Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รู้ทันสื่อ

รู้ทันสื่อ

Published by Inthira Choosithong, 2022-03-13 07:11:58

Description: media literacy

Search

Read the Text Version

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรทู้ นั ส่ือ (Media Literacy Skills) หน้า 1 หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E – book) ทักษะการรู้เทา่ ทันสอ่ื (Media Literacy Skills) ดร. อินทิรา ชศู รที อง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นพิมานทา่ สำนักงานเขตพ้ืนทีการศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 1

หนังสือ Electronic : ทักษะการรูท้ นั ส่ือ (Media Literacy Skills) หนา้ ก คำนำ หนังสอื Electronics เพ่ือพัฒนาทักษะการรู้เทา่ ทันส่อื (Literacy Skills) มีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื มุ่งพัฒนาศกั ยภาพครู ใหม้ ีความรแู้ ละประสบการณใ์ นวิชาชีพในดา้ นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการจดั การเรียนรู้ ทั้งด้านการพฒั นาวชิ าชีพของตนเอง และพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถปฏิบัติโดยการเลือกใช้หรือปฏิเสธขอ้ มูลจากสือ่ ทีอ่ ยบู่ นโลกของยุค Information and Communication Technology ไดอ้ ยง่ เหมาะสม โดยเน้ือหาถกู พฒั นาเป็นหนงั สอื Electronics เพอ่ื ใหค้ รไู ดเ้ รียนรู้ ดว้ ยตนเองได้ทกุ ที่ ในเวลาทีส่ ะดวก โดยเนือ้ หาประกอบดว้ ย 1. การรู้เท่าทนั อนิ เทอรเ์ นต็ 2. การรู้เท่าทันเวป็ ไซด์ 3. การรู้เท่าทนั เกม 4. การรู้เท่าทันมือถอื หวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ นวตั กรรมนี้จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผทู้ ีก่ ำลงั ศกึ ษา และผู้ที่สนใจ เพื่อ นำไปสกู่ ารพัฒนาวิชาชพี ของครู และการศึกษาไทยต่อไป อนิ ทิรา ชศู รที อง

หนังสือ Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั สอื่ (Media Literacy Skills) หนา้ ข สารบญั เรือ่ ง หนา้ ระยะเวลา....................................................................................................................1 วตั ถปุ ระสงค์................................................................................................................1 เน้ือหา ........................................................................................................................1 สอ่ื ประกอบการพฒั นา.................................................................................................. 2 ขั้นตอนการดำเนินการพัฒนา ......................................................................................... 2 บทนำ ........................................................................................................................3 การรู้เท่าทัน สื่อ ICT..................................................................................................................15 1. รู้เทา่ ทนั อนิ เทอรเ์ นต็ ...................................................................................................15 2. การรู้เท่าทนั เวบ็ ไซต์...................................................................................................16 3.รู้เทา่ ทันเกม................................................................................................................19 4. รู้เทา่ ทนั มือถอื ............................................................................................................20 การสบื ค้นข้อมูลบนอนิ เทอรเ์ นต็ ................................................................................................23 1. เครื่องมือเวบ็ บราวเซอรเพอ่ื ทองเว็บไซต์ .....................................................................24 2. วิธีการสบื ค้นข้อมลู โดยใช้สารบนเว็บ......................................................................... 28 2.1 วิธกี ารสบื ค้นข้อมูลบนอินเทอรเ์ น็ต ..................................................................... 28 2.2 ประเภทของ Search Engine............................................................................... 30 3. หลักการค้นหาขอ้ มูลของ Search Engine....................................................................31 4. การสบื ค้นข้อมูลด้วยเวบ็ ไซต์ Google ......................................................................... 35 ความเขาใจการใช้ ict................................................................................................................. 41 1. การสอ่ื สารข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ............................................................... 41 2. ส่อื สงั คมออนไลน์ หรือ Social Media .........................................................................44 3. การวินิจฉยั ความนาเชื่อถอื ของขอมูล .........................................................................45 การใช้ ICT อย่างถูกต้องและเหมาะสม.......................................................................................47 1. กติกามารยาทระเบยี บปฏิบตั ิเกี่ยวกับการใชอนิ เตอรเนต็ .............................................47 2. กฎหลักของมารยาทเน็ต ............................................................................................49 3. กฎหลกั ของมารยาทที่ผู้ใช้อนิ เทอร์เนต็ ไมค่ วรทำ 9 ประการ ...................................... 56

หนงั สือ Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั สอื่ (Media Literacy Skills) หนา้ ค เรือ่ ง หนา้ แหลง่ เรียนรู้เพ่มิ เติม................................................................................................................. 58 กิจกรรมเสริมทกั ษะ ................................................................................................................. 59 วัดความรคู้ วามเขา้ ใจ............................................................................................................... 60 บรรณานุกรม........................................................................................................................... 63

หนังสือ Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั สือ่ (Media Literacy Skills) หนา้ 1 ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ (Media Literacy Skills) ระยะเวลา ศึกษาดว้ ยตนเอง 5 วัน วันละ 2 ชั่วโมง รวม 10 ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้ผู้รับการพัฒนามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการใช้ และสามารถ ใช้ Web browser เพอ่ื ทอ่ ง website ได้ 2. เพ่อื ให้ผู้รบั การพฒั นามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้ Search Engine เพอ่ื คนหาขอมลู จาก internet ได้ 3. เพอ่ื ให้ผู้รับการพฒั นามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้ ICT รวมท้ัง Social Media เพ่อื จดั เก็บ และส่อื สารข้อมูลได้ 4. เพอ่ื ให้ผู้รบั การพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ และประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื ข้อมลู บนเครือขา่ ย internet ได้ เนื้อหา 1. การรู้เทา่ ทนั ส่อื 1.1 การรู้เทา่ ทนั สอ่ื 1.2 การรู้เท่าทัน ICT 1.3 รู้เท่าทนั อินเทอรเ์ น็ต 1.4 การรู้เท่าทนั เว็บไซต์ 1.5 รู้เทา่ ทนั เกม 1.6 รู้เท่าทนั มือถือ 1.7 การสบื ค้นข้อมลู บนอินเทอร์เนต็ 1.8 เครือ่ งมือเวบ็ บราวเซอรเพ่อื ทองเวบ็ ไซต์ 2. การสบื ค้นข้อมลู บนอนิ เทอร์เน็ต 2.1 วิธีการสบื คน้ ข้อมูลโดยใช้สารบนเว็บ 2.2 Search Engine 2.3 การใช้เทคโนโลยีการส่อื สาร

หนังสอื Electronic : ทักษะการร้ทู นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 2 2.4 การส่อื สารข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.5 สอ่ื สงั คมออนไลน์ หรือ Social Media 3. ความเขาใจการใช้ ict 3.1 การวนิ ิจฉยั ความนาเชือ่ ถอื ของขอมูล 3.2 การใช้ ICT อย่างถกู ต้องและเหมาะสม 3.3 กติกามารยาทระเบียบปฏบิ ตั ิเกีย่ วกับการใชอนิ เตอรเนต็ 3.4 กฎหลกั ของมารยาทเนต็ สื่อประกอบการพัฒนา 1. หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพอ่ื พัฒนาทกั ษะดา้ น ICT ของครูยุคใหม่ ชดุ ที่ 3 ทักษะการรทู้ ัน ICT 2. คู่มือการใช้หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพอ่ื พัฒนาทักษะดา้ น ICT ของครูยคุ ใหม่ ชุดที่ 3 ทกั ษะการรทู้ นั ICT ข้นั ตอนการดำเนนิ การพัฒนา การเรียนรผู้ า่ นหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E book) เปน็ การนำเสนอเน้ือหาบทเรียน ผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ เพื่อนำมาใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเชื่อมโยง เป็นเครือขา่ ย มีความยดื หยุ่นเรอ่ื งสถานที่ และเวลา ในการศึกษา ผู้รบั การพฒั นาสามารถ เข้าศึกษาเนื้อหา หรอื บทเรียนได้ตามความต้องการทกุ ที่ทกุ เวลา 1. ศึกษาคู่มือการใชห้ นงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E book) เพอ่ื ทำความ เข้าใจกอ่ นเขา้ ศึกษา เน้ือหา 2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพือ่ ประเมนิ ความรู้ก่อนเรียน 3. ศึกษาบทเรยี น ใหค้ รบทั้ง 5 เร่อื ง พร้อมทำแบบทดสอบ ก่อนเรียนหลงั เรียน ของแต่ละเรื่อง กิจกรรม / เพ่อื ประเมินตนเอง 4. หากไมเ่ ข้าใจบทเรียน สามารถเขา้ ศึกษาเนือ้ หาบทเรียน เพือ่ ทบทวนบทเรยี นได้อีก คร้ัง 5. ทำกิจกรรม ตอบคำถาม และแบบทดสอบหลังเรียน เพอ่ื ประเมินความรู้

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั ส่ือ (Media Literacy Skills) หน้า 3 บทนำ ในยคุ ทีส่ ังคมเต็มไปดว้ ยข้อมลู ขา่ วสารที่เผยแพรผ่ า่ นส่อื ในรปู แบบทหี่ ลากหลาย ท้ังสอ่ื สิง่ พิมพ์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละสอ่ื สมัยใหม่ ซง่ึ สื่อทีบ่ ันทึกและเผยแพรข่ ่าวสารนน้ั มี การ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาใหม้ ีความก้าวหน้าตามกระแสของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร ที่เกิดขนึ้ อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง สื่อเปน็ เสมือนตัวกลางทีน่ ำเสนอความคิด ความรู้ คา่ นยิ มและ ประสบการณ์ใหมใ่ ห้แก่ผู้รบั สาร เนื่องจากการผลติ ส่อื เกิดขนึ้ อยา่ งต่อเนอ่ื งและการเผยแพรส่ าร ผ่านส่อื ในชอ่ งทางต่างๆ ทำให้การบริโภคข้อมูลขา่ วสารผา่ นส่อื จงึ เปน็ ส่วนหนึ่งที่เกีย่ วข้องกบั การ ดำเนินชีวิตประจำวนั และการประกอบอาชีพของประชาชน โดยเนือ้ หาที่มีการนำเสนอผ่านสอ่ื มที ้ัง เน้ือหาทีแ่ สดงออกอย่างเปิดเผยและเนื้อหาทีแ่ ฝงเร้น ประชาชนทีบ่ ริโภคส่อื จงึ จำเป็นต้องมีทกั ษะ การรู้เทา่ ทนั ส่อื เพือ่ ให้สามารถตีความ เข้าใจและประเมนิ สอ่ื ในรูปแบบต่างๆ ได้ โดยเฉพาะส่อื สมัยใหม่ที่มงุ่ เน้นการนำเสนอด้วยภาพ ซึ่งผู้รบั สารจะต้องเลือกและประเมนิ เนือ้ หาของสือ่ ก่อนทีจ่ ะนำไปใช้ สร้างสรรค์สง่ิ ต่างๆ ตอ่ ไป (เทอดศักดิ์ ไมเ้ ทา้ ทอง. 2557, หน้า 75-76) ศตวรรษที่ 21 เปน็ ชว่ งเวลาทีม่ ีการเปลย่ี นแปลงเกีย่ วกับสอ่ื โดยสือ่ ใหม่ (New media) เช่น คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสอ่ื สารเข้ามาแทนทีส่ ื่อดง้ั เดิม (traditional media) เชน่ หนังสอื พมิ พ์ วิทยุ และโทรทัศน์จึงเกิดคำคัพทัใหมค่ ือคำว่า “การรู้เทา่ ทันสอ่ื ใหม่ (New media literacy)” ซึง่ เปน็ ยคุ ทีม่ กี ารเกดิ ขึน้ ของเทคโนโลยีสื่อใหม่ (new media technologies) ในหลากหลาย รูปแบบ เชน่ อินเทอร์เน็ต และเว็บ 2.0 เปน็ ตน้ ความรู้เกี่ยวกบั การรเู้ ท่าทันสอ่ื ทีม่ อี ยเู่ ดิม อาจ ไมเ่ พียงพอสำหรบั บคุ คลทีจ่ ะดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมสอ่ื ใหม่ เนือ่ งจากสื่อใหม่มีความจำเป็นต่อ สังคมมนุษย์ และบคุ คลจำเปน็ ทีจ่ ะต้องหาความรูใหมๆ่ เพื่อใหส้ ามารถดำเนินชีวิตในสภาพ แวดล้อมดังกลา่ วได้ และแม้วา่ การรู้เทา่ ทันสอ่ื จะมีพัฒนาการที่เปลี่ยนไปตามกระแสของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารกต็ าม แต่ Lin, et al. (2013) ได้อธิบายถึงความเหมอื นกนั ในเชิงขอบเขต ความหมายของคำว่า “การรู้เทา่ ทนั ส่อื ” และ “การรู้เทา่ ทันสอ่ื ใหม”่ โดยท้ัง 2 คำมีความเหมือนกัน ในเรื่องของวิธีการทำความเขา้ ใจสื่อ บทบาทของสื่อในสังคมและจุดมุ่งหมายของการรู้เทา่ ทนั สอ่ื (เข็มพร วิรุณราพนั ธ์, Online) ซึ่งประกอบดว้ ย

หนังสอื Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั สื่อ (Media Literacy Skills) หนา้ 4 1. ประเภทของสือ่ ตวั เราลอ้ มรอบไปด้วยสื่อนานาชนดิ สอ่ื แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ ส่ือสิ่งพิมพ์ (Printed Media) ได้แก่ หนงั สอื พมิ พ์ นิตยสาร การต์ นู หนงั สือ เปน็ ต้น ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) ได้แก่ วิทยกุ ระจายเสยี ง วิทยโุ ทรทศั น์ ภาพยนตร์ และ อนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น 2. สื่อมีอิทธพิ ลต่อความคิด ความเชือ่ พฤติกรรม เม่อื ส่อื อยลู่ ้อมรอบตัวเรา เหน็ บอ่ ยๆ ไดย้ ินบ่อยๆ กม็ ีอทิ ธิพลตอ่ ความคิดของเราได้คนจำนวนไมน่ ้อยเม่อื ไดย้ ินคำโฆษณา ผลติ ภณั ฑใ์ นครั้งแรกกค็ ล้อยตาม รีบไปซือ้ หามาใช้ทันที เพราะเชือ่ วา่ ใช้แลว้ คงขาวสวยเหมอื น นางแบบในโฆษณา 3. คนไทยเป็นนักเสพสื่อตวั ยง สำหรบั สถานการณก์ ารอา่ นของเดก็ และเยาวชน ไทยในปจั จบุ ันพบวา่ มกี ารใช้เวลาว่างในการอ่านหนงั สอื น้อยลง ตัวเลขจากการสำรวจของ สำนักงานสถิติแห่งชาตคิ ร้ังลา่ สดุ พบวา่ เดก็ และเยาวชนใช้เวลาอ่านหนงั สอื เฉลย่ี วนั ละ 39 นาที เดิมเคยใช้เวลาอา่ นเฉล่ียวนั ละ 50 นาที แต่หมกมุ่นดูทีวี เลน่ เกม แชท็ ทางมือถอื และเล่น อนิ เทอรเ์ น็ตวันละหลายชวั่ โมง เป็นแนวโน้มทแี่ สดงให้เห็นวา่ เดก็ และเยาวชน หรือแม้กระทงั้ ผู้ใหญ่ ของประเทศเราก็เป็นนกั เสพสื่อตัวยง 4. บทบาทของไอซที ี มเี พ่มิ มากขนึ้ ทกุ ขณะ คงไมม่ ใี ครปฏิเสธว่า เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร หรอื ไอซีทีนั้นเข้ามามีบทบาทในวงการสอ่ื เปน็ อยา่ งมาก กล่าวคือไอซที ี ทำให้เราเข้าถงึ ข้อมูลข่าวสารมหาศาล ไอซีที : ทำใหก้ ระจายข่าวสารได้อย่างรวดเรว็ ไอซที ี : ทำให้ เกดิ การมีสว่ นร่วมในเน้ือหาขอ้ มลู และสารสนเทศ ไอซที ี : ทำใหเ้ ถิดการหลอมรวมส่อื หลาย ประเภทเข้าด้วยกัน ในเมื่อตวั เราลอ้ มรอบไปดว้ ยสอ่ื และส่อื กม็ ีอิทธิพลต่อความคิด ทัศนคติ และ พฤติกรรม คนไทยเรายัง ใช้เวลาจำนวนมากในแต่ละวนั กบั ส่อื ท้ังในแงข่ องการเปิดรบั และการผลติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมือ่ ไอซีที เป็นเครือ่ งมอื ในการเขา้ ถึงและแพร่กระจายเน้ือหาสือ่ อย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว หากไมม่ ีภูมคิ ุ้มกนั ที่ดแี ล้วก็ย่อมตกเป็นเหยือ่ ของการปลูกฝงั ความคิดความเช่ือตามที่ ส่อื หรือผู้ผลติ ไดน้ ำเสนอ การสร้างการรู้เท่าทนั สอ่ื โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชนจึงเปน็ เรื่องสำคัญ ทีผ่ ู้ใหญ่จะต้องหนั มาใหค้ วามสนใจและทำอยา่ งจริงจัง ความสำคญั ของการรเู้ ทา่ ทนั สื่อ

หนังสอื Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั สือ่ (Media Literacy Skills) หนา้ 5 การรู้เทา่ ทนั สอ่ื หรือการศึกษาส่อื มคี วามสำคญั ที่เป็นการใหอ้ ำนาจแก่พลเมอื งใน การสร้างและพัฒนาสมรรถนะ ทัศนคติและทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ตอ่ ความเข้าใจหน้าที่ของสือ่ เพอ่ื ให้เป็น ผู้ทีม่ ีทักษะและความสามารถในการวิเคราะห์ การประเมนิ และการใช้สอ่ื ในการ ประกอบวชิ าชีพ และการดำเนนิ ชีวติ ของบคุ คล (UNESCO, 2010) ซึง่ การที่บคุ คลจะเปน็ พลเมืองที่มีความรบั ผิดชอบ เปน็ แรงงานที่มีประสทิ ธิภาพ เป็นนักศึกษาทปี่ ระสบความ สำเรจ็ ในการศึกษาเลา่ เรียน หรือเปน็ ผู้บริโภคที่มคี วามรอบรู้ ความเขา้ ใจและความ รอบคอบไดน้ ั้น บคุ คลจำเป็นต้องพฒั นาทกั ษะที่ เกี่ยวข้องกับส่อื และสารสนเทศซึง่ มีความ ซบั ซ้อนมากข้นึ ตลอดจนมีความพร้อม ในระดบั ของการ รบั รู้ทีห่ ลากหลายทั้งในต้านความ คิด ความรสู้ กึ และความประพฤตทิ ี่จะช่วยใหเ้ ข้าใจสารที่ได้รบั และใช้ประโยชน์ข่าวสารที่ เผยแพร่ผา่ นเทคโนโลยีในรปู แบบทีห่ ลากหลายได้ (National Association for Media Literacy Education, 2014) และ Masterman (1985) ไดอ้ ธบิ ายถึงความสำคัญ ของการ รู้เท่าทนั สอ่ื ไว้ 5 ประการดงั นี้ ผู้บริโภคส่อื มจี ำนวนมากและมีการครอบงำสังคมโดยส่อื การเผยแพร่ ข่าวสารผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ ในแต่ละวัน เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ เกมออนไลน์ โทรทัศน์เพลง วิทยุ หนงั สอื พมิ พน์ ิตยสาร ป้ายโฆษณา และอินเทอรเ์ น็ต เป็นต้น ซึ่งการมที กั ษะการรู้เทา่ ทนั ส่อื จะชว่ ย ให้ประชาชนมคี วามปลอดภยั จากรปู ภาพ และสารที่นำเสนอผา่ นสอ่ื ดังกลา่ ว อทิ ธิพลของส่อื เปน็ ตัว กำหนดการรบั รู้ ความเชือ่ และทศั นคติ โดยประสบการณส์ ่อื ของบุคคลมผี ลกระทบสำคัญต่อ ความเขา้ ใจ การตีความและการกระทำของบคุ คล ซึ่งการรู้เทา่ ทนั สอ่ื ชว่ ยให้บุคคลสามารถเข้าใจ อทิ ธิพลของสื่อและช่วยแยกบคุ คลออกจากอิทธิพลของสื่อได้ ความสำคัญทีเ่ พิ่มข้ึนของการสอ่ื สารทีเ่ หน็ ได้และสารสนเทศ การดำเนินชีวิตประจำวนั ของประชาชนมกั ได้รบั อิทธิพลจากรปู ภาพทีเ่ หน็ ได้ เช่น ตราสญั ลักษณข์ อง หนว่ ยงาน ป้าย ประกาศขนาดใหญ่ โทรศพั ทม์ ือถอื และเวบ็ ไซตบ์ นอินเทอร์เน็ต การเรียนรู้ วิธีการอ่านส่ิงที่ ต้องการส่อื สารดว้ ยภาพ เปน็ ส่งิ จำเป็นสำหรับการดำเนินชีวติ ในโลกของ สื่อที่มคี วามหลากหลาย ความสำคญั ของสารสนเทศในสังคมและความจำเป็นสำหรบั การเรียนรู้ตลอดชีวิต การประมวลผล สารสนเทศและการบรกิ ารสารสนเทศเปน็ สว่ นสำคัญหลักของผลติ ภาพของประเทศ แตค่ วาม เติบโตของอตุ สาหกรรมสื่อท่วั โลกกำลังเผชิญความทา้ ทาย กับความคิดเห็นทีอ่ ิสระและมมุ มอง ทีห่ ลากหลาย การรู้เทา่ ทนั ส่อื จะช่วยให้ครแู ละนักเรียน สามารถเข้าใจว่าสารสนเทศมาจากไหน และจะค้นหามมุ มองที่เปน็ ทางเลือกอยา่ งไร

