Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ตามพระราชดำริฯ

รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ตามพระราชดำริฯ

Published by ฺBuengsamphan Digital Library, 2021-11-30 10:15:12

Description: รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด ตามพระราชดำริฯ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

Search

Read the Text Version

ก คำนำ รายงานผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนท่สี าหรับชาวตลาดตามพระราชดารสิ มเด็จพระกนษิ ฐาธิราช เจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ เป็นการรายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี 2564 บรรณารักษ์ ได้รับมอบหมายให้รวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมและสรุปผลการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้เพ่ือเป็น ขอ้ มลู ให้กบั หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องในการวางแผนพัฒนาการดาเนนิ งานต่อไป บรรณารกั ษ์ ขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหาร คณะบคุ ลากรท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนผตู้ อบแบบประเมินทุกทา่ น ท่ี ให้การสนับสนนุ ในการดาเนินกิจกรรมสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี หวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ เอกสารประเมนิ ผลการดาเนนิ กิจกรรม ห้องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ จะสามารถเป็นขอ้ มลู ในการพัฒนาสานักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์ อยา่ งเตม็ รูปแบบตอ่ ไป ห้องสมุดประชาชนอาเภอบงึ สามพนั คณะผจู้ ดั ทา

สำรบัญ ข หน้ำ บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสาคญั 1 วัตถปุ ระสงค์ 2 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการสรุป 2 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั 2 บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 3 ความหมายหอ้ งสมดุ ประชาชน 3 ความหมายการศกึ ษาตลอดชวี ิต 3 ความหมายการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4 การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น 4 หอ้ งสมุดเคลื่อนท่สี าหรบั ชาวตลาดฯ 4 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงานสานกั งาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 5 บทท่ี 3 วิธีกำรดำเนินงำน 7 ข้ันตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) 7 ขั้นตอนการรว่ มกันปฏิบตั ิ ( Do) 7 ขัน้ ตอนการร่วมกนั ประเมนิ ( Check ) 8 ขัน้ ตอนการร่วมปรบั ปรุง ( Act) 8 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ กำรและวิเครำะห์ข้อมูล 9 ผลการจัดกิจกรรมห้องสมดุ เคลอื่ นทส่ี าหรบั ชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสรมิ การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 9 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รำยผล และข้อเสนอแนะ 12 วัตถุประสงค์ 12 เปา้ หมาย 12 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 12 การเก็บรวบรวมข้อมูล 12 สรุปผลการดาเนินการ 13 ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ 13

สำรบัญ ค บรรณำนกุ รม หนำ้ ภำคผนวก โครงการ คาสงั่ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ สรปุ แบบสอบถามความคิดเหน็ ตอ่ การจดั กิจกรรม รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ภาพกจิ กรรม แบบแสดงความคิดเหน็ ของฝา่ ยบริหาร

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ ห้องสมุด(Library) คือสถานที่รวบรวมและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบซ่ึงอยู่ในรูป ของวัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์รวมท้ังฐานข้อมูลต่าง ๆ ซ่ึงต้องอาศัยการสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์โดยมีบรรณารักษ์ เป็นผู้บริหารจัดการและดาเนินงานต่าง ๆ เพ่ือให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุดโดยยึดประโยชน์และความสะดวกสบายของ ผู้ใช้เป็นสาคัญ ห้องสมุดแบ่งออกได้ 5 ประเภท ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุด เฉพาะ หอ้ งสมดุ ประชาชน และหอสมุดแหง่ ชาติ ห้องสมุดประชาชน (Public Library) เป็นสถานที่ให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการหลายระดับหลายวัย เป็นแหลง่ ให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแกป่ ระชาชนทุกเพศ ทกุ วยั และทุกระดับการศึกษา เปน็ แหลง่ สนับสนนุ การ เผยแพรค่ วามรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจัดให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอ่ืน ๆ โดยไม่เสียคา่ บริการใด ๆ เปน็ แหล่งกลางที่จะปลกู ฝังใหป้ ระชาชนมีนิสยั รักการอ่านและการศึกษาคน้ คว้า เปน็ ศนู ยร์ วบรวมข่าวสารและความรู้ ต่าง ๆ ท่ีทันต่อเหตุการณ์และความเคลื่อนไหว ของโลก ท่ีให้พื้นฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็น พื้นฐานของ ความเติบโตทางด้านวัฒนธรรม และสติปัญญา เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมของท้องถิ่น เป็นแหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยการอ่าน หนังสอื เป็นแหล่งสง่ เสริมกิจกรรมทางดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรมของกล่มุ ชนหรือองค์การในสังคม เพ่อื พัฒนาความ เป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสงั คม เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใชห้ นังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ตามความต้องการและสภาพแวดลอ้ มของประชาชน ทรพั ยากรสารสนเทศ สามารถแบ่งออกกว้างๆ ได้ 2 ประเภท ตามลกั ษณะและวัสดทุ ี่ใชใ้ นการบันทึก ได้แก่ วัสดุตีพิมพ์ (Printed Materials) และวัสดุที่ไม่ตีพิมพ์ (Non - Printed Materials) วัสดุตีพิมพ์ จาแนกออกเป็น ประเภทต่าง ๆ ดังน้ี หนังสือท่ัวไป หนังสืออ้างอิง ส่ิงพิมพ์ต่อเนื่อง หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์รัฐบาล วิทยานิพนธ์ จุลสารก ฤตภาค รายงานและวสั ดุตีพิมพ์อื่น ๆ เชน่ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ วสั ดุไม่ตีพิมพ์ แบ่งออกเป็นประเภทได้ดังนี้ โสตวสั ดุ ทัศนวสั ดุ โสตทศั นวัสดุ วัสดยุ ่อส่วน วสั ดุอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้ ดังนั้นเพื่อดาเนินงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของห้องสมุดประชาชน สอดคล้องกับนโยบาย/จุดเน้น การดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ห้องสมุดประชาชนอาเภอบึงสามพันได้จัดทา โครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตปีงบประมาณ ๒๕๖4 เพ่ือให้นักเรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไป อาเภอบงึ สามพันมนี ิสัยรกั การอา่ น เขา้ ถึงทรพั ยากรสารสนเทศ เพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต สรปุ ผลการดาเนินงานกจิ กรรมหอ้ งสมดุ เคลื่อนทสี่ าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นเพอื่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

