู รวงงาย กลีบดอกมีจํานวนมากเรียงซอนหลายช้ัน เกสรตัวผูมีจํานวนมากสีเหลือง ปลายอับเรณูมีระยางคลายกระบองเล็กๆ สีขาว เกสรตัวเมียจะฝงอยูในฐานรองดอกรูปกรวย สีเหลืองนวล ผลรูปกลมรีสีเขียวนวล มีจํานวนมาก ฝงอยูในสวนที่เปนรูปกรวยเมื่อออนมีสีเหลือง รูปกรวยนี้เม่ือเปนผลแกจะขยายใหญขึ้นมีสีเทาอมเขียว ที่เรียกวา \"ฝกบัว\" มีผลสเี ขียวออนฝง อยเู ปน จํานวนมาก ภาพท่ี 1 ดอกบัวหลวงประโยชนข องบวั หลวง มนุษยไดรูจักคุณคาอันมีประโยชน และสรรพคุณดานยาสมุนไพรของบัวหลวงมาชานานแลวในการประกอบอาหาร สวนของใบนํามาทําเปนภาชนะ และสรางกล่ินหอมหวลใหกับอาหาร เชน ขาว ๔๖

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพชื เศรษฐกิจ ครงั้ ท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภัณฑบ วั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีหอใบบัว ใบออนรับประทาน เชนผักชนิดหนึ่งกับเคร่ืองจ้ิม เมล็ดจากฝกบัวท้ังสดและแหง นํามาประกอบอาหารทง้ั คาวและหวาน สว นรากเหงา นํามาตมเปนเครือ่ งด่ืม ภาพท่ี 2 สว นตางๆของบวั หลวง ๔๗

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพชื เศรษฐกจิ ครง้ั ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบ ัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี สรรพคุณดานสมุนไพร เมล็ดบัวบํารงุ รักษาประสาทและไต หรือแมอ าการทอ งรว งหรอื บิดเรอื้ รังดีบัวหรือตนออนที่อยูในเมล็ดมีสีเขียวเขม ใชเปนสวนผสมของยาแผนโบราณ พบวาตัวยามีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือดที่ไปเล้ียงกลามเน้ือหัวใจ เกสรตัวผูเม่ือตากแหงใชเปนสวนผสมของยาไทย-จีนหลายชนิด เชน ยาลม ยาหอม หรือแมแตยานัตถุ นอกจากนี้ยังนํามาตมน้ําดื่ม กานใบและกานดอกนํามาทํายารักษาอาการทองรวง สวนของรากหรือเหงานํามาตมน้ํา ใชแกรอนในกระหายน้ํา พรอมท้ังมสี รรพคุณหา มเลอื ด จงึ เห็นไดว าประโยชนทางสมนุ ไพรของบวั หลวงมอี ยมู าก นอกจากเปนสมุนไพรแลวบัวหลวงยังใชประโยชนในทางอื่น เชน กลีบแหงใชมวนบุหร่ีในอดีตเรียกวา บุหรี่กลีบบัว ใบแกนํามาตากแหงใชเปนสวนผสมของยากันยุง เปลือกบัวนํามาเปนวัสดุในการปลกู เห็ดชนิดหน่ึงเรียกวาเห็ดบัว การศกึ ษาทางเภสัชวทิ ยา การศึกษาวจิ ยั ฤทธทิ์ างเภสัชวทิ ยาพบวาสว นตา งๆของบัวหลวงมีสรรพคณุ ทางยาดังนี้ • ฤทธ์ิตานอนุมูลอิสระ เนื่องจากสารกลุมฟลาโวนอยดท่ีพบในเกสร และดอกบัวหลวง มีฤทธต์ิ านปฏิกิรยิ าออกซิเดชนั โดยเกสรตวั ผูม ีฤทธ์จิ ับอนุมลู อิสระ • ฤทธ์ติ า นเบาหวาน สวนเกสรตวั ผูม ฤี ทธิ์ยับย้งั การเกดิ เบาหวาน • ฤทธ์ิทําใหนอนหลับ สารแอลคาลอยด ที่พบในบัวหลวง มีผลทําใหหนูนอนหลับ สารสกดั เมทานอลจากเหงาบวั ทําใหล ดพฤตกิ รรม และกจิ กรรมตา งๆในสัตว • ฤทธิ์ลดปวด และตานการอักเสบ สารแอลคาลอยด ที่พบในบัวหลวง มีฤทธ์ิลดอาการ ปวดและแกอักเสบ สารสกัดเมทานอลลดการอักเสบในหนู ท้ังการทดสอบในหลอด ทดลอง และสัตวท ดลอง • การศึกษาทางพิษวิทยา สารสกัดแอลกอฮอลของเกสรบัวหลวง โดยการปอน หรือฉีด ใตผ ิวหนังหนูถบี จักรไมก อเกดิ ความเปน พิษการใชป ระโยชนของบัวหลวง1. รากบัวหลวง (เหงาบัว) สามารถนําใชปรุงเปนอาหารไดท้ังคาวหวาน เชน รากบัวผัดนํ้ามัน รากบัวออนตมหรือตุนกระดูกหมูกับเคร่ืองยาจีน นํามาเชื่อมแหงรับประทานเปนของหวาน ทําเปน น้าํ รากบัว หรือนาํ มาตม เปน นาํ้ สมุนไพรรากบัว2. ไหลบวั (หลดบวั ) สามารถนํามาประกอบอาหารไดทั้งสดและแหง เชน การนาํ มาทําแกงเลียง แกงสม ตม กะทิ ผดั เผ็ดตา งๆ3. สายบัว นํามาปรุงเปนอาหารหรือใชแทนผักไดหลายชนิด เชน แกงสมสายบัวกับปลาทู แกงสม สายบัว ตมกะทปิ ลาทู ฯลฯ ๔๘

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปน พชื เศรษฐกิจ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัว วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑบัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี4. ดอกบัวหลวง นํามาใชในทางศาสนาหรือนํามาบูชาพระ เน่ืองจากดอกบัวหลวงเปนสัญลักษณแหง ความดีงามทางพระพุทธศาสนา มีความเก่ียวของโดยตรงสําหรับการบูชาพระรัตนตรัย อันไดแก พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ5. กลบี ดอกนิยมนาํ ไปทําเมยี่ งดอกบัว ยาํ ดอกไม หรือทาํ เมนกู ลบี บัวชบุ แปง ทอด6. กลบี ดอกแหง ในอดตี ใชมวนเปน บหุ ร่ี7. สารสกัดจากเกสรใชทําเปนเครื่องสําอางท่ีเปนตัวชวยชะลอการสรางเม็ดสีผิว ทําใหผิวหนังเตงตึง และออนนมุ เชน ครมี กนั แดด ครีมบาํ รุงผวิ ทงั้ กลางวัน/กลางคืน8. เกสรตัวผูเม่ือนํามาตากแหง สามารถใชเปนสวนผสมในเคร่ืองยาไทยและจีนหลายชนิด เชน ยาลม ยาหอม ยานัตถุ ฯลฯ9. ใบบัวหลวง สามารถนํามาใชหอขาว หออาหาร หอขนม ซ่ึงจะชวยเพ่ิมความหอมนารับประทาน ย่ิงข้ึน หรือจะนํามาหอผักสดเก็บในตูเย็น หรือใชในงานประดิษฐตางๆ สวนใบออนใชรับประทาน เปน ผักสดแกลมกับน้ําพริกได10. ใบบัวแกเ มอ่ื นาํ มาตากแหง ใชเปนสวนผสมของยากันยงุ11. กานใบและกานดอกบัว สามารถนาํ มาทาํ เปน กระดาษ และเสน ใยใชท ําไสต ะเกยี ง12. เม็ดบัวทั้งออนและแก สามารถนํามารับประทานหรือใชประกอบอาหารไดหลากหลาย ท่ีรูจักกันดี ก็คือ นํ้าอารซี ขาวอบใบบัว เม็ดบัวตมน้ําตาลทรายแดงผสมในเตาฮวยหรือเตาทึง สังขยาเม็ดบัว เม็ดบัวเชื่อม สาคูเม็ดบัว ขนมหมอแกงเม็ดบัว เปนตน และยังสามารถนํามาใชทําเปนแปงไดเปน อยา งดี13. เปลอื กบัวนาํ มาใชเปนวัสดุในการปลูกเห็ดชนดิ หนึง่ หรอื ที่เรียกวา “เห็ดบัว”14. เปลอื กเมล็ดและฝก แก ใชท าํ เปนปุย15. ประโยชนบัวหลวง เนื่องจากดอกบัวหลวงมีความสวยและมีกลิ่นหอม จึงนิยมปลูกไวประดับ ในสระน้ําหรือปลูกไวใ นกระถางทรงสูง ๔๙

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพชื เศรษฐกจิ ครง้ั ท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบวั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ภาพที่ 3 ผลิตภณั ฑช าสมนุ ไพรบวั หลวง ชาสมุนไพรบวั หลวง สมุนไพรที่ใชรูปแบบในการบริโภคเชนเดียวกับชา เรามักจะเรียกวาชาสมุนไพร สําหรับวิธีที่ดีที่สุดในการบริโภคชาสมุนไพรคือ ควรรูขอมูลทางวิชาการของสมุนไพรหรือผลงานวิจัยของสมุนไพรแตละชนิดวามีฤทธิ์ทางชีวภาพตอรางกายอยางไร เพื่อใหไดรับประโยชนตอสุขภาพย่ิงขึ้น ชาสมุนไพรสว นใหญจะมีสรรพคุณในการบาํ รุงสุขภาพ ชวยยอ ยอาหาร ชวยขับลม หรือเพยี งไดเ สพกลิน่ และรส บัวหลวง พืชท่ีพบกระจายในหลายพื้นที่ของจังหวัดปทุมธานี ประเทศเขตรอนชื้นและหลายทวีปท่ัวโลก ขอมูลงานวิจัยของบัวหลวงหลายๆช้ิน พบวามีฤทธ์ิท่ีดีท้ังตานเบาหวานและตานอนุมูลอิสระ ดังน้ันการนําสวนตางๆของพืชชนิดน้ี มาผลิตเปนชาสมุนไพรซ่ึงเปนผลิตภัณฑสุขภาพ จึงเปนอกี ทางเลอื กหนง่ึ ของกลมุ ผบู ริโภคท่รี ักสุขภาพ วิธที าํ ชาสมนุ ไพรบวั หลวง อุปกรณ 1. สว นตางๆของบวั หลวง (กลบี ดอก กา นดอก เกสร ใบแก รากบัว) 2. เคร่ืองอบแบบตงั้ อณุ หภูมิได 3. เคร่อื งบด 4. ซองเยือ่ กระดาษ 5. เคร่ืองปดผนกึ ดวยความรอน ๕๐

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพชื เศรษฐกจิ ครัง้ ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัว วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑบ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีสวนผสม 1. ชากลบี บวั : กลบี ดอก 20 กรัม กระเจยี๊ บ 10 กรัม 2. ชากานบวั : กา นดอก 20 กรัม มะลิ 10 กรัม 3. ชาใบบัว : ใบแก 20 กรัม ใบเตย 10 กรมั 4. ชารากบวั : รากบัว 20 กรัม ดอกคําฝอย 5 กรัม 5. ชาเกสรบวั : เกสร 20 กรัม เกก ฮวย 5 กรัมขนั้ ตอนการผลติ 1. นาํ สวนตา งๆของบัวมาตัดแตง ลางนํา้ ใหส ะอาด 2. ห่ันเปน ชิน้ เลก็ ๆ อบใหแ หงโดยใชอุณหภมู ิ 50°C 2 ชวั่ โมง 3. นาํ มาบดใหละเอียดบรรจใุ นซองเย่ือกระดาษ 4. ปด ซอง ดว ยเครื่องปด ผนึกดวยความรอน 5. เมือ่ บรรจเุ สรจ็ นําไปอบทีอ่ ุณหภูมิ 70°C 10 นาที เพ่ือกาํ จัดความช้ืนและฆาเช้อื โรคข้นั ตอนการชงชา 1. นําชาซองมาแชใ นนํา้ รอ น 1 แกว 2. รอ 2-3 นาทจี งึ นาํ มาด่มื ได 3. ชา 1 ซอง สามารถชงได 2-3 ครง้ั ๕๑

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพชื เศรษฐกิจ ครงั้ ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัว วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑบ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ีภาพที่ 4 ข้ันตอนการผลิตชาสมนุ ไพรบวั หลวง ๕๒

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเปน พืชเศรษฐกิจ ครัง้ ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบวัวันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ๕๓