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั ส่ือ (Media Literacy Skills) หนา้ 6 1. แนวคิดหลักของการรูเ้ ทา่ ทนั สือ่ การรู้เทา่ ทนั ส่อื มแี นวคดิ ดทม่ี งุ่ ให้ความสำคญั กบั ผู้ผลติ สาร ผู้รับสารและเนอื้ หา ของสาร ซง่ึ นบั เป็นสว่ นสำคัญในการเข้าถงึ การวิเคราะห์ การประเมินและการสร้างสื่อของบคุ คล ซึ่งศนู ย์การรู้เทา่ ทันส่อื (Center for Media Literacy) ไดก้ ำหนดคำถามสำคญั 5 ขอ้ โดยเป็นการ รู้เท่าทนั สอ่ื แบบสบื เสาะ (inquiry-based media literacy) ประกอบด้วย ข้อคำถามที่เกิดจากแนวคิด หลกั 5 ประการ (Five core concepts) ดังรายละเอียดในตาราง ต่อไปนี้ (Center for Media Literacy, 2011) 5 แนวคดั หลัก 5 คำถามหลัก ข้อ คำสำคญั (Keyword) (Five Key Questions) (Five Core Concepts) 1 ความเป็นเจ้าของ เน้ือหาของสื่อทกุ ประเภทเกิด ใครคือผู้สร้างข่าวสารนี้ ผลงาน (Authorship) จากการประกอบสร้าง 2 รูปแบบ (Format) เน้ือหาของสื่อมกี ารประกอบ อะไรคือวิธีการที่ใช้เพือ่ ดงึ ดูด สร้างโดยใช้ภาษาที่เป็นไปตาม ความสนใจของผรู้ บั สาร หลักเกณฑ์ทางภาษา 3 ผู้รบั สาร (Audience) ผู้รับสารทแี่ ตกต่างกนั ผู้รบั สารทแี่ ตกตา่ งกนั มีความเขา้ ใจ มีประสบการณ์กับเนื้อหา ในขา่ วสารทีแ่ ตกต่างกนั อยา่ งไร ของส่ือเดียวกัน ที่แตกต่าง กนั 4 เน้ือหา (Content) ส่ือมีค่านิยมและทัศนคติ อะไรคือรูป แบบการดำเนินชีวิต แฝงอยู่ ค่านิยมและทัศนคติทมี่ ี การนำเสนอ หรือตัดออกจากข่าวสารนี้ 5 จุดมุ่งหมาย (Purpose) ส่อื ส่วนใหญส่ ร้างขนึ้ เพื่อแสวง ทำไมจึงมกี ารเผยแพร่ข่าวสารนี้ หาผลกำไรและหรืออำนาจ จากตารางข้างตน้ จะเหน็ วา่ คำสำคัญทีใ่ ช้แทนแนวคิดเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสอ่ื มีรายละเอยี ดทีส่ ามารถนำไปใช่ในการวิเคราะห์สือ่ ดงั นี้

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรูท้ นั สือ่ (Media Literacy Skills) หน้า 7 1.1 ความเป็นเจา้ ของผลงาน (Authorship) เปน็ แนวคิดเกี่ยวกับการพิจารณา การประกอบสร้าง (Constructedness) และตัวเลือก (Choice) โดยการประกอบสร้าง เกี่ยวขอ้ งกบั ความเขา้ ใจว่าเนือ้ หาของสื่ออาจมีการนำเสนอที่ไมเ่ ปน็ กลาง ซ่งึ มีการนำเสนอ ผ่านสื่อต่างๆ เชน่ ข่าวโทรทัศนป์ ็ายประกาศ ใบปลวิ เปน็ ต้น โดยผู้เขียนเนือ้ หาอาจเป็น คนเพยี งคนเดียวหรือหลายคน ส่วนตวั เลือกเกีย่ วข้องกับเนอื้ หาของสื่อทีไ่ ดผ้ ่านการ คดั เลอื กใหเ้ ผยแพร่ซึ่งอาจมีเนื้อหาเพียง บางสว่ นทีไ่ ด้รบั เลือกให้เผยแพรเ่ ทา่ นนั้ 1.2 รูปแบบ (format) เป็นแนวคิดเกี่ยวกับการสำรวจรูปแบบของเนื้อหาของสื่อ และวิธกี ารประกอบสร้างมีองค์ประกอบที่ใชร้ ว่ มกนั คือ คำ ดนตรี สี การเคสอ่ื นไหว มมุ กล้องและ อ่นื ๆ ซง่ึ รูปแบบการส่อื สารขนึ้ กบั ภาษาเชิงสรา้ งสรรค์ (Creative language) เปน็ การสอ่ื สารจากสืง่ ที่เห็น เช่น แสงสว่าง การจัดวางองคป์ ระกอบ มุมกล้อง การแก้ไข การใช้อปุ กรณป์ ระกอบฉาก ภาษาทา่ ทาง สัญลักษณ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งสามารถสื่อความ หมายทหี่ ลากหลาย และสร้างความ เข้าใจไวยากรณ์ ความสมั พันธ์และระบบคำอปุ มาของสือ่ โดยเฉพาะภาษาทีม่ องเหน็ (Visual language) ผู้รับสาร (Audience) เปน็ แนวคิดเกี่ยวกบั การมปี ฏิสัมพนั ธข์ องผู้รบั สารกบั สือ่ ที่ใช้ใน การดำเนินชีวิต ซึง่ ความแตกตา่ งทางความคิดมีอิทธิพลตอ่ การตีความเนื้อหา ของส่อื ทีห่ ลากหลาย และความคิดทีค่ ล้ายกนั จะสร้างความเข้าใจใหเ้ กิดขนึ้ ได้ บุคคลแต่ละคนรบั สารจากสื่อทีแ่ ตกต่าง กนั โดยข้ึนกับประสบการณข์ องบุคคล เชน่ อายุ เพศ การศึกษา การอบรมเลยี้ งดู เปน็ ต้น การให้ ความสำคญั ในการสร้างการตีความเน้ือหาของสือ่ เพื่อประเมินขา่ วสารจนนำไปสู่การยอมรบั หรือ ปฏิเสธ การตีความที่หลากหลายทำให้เกิดการสร้างการยอมรบั และการเคารพในวฒั นธรรมที่ ต่างกนั และการตระหนกั ถึงความสำคญั ในความคิดเห็นของคนสว่ นน้อย โดยเฉพาะในโลกที่มี ความหลากหลายทางวฒั นธรรมเพม่ิ ขนึ้ แนวคดิ นี้ให้ความสำคญั ต่อความเขา้ ใจวา่ ผู้ผลติ ส่อื กำหนด กลมุ่ เป้าหมายของประชากร ทีม่ ีความแตกต่างกนั อย่างไร โดยการตีความของแต่ละคนอาจ แตกตา่ งกัน แตผ่ ู้รบั สาร ต้องคิดผ่านการประกอบสร้างของเนื้อหาของสื่อและยืนยนั การตคี วาม ดว้ ยหลกั ฐาน 1.2.1 เนื้อหา (Content) เป็นแนวคิดเกี่ยวกับเน้ือหาของสื่อทีผ่ า่ นการประกอบ สร้างและเป็นตวั เลือกที่สะท้อนคา่ นยิ ม ทศั นคติและมุมมองของบุคคลในการประกอบสร้าง ซง่ึ สิง่ เหล่านีแ้ ฝงอยู่ในรายการโทรทัศน์ ภาพยนตรแ์ ละโฆษณา สามารถระบแุ หลง่ ทีเ่ ปน็ ทางเลือกท้ัง ขา่ วสารและความบันเทิง และประเมนิ ตวั เลือกทีม่ ีค่านยิ มแฝงอยู่ ผู้รบั สารต้อง มิทกั ษะการตั้ง

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั สือ่ (Media Literacy Skills) หน้า 8 คำถามและระบุคำนยิ มที่ชัดเจนและค่านิยมทีซ่ อ่ นเร้นในการนำเสนอผ่านสอ่ื ทั้งที่เป็นข่าวสาร ความบนั เทิงและ อนิ เทอร์เน็ตซึง่ จะชว่ ยให้ผู้รบั สารสามารถตดั สินใจ อยา่ งชาญฉลาดในการ ยอมรับหรือปฏิเสธข่าวสารทั้งหมดได้ 1.2.2 จดุ มุง่ หมาย (Purpose) เปน็ แนวคิดเกี่ยวกับการพิจารณาทีเ่ หตุจงู ใจ (Motive) และจดุ มงุ่ หมายของเน้ือหาของสื่อ เนือ่ งจากข่าวสารผา่ นสอ่ื อาจมิอทิ ธิพลจากเงิน ความ เปน็ อิสระและอดุ มการณ์ แตผ่ ู้รบั สารจะต้องพิจารณาวตั ถุประสงคเ์ ชิงเนื้อหาที่มีลกั ษณะ เป็นการ แจ้งให้ทราบ การโน้มนา้ วหรือความบันเทิง ซง่ึ สอ่ื จำนวนมากมกั สร้างขนึ้ ในเชิงธุรกิจ เห็นได้จากส่อื หนังสอื พมิ พ์และนิตยสารที่ให้ความสำคญั กบั การลงโฆษณาเปน็ ลำดับแรก ซึง่ ประชาชนโดยทัว่ ไป ต้องการให้สือ่ กำหนดจุดมุ่งหมายท้ังมุ่งเน้นผลทางธรุ กิจ และอดุ มการณค์ วบคู่กนั ไป บจั จบุ ัน เรามีการปริโภคสอ่ื ท้ังสอ่ื สงั คมออนไลน์ (social media) โทรทศั นว์ ทิ ยุ หนังสอื พมิ พ์ ภาพยนตร์ ซึง่ ต้องยอมรบั วา่ จำเปน็ ต้องมีการดแู ลข่าวสารเพ่อื การดำเนิน ชีวิตประจำวนั รวมถึงเทคโนโลยี ที่มีความก้าวหน้าไปมาก สามารถรองรบั การปริโภคสอ่ื ของเราได้ ทกุ ทีท่ ุกเวลา สือ่ มีการหลอมรวมกันมากข้ึน โดยเฉพาะทางสังคมออนไลน์ นอกจากเนื้อหาที่ มากมายหลากหลายผ่านส่อื ต่างๆ ข้างต้นแลว้ สว่ นหนึง่ ทีต่ ้องรบั รู้และทำความเข้าใจเกีย่ วกับเรอ่ื ง ภูมิทศั น์ของสื่อที่เปลีย่ นไปมากจากอดตี เปน็ อยา่ งมากดว้ ย หากมองที่สอ่ื หลกั หรอื สื่อฟ้ืนฐานเดิม เรามีช่องโทรทัศน์เดิม 6 ช่อง ไดป้ รบั เพิ่มเป็น 7-8 ชอ่ ง ขณะนี้ ออกอากาศแล้ว 28 ช่อง ประกอบด้วยปริการธุรกิจ 28 ชอ่ ง และปริการสาธารณะ 8 ชอ่ ง ท้ังนี้หากชมุ ชนมคี วามพรอ้ มที่จะ มีสือ่ เอง เราก็จะมีโทรทศั น์บริการชุมชนในอนาคตอีก 12 ชอ่ ง นอกจากนยี้ งั มีโทรทศั น์ ดาวเทียม และเคเบิลทีวีอกี กวา่ 600 ช่อง รวมไปถึงวิทยทุ ดลองประกอบกิจการอีกกว่าพนั สถานี นี้งบบริการ ธุรกิจ สาธารณะ และชมุ ชน รวมไปถงึ การเกดิ ขึ้นของ IPTV - โทรทัศน์ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ เปน็ ต้น หากผปู้ ริโภคเขา้ ใจภมู ทิ ศั นส์ อ่ื เหลา่ นแี้ ละเข้าใจว่าใครครอบครองเปน็ เจา้ ของ เม่อื พบ ปญั หาที่ไม่เหมาะสมจะได้ร้องเรียนถกู ต้อง หรือสามารถแยกแยะได้วา่ เรื่องใดเปน็ เรือ่ งที่นา่ รบั ชม เร่อื งใดเป็นเรือ่ งที่ไมเ่ หมาะสม เพื่อเป็นกำลังใจใหส้ ่ือทำงานได้ดีข้ึน จะเปน็ อีกข้ันของการพัฒนาให้ ส่อื มคี วามก้าวหน้ามากข้ึน เพราะฉะน้ันผู้บริโภคสามารถส่งผลท้ังเปน็ ฝา่ ยรบั และเปน็ ฝ่ายรกุ ที่จะ ส่อื สาร กลบั ไปยงั ผู้ผลิตเพ่อื ใหม้ ีการพฒั นาส่อื ไปในทิศทางทีด่ ีข้ึนด้วย กลุ่มที่ต้องใหค้ วามสนใจเปน็ พิเศษ คือผู้ทีอ่ ่อนด้อยทกั ษะในการเข้าถงึ การวิเคราะห์ การประเมนิ เนีอ้ หา การสร้างสรรค์ และทกั ษะการมีสว่ นร่วม โดยเฉพาะกลมุ่ เดก็ และเยาวชน

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการร้ทู นั สื่อ (Media Literacy Skills) หน้า 9 ที่จะต้องได้รับการพฒั นาทักษะเหล่านี้ ดังนั้น ครู-อาจารย์ ต้ังแต่ระดบั ชั้นอนบุ าล ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา จนถึงมหาวิทยาลยั ต้องให้ความสำคญั ในการพฒั นาทกั ษะเหล่านใี้ ห้กบั เยาวชน ใหม้ ี ภูมิต้านทานรู้จักคิดวิเคราะห์เป็น รู้จักแยกแยะวา่ อะไรจริง-อะไรเทจ็ นอกจากนี้ยังหมายรวมถึง กล่มุ ผู้ด้อยโอกาส กลุม่ ผู้พิการ กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ และกลุม่ ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาอกี มากมาย ซ่งึ สมควรได้รับการสง่ เสริมพฒั นาทักษะเหล่านดี้ ว้ ยเชน่ เดียวกนั (ธวชั ชัย จติ รภาษน์ นั ท์, 2558, หน้า 3) ดร. อสซิ วาย.แอล. ลี หัวหน้าภาควชิ าวารสารศาสตร์มหาวทิ ยาลยั แบพติสทฮ์ ่องกง (2558, หน้า 20-23) ได้กลา่ วถึงเรอ่ื งเดียวกันนี้วา่ การรู้เทา่ ทันสอ่ื และสารสนเทศ (Media and Information Literacy : MIL) คือ แนวคิดที่เกิดจาก 3 แนวคิดที่มาประสมรวมกัน ประกอบดว้ ย 1. แนวคิดการรู้เท่าทนั ส่อื (Media Literacy : ML) 2. การรู้เทา่ ทันสารสนเทศ (Information Literacy : IL) และ 3. ทักษะ ด้านเทคโนโลยีการสอ่ื สารและสารสนเทศ (ICTs skills Information and Communication Technologies) หรือเรียกอกี อย่างหนึ่งวา่ การรู้เท่าทนั ดจิ ิตอล (Digital Literacy : DL) แตล่ ะประเด็นอธิบายได้ดังนี้ 1. การรู้เทา่ ทนั สอ่ื (ML) หมายถึง ความสามารถในการเขา้ ถึง เข้าใจ ประเมนิ ผล ใช้ และสร้างสรรคส์ ารในส่อื (Media Messages) ในรูปแบบที่หลากหลาย 2. การรู้เทา่ ทนั สารสนเทศ (IL) หมายถึง ชุดของความสามารถชุดหนงึ่ ที่ปัจเจก บุคคลต้องมี เพื่อการตระหนกั รู้เมือ่ มี ความจำเปน็ ต้องใช้สารสนเทศ และหมายรวมถึง ความสามารถในการเขา้ ถึง ประเมนิ ผล และใช้ สารสนเทศจากแหลง่ ทีม่ าทีห่ ลากหลายดว้ ย 3. ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ (ICT skills) หมายถึง ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิตอล เครื่องมือสอ่ื สารและ/หรอื เครือข่ายการสอ่ื สาร เพื่อ แก้ไขปญั หาด้านสารสนเทศในสงั คมสารสนเทศ (an information society) ในปจั จบุ ันนี้ ดังนั้น การรูเ้ ทา่ ทันส่อื และสารสนเทศ (MIL) หมายถึง ความสามารถในการเขา้ ถึง ประเมนิ ผล/เข้าใจ และการใช้/สร้างสรรคส์ ่อื สารสนเทศในรูปแบบที่หลากหลาย ท้ังในแง่ของ ประสทิ ธิผลและการวพิ ากษ์วิจารณ์ นอกจากนี้ ท้ังไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งการรบั มือกบั เนื้อหาตา่ งๆ ในสื่อ เท่าน้ัน แตย่ ังเปน็ การรบั มือกบั สารสนเทศทุกชนิดดว้ ย คนทรี่ ูเทา่ กันสื่อและสารสนเทศ ควร สามารถจัดการกบั สารตา่ งๆ ที่มาจากแหลง่ ที่มาที่ต่างกัน เช่นสอ่ื มวลชน อนิ เตอร์เนท็ สอ่ื สงั คม ห้องสมดุ พิพิธภัณฑ์ ฯลฯในทกุ ๆ ช่องทาง (platform) ของการส่อื สารอย่างถูกต้อง