2 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ สง่ เสริมนสิ ยั รักการอา่ นใหก้ ับนักเรยี น นักศึกษาและประชาชนทั่วไปอาเภอบึงสามพัน 2) เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศ และส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีนิสัยรักการอ่าน นาไปสูก่ ารเรียนรู้ตลอดชวี ิต 1.3 เปำ้ หมำย เชงิ ปริมำณ 1) นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนท่ัวไปอาเภอบงึ สามพัน 300 คน เชงิ คณุ ภำพ 1) นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปอาเภอบึงสามพัน มีนิสัยรักการอ่าน มีโอกาส ในการเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 1.4 เครอื่ งมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในครง้ั น้ี 1. แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม โครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ 2564 1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนอาเภอบึงสามพันมีนิสัยรักการอ่านมีโอกาสในการ เข้าถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศเพื่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ มีนสิ ัยรักการเรียนรตู้ ลอดชีวติ และมคี วามพึงพอใจต่อโครงการใน ระดับมากขึ้นไปร้อยละ 80 สรุปผลการดาเนินงานกจิ กรรมห้องสมดุ เคล่ือนทส่ี าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสรมิ การอ่านเพ่ือการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง การดาเนินการโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 เจา้ หน้าที่ไดศ้ ึกษา เอกสารที่เก่ยี วข้องในประเด็นต่างๆ ดงั น้ี - ความหมายห้องสมุดประชาชน - ความหมายการศกึ ษาตลอดชวี ิต - ความหมายการศึกษาตามอัธยาศัย - การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น - หอ้ งสมดุ เคลื่อนทสี่ าหรบั ชาวตลาดฯ - นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ความหมายห้องสมดุ ประชาชน ห้องสมุดประชาชน (Public Library) เป็นสถานที่ให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการหลายระดับหลายวัย เปน็ แหล่งใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนแก่ประชาชนทุกเพศ ทกุ วยั และทุกระดบั การศึกษา เป็นแหล่งสนบั สนุนการ เผยแพร่ความรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจดั ให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอ่ืน ๆ โดยไมเ่ สยี ค่าบริการใด ๆ เปน็ แหลง่ กลางท่จี ะปลกู ฝังใหป้ ระชาชนมนี ิสยั รักการอา่ นและการศึกษาคน้ คว้า เปน็ ศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ ต่าง ๆ ท่ีทันต่อเหตุการณ์และความเคล่ือนไหวของโลก ท่ีให้พ้ืนฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็น พ้ืนฐานของ ความเติบโตทางด้านวัฒนธรรม และสติปัญญา เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมของท้องถ่ิน เป็นแหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยการอ่าน หนังสอื เปน็ แหล่งสง่ เสริมกิจกรรมทางดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนหรือองค์การในสังคม เพือ่ พฒั นาความ เป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสงั คม เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใชห้ นังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ ได้อยา่ งเต็มที่ ตามความต้องการและสภาพแวดล้อมของประชาชน ความหมายการศึกษาตลอดชีวิต อัมพรพงษ์ กังสนานันท์ (2550) ได้สรุปว่า การศึกษาตลอดชีวิตเป็นกระบวนการท่ีส่งเสริมบุคคลได้รับความรู้ ทกั ษะประสบการณแ์ ละมีความจาเปน็ ทจ่ี ะต้องสง่ เสรมิ บุคคลได้รบั การศึกษาตลอดชวี ิต เพ่ือเรียนรู้ใหเ้ ท่าทันและพัฒนา ตนเองให้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในสังคมโลกทั้งวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเศรษฐกิจสังคมการเมืองและ ชมุ ชนโดยบคุ คลจะได้รบั การศึกษาตลอดชีวติ จากกิจกรรมทจ่ี ัดขนึ้ จากการผสมผสานและเช่ือมโยงกันระหวา่ งการศึกษา ในระบบการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมดุ เคลือ่ นที่สาหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสรมิ การอ่านเพ่ือการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

4 ความหมายการศกึ ษาตามอัธยาศัย การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) หมายถึง การศึกษาท่ีเป็นการจัดสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และปัจจัยให้เก้ือหนุนผู้เรียนเพื่อส่งเสริมให้บุคคลได้เรียนรู้ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส สามารถเรยี นไดต้ ลอดเวลาและเกิดขึ้นในทุกชว่ งวยั ตลอดชวี ติ เพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ติทั้งตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม (บศุ รา นิยมเวช, 2563, น33) การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน การอ่านถือเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการเรียนรู้ ดังน้ันเม่ือสังคมเปล่ียนแปลงไป การอ่านย่อมต้องมีวิวัฒนาการ และเปล่ียนแปลงไปด้วยเช่นกันเทคโนโลยีต่าง ๆ มีอิทธิพล ทาให้สังคมแปรเปล่ียน และมีข้อจากัดมากมายท่ีส่งผลให้ การอ่านของคนไทยลดลง การปรับเปล่ยี นเรื่องการอ่านและการเตรยี มความพร้อม เพ่ือรองรบั เทคโนโลยีในยุคแห่งการ เปลยี่ นแปลงจึงเป็นส่ิงสาคัญ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จะทาให้กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์ในทางตรง คือการพัฒนาทักษะการ อ่านจนเป็นนิสัยรักการอ่าน และประโยชนท์ างอ้อมท่ีมีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ และความสามารถในการช่วยจูงใจ เรา้ ความสนใจต่อหนังสือ และการอ่าน ฝึกทักษะ ทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน พัฒนาความคิดมีเจตคติที่ดีต่อการอ่าน เพลดิ เพลนิ และผ่อนคลายความตงึ เครยี ด อกี ทัง้ ส่งเสริมใหเ้ กิดความสามัคคี เอ้อื เฟือ้ ช่วยเหลอื กัน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ อา่ นทีด่ ตี อ้ งมคี วามเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมายแต่ละช่วงวยั การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านให้มีประสทิ ธิภาพควรมีการ เตรยี มพร้อม และคานึงถึงในเรื่องดังตอ่ ไปนี้ 1. จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องสมุด ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการได้ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เข้าสบู่ รรยากาศของการอ่าน และได้ใกลช้ ดิ กับหนังสือมากยิ่งขึ้น เชน่ จัดนทิ รรศการหนังสือใน โอกาสต่าง ๆ จัดกจิ กรรมเชิญชวนให้อา่ นหนงั สอื อยา่ งสมา่ เสมอ ฯลฯ 2. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเตรียมพร้อมในด้านวิธีการจัดกิจกรรมสื่อและอุปกรณ์เพ่ือให้การจัด กิจกรรมดาเนนิ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยบรรลุตามวตั ถุประสงคข์ องการจัดกิจกรรมทก่ี าหนด 3. การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ต้องเปน็ กจิ กรรมท่ีเร้าใจ และดึงดดู ความสนใจมีความหลากหลาย เพอ่ื ให้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ปฏิบัติอย่างมีความสุขควรเป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ปฏิบัติจริง และสามารถ แสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง 4. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการอ่านของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้การจัด กิจกรรมตอบสนองกับความตอ้ งการ และความสนใจในครัง้ ต่อไปไดอ้ ย่างเหมาะสม 5. จัดสภาพแวดล้อมในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม เพ่ือให้กิจกรรมน่าสนใจแปลกใหม่ และสามารถนาไป ปฏิบัติจริงได้ สรปุ ผลการดาเนินงานกิจกรรมหอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ีสาหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสรมิ การอา่ นเพือ่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