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพชื เศรษฐกจิ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑบวั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เทคนคิ การปรบั ปรุงพนั ธุ และการปลูกเลย้ี งบัวฝรง่ั ฉบบั สวนบวั ชากังราว โดย จักรพงษ ... สวนบัวชากังราว กอนอื่นเราก็ตองมาศึกษาดูวาบัวชนิดไหนที่สามารถติดเมล็ดไดดีบาง และมีชนิดไหนที่มีดอกท่ีสวยงาม กลีบซอนเยอะ สสี วยงาม บวั ทตี่ ดิ เมล็ดและมีดอกสวยงามมีหลายชนิด เชน เมยรา เพอรร่ีไฟโอปอมาดามวิลฟรอนกอเนียร โอดูลาตา สเปนดิดา และอีกหลายๆ ตัวบัวบางตัวสวยมากแตติดเมล็ดยากหรือติดเมล็ดแตเพาะไมงอก เชน วันวิสาข ออลโมสแบล็ค สโนวบอล เพอรร่ีดับเบิ้ลเยลโล เพอรรี่ออเร็นซันเซ็ทมงั คลอบุ ล เปน ตน ก็ควรหลีกเลยี่ งในการนํามาเปนพอแมพนั ธใุ นการเตรียมตน พอ แมพนั ธุวัสดุและอุปกรณใ นการปลกู เลยี้ ง 1. ภาชนะท่ีมขี นาดกวางประมาณ 100 เซนติเมตร ความสงู ประมาณ 40 เซนติเมตร (ทางสวนจะใช กาละมงั ซกั ผา ซ่งึ นา้ํ หนกั เบา ขนยา ยงา ย ราคาถูกแตมอี ายกุ ารใชงานประมาณ 5 ป) 2. ดนิ ปลูก จะใชด นิ รว นจากจงั หวดั ลพบุรี ไมผ สมกาบมะพรา วสบั ขุยมะพราว หรือใบไมผ ุ 1 ถงุ จะมี ดนิ ประมาณ 10 กิโลกรมั 1 กะละมงั จะใชด นิ ประมาณ 3 ถุง 3. สารแทนกระดกู ย่หี อ รีโบท 4. ปุยคอกเกา 5. ออสโมโคส หรอื ปุย ละลายชา สูตร 6 เดือนวิธีการปลกู บวั ฝรงั่ 1. เตรยี มตนพนั ธุเปน หนอบัวท่ีเปนหนอจากตนแมจ ะดที ่สี ุด ขนาดท่ียายมาจากตนแมกป็ ระมาณ 3 – 4 น้วิ ตัดแตงราก ใบเกา ท่เี สยี ทิง้ เหลอื ไวสกั 2-3 ใบ ลางใหสะอาด แลวลอยน้ําไวไมใหตนพนั ธแุ หง 2. เตรียมกาละมงั ใสส ารแทนกระดูกสองกาํ มอื ปยุ คอกสองกาํ มือ ออสโมโคส 1 ชอ นโตะ รองพ้นื กาละมงั 3. เติมดนิ ไป 2 ถงุ ทาํ เปนทางลาดไวมมุ ใดมมุ หน่งึ ของภาชนะปลกู 4. นาํ หนอ บัวฝรง่ั ท่ีเตรยี มไวม าปลูกทางดา นต่ําของภาชนะใหย อดหนั หนาเขากลางภาชนะทใี่ ชปลูก 5. กลบดินใหพ อมดิ ยอดแบบเบามอื และเกลยี่ ดนิ ใหท ว่ั ๆ ภาชนะใหเ รยี บ 6. เตมิ น้ําลงภาชนะโดยนาํ สายยางมาใสก ระสอบดนิ เกาใหน ้ําคอ ยๆ ผานกระสอบออกมาน้าํ จะไมข นุ เตมิ นา้ํ ใหเตม็ ภาชนะ ใหนา้ํ ลน พาเอาเศษดินเศษไมท่ีตดิ มาไหลออกจากกาละมงั เปนอันเสร็จสน้ิ ๕๔

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพืชเศรษฐกจิ คร้ังท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวัวันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบวั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ๕๕

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพืชเศรษฐกจิ คร้งั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ภาพแสดงขัน้ ตอนการปลูกบัวฝรง่ั TIP : - บัวจะงามตอ งไดร บั แสงแดดเต็มท่ไี มต า่ํ กวา 5 ชว่ั โมง ไดท้งั วนั จะดีมาก - คอยเติมนาํ้ ใหลน ภาชนะปลกู บัวเผื่อไลฝาบรเิ วณผวิ น้าํ ออกใหห มด น้าํ ในอา งบวั จะใสสะอาด หลังจากปลูกบัวไปประมาณ 3 - 4 เดือน บัวจะเริ่มออกดอก เราก็จะเริ่มทําการผสมเกสรบัวฝร่ัง โดยมีวิธีการเตรียมตนพอ แมพันธุดังนี้ ตนแมพันธุท่ีมีดอกสมบูรณ สังเกตดอกจะใหญ สมบูรณ ไมมีแมลงกัดกินกลีบดอกเริ่มเห็นสีกลีบดอกชัดเชน หอดวยถุงตะขายกันเวลาดอกบานแลวแมลงอาจจะเขาไปผสมกอน สวนดอกที่เราจะใชเปนพอพันธุก็มีวิธีการเตรียมเชนเดียวกัน โดยหอดอกดวยถุงตาขายไวกอน แตจะตองใชดอกบัวที่บานวันท่ีสองเปนพอ เพาะบัวมีกลไกลในการปองกันการผสมตัวเอง โดยที่เกสรตัวเมีย และตัวผูสุกไมพ รอ มกันวธิ กี ารผสม และเกบ็ เมลด็ บวั ฝร่ัง และการเพาะเมล็ด 1. เปด ถุงตาขา ยดอกแมพนั ธทุ หี่ อไวอ อก 2. ตัดเกสรตัวผูท่ีเราหอไว นํามาใสดอกแมพันธุ ผสมใหเกสรกระจายบนจานดอกท่ัวถึง หอดอกไว เหมอื นเดมิ ๕๖

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพืชเศรษฐกจิ คร้ังท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑบ วั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 3. หลังจากดอกบานครบสามวันดอกจะจมลงในอางบัว กานบัวขดเปนเกลียวภายใน 1 เดือน ถาดอก ไมเนา คอื บวั ติดเมลด็ หลังจากผสมประมาณ 35 - 40 วนั ขึน้ อยูก ับชนิดของบัว รอจนฝก จะแก 4. หลังจากฝกแกเมล็ดบัวจะปลอยเมล็ดออกมาจากฝก โดยมีเย่ือหุมเมล็ดสีขาวหรือเจลาติน เพื่อเปน การกระจายพันธุตามธรรมชาติของบัวทุกชนิด ปลอยใหอยูในถุงตาขายที่เราคลุมไว 5 วัน เจลาติน จะละลายจนหมด 5. นําเมล็ดออกมาจากถุงตาขาย และลางทําความสะอาด เติมนํ้าไวคร่ึงหน่ึงของภาชนะ ตั้งไวในท่ีรม ราํ ไร ประมาณ 2 อาทิตย บัวฝรั่งบางฝกเมล็ดจะสามารถงอกเปนตนไดโดยไมตองพักตัว แตถาไม งอกตอ งนํามาเขาตูเ ยน็ เพอ่ื เปน การทําลายระยะพักตวั ของบัวฝร่ัง 6. การทําลายระยะพักตัวของบัวฝร่ัง โดยนําเมล็ดมาใสในกระปุกเล็กๆ ใสน้ําลงไปประมาณ ¾ ของ กระปุก แชใ นตเู ย็น (หอ งรองชองฟต ) เปนระยะเวลาประมาณ 50 วนั 7. หลังจากแชเย็นครบระยะเวลา 50 วัน นําเมล็ดบัวออกจากตูเย็นมาลางใหสะอาด เทใสภาชนะ ใส นํา้ ¾ ของภาชนะตงั้ ไวใ นทร่ี ม ราํ ไรประมาณ 2 - 3 อาทิตย เมลด็ จะแทงเข็มสีขาวๆ และมีจุดกําเนิด ตนและใบน้ําขนึ้ มาวธิ ีการอนบุ าลกลา บัวฝร่ังลงดนิ ไมนํา้วสั ดุอปุ กรณ - ดินสําหรับปลูกไมน าํ้ - ขันนา้ํ 2 ใบ - ถว ยพลาสติก 1 ใบ - ฟอเซปสําหรบั คบี กลาบวัขนั้ ตอนการชํากลาบัวฝรง่ั ลงดินไมนํ้า 1. นาํ น้าํ ใสขันนา้ํ เกือบเต็ม 2. นําดนิ ไมนํา้ ใสถว ยพลาสตกิ เกอื บเตม็ นํามาจุม ในขนั ใหดินเปย กนํา้ 3. นําตนกลาบัวฝรั่งท่ีเริ่มมีใบนํามาชําบนดินไมน้ําใหรากจมลงในดินจนถึงเมล็ดและใหใบเข็มช้ีข้ึน ดานบน กระจายกลาบวั ใหท ั่วไมต อ งชิดกนั มาก 4. พอไดกลาบัวเต็มถวยพลาสติกแลวก็ยกมาแชในขันนํ้าอีกใบที่มีน้ําเต็ม ต้ังไวรมรําไรหามโดนแดดจัด เพราะตะไครนํา้ จะขน้ึ 5. คอยหมั่นเติมนา้ํ เพอื่ ไลฝ า ลา งขนั นํ้าถา มลี ะอองดินกนั ตะไครน้ําขึ้น และน้ําทใ่ี ชต องไมม คี ลอรีน ๕๗

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพชื เศรษฐกิจ คร้ังท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบวั วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑบัวมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 6. หลังจากที่เพาะกลาแลวประมาณ 2 – 4 สัปดาห บัวจะสรางใบลอยขึ้นบนผิวน้ํา พอใบลอยได 1 - 3 ใบกส็ ามารถแยกปลกู ไดวธิ ีการยา ยกลา บัวฝรัง่ ลงดนิ เหนียววัสดอุ ปุ กรณ - ดนิ เหนยี วนวดใหเ นยี น - ถว ยพลาสตกิ - กาละมงั สําหรบั แชก ลาบวั - ฟอเซปสาํ หรับคีบกลา บวัข้นั ตอนการชํากลาบัวฝรัง่ ลงดินเหนียว 1. นําดินเหนียวที่นวดจนเนียนใสถว ยพลาสตกิ ปาดหนา ดนิ ใหเรยี บผ่งึ ท้งิ ไวป ระมาณ 1 ชวั่ โมง 2. คอยๆ ใชฟ อเซป็ ดึงกลา บัวออกจากดินไมน าํ้ อยา งระมดั ระวงั ไมใ หรากขาด มาลอยนา้ํ ไว 3. ใชฟอเซปคีบตรงรากบัวแลวปลูกลงดนิ เหนยี วใหร ากอยูก งึ่ ถวยพลาสตกิ 4. เม่อื ปลกู เสรจ็ แลว ยกแชในกาละมงั ที่มนี ํา้ นําไปตากแดด 5. หลังจากนั้นประมาณ 1 - 2 เดือนรากบัวจะเดินเต็มกระถางวธิ กี ารยา ยกลา บัวฝรั่งลงดนิ ปลูกวัสดอุ ุปกรณ - ดินขยุ ไผ - กระถางพลาสติก - กาละมงั สาํ หรับแชกลา บวั - สารแทนกระดกู ปุยคอกเกา - ปุยออสโมโคสข้ันตอนการชํากลา บัวฝรั่งลงดินปลูก 1. นําสารแทนกระดูก และปุยคอกเกามาผสมในอัตราสวน 1: 1 รองกนกระถางประมาณ 2 ชอนโตะ โรยดว ยดวยออสโมโคส 1 ชอ นชา แลว นําดนิ ขยุ ไผมาโรยทับอีกชน้ั 2. นําตนกลาบัวมาปลูกในกระถาง นําดินขุยไผมาใสใหเต็ม ยกต้ังตากแดด หลังจากน้ันประมาณ 5 เดือน บวั จะเริม่ ออกดอก ถาตนไหนเงาบวั ชนกระถางกเ็ ปลี่ยนภาชนะปลกู ใหใ หญขึ้น คัดตน ท่ีดอกสวยๆ มาขยายพันธุเพิม่ จํานวนไวสาํ หรับจําหนายตอ ไป ๕๘