หนงั สือ Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 10 1.3 องคป์ ระกอบของการรเู้ ท่าทันส่อื องค์ประกอบของการรเู้ ท่าทันส่อื และสารสนเทศมี 3 องค์ประกอบ คือ 1) การเขา้ ถึง และการเอากลบั คืนมาของสือ่ และสารสนเทศ 2) การประเมนิ ผล/การทำความเขา้ ใจสือ่ และ สารสนเทศ และ 3) การ ใช้/การส่อื สาร/การสร้างสรรคส์ อ่ื และสารสนเทศ เหตุที่จำเป็นทีจ่ ะต้อง รู้เท่าทนั ส่อื และสารสนเทศ คำตอบคือ เนื่องจากเราต้องเกี่ยวข้องกบั แนวโน้มระดับโลก 3 แนวโน้ม คือ 1.3.1 การปฏวิ ัติการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICTs) การปฏิวตั ิการสอ่ื สารเริ่มต้นในทศวรรษ 1990 ซึ่งเป็นการบรู ณาการเขา้ หา กันของเทคโนโลยสี ่ือกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดสงิ ที่ เรียกว่า “เวบ็ 1.0-เว็บแบบอา่ น อย่างเดียว” (Web 1.0-Read only Web) หมายถึง เรามีเว็บไซต์ สื่อ ออนไลน์ (หนงั สอื พมิ พ์ ออนไลน์) วีดิทศั น์แบบตามคำขอ (VDO on-Demand) การแพร่ภาพกระจายเสียง แบบดจิ ติ อล และ IPTV ตอ่ มา เราก็กา้ วเข้าสู่ “เวบ็ 2.0-เวบ็ แบบอา่ นเขียน” (Web 2.0-Read-write web) อย่าง รวดเร็ว เรา มีเว็บของนักขา่ วพลเมือง บล็อก วิกิ เครือข่ายทางสงั คม (เชน่ เฟซบกุ , MySpace, Google+) เวบ็ แบ่งปนั การค้นหาทางอนิ เทอร์เน็ต (Social bookmarking sites) เช่น Delicious บริการ บลอ็ กขนาดเลก็ (Microblogging services) เชน่ Twitter หรือ Weibo เวบ็ แชร์สือ่ เชน่ พอ็ ดคาสต์ เว็บ แชรภ์ าพ เช่น Flickr ปรกิ ารแชรว์ ิดโี อ เชน่ YouTube เปน็ ต้น ปจั จบุ ันเรากำลังก้าวเขา้ ส่ยู ุค “เวบ็ 3.0 - เว็บแบบอ่าน-เขียน-ลัดการ)” ( Web 3.0 -Read-write- execute Web) กลา่ วคือ เรามี คอมพิวเตอร์เครือข่าย ฐานข้อมูลระดับโลก เว็บอจั ฉริยะ (The Intelligent Web) คือ คอมพิวเตอรท์ ี่ สามารถเข้าใจความต้องการของที่บอกไปได้ แอปพลเิ คช่นั อัจฉริยะดว้ ยปญั ญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence) ทีท่ ำให้คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะข้อเสนอแนะ/ทางออกที่มีประโยชนส์ ำหรับนำ ออกมาจากฐานข้อมูลได้ และการเขา้ ถึงอย่างไร้สาย เชน่ iPhone iPad แทบ็ เลต เปน็ ต้น ในอนาคตเราอาจจะมีเวบ็ ที่รู้ภาษา ระบบคอมพิวเตอรแ์ บบคลาวด์ (Cloud computing) เทคโนโลยีเคสือ่ นที่ เช่น สมาร์ทโฟนและแอปพลิเคชันทีใ่ หบ้ ริการที่องิ กับสถานที่โดยใช้ GPS อนิ เทอรเ์ น็ต ของสรรพสง่ิ (loT) แอปพลเิ คชน่ั ปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) ห่นุ ยนต์ อุปกรณเ์ ทคโนโลยี ใหม่ๆ เช่น แท็บเลต และสมาร์ทโฟนขนาดเลก็ ทีร่ าคาไม่แพง คอมพิวเตอรท์ ีต่ ิดตัวได้ รถยนต์ อจั ฉริยะ อปุ กรณอ์ ่านหนงั สอื แบบดจิ ิตอล ฯลฯ

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรูท้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หน้า 11 ปจั จุบัน เราอาศัยอยู่ในสังคมเครือข่ายทีต่ ั้งอยบู่ นฐานของ ICT กลา่ วคือ ประชาชนคือ ปัจเจกบุคคลท่เี ปน็ เครอื ขา่ ยกัน พวกเขาใช้ชีวติ อยูท่ ่ามกลางสอ่ื (Media life) และเผชิญหน้ารอ รบั มือกับเทคโนโลยีใหม่ๆ กล่าวอกี อยา่ งหนึ่งก็คือ ผู้ใช้สื่อและสารสนเทศต้องรับมือกบั ข้อท้าทาย ของเทคโนโลยีใหม่โดยพัฒนาทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศของตนเองให้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ยัง ต้องคำนึงวา่ จะรบั มือกบั อิทธิพลของสือ่ ดจิ ิตอลและส่อื สงั คมออนไลน์อย่างไร จะถอดข้อมูล ปริมาณมหาศาลจากหลากหลายชอ่ งทางได้อย่างไร จะใช้พลังของการสอ่ื สารอยา่ งสร้างสรรค์ได้ อย่างไร จะจัดการประเดน็ ความปลอดภยั ออนไลน์อยา่ งไร (เชน่ การซอื้ ของออนไลน์ การกลน่ั แกลง้ ทางไซเบอร์ การละเมิดความเปน็ สว่ นตัว และลิขสทิ ธ์ เปน็ ต้น) และจะแก้ปญั หาเรื่องชอ่ งว่าง ทางดิจติ อลได้อยา่ งไร อย่างไรกต็ าม การรู้เทา่ ทนั สอื่ หรือการรู้เท่าทนั สารสนเทศอย่างใดอยา่ งหนึง่ แตเ่ พยี ง อย่างเดียว ไมส่ ามารถทำให้ประชาชนรบั มือกบั สารต่างๆ ในส่ือที่มปี ริมาณมากมายและมาจาก แหล่งทีม่ าทีแ่ ตกต่างกนั ได้ ประชาชนจำเปน็ ทจี่ ะต้องรู้เทา่ ทันส่อื และสารสนเทศ เพื่อรกั ษาส่ิงที่ เรยี กว่า อำนาจ (สทิ ธิ-เสรีภาพ) ของปจั เจกในเชิงการวิพากษว์ ิจารณอ์ ยา่ งกระตือรือร้น 1.3.2 การเปล่ยี นผา่ นไปสสู่ ังคมแห่งความรู้ เรากำลงั เปลี่ยนผา่ นจากสังคม อตุ สาหกรรม (Industrial society) สูส่ ังคมแห่งความรู้ (Knowledge society) ทีป่ ระชากรส่วนใหญ่คือ คนทำงานที่มี ความรแู้ ละขอ้ มูลเป็นปจั จยั การผลติ ยูเนสโก (UNESCO) พิมพ์หนังสอื ชือ่ “มุ่งสู่สังคม แหง่ ความรู้” ซ่งึ เน้นบทบาททีส่ ำคัญของความรู้ในการสร้างสังคมที่ศกั ยภาพมากขึน้ โดยพิจารณา จาก 1.3.2.1 ทรพั ยากรมนษุ ย์ เหน็ ว่าการยอมรบั การผลติ และการส่งผา่ นข้อมลู / ความรู้ เปน็ ส่งิ สำคญั ใน ภาคส่วนต่างๆ ทางสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม นอกจากนี้ การบ่มเพาะประชากรที่รู้เทา่ ทัน สื่อและสารสนเทศเปน็ สิง่ สำคัญสำหรับการพัฒนาสงั คม และ เศรษฐกิจแห่งความรู้ คอื คนทำงานที่มี ความรู้และความสามารถ 1.3.2.2 สงั คมแหง่ ความรู้ทีพ่ ึงปรารถนา การรู้เทา่ ทันส่อื และสารสนเทศ คือการ สร้างสงั คมแห่งความรทู้ ี่พึงปรารถนา สำหรับยเู นสโก สงั คมแห่งความรู้ทีพ่ ึงปรารถนา คือสังคมทีม่ ี ความเท่าเทียม หลากหลาย ไม่กีดกนั และเน้นการมีส่วนรว่ ม โดยตงั้ อยู่บนฐานของหลกั การส่ี ประการ คือ การเขา้ ถึง การศึกษาถ้วนหนา้ อยา่ งเทา่ เทียม การเขา้ ถึงขอ้ มลู อยา่ งถ้วนหน้า ความ หลากหลายทางวัฒนธรรม/ภาษา และเสรภี าพในการแสดงความเหน็

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอื่ (Media Literacy Skills) หน้า 12 ดังนั้น สงั คมแห่งความรู้ถูกคาดหวงั วา่ พลเมืองสามารถเข้าถงึ ใช้ประโยชน์ สร้างสรรค์ และแบ่งปนั สารสนเทศและความรู้ได้ โดยมีเป้าหมายเพ่อื บรรลุถึงศักยภาพเต็มของ พวกเขา ในการสง่ เสรมการพฒั นาที่ ยั่งยนื และพฒั นาภาพชวี ิตของพวกเขา สือ่ และสารสนเทศมี ความสำคญั ในการทำใหค้ นเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย รวมถึงสร้างชมุ ชน และ เสรมิ ลร้างประชาสังคมให้เข้มแขง็ และการรู้เท่าทันส่อื และสารสนเทศ เปน็ เง่อื นไขที่ต้องมีก่อน สำหรบั บุคคลในการใชเ้ สทีภาพในการเข้าถงึ ข้อมูลขา่ วสาร 1.3.2.3 ชอ่ งว่างในการใช้ดิจติ อล การรู้เท่าทนั สือ่ และสารสนเทศต้องเอาชนะ ช่องวา่ ง ในการใช้ดิจติ อล ในอดตี เราพูดถึงช่องว่างทางดจิ ิตอล (Digital divide) ที่ครอบครวั ที่มี รายได้น้อยชนกลุม่ น้อย และประชาชนในประเทศกำลงั พัฒนาไม1สามารถเข้าถงึ ได้ และใน 2 ทศวรรษที่ผา่ นมา การเข้าถงึ ในเชิงกายภาพได้รบั การพฒั นามากขึน้ และเกิดชอ่ งวา่ งในการใช้ ดจิ ิตอลขนึ้ กล่าวคือ ไมส่ ามารถใช้ดิจติ อลไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพของเทคโนโลยี ดงั น้ันคนทำงานที่ มีความรู้ในอนาคตควรจะมีความสามารถ ไมเ่ พียงแต่หาสารสนเทศทจี่ ำเปน็ เท่านั้น แตต่ ้อง แปรเปล่ยี นสารสนเทศเปน็ ความรู้ทีเ่ สริมสร้างพวกเขาใหส้ ามารถพัฒนาภาพชวี ิตของตนเอง และ ทำประโยชนแ์ ก่การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในสังคมทีต่ นเองอาศยั อยู่ 1.3.3 การเปลย่ี นแปลงวิถีการเรียนรู้ (Changing Learning Mode) ในอดตี ที่ผ่านมา เราเป็นสงั คมเกษตรกรรม ผู้คนเรียนรู้จากพ่อแมแ่ ละสมาชิกชมุ ชน ในสงั คมอุตสาหกรรม เราเรียนรู้ ในโรงเรียน แต่ในสงั คมแหง่ ความรู้ เราไมไ่ ด้เรียนรู้จากหนงั สอื เรามีการเรยี นทางไกล เป็นโรงเรียน ทีไ่ ม่มอี าคาร เราเรียนผา่ นทางเทคโนโลยีเครอื ขา่ ยการส่อื สาร (เครือข่ายสงั คมออนไลน์ฐานข้อมูล จดหมายเหตอุ อนไลน)์ ในสภาพแวดล้อมแบบเคลอ่ื นที่ และเปน็ การเรยี นรู้ชวั่ ชวี ิต ผู้ใหญแ่ ละเดก็ เรียนรู้รว่ มกนั ความรู้ของเมื่อวานกลายเป็นส่ิงไม่มปี ระโยชน์ไป ในประเทศสวีเดน มโี รงเรียนทีไ่ มม่ ีหอ้ งเรียนเกิดขึนจำนวนมาก ปัจจบุ นั เรามีระบบ ความรู้สองระบบ คือ: 1) โรงเรียน และ 2) สื่อมวลชนและช่องทางสารสนเทศตา่ งๆ ดังนั้นการรู้เทา่ ทันสอ่ื และสารสนเทศ จงึ มีความสำคัญตอ่ เด็กและเยาวชน การอบรมการรู้เทา่ ทนั สอ่ื และ สารสนเทศ จงึ จำเปน็ เพื่อให้พวกเขาสามารถเรียนรทู้ ้ังในและนอกโรงเรียน Ben Williamson เสนอ วา่ หลกั สูตรในอนาคตควรเป็น “โลกวิกิแหง่ การเรียนรู้” และหลักสูตรไมค่ วร เปน็ เสาหลกั หรือแก่น สำคญั ของเนื้อหา แต่ควรเป็นตวั เช่อื มตอ่ กบั เครอื ข่ายส่อื ดิจติ อล วัฒนธรรมทวั่ ไป และปฏิสมั พันธ์

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอื่ (Media Literacy Skills) หนา้ 13 ในชีวิตประจำวนั และอนาคตของการศึกษาควรเป็นระบบการเรียนรแู้ บบกระจายบนฐานเครอื ขา่ ย นอกจากนีก้ ารรู้เทา่ ทนั สอ่ื และสารสนเทศเป็นส่งิ สำคญั สำหรบั การเรียนรู้ตลอดชีวิต เช่นเดียวกัน แพรวพรรณ อคั คะประสา (2557, หน้า 78-80) กล่าวว่า ไอซีที (ICT - Communication Technology) ได้พฒั นาไปอยา่ งรวดเร็ว ครอบคลุมเกือบทกุ พืน้ ที่ทวั่ โลก เชื่อมโยง ผู้ใช้งาน ทุกเพศทกุ วัยเข้าดว้ ยกัน การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีการสอ่ื สารสง่ ผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของภมู ิทศั น์สอ่ื บทบาทของผู้รับสารปรบั เปลย่ี นจากการเปน็ เพยี งผู้รบั ข้อมลู ข่าวสาร (message) เพยี งอย่างเดยี วในกระบวนการส่อื สารมวลชน แปรเปลี่ยนเปน็ ท้ังผู้รบั สารและผสู้ ่งสาร (sender) ในเวลาเดยี วกัน สามารถส่งข้อมูลไปยังมวลชนในเครือขา่ ยออนไลน์ของตนไดอ้ ย่าง รวดเร็ว และง่ายดาย ความรวดเร็วและง่ายดายนเี้ อง นำมาสกู่ ารสร้างสาร สง่ ต่อสารกันอย่าง มหาศาล ท้ังที่เกิดจากขอ้ เทจ็ จริง ความคิดเห็น อารมณ์ อคติ ฯลฯ เกดิ เปน็ มลพิษดา้ นข้อมลู ขา่ วสารทีม่ ีมากมายเกนิ ความจำเปน็ การรู้เทา่ ทนั สอ่ื ในยุคของการโพสต์ ไลค์ และแชร์ข้อมลู ผา่ นสอ่ื ใหม่ : ธาม เช้ือสถาปณศิริ (2557) ไดเ้ สนอแนวคิดเกี่ยวกบั เรอ่ื งดังกลา่ ว มีใจความสำคญั ดงั นี้ 1. มิติพื้นท่ี (space) คือความตระหนกั ว่าพนื้ ทีข่ องสื่อใหม่นั้น มิใช่พืน้ ที่สว่ นตวั หรือสาธารณะ แต่พืน้ ทีใ่ นสื่อใหม่คือ \"พนื้ ที่สว่ นตวั บนพนื้ ที่สาธารณะ\" ยกตวั อยา่ งเชน่ การนงั่ ร้าน กาแฟในหา้ งสรรพสนิ คา้ หรือทานอาหารในร้านอาหาร สถานทีแ่ ห่งนน้ั อาจจะทำให้เกิดความรู้สึก วา่ \"เปน็ พืน้ ที่ส่วนตัว\" ทว่าแท้จริงแลว้ พนื้ ทนี่ น้ั มีคนสร้างขนึ้ มา เพราะฉะนั้น ทุกๆ คร้ังของการ โพสต์ต์ ขอ้ ความ ขอ้ ความน้ันจึงไมไ่ ด้อยูใ่ นขอบเขตพนื้ ที่ส่วนตวั แตเ่ ป็นพื้นทีส่ าธารณะ 2. มิติเวลา (time) มนษุ ยใ์ นยคุ สงั คมสารสนเทศใช้เวลากบั สอ่ื มากชนื้ ทั้งใน พฤติกรรมการใช้สือ่ หลากหลายช่องทางในเวลาเดียวกนั และทำกิจกรรมหลายอยา่ งพร้อมๆ กนั (multi-platform & multi-tasking) ดงั น้ัน การรู้เท่าทันสอ่ื ใหม่จึงหมายความถึง \"การรู้ตัวว่าใช้เวลา กบั สอ่ื มากเกินไป หรือควรรู้วา่ เวลาใดควรใชห้ รือควรใสใ่ จกับกิจกรรมอน่ื ๆ บ้าง\" นอกจากการใช้ เวลากบั ส่อื มากเกินความจำเปน็ สื่อใหม่ยังเข้ามากำหนดความเรว็ และการแข่งขันใหผ้ ู้คน \"ตกหลมุ พราง ความเรว็ /ช้า\" เชน่ รีบกดแชร์ กดไลค์หรือปลอ่ ยขา่ วลอื ไปอย่างรวดเรว็ เส้นแบง่ เวลา และกับดกั ความเรว็ เป็นปัจจยั สำคญั ของความถกู ต้องของข่าวสาร และความเร่งรีบกลัวตก ขา่ วทำให้เกิดโรค \"FOMO\" ทีแ่ ปลว่า \"Fear Of Missing Out\" หรือ \"โรคกลัวตกข่าว/พาดขา่ ว\"

หนังสอื Electronic : ทกั ษะการรูท้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หน้า 14 3. มิติตัวตน (self) คือความรู้สกึ ต่อตนเอง ในประเด็นตา่ งๆ ดังนี้ ความรู้สกึ วา่ ตัวตนที่แท้จริงของตนเองว่า เราคือใครระหว่างในโลกออนไลน์ ในเกมออนไลน์ ในเฟซบกุ หรือ ตัวตนในโลกความจริง ความรู้สึกตอ่ รา่ งอวตารในส่อื ออนไลนข์ องตน ทำให้เกิดความสบั สน ต่ออัต ลกั ษณค์ วามเปน็ ตวั ตนที่แท้จริง ย่อมส่งผลในเชิงจติ วิทยาต่อการยอมรับตวั ตนของตนเอง ความ สบั สนเรื่องอัตลักษณต์ ัวตนกับตัวตนที่อยากจะเป็น การหลงในตัวตนและชือ่ เสยี ง สถานะทางสงั คม ในโลกสอ่ื ใหม่ อาจกร่อนทำลายอตั ลกั ษณท์ ี่แท้จริงได้ 4. มิติความเป็นจรงิ (reality) คือการรู้เท่าทนั ความจริง ขอ้ เทจ็ จริง และส่ิงที่ความ เปน็ จริง ในโลกของสอ่ื เก่าการประกอบสร้างความจริง เช่น การโฆษณาตา่ งๆ อาจจะทำให้ หลงเชอ่ื กบั ความจริงเสมือนที่สือ่ กำหนดขนึ้ แต่ในโลกของสอ่ื ใหม่ ความจริงในโลกคอมพิวเตอร์ คือ ความจริงเสมอื นแบบหนึ่ง ทีพ่ าไปสจู่ ินตนาการมากกว่า กลา่ วคือในโลกของสอ่ื ใหม่ เทคโนโลยี สร้างใหเ้ กิด \"ความจริงเพิม่ ขยาย\" (augmented reality) เช่น ข้อมูลจากกเู กลิ้ (Google) ทีเ่ พม่ิ เติม ข้อมูล จากภาพหน้าจอเข้าทบั ซ้อนกบั โลกความจริง 5. มิติสงั คม (social) ในโลกยคุ อทิ ธิพลอำนาจส่อื เก่า ส่อื น้ันมีผล ส่งผลกระทบ มากมายตอ่ ชีวติ ทัศนคติ ความรู้ พฤติกรรมและจติ วิญญาณของมนุษย์ ผู้รับสารกลายเป็นผู้ต้ังรับ รอ กระบวนการกล่อมเกลาจากการประกอบสร้าง แต่ในสื่อใหม่ ผู้คนมีอำนาจที่จะสื่อสารกบั โลก ทุกคน จะหันมาพูดเรือ่ งตวั เองมากขนึ้ ไม่มีใครใส่ใจจะฟังเร่อื งของคนอื่นๆ ทั้งความโกรธ อวดเกง่ ขอี้ จิ ฉา ความรุนแรง อคติ ความเกลียดขัง ต่างถกู โยนทิ้งลงมาที่เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ ที่ส่งผลให้ เกิดพลังท้ังดา้ นบวกด้านลบ พลังสร้างสรรค์และทำลายเกิดผลกระทบตอ่ สงั คมได้ท้ังหมด ด้วย เน้ือหา เวลาและสถานการณแ์ วดล้อมที่เอือ้ อำนวย คำตำหนิ คำชม ขา่ วลอื ข่าวจริง ความรัก ความชัง สนั ตแิ ละสงคราม กลา่ วโดยสรุปแนวคิดการรู้เทา่ ทนั สอ่ื ใหม่ ท้ัง 5 มิติ คือ การรู้เทา่ ทนั ตนเอง ในฐานะ เปน็ ผู้ใช้ส่อื ในสงั คมข้อมูลข่าวสารยุคใหม่ เข้าใจกฎเกณฑ์ กติกาการอยู่รว่ มกันในโลกออนไลน์ และ ตระหนักถึงความรับผดิ ชอบต่อสงั คม