5 ห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ าร มนี โยบายให้ สานักงาน กศน. ดาเนินการจดั ทาโครงการ \"ห้องสมุดเคลื่อนทส่ี าหรับ ชาวตลาด\" ตามพระราชดาาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เริ่มต้ังแต่ปีงบประมาณ 2560 ถึง ปัจจุบัน โดยใช้หลักการมีส่วนร่วม \"ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน\" ซึ่งมีห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดต้นแบบ จังหวัดละ 1 แห่ง และมีห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาดในระดับอาเภอ ตาบล ที่เกิดขึ้นตามความพร้อม ความ เหมาะสม อีกจานวน 350 แห่ง เน่ืองจากเปน็ การสง่ เสริมการอ่านการศึกษาเรียนรู้ \"นงั่ ทไี่ หน อา่ นทีน่ ั่น\" สนองนโยบาย ของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการในปีงบประมาณ 2562 สานักงาน กศน. จึงได้จัดทาโครงการ \"ห้องสมุดเคล่ือนท่ี สาหรับชาวตลาด\" ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อส่งเสริมการอ่านให้กับ ชุมชนชาวตลาดและผู้สนใจท่ัวไป โดยใช้หลักการ มีส่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามความเหมาะสมของแตล่ ะ พ้ืนที่ อันจะก่อให้เกิดพลังชุมชนที่เข้มแข็งในการร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านและเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนเป็น ศูนยก์ ลางการเรยี นรแู้ ละการพัฒนา ตามหลักการ ของขมุ ชน โดยชมุ ชน เพ่ือชุมชนอยา่ งแทจ้ รงิ นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 3. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษา และการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาที่เหมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความ ทันสมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรบั กับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความตอ้ งการ ของผ้เู รยี น และสภาวะการเรยี นรู้ใน สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้สามารถ “เรยี นร้ไู ด้อย่างทัว่ ถึง ทกุ ท่ี ทกุ เวลา” การจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสานักงาน กศน. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ส่งผล กระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศ และมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัสดังกล่าว อาทิ กาหนดให้มี การเว้นระยะห่างทาง สังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของโรงเรยี นและสถาบนั การศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรยี น การสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกาหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่าน สรุปผลการดาเนินงานกจิ กรรมห้องสมดุ เคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสริมการอา่ นเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

6 ระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การส่ือสารแบบทางไกลหรือด้วยวิธี อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในส่วนของสานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงานในภารกิจ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียนรู้เพ่ือรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การแพร่ระบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท หากมีความจาเป็นต้องมาพบ กลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอล์ล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่ หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่ือดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลน์ใน การจดั การเรยี นการสอน ภารกิจตอ่ เนือ่ ง ๑. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอา่ นและพฒั นาศักยภาพ การเรยี นรู้ให้เกิดข้ึน ในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการ บริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วย บริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมดุ ชาวตลาด พรอ้ มหนังสือและอปุ กรณ์เพื่อจัดกจิ กรรม ส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ ทหี่ ลากหลายให้บริการกบั ประชาชนในพื้นที่ตา่ ง ๆ อยา่ งทว่ั ถงึ สมา่ เสมอ รวมท้ัง เสริมสร้างความพร้อมในดา้ นบุคลากร ส่อื อุปกรณ์เพือ่ สนบั สนุนการอ่าน และการจดั กจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอ่าน อยา่ งหลากหลายรปู แบบ 3. ด้านเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 3.2 พัฒนาการเผยแพรก่ ารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยผา่ นระบบ เทคโนโลยีดจิ ิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพ่ือส่งเสริม ให้ครู กศน. นา เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคล่อื นท่สี าหรับชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสรมิ การอ่านเพือ่ การเรยี นร้ตู ลอดชีวิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

7 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำร รายงานผลการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นเพื่อเพ่ิมโอกาสการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ตามโครงการสง่ เสริมการอา่ น เพือ่ การเรียนร้ตู ลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยได้นา PDCA วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คา ไดแ้ ก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบตั ิ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดาเนินการให้เหมาะสม) ดังนี้ 1. ขั้นวำงแผน (Plan) 1. ประชุมบุคลากรกศน.อาเภอบึงสามพนั เพ่ือสรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกบั รปู แบบการจดั กิจกรรม วางแผน 2. บุคลากรร่วมกนั กาหนดเป้าหมายงานการศกึ ษาตามอัธยาศัยหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอบงึ สามพนั และกศน.ตาบล 3. เสนอโครงการเพ่ืออนมุ ัตแิ ละแตง่ ตง้ั คณะทางาน 4. ประสานงานขอใชส้ ถานท่ีในการจัดกิจกรรม และประสานกล่มุ เป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 2. ขน้ั ดำเนนิ กำร (Do) 1. ดาเนินการจัดกิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ตามช่วงระยะเวลา ไตรมาสที่ 3-4ปีงบประมาณ 2564 ช่วงวันท่ี 1 เดือน เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564 สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนท่สี าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสริมการอ่านเพื่อการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

8 2. กิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็ จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอ) เป้าหมายไตรมาส 3 -4 จานวน 300 คน 3. ขน้ั ตอนกำรประเมิน ( Check ) 1. ดาเนินการประเมินผลการโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยใชแ้ บบประเมินความพงึ พอใจ 2. ข้อมูลท่ีเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธีแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ทั้งในรายข้อและ ภาพรวมเทียบกับเกณฑ์ ดงั นี้ 4.51 – 5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยใู นระดบั มากทส่ี ดุ 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู นระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยใู นระดับน้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู นระดบั น้อยทสี่ ดุ ข้อมลู ท่เี ปน็ ความคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะจากแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ใช้วิธีวเิ คราะห์เน้ือเร่ือง (Content Analysis) สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู 1) คา่ รอ้ ยละ 3. สรุปและรายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รายงานผลการดาเนินงานต่อผูบ้ ริหารและบุคลากร กศน.อาเภอบึงสามพัน 4. ข้นั ตอนกำรปรบั ปรงุ (Act) นาผลประเมินความพึงพอใจที่ได้มาทาการวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาแผน ในการปรับปรุงต่อไป เสนอแนะปัญหา แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ขปญั หา และพัฒนาจดุ ท่มี ีอยแู่ ลว้ ให้ดยี ่งิ ข้นึ ไป สรุปผลการดาเนนิ งานกจิ กรรมห้องสมุดเคล่ือนทสี่ าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสริมการอา่ นเพ่อื การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