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปน พชื เศรษฐกจิ ครั้งที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบวั วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบวั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี การทดสอบการยอมรบั ทางประสาทสัมผสั ของขนมกลบี ลาํ ดวนเสรมิ เกสรบวั Sensory Evaluation of Lotus stamen Fortified in Kleep Lumduan JaจnันtทraราChเชoยeชicชู hาuตcิ1hแaลt1ะaเลnอdลLกั eษrlณuckเสถSยีteรiรnตั rนut1 Abstract Nelumbo nucifera Gaertn. (Lotus) is an aquatic plant distributed throughout tropicalregions. Almost all parts of the lotus are eaten as food and also used in the indigenous system ofmedicine. Lotus stamen was long been used by Thai traditional doctors for treatment heartdisease and diabetic patients. Kleep Lumduan is a type of traditional Thai shortbread cookies,named because its shape resembles the Lumduan flower. The objective of this study was toevaluate the levels of lotus stamen in Kleep Lumduan that has the highest level of acceptablesensory test. Kleep Lumduan was prepared by 3 levels of lotus stamen 3 grams, 6 grams and 9grams (1%, 2%, 3%) in 350 grams of Kleep Lumduan recipe. The sensory acceptability was testedby 100 consumers. The results of preference sensory evaluation used 9- point hedonic scale. The3 grams of lotus stamen in Kleep Lumduan showed the highest score of appearance (7.52), color(7.47), odor (7.50), test (7.54), texture (7.47), crispy (7.64), overall liking (7.68) with significantdifference (P < 0.05). The study indicated 3 grams of lotus stamen in Kleep Lumduan wasaccepted in all terms of sensory attributes. The future study should be aligned to find out anotheracceptable food and desert for stamen fortification and modern attractive packaging design tomeet the expectation of consumers.Keywords: Nelumbo nucifera , Lotus stamen, Kleep Lumduan, Sensory evaluation บทคดั ยอ บัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaerth.) พืชน้ําท่ีพบเห็นไดทั่วไปในเขตศูนยสูตร บัวหลวงมีการใชประโยชนใ นแทบทุกสวนเพอ่ื เปนอาหารและยา ตาํ ราแพทยแผนไทยใชเกสรบัวหลวงในการรักษาอาการโรคหัวใจและเบาหวาน กลบี ลําดวนเปนขนมไทยที่มีลักษณะคลายดอกลําดวน วัตถุประสงคการศึกษาเพื่อทดสอบ การยอมรับทางประสาทสัมผัสของปริมาณเกสรบัว ที่ใชเปนสวนผสมในขนมกลีบลําดวน การศึกษาไดทําการทดสอบทางประสาทสัมผัสของขนมกลีบลําดวน ซึ่งใชเกสรบัวในปริมาณแตกตางกัน 3 ระดับคือ 3, 6, 9 กรัม ( 1%, 2%, 3%) ในสว นผสมขนมกลบี ลาํ ดวน 350 กรมั จาํ นวนผทู ดสอบ 100 คน ผลการทดสอบการยอมรับโดยใหคะแนนความชอบ 9ระดับ พบวาผูบริโภคใหคะแนนความชอบ สูตรที่ใสเกสรบัว 3 กรัม(1%) มากท่ีสุด ทั้งในดานลักษณะปรากฏ (7.52),สี (7.47), กลิ่น (7.50), รสชาติ (7.54), เน้ือสัมผัส (7.47), ความกรอบ (7.64), และความชอบโดยรวม (7.68) ซึ่งแตกตางจากสูตรอ่ืนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P < 0.05) การทดสอบทางประสาทสัมผัสสรุปวา ผูบริโภคยอมรับการเสริมเกสรบัว 3 กรัมในขนมกลีบลําดวนมากท่ีสุด ในทุกเกณฑการประเมิน การศึกษาข้ันตอนตอไปควรทดลองเตมิ เกสรบัวในอาหาร และของหวานอื่นๆทีผ่ ูบ ริโภคยอมรบั และการออกแบบบรรจุภณั ฑท ีส่ ามารถดึงดูดใจผูบรโิ ภคคาํ สาํ คญั : บัวหลวง, เกสรบวั หลวง, กลีบลําดวน, การทดสอบประสาทสมั ผัส1สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ, คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร, มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี, ตาํ บลคลองหก, อําเภอธญั บุร,ี จังหวัดปทมุ ธาน,ี 121101Department of Food and Nutrition, Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Klong 6, Thanyaburi, Pathumthani, 12110, Thailand ๕๙

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพืชเศรษฐกจิ คร้งั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี บทนาํ บัวหลวงมีชื่อวิทยาศาสตรวา Nelumbo nucifera Gaertn. ชื่อสามัญคือ Lotus ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมลมลุก มีเหงาและไหลอยูใตดิน เหงา จะมีลักษณะเปนทอนยาว มีปลองสีเหลืองออนจนถึงเหลือง แข็งเล็กนอย ถาตัดตามขวางจะเปนรูกลมๆ หลายรู ไหลจะเปนสวนที่เจริญไปเปนตนใหม ใบ ใบเดี่ยวรูปโล ออกสลับ แผนใบจะชูเหนือนํ้า รูปใบเกือบกลม ขนาดใหญ ขอบเรียบและเปนคล่ืน ผิวใบมีนวลกานใบแข็งเปน หนาม ถา ตัดตามขวางจะเหน็ เปนรูภายใน กานใบมีนํ้ายางขาว เม่ือหักจะมีสายใยสีขาว ใบออนสีเทานวล ปลายมวนงอขึ้นท้ังสองดาน กานใบจะติดตรงกลางแผนใบ ดอก เดี่ยว มีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม บัวหลวงจะเร่ิมบานต้งั แตต อนเชา กานดอกยาวมหี นามเหมืนกา นใบ ชูดอกเหนอื น้าํ และชูสูงกวาใบเล็กนอย กลีบเล้ียง 4-5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรือสีเทาอมชมพู รวงงาย กลีบดอกมีจํานวนมากเรียงซอนหลายชั้นเกสรตัวผูมีจํานวนมากสีเหลือง ปลายอับเรณูมีระยางคลายกระบองเล็กๆ สีขาว เกสรตัวเมียจะฝงอยูในฐานรองดอกรูปกรวยสีเหลอื งนวล ผล รปู กลมรีสีเขียวนวล มีจํานวนมาก ฝงอยูในสวนที่เปนรูปกรวย เมื่อออนมีสีเหลือง รูปกรวยน้ีเม่ือเปนผลแกจะขยายใหญข้ึนมีสีเทาอมเขียว ท่ีเรียกวา \"ฝกบัว\" มีผลสีเขียวออนฝงอยูเปนจาํ นวนมาก [1] ขอ มลู ทางเภสชั วิทยาของบวั หลวง [2] 1. สารอัลคาลอยดที่พบในบัวหลวงมีฤทธิ์ชวยลดอาการปวดและชวยตานอาการอักเสบ โดยสารสกัดเมทานอลจากเหงา ในขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม จะมีผลชวยลดการอักเสบในหนู และมีประสิทธิภาพเทียบเทากับ Phenylbutazone และ Dexamethasone ทั้งการทดสอบในหลอดทดลอง และสตั วท ดลอง 2. สารบรสิ ทุ ธ์ิท่แี ยกไดจากบวั มฤี ทธใิ์ นการยับยง้ั เชอ้ื HIV 3. สารอัลคาลอยดที่พบในบัวหลวง มีฤทธิ์ทําใหนอนหลับ ซ่ึงจากผลการทดลองพบวามีผลทําใหหนูนอนหลับ โดยสารสกัดเมทานอลจากเหงาบัวน้ันมีผลในการลดพฤติกรรม และกิจกรรมตางๆ ของสัตว โดยเพมิ่ การเกดิ Pentobarbitone-induced sleeping time 4. รากบัวสามารถชวยลดการดูดซึมของกลูโคสและทําใหไมตองปริมาณ ของอินซูลิน จึงสามารถชวยลดระดับนาํ้ ตาลในเลอื ดไดท งั้ คนปกติและในผปู ว ยเบาหวาน 5. เกสรและดอกบัวหลวงมีฤทธ์ิตานอนุมูลอิสระโดยสารกลุมฟลาโวนอยดท่ีมีฤทธ์ิตานปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยเกสรตัวผูจะมฤี ทธิ์จับอนมุ ูลอิสระ 6. เกสรบัวหลวงตัวผูมีฤทธ์ิตานเบาหวาน โดยไปยับย้ัง Advance Glycation End Products (AGE)และ Rat Lens Aldose Reductase (RLAR) โดยฤทธ์ิการยับย้ัง AGE และ RLAR น้ันมีผลตอการลดการเกิดภาวะเบาหวาน 7. สารสกัดจากเกสรบัวหลวงสามารถแทรกซึมเขาสูช้ันใตผิวหนังไดดี มีผลทําใหชะลอการเจริญของเม็ดสี Melanin ได และยังชวยทําใหผิวหนังเตงตึงขึ้น เน่ืองจากสารสกัดดังกลาวประกอบไปดวยสารตอตานอนุมูลอิสระ ที่ยับยั้งการทํางานของ Tyrosinase enzyme นอกจากนี้ยังพบ Vitamin A – palminate ซ่ึงเปน ตัวชวยทําใหผ วิ หนังออ นนุมเมือ่ นาํ สารสกัดจากเกสรดังกลาวมาผลติ เปนเคร่ืองสําอางประเภทครีมบํารุงผิวและครมี กันแดด 8. สารสกัดแอลกอฮอลของเกสรบัวหลวงในขนาด 10 กรัม./กิโลกรัม ดวยการปอน หรือฉีดเขาใตผิวหนังของหนูถีบจกั ร ไมกอ ใหเ กิดความเปน พิษ ๖๐

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพืชเศรษฐกจิ คร้ังที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เกสรบวั หลวง ลักษณะภายนอกของเครื่องยา เกสรตัวผูของดอกบัวหลวง ที่เก็บเม่ือดอกบานเต็มท่ี แยกเอาเฉพาะเกสรตัวผู นําไปผึ่งใหแหงในที่รม เมื่อแหงจะเปนเสนมีสีเหลือง และมีกล่ินหอม รสฝาด เครื่องยาเกสรบัวหลวง พบวามลี กั ษณะภายนอกคือ เกสรมีลักษณะเปนเสนบางๆ ตรงกลางเห็นเปนรองลึกลงไป ขนาดความยาว 0.6-2 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลาง 0.1 เซนติเมตร สีเหลืองออน หรือสีน้ําตาลเหลือง สวนกานชูเกสรตัวผู เปนรูปทรงกระบอกยาว 1.5-1.8 เซนตเิ มตร สีมวงออนมีกลนิ่ หอมเฉพาะ รสฝาด [3] ลักษณะทางกายภาพและเคมี ลักษณะทางกายภาพและเคมีท่ีดีของเคร่ืองยาเกสรบัวหลวง ปริมาณความชืน้ ไมเ กิน 10%, ปริมาณเถา รวมไมเกนิ 10%,ปรมิ าณเถา ทไี่ มละลายในกรดไมเกิน 1%, ปริมาณสารสกัดเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน แอลกอฮอล และน้ํา เทากับ 7, 9, 7, 17 % w/w ตามลําดับ และพบองคประกอบหลกั คอื สารกลมุ ฟลาโวนอยด และอลั คาลอยด สรรพคุณของเกสรบัวหลวง ตามตํารายาไทย ใชเกสรบัวหลวงใชบํารุงหัวใจ ทําใหชุมชื่น บํารุงปอด บํารุงตับ บํารุงกําลัง คุมธาตุ แกลม แกไข ตํารายาจีนใชแกปสสาวะบอย แกนํ้ากามเคล่ือน (ฝนเปยก) แกตกขาว ประจําเดือนมามากกวาปกติ เลือดกําเดาไหล และแกอาการทอ งเสีย รูปแบบและขนาดยาที่ใช เมื่อใชบํารุงหัวใจ เกสรปรุงเปนยาหอมบํารุงหัวใจ บรรเทาอาการหนามืดวิงเวียนทําใหชื่นใจ เปนยาสงบประสาท ขับเสมหะ เกสรบัวหลวงสด หรือแหงประมาณ 1 หยิบมือ ชงกับน้ํารอ น 1 แกว (ประมาณ 240 มลิ ลิลิตร) ทิ้งไวนาน 10-15 นาที ด่ืมขณะทย่ี ังอุน อยู ครั้งละ 1 แกว วันละ 3-4คร้ัง เกสรบัวหลวงแหง บดเปนผงครง้ั ละ 0.5 -1 ขอนชา ชงนํ้ารอนด่มื หรือใชใ นขนาด 3-5 กรมั องคประกอบทางเคมี เกสรบัวมีฟลาโวนอยดหลายชนิด เชน quercetin, luteolin, isoquercitrin,luteolin glucoside และมีรายงานพบแอลคาลอยดด วย การศกึ ษาทางเภสัชวิทยาของเกสรบวั หลวง ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ สารกลุมฟลาโวนอยด ทพ่ี บในเกสร และดอกบวั มฤี ทธิ์ตานปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยเกสรตัวผมู ีฤทธจ์ิ ับอนุมูลอสิ ระ DPPH โดยมีคา EC50 42.05 µg/ml [4] ฤทธ์ิตานเบาหวาน เกสรตัวผูยังมีฤทธ์ิยับย้ัง rat lens aldose reductase (RLAR) และ advanceglycation end products (AGE) โดยมีคา IC50 48.30 และ 125.48 µg/ml ตามลําดับ ซึ่งการยับยั้ง RLARและ AGEมผี ลตอการลดการเกิดภาวะเบาหวาน ฤทธ์ิทําใหนอนหลับ สารแอลคาลอยด ท่ีพบในบัว มีผลทําใหหนูนอนหลับ สารสกัดเมทานอลจากเหงาบัว ทําใหลดพฤติกรรม และกิจกรรมตางๆในสัตว โดยเพ่ิมการเกิด pentobarbitone-inducedsleeping time ในหนู ฤทธิ์ลดปวด และตานการอักเสบ สารแอลคาลอยด ท่ีพบในบัว มีฤทธ์ิลดอาการปวด และแกอักเสบสารสกัดเมทานอลจากเหงา ในขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ลดการอักเสบในหนู โดยมีระสิทธิภาพเทียบเทากับ phenylbutazone และdexamethasoneทั้งการทดสอบในหลอดทดลองและสัตวท ดลอง ๖๑