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 15 การรเู้ ทา่ ทนั สื่อ ICT ในทีน่ ีก้ ารรู้เท่าทันส่อื จะกลา่ วถึงสอ่ื ไอซที ีหลักๆ 4 ตัว ไดแ้ ก่ อนิ เทอร์เน็ต เว็บไซต์ เกม อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และโทรศัพทม์ ือถอื (สสส. หน้า 10-17 ) ดงั นี้ 1. รู้เท่าทนั อินเทอรเ์ น็ต อนิ เทอร์เน็ตใชท้ ำกิจกรรมตอ่ ไปนี้ 1.1 สบื ค้นข้อมลู (Search) หรือ เปิดดเู วบ็ ไซต์ หรือ เวิรล์ ไวด์ เว็บ (WWW - World Wide Web) หมายถึง การเรียกดขู อ้ มูลทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมทีเ่ รียกวา่ เว็บเบราเซอร์ (Web Browser) ได้แก่ ไออี (IE - Internet Explorer) หรือ โมซิลสา่ ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla FireFox) การเปิดดเู ว็บไซต์ผู้ใช้ต้องรู้ชื่อเว็บไซต์ เชน่ เวบ็ ไซต์กเู กิล www.aooale.co.th เว็บไซตส์ นกุ ดอทคอม www.sanook.com หรอื เวบ็ ไซต์ยูทิวบ์ www.youtube.com o รับ-สง่ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์หรืออเี มล (email) หมายถึง การพิมพ์ข้อความที่ต้องการสอ่ื สารกับ อกี ฝ่าย หนึ่งในลกั ษณะของจดหมาย ซง่ึ อาจแนบเอกสาร รปู ภาพ คลิปวิดีโอ (video clip) หรือคลิป เสียงไป กบั จดหมายนี้ได้ จดหมายจะถกู สง่ ไปยงั ผู้รบั บนอินเทอร์เนต็ ในรปู ของอเี มล ของผู้รบั ซึ่ง จะต้องมี อเี มลแอดเดรส (email address เชน่ noosomtShotmail.com) ผู้รับสามารถมาเปิดอา่ นจดหมาย ดเู อกสารแนบต่างๆ และตอบกลบั อีเมล (reply) ไดใ้ นลกั ษณะเดยี วกัน สนทนาออนไลน์หรือ แชท็ (chat) หมายถึง การพิมพข์ อ้ ความโต้ตอบกันไปมาในลกั ษณะประโยค ต่อประโยค ปัจจบุ นั มักใช้ โปรแกรมแชท็ เช่น MSN หรือ Skype ควบคกู่ ับการใช้กลอ้ งเล็กๆ ทีเ่ รียกว่าเว็บแคม (web cam) ไมโครโฟน และหูฟัง เพือ่ ให้เปน็ การพดู คุยแบบธรรมดา คือ เห็นหน้า ไดย้ ินเสียง แทนการพิมพ์ ข้อความ 1.2 การแสดงความคิดเหน็ หรือพดู คยุ ผ่านกระดานข่าว หรือ เวบ็ บอรด์ (webboard) หมายถึง การโพสตต์ ์ (post) กระทู้หรือแสดงความเห็นในประเดน็ ตา่ งๆ ลงบนเว็บไซต์ เปน็ อีกหนึ่งชอ่ งทางที่เดก็ ๆ จะได้พดู คยุ หรือแลกเปลีย่ นทศั นะในเร่ืองที่สนใจ เชน่ ประเดน็ ข่าว การเมืองกีฬาหรือประเดน็ ฮอตฮิตของสังคมในขณะน้ัน เว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมในการโพสต์ต์กระทู้ ได้แก่ เวบ็ ไซต์พนั ธทิพยด์ อทคอม www.pantip.com 1.3 การสร้างเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ (Online Social Network) เชน่ www.twitter.com หรือ www.facebook.com หมายถึง การสร้างกลุ่มเพ่อื นเอาไว้ติดต่อพดู คุยและ

หนงั สือ Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั สอื่ (Media Literacy Skills) หนา้ 16 อพั เดทข่าวสารของกนั และกัน กำลงั เปน็ ทีน่ ิยมอย่างสูงในหม่คู นไทย สามารถเลน่ เกมผา่ นเว็บไซต์ เครือข่ายสังคมออนไลนก์ ไ็ ด้ เช่น เฟซบคุ๊ มีเกมทำฟารม์ หรือ farm vlillage เกมร้านอาหาร หรือ restaurant city เกมแฮปปี้ คนเลีย้ งหมู เปน็ ต้น 1.4 ดหู นงั ฟงั เพลง เล่นเกม บนอินเทอร์เน็ตมเี วบ็ ไซต์หลายแห่งใหบ้ ริการเล่นเกม ออนไลนใ์ หด้ าวนโ์ หลด (Download) หนงั ละคร การต์ ูน หรือคลปิ วิดโี อมาดทู ีบ่ ้านก็ได้ หรือจะคลกิ ดูออนไลน์ทางเวบ็ ไซตก์ ็สามารถทำได้ 1.5 ถ่ายภาพดจิ ิทลั หรอื ถ่ายคลิปวิดีโอด้วยกลอ้ งหรือโทรศพั ทม์ ือถือ อัพโหลด (Upload) ขนึ้ โชวเ์ พอ่ื นๆ ทางเวบ็ ไซตอ์ ย่างเฟซบคุ๊ หรือ ฟลคิ เกอร์ www.flickr.com หริอ ยู ทวิ บw์ ww.youtube.com เน่อื งจากเราทำอะไรได้หลายอย่างบนอินเทอรเ์ นต็ ไมว่ า่ จะเป็นการสบื ค้นข้อมลู การ อา่ นข่าวสาร การเขยี นแสดงความคิดเหน็ การพูดคยุ สนทนา การเรยี กดแู ละเผยแพรร่ ปู ภาพ คลิป วิดโี อตา่ งๆ ฯลฯ ซึ่งก็หมายความว่า สื่ออินเทอรเ์ นต็ เปิดโอกาสให้เราเป็นท้ังผู้รบั สารและผสู้ ่งสาร เป็นทั้งผู้อา่ นและผู้เขียน เป็นท้ังผู้บริโภคและผู้ผลิตเนื้อหาขอ้ มูล เรายิง่ จะต้องระมัดระวงั ไมใ่ ห้สง่ิ ที่ เราได้อา่ นไดย้ ินได้สมั ผัสทางอนิ เทอร์เน็ต มามีอทิ ธิพลตอ่ ความคิด ความเช่อื หรือพฤติกรรมของเรา ในขณะเดยี วกนั เราต้องไมจ่ งใจเขียนหรือเผยแพร่ ข้อมูลขา่ วสารที่จะทำให้ผู้อื่นตกเปน็ เหยื่อ โดยรู้ ไม่เทา่ ทันเชน่ กนั 2. การรู้เทา่ ทันเวบ็ ไซต์ 2.1 เมอ่ื อ่านเน้ือหาขอ้ มูลบนเวบ็ ไซต์ ต้องรู้จกั สงสัยและตั้งคำถาม ใครเปน็ คนเขียน ข้อมลู บนเวบ็ ไซต์ คนเขียนมีความชำนาญในเรื่องที่เขียนหรือไม่ ขอ้ มูลใหมท่ ันสมยั หรือตกยคุ ไปแลว้ เว็บไซตน์ ้ันมีเป้าหมายเพือ่ สร้างภาพลักษณ์ให้บริษทั ของเขาหรือต้องการเพิม่ ยอดขายสินค้าหรือ เปลา่ กลุม่ เป้าหมายของเวบ็ ไซต์เป็นใคร ผู้เขียนกระทู้มีจดุ ประสงคอ์ ะไร มอี ารมณอ์ ยา่ งไรขณะที่ โพสต์ต์กระทู้ และข้อมูลจากเว็บบอรด์ สามารถนำมาใช้อ้างอิงไดห้ รือไม่ ฯลฯ การอ่านทบทวนและ ทำความเข้าใจกับเนือ้ หาที่อา่ นจากเวบ็ ไซต์การตรวจสอบข้อมูลจากแหลง่ อ่นื ๆ เพือ่ เปรียบเทียบ ก็ เพ่อื ใหร้ ู้จักเลือกใช้ข้อมูล เพอ่ื ไม่ให้เชื่อหรือคล้อยตามและตกเปน็ เหยอื่ ของการโฆษณาขาย สินค้า เพ่อื ไม่ใหถ้ ูกหลอกถูกโกงจากกระทู้ขายสินค้า เพื่อไมห่ ลงเชื่อคำบอกกลา่ วของคนไมใ่ ช่หมอแตช่ อบ ทำตวั เปน็ หมอทคี่ อยใหค้ ำแนะนำกับผู้อ่านเว็บบอรด์ ใหก้ ินยาตัวโน้นทายาตวั นี้ เพ่อื ใหเ้ ลกิ ตื่น

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอื่ (Media Literacy Skills) หน้า 17 ตระหนกตกใจกบั ข่าวโคมลอยทางเนต็ เพือ่ ไม่หลงใช้ข้อมูลเกา่ ๆ ลา้ สมัยบนเว็บไซต์ เพ่ือไม่ไป ละเมิดสขิ สิทธขิ์ ้อมลู ที่ก๊อปปี้หรือ ส่งตอ่ ๆ กนั มาแลว้ สง่ ตอ่ ๆ กนั ไป 2.1.1 อยา่ ลมื เลือกเว็บไซตด์ ีๆ ที่มีสาระ เวบ็ ไซตข์ ่าวสาร เวบ็ ไซต์สขุ ภาพ แหล่ง เรียนรู้มากมายทว่ั โลกไดถ้ ูกนำเสนอ ในรูปของเว็บไซต์ทีเ่ ราสามารถเข้าไปคลิกชมได้ เช่น พพิ ิธภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ สารานกุ รมทั้งของไทยและ ต่างประเทศ สารคดีเนชั่นแนลจโี อกราฟฟี (National Geography) ดสิ คฟั เวอรีชาแนล (Discovery Channel) บีบีซี (BBC) ซีเอน็ เอ็น (CNN) หรือ แม้แตด่ ีสนีย์ (Disney) ก็มีบริการบนเวบ็ ไซต์หากต้องการสบื ค้นข้อมลู หรือ ค้นหาเว็บไซต์อยา่ ลมื ใช้ เครือ่ งมอื สืบค้น หรือ เสชิ เอน็ จนิ้ (Search Engine) ซึ่งมดี ว้ ยกันหลายตวั เช่น กูเกลิ้ www.google.com ยาฮู www.yahoo.com พบเห็นเวบ็ ไซต์เนื้อหาไม่เหมาะสม ผิดกฎหมาย เป็น อันตรายต่อเดก็ ละเมิดต่อสถาบนั อันเป็นที่รกั ของเราชาวไทย เป็นภัยต่อสังคมและความมนั่ คงของ ประเทศ ช่วยกันสอดส่องและปราบปราม โดยแจ้งซอ่ื เว็บไซต์ ตังกล่าวไปที่ เว็บไซตไ์ ทยฮอตไลน์ www.thaihotline.org หรือ สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ webmonitor.police.go.th หรือ กระทรวงไอซีที www.mict.go.th/main.php?filename=complaint 2.1.2 แนวทางการปฏิบตั ิการรู้เท่าทนั อนิ เทอรเ์ น็ตและเว็ปไซต์ ดังนี้ 1) ไม่ใช่วา่ ทุกคนทพี่ ูดคยุ กับเราบนโลกออนไลนจ์ ะเปน็ มิตรเสมอไป บน อนิ เทอร์เน็ตมีมิจฉาชีพ มคี นดี คนโกง มีเพื่อน มีศัตรู เชน่ เดียวกบั ในสังคมปกติทีเ่ ราเดินสวนกนั ไป มานั้นก็มี ทั้งคนดีและคนเลว เรายิ่งต้องระมดั ระวงั การคบเพอ่ื นบนอนิ เทอร์เน็ต เนื่องจาก เทคโนโลยีเปิดโอกาสใหเ้ ราบอกรบั เพ่อื นไดง้ า่ ยๆ เพียงแค่เขาส่งคำขอเป็นเพื่อนมาทางอเี มล ทาง เฟซบุ๊ค ทางเอม็ เอสเอ็น แลว้ เราก็ตอบรบั โดยไมเ่ คยเห็นหน้า ไม่เคยพดู คุย หรือรู้จักกันมากอ่ นว่า เขาเป็นลูกเต้าเหล่าใคร บ้านชอ่ งอยู่ที่ไหน โลกอินเทอรเ์ น็ตเปิดโอกาสให้แต่ละคนสามารถสรา้ ง ตัวตนใหม่ที่สวยกวา่ รวยกวา่ นิสัยดีกวา่ หลอกลวงกนั ได้งา่ ยๆ ต้องตระหนักรู้ในความจริงที่วา่ แม้ เราแชท็ หรือสง่ อเี มลพูดคยุ กับใครสกั คนมาแล้ว 1 เดือนหรือ 3 เดือน กไ็ ม่ได้แปลว่าเรารู้จกั เขาแล้ว เพราะการติดตอ่ สือ่ สารกนั บนอินเทอรเ์ นต็ นั้น เริ่มต้นจากการพูดคุยกนั ด้วย ตวั หนังลือ ดรู ปู ถา่ ยที่ เขาสง่ มาให้ ซึ่งอาจไม่ใช่ภาพจริงนิสัยจริงก็ได้ เดก็ จำนวนมากโดนหลอกไปล่วงละเมดิ ทางเพศ หาย ตวั ออกจากบ้าน หลังจากแชท็ กบั เพอ่ื นใหม่ทางอนิ เทอรเ์ นต็ มิจฉาชีพมกั แกลง้ ทำดกี ับเราทำเปน็ เข้าอกเข้าใจเรา อาสาแก้ปัญหาใหเ้ รา เชน่ ใหเ้ งนิ ซื้อกระเป๋า รองเท้า ของทีเ่ ราอยากได้ ยอมเป็น เพ่อื นคยุ ยามเหงา พวกนี้มักมคี วามอดทน มีจติ วิทยาในการพูดคยุ และเมือ่ เขาไดค้ วามไว้วางใจ

หนังสอื Electronic : ทักษะการรู้ทนั สอื่ (Media Literacy Skills) หนา้ 18 จากเราแลว้ เขาจะเริ่มขอเบอร์โทรศัพทข์ อนัดพบ และหลายๆ กรณีทีเ่ กิดขนึ้ กค็ ือภยั มาถึงตวั เม่อื เด็กไปพบตามนัด เหยื่อบางรายถกู คนร้ายมาดกั ฉดุ จากบ้านหรือหน้าโรงเรียนเพราะเคยเผลอบอก ที่อยู่หรือชอ่ื โรงเรียน และเคยแลกรปู ถา่ ยกัน ดงั น้ัน ข้อมลู ส่วนตวั ของเรา เชน่ หมายเลขโทรศัพท์ รูปถ่าย ทีอ่ ย่ทู บี่ ้าน บตั รประจำตัว รหัสบตั รตา่ งๆ ทั้งของตวั เองและของพ่อแม่ เป็นสิง่ มคี ่าที่เด็กๆ ไมค่ วรโพสต์ต์บนเวบ็ ไซต์หรือแจกใครๆ บนอินเทอรเ์ นต็ 2) ของทุกอย่างบนอินเทอร์เนต็ มีเจา้ ของ - ใช่ว่าทุกอย่างทีเ่ หน็ บนหน้าจอจะก๊อปปี้มาใชไ้ ด้ หนัง เพลงรูปภาพ โปรแกรมบทความผลงานตา่ งๆ บนเน็ตลว้ นมีเจา้ ของ งานบางชิ้นมีลขิ สทิ ธิห์ รือสทิ ธิบตั ร มีการ คุ้มครองตามกฎหมาย เจา้ ของผลงานบางคนยินดใี ห้ก๊อปปี้งานของเขามาใช้ไดโ้ ดยไมค่ ิดเงิน เจา้ ของบางคนขอให้ระบุข้อความใหเ้ ครดติ เขาด้วยหากเราจะนำเน้ือหาขอ้ มูลหรือรปู ภาพของเขา มาใช้ เจ้าของบางคน ไม่ยินยอมให้เผยแพรง่ านของเขาหากไม่ได้ขอและอนญุ าตกันเป็นลายลกั ษณ์ อักษร ต้องรู้จักเรื่องสิขสทิ ธิ์ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา รู้จกั ให้เกียรติให้เครดติ เจ้าของผลงาน ไม่ละเมิด ไมข่ โมยผลงาน หรือแอบอ้างวา่ เปน็ ผลงานของตนแม้อินเทอร์เนต็ จะเออื้ ให้การก๊อปบกี้ ารขโมย ผลงานทำได้งา่ ยๆ ก็ตาม -ภาพยนตร์ เพลง ซอฟต์แวรห์ รือผลงานทีจ่ ดสิขสทิ ธิ์ จะได้รบั ความคุ้มครอง ตามกฎหมาย ผู้ดาวน์โหลดของที่มีสิขสิทธิ์โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตจากเจ้าของ ถอื วา่ ละเมิดสิขสทิ ธิ์ และมีความผิดตามกฎหมาย 3) ไม่หมิ่นประมาท หรอื ละเมิดสิทธิสว่ นบุคคล - แม้อินเทอรเ์ นต็ จะเปดิ ใหร้ บั รู้ขา่ วสาร จะพดู จะเขียน หรือแสดงความ คิดเห็นก็สามารถทำได้งา่ ยๆ ในเวทีสาธารณะอยา่ งเวบ็ บอร์ดหรือแชท็ รูม แต่กใ็ ชว่ า่ จะไม่มีขอบเขต สทิ ธิเสรภี าพทีด่ ีจะต้องไมไ่ ปละเมิดผู้อืน่ ดงั น้ัน การส่งต่อ (forward) คลิปลับดารา การโพสต์ต์ กระทู้ ด่าทอ เสียดสคี นอน่ื การตัดต่อภาพทที่ ำให้เจ้าตัวเขาได้รับความอบั อายหรือถูกดหู มน่ื เกลียด ชังจากสังคมน้ัน ผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม ไม่ควรกระทำ 4) ของฟรีไมม่ ใี นโลก มีเวบ็ ไซต์หลายแห่งชอบโปรโมทตวั เองวา่ แจกฟรีโปรแกรมหนงั เพลง เรามัก ตื่นเต้นเวลาไดย้ ินคำวา่ “ฟรี” จงระลกึ ไว้เสมอวา่ ของฟรีไม่มีในโลก ต้องมใี ครสกั คนที่จา่ ยคา่ ความคิด คา่ ผลติ และค่าโฆษณา ถา้ มีคนลงทนุ แล้วเขาได้อะไรจากการแจกฟรี ยกตัวอยา่ งเช่น ฮอตเมล (www.hotmail.com) แจกฟรีอีเมลให้คนทั่วโลก สิง่ ที่เขาไดค้ ือค่าโฆษณาบนเวบ็ ไซต์