9 บทที่ 4 ผลการดาเนินการและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลการกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สามารถสรปุ ตามขั้นตอนในการดาเนนิ งาน ดังนี้ ขั้นตอนการรว่ มกันวางแผน (Plan) ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการดาเนินการโดยมีข้ันตอน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงาน บุคลากร กศน. อาเภอบึงสามพัน แล้วขยายผลสู่นักศึกษาภาคีเครือข่าย ได้รับความร่วมมือและ สนบั สนุนการทากิจกรรมเปน็ อย่างดี และนาเสนอผู้บรหิ ารเพ่ือพิจารณาเห็นชอบโครงการ/กิจกรรม ได้รบั การอนุมัติจัด กิจกรรม ผู้รับผิดชอบจึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ และกาหนดแนวทางในการดาเนินการ ติดต่อ ประสานงานเตรยี มความพร้อม กาหนดระยะเวลาในการดาเนนิ การ และวิธีประเมินผล ตามลาดับ ขั้นตอนการรว่ มกันปฏบิ ตั ิ ( Do) การปฏิบัติงานตามแผนงานท่ีวางไว้โดยมีข้ันตอนในการดาเนินงาน คือ การบันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขอ อนุญาตดาเนินการ พบวา่ ไดร้ บั การอนุญาตและให้ดาเนินการ และผลการดาเนนิ การโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการ เรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ระหว่างวันที่ 1 เดือน เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564 ณ ห้องสมุด ประชาชนอาเภอบึงสามพัน กศน.ตาบล อาเภอบึงสามพัน และภาคีเครือข่ายโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็น นักเรียน นักศกึ ษา กศน. และประชาชนท่วั ไป จานวน 300 คน มผี ู้เข้าร่วมโครงการจานวน 302 คน ขนั้ ตอนการว่ มกันประเมิน ( Check ) การประเมินผลการดาเนินการกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยใช้แบบประเมินความพงึ พอใจ พบว่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย ค่าร้อยละ จากแบบประเมินความพึงพอใจ โดยแปลความหมาย ดงั ต่อไปน้ี 4.51 - 5.00 หมายความว่า ระดบั ความพึงพอใจ ในระดบั มากทส่ี ุด 3.51 – 4.50 หมายความวา่ ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มาก 2.51 - 3.50 หมายความว่า ระดบั ความพึงพอใจ ในระดบั ปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายความว่า ระดบั ความพงึ พอใจ ในระดับ พอใช้ 1.00 - 1.50 หมายความวา่ ระดับความพงึ พอใจ ในระดับ ปรับปรุง สรุปผลการดาเนินงานกจิ กรรมห้องสมดุ เคลื่อนทีส่ าหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสรมิ การอา่ นเพ่อื การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

10 วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบประเมิน ได้ผลการประเมิน ดงั นี้ ( รายการประเมนิ อาจเปลยี่ นแปลงตามความเหมาะสม) ข้อท่ี รายการ (X) (S.D) ระดับความคดิ เห็น 1 รูปแบบกิจกรรมตอบสนองความตอ้ งการของผรู้ บั บริการ 4.47 0.81 มาก 2 กิจกรรมการเรียนรู้ทาให้เขา้ ใจงา่ ย 4.42 0.86 มาก 3 ส่ือ/วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทากิจกรรมมีความเหมาะสม 4.47 0.79 มาก 4 ระยะเวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.49 0.78 มาก 5 เนอื้ หาของกิจกรรม เหมาะกับระดบั ความรู้ความสามารถ 4.45 0.78 มาก ของผรู้ บั บรกิ าร 6 ผู้รบั บริการไดร้ บั ความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะตามเนื้อหา 4.44 0.81 มาก และกจิ กรรมการเรียนรู้ 7 วิธีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เหมาะสมกบั เนือ้ หา 4.45 0.83 มาก 8 ผรู้ ับบรกิ ารมีความสนุกสนานในการทากจิ กรรม 4.41 0.78 มาก 9 ผูร้ ับบริการนาความรู้ที่ไดจ้ ากการทากจิ กรรมไปใช้ใน 4.44 0.90 มาก ชีวิตประจาวนั ได้ เฉล่ยี 4.46 มาก จากตาราง พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงลาดับความพอใจจากมากที่สุดไป น้อยท่ีสุด ดังน้ี ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจมากท่ีสุดระยะเวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม( X= 4.49 ,SD = 0.78 ) รองลงมาคือ สื่อ/วัสดอุ ปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในการทากิจกรรมมีความเหมาะสม ( X= 4.47 ,SD = 0.79 ) รองลงมาคือรูปแบบกิจกรรมตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ( X= 4.47 ,SD = 0.81 ) รองลงมาคือเนอื้ หาของกิจกรรม เหมาะกบั ระดับความรู้ความสามารถของผรู้ บั บริการ ( X= 4.45 ,SD = 0.78 ) รองลงมาคือ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา( X=4.45 ,SD = 0.83 ) รองลงมาคอื ผรู้ ับบริการไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจและทักษะตามเนื้อหาและกจิ กรรมการเรียนรู้ ( X=4.44,SD = 0.81 )รองลงมาคือผู้รับบริการนาความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรมไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได(้ X=4.44 ,SD = 0.90 )รองลงมาคอื กิจกรรมการเรียนรู้ทาให้เข้าใจง่าย( X=4.42 ,SD =0.86 ) นอ้ ยที่สดุ คอื ผรู้ ับบริการมคี วามสนกุ สนานในการทากิจกรรม ( X=4.41 ,SD = 0.78 ) ตามลาดับ สรุปผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมดุ เคล่อื นท่ีสาหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสริมการอา่ นเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

11 ข้ันตอนการร่วมปรบั ปรงุ ( Act) เม่ือประเมินผลแล้วจึงได้จัดทาสรุปผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะกลุ่ม งานผู้รับผิดชอบและได้นาสารสนเทศท่ีได้นาเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ และนาผลการทาเนนิ งานมากปรบั ปรุงพัฒนาการงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขึ้น เครื่องมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในครัง้ น้ี 1. แบบประเมินความพึงพอใจ โครงการส่งเสรมิ การอ่านเพ่ือการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบึงสามพนั การเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดังน้ี 1. ผ้จู ัดโครงการแจกแบบประเมินความพงึ พอใจให้กับกลุ่มเป้าหมาย/ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม กิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบงึ สามพนั สรุปผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนทสี่ าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสริมการอ่านเพอื่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

12 บทท่ี 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ ผลการจดั กจิ กรรมห้องสมุดเคลอื่ นท่สี าหรบั ชาวตลาดตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสรมิ การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ไดผ้ ลสรปุ ดงั นี้ 1. วัตถุประสงค์ 2. เป้าหมาย 3. เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. สรุปผลการดาเนินการ 6. ขอ้ เสนอแนะ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมนสิ ยั รักการอา่ นใหก้ บั นกั เรยี น นักศึกษาและประชาชนทว่ั ไปอาเภอบึงสามพนั 2. เพอื่ สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ สารสนเทศ และสง่ เสริมสนับสนนุ ใหผ้ ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม มีนิสัยรักการอ่าน นาไปส่กู ารเรยี นรตู้ ลอดชีวติ เปา้ หมาย เชิงปริมาณ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไปอาเภอบึงสามพนั 300 คน เชิงคณุ ภาพ นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชนท่วั ไปอาเภอบึงสามพัน มีนิสัยรกั การอ่าน มีโอกาส ในการเขา้ ถึงทรัพยากรสารสนเทศเพ่ือการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในคร้งั นี้ 1. แบบประเมินความพึงพอใจ โครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบงึ สามพนั การเก็บรวบรวมข้อมูล มีข้ันตอนในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังน้ี 1. ผ้จู ัดโครงการแจกแบบประเมนิ ความพึงพอใจให้กบั กลุม่ เปา้ หมาย/ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม สรปุ ผลการดาเนินงานกจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลื่อนทสี่ าหรับชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสริมการอา่ นเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