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพืชเศรษฐกิจ คร้งั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑบัวมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี การศกึ ษาทางพษิ วทิ ยา สารสกดั แอลกอฮอลข องเกสรบัวหลวงขนาด 10 กรัม/กิโลกรัม โดยการปอนหรือฉีดใตผิวหนังหนูถีบจักร ไมกอเกิดความเปนพิษ ขอควรระวังคือ เกสรบัวหลวงอาจกอใหเกิดอาการแพไดในบางคน โดยเฉพาะคนทแี่ พเกสรดอกไม ขนมกลีบลําดวน เปนขนมมงคลชนิดหน่ึงทํามาจากแปงสาลี และอบควันเทียน [5] ที่ไดชื่อน้ีเพราะลักษณะคลายดอกลําดวน นิยมใชในงานมงคล เชน งานแตงงาน ความหมายของขนมนี้คือชื่อเสียงขจรขจายไปไกล และอีกความหมายคือสรางความงดงามใหกับชีวิต เพราะขนมกลีบลําดวนจะทําเปนกลีบดอก 3 กลีบมาติดกัน และมีเกสรอยูตรงกลาง ดอกลําดวนจะสงกลิ่นหอมอบอวลในเวลากลางคืน เปนดอกไมที่มีเสนหเฉพาะตวั ขนมกลบี ลาํ ดวนเกบ็ ไวไ ดนาน เหมาะสําหรบั เกบ็ ไวท าน หรือเปนของฝาก รสหอม หวาน และอรอยการศึกษาไดทดลองนําเกสรบัวหลวงซึ่งมีสรรพคุณท่ีดี คือ มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ ตานการเกิดโรคเบาหวานและตานการอักเสบ มาเสริมในขนมกลีบลําดวน การศึกษาน้ีจึงมีวัตถุประสงคเพ่ือทดสอบการยอมรับทางประสาทสมั ผสั ของขนมกลีบลาํ ดวนที่เสรมิ เกสรบวั หลวงในปริมาณท่แี ตกตางกนั วธิ กี ารทดลอง การศึกษาคัดเลือกสูตรมาตรฐานของขนมกลีบลําดวน 3 สูตร โดยทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผูบริโภค ใชผูประเมิน 70 คน จากนั้นนําสูตรท่ีไดไปทดสอบขนมกลีบลําดวนท่ีเสริมเกสรบัวหลวงโดยทําการการทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสกลีบลําดวนเสริมกลีบบัวหลวงที่ใชปริมาณเกสรบัว 3ระดับคือ 3 กรัม ( 1%), 6 กรัม ( 2%) และ 9 กรัม ( 3%) การทดสอบดานประสาทสัมผัสของผูบริโภคจากผูบริโภค ดานสี กล่ิน รสชาติ เนื้อชาติ ลักษณะที่ปรากฏ และความชอบโดยรวม ใชผูประเมิน 100 คน การทดสอบประสาทสัมผัส ใชแบบทดสอบโดยใหคะแนนทางประสาทสัมผัส ความชอบ 9 ระดับ (Hedonic9-Point scale Test) นําคาท่ีไดคํานวณคาทางสถิตดวยโปรแกรมสําเร็จรูป โดยใชในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ SPSS ผลการทดลองและสรปุ ผล การศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑขนมกลีบลําดวน จากสูตรมาตรฐาน ทั้ง 3 สูตรเพ่ือใชในการคัดเลือกสูตรท่ีเหมาะสม และเปนท่ียอมรับของผูบริโภคมากท่ีสุด โดยผูประเมินจํานวน 70 คนการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสโดยใหคะแนนความชอบ ความชอบ 9 ระดับ (Hedonic 9-Pointscale Test) ผลการทดสอบพบวาขนมกลีบลําดวน ทั้ง 3 สูตร มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ(P<0.05) ในทุกเกณฑการประเมิน ยกเวนกลิ่น ผูบริโภคยอมรับผลิตภัณฑขนมกลีบลําดวน สูตรที่ 2 มากท่ีสุดในทุกเกณฑการประเมิน โดยผลคะแนนเฉล่ียลักษณะที่ปรากฏ (7.29±1.31), การยอมรับดานสี(7.40±1.11), กลน่ิ (7.21±1.12), รสชาติ (7.60±1.24), เนอื้ สมั ผสั (7.24±1.28), ความกรอบ (7.40±1.43)และความชอบโดยรวม (7.61±1.04) ดังนั้นผลิตภัณฑขนมกลีบลําดวนสูตรที่ 2 คือสูตรท่ีเหมาะสม และเปนที่ยอมรับของผูบริโภคมากท่ีสุด จึงนํามาเปนผลิตภัณฑขนมกลีบลําดวนเสริมเกสรบัวในการทดลองข้ันตอไป ๖๒

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบัวใหเปน พชื เศรษฐกจิ คร้งั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑบวั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีขนมกลีบลําดวนสูตรท่ี 2 ประกอบดวยสวนผสมดังน้ี แปงสาลีเอนกประสงค 95 กรัม น้ําตาลทรายไอซ่ิง 75กรัม นาํ้ มนั พชื 112.5 กรมั ไขไ ก 1 ฟอง( 65 กรมั ) อบดว ยควนั เทยี นตารางท่ี 1 คะแนนประเมินคณุ ภาพทางประสาทสัมผสั ของผลิตภัณฑข นมกลีบลาํ ดวน สูตรมาตรฐาน 3 สูตร เกณฑก ารประเมนิ สูตรขนมกลบี ลาํ ดวน สูตร 1 สตู ร 2 สตู ร 3ลักษณะท่ีปรากฏ ∗ 6.73±1.18c 7.29±1.31a 6.77±1.11bสี∗ 6.99±1.19b 7.40±1.11 a 6.84±1.09cกล่ิน ns 6.94±1.09 7.21±1.12 6.87±0.93รสชาต∗ิ 6.89±1.08c 7.60±1.24 a 7.01±1.04cเนอื้ สมั ผัส∗ 6.76±1.28b 7.24±1.28 a 6.73±1.37cความกรอบ ∗ 6.97±1.45b 7.40±1.43 a 6.97±1.52bความชอบโดยรวม∗ 6.96±1.03c 7.61±1.04 a 7.10±1.08bหมายเหตุ : เลขท่มี อี ักษรเดียวในแนวนอนแสดงวา ไมมคี วามแตกตางกนั อยางมนี ยั สาํ คัญทางสถติ ิ (P > 0.05 )* หมายถงึ มีความแตกตางกันอยางมีนยั สําคญั ทางสถติ ิ (P<0.05)ns หมายถงึ ไมมีความแตกตา งกันอยา งมนี ัยสาํ คญั ทางสถิติ (P>0.05) การศึกษาปริมาณคุณภาพทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑขนมกลีบลําดวนเสริมเกสรบัว ทําการทดลองโดยใชปริมาณเกสรบัวแตกตางกัน 3 ระดับ คือ 3 กรัม (1 %), 6 กรัม( 2%) และ 9 กรัม( 3%) ผลการทดสอบดานประสาทสัมผัสของผูบริโภคจากลักษณะที่ปรากฏ สี กล่ิน รสชาติ เน้ือชาติ ลักษณะที่ปรากฏและความชอบโดยรวม ใชผูประเมินจํานวน 100 คน ขนมกลีบลําดวนเสริมเกสรบัว ท้ัง 3 สูตร พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)ในทุกเกณฑการประเมิน และผูยอมรับผลิตภัณฑขนมกลีบลําดวน สูตรท่ี 1 ซึ่งเสริมเกสรบัว 6 กรัม( 2%) มากที่สุดโดยผลคะแนนเฉล่ียการยอมรับลักษณะที่ปรากฏ(7.22±0.95), ดานสี(7.08±1.03), กล่ิน (6.83±0.99), รสชาติ (6.99±0.95), เนื้อสัมผัส (7.03±0.93),ความกรอบ (7.04±0.88), และความชอบโดยรวม (7.07±0.88) ๖๓

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเปน พชื เศรษฐกจิ คร้งั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีตารางที่ 2 คะแนนประเมนิ คณุ ภาพทางประสาทสมั ผสั ของผลิตภณั ฑข นมกลบี ลําดวนเสรมิ เกสรบวั 3 สตู ร เกณฑการประเมิน สตู รขนมกลีบลําดวนเสรมิ เกสรบัว 3 กรมั ( 1%) 6 กรมั (2%) 9 กรัม (3%)ลักษณะที่ปรากฏ ∗ 7.52±0.82a 7.22±0.95b 6.30±0.94cสี∗ 7.47±0.76a 7.08±1.03b 6.19±0.91cกลิน่ ∗ 7.50±0.89a 6.83±0.99b 6.28±0.99cรสชาต∗ิ 7.54±0.93a 6.99±0.95b 6.37±0.91cเน้อื สมั ผัส∗ 7.47±0.96 a 7.03±0.93b 6.31±0.94cความกรอบ ∗ 7.64±0.82a 7.04±0.88b 6.46±0.94cความชอบโดยรวม∗ 7.68±0.63a 7.07±0.88b 6.38±0.87cหมายเหตุ : เลขทม่ี อี ักษรเดียวในแนวนอนแสดงวา ไมมคี วามแตกตางกันอยางมนี ยั สาํ คัญทางสถิติ (P > 0.05 )* หมายถงึ มีความแตกตา งกนั อยางมนี ยั สําคญั ทางสถิติ (P<0.05)ns หมายถึง ไมม ีความแตกตา งกนั อยางมนี ยั สําคัญทางสถิติ (P>0.05) ขอวิจารณและขอเสนอแนะ การทดสอบทางประสาทสัมผัสสรุปวา ผูบริโภคยอมรับขนมกลีบลําดวนสูตรท่ีเสริมเกสรบัว 3 กรัมมากท่ีสุด ในทุกๆ ดานของเกณฑการประเมิน คือ ลักษณะที่ปรากฏ สี กล่ิน รสชาติ เนื้อสัมผัส ความกรอบและความชอบโดยรวม เกรสบัวเปนสวนของบัวหลวงที่มีประโยชนท่ีใชกันมานาน มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ และตา นเบาหวาน จงึ เหมาะสมสาํ หรับสงเสริมใหรับประทานเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ เพื่อปองกันการเกิดโรคในกลุมผูบริโภคที่รักและใสใจสุขภาพ นอกจากนั้นควรใชเกสรบัวเสริมในผลิตภัณฑอาหาร และอาหารประจําวันเมนูตางๆ เพื่อใหสามารถรบั ประทานเกสรบวั ไดใ นหลายรปู แบบ และสงเสรมิ ใหไดรับในปรมิ าณทเี่ พ่มิ ข้ึน คําขอบคณุ สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เอกสารอา งองิ[1] ชเู กยี รติ อทุ กะพนั ธุ, 2540, สารานุกรมไมประดบั ในประเทศไทย เลม 1, อมรินทรพ ริ้นตริ้งแอนดพบั ลชิ ช่ิงจํากดั มหาชน, กรุงเทพฯ.[2] กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารสุข, 2547, สมุนไพรไทย-จีน, โรงพิมพการศาสนา, กรุงเทพฯ, 69 – 114.[3] วฒุ ิ วฒุ ิธรรมเวช, 2547, คัมภรี เภสชั รตั นโกสินทร, ศลิ ปส ยามบรรจุภณั ฑแ ละการพิมพ จาํ กัด, กรุงเทพฯ.[4] โอภา วัชระคุปต, ปรชี า บุญจูง, จนั ทนา บุณยะรัตน และ มาลีรกั ษ อัตตสินทอง. 2537. สารตา นอนมุ ลู อิสระ. นนทบุรี, หนา 1,39.[5] ณรงค นิยมวิทย, 2541, อาหารวาง. พมิ พคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พิมพส ุขใจ. ๖๔

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเปน พชื เศรษฐกจิ คร้งั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑบ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การพฒั นากระดาษใบบัวอดั แหงสาํ หรบั ใชใ นงานประดษิ ฐ Development of Dry,Pressed Natural Lotus Leaf Paper for Art and Crafts สุภา จุฬคุปต (Supa Chulacupt) คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี บทคดั ยอ งานวิจยั นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พือ่ ศึกษาการพัฒนาการผลิตกระดาษใบบัวอัดแหงเพ่ือใชในงานประดิษฐ และเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑงานประดิษฐจากกระดาษใบบัวอัดแหง โดยการแชในสารกลีเซอรีน (Glycerine) ที่มีความเขมขนของกลีเซอรีนตอนํ้าในอัตราสวน 1 ตอ 3 และแชนาน 1 วัน 3 วัน และ 5 วัน ตามลําดับ หลังจากนั้นนาํ ไปทาํ ใหแหงดว ยการตากแดด และการอบแหงดว ยเคร่ืองอบลมรอนแบบ Tray dry ลักษณะของใบบัวอัดแหงทีไ่ ดจะมีความสวยงาม ความออ นนมุ และแหง เหมาะสมในการนาํ มาทาํ ผลติ ภณั ฑงานประดิษฐ จากการศึกษาคุณลักษณะที่ตองการใบบัวอัดแหงจากผูเชี่ยวชาญจํานวน 10 คน ผูเชี่ยวชาญสวนใหญเลอื กกระดาษใบบวั อัดแหง ทีแ่ ชส าร 3 วัน และอบแหงดวยเคร่ืองอบลมรอน แบบ Tray dry การทดสอบความหนา Teclock ( มิลลิเมตร) พบวา กระดาษใบบัวอัดแหงธรรมชาติ (ใบบัวสดนํามาอัดแหง ไมไดแชสาร มีความหนาเฉลี่ย 0.342 มม. ซึ่งมีความหนามากกวากระดาษใบบัวอัดแหงทุกชนิด แตจะมีความกรอบ ขาดงาย สีไมสวย ขนาดท่วี ัดความหนารองลงมาคอื กระดาษใบบวั อัดแหง ที่แชสาร 1 วัน และตากแดด ความหนาเฉลี่ย 0.321มม. และขนาดท่ีบางที่สุดคือ กระดาษใบบัวอัดแหงที่แชสาร 3 วัน และตากแสงอาทิตย วัดความหนาเฉล่ีย0.133 มม. ดัชนีความตานทานแรงดันทะลุเทากับ 1.57 kg/cm2 สวนคาดัชนีความตานทานแรงฉีกขาดเทากับ36.80 mN.m2/g. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของผบู ริโภคตอ ผลติ ภัณฑก ระดาษใบบัวอัดแหงจํานวน 196 คน ดวยวิธีการสุมตวั อยา งแบบบงั เอญิ วิเคราะหข อ มลู โดยใช คา ความถ่ี คารอยละ และ คาเฉลี่ย พบวาผูบริโภคสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุต่ํากวาหรือเทากับ 30 ป มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา และรองลงมาคือ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีรายไดเฉล่ียตอเดือน 5,001-10,000 บาท ขึ้นไป สําหรับความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑใบบัวอัดแหง พบวาผูบริโภคมีความพึงพอใจตอผลิตภัณฑจากกระดาษใบบัวอัดแหงในดานความแหงไมมีเชื้อราปรากฏ ในระดับมากท่ีสุด (คาเฉล่ีย = 4.67) ในดานความเหมาะสมของผลิตภัณฑ (ใชงานไดจริง (คาเฉล่ีย = 4.25)) รูปแบบผลิตภัณฑ (คาเฉล่ีย = 4.24) พึงพอใจในระดับมาก ในดานความปราณีต (คาเฉล่ีย = 4.20) ความสวยงาม (คาเฉล่ีย = 4.18) ความเหมาะสมในการนํามาทําผลิตภัณฑ(คาเฉล่ีย = 4.17) ความพึงพอใจลักษณะของผลิตภัณฑโดยรวม (คาเฉล่ีย = 4.10) ความสมบูรณของกระดาษใบบัวอัดแหง (คาเฉลี่ย = 4.02) และสีของกระดาษใบบัวอัดแหงก็มีความพึงพอใจในระดับมากเชนเดียวกัน (คาเฉลย่ี = 3.77)คําสําคญั : ใบบวั อดั แหง งานประดษิ ฐ ๖๕