หนังสือ Electronic : ทกั ษะการร้ทู นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หน้า 19 เวบ็ ไซต์บางแหง่ ยังสง่ โฆษณาสินค้าไปให้สมาชิกทางอีเมล จึงไม่ต้องสงสยั วา่ เหตใุ ดตู้จดหมายของ เราจึงอัดแนน่ ไปด้วยอีเมล โฆษณา เวบ็ ไซต์ที่ใหบ้ ริการดาวน์โหลดฟรีต่างๆ บางคร้ังก็เอาของที่ ละเมิดสขิ สิทธมิ์ าแจกฟรี ซึง่ อาจทำใหผ้ ู้ใช้ อยา่ งเราต้องติดคุกในข้อหาละเมดิ ลขิ สิทธิ์ไปด้วย ที่แย่ ไปกว่าน้ันคือเว็บไซตแ์ จกฟรีทั้งหลาย มกั มขี องแถมอีก ชนิดหนึง่ คือไวรสั คอมพิวเตอรห์ รือ โปรแกรมอันตรายตา่ งๆ ทีพ่ วกแฮกเกอร์แอบวางไว้ เพ่อื ใหต้ ิดไปกบั ผู้ใช้งาน ทีไ่ ม่ระมดั ระวงั ตนเอง โปรแกรมเหล่านีม้ ักทำอนั ตรายให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์และข้อมลู ของเรา บางคร้ังกท็ ำ ให้เครือ่ ง ทำงานผิดปกติ เป็นต้นวา่ ทำงานช้าลง ฮารด์ ดิสก์เตม็ เร็วขึน้ ลำโพงส่งเสยี งประหลาด ฯลฯ คำวา่ แฮกเกอร์ (Hacker) ใช้กบั ผู้มคี วามรู้ความชำนาญพิเศษทางด้านคอมพิวเตอร์ แต่ในระยะหลงั แฮกเกอรท์ ีต่ กเป็นข่าวส่วนใหญใ่ ช้ความรู้ความสามารถในทางหาประโยชน์ เชน่ เจาะระบบเขา้ ขโมย ข้อมูลธนาคาร แก้ไขตัวเลขในบัญชี จึงทำให้คำว่าแฮกเกอร์ในระยะหลังมีความหมายในด้านลบ 5) แบง่ เวลาให้เหมาะสม ไมเ่ ลน่ เนต็ แช็ทกบั เพอ่ื นอ่านการต์ นู ออนไลน์ดหู นงั ฟงั เพลง เพลดิ เพลินกับ กิจกรรมมากมายบนอินเทอรเ์ นต็ จนลมื การเรยี น หรือจะต้องชว่ ยงานบ้านพ่อแม่ อยา่ ลมื ว่า ผู้สร้าง อนิ เทอร์เนต็ ต้องการให้อินเทอรเ์ น็ตเปน็ เครื่องมือสอ่ื สาร สืบค้น เขา้ ถึง กระจาย และหมุนเวยี น ข้อมลู ข่าวสาร เชือ่ มโยงผู้คนทวั่ โลกให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่อื การพัฒนาหรือทำให้ดียิง่ ข้นึ อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสท์ ่ที รงอานภุ าพที่สดุ อย่างที่ไม่เคยมีสอ่ื ใดทำได้มาก่อน ดงั นั้นจงใช้ อนิ เทอรเ์ นต็ ให้สมประโยชน์ สมตามความมุ่งหมายของผู้สร้างทีอ่ ุตสา่ ห์สร้างสรรค์มาให้พวกเราได้ ใช้กัน 3.รเู้ ท่าทนั เกม เกม ในที่นีห้ มายถึงเกมอเิ ล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ เกมคอมพิวเตอร์ และเกมออนไลน์ เกมคอมพิวเตอรม์ ีวิวัฒนาการมาจากวิดโี อเกม ซง่ึ มีการพัฒนามาอยา่ งตอ่ เนือ่ งไม่น้อยกวา่ 40 ปี ปจั จบุ ันแบง่ เกมเป็นหลายประเภท หากแบ่งตามเครื่องเลน่ ไดแ้ ก่ เกมเครือ่ ง (เช่น เพลยส์ เตชั่น) เกมพกพา (เชน่ Nintendo, PSP, อร) เกมพีซคี อื เลน่ บนคอมพิวเตอร์ เกมออนไลน์คือเลน่ บน คอมพิวเตอรท์ ีเ่ ชือ่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ย เกมบนโทรศัพท์มือถือ เกมตู้ (หยอดเหรียญ) เป็นต้น หาก แบง่ ตามวิธีการเล่น ได้แก่ เกมแอค็ ช่ัน เกมผจญภัย เกมวางแผน เกมจำลอง เกมสวมบทบาท เปน็ ต้น

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรู้ทนั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 20 เกมถกู สร้างมาเพือ่ ตอบสนองความต้องการพืน้ ฐานหลายอย่างของคน ถกู ออกแบบ มาอย่างดีโดยนกั ออกแบบและพัฒนาเกม ในเกมเราทำภารกิจซํ้าๆ ไดห้ ลายคร้ัง เช่น ลองผิดลอง ถกู ตายแลว้ รีเซตเกมใหม่ แต่ในชีวิตจริงเรื่องบางเรือ่ งเราลองหลายครั้งไม่ได้ เราตายได้ครั้งเดียว เท่าน้ัน เราสร้างตวั ตน ฝึกฝนจนเก่งกาจเป็นทยี่ อมรับได้ไม่ยาก ในเกมเราอาจเป็นแชมป์เทนนิส ได้ในเวลาเพียงสามเดือน แต่ในชีวติ จริงนักเทนนิสมืออาชีพทีป่ ระสบความสำเร็จทั้งหลายใชเ้ วลา เปน็ สบิ ๆ ปีกว่าจะก้าวขนึ้ มาถึงจดุ ทีไ่ ดร้ บั การยอมรบั อยา่ งที่เห็น เกมท้าทายความสามารถมีดา่ นยากงา่ ยใหเ้ ล่น มีปริศนาใหแ้ ก้โจทยย์ าก ขนึ้ เรือ่ ยๆ ยิ่งท้าทายผู้เลน่ เกมเติมเต็มจินตนาการ เชน่ การผจญภัยในโลกแฟนตาชี เราได้สวม บทบาทตวั ละครตา่ งๆ ในเกมเกมออนไลนท์ ำใหเ้ รามีเพือ่ นใหมๆ่ เกมทำให้เราหลุดออกจากโลกที่ จำเจอยา่ งการงาน การเรียน หลายๆ เหตุผลท่ี กลา่ วมาแลว้ นี่เอง ที่ทำให้คนชอบเลน่ เกม และบาง รายถึงกับติดเกม ผู้ผลิตเกมและร้านเกมสามารถทำเงินไดม้ าก จากการขายแผน่ เกม ขายชั่วโมง เลน่ เกม ขายสนิ ค้าในเกม (game item) ดงั น้ัน ยิง่ ผู้เล่นเล่นนานเท่าไหร่ เล่นหลายเกมเท่าไหร่ เล่น ในระดับสูงข้ึนเทา่ ไหร่ บริษทั เขากย็ ิ่งได้เงินมากขนึ้ เทา่ น้ัน 4. รู้เทา่ ทันมือถือ เดก็ และเยาวชนส่วนใหญม่ โี ทรศัพท์มือถือและใช้บริการหลากหลาย ใช้เวลากับ โทรศัพท์มือถอื วันละมากๆ ไมว่ า่ จะเป็นการพดู คุย สง่ ข้อความ เลน่ เกมบนมือถอื ถา่ ยรูป ถ่ายคลิป วิดโี อ ฟงั เพลง รบั ขา่ วสาร ปัจจุบันนี้โทรศพั ทม์ ือถอื ทำอะไรไดม้ ากมายเรียกวา่ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เช่อื มตอ่ อินเทอร์เนต็ ได้ ทำให้สามารถเปิดเข้าเวบ็ ไซตใ์ ช้บริการเฟสบคุ๊ ไฮไฟว์ ทวิตเตอร์ และสง่ ข้อความแชท็ กบั เพ่อื นๆ ได้ การคยุ กนั ดว้ ยสมาร์ทโฟนสมัยนี้ ก็กลายเปน็ แบบเรียลไทม์ เฟซ ทเู ฟซ (real time face to face) คือถ่ายทอดสดทั้งภาพและ เสียงของคสู่ นทนา ผา่ นระบบเครือข่าย สามจี (3G-5G) กลายเปน็ ของเล่น เป็นแฟช่ันของคนร่นุ ใหมเ่ ลยทีเดียว โทรศัพท์มือถือช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อสือ่ สาร โดยเฉพาะในยามคบั ขัน และจำเป็น เป็นเครื่องมอื สืบหาขอ้ มลู และให้ความบนั เทิงในยามวา่ ง ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างบคุ คล แต่กอ็ าจส่งผลกระทบดา้ นลบหากใช้อย่างไม่เหมาะสม เป็นต้นวา่ ใช้โทรศพั ทม์ ือถือ ขณะขบั รถอาจทำใหเ้ กิดอบุ ตั ิเหตุ คยุ โทรศพั ทก์ บั เพอ่ื นมากเกินไปทำใหล้ ะเลยการอ่านหนงั สอื หรือ ช่วยพ่อแมท่ ำงานบ้าน ทำให้ขาดปฏิสัมพันธก์ บั คนในครอบครวั ทำใหส้ ้นิ เปลืองคา่ ใช้จ่าย

หนงั สือ Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั สอ่ื (Media Literacy Skills) หน้า 21 โทรศัพทม์ ือถือยังเปน็ เครื่องมอื สนับสนนุ พฤตกิ รรมที่ไม่เหมาะสมหากเด็กและเยาวชนนำไปใช้ ในทางที่ไม่ดี เช่นแอบถ่ายใต้กระโปรง โหลดคลิปโป๊ เล่นพนัน ใช้ข่กู รรโชก และกอ่ อาชญากรรม อน่ื ๆ การรู้เท่าทนั มือถอื มขี ้อควรปฏิบัติ ดังนี้ 4.1 ควรรู้ทนั โฆษณามอื ถือ บ่อยคร้ังทีเ่ ราเห็นดารา นางแบบ นักร้อง หรือศลิ ปนิ ทีน่ ้องๆ ชื่นชอบเป็นพรเี ซ็นเตอร์โฆษณาโทรศพั ทม์ ือถอื ยีห่ ้อน้ันยี่ห้อนี้ ไม่เฉพาะโทรศัพทม์ อื ถือ แต่ เป็นสนิ ค้านานาชนิด บริษทั ผู้ผลิต จ้างศิลปนิ มาใส่เส้อื ผ้าสวยๆ มีโทรศพั ทส์ มารท์ โฟนรุ่นใหมล่ ่าสุด อยใู่ นมือ และพดู โน้มน้าวให้เชือ่ วา่ โทรศัพทด์ อี ยา่ งไร กระผม (ดิฉัน) ติดใจตรงไหน ที่รปู ทรงสวยนำ สมยั ติดกล้องความละเอียดสูง ถ่ายภาพแลว้ กดแชรบ์ นเน็ตได้เลย ฯลฯ เหล่านี้ เปน็ เทคนิคทาง การค้าที่เอาดาราทีก่ ำลงั ได้รับความนิยม เอานกั ร้องที่วยั รนุ่ ยึดถือ เปน็ แบบอยา่ งมาโฆษณา เด็กๆ พร้อมจะทำตามทกุ อยา่ งทีศ่ ิลปินในดวงใจของเขาบอก เดก็ ๆ ต้องรู้ว่าดารา ไมไ่ ด้ใช้สินค้าทุกตัวที่ โฆษณาแน่ๆ และเรากไ็ ม่จำเป็นต้องทำตามไปเสียทกุ เรื่อง การเลือกซื้อสินค้า ควรดูท่รี าคา ความ จำเป็นในการใช้งาน ความคุ้มคา่ อย่าตามเพ่อื น อย่าตามแฟช่นั เปน็ ตัวของเราเองดีทีส่ ุด 4.2 อนั ตรายจากคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า โทรศพั ท์มือถอื ปล่อยคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า ออกมาขณะติดตอ่ สือ่ สาร ดงั น้ัน การพูดคยุ โทรศพั ท์แบบเอาแนบหเู ปน็ เวลานานก็ยิ่งเปน็ อันตราย โดยเฉพาะเม่อื เวลาแบตเตอรีใ่ กล้หมดนั้นคล่ืนยิ่งแรง การอย่ใู กล้เสาสัญญาณโทรศพั ท์มือถอื ก็ไม่ดี โดยเฉพาะเด็กเลก็ ๆ ด้วยแล้วคล่ืนจะมีผล อนั ตรายร้ายแรงตอ่ ร่างกายมากกว่าผู้ใหญ่ ดังน้ัน จึง ควรใช้โทรศพั ทม์ ือถอื พูดคยุ แต่น้อย คุยสั้น กระชบั ได้ใจความ และควรใช้หูฟงั หรือใช้บลทู ูธช่วย หรือไมก่ ใ็ ช้โทรศพั ทแ์ บบมีสายไปเลยจะดกี ว่า 4.3 ไม่ควรหลงโปรชั่นบนมือถือ ดว้ ยการแข่งขนั ทางธุรกิจผู้ประกอบการมกั เสนอแพก็ เกจบริการ หลากหลายเพ่อื เป็นทางเลือกให้กับลูกค้า เปน็ ต้นวา่ ยิ่งคุยนานยิง่ ราคาถูก , ส่ง SMS 10 แถมฟรี 1, เหมาจา่ ยรายเดือน โทรไมอ่ ั้น เปน็ ต้น เหล่านี้ ทำใหเ้ ราจ่ายมากขนึ้ โดยไม่ รู้ตัว เพราะแม้อัตราโทรตอ่ นาทีจะถกู ลง แต่เราจะคยุ นานขึน้ ทั้งที่ไม่มคี วามจำเป็นต้องคุยนาน ขนาดน้ัน เชน่ เดียวกันเราพยายามจะส่งข้อความ SMS 10 ข้อความ เพ่อื ใหไ้ ดฟ้ รี 1 ข้อความ ท้ังที่ใน ความเปน็ จริงแล้วเราอาจโทรคุยส้ันๆ 2 นาที หรือส่ง SMS 3 ข้อความ ก็สอ่ื สารกันรู้เรือ่ งแล้ว รู้ อยา่ งนแี้ ล้วจงตั้งสติ อย่าหลงโปรโมชน่ั ที่เน้นใหเ้ ราใช้เยอะ คุยนาน เราต้องยืนหยดั วิธีใช้โทรศัพทท์ ี่ ถกู ต้องคือส่อื สารแตพ่ อดีชดั เจน สน้ั ได้ใจความประหยัดเงินประหยดั เวลา และ หลีกเลย่ี งการได้รบั อนั ตรายจากคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าอีกดว้ ย

หนังสอื Electronic : ทักษะการรู้ทนั สือ่ (Media Literacy Skills) หนา้ 22 4.4 อยา่ รบั แจกซิมฟรี ตอนรับแจกชมิ ฟรี มักต้องกรอกใบสมคั ร เซ็นชื่อ แนบ สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชน เรามักไม่ค่อยอ่านเอกสาร เพราะมวั ตืน่ เต้นกับของฟรีจนตอ้ งรีบรับ รีบเซน็ ชื่อ แตน่ ้ันเทา่ กบั เราสมคั รจ่ายค่าบริการรายเดือนโดยไมร่ ู้ตวั พอครบเดือนจะมีบิลมาเรียก เก็บเงินค่าใช้บริการ ปฏิเสธก็ไมไ่ ด้ เพราะกรอกเอกสาร เซ็นชือ่ ไปแลว้ จำไว้วา่ ของฟรีไมม่ ีในโลก 4.5 การถกู กรบกวนทางมือถอื ดูดวง ฟงั ขำขัน รับข่าวสาร ชิงโชค ขายสนิ ค้า นานาชนิด ฯลฯ เยอะแยะไปหมด ถา้ อยากบอกเลิกก็โทรหาผู้ใหบ้ ริการเครือข่ายที่เราใช้อยู่ ที่ หมายเลข Call center ของแตล่ ะคา่ ย เขน่ AIS 1175 , TRUE 1331 , DTAC 1678 , HUTCH 1128 , TOT 1100 , TT&T 1103 และ CAT 1322 แจ้งขอระงบั รบั บริการข่าวสาร ดูดวง ขายของตา่ งๆ แต่ หากยังไม่ได้เรื่อง ให้ติดต่อ 1200 กด 1 บริการโทรฟรี ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจาย เสยี ง กิจการโทรทัศนแ์ ละกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (สำนักงาน กสทช.) หรือ ทาง เว็บไซต์www.tci.or.th อเี มล [email protected] 4.6 เนต็ ความเรว็ สงู เวลาดูโทรทศั น์ เห็นสมาร์ทโฟนโชว์โปรแกรม เกมใหม่ๆ เก๋ๆ เทห่ ์ๆ ถ่ายภาพ สง่ ภาพวิดีโอไดค้ มชดั รวดเร็ว สมจริง เสมอื นคูส่ นทนานงั่ อยู่ตรงหน้า ต้องรู้วา่ ความเร็วในการติดต่อส่อื สาร ไม่ได้ขนึ้ กับสมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์รนุ่ ที่ดีที่สุดเพียงอยา่ งเดียว แต่ ขนึ้ อยกู่ บั ความเรว็ ของเครือข่ายและ เทคโนโลยีการรบั สง่ ขอ้ มลู เชน่ 3G, Wi-Fi, GPRS, EDGE ดว้ ย ดังนั้น หากจงั หวัดของเรา ท้องที่ของเรายงั ไมม่ ีบริการเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ความเรว็ สงู มากพอ ซือ้ สมารท์ โฟนมาก็เสียเปล่า เพราะเน็ตเตา่ คงดวู ิดีโอ คยุ กันสดๆ ทั้งภาพและเสยี งไม่คมชัดรวดเรว็ อย่างที่เหน็ ในทีวีแน่ๆ 4.7 โรคติดมือถอื เคยมยั๊ ตืน่ เช้าก็รบควานหามือถอื ก่อนเลย ต้องเช็คดูวา่ พลาด รบั ไปก่สี าย มี SMS อะไรมาบ้าง ต้องรีบตอบกอ่ นทำอย่างอนื่ หูแว่วได้ยินเสียงโทรศพั ทห์ รือ SMS เข้ามาบอ่ ยๆ จะกินขา้ ว เข้าห้องน้ำ เข้านอน ก็ต้องติดมือถอื ไว้กดดูได้ตลอด วา่ งเม่อื ไหรต่ ้องยกมือ ถอื ขึน้ มาดู ไม่มีใครโทรมาก็ขอโทรหาใครสกั คนก็ยังดี หงุดหงดิ ทกุ ทีทีต่ ้องปิดมือถอื หากใครมี อาการเหลา่ นีส้ ว่ นใหญ่ แสดงว่าติดมอื ถือเสียแล้ว พยายามลดการใช้งานมือถอื ลงสกั พกั อาการ เหลา่ นีน้ า่ จะดขี นึ้ ถ้าทำดว้ ยตวั เองไมไ่ ด้ คงจะต้องพึง่ จติ แพทยอ์ ีกแล้ว 4.8 อยา่ ลมื เร่อื งมารยาทในการใช้มอื ถือ ไม่คยุ โทรศัพทบ์ นโตะ๊ อาหารหรือเวลา มีแขก ยกเว้นถ้าจำเปน็ ก็คยุ ใหส้ น้ั ได้ใจความแล้วรีบวางสาย ไม่พูดคำหยาบ ไมค่ ุยเสียงดังในที่ สาธารณะ เพราะไม่มใี ครอยากได้ยินเรื่องส่วนตัวของเรา อยา่ ให้เบอรม์ ือถือกบั คนแปลกหน้า อย่า