13 กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสรมิ การอ่านเพ่ือการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบึงสามพนั สรุปผลการดาเนนิ การ 1. ได้ดาเนินการจดั กจิ กรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการสง่ เสริมการอา่ นเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 โดยดาเนนิ การแล้วเสร็จและสรปุ รายงานตอ่ ผูบ้ รหิ ารท้ังสิ้น จานวน 1 กิจกรรม คอื กจิ กรรม หอ้ งสมดุ เคล่ือนท่ีสาหรบั ชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2. ผลการดาเนนิ การกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนทส่ี าหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ไตรมาส 3-4 มผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม จานวน 302 คน สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจดั กจิ กรรมทุกกิจกรรมที่จดั ขึ้นภายใต้โครงการส่งเสริมการอา่ นเพ่ือการเรยี นรู้ ตลอดชวี ิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สาเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดจี ากการสอบถามความพึงพอใจของผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องใน กจิ กรรม พบวา่ ผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้องส่วนใหญ่มีความความคิดเหน็ ต่อการจัดกจิ กรรมโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ปัญหา/ข้อเสนอแนะ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ต้องปรับเปล่ียนรูปแบบการจัด กจิ กรรม จากมาตรการการงดดาเนินกิจกรรมของคนหมู่มาก ท้ังทีโ่ ลง่ หรอื จดั พเิ ศษ การเวน้ ระยะห่างทางสังคม การสวม หนา้ กากอนามัยตลอดเวลา การวดั อุณหภูมิ การลา้ ง มอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ สรุปผลการดาเนินงานกิจกรรมห้องสมดุ เคลอ่ื นท่สี าหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสริมการอา่ นเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

บรรณานุกรม บุศรา นิยมเวช. (2563). บทบาทของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในเขต กรงุ เทพมหานครต่อการสรา้ งการมสี ่วนรว่ มและเครือข่ายการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคาแหง สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.(2564).นโยบายและจุดเน้นการ ดาเนนิ งานสานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564.กรงุ เทพฯ:สานกั งาน กศน. อมั พร พงษกงั สนานนั ท์. (2550). การพฒั นารูปแบบการจัดการศกึ ษานอกระบบในสถานศึกษาขั้น พ้นื ฐานเพือ่ สงเสริมการศึกษาตลอดชวี ติ . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ

ภาคผนวก

























สรุปแบบสอบถามความพ หอ้ งสมดุ เคลอื่ นทสี่ ลาดบั รายการ 5 1 รูปแบบกจิ กรรมตอบสนองความตอ้ งการของผรู้ ับบริการ 200 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ทาให้เข้าใจงา่ ย 192 3 ส่ือ/วัสดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทา กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 198 4 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 202 5 เนอ้ื หาของกิจกรรม เหมาะกับระดบั ความรู้ความสามารถของผ้รู ับบริการ 189 6 ผูร้ ับบริการไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจและทักษะตามเน้ือหาและกจิ กรรมการเรียนรู้ 190 7 วธิ ีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกบั เนอื้ หา 197 8 ผู้รับบริการมคี วามสนุกสนานในการทากจิ กรรม 180 9 ผรู้ ับบริการนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการทากจิ กรรมไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ 196 รวม 195.166667 52.8 รวม 1939.16667 548 N = ผเู้ ข้าร่วมโครงการสง่ เสริมการอา่ นทง้ั หมด ช=20 ญ=282 จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงลาดับค ท่ีสุดระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม( X= 4.49 ,SD = 0.78 ,SD = 0.79 ) รองลงมาคือรูปแบบกิจกรรมตอบสนองความต้องการของผู้รับบ ความรู้ความสามารถของผู้รับบริการ( X= 4.45 ,SD = 0.78 ) รองลงมาคือ วิธ คือ ผู้รับบริการได้รับความรู้ ความเข้าใจและทักษะตามเน้ือหาและกิจกรรมการ กิจกรรมไปใช้ในชีวิตประจาวันได้( X=4.44 ,SD = 0.90 )รองลงมาคือ กิจกรร ความสนุกสนานในการทากจิ กรรม ( X=4.41 ,SD = 0.78 ) ตามลาดบั

พึงพอใจ ตอ่ การจดั กจิ กรรม สำหรบั ชำวตลำด 3-4/2564 ระดบั ความพงึ พอใจ 1 N=ผเู้ ข้าร่วม คา่ เฉลยี่ ร้อยละ S.D ระดบั 432 ทงั้ หมด 302 89.40 0.81 มาก 48 50 4 0 302 4.47 88.41 0.86 มาก 89.47 0.79 มาก 56 43 11 0 302 4.42 89.80 0.78 มาก 88.94 0.78 มาก 50 53 1 0 302 4.47 88.74 0.81 มาก 89.07 0.83 มาก 46 54 0 0 302 4.49 88.28 0.78 มาก 88.74 0.90 มาก 59 54 0 0 302 4.45 89.13 0.81 มาก 889.99 8.15 58 50 4 0 302 4.44 51 49 4 1 302 4.45 68 53 1 0 302 4.41 60 32 10 4 302 4.44 83333 50.66667 3.333333 0 302 4.46 8.8333 488.6667 38.33333 5 44.50 ความพอใจจากมากที่สุดไปน้อยท่ีสุด ดังน้ี ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจ มาก ) รองลงมาคือ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทากิจกรรมมีความเหมาะสม ( X= 4.47 บริการ( X= 4.47 ,SD = 0.81 ) รองลงมาคือเนื้อหาของกิจกรรม เหมาะกับระดับ ธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหา( X=4.45 ,SD = 0.83 ) รองลงมา รเรียนรู้ ( X=4.44,SD = 0.81 )รองลงมาคือผู้รับบริการนาความรู้ท่ีได้จากการทา รมการเรียนรู้ทาให้เข้าใจง่าย( X=4.42 ,SD =0.86 ) น้อยท่ีสุด คือ ผู้รับบริการมี

กจิ กรรมหอ้ งสมดุ เคลื่อนที่สำหรบั ชำวตลำดตำมพระรำชดำริ สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจำ้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ตำมโครงกำรส่งเสรมิ กำรอำ่ นเพอื่ กำรเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ปงี บประมำณ พ.ศ.2564 ณ ตลำดทรพั ยส์ มอทอง ตลำดจอแจ ตลำดนดั ลำตะคร้อ ฯลฯ ตะกร้ำควำมรู้สู้โควิด19