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเ ปน พชื เศรษฐกิจ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบวั วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี Abstract The objective of this research is to conduct an experiment, which leads to developmentof dry, pressed natural lotus leaf for art and craft paper by dipping the paper in diluted glycerin1 : 3 for 1 day, 3 days and 5 days respectively. Later, let it sun-dry and tray-dry. Ten specialists in art and craft evaluated the required characteristics of dry andpressed natural lotus leaf paper. Most preferred the paper that was soaked in glycerin for 3days and sun-dry and tray-dry preservation. The result has shown that natural dry-pressedlotus leaf paper is the thickest with 0.342 mm. However the paper lacks of durability. It iseasily torn off. In addition, the color is rather pale. While 1 day soaked and sun-dry preservedpaper is the second thickest with an average of 0.321mm. Lastly, the 3-day soaked and sun-dry preserved paper is the thinnest, which is 0.133 mm. The paper that was soaked in glycerinfor 3 days and tray-dry preservation has shown that pulling resistance 1.57 kg/cm2 newtonmeter per gram, and durable for tearing resistance index 36.80 mN.m2/g A sample set of 196 customers were selected randomly. Statistics analysis includesfrequency, percentile and average. The study has shown that most customers are female witha bachelor degree, aged 30 and under. The majority are college or high school students. Thesecond large group includes government or state enterprise officials who make between 5,001to over 10,000 baht per month. Customers are most satisfied with dried and mole-freecondition (x̄ = 4.67), practical use (x̄ = 4.25) and product design (x̄ = 4.25). Customers are moresatisfied with the product neatness (x̄ = 4.20), product attractiveness (x̄ = 4.18), productqualification (x̄ = 4.17). Customers are very satisfied with overall product features (x̄ = 4.10),perfection of dry-pressed natural lotus leaf paper (x̄ = 4.02) and the color of dry and pressednatural lotus leaf paper (x̄ = 3.77).Keywords: lotus leaf, dry-pressed, art and crafts บทนํา บัวเปนพืชท่ีทรงคุณคาและมีความสําคัญตอเศรษฐกิจในประเทศไทย อีกท้ังยังเปนพืชประจําจังหวัดปทมุ ธานี นอกจากการขายตน ขายดอกบัวแลว ใบของตนบัวก็จัดเปนสวนที่เหลือทิ้ง แตเราสามารถนํามาพัฒนาใหเกิดประโยชน เกิดรายไดใหแกชุมชนได โดยการนํามาอัดแหงและใชทดแทนกระดาษในงานประดิษฐได โดยการนํามาประดิษฐเปนผลิตภัณฑตางๆ ท้ังนี้ผลิตภัณฑงานประดิษฐยังเปนที่นิยมของผูบริโภคท่ัวทุกมุมโลกดังนั้นการผลิต คนหา วัตถุดิบใหม ๆ จึงมีความจําเปนอยางย่ิง ในการสรางสรรคผลงาน ในอดีตคนไทยเรานิยมนําใบบัวหลวงมาหออาหารเพื่อนําไปทานในขณะที่ออกไปทํางาน ทําไร ทํานา ฯลฯ ใบบัวมักจะเหี่ยวหลังจาก ๖๖

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปน พชื เศรษฐกิจ ครัง้ ท่ี ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบ ัวมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีตัดมาไมนาน ดังนั้นการท่ีเราจะเก็บรักษาใบบัวเพื่อใหนํามาใชงานไดตลอดหรือนํามาประดิษฐชิ้นงานตางๆใหดูสวยงาม และมีผลติ ภัณฑใหมๆเกิดขึ้น อีกท้ังใบบัวเปนใบไมนํ้าที่มีความงามในตัวเอง มีลายเสนใบสวยงาม ควรคาแกก ารนาํ มาประดิษฐเปนงานประดษิ ฐร ปู แบบตางๆกัน ดวยเหตุผลดังกลาว ทําใหผูวิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษาการพัฒนางานใบบัวหลวงเพ่ือใชประดิษฐรูปแบบตางๆ ซ่ึงผลการวิจัยนี้เปนประโยชนตอชุมชนท่ีทําการปลูกนาบัว ในแตละทองถ่ินไดเปนอยางมาก ทั้งนี้เพ่ือเปนการเพ่ิมพูนรูปแบบผลิตภัณฑใหมีความหลากหลาย แปลกใหม ตรงตามความตองการของตลาด และชวยลดปญหาการวางงานในชนบท และเปนการเพ่ิมพูนมูลคาของบัวหลวง พรอมทั้งเปนการเสริมสรางอาชีพใหแก เกษตรกร เพ่ือนําไปพัฒนาตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนใหเขม แข็งใหมีคณุ ภาพตอไป วิธกี ารทดลอง โดยการนําใบบัวหลวงสด มาผานกรรมวิธีการผลิตกระดาษใบบัวอัดแหง โดยการเตรียมใบบัวอัดและทําใหแหง 2 วิธี คือการตากแหงดวยแสงแดดและอบแหงแบบ Tray dry จากน้ันนํากระดาษใบบัวท่ีได มาประดิษฐเปนผลิตภัณฑงานประดิษฐ และศึกษาความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑงานประดิษฐจากกระดาษใบบัวอดั แหง โดยมขี น้ั ตอนการดาํ เนินงานวจิ ยั ดังนี้การวิจยั ครั้งน้มี ีวิธดี ําเนนิ การดังนี้ การพฒั นากระดาษใบบัวอดั แหง - ระยะเวลาในการแชก ลีเซอรนี คอื 1 วนั 2 วนั และ 3 วนั ทาํ การทดลอง 3 ซ้าํ(หมายเหตุ : ตองเลือกใบบวั หลวงทไ่ี มอ อนและไมแกเ กนิ ไป สภาพสมบูรณ ไมมตี าํ หนิ) การผลติ มีขัน้ ตอนดงั น้ี 1. คัดแยกใบบวั เลือกใบท่ีมีขนาดเทา ๆ กัน ลางใหสะอาด ภาพท่ี 1 ใบบวั หลวงที่สมบูรณ 2. นาํ สี 1 ซอง ละลายดว ยนาํ้ รอ น คนใหละลายดแี ลวเติมนํา้ อีกจนครบประมาณ 8-10 ลติ ร 3. นาํ ใบบัวหลวงทเี่ ตรียมไวล งยอ มโดยเพ่มิ ความรอ นขึ้นเรือ่ ยๆจนเดือด ประมาณ 30-45 นาที ภาพที่ 2 การยอ มสใี บบัว ๖๗

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบัวใหเ ปน พืชเศรษฐกิจ ครัง้ ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วนั ท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภัณฑบ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 4. เม่อื ถึงเวลาเอาข้นึ ผง่ึ ใหแหงประมาณ 10 -15 นาที เพ่ือใหสีตดิ ทนและจะไดสีสวย งดงาม 5. นาํ ใบบัวหลวงท่ียอมสีแลว แชกลเี ซอรนี ทม่ี คี วามเขมขน อตั ราสว น 1 : 3 ใชเวลา 1, 2, 3 วัน 6. เม่ือครบกาํ หนด นาํ ใบบัวหลวงที่แชก ลีเซอรนี มาอัด หรอื ทับดวยกระดาษชานออ ย 7. โดยมกี ารทดลอง 2 วิธี คือ อัดแหง โดยการตากแหง ดวยแสงอาทติ ยแ ละอบแหง ดวย Tray dry หลังจากนั้นนํากระดาษใบบัวอัดแหง ไปทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพดานความหนา (Thicknesstester) ทดสอบความตานทานแรงดันทะลุ(Bursting strength) และทดสอบความตานแรงฉีกขาด (Tearingstrength) การทดสอบสมบัติทางกายภาพของกระดาษใบบัวอัดแหง ในการทดสอบใชม าตรฐาน ASTM (American Society for Testing and Materials) ภาพที่ 3 การทดสอบความหนา (Thickness Tester) ภาพท่ี 4 ทดสอบความตานทานแรงดันทะลุ (Bursting Strength Tester) ภาพท่ี 5 การทดสอบความตานแรงฉีกขาด (Tearing Strength) ๖๘

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบัวใหเ ปนพืชเศรษฐกิจ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑบ ัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ผลการทดลองและสรปุ ผล การพัฒนากระดาษใบบัวอัดแหงเพื่อใชในงานประดิษฐ โดยการแชในสารกลีเซอรีน (Glycerine)ท่ีมีความเขมขนของกลีเซอรีนตอน้ําในอัตราสวน 1 ตอ 3 และแชนาน 1 วัน 3 วันและ 5 วัน ตามลําดับ หลังจากนน้ั นําไปทําใหแ หง ดว ยการตากแสงแดด และการอบแหงดวยเครื่องอบลมรอนแบบ Tray dry ลักษณะของใบบัวอัดแหง ทไ่ี ดจ ะมีความสวยงาม ความออนนุม และแหง กระดาษใบบัวอัดแหง นํามาหาคาความหนา (Thickness ) คาดัชนีความตานทานตอการฉีกขาด(Tear index ) ความตานทานแรงดันทะลุ ( Bursting strength) การทดสอบความหนา Teclock ( มิลลิเมตร) ซ่ึงทดลองโดยการตัดใบบัว และกระดาษใบบัวอัดแหงขนาด 16x12 ซม. กําหนดจุดวัด 5 จุด แตละจุดหางกัน 4 ซม.จากการทดลองพบวา กระดาษใบบัวอัดแหงธรรมชาติ ( ใบบวั สดนํามาอัดแหง ไมไ ดแชสาร ) มคี วามหนาเฉลยี่ 0.342 มม. ซง่ึ มีความหนามากกวากระดาษใบบัวอัดแหงทุกชนิด ขนาดท่ีวัดความหนารองลงมาคือกระดาษใบบัวอัดแหงที่แชสาร 1 วัน และตากแสงแดดความหนาเฉล่ีย 0.321 มม. และขนาดท่ีบางที่สุดคือ กระดาษใบบัวอัดแหงที่แชสาร 3 วัน และตากแสงแดดวัดความหนาเฉลี่ย 0.133 มม.ความพงึ พอใจของผบู ริโภคทีม่ ีตอผลิตภณั ฑจากกระดาษใบบวั อัดแหง ผลการวจิ ยั พบวา ผบู ริโภคมีความพึงพอใจตอผลิตภัณฑจากกระดาษใยมะพราวโดยรวม ในระดับมากท่ีสดุ ในดา น วัสดทุ ่ีใชในการตกแตง และสี ( X = 4.80 ) พึงพอใจในระดับมากใน ดา น ความสวยงาม ( X =4.15) รปู แบบผลิตภัณฑ ( X = 4.13) ลักษณะของผลิตภัณฑโดยรวม ( X = 4.13 ) และขนาด สัดสวนของผลิตภัณฑ ( X = 3.59) สวนลักษณะทั่วไปมีความเหมาะสมตอการใชงาน ( X = 2.94) และความคงทนของช้ินงาน ( X = 2.76) ผูบรโิ ภคมคี วามพงึ พอใจในระดบั ปานกลางตารางที่ 1 ความพงึ พอใจของผบู รโิ ภคท่มี ีตอ ผลติ ภณั ฑจ ากกระดาษใบบัวอัดแหงความพึงพอใจตอ ผลิตภัณฑจากกระดาษใบบวั อดั แหง คา รอ ยละ ระดับความพงึ พอใจ คาเฉล่ยี1. รูปแบบผลิตภณั ฑ 73 มาก 4.13 4.152. ความสวยงาม 75 มาก 4.80 2.943. วสั ดทุ ่ใี ชใ นการตกแตง 80 มากท่ีสุด 3.59 4.804. ลักษณะท่วั ไปมคี วามเหมาะสมตอ การใชงาน 66 ปานกลาง 2.76 4.135. ขนาด สัดสว นของผลติ ภณั ฑ 71 มาก6. สี 80 มากทีส่ ดุ7. ความคงทนของช้นิ งาน 64 ปานกลาง8 ลักษณะของผลติ ภัณฑโ ดยรวม 73 มาก ๖๙