หนังสือ Electronic : ทักษะการรู้ทนั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 23 เอาโทรศัพท์คล้องคอส่อโจร และหมัน่ ชารต์ แบตเตอรี่ และเติมเงินไว้ใหพ้ อใช้ไดใ้ นยามฉกุ เฉิน และ ควรเก็บหมายเลขสำคญั ๆ ของพ่อแม่ เพือ่ น และหมายเลขฉุกเฉิน ขอความชว่ ยเหลือ เช่น ตำรวจ รถดบั เพลิง โรงพยาบาล จะได้โทรดว่ นได้ในยามคับขันจำเปน็ แต่อยา่ โทรด้วยความคึกคะนองไป กอ่ กวนแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย เพราะจะทำให้คนอ่นื เดือดร้อน สรุป แนวทางของการรู้เท่าทนั ส่อื อนั ไดแ้ ก่ การตั้งคำถาม การวิพากษ์วิจารณ์ และ การคิดเชิงวิเคราะห์ การเป็นผู้บริโภคทีก่ ระตอื รือร้น แสวงหาข้อมลู เพิม่ เติม ความเห็นเพิม่ เติม การตอบสนองไปสู่สื่อมวลชน เปน็ เรือ่ งที่ ต้องฝกึ ฝนและลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตวั ของผู้บริโภคส่อื ทุกคน การสร้างกิจกรรมรู้เทา่ ทันสอ่ื ในเดก็ และเยาวชน ประชาชน ต้องอาศยั ความรว่ มมือจากทกุ ภาค ส่วน ที่จะต้องรว่ มแรงรว่ มใจกันกระตุ้นเตอื นสงั คมว่าถึงเวลาแลว้ ทีส่ อื่ จะต้องปฏิรปู และคนไทย จะต้องรู้เท่าทันสอ่ื เดก็ และเยาวชน ต้องมที ักษะในการเขา้ ถึงสือ่ ดว้ ยเครื่องมอื ด้วยวิธกี ารที่ หลากหลาย รู้จักวิเคราะห์เนือ้ หา สื่อ มีวิจารณญานในการบริโภคสอ่ื รู้จกั ประเมนิ คา่ ของสือ่ ว่ามี ประโยชน์กบั ตัวเรามากน้อยเพียงใด รู้จักเลอื กเสพสื่อทีม่ เี น้ือหา ความคิด มุมมอง และคา่ นิยมที่ดี และเปน็ ประโยชน์ รู้จกั นำไปใช้ นำไปเผยแพรต่ ่อ อย่างเหมาะสม การสืบค้นขอ้ มลู บนอินเทอร์เนต็ อนิ เตอร์เน็ตเป็นปัจจยั สำคญั ในการใช้ชีวิตประจำวันของคนไทยมากขนึ้ รองจาก ปัจจยั 4 เงนิ และสมารท์ โฟน ซึ่งการเชื่อมตอ่ อนิ เตอรเ์ นต็ ในปัจจบุ ันสามารถเข้าไดห้ ลากหลาย ชอ่ งทาง และชอ่ งทางเหล่าน้ันจะถกู เรียกว่า “เว็บบราวเซอร์ (Web Browser)” ที่สำคัญเว็บ บราวเซอรใ์ นปจั จุบนั มมี ากมายหลายคา่ ยทีพ่ ฒั นาขนึ้ มา เว็บบราวเซอร์เหลา่ นตี้ า่ งมีความสามารถ และจุดเดน่ ที่แจกจา่ งกนั ไป ยิง่ ไปกวา่ นั้นยังสามารถเข้าเวบ็ บราวเซอรไ์ ดจ้ ากหลายๆ อุปกรณ์ เว็บบราวเซอร์ คือ โปรแกรมโปรแกรมหนึ่งทีผ่ ใู้ ช้งานใช้เปิดเพอ่ื เข้าชมเวบ็ ไซต์ตา่ งๆ หรือเรียกว่า ประตูสโู่ ลกอนิ เตอรเ์ น็ต ซึง่ หากมองในแง่เทคโนโลยีเว็บบราวเซอร์กเ็ ป็นหนึ่งโปรแกรมทีค่ วรมีติดไว้ ทุกเครือ่ ง แต่หากมองในแง่นักการตลาดเว็บบราวเซอร์คือแพลตฟอรม์ ที่สำคัญในการนำเสนอ ข้อมลู ขา่ วสารผ่านแต่ละแพลตฟอรม์ ที่มคี วามแตกตา่ งกนั เบราเซอรม์ ีความสามารถในการเปิดดู ไฟล์ต่างๆ ที่สนับสนนุ เช่น Flash JavaScript PDF Media ตา่ งๆ ซึ่งเบราเซอรม์ ีหลายตวั และ ความสามารถของแตล่ ะตัวกแ็ ตกต่างกันขนึ้ อยกู่ บั ว่าผู้พฒั นาเบราเซอร์ พฒั นาให้มคี วามสามารถ

หนงั สือ Electronic : ทกั ษะการร้ทู นั สือ่ (Media Literacy Skills) หน้า 24 อะไรบ้าง เบราเซอร์มักใช้เปิดดูเว็บเป็นส่วนใหญ่ และการใช้งานตา่ งๆในระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต็ กม็ กั จะทำผ่านเบราเซอร์ เชน่ การดภู าพยนตรผ์ ่าน Youtube การส่งเมล์ การซื้อขายสินค้าใน ระบบ e-commerce การใช้สื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media) การดาวน์โหลดไฟล์ การเล่นเกม ผ่านเน็ต การเรียนออนไลน์ เปน็ ต้น ลว้ นแล้วแตท่ ำผา่ นเบราเซอรท์ ง้ั สนิ้ วิทยาลยั อาชีวศึกษา เชียงใหม่ (2018) ได้นำเสนอเว็บบราวเซอรท์ ี่นยิ มใช้เข้าอินเตอร์เนต็ สำหรบั ปี 2018 ไว้ดงั นี้ 1. เครอ่ื งมือเวบ็ บราวเซอรเพื่อทองเวบ็ ไซต์ เว็บบราวเซอรท์ ีน่ ิยมใชเ้ ข้าอินเตอร์เนต็ สำหรับปี 2018 1.1 Mozilla Firefox สำหรบั ชื่อ Mozilla Firefox นี้หลายๆคนคงจะเคยคุ้นกันเปน็ อย่างดโี ดยเฉพาะอย่างยิ่งเหลา่ นกั ทอ่ งเว็บที่เน้นความเรว็ เปน็ หลัก โดยเจ้าหมาป่าไฟจากค่าย Mozilla ถอื ไดว้ ่าเปน็ เบราเซอรท์ ีไ่ ดร้ บั ความนยิ มมากทีส่ ุดในขณะนี้เพราะเปน็ โปรแกรมที่สามารถ ปฏิบัติการได้ท้ังบนระบบ Microsoft Windows, Linux และ Mac OS X 1.2 Google Chrome เวบ็ บราวเซอร์ที่เคยขนึ้ ส่ตู ำแหน่งเวบ็ บราวเซอรท์ ีม่ ผี ู้นยิ มใช้มากที่สดุ ซ่งึ ในยุค สมยั หนึง่ Chrome ถกู จัดให้เปน็ เวบ็ บราวเซอรท์ ีม่ ีการประมวลผลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ใช้ทรพั ยากรใน คอมพิวเตอร์น้อยที่สุด แต่น่ันคือเรอ่ื งของอดตี เพราะในปจั จุบัน Chrome ไม่ใช่เวบ็ บราวเซอรท์ ี่ ประมวลผลได้เร็วทีส่ ุด แถมปจั จบุ ัน Chrome ยังเปน็ เวบ็ บราวเซอรท์ ใี่ ช้ทรพั ยยากรใน คอมพิวเตอรเ์ ปส่อื งมากทีส่ ดุ โปรแกรมหนึ่ง หากจะหาขอ้ ดีกค็ งจะเป็นการเช่ือมโยงเวบ็ บราวเซอร์ กบั บญั ชีตา่ งๆ ของ Google ช่วยใหส้ ะดวกในการใช้งาน Google

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หน้า 25 1.3 Internet Explorer ถอื ว่าเว็บบราวเซอร์ Internet Explorer หรือ IE เปน็ แพลตฟอรม์ ที่มคี วาม เกา่ แก่มากที่สุดแพลตฟอร์มหนึ่ง เนือ่ งจากเปน็ โปรแกรมพนื้ ฐานทีอ่ ยู่คูก่ ับระบบปฏบิ ัติการ Windows มาตั้งแต่ยคุ สมัย Windows 3.11 ซึง่ ชอื่ กบ็ อกอยแู่ ลว้ วา่ เป็นโปรแกรมสำหรบั การเชื่อมตอ่ กับโลกอินเตอร์เน็ตดว้ ยความทีโ่ ปปรแกรมมมี านานมาก แถมยังเปน็ พืน้ ฐานในระบบปฏิบตั ิการ จึงทำให้ถกู ละเลย แตเ่ มอ่ื มกี ารพฒั นาจนมาสู่ร่นุ IE11 กช็ ว่ ยใหก้ ารเขา้ ถึงอินเตอรเ์ นต็ มี ประสทิ ธิภาพสูงข้นึ ถึงขนาดการันตวี ่าใช้ความสามารถของ Ram และ CPU น้อยกวา่ Firefox และ Chrome 1.4 Opera Browser เวบ็ บราวเซอรท์ ี่ถูกจบั ตามองมาโดยตลอด เนือ่ งจากมีความสามารถได้โดดเดน่ แตก่ ็ยงั เด่นไมเ่ กิน 3 เว็บบราวซอร์ด้านบน ซง่ึ Opera ยืนยันวา่ เป็นเวบ็ บราวเซอรท์ ี่มีฟงั กช์ นั่ ในการ ประหยดั แบตเตอรี่ได้ถึง 50% แตฟ่ งั กช์ น่ั นใี้ น Firefox กม็ ีเชน่ กัน ทีส่ ำคญั Opera ยงั เคลมวา่ สามารถป้องกันโฆษณาตา่ งๆ ไดโ้ ดยไมต่ ้องเพิ่มส่วนเสริมใด ทำให้สามารถโหลดหน้าเพจได้เร็วขนึ้ 90% โดยจุดเด่นของ Opera จะอยทู่ ี่ระบบ Opera Turbo หรือเทคโนโลยีในการบีบอดั ข้อมูลสำหรับ ผู้ใช้อนิ เทอร์เนต็ ความเร็วต่ำ ทำให้เบราเซอร์ตวั นนี้ อกเหนือจากจะเปน็ ที่ชนื่ ชอบของทางฝ่ังผู้ใช้งาน PC แล้ว มอื ถือก็เปน็ อีกอปุ กรณ์หนึง่ ที่เหมาะสมกับความสามารถที่ไมธ่ รรมดาของ Opera ตามไป ดว้ ย

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 26 1.5 Safari Safari เดิมทีตั้งต้นเปน็ เบราเซอร์สุดเอ็กซคลูซีฟที่ Apple พฒั นาขนึ้ มาเพ่อื ใช้กบั เครือ่ ง Mac โดยเฉพาะ แตว่ ่าในปัจจบุ นั Safari ได้รบั การยกระดับใหส้ ามารถใช้งานได้กบั เครือ่ ง Windows ทั่วไปๆ แลว้ ค่ะ จึงทำให้ Safari เริม่ เป็นชื่อทีค่ ุ้นหใู ครหลายคนเพม่ิ มากขนึ้ นอกจากนี้ Safari ยังเปน็ เบราเซอร์ทีม่ ีความสวยงาม สมกบั เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ของ Apple ตารางต่อไปนีเ้ ป็นการเปรียบเทยี บสมบัติของ เวบ็ บราวเซอร์ แตล่ ะตวั ชือ่ เบราเซอร์ ขอ้ ดี ข้อจำกัด - เปน็ บราวเซอร์ที่คนใช้งานมาก - IE เปิดหลายๆ แทบ็ มักจะเกดิ อาการ ทีส่ ุดในโลก รองรับการเปิดเว็บไซต์ ค้าง ไมท่ ำงาน ได้ทกุ เว็บไซต์ เมื่อเกิด ปัญหาเกิด - ช้าที่สุด เม่อื เทียบกบั บราวเซอร์อน่ื ๆ Internet Explorer (IE) สามารถแก้ไขไดง้ ่าย - ใช้หนว่ ยความจำคอมพิวเตอร์มาก - เวบ็ ไซต์เกมทกุ เว็บหรือโซเชียล ทีส่ ดุ ซึง่ อาจทำให้เครือ่ งช้าไปดว้ ย เน็ตเวิร์คตา่ งๆ - รองรบั โค้ดของ IE

หนังสือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 27 ชือ่ เบราเซอร์ ขอ้ ดี ขอ้ จำกดั - เรว็ ที่สดุ ในบรรดาเบราเซอร์ทกุ ตัว - Google สนับสนนุ น้อยลงเนื่องจาก ในที่นี้ หนั ไปพัฒนา Chrome แทน - เต็มไปดว้ ยอปุ กรณเ์ สริม (add-ons) - ผู้ใช้ทัว่ โลกยังน้อย เมือ่ เทียบกบั IE FireFox - ถ้าโดนบุกรุกจากสปายแวร์ ไวรัส เพราะ IE ติดมากบั วนิ โดว์อยู่แลว้ หากใช้ เบราเซอร์ FireFox จะไม่ - เว็บไซตส์ ่วนใหญ่ทำดว้ ย IE แสดงผล ค่อยเจอปญั หา (เกอื บ 100%) ดว้ ย ใน Firefox ไม่ได้ หรือถ้าแสดงได้ ระบบการรักษาความปลอดภัยและ อาจไมส่ มบรู ณ์ ระบบการอพั เดตอยตู่ ลอดจะชว่ ย - ไม่สามารถเข้าไปยงั เว้บไซตข์ อง แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งทันท่วงที สถาบนั การเงนิ ต่างๆ ได้ - มีลุกเลน่ เยอะ - เนอ่ื งจากลกู เล่นเยอะ ก็มีข้อดแี ละ - มีตัวดาวน์โหลดอยู่ในตัว ข้อเสีย ในตัวคือลูกเล่นเยอะ เปดิ แทบ็ - มีการอพั เดทอยู่เรือ่ ยๆ ได้เยอะ กินแรมมาก - พืน้ ที่หน้าจอใหญ่ที่สดุ และใช้เนื้อที่ - ไตเติ้ลบารส์ ้ัน คุ้มคา่ ทีส่ ดุ - เข้าเว็บสถาบันการเงนิ ไมไ่ ด้ - เร็วกว่า IE และเรว็ พอๆ กบั เชน่ เดียวกับ FireFox Google Chrome Firefox - ซพั พอร์ตภาษาไทยได้ไมด่ ีเทา่ ทีค่ วร Opera - มีแถบสำหรบั การค้นหาที่รวดเรว็ - การลบตัวอักษร ถ้าคำที่มีสระอยู่ด้วย - ขนาดไฟลน์ ้อย ไม่หนักเครือ่ ง มันจะลบไปหมด - หน้าตา่ งดาวนโ์ หลดอยู่แถบ ดา้ นล่าง ไมเ่ กะกะ เหมือน IE และ Firefox ที่เด้งออกมาเป็นอีก หน้าต่าง - ดงึ แอพของกูเกิลมาใช้งานอย่าง สะดวก - เรว็ กว่า IE Chrome FireFox - ลูกเลน่ น้อย บางหน้าเวบ็ แสดงผล - รปู ลกั ษณส์ วย เพ้ียน - ใช้หนว่ ยความจำของเครื่อง - เวลาเปิด บางทีช้ากวา่ เบราเซอร์อืน่ ๆ คอมพิวเตอร์ น้อยกวา่ IE แตก่ ย็ งั - ไม่ซพั พอร์ตเวบ็ ที่เปน็ ไออเี ทา่ น้ัน เช่น มากกวา่ Chrome เว็บของสถาบนั การเงินตา่ งๆ

หนังสือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั ส่อื (Media Literacy Skills) หน้า 28 ชือ่ เบราเซอร์ ขอ้ ดี ข้อจำกัด Safari - มี download manager ในตัว - ซัพพอรต์ HTML CSS - โหลดหน้าเวบ็ เรว็ มาก - ลุกเลน่ ยังไมค่ อ่ ยเยอะ โดยรวมแลว้ ไม่ - เลน่ javascript เรว็ กว่าเบราเซอร์ สู้ Firefox อ่นื ๆ - มีปญั หาดา้ นภาษาไทยเหมอื น - รองรับ CSS Animation ซึ่งเบรา Chrome เซอร์อื่น ไมร่ องรับ - กินทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ - รองรับ CSS Web Font ค่อนข้าง เยอะพอๆ กับ IE - สแกนข้อมลู ไดร้ วดเร็ว - ฟ้อนต์เพ้ียนเยอะมาก - ไวรสั สปายแวรต์ า่ งๆ ซาฟารี กำจัดได้ดกี วา่ IE และ Firefox 2. วธิ ีการสืบคน้ ข้อมลู โดยใช้สารบนเว็บ บรรพต พิจติ รกำเนิด (2559) กล่าวถึงวิธีการสบื ค้นข้อมลู โดยใช้สารบนเว็บดงั นี้ 2.1 วธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ นต็ ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะคน้ หาข้อมลู จำนวน มากมายอยา่ งนีเ้ ราไม่อาจจะคลิกเพ่อื ค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จำเป็นจะต้องอาศัยการคน้ หาข้อมลู ดว้ ยเครือ่ งมือค้นหาทีเ่ รียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซตท์ ี่ ให้บริการค้นหาขอ้ มลู มีมากมายหลายที่ท้ังของคนไทย และถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะตอ้ ง เสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลทีเ่ ราต้องการไมพ่ บ การที่เราจะค้นหาขอ้ มูลให้พบอยา่ ง รวดเร็วจึงต้องพึง่ พา Search Engine Site ซึง่ จะทำหน้าทรี่ วบรวมรายชือ่ เวบ็ ไซต์ตา่ งๆ เอาไว้ โดย จดั แยกเปน็ หมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพยี งแตท่ ราบหวั ข้อทีต่ ้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของ หัวข้อน้ันๆ ลงไปในช่องทีก่ ำหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่าน้ัน รอสกั ครขู่ ้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อ เวบ็ ไซตท์ ี่เกีย่ วข้องจะปรากฏใหเ้ ราเข้าไปศึกษาเพ่มิ เติมไดท้ นั ที 2.1.1 การค้นหาในรปู แบบ Index Directory วิธีการค้นหาข้อมลู แบบ Index นี้ขอ้ มูลจะมีความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย มากกว่าการคน้ หาข้อมลู ด้วย วิธขี อง Search Engineโดยมันจะถกู คัดแยกขอ้ มูลออกมาเป็น