หอ้ งสมดุ ประชำชนอำเภอบงึ สำมพนั จดั กิจกรรมชำวตลำดใสใ่ จสุขภำพตำ้ นภยั โควดิ





ความคิดเห็นของฝ่ายบริหาร ความเห็นผู้อานวยการ กศน.อาเภอบงึ สามพนั ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ลงช่ือ............................................................... (นางสกุ ัญญา กาโกน) ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบึงสามพัน ความเหน็ รองผู้อานวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ............................................................... (ว่าท่ีพนั ตรี ดารหิ ์ ตยิ ะวัฒน์) รองผู้อานวยการ สานกั งาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์ ความเหน็ ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ลงชื่อ............................................................... (นางชนกพร จฑุ าสงฆ์) ผอู้ านวยการ สานักงาน กศน.จงั หวดั เพชรบรู ณ์

คณะผู้จัดทำ ทป่ี รึกษำ 1. นางสุกัญญา กาโกน ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอบงึ สามพนั คณะผู้จดั ทำ 1. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบึงสามพัน 2. นางสาวนสิ าชล แก้วมลู เมอื ง บรรณารักษ์ ระดบั ปฏิบตั ิการ 3. นางสาวอษุ า กงิ่ สีเสียด บรรณารักษจ์ า้ งเหมาบรกิ าร รวบรวม/เรียบเรยี ง บรรณารักษ์ ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร 1. นางสาวนสิ าชล แก้วมูลเมอื ง บรรณารกั ษจ์ า้ งเหมาบรกิ าร 2. นางสาวอษุ า ก่งิ สีเสยี ด บรรณารกั ษ์ ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร ออกแบบปกรปู เล่มและพิมพ์ นางสาวนสิ าชล แกว้ มลู เมอื ง



ก คำนำ รายงานผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนท่สี าหรับชาวตลาดตามพระราชดารสิ มเด็จพระกนษิ ฐาธิราช เจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ เป็นการรายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี 2564 บรรณารักษ์ ได้รับมอบหมายให้รวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมและสรุปผลการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้เพ่ือเป็น ขอ้ มลู ให้กบั หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องในการวางแผนพัฒนาการดาเนนิ งานต่อไป บรรณารกั ษ์ ขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหาร คณะบคุ ลากรท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนผตู้ อบแบบประเมินทุกทา่ น ท่ี ให้การสนับสนนุ ในการดาเนินกิจกรรมสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี หวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ เอกสารประเมนิ ผลการดาเนนิ กิจกรรม ห้องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ จะสามารถเป็นขอ้ มลู ในการพัฒนาสานักงาน กศน.จังหวดั เพชรบูรณ์ อยา่ งเตม็ รูปแบบตอ่ ไป ห้องสมุดประชาชนอาเภอบงึ สามพนั คณะผจู้ ดั ทา

สำรบัญ ข หน้ำ บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสาคญั 1 วัตถปุ ระสงค์ 2 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการสรุป 2 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั 2 บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง 3 ความหมายหอ้ งสมดุ ประชาชน 3 ความหมายการศกึ ษาตลอดชวี ิต 3 ความหมายการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4 การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น 4 หอ้ งสมุดเคลื่อนท่สี าหรบั ชาวตลาดฯ 4 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงานสานกั งาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 5 บทท่ี 3 วิธีกำรดำเนินงำน 7 ข้ันตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) 7 ขั้นตอนการรว่ มกันปฏิบตั ิ ( Do) 7 ขัน้ ตอนการร่วมกนั ประเมนิ ( Check ) 8 ขัน้ ตอนการร่วมปรบั ปรุง ( Act) 8 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ กำรและวิเครำะห์ข้อมูล 9 ผลการจัดกิจกรรมห้องสมดุ เคลอื่ นทส่ี าหรบั ชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสรมิ การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 9 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รำยผล และข้อเสนอแนะ 12 วัตถุประสงค์ 12 เปา้ หมาย 12 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 12 การเก็บรวบรวมข้อมูล 12 สรุปผลการดาเนินการ 13 ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ 13

สำรบัญ ค บรรณำนกุ รม หนำ้ ภำคผนวก โครงการ คาสงั่ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ สรปุ แบบสอบถามความคิดเหน็ ตอ่ การจดั กิจกรรม รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ภาพกจิ กรรม แบบแสดงความคิดเหน็ ของฝา่ ยบริหาร

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ ห้องสมุด(Library) คือสถานที่รวบรวมและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบซ่ึงอยู่ในรูป ของวัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์รวมท้ังฐานข้อมูลต่าง ๆ ซ่ึงต้องอาศัยการสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์โดยมีบรรณารักษ์ เป็นผู้บริหารจัดการและดาเนินงานต่าง ๆ เพ่ือให้บริการแก่ผู้ใช้ห้องสมุดโดยยึดประโยชน์และความสะดวกสบายของ ผู้ใช้เป็นสาคัญ ห้องสมุดแบ่งออกได้ 5 ประเภท ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ห้องสมุด เฉพาะ หอ้ งสมดุ ประชาชน และหอสมุดแหง่ ชาติ ห้องสมุดประชาชน (Public Library) เป็นสถานที่ให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการหลายระดับหลายวัย เป็นแหลง่ ให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแกป่ ระชาชนทุกเพศ ทกุ วยั และทุกระดับการศึกษา เปน็ แหลง่ สนับสนนุ การ เผยแพรค่ วามรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจัดให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอ่ืน ๆ โดยไม่เสียคา่ บริการใด ๆ เปน็ แหล่งกลางที่จะปลกู ฝังใหป้ ระชาชนมีนิสยั รักการอ่านและการศึกษาคน้ คว้า เปน็ ศนู ยร์ วบรวมข่าวสารและความรู้ ต่าง ๆ ท่ีทันต่อเหตุการณ์และความเคลื่อนไหว ของโลก ท่ีให้พื้นฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็น พื้นฐานของ ความเติบโตทางด้านวัฒนธรรม และสติปัญญา เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมของท้องถิ่น เป็นแหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยการอ่าน หนังสอื เป็นแหล่งสง่ เสริมกิจกรรมทางดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรมของกล่มุ ชนหรือองค์การในสังคม เพ่อื พัฒนาความ เป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสงั คม เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใชห้ นังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ตามความต้องการและสภาพแวดลอ้ มของประชาชน ทรพั ยากรสารสนเทศ สามารถแบ่งออกกว้างๆ ได้ 2 ประเภท ตามลกั ษณะและวัสดทุ ี่ใชใ้ นการบันทึก ได้แก่ วัสดุตีพิมพ์ (Printed Materials) และวัสดุที่ไม่ตีพิมพ์ (Non - Printed Materials) วัสดุตีพิมพ์ จาแนกออกเป็น ประเภทต่าง ๆ ดังน้ี หนังสือท่ัวไป หนังสืออ้างอิง ส่ิงพิมพ์ต่อเนื่อง หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์รัฐบาล วิทยานิพนธ์ จุลสารก ฤตภาค รายงานและวสั ดุตีพิมพ์อื่น ๆ เชน่ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ วสั ดุไม่ตีพิมพ์ แบ่งออกเป็นประเภทได้ดังนี้ โสตวสั ดุ ทัศนวสั ดุ โสตทศั นวัสดุ วัสดยุ ่อส่วน วสั ดุอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้ ดังนั้นเพื่อดาเนินงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของห้องสมุดประชาชน สอดคล้องกับนโยบาย/จุดเน้น การดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ห้องสมุดประชาชนอาเภอบึงสามพันได้จัดทา โครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตปีงบประมาณ ๒๕๖4 เพ่ือให้นักเรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไป อาเภอบงึ สามพันมนี ิสัยรกั การอา่ น เขา้ ถึงทรพั ยากรสารสนเทศ เพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต สรปุ ผลการดาเนินงานกจิ กรรมหอ้ งสมดุ เคลื่อนทสี่ าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นเพอื่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