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเปนพืชเศรษฐกจิ ครัง้ ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพธิ ภัณฑบวั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ขอวิจารณ และ ขอ เสนอแนะ ลักษณะของใบบัวหลวงจะมีลักษณะเหนียวใชหอของ หออาหารได และจากการศึกษาการพัฒนากระดาษใบบัวอัดแหงสําหรับใชในงานประดิษฐ เพ่ือใหไดลักษณะกระดาษใบบัวอัดแหงที่เหมาะสมในการนํามาทดแทนกระดาษโดยการตม ยอมสีใบบัว แลวแชในสารกลีเซอรีน ซึ่งจะทําใหนุมและมีความสวยงามเพิ่มข้ึน การอบแหงดวยเคร่ืองอบลมรอนแบบ Tray dry ท่ีอุณหภูมิ 70 องศาเซนเซียส เปนเวลา 8 ชั่วโมงความรอนและอณุ หภมู จิ ะสมํ่าเสมอลักษณะของใบบัวอัดแหงที่ไดจะมีความสวยงาม มีความออนนุม และแหงใบบัวอัดแหงที่มีความเหมาะสมในการนํามาทําผลิตภัณฑงานประดิษฐ คือกระดาษใบบัวอัดแหงที่แชสารกลีเซอรนี 3 วัน (เลือกโดยผูเช่ยี วชาญ) ขอเสนอแนะทัว่ ไป 1. ควรมีการสนับสนุนและควรนําไปขยายผลตอไปเพ่ือใหเกิดประโยชนในการทําเปนผลิตภัณฑใหหลากหลาย เพราะเปน การศึกษาวิจัยจากวตั ถดุ บิ ในทอ งถิ่น ท่สี ามารถนํามาสรางมลู คา เพิ่มได 2. งานวิจัยเชิงทดลองและสํารวจยังประโยชนใหกับผูผลิตและผูบริโภคเปนอยางย่ิงโดยที่ผูผลิตจะไดทราบความตองการของผูบริโภคและผูบริโภคก็จะไดสิ่งที่ตรงตอความตองการของตนเชนกัน งานวิจัยประเภทน้ีจึงมีคุณคาและใชประโยชนไดอยางแทจริงและเปนรูปธรรมจึงควรมีการสงเสริมใหนักวิจัยมีโอกาสไดคนควาวจิ ยั ตอไป เอกสารอา งอิงขวญั เรือน. 2547. บวั .ศรสี ยามการพมิ พ. กรงุ เทพฯ.95 น.ขวญั หทัย ศรวี ฑิ ูรย. 2539. การศกึ ษาลักษณะของพืช 4 ชนดิ เพ่อื ใชผลิตเปน ดอกไมแหง. กรุงเทพฯ : คณะ เกษตร. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.คณิตา เลขะกลุ . 2535. บัว ราชนิ แี หง ไมน ํา้ . กรุงเทพฯ:ดานสุทธาการพมิ พ.จารุพนั ธ ทองแถม สภุ าภรณ รอดประดษิ ฐ และ พรเสดจ็ จันทรแ ชม ชอย. ดอกไมแ หง. มลู นิธโิ ครงการหลวงซ.ณฏิ ฐศิริ สุยสุวรรณ. 2542. การแชด อกไมแ ละใบไมใ นสารละลายเคมกี อนและในระหวา งการปก แจกัน. กรุงเทพฯ:มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.มิกิ ไซโต. งานศิลปะจากดอกไมแ หง และวสั ดเุ หลือใช. กรงุ เทพฯ.รัตนาภรณ เทพสนิท และบษุ บา บุญยนื . 2537. การประดิษฐด อกไมอ บแหง .สาํ นกั พมิ พเ พชรกะรัต.กรงุ เทพฯ.วรพาณี จารุนัฏ. 2538. การทําดอกไมโดยวธิ อี ดั แหง . กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.ศิริโรจน ศิรแิ พทย. หนงั สือพิมพเ ดลนิ ิวสฉบบั วันท่ี 6 ส.ค. 2548. ชอ งทางทาํ กนิ : สตฟั ฟดอกไม ตลาดกวา ง เกนิ กวา ที่คิด.ศลี ศริ ิ สงาจติ ร. 2546. ไมดอกพ้นื บานและวิธกี ารท่เี หมาะสมตอ การทาํ ดอกไมแ หง . พิษณุโลก : สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล วทิ ยาเขตพษิ ณุโลก. ๗๐

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปน พชื เศรษฐกจิ ครง้ั ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภัณฑบ ัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีสถาบนั ราชภัฎสวนดสุ ติ . 2541. ดอกบัวกับชีวิตไทย. กรงุ เทพฯ. เนตกิ ุลการพิมพ.สภุ า จฬุ คปุ ต. 2552. เอกสารประกอบการสอนเรื่องวัสดงุ านประดษิ ฐ. วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยเี พื่อ งานประดษิ ฐสรา งสรรค.สาขาวิชาคหกรรมศาสตร คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร.ี ปทมุ ธาน.ีเสนยี  รักษขิตะวนั . 2543. ปลกู บัว. อัมรนิ ทรพร้ินตงิ้ แอนดพับลชิ ชิง่ . กรุงเทพฯ.สํานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ ุตสาหกรรม. 2548. มาตรฐานผลติ ภณั ฑชมุ ชน. กรุงเทพฯ:กระทรวง อุตสาหกรรม.Kym Hatala.1994.The Dried Flower Arranger’s companion. Sing Cheong : Hong Kong. เขาถึงไดท่ี www.archeep.com เขาถึงไดท่ี www.crescentbloom.com เขาถึงไดท ่ี www.ismed.or.th เขาถึงไดท ี่ www.jittraflorist.com เขา ถึงไดท ่ี www.skn.ac.th/skl/skn42/lotus83/index.htm เขาถึงไดท่ี www.tisi.go.th ๗๑

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพืชเศรษฐกิจ ครัง้ ท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบวั วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบ ัวมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี การพัฒนาผลติ ภัณฑข าวเกรียบรากบวั Development of Lotus Root Crispy เลอลกั ษณ เSสtถeยี inรรruตั tน,1L,.1เ,ยDน็ eฤrดmี เkดlมิ aคnลgงั Y11แ. ลaะnนdิภาKพuรnกnลุaณNา.11 Abstract Lotus (Nelumbo nucifera Gaertn.) is a rhizomatous and aquatic perennial widely distributedthroughout tropical regions. It is a well known medicinal plant in Asia and easily found in Thailand.Thai traditional medicine used lotus root to treat high fever, sunstroke, diarrhea, dysentery, cough,dizziness, hypertension, diabetes, and to alleviate tissue inflammation, cancer and liver cirrhosis. Theobjective of this study was to evaluate the levels of lotus root crispy that has the highest level ofacceptable sensory test. Crispy was prepared by 3 levels of lotus root 125 grams, 145 grams and 165grams (23%, 26%, 29%) in 300 grams of crispy recipe. The sensory acceptability was tested by 100consumers. The results of preference sensory evaluation used 9- point hedonic scale. The 145 gramsof lotus root showed the highest score of appearance (7.84), color (7.74), odor (7.60), crispy(7.77), test(7.66), overall liking (7.84) with significant difference (P < 0.05). The study indicated 145 grams of lotusroot in crispy was accepted in all terms of sensory attributes. The future study should be aligned tofind out the best acceptable form of product and modern attractive packaging design to meet theexpectation of all groups of consumers. Keywords : Nelumbo nucifera , Lotus root, Sensoryevaluation, Crispy บทคัดยอบัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaerth.) พืชนํ้าท่ีมีลําตนใตดิน พบเห็นไดทั่วไปในเขตศูนยสูตร และเปนที่รูจักในแถบทวีปเอเชียและไทย ตําราแพทยแผนไทยใชสวนรากบัวในการรักษาอาการตางๆ มากมาย เชน ไขสูง เปนลมทองรวง บิด ไอ วิงเวียน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน อาการอักเสบ มะเร็งและโรคตับอักเสบ วัตถุประสงคการศึกษาเพ่ือทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสของปริมาณรากบัวที่เหมาะสม ที่ใชในการทําผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัวการศึกษาไดทําการทดสอบทางประสาทสัมผัสขาวเกรียบรากบัว ซึ่งใชรากบัวในปริมาณแตกตางกัน 3 ระดับคือ 125,145, 165 กรัม ( 23%, 26%, 29%) ในสวนผสมขาวเกรียบรากบัว 300 กรัม จํานวนผูทดสอบ 100 คน ผลการทดสอบการยอมรับโดยใหคะแนนความชอบ 9 ระดับ พบวาผูบริโภคใหคะแนนความชอบ สูตรท่ีใสรากบัว 145 กรัม(26%) มากที่สุด ท้ังในดานลักษณะปรากฏ (7.84), สี (7.74), กลิ่น (7.60), ความกรอบ (7.77), รสชาติ (7.66), และความชอบโดยรวม (7.84) ซึ่งแตกตางจากสูตรอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P < 0.05) การทดสอบทางประสาทสัมผัสสรุปวาผูบริโภคยอมรับรากบัว 145 กรัม มากที่สุด ในทุกเกณฑการประเมิน การศึกษาในขั้นตอนตอไปควรทดลองหารูปทรงท่ีผบู ริโภคยอมรบั และการออกแบบบรรจภุ ัณฑท่ีสามารถดึงดดู ใจผูบรโิ ภคกลมุ ตา งๆ1คสําาขสาําวชิคาอญั าหา:รแบละัวโภหชลนาวกงาร, รากบัว การทดสอบประสาทสมั ผสั ขา วเกรยี บ ตําบลคลองหก, อําเภอธญั บุรี, จังหวัดปทมุ ธานี, 12110 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร, มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี,1Department of Food and Nutrition, Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Klong 6, Thanyaburi ,Pathumthani, 12110, Thailand ๗๒

การประชมุ วชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปน พชื เศรษฐกิจ ครัง้ ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมืองบัว วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ธิ ภณั ฑบัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี บทนํา บัวหลวง มีช่ือสามัญวา Lotus, Sacred lotus, Egyptian ชื่อวิทยาศาสตร คือ Nelumbo nucifera อยูในวงศ NYMPHACACEAE ช่ือพื้นเมือง ไดแก บุณฑริก ปุณฑริก ปทุม ปทมา โกกระณต สัตตบุษย บัวฉัตรขาว สัตตบงกช บวั ฉตั รชมพู โชค บวั อบุ ล [1] ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร เปน ไมลม ลุก มเี หงาและไหลอยูใตด ิน เหงา จะมีลกั ษณะเปน ทอนยาว มปี ลอ งสีเหลอื งออนจนถึงเหลือง แข็งเล็กนอย ถาตัดตามขวางจะเปนรูกลมๆ หลายรู ไหลจะเปนสวนที่เจริญไปเปนตนใหม ใบเด่ียวรูปโลออกสลับ แผนใบจะชูเหนือนํ้า รูปใบเกือบกลม ขนาดใหญ ขอบเรียบและเปนคล่ืน ผิวใบมีนวล กานใบแข็งเปนหนาม ถาตัดตามขวางจะเห็นเปนรูภายใน กานใบมีน้ํายางขาว เม่ือหักจะมีสายใยสีขาว ใบออนสีเทานวล ปลายมวนงอข้ึนทั้งสองดาน กา นใบจะตดิ ตรงกลางแผนใบ ดอก เดี่ยว มีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม บัวหลวงจะเริ่มบานตั้งแตตอนเชา กานดอกยาวมีหนามเหมือนกานใบ ชูดอกเหนือนํ้า และชูสูงกวาใบเล็กนอย กลีบเล้ียง 4- 5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรือสีเทาอมชมพู รวงงาย กลีบดอกมีจํานวนมากเรียงซอนหลายช้ัน เกสรตัวผูมีจํานวนมากสีเหลือง ปลายอับเรณูมีรยางคคลายกระบองเล็กๆ สขี าว เกสรตัวเมียจะฝงอยูในฐานรองดอกรูปกรวย สีเหลืองนวล ผลรูปกลมรีสีเขียวนวล มีจํานวนมาก ฝงอยูใ นสวนที่เปน รูปกรวย เมือ่ ออ นมสี ีเหลอื ง รูปกรวยน้ี เม่ือเปนผลแกจะขยายใหญข้ึนมสี เี ทาอมเขยี ว ทเ่ี รียกวา \"ฝกบวั \"มีผลสีเขียวออนฝงอยูเปนจํานวนมาก สวนท่ีใช คือ ดีบัว ดอก เกสรตัวผู เมล็ด ไสของเมล็ด ยางจากกานใบและกานดอกเหงา ราก [2] ประโยชนท างอาหาร เมด็ บวั สามารถนาํ มากินไดท้ังสดและแหง เม็ดบัวมีปริมาณสารอาหารที่สําคัญ คือ โปรตีนประมาณ 23 % ซ่ึงสงู กวาขา วถึง 3 เทา และเปน แหลงรวมธาตุของอาหารหลายชนิดดวยกัน เม็ดบัวนํามาประกอบอาหารไดท้ังคาวหวาน เชน สังขยาเม็ดบัว ขนมหมอแกงเม็ดบัว เม็ดบัวเช่ือม สาคูเม็ดบัว รากบัวนิยมนํามาเช่ือมแหงกินเปนของหวาน ไหลบัวสามารถนํามาประกอบอาหารไดท้ังสดและแหง โดยมากจะนํามาแกงสม แกงเลียง ผัดเผ็ดตาง ๆ สายบัวสามารถปรุงอาหารแทนผักไดหลายชนิด ท้ังแกงสมสายบัว แกงสายบัวกับปลาทู ใบออนสามารถนํามากินเปนผักสดแกลมน้าํ พรกิ ตํานานการกินบัว โดยเฉพาะรากบัว ในหลายประเทศทั่วเอเชียมีมายาวนานนับพันปคนจีนดูจะเปนชาติ ท่ีกินบัวกันมาชานานกวาชาติใด เนื่องจากเช่ือวา การกินบัวน้ันเปนมงคลอยางหน่ึงเพราะนอกจากบัว จะเปนสัญลักษณของความบริสทุ ธแ์ิ ลว ยังถือวาบัวเปนสญั ลกั ษณของการเจริญพันธุ มลี กู เต็มบานหลานเตม็ เมอื ง ทั้งยังเปน สญั ลกั ษณค วามงามของเจาสาวในพิธีวิวาหและความรักของบาวสาวดังท่ีผูกพันเหนียวแนน ดังสํานวนไทยที่วา \" ตัดบัวยังเหลือใย \" และเมอื งไทยเราก็มวี ถิ ชี วี ติ ผูกพนั กับสายนํ้า ประวัติการกินรากบัวเปนท้ังอาหารและยา จึงสืบทอดกันมาแตชานานเชนกันคนสมัยกอนใชรากบัว เปนสวนประกอบของยาหมอโบราณเพราะมีสรรพคุณเปนยาเย็น ชวยลดอาการรอนใน อาการไอคนไขทม่ี ไี ขสูง หมอแผนโบราณมักใหด ม่ื นา้ํ ตม รากบัวที่คอนขางเย็น สวนคนปกติใหด่ืมน้ําตมรากบัวแบบอุน ๆ การกินรากบัวดีตออวัยวะภายในโดยดื่มนํ้าตมรากบัววันละ 2 - 3 แกว จะชวยแกอาการผิดปกติในระบบยอยอาหารไดดีเยี่ยม ต้ังแตอาการทองเดิน ไปจนถึงอาการเลือดออกในกระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก และชองทวารหนัก ซ่ึงสังเกตไดจากมีเลือดปนออกมากับอุจจาระ ตลอดจนชวยเจริญอาหาร นอกจากนี้ชวยรักษาอาการเลือดกําเดา เลือดออกตามไรฟน ตลอดจนชวยลดอาการอาเจียนเปนเลือด ทั้งยังกินแกพิษอักเสบ แกปอดบวม และเปนยาชูกําลัง สําหรับคุณคาทางอาหาร รากบัวอุดม ๗๓