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรูท้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หนา้ 29 หมวดหมู่ และจดั แบ่งแยก Site ตา่ งๆออก เป็นประเภท สำหรบั วิธใี ชง้ าน สามารถที่จะ Clickเลือก ข้อมูลทีต่ ้องการจะดไู ด้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหวั ข้อ ปลกี ยอ่ ยลกึ ลงมาอีกระดับหนึง่ ปรากฏข้นึ มาให้เราเลอื กอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลอื กเยอะแค่ ไหนน้ัน ขนึ้ อย่กู บั ขนาดของฐานข้อมลู ใน Index ว่าในแตล่ ะประเภท จดั รวบรวมเกบ็ เอาไว้มากน้อย เพยี งใด เมื่อเข้าไปถงึ ประเภทย่อยที่สนใจแล้ว ที่เวบ็ เพจจะแสดงรายชอื่ ของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมลู นั้นๆออกมา หากคิดวา่ เอกสารใดสนใจหรือต้องการอยากทีจ่ ะดู สามารถ Click ลงไปยัง Link เพอ่ื ขอเชื่อตอ่ ทางไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดงั กลา่ วออกมาแสดงผลทนั ที นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ทีแ่ สดงออกมานั้นทางผู้ใหบ้ ริการยังได้เรียบเรียงโดยนำเอา Site ที่มีความ เกี่ยว ข้องมากทีส่ ดุ เอามาไว้ตอนบนสุดของรายชื่อทีแ่ สดง 2.1.2 การคน้ หาในรปู แบบ Search Engine วิธีการอกี อย่างที่นิยมใช้การค้นหาขอ้ มลู คือการใช้ Search Engine ซึ่งผใู้ ช้ส่วน ใหญ่กวา่ 70% จะใช้วิธกี ารค้นหาแบบนี้ หลกั การทำงานของ Search Engine จะแตกตา่ งจากการใช้ Index ลกั ษณะของมันจะเปน็ ฐานข้อมลู ขนาดใหญ่มหาศาลที่กระจดั กระจายอยู่ทว่ั ไปบน Internet ไมม่ กี ารแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับข้ันของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนการสบื ค้น ฐานข้อมลู อืน่ ๆคือ จะต้องพิมพค์ ำสำคัญ (Keyword) ซึง่ เปน็ การอธิบายถึงขอ้ มูลที่ต้องการจะเขา้ ไป ค้นหาน้ันๆเข้าไป จากนั้น Search Engine กจ็ ะแสดงข้อมูลและ Site ต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องออกมา ข้อแตกตา่ งระหว่าง Index และ Search Engine คือวิธใี นการค้นหาขอ้ มูลแบบ Index จะใช้คนเปน็ ผู้ จัดรวบรวมและทำระบบฐานข้อมูลขึน้ มา สว่ นแบบ Search Engine นนั้ ระบบฐานข้อมูลของมันจะ ได้รบั การจัดสร้างโดยใช้ Software ทีม่ ีหน้าทีเ่ กีย่ วกับงานทางด้านนโี้ ดยเฉพาะมาเปน็ ตัวควบคมุ และจดั การซงึ่ Software ตวั นี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spiders การทำงานข้องมนั จะใช้วิธกี ารเดินลดั เลาะ ไปตามเครือข่ายต่างๆ ทีเ่ ช่อื มโยงถึง กนั อย่เู ต็มไปหมดใน Internet เพื่อค้นหา Website ทีเ่ กิดขนึ้ มา ใหม่ๆ รวมท้ังยังสามารถตรวจสอบหาความเปลย่ี นแปลงของ ขอ้ มลู ใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าทีใ่ ดถกู อัพเดตแลว้ บ้าง จากนั้นมนั ก็จะนำเอาข้อมลู ทั้งหมดทีส่ ำรวจเขา้ มา ไดเ้ ก็บใสเ่ ข้าไปในฐานข้อมลู ของ ตนอัตโนมัติ ยกตวั อยา่ งของผใู้ ห้บริการประเภทนี้ เชน่ Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหา ดว้ ยวิธี Search Engine นั้นมกั จะได้ผลลัพธอ์ อกมากว้างๆ ชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งขอ้ มูลที่ ค้นหามาได้อาจมีถงึ เป็นร้อยเปน็ พนั Site แล้วมีใครบ้างหละทีอ่ ยากจะมานั้นค้นหาและอ่านดูทีจ่ ะ

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรูท้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หน้า 30 เพจ ซง่ึ คงต้องเสยี เวลาเปน็ วนั ๆ แน่ ซง่ึ ก็ไมร่ บั รองด้วยวา่ จะได้ขอ้ มลู ที่ต้องการหรือไม่ ดงั นั้นจึงมี หลกั ในการค้นหา เพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู ใกล้เคียงความเปน็ จริงมากทีส่ ดุ ซง่ึ จะขอกลา่ วในตอนหลัง 2.2 ประเภทของ Search Engine Search Engine แต่ละแห่งมีวิธกี ารและการจัดเก็บฐานข้อมลู ทีแ่ ตกตา่ งกันไปตาม ประเภทของ Search Engine ทีแ่ ต่ละเวบ็ ไซต์นำมาใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั น้ันการทีจ่ ะเขา้ ไปหา ข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search น้ัน อยา่ งน้อยจะต้องทราบวา่ เว็บไซตท์ ี่เข้าไปใช้บริการ ใช้ วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอยี ดในการ จัดเก็บข้อมูลตา่ งกนั ไป ตอ่ ไปนีเ้ ป็น Search Engine ที่เหมาะกับการค้นหาขอ้ มลู 2.2.1 Keyword Index เปน็ การค้นหาข้อมลู โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจ ทีไ่ ด้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ขอ้ มูล อยา่ งน้อยๆ ก็ประมาณ 200-300 ตวั อกั ษร แรกของเวบ็ เพจนั้นๆ โดยการอ่านนีจ้ ะหมายรวมไปถึงอา่ นข้อความทอี่ ยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอย่ใู นรปู แบบของขอ้ ความที่อยใู่ นคำสง่ั alt ซึ่งเป็นคำสงั่ ภายใน TAG คำสั่งของรปู ภาพ แตจ่ ะไม่ นำคำส่งั ของ TAG อน่ื ๆ ในภาษา HTML และคำส่งั ในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการคน้ หา ของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคญั กบั การเรียงลำดับขอ้ มลู ก่อน-หลัง และความถีใ่ น การนำเสนอขอ้ มลู นั้น การค้นหาข้อมลู โดยวิธีการเช่นนจี้ ะมคี วามรวดเร็วมาก แตม่ ีความละเอยี ด ในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลคอ่ นข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอยี ดของเน้ือหา เทา่ ทีค่ วร แต่หากวา่ ตอ้ งการแนวทางดา้ นกวา้ งของข้อมูล และความรวดเรว็ ในการคน้ หา วิธกี ารนีก้ ็ ใช้ไดผ้ ลดี 2.2.2 Subject Directories การจำแนกหมวดหมขู่ ้อมูล Search Engine ประเภท นี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอยี ด ของแต่ละเว็บเพจ วา่ มีเนือ้ หาเกย่ี วกับอะไร โดย การจัดแบ่งแบบนีจ้ ะใชแ้ รงงานคนในการพิจารณาเว็บเพจ ซึง่ ทำให้การจัดหมวดหมขู่ ้นึ อยกู่ ับ วิจารณญาณของคนจดั หมวดหมู่แต่ละคนวา่ จะจดั เกบ็ ข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดงั น้ัน ฐานข้อมลู ของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบง่ ตามเนือ้ หากอ่ น แลว้ จึงนำมาเป็นฐานข้อมูล ในการค้นหาต่อไป การค้นหาคอ่ นขา้ งจะตรงกบั ความต้องการของผู้ใช้ และมีความถกู ต้องในการ ค้นหาสูง เปน็ ต้นวา่ หากเราต้องการหาขอ้ มูลเกี่ยวกบั เว็บไซต์ หรือเวบ็ เพจทีน่ ำเสนอขอ้ มลู เกี่ยวกบั

หนังสอื Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หน้า 31 คอมพิวเตอร์ Search Engine กจ็ ะประมวลผลรายชือ่ เว็บไซต์ หรือเวบ็ เพจทีเ่ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ลว้ นๆ มาให้ 2.2.3 Metasearch Engines จดุ เด่นของการค้นหาดว้ ยวิธีการนี้ คือ สามารถ เชอ่ื มโยงไปยัง Search Engine ประเภทอ่นื ๆ และยงั มีความหลากหลายของข้อมลู แต่การค้นหาด้วย วิธีนมี้ ีจดุ ดอ้ ย คือ วิธกี ารนีจ้ ะไมใ่ หค้ วามสำคญั กับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมกั จะผา่ นเลย คำประเภท Natural Language (ภาษาพดู ) ดังน้ัน หากจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ ตระหนกั ถึงข้อบกพร่องเหล่านีด้ ว้ ย 3. หลกั การคน้ หาข้อมลู ของ Search Engine สำหรบั หลักในการค้นหาข้อมูลของ Search Engine แต่ละตวั จะมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่าง กันออกไป ขึน้ อยกู่ บั ว่าทางศูนยบ์ ริการต้องการจะเก็บขอ้ มลู แบบไหน แตโ่ ดยสว่ นใหญแ่ ล้วจะมี กลไกในการค้นหาที่ใกล้เคียงกนั หากจะแตกตา่ งกค็ งจะเป็นเรื่องประสิทธิภาพเสยี มากกว่า วา่ จะมี ข้อมูล เกบ็ รวบรวมไว้อยู่ในฐานข้อมูลมากน้อยขนาดไหน และพอจะนำเอาออกมาบริการให้กับผู้ใช้ ได้ตรงตามความต้องการหรือเปล่า ซึง่ ลกั ษณะของปจั จยั ทีใ่ ช้ค้นหาโดยหลักๆ จะมีดงั นี้ 3.1 การคน้ หาจากชื่อของตำแหน่ง URL ใน เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 3.2 การค้นหาจากคำทมี่ ีอย่ใู น Title (ส่วนที่ Browser ใช้แสดงชื่อของเว็บเพจอยู่ ทางด้าน ซ้ายบนของหน้าตา่ งทแี่ สดง 3.3 การคน้ หาจากคำสำคัญหรือคำสัง่ keyword (อยใู่ น tag คำสั่งใน html ทีม่ ีชือ่ วา่ meta) 3.4 การค้นหาจากสว่ นที่ใช้อธิบายหรือบอกลกั ษณะ site 3.5 ค้นหาคำในหน้าเวบ็ เพจดว้ ย Browser ซงึ่ การค้นหาคำในหน้าเวบ็ เพจน้ันจะ ใช้สำหรบั กรณีที่เข้าไปค้นหาข้อมลู ที่เวบ็ เพจใด เวบ็ เพจหนึ่ง แล้วภายในมีข้อความปรากฏอยเู่ ต็ม ไปหมด จะน่งั ไล่ดูทลี ะบรรทัดคงไม่สะดวก ในลักษณะนี้เราใช้ใช้ browser ชว่ ยค้นหาให้ ข้นึ แรกให้ นำ mouse ไป click ที่ menu Edit แล้วเลือกบรรทดั คำส่งั Find in Page หรือกดปุม่ Ctrl + F ที่ keyboard กไ็ ด้ จากน้ันใส่คำทีต่ ้องการค้นหาลงไปแลว้ กก็ ดปมุ่ Find Next โปรแกรมก็จะวิง่ หาคำ

หนงั สอื Electronic : ทักษะการร้ทู นั สื่อ (Media Literacy Skills) หน้า 32 ดังกล่าว หากพบมนั ก็จะกระโดดไปแสดงคำน้ันๆ ซ่งึ สามารถกดปมุ่ Find Next เพ่อื ค้นหาต่อได้ อีก จนกวา่ จะพบข้อมลู ที่ตอ้ งการ 4. เทคนิค 11 ประการที่ควรรใู้ นการคน้ หาขอ้ มลู ในการค้นหาขอ้ มูลดว้ ย Search Engine ส่วนใหญแ่ ล้วปญั หาที่ผู้ใช้งานทว่ั ไปมักจะ พบเห็น หรือประสบอยเู่ สมอๆ ก็คงจะหนีไปไม่พ้นข้อมลู ที่ค้นหาไดม้ ีขนาดมากจนเกินไป ดงั น้ันเพื่อ ความสะดวกในการใช้งานควรจะเรียนรู้เทคนคิ ต่างๆ เพอ่ื ช่วยลดหรือจำกดั คำที่ค้น หาใหแ้ คบลง และตรงประเด็นกบั เรามากที่สดุ ดังวิธีการตอ่ ไปนี้ 4.1 เลือกรปู แบบการคน้ หาใหต้ รงกับสง่ิ ทีต่ ้องการมากที่สดุ สว่ นจะเลือกใช้วิธี ไหนกต็ ามแต่จะเหน็ ว่า เหมาะสม ตวั อยา่ งเช่น ถ้าต้องการจะค้นหาขอ้ มลู ที่มีลกั ษณะทว่ั ไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสบื ค้นข้อมูลแบบ Index อย่างของ yahoo เพราะ โอกาสทีจ่ ะเจอ น้ัน เปอร์เซ็นตส์ ูงกวา่ จะมานั่งสมุ่ หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine 4.2 ใช้คำมากกว่า 1 คำทีม่ ลี กั ษณะเก่ยี วข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพธ์ที่ มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากข้ึน (ยอ่ มจะดกี ว่าหาคำเดียวโดดๆ) 4.3 ใช้บริการของผู้ใหบ้ ริการเฉพาะดา้ น เช่นการค้นหาขอ้ มลู เกี่ยวกับเรอ่ื งราว ของ ภาพยนตรก์ ็นา่ ทีจ่ ะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้บริการใกล้เคียงกับเรือ่ งพวกนี้ เพราะผลลัพธ์ ทีไ่ ด้นา่ จะเปน็ ทีน่ า่ พอใจกว่า 4.4 ใสเ่ ครือ่ งหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำทตี่ ้องการ เพื่อบอกกบั Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มคี ำในกลมุ่ น้ันครบและตรงตามลำดับทีเ่ ราพิมพท์ กุ คำ เช่น \"free shareware\" เป็นต้น 4.5 การขึ้นตน้ ของตวั อกั ษรตวั เล็กเทา่ กนั หมด Search Engine จะเขา้ ใจวา่ เรา ต้องการ ใหม้ นั ค้นหาคำดังกล่าวแบบไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรทีไ่ ดจ้ ะมีขนาดเลก็ หรือใหญ่ ดังนั้น หากต้องการอยากทีจ่ ะให้มนั ค้นหาคำตรงตามแบบที่เขียนไว้ก็ใหใ้ ช้ ตวั อักษรใหญแ่ ทน 4.6 ใช้ตัวเชือ่ มทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เขา้ มาชว่ ยค้นหา มีอยู่ 3 ตวั ด้วยกัน คือ - AND ส่ังให้หาโดยจะต้องมคี ำน้ันๆมาแสดงด้วยเทา่ น้ัน! โดยไมจ่ ำเป็นว่าจะต้องติดกนั เชน่ phonelink AND pager เป็นต้น - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึง่ ที่พิมพ์ลงไปมาแสดง -

หนังสือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั สือ่ (Media Literacy Skills) หนา้ 33 NOT ส่งั ไมใ่ ห้เลอื กคำน้ันๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความวา่ ใหท้ ำการหา เวบ็ ที่เกีย่ วข้องกับ food และcheese แตต่ ้องไม่มี butter เปน็ ต้น 4.7 ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำทีต่ ้องการจริงๆ - (ลบ)ใช้ นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ ( ) ชว่ ยแยกกลุม่ คำ เชน่ (pentium+computer) cpu 4.8 ใช้ * เปน็ ตัวรว่ ม เช่น com* เปน็ การบอกให้หาคำทีม่ ีคำวา่ com ขนึ้ หน้าสว่ น ดา้ นท้ายเปน็ อะไรไมส่ นใจ *tor เปน็ การให้หาคำที่ลงท้ายดว้ ย tor ดา้ นหน้าจะเป็นอะไรไมส่ นใจ 4.9 หลีก เลย่ี งการใช้ตวั เลข พยายามเลีย่ งการใช้คำคน้ หาที่เปน็ คำเดีย่ วๆ หรือ เปน็ คำที่มตี ัวเลขปน แตถ่ ้าเลี่ยงไม่ได้ ควรใส่เครือ่ งหมายคำพูด (\" \") ลงไปด้วย เช่น \"windows 98\" 4.10 หลีกเลี่ยงภาษาพูด หลีกเล่ยี งคำประเภท Natural Language หรือเรียกงา่ ยๆ วา่ คำหรือข้อความที่เปน็ ภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรปุ เปน็ เพยี งกลุ่มคำหรือวลี ที่มี ความหมายรวมทั้งหมดไว้ Advanced Search อย่าลมื ทีจ่ ะใช้ Advanced Search เพราะจะมีสว่ นช่วย ได้มาก ในการบีบประเด็นหัวข้อให้แคบลง ซง่ึ จะทำให้ไดร้ ายชื่อเว็บไซต์ ทีต่ รงกบั ความต้องการของ มากขึน้ 4.11 อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมี ปมุ่ help หรือ Site map ไว้คอย ชว่ ยเหลือ แตค่ นสว่ นใหญ่มักจะมองขา้ ม ซึ่งhelp/site map จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลกี ยอ่ ยของแต่ละเวบ็ ไซต์ 5. SearchEngine แต่ละตวั มีข้อดใี นการสบื ค้นและวิธกี ารในการสบื คน้ ที่แตกตา่ งกนั ตลอดจนมีการจดั ทำส่วนพิเศษตา่ งๆ ในการสบื ค้น เพอ่ื ชว่ ยผู้ใชแ้ ละเพอ่ื ใหผ้ ู้ใช้สามารถสบื ค้นได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ผใู้ ช้ควรมคี วามรู้เกี่ยวกบั การค้นหา ดังนี้ คือ 5.1 วิธีการใช้ Search Engine แตล่ ะเว็บไซต์Search Engine แต่ละตวั จะมีสว่ นชว่ ย ในการอธบิ ายวิธใี ช้ในส่วนที่เรียกวา่ Help หรือAbout เชน่ Yahoo มีวธิ ีกำหนดคำค้นเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลค้น ทีเ่ ฉพาะเจาะจงหรือตรงต่อความต้องการ ดังนี้ - ใช้เครือ่ งหมายดอกจันทร์ (*) เพ่อื ค้นหาคำทีม่ กี ารสกดคล้ายกนั เช่น smok* หมายความว่า ให้ค้นหาคำทั้งหมดที่ขนึ้ ด้วย 5 ตัวอักษรแรก เชน่ smoke smoker เปน็ ต้น - ใช้เครื่องหมาย + สำหรบั กำหนดใหแ้ สดงผลการค้นเฉพาะเวบ็ ไซต์ ที่ ปรากฏคำท้ังสองคำ เช่น Secondary + education1.3 ใช้เครือ่ งหมาย “ ” สำหรบั การค้นหาคำที่ เป็นวลี เชน่ “great barrier reaf” ฯลฯ

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรู้ทนั สื่อ (Media Literacy Skills) หนา้ 34 - การใช้ตรรกบลู นี (Boolean Logic)เพอ่ื ใหส้ ามารถกำหนดการค้นหาทีแ่ คบ เข้ามา โดยใช้คำ AND OR NOT เข้าช่วยในการกำหนดคำคน้ เพือ่ ให้สามารถค้นหาไดอ้ ย่าง เฉพาะเจาะจงมากยิง่ ข้ึน การใช้ AND การกำหนดใช้ AND จะใช้เมื่อต้องการกำหนดใหค้ ้นรายการ ทีป่ รากฏคำทีม่ คี วามเกี่ยวข้องกัน ในรายการเดยี วกัน เชน่ water and soilการกำหนดแบบนี้ หมายความว่าผลการคน้ ต้องการคือเฉพาะรายการที่มคี ำว่า water และ soil เท่าน้ันหากรายการใด ทีม่ ีแตค่ ำว่า water หรือ soil ไม่ต้องการการใช้คำวา่ ORการใช้ OR เป็นการขยายคำคน้ โดย กำหนดคำหลายที่เหน็ วา่ มีความหามายคลา้ ยกนั หรือสามารถสะกดได้หลายแบบ การใช้ NOTการใช้ NOT จะใช้ในเม่ือต้องการจำกัดการค้นเข้ามาคือไม่ ต้องการรายการทีม่ เี นอ้ื หาส่วนที่ไม่ต้องการปรากฏอยู่ โดยกำหนดให้ตัดคำที่ไมต่ ้องการออกเช่น water not soilการกำหนดคำแบบนี้ หมายถึง ให้ค้นหารายการทีม่ คี ำว่า water แต่หากรายการใดมี คำว่า soil อย่ดู ้วย ไมต่ อ้ งการ ผลสืบค้นที่ไดท้ กุ รายการทีม่ คี ำวา่ water และหากมีคำวา่ Soil ให้คัด ออกทุกรายการ 5.2 ตวั อยา่ งเวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการสบื ค้นข้อมลู ทงั้ ของไทยและของตา่ งประเทศ การใช้งาน และ Web Search engine ของไทยและตา่ งประเทศSearch Engine แบบไทยๆ ข้อดขี อง Search Engine ไทย กค็ ือค้นหาคำทีใ่ ช้ภาษาไทยได้ และสามารถ Search เวบ็ ไซต์ ของไทยได้ดกี วา่ ด้วยเพราะต้ังใจทำมาเพ่อื การนโี้ ดยเฉพาะ ตวั อยา่ งเช่นSearch Engines of Thailand (www.searchenginecolossus.com/Thailand.html) เป็นเว็บไซตท์ ี่รวบรวมรายชื่อลงิ คส์ ำหรบั Search Engines และเว็บไซต์ทีเ่ ปน็ ไดเรคทอรของไทย ถา้ ไมร่ ู้จะเริ่มต้นทีไ่ หนก็เริม่ ต้นที่นีก่ ่อนได้ แตไ่ ม่ได้ให้บริการ ค้นหาข้อมลู หรือ Search โดยตรง Thaifind (www.kmutt.ac.th/menu6/Thaifind.html) เป็นเว็บไซตข์ องสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ทีใ่ ห้บริการคน้ หาข้อมูลโดยใช้คียเ์ วิร์ดไดท้ ้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และทำการ ค้นหาข้อมลู ไห้เรา โดยใช้เครื่องมือค้นหาของไทย 10 ตัว ของสากลอีก 10 ตวั เรียกว่า เป็น Metasearch หรือ อภิมหา Search นั่นแหละที่อยูข่ อง Search Engine ไทยอน่ื ๆ ทีน่ า่ สนใจ มดี ังนี้ http://www.thaifind.com http://www.ixquick.com http://www.thaiseek.com http://www.yahoo.com http://www.thaiall.com http://www.lycos.com

หนังสือ Electronic : ทักษะการรู้ทนั สือ่ (Media Literacy Skills) หนา้ 35 http://www.thainame.net/main.html http://www.netfind2.aol.com http://www.sanook.com http://www.excite.com http://www.google.com http://www.altavista.com http://www.aromdee.com http://www.freestation.com 5.3ประโยชนท์ ี่ได้รบั จาก Search Engine ◦ -ค้นหาเว็บที่ต้องการได้สะดวก รวดเรว็ ◦ -สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ไมว่ า่ จะเป็น รูปภาพ, ขา่ ว, MP3 และอ่นื ๆ อีกมากมาย ◦ -สามารถค้นหาจากเวบ็ ไซต์เฉพาะทาง ที่มีการจดั ทำไว้ เชน่ download.com เวบ็ ไซต์เก่ยี วกบั ข้อมูลและซอร์ฟแวร์ เปน็ ต้น ◦ -มีความหลากหลายในการค้นหาขอ้ มลู ◦ -รองรบั การค้นหา ภาษาไทย นอกจากนี้ยังมีการพฒั นาในรูปแบบของ Search Bar ทที่ ำให้ผู้ใช้งานไมจ่ ำเปน็ ต้องเข้าผา่ นเว็บไซต์ Search Engine เหล่าน้ันโดยตรงแลว้ ตัวอยา่ ง Search Bar ที่ขอแนะนำ เช่น Google Search Bar, Yahoo Search Bar เปน็ ต้น สำหรบั รายละเอียดใหค้ ลิกเข้าไปอา่ นและ download ได้ที่ Search Bar 4. การสืบค้นข้อมูลดว้ ยเวบ็ ไซต์ Google การสบื ค้นข้อมูลเป็นวิธกี ารให้ไดม้ าซึง่ ข้อมลู ทีเ่ ราต้องการ การไข้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ ในปจั จบุ ันมีแหล่งสารสนเทศมากมายทีจ่ ดั เก็บข้อมูลไว้ ทำอย่างไรเราจึงจะได้ สารสนเทศเหลา่ น้ันมาใช้ งานนับวา่ เปน็ ความท้าทายอยพู่ อสมควร และด้วยความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาระบบการ สืบค้นข้อมลู ขนึ้ มาอำนวยความสะดวกใหก้ บั ผูใข้งาน ท้ังนี้ เครือ่ งมือหนึง่ ทีไ่ ดร้ ับความนิยมมากในขณะนคี้ ือ Google แตถ่ ้าต้องการสบื ค้นข้อมลู ในเชิงวิชาการ ฐานข้อมลู ออนไลน้กเ็ ป็นอีกชอ่ งทางหนึง่ ทีช่ ว่ ยในการ สืบค้นข้อมลู ทีส่ ำคญั การสบื ค้นข้อมลู ด้วยเวบ็ ไซต์ Google เป็นเครอื่ งมอื อยา่ งหนึง่ ของเว็บไซต์ Google ที่ เรียกว่า Google Search ที่มืผใู ช้งานมากที่สุดในโลกในเวลานี้ สำหรับการสบื ค้นข้อมลู พ้ืนฐาน สามารถทำ ไดโ้ ดยการเขา้ ไปที่เวบ็ ไซต์ Google พิมพค์ ำทตี่ ้องการสบื ค้นข้อมูลลงไป แลว้ กด Q เพยี งเทา่ นีร้ ายการ ผลการค้นหาที่เกีย่ วข้องกบั คำนนั้ จะแสดงให้เหน็ ในเวลาไม่นาน นอกจากการ

หนังสือ Electronic : ทกั ษะการรูท้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 36 ค้นข้อมูลในรปู แบบเวบ็ ไซต์ Google Search ยงั สามารถสืบค้นข้อมลู รูปภาพ (image) กล่มุ ขา่ ว (news group) หรือสารบบเว็บ (web directory) ได้อกี ด้วย 4.1 การใช้งานเว็บไซต์ Google Search นั้น สามารถทำได้งา่ ยๆ เพียงเขา้ ไปยงั เวบ็ ไซต์ http://www.google.co.th - พิมพ์คำทตี่ ้องการคน้ หา - กด Q กจ็ ะไดร้ ายการผลการค้นหาอยา่ งมาก แต่อาจจะตรงหรือสอดคล้อง ความต้องการหรือไมน่ ้ัน อยู่ทีด่ ลุ ยพินิจของผูใข้งานแตล่ ะบคุ คล อย่างไรก็ตามเว็บไซต์ Google Search ยงั มืเครื่องมือเสริมทีช่ ว่ ยให้การสบื ค้นข้อมลู บนเว็บไซต์ Google Search ที่ควรเรียนรู้คือในหน้าแสดงผลการสบื ค้นข้อมลู จะมีแท็บเมนูยอ่ ยที่ สามารถ กำหนดทางเลือกของผลการสบื ค้นข้อมูลได้ เชน่ ภาพหน้าจอแสดงผลการสบื ค้นข้อมลู ผใู ช้สามารถเลือกลกั ษณะผลการสบื ค้นตามทตี่ ้องการ อาทิ -All เป็นผลการสบื ค้นข้อมลู ภาพรวมทั้งหมด ทางเลือกนี้จะแสดงเป็นค่าพื้นฐาน (default) ของเวบ็ ไซต์ Google Search อยูแ่ ล้ว -Image เป็นการกำหนดใหแ้ สดงผลการสบื ค้นข้อมลู เปน็ รูปภาพ -Video เปน็ การกำหนดใหแ้ สดงผลการสบื ค้นข้อมูลเปน็ วิดโี อ -News เปน็ การกำหนดใหแ้ สดงผลการสบื ค้นข้อมูลเป็นกลุ่มข่าว -Map เปน็ การกำหนดให้แสดงผลการสบื ค้นข้อมลู เปน็ แผนที่ -More เป็นการกำหนดใหแ้ สดงผลการสบื ค้นข้อมลู เป็นหนังสอื หรือแอปพลเิ คช่ัน

หนังสือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หนา้ 37 ต่างๆ ภาพแสดงผลการค้นหาข้อมลู ที่ใช้ Search tools 4.2 เครื่องมือช่วยการค้นหา (Search tools) ผู้ใช้สามารถใช้เครือ่ งมือช่วยการค้นหา (Search tools) ที่เครื่องมือเสริม ความสามารถ การสบื ค้นข้อมูลให้มคี วามตรงตามความต้องการของผูใช้มากขนึ้ โดยเครื่องมือชว่ ย การค้นหาจะมีเมนยู อ่ ยแตกต่างกันไป ขนึ้ อยกู่ บั การเลือกลักษณะผลการสบื ค้น ไดแ้ ก่ The Web - สำหรบั เลือกผลการค้นหาท้ังหมดที่มืบนเวบ็ ไซต์ Google หรือเลอื ก เฉพาะผลการค้นหาที่มใี นประเทศไทยเท่านนั้ Any price – สำหรับเลือกผลการสบื ค้นที่มีค่าใข้จา่ ย (paid) หรือไมม่ ีค่าใช้จ่าย (free) Any OS - สำหรับเลือกผลการสบื ค้นทีเ่ หมาะกบั ระบบปฏิบัติการ IOS หรือ Adroid Size - สำหรับเลือกผลการสบื ค้นทตี่ ้องการขนาดของภาพที่ต้องการ Color - สำหรบั เลือกผลการสบื ค้นที่ต้องการโทนสขี องภาพทีต่ ้องการ Type - สำหรบั เลือกผลการสบื ค้นตามลกั ษณะของภาพ เช่น ภาพหน้า ภาพถา่ ย คลิปอาร์ต ภาพวาดลายเส้น หรือเปน็ ภาพแอนิเมชัน่ Time - สำหรับเลือกผลการสบื ค้นที่สามารถกำหนดชว่ งเวลาทีผ่ ่านไป เชน่ 24 ช่วั โมง 1 สปั ดาห์ หรือกำหนดชว่ งเวลาตามตอ้ งการ Usage rights - สำหรับเลือกผลการสบื ค้นทตี่ ้องการทราบว่าภาพนนั้ นำไปใช้ได้ ในลกั ษณะใดไดบ้ ้าง

หนังสอื Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หน้า 38 Duration - สำหรับเลือกผลการสบื ค้นที่ต้องการความสน้ั /ยาวของวิดีโอ Quality - สำหรับเลือกผลการสบื ค้นที่ต้องการภาพของวิดโี อ Source – สำหรบั เลือกผลการสบื ค้นที่เจาะจงเว็บไซต์ทีอ่ ยู่ของวิดีโอ 3.3 เทคนคิ การคน้ หาเวบ็ ไซต์ Google Search การค้นหาโดยท่วั ไปจะใช้คำสำคัญ (keyword) คำใดคำหนึง่ ในการนำทางการ สบื ค้นข้อมลู แต่ย่งมืเทคนิคการค้นหาที่จะทำใหผ้ ูใช้ไดผ้ ลการค้นหาทตี่ รงกับความต้องการมาก ยิ่งขนึ้ เรียกวา่ ตรรกบสู นี (boolean logic) ที่นำหลกั คิดเร่อื งเซตและเครือ่ งหมายในคณติ ศาสตร์มา ใช้ ซึ่งจะเปน็ การขยาย/ ลด/จำกัดขอบเขตการค้นหาของ Google เน่อื งจากปกติเวบ็ ไซต์ Google Search จะไมส่ นใจคำท่ัวไป (common word) เช่น is, am ,are, what, when, where, why, how, at, with, on, the, to, of, by ดังนั้นหาผูใช้ต้องการผลการสบื ค้นที่มืคำเหลา่ นจี้ ึงจำเป็นต้องเรียนรู้ เพ่มิ เติม สำหรับเทคนิคทีน่ ำมาช่วยใน การคน้ หา ได้แก่ การใช้เครือ่ งหมาย + เป็นเครื่องมอื ทีใ่ ช้ ในการลดจำนวนผลการสบื ค้นข้อมลู ใช้เมือ่ ต้องการ คำทีเ่ ปน็ คำท่วั ไปดว้ ย เช่น เม่อื ใช้ เครื่องหมาย+ ไดผ้ ลการสบื ค้น ภาพแสดงผลการสบื ค้นจากวลี type of food การใช้เครือ่ งหมาย + ในการสืบค้น จะชว่ ยลดจำนวนผลการสบื ค้นขอ้ มลู ได้ ซ่งึ ส่งผลให้ ผู้ใช้ไดผ้ ลการสบื ค้นที่ตรงตอ่ ความต้องการมากข้นึ การใช้เครื่องหมาย - เป็นเครื่องมือทีใ่ ช้จำกดั ผลการสบื ค้น กลา่ วคือผลการสบื ค้นที่ได้ จะตดั คำทีไ่ ม่ต้องการออกไป เชน่ ต้องการค้นหาเกีย่ วกบั อาหารคาวของภาคต่างๆ แตไ่ ม่ต้องการอาหาร คาวของภาคเหนอื

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรูท้ นั ส่อื (Media Literacy Skills) หนา้ 39 ภาพแสดงผลการสบื ค้นจากคำวา่ อาหารคาว – แกง จากภาพจะเหน็ วา่ การใช้เครื่องหมาย - เป็นเครื่องมือที่สามารถลดจำนวนผลการค้นหา ได้อีกวิธหี นึง่ ตา่ งจากการใช้เครือ่ งหมาย + ตรงที่มันชว่ ยจำกดั คำหรอื เรือ่ งที่ไมต่ ้องการออกไป การใช้เครื่องหมาย “ ” เปน็ เครื่องมือที่ชว่ ยคน้ หาวลีหรือกลมุ่ คำ โดยผู้ใช้ต้องพิมพว์ ลี หรอื กลุม่ คำ ภายใต้เครือ่ งหมาย “ ” เช่น ภาพแสดงผลการสบื ค้นจากวลี “อาหารคาว 4 ภาค” จากภาพจะเห็นวา่ การใช้เครื่องหมาย “ ” ก็ช่วยลดจำนวนผลการสบื คน้ ข้อมลู ได้ เช่นกนั การใช้คำวา่ OR เป็นเครือ่ งมอื ช่วยขยายขอบเขตการสบื ค้นขอ้ มลู เหมาะกบั การสบื ค้น ข้อมลู ทีม่ จี ำนวนน้อยแต่ผู้ใช้มีความต้องการขอ้ มลู ในจำนวนที่มาก เช่นกนั จากภาพจะเหน็ ว่า การใช้คำว่า OR จะทำให้ผลการสบื ค้นข้อมลู มจี ำนวนเพม่ิ มากขขนึ้ นน่ั คือการสบื คน้ ข้อมูลจะมีคำใดคำหนึง่ หรือมีทั้ง 2 คำกไ็ ด้

หนงั สอื Electronic : ทักษะการรทู้ นั ส่ือ (Media Literacy Skills) หน้า 40 4.4 เทคนิคอ่นื ๆ ทีน่ ่าสนใจในการใช้เวบ็ ไซต์ Google Search นอกจากการสบื ค้นแบบทั่วไปและการใช้เทคนิคการสบื คน้ ที่เสนอไปในหวั ข้อก่อน หน้านี้ เวบ็ ไซต์ Google Search ยังมีความสามารถในอีกหลายดา้ น ได้แก่ 4.4.1 การสบื ค้นขน้ั สูง (advanced search) เป็นเครือ่ งมือทีส่ ามารถกำหนดใหผ้ ล การสบื ค้น ตรงตามความต้องการมากทีส่ ดุ โดยสามารถกำหนดคำสบื ค้น (word or phrase) ภาษา (language) ประเทศ (region) การอปั เดต (last update) เว็บไซต์หรือโดเมนเนม (site or domain) ตำแหน่งที่ ปรากฎคำสบื ค้น (term appearing) ชนิดของไฟล์ (file type) สทิ ธิการไชง้ าน (usage right)

หนังสอื Electronic : ทกั ษะการรูท้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หนา้ 41 การหาความหมายของคำศัพท์ เปน็ เครื่องมอื ช่วยในการแปลความหมายของคำศพั ท์ โดย ต้องใช้คำสัง่ define ตามดว้ ยคำศัพท์ที่ตอ้ งการแปลความหมาย เช่น การสบื ค้นข้อมูลโดยระบุ ชนิดของไฟล์ เปน็ เครื่องมือทีช่ ว่ ยใหผ้ ูใข้สามารถสืบค้นข้อมูลที่ อยู่ในรูปแบบไฟลท์ ีต่ ้องการ โดย ต้องใช้คำสัง่ filetype: แล้วตามดว้ ยนามสกุลของไฟล์ ความเขาใจการใช้ ict 1. การสือ่ สารขอ้ มลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคมนาคมและการส่อื สารนำมาประยกุ ต์ใช้เพือ่ พัฒนาและปรับปรงุ การ ดำเนินงานทางธุรกิจโดยมีวตั ถปุ ระสงคห์ ลัก 4 ประการคือ เพอ่ื การสอ่ื สารทางธรุ กิจที่ดีข้นึ เพ่อื ให้ การดำเนินงานมีประสทิ ธิภาพสูงข้นึ เพื่อการกระจายข้อมูลท่ดี ขี นึ้ และ เพอ่ื การจัดการ กระบวนการธรุ กิจทีส่ ะดวกข้ึน 1.1 องค์ประกอบของการสื่อสาร 1.1.1 ผู้สง่ ข้อมูล (Sender) ทำหน้าทีส่ ่งข้อมูล 1.1.2 ผู้รบั ข้อมูล (Receiver) ทำหน้าทรี่ ับข้อมูล 1.1.3 ข้อมูล (Data) ข้อมลู ทีผ่ ู้สง่ ข้อมลู ต้องการส่งไปยงั ผู้รบั ข้อมูล อาจอยู่ในรูป ของข้อความ เสียง ภาพเคล่อื นไหว 1.1.4 สอ่ื นำข้อมูล (Medium) ทำหน้าทีเ่ ปน็ ตัวกลางในการขนถา่ ยข้อมลู เชน่ สาย เคเบิล ใยแก้วนำแสง อากาศ 1.1.5 โปรโตคอล (Protocol) กฎหรือวิธีทีถ่ ูกกำหนดขนึ้ เพื่อการส่อื สารข้อมลู ใน รปู แบบตามวิธีการสอ่ื สารทีต่ กลง กันระหว่าง ผู้ส่งข้อมลู กับ ผู้รับข้อมลู 1.2 การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร การสอ่ื สารข้อมูลในยุคปจั จุบนั ได้ตะหนกั ถึง ความสำคญั ในการนำเทคโนโลยีคมนาคมและการสอ่ื สาร มาชว่ ยงานเพือ่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพของการ ดำเนินงาน ซึ่งการประยกุ ต์เทคโนโลยีการสอ่ื สารในองค์การมีดงั นี้ 1.2.1 ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail) การใช้อปุ กรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น โทรศัพทม์ ือถอื คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งขอ้ ความอเิ ล็กทรอนิกส์ไปยังบคุ คล อ่นื โดยการสอ่ื สารนี้บคุ คลทีท่ ำการส่อื สารจะต้องมีชือ่ และทีอ่ ยูใ่ นรปู แบบอเี มลแอดเดรส 1.2.2 โทรสาร (Facsimile หรือ Fax) เปน็ การส่งข้อมูล ซึง่ อาจเป็นข้อความที่เขียนขนึ้ ด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเครือ่ งคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์อื่นๆ ทีม่ ีอุปกรณ์ทีเ่ รียกว่