2 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ สง่ เสริมนสิ ยั รักการอา่ นใหก้ ับนักเรยี น นักศึกษาและประชาชนทั่วไปอาเภอบึงสามพัน 2) เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศ และส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีนิสัยรักการอ่าน นาไปสูก่ ารเรียนรู้ตลอดชวี ิต 1.3 เปำ้ หมำย เชงิ ปริมำณ 1) นักเรยี น นกั ศึกษา และประชาชนท่ัวไปอาเภอบงึ สามพัน 300 คน เชงิ คณุ ภำพ 1) นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปอาเภอบึงสามพัน มีนิสัยรักการอ่าน มีโอกาส ในการเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 1.4 เครอื่ งมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในครง้ั น้ี 1. แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม โครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ 2564 1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนอาเภอบึงสามพันมีนิสัยรักการอ่านมีโอกาสในการ เข้าถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศเพื่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ มีนสิ ัยรักการเรียนรตู้ ลอดชีวติ และมคี วามพึงพอใจต่อโครงการใน ระดับมากขึ้นไปร้อยละ 80 สรุปผลการดาเนินงานกจิ กรรมห้องสมดุ เคล่ือนทส่ี าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสรมิ การอ่านเพ่ือการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง การดาเนินการโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 เจา้ หน้าที่ไดศ้ ึกษา เอกสารที่เก่ยี วข้องในประเด็นต่างๆ ดงั น้ี - ความหมายห้องสมุดประชาชน - ความหมายการศกึ ษาตลอดชวี ิต - ความหมายการศึกษาตามอัธยาศัย - การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น - หอ้ งสมดุ เคลื่อนทสี่ าหรบั ชาวตลาดฯ - นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ความหมายห้องสมดุ ประชาชน ห้องสมุดประชาชน (Public Library) เป็นสถานที่ให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการหลายระดับหลายวัย เปน็ แหล่งใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนแก่ประชาชนทุกเพศ ทกุ วยั และทุกระดบั การศึกษา เป็นแหล่งสนบั สนุนการ เผยแพร่ความรู้ การศึกษาและวัฒนธรรม โดยจดั ให้ ประชาชนสามารถใช้หนังสือและวัสดุอ่ืน ๆ โดยไมเ่ สยี ค่าบริการใด ๆ เปน็ แหลง่ กลางท่จี ะปลกู ฝังใหป้ ระชาชนมนี ิสยั รักการอา่ นและการศึกษาคน้ คว้า เปน็ ศูนย์รวบรวมข่าวสารและความรู้ ต่าง ๆ ท่ีทันต่อเหตุการณ์และความเคล่ือนไหวของโลก ท่ีให้พ้ืนฐานทางความคิดของประชาชนโดยส่วนรวม และเป็น พ้ืนฐานของ ความเติบโตทางด้านวัฒนธรรม และสติปัญญา เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมของท้องถ่ิน เป็นแหล่งกลางในการส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และให้รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ ด้วยการอ่าน หนังสอื เปน็ แหล่งสง่ เสริมกิจกรรมทางดา้ นการศึกษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนหรือองค์การในสังคม เพือ่ พฒั นาความ เป็นอยู่ของประชาชนทุกคนในสงั คม เป็นแหล่งท่ีประชาชนสามารถใชห้ นังสือและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ ได้อยา่ งเต็มที่ ตามความต้องการและสภาพแวดล้อมของประชาชน ความหมายการศึกษาตลอดชีวิต อัมพรพงษ์ กังสนานันท์ (2550) ได้สรุปว่า การศึกษาตลอดชีวิตเป็นกระบวนการท่ีส่งเสริมบุคคลได้รับความรู้ ทกั ษะประสบการณแ์ ละมีความจาเปน็ ทจ่ี ะต้องสง่ เสรมิ บุคคลได้รบั การศึกษาตลอดชวี ิต เพ่ือเรียนรู้ใหเ้ ท่าทันและพัฒนา ตนเองให้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในสังคมโลกทั้งวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเศรษฐกิจสังคมการเมืองและ ชมุ ชนโดยบคุ คลจะได้รบั การศึกษาตลอดชีวติ จากกิจกรรมทจ่ี ัดขนึ้ จากการผสมผสานและเช่ือมโยงกันระหวา่ งการศึกษา ในระบบการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมดุ เคลือ่ นที่สาหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสรมิ การอ่านเพ่ือการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

4 ความหมายการศกึ ษาตามอัธยาศัย การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) หมายถึง การศึกษาท่ีเป็นการจัดสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และปัจจัยให้เก้ือหนุนผู้เรียนเพื่อส่งเสริมให้บุคคลได้เรียนรู้ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส สามารถเรยี นไดต้ ลอดเวลาและเกิดขึ้นในทุกชว่ งวยั ตลอดชวี ติ เพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ติทั้งตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม (บศุ รา นิยมเวช, 2563, น33) การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน การอ่านถือเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการเรียนรู้ ดังน้ันเม่ือสังคมเปล่ียนแปลงไป การอ่านย่อมต้องมีวิวัฒนาการ และเปล่ียนแปลงไปด้วยเช่นกันเทคโนโลยีต่าง ๆ มีอิทธิพล ทาให้สังคมแปรเปล่ียน และมีข้อจากัดมากมายท่ีส่งผลให้ การอ่านของคนไทยลดลง การปรับเปล่ยี นเรื่องการอ่านและการเตรยี มความพร้อม เพ่ือรองรบั เทคโนโลยีในยุคแห่งการ เปลยี่ นแปลงจึงเป็นส่ิงสาคัญ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จะทาให้กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์ในทางตรง คือการพัฒนาทักษะการ อ่านจนเป็นนิสัยรักการอ่าน และประโยชนท์ างอ้อมท่ีมีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ และความสามารถในการช่วยจูงใจ เรา้ ความสนใจต่อหนังสือ และการอ่าน ฝึกทักษะ ทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน พัฒนาความคิดมีเจตคติที่ดีต่อการอ่าน เพลดิ เพลนิ และผ่อนคลายความตงึ เครยี ด อกี ทัง้ ส่งเสริมใหเ้ กิดความสามัคคี เอ้อื เฟือ้ ช่วยเหลอื กัน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ อา่ นทีด่ ตี อ้ งมคี วามเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมายแต่ละช่วงวยั การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านให้มีประสทิ ธิภาพควรมีการ เตรยี มพร้อม และคานึงถึงในเรื่องดังตอ่ ไปนี้ 1. จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องสมุด ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการได้ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เข้าสบู่ รรยากาศของการอ่าน และได้ใกลช้ ดิ กับหนังสือมากยิ่งขึ้น เชน่ จัดนทิ รรศการหนังสือใน โอกาสต่าง ๆ จัดกจิ กรรมเชิญชวนให้อา่ นหนงั สอื อยา่ งสมา่ เสมอ ฯลฯ 2. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเตรียมพร้อมในด้านวิธีการจัดกิจกรรมสื่อและอุปกรณ์เพ่ือให้การจัด กิจกรรมดาเนนิ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยบรรลุตามวตั ถุประสงคข์ องการจัดกิจกรรมทก่ี าหนด 3. การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ต้องเปน็ กจิ กรรมท่ีเร้าใจ และดึงดดู ความสนใจมีความหลากหลาย เพอ่ื ให้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ปฏิบัติอย่างมีความสุขควรเป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้ปฏิบัติจริง และสามารถ แสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง 4. ผู้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ควรเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการอ่านของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้การจัด กิจกรรมตอบสนองกับความตอ้ งการ และความสนใจในครัง้ ต่อไปไดอ้ ย่างเหมาะสม 5. จัดสภาพแวดล้อมในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม เพ่ือให้กิจกรรมน่าสนใจแปลกใหม่ และสามารถนาไป ปฏิบัติจริงได้ สรปุ ผลการดาเนินงานกิจกรรมหอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ีสาหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสรมิ การอา่ นเพือ่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