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพชื เศรษฐกิจ ครัง้ ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบวั วันที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบ วั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีไปดวยธาตุเหล็กชวยบํารุงโลหิตมีวิตามินบี วิตามินซี ชวยเสริมสรางภูมิคุมกันของรางกายใหแข็งแรง และมีใยอาหารปรมิ าณมาก ชว ยแกอาการทองผูกได [3] นอกจากสรรพคุณท่ีหลากหลายตามตําราโบรํ่าโบราณที่กลาวมาแลว ขอมูลทางโภชนาการและงานวิจัย ยังแสดงวารากบัวเปนอาหารช้ันดี ท่ีอุดมไปดวยสารอาหารที่เปนประโยชน ประกอบไปดวยใยอาหาร ที่ชวยระบบขับถายและชว ยปองกันการเกดิ มะเร็งลาํ ไส ในรากบัวยังพบวิตามินซี, วิตามินบี 1 (ไทอามีน), วิตามินบี 2 (ไรโบเฟลวิน), วิตามินบี3 (ไนอาซิน), วิตามินบี 5, วิตามินบี 6, โฟเลท และแรธาตุ ตาง ๆ เชน ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมแมกนีเซียม ซ่ึงวิตามินเหลานี้จะชวยควบคุมการทํางานของระบบตาง ๆ ของรางกายโดยเปนตัวชวยในการทํางานของเอนไซม ทําใหเซลลทําหนาท่ีไดตามปกติ ไปจนถึงชวยระบบภูมิคุมกันของรางกาย สวนแรธาตุก็เปนสวนประกอบท่ีสําคัญของอวัยวะตาง ๆ ในรางกาย แรธาตุบางชนิดเปนสวนของสารตางๆ ท่ีเก่ียวของกับการเจริญเติบโตในรางกาย เชนฮอรโ มน เฮโมโกลบนิ เอนไซม เปน ตน [4] อกี ทั้งแรธาตุยังชวยในการควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ของรางกายใหทําหนาที่อยางปกติ เชน ควบคุมการทํางานของกลามเน้ือและระบบประสาท การแข็งตัวของเลือด และชวยควบคุมสมดุลของนํ้าในการไหลเวียนของของเหลวในรา งกาย ในรากบัวยังพบ “ฟลาโวนอยด” ซ่ึงเปนสารกลุมโฟลีฟนอล ที่จัดเปนพฤกษาเคมีท่ีมีคุณสมบัติเดน ในการตอตานอนุมูลอิสระท่ีมีประสิทธิภาพสูง จากการศึกษาวิจัยทางคลินิกแสดงใหเห็นวา สารอาหารชนิดนี้สามารถยับย้ังการเจรญิ เตบิ โตของเน้ืองอกและเสน เลอื ดภายในเนอื้ งอกได และยงั ชวยลดความเส่ยี งในการเกิดมะเรง็ อกี ดวย สรรพคณุ ของรากบวั หลวง [5] 1) รากบัวชวยเสรมิ ฤทธิย์ านอนหลับ ทาํ ใหหลบั สบาย โดยมีฤทธไ์ิ มแ รงมากนกั 2) ชวยบาํ รุงกําลัง ใชเปนยาชกู าํ ลงั 3) เหงาหรือรากบวั ใชตม กบั น้ําดมื่ เปนยาแกธาตุไมป กตใิ นเด็ก 4) ชวยเจริญอาหาร ทําใหร สู ึกวาอยากอาหารและกนิ อาหารไดม ากขนึ้ 5) ลดอาการออ นเพลียไดดวย ชว ยใหหายออนเพลีย และสดชืน่ มากขึ้น 6) ชวยลดไข 7) แกอาการไอ มีเสมหะ 8) ชว ยแกอ าการคล่ืนไสอาเจียน 9) ชวยแกอ าการรอนในกระหายนํา้ 10) นํ้ารากบวั ชว ยระงับอาการทองรว ง 11) ชว ยขับปสสาวะ แกป ส สาวะบอ ย 12) รากหรอื เหงามีสรรพคุณชวยหา มเลอื ด ทาํ ใหเลือดหยุดไหล ขาวเกรียบ หมายถึง อาหารวางชนิดหนึ่งที่ทําจากแปงเปนสวนประกอบหลัก อาจมีสวนประกอบของเน้ือสัตวหรอื ผัก หรือผลไมเชน กุง ปลา ฟกทอง เผือก งาดํา งาขาว เปนตน บดผสมใหเขากับเครื่องปรุงรส แลวทําเปนรูปรางตางๆ ตามตองการ นึ่งใหสุก ตัดเปนแผนบางๆ นําไปทําแหงดวยแสงแดดหรือวิธีตามความเหมาะสม อาจทอดกอนบรรจุหรือไมก็ได ขาวเกรียบเปนอีกหนึ่งภูมิปญญาทองถ่ินซึ่งคนไทยสวนใหญ สมัยโบราณนิยมทํารับประทานกันในครัวเรือนขาวเกรยี บท่ีผลิตในแตล ะพื้นที่จะมีรสชาติและกรรมวิธใี นการผลิตท่ีแตกตา งกนั ออกไป การนําสว นของรากบวั ทม่ี ปี ระโยชนทางยาและคุณคาทางโภชนาการมาเปนสวนประกอบในขาวเกรียบ นับเปนการพัฒนาผลิตภัณฑอาหารใหมีคุณคาสําหรับ ๗๔

การประชุมวิชาการ “การพัฒนาบัวใหเปนพชื เศรษฐกจิ ครั้งท่ี ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบ วั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรีผบู รโิ ภค มคี วามเหมาะสมและเปนไปไดส ูงทผ่ี ูบรโิ ภคจะยอมรับในผลิตภัณฑ การศึกษาน้ีจึงมวี ตั ถุประสงคเพ่ือทดสอบการยอมรับทางประสาทสมั ผสั ของขาวเกรยี บรากบัว[6], [7] วิธกี ารทดลอง วิธีการศึกษา โดยทําการทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสของขาวเกรียบฟกทองสูตรมาตรฐาน 3 สูตร ซึ่งในแตละสตู รมสี วนประกอบหลัก คือ แปง มันสําปะหลงั แปง สาลี ฟกทองนึ่ง เกลอื กระเทียม พริกไทย ปริมาณแตกตางกันเพื่อใชเ ปน สูตรมาตรฐาน การประเมินใชผ ทู ดสอบจํานวน 100 คน ซง่ึ มีระดบั คะแนนความชอบของแตล ะปจ จัย ต้ังแต 1-9(Hedonic 9-Point scale test) เพอ่ื คดั เลอื กสตู รมาตรฐานไปทําผลิตภณั ฑขาวเกรียบรากบัว การทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสขาวเกรยี บรากบัว โดยใชร ากบัวในปริมาณท่ีแตกตางกัน 3 ระดับ คือ125 กรมั (23%), 145 กรมั (26%) และ 165 กรัม (29%) ผทู ดสอบจํานวน 100 คน ซึ่งมีระดับคะแนนความชอบของแตละปจจัย ตงั้ แต 1-9 (Hedonic 9-Point scale test) นํามาหาคาเฉลยี่ และเปรยี บเทียบทางสถติ ิ ผลการทดลองและสรุปผล การศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑขาวเกรียบฟกทองสูตรมาตรฐาน 3 สูตร เพื่อคัดเลือกสูตรท่ีเหมาะสม และเปนท่ียอมรับของผูบริโภคมากที่สุด โดยทําการทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผูบริโภค ผลการทดสอบพบวา ขาวเกรียบฟกทองสูตรมาตรฐานท้ัง 3 สูตร (ตารางท่ี 1) ผลคะแนนความชอบดานลักษณะท่ีปรากฏ กลิ่นความกรอบ รสชาติ ความชอบโดยรวม และคะแนนรวมเฉลยี่ มีความแตกตา งกนั อยา งมีนัยสําคญั ทางสถิติ (P < 0.05 ) แตคาคะแนนสี ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P >0.05) ผลการศึกษาพบวาผูบริโภคยอมรับผลิตภัณฑขาวเกรยี บฟกทองสูตรที่ 2 มากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ยดานลักษณะ ท่ีปรากฏ 8.09 ± 0.88, สี7.90 ± 1.01 , กลิ่น 8.06 ±0.96, ความกรอบ 8.22 ± 0.93, รสชาติ 7.98 ± 1.11 , ความชอบโดยรวม 8.06 ± 0.91 และ คะแนนเฉล่ีย 8.07 ±1.16 โดยขาวเกรียบฟกทองสูตรท่ี 2 ประกอบดวย แปงมันสําปะหลัง 250 กรัม, แปงสาลี 25 กรัม น้ําตาล 5 กรัม ,เกลือ 5 กรัม พริกไทย 5 กรัม,กระเทียม 15 กรัม และนํ้ามันพืช 5 กรัม ดังน้ันขาวเกรียบฟกทองสูตรท่ี 2 คือสูตรที่ไดคะแนนการยอมรับจากผูบรโิ ภคมากที่สุด จึงเหมาะสมในการใชทําผลิตภัณฑข าวเกรยี บฟกทองในการทดสอบขน้ั ตอ ไปตารางที่ 1 คะแนนประเมินคณุ ภาพทางประสาทสมั ผัสของผลิตภัณฑขา วเกรียบฟกทอง มาตรฐาน 3 สูตร เกณฑก ารประเมนิ สูตรขา วเกรยี บฟก ทอง สูตร 3 สูตร 1 สูตร 2ลักษณะท่ีปรากฏ∗ 7.85 ± 1.07ab 8.09 ± 0.88 a 7.56 ± 1.30 bสีns 7.75 ± 1.18ab 7.90 ± 1.01 a 7.56 ± 1.21 bกล่นิ ∗ 7.30 ± 1.21b 8.06 ± 0.96 a 7.06 ± 1.17 bความกรอบ∗ 7.95 ± 1.04ab 8.22 ± 0.93 a 7.69 ± 1.19bรสชาต∗ิ 6.81 ± 1.47 b 7.98 ± 1.11 a 6.83 ± 1.25ความชอบโดยรวม∗ 7.12± 1.14 b 8.06 ± 0.91 a 7.07 ± 0.98bคะแนนเฉลีย่ ∗ 6.88 ± 1.38 b 8.07 ± 1.16 a 6.89 ± 1.21bหมายเหตุ : เลขท่ีมอี กั ษรเดยี วในแนวนอนแสดงวา ไมมคี วามแตกตา งกนั อยา งมนี ยั สําคญั ทางสถิติ (P > 0.05 )* หมายถึง มีความแตกตา งกันอยางมีนัยสาํ คัญทางสถติ ิ (P<0.05)ns หมายถงึ ไมม คี วามแตกตา งกนั อยา งมีนัยสําคญั ทางสถติ ิ (P>0.05) ๗๕