5 ห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด ตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ าร มนี โยบายให้ สานักงาน กศน. ดาเนินการจดั ทาโครงการ \"ห้องสมุดเคลื่อนทส่ี าหรับ ชาวตลาด\" ตามพระราชดาาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เริ่มต้ังแต่ปีงบประมาณ 2560 ถึง ปัจจุบัน โดยใช้หลักการมีส่วนร่วม \"ของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน\" ซึ่งมีห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาดต้นแบบ จังหวัดละ 1 แห่ง และมีห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาดในระดับอาเภอ ตาบล ที่เกิดขึ้นตามความพร้อม ความ เหมาะสม อีกจานวน 350 แห่ง เน่ืองจากเปน็ การสง่ เสริมการอ่านการศึกษาเรียนรู้ \"นงั่ ทไี่ หน อา่ นทีน่ ั่น\" สนองนโยบาย ของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการในปีงบประมาณ 2562 สานักงาน กศน. จึงได้จัดทาโครงการ \"ห้องสมุดเคล่ือนท่ี สาหรับชาวตลาด\" ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อส่งเสริมการอ่านให้กับ ชุมชนชาวตลาดและผู้สนใจท่ัวไป โดยใช้หลักการ มีส่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามความเหมาะสมของแตล่ ะ พ้ืนที่ อันจะก่อให้เกิดพลังชุมชนที่เข้มแข็งในการร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านและเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนเป็น ศูนยก์ ลางการเรยี นรแู้ ละการพัฒนา ตามหลักการ ของขมุ ชน โดยชมุ ชน เพ่ือชุมชนอยา่ งแทจ้ รงิ นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 3. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษา และการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาที่เหมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความ ทันสมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรบั กับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความตอ้ งการ ของผ้เู รยี น และสภาวะการเรยี นรู้ใน สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้สามารถ “เรยี นร้ไู ด้อย่างทัว่ ถึง ทกุ ท่ี ทกุ เวลา” การจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสานักงาน กศน. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ส่งผล กระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศ และมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัสดังกล่าว อาทิ กาหนดให้มี การเว้นระยะห่างทาง สังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของโรงเรยี นและสถาบนั การศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรยี น การสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ท่ีมีผู้เข้าร่วมเป็นจานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกาหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่าน สรุปผลการดาเนินงานกจิ กรรมห้องสมดุ เคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาดฯ โครงการส่งเสริมการอา่ นเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

6 ระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การส่ือสารแบบทางไกลหรือด้วยวิธี อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในส่วนของสานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงานในภารกิจ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียนรู้เพ่ือรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การแพร่ระบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท หากมีความจาเป็นต้องมาพบ กลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอล์ล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่ หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่ือดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลน์ใน การจดั การเรยี นการสอน ภารกิจตอ่ เนือ่ ง ๑. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอา่ นและพฒั นาศักยภาพ การเรยี นรู้ให้เกิดข้ึน ในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการ บริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วย บริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมดุ ชาวตลาด พรอ้ มหนังสือและอปุ กรณ์เพื่อจัดกจิ กรรม ส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ ทหี่ ลากหลายให้บริการกบั ประชาชนในพื้นที่ตา่ ง ๆ อยา่ งทว่ั ถงึ สมา่ เสมอ รวมท้ัง เสริมสร้างความพร้อมในดา้ นบุคลากร ส่อื อุปกรณ์เพือ่ สนบั สนุนการอ่าน และการจดั กจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การอ่าน อยา่ งหลากหลายรปู แบบ 3. ด้านเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 3.2 พัฒนาการเผยแพรก่ ารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยผา่ นระบบ เทคโนโลยีดจิ ิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพ่ือส่งเสริม ให้ครู กศน. นา เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคล่อื นท่สี าหรับชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสรมิ การอ่านเพือ่ การเรยี นร้ตู ลอดชีวิต ปงี บประมาณ พ.ศ.2564

7 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำร รายงานผลการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นเพื่อเพ่ิมโอกาสการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ตามโครงการสง่ เสริมการอา่ น เพือ่ การเรียนร้ตู ลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยได้นา PDCA วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คา ไดแ้ ก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบตั ิ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดาเนินการให้เหมาะสม) ดังนี้ 1. ขั้นวำงแผน (Plan) 1. ประชุมบุคลากรกศน.อาเภอบึงสามพนั เพ่ือสรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกบั รปู แบบการจดั กิจกรรม วางแผน 2. บุคลากรร่วมกนั กาหนดเป้าหมายงานการศกึ ษาตามอัธยาศัยหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอบงึ สามพนั และกศน.ตาบล 3. เสนอโครงการเพ่ืออนมุ ัตแิ ละแตง่ ตง้ั คณะทางาน 4. ประสานงานขอใชส้ ถานท่ีในการจัดกิจกรรม และประสานกล่มุ เป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 2. ขน้ั ดำเนนิ กำร (Do) 1. ดาเนินการจัดกิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาดตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ตามช่วงระยะเวลา ไตรมาสที่ 3-4ปีงบประมาณ 2564 ช่วงวันท่ี 1 เดือน เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564 สรปุ ผลการดาเนนิ งานกิจกรรมห้องสมุดเคล่ือนท่สี าหรบั ชาวตลาดฯ โครงการสง่ เสริมการอ่านเพื่อการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564