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบัวใหเปน พืชเศรษฐกิจ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทุมธานี ... เมอื งบัว วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภณั ฑบ ัวมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี การศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว 3 สูตร โดยใชรากบัวทดแทนฟกทอง ในปรมิ าณท่แี ตกตางกัน 3 ระดับ คือ 125 กรัม (23%), 145 กรัม (26%) และ 165 กรัม (29%) (ตารางท่ี 2) ผลการศึกษาพบวา คาคะแนนความชอบดานลักษณะท่ีปรากฏ สี กลิ่น ความกรอบ รสชาติ ความชอบโดยรวมและคะแนนเฉล่ียมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในทุกเกณฑการประเมิน (P < 0.05 ) ผลการศึกษาแสดงวาผูบริโภคใหคะแนนความชอบผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว ท่ีมีปริมาณรากบัว 145 กรัม (26%) มากท่ีสุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย ดานลักษณะท่ีปรากฏ 7.84 ± 1.25 , สี 7.74 ± 1.22 , กล่ิน 7.60 ± 0.99 , ความกรอบ 7.77 ± 0.99 , รสชาติ 7.66 ± 1.09 ,ความชอบโดยรวม 7.84 ± 0.95 และคะแนนรวม 6.92 ± 0.71 ด้ังนั้นการใชรากบัวทดแทนฟกทอง 145 กรัม เปนปริมาณทีเ่ หมาะสม และเปนทย่ี อมรับของผูบรโิ ภคมากท่สี ุด จงึ ใชในการทําผลิตภณั ฑขา วเกรียบรากบวั สตู รนี้ การศึกษาคุณคาทางโภชนาการของผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว โดยคํานวณคุณคาทางโภชนาการของผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว ตามปริมาณสวนผสมในการทําผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว ที่ผูบริโภคใหคะแนนการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผสั สูงสดุ (ตารางที่ 3) ผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว 1 สูตร มีคุณคาทางโภชนาการดังนี้ พลังงาน 724.4 กิโลแคลอรี่ คารโบไฮเดรต114.8 กรัม โปรตีน 8.9 กรัม ไขมัน 25.8 กรัม ใยอาหาร 14.1 กรัม แคลเซียม 144.4 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 286.4มลิ ลกิ รัม ธาตเุ หล็ก 5.4 มลิ ลิกรัม วิตามินเอ 22.2 I.U. และวติ ามนิ ซี 120.7 มิลลกิ รัมตารางท่ี 2 คะแนนประเมนิ คณุ ภาพทางประสาทสัมผสั ของผลิตภัณฑข า วเกรยี บรากบวั 3 สูตร เกณฑก ารประเมิน สตู รขา วเกรียบรากบวั สูตร 1 สูตร 2 สตู ร 3 125 กรัม(23%) 145 กรัม(26%) 165 กรัม(29%)ลักษณะทป่ี รากฏ∗ 7.65 ± 1.14ab 7.84 ± 1.25 a 7.33 ± 1.25 bส∗ี 7.56 ± 1.11a 7.74 ± 1.22 a 7.16 ± 1.24 bกลน่ิ ∗ 7.76 ± 1.01a 7.60 ± 0.99 a 7.80 ± 0.98 bความกรอบ∗ 7.78 ± 1.15a 7.77 ± 0.99 a 7.12 ± 1.02bรสชาต∗ิ 7.71 ± 0.99 a 7.66 ± 1.09 a 6.94 ± 0.91 bความชอบโดยรวม∗ 7.89± 1.01 a 7.84 ± 0.95 a 7.04 ± 0.90bคะแนนเฉล่ยี ∗ 7.76 ± 0.77 a 6.92 ± 0.71 a 6.48 ± 0.61bหมายเหตุ : เลขทมี่ ีอกั ษรเดยี วในแนวนอนแสดงวาไมมีความแตกตางกันอยา งมีนัยสําคญั ทางสถติ ิ (P > 0.05 )* หมายถึง มคี วามแตกตา งกนั อยางมีนยั สาํ คญั ทางสถิติ (P<0.05)ns หมายถงึ ไมมีความแตกตางกนั อยางมนี ยั สําคญั ทางสถติ ิ (P>0.05) ผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว 1 ช้ิน(100 กรัม) ใหคุณคาทางโภชนาการ ดังนี้ พลังงาน 60.37 กิโลแคลอรี่คารโบไฮเดรต 9.57 กรัม โปรตีน 0.74 กรัม ไขมัน 2.15 กรัม ใยอาหาร 1.18 กรัมแคลเซียม 12.03 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส23.87 มิลลกิ รัม ธาตุเหลก็ 0.45 มิลลกิ รัม วติ ามนิ เอ 1.85 I.U. และวิตามนิ ซี 10.36 มลิ ลิกรมั ๗๖

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเ ปนพืชเศรษฐกจิ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมืองบวั วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบ วั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีตารางที่ 3 การเปรยี บเทยี บคณุ คาทางโภชนาการของขาวเกรยี บรากบัว 1 สูตร และ 1 ชิน้ปริมาณ สารอาหารบรรจุภัณฑ Energy CHO Prot Fat Fiber Ca P Fe Vit.A (Kcal) (g.) (g.) (g.) (g.) (mg.) (mg.) (mg.) (I.U.) Vit.C1 สูตร 724.4 114.8 8.9 25.8 14.1 144.4 286.4 5.4 22.2 (mg.)(3,000 120.7กรัม) 10.361 ชิน้ 60.37 9.57 0.74 2.15 1.18 12.03 23.87 0.45 1.85(100 กรมั )ทม่ี า : คาํ นวณโดยใชตารางแสดงคุณคาอาหารไทยในสว นทีก่ ินได 100 กรมั กองโภชนาการ กรมอนามยัหมายเหตุ : I.U. คอื (International Unit) หนวยสากล การศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสขาวเกรียบฟกทองท้ัง 3 สูตร ผลคะแนนความชอบดานลักษณะท่ีปรากฏ กลิ่นความกรอบ รสชาติ ความชอบโดยรวม และคะแนนรวมเฉลี่ยมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P < 0.05 ) แตคะแนนสี ไมมคี วามแตกตา งกันอยางมนี ัยสําคัญทางสถิติ ผบู รโิ ภคยอมรับผลติ ภัณฑข า วเกรียบฟกทองสูตรท่ี 2 มากที่สุด โดยมีคะแนนเฉล่ียดานลักษณะที่ปรากฏ 8.09, สี7.90, กล่ิน 8.06, ความกรอบ 8.22, รสชาติ 7.98 , ความชอบโดยรวม 8.06 และคะแนนเฉลย่ี 8.07 การศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสของขาวเกรียบรากบัว โดยใชรากบัวทดแทนฟกทองในปริมาณที่แตกตางกัน 3ระดับ คือ 125 กรัม(23%), 145 กรัม(26%) และ 165 กรัม(29%) ผลการศึกษาพบวา คาคะแนนความชอบดานลักษณะที่ปรากฏ สี กลิ่น ความกรอบ รสชาติ ความชอบโดยรวมและคะแนนเฉล่ียมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในทุกเกณฑการประเมิน (P < 0.05 ) แสดงวาผูบริโภคใหคะแนนความชอบผลิตภัณฑขาวเกรียบรากบัว ท่ีมีปริมาณรากบัว 145 กรัม(26%) มากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย ดานลักษณะที่ปรากฏ 7.84, สี 7.74, กลิ่น 7.60, ความกรอบ 7.77 , รสชาติ 7.66 ,ความชอบโดยรวม 7.84 และคะแนนรวม 6.92 การใช รากบัวทดแทนฟกทอง 145 กรัม เปนปริมาณท่ีเหมาะสม และเปนที่ยอมรับของผูบ รโิ ภคมากทสี่ ุด ขอวจิ ารณและขอ เสนอแนะ ผลการทดสอบทางประสาทสัมผัสสรุปวา ผูบริโภคยอมรับขาวเกรียบรากบัวท่ีใสรากบัวในปริมาณ 145 กรัม(26%)มากท่ีสุด ในทุกๆเกณฑการประเมิน ขาวเกรียบรากบัวเปนผลิตภัณฑท่ีมีความแปลกใหม ที่มีรสชาติอรอย รวมท้ังยังมีรากบัวซึ่งเปนสมุนไพรท่ีมีประโยชน และมีสรรพคุณทางเภสัชวิทยามากมาย จึงเหมาะสําหรับเปนอาหารวางทางเลือกอีกรูปแบบหน่ึงสําหรับผูที่ใสใจ และรักสุขภาพ การศึกษาในขั้นตอนตอไปควรทดลองหารูปทรงที่ผูบริโภคยอมรับ การออกแบบบรรจุภัณฑท่ีสามารถยดื อายุการเก็บและมีรปู แบบทีด่ ึงดดู ใจผูบ ริโภคกลมุ ตา งๆ คําขอบคุณ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ๗๗

การประชุมวชิ าการ “การพัฒนาบวั ใหเปนพืชเศรษฐกิจ ครง้ั ที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบวั วันท่ี ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พพิ ิธภัณฑบ ัวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เอกสารอางองิ[1] สปุ ราณี วนิชชานนท, ไมตดั ดอก, กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพเพื่อนเกษตร, 2540.[2] เต็ม สมติ ินันทน, ชอื่ พรรณไมแ หงประเทศไทย ชอื่ พฤกษศาสตร ชอ่ื พื้นเมอื ง, หอพรรณไม กรมปา ไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรงุ เทพฯ, 2523.[3] สมพร เดชกุญชร. 2541. พืชสมุนไพรพนื้ บา น. กรุงเทพฯ: ทริปเพ้ิล เซเวน มัลติเทค.[4] กรมอนามัย. 2544. ตารางแสดงคณุ คา ทางโภชนาการของไทย. กรงุ เทพฯ : กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ .[5] กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ , สมุนไพรไทย-จนี , กรงุ เทพฯ : โรงพิมพก ารศาสนา, 2547.[6] ณรงค นยิ มวทิ ย. อาหารวา ง. พมิ พคร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพส ุขใจ, 2541.[7] สมชาย ประภาวตั . 2534. การทาํ ขา วเกรยี บ. พมิ พครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: แสงแดด,2550. ๗๘

การประชมุ วิชาการ “การพัฒนาบวั ใหเปน พชื เศรษฐกิจ คร้ังที่ ๑๒” ปทมุ ธานี ... เมอื งบัว วนั ที่ ๒๙ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ณ พิพิธภณั ฑบวั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี การศึกษาเชงิ วเิ คราะห : บัวกบั ความสัมพนั ธด า นวิถีชีวติ คนไทยและแนวทางสพู ชื เศรษฐกจิ ของประเทศ An Analytical Study on Relationship of Lotus and Waterlily With The Thai Way of Living And a Path to be an Industrial Crop of The Country จริ วฒั น เพชรรัตน (Jirawat Petcharat) สาขาวิชาภาษาตะวันออก คณะศิลปศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี Faculty of Liberal Arts of Technology Rajamangala University of Technology Thanyaburi Abstract The purpose of this research : Analytical Study on Relationship of Lotus and waterlily withthe Thai Way of Living was aimed at studying the study analyzes the document and questionnairefrom the group in 5 aspects. The 137 bachelor-degree students from Rajamangala University ofTechnology Thanyaburi were the sample of this survey study and analytical study. The outcomes of the research disclosed the following : Lotus related for the longest timewith the Thai way of The Lotus then appeared in Thai expressions, language, literature, idioms,proverbs and aphorisms which expressed the beauty in gods. With regard to the naming, the Thaisbelieved that the names relating to lotus would bring them happiness and prosperity. In addition, thelotus related not only to the sources of knowledge, beliefs, tradition, culture, history and evenmasterpiece created by human being, but also to nutrition and Thai food which were the culturalheritage of the Nation. Concerning the study on how to make lotus become the industrial crop of the country, itwas found there had been some problems and hindrances that farmers encountered and required afull support from the government or departments involved. 71.54% of respondents to thequestionnaires gave priority to the provision of health knowledge to the farmers whereas 52.31% and50% gave second and third priorities to disease and insects affecting lotus; and the farmers’ poorknowledge of lotus respectively.Key Words : Lotus and waterlily, The Thai Way of Living, industrial crop บทคัดยอ การวิจัยเรื่อง การศึกษาเชิงวิเคราะห : บัวกับความสัมพันธดานวิถีชีวิตคนไทย และแนวทางสูพืชเศรษฐกิจของประเทศ มีจุดประสงคเพ่ือศึกษาเร่ืองบัวกับความสัมพันธดานวิถีชีวิตของคนไทย ใน 5 ดาน โดยศึกษาจากเอกสารและใชแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางเชิงสํารวจ ซึ่งเปนตัวแทนกลุมเกษตรกรผูปลูกนาบัว คือ นักศักษาระดับปริญญาตรีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธานี จํานวน 137 คน ผลการวิจัยพบวา “บัว” มีความสัมพันธกับวิถีชีวิตของคนไทยมายาวนาน “บัว” จึงปรากฏอยูในสํานวนภาษาวรรณคดี และวรรณกรรมไทย สํานวน สุภาษิต ปริศนาคาํ ทาย รวมท้ังความเชือ่ เกยี่ วกบั เทพเจา ดานความเชอ่ื เก่ียวกบั การต้ังชื่อ คนไทยเรามีความเชื่อวา ช่ือท่ีเกี่ยวของกับ “บัว” จะอํานวยความสุขความเจริญใหกับตนได นอกจากนี้ “บัว” ยังมีความสัมพันธก บั โภชนาการ อาหารการกินของไทย อันเปน มรดกทางวัฒนธรรมท่เี กา แกที่สดุ อยา งหน่ึงคําสาํ คญั : บัว วถิ ชี วี ติ คนไทย โภชนาการ ๗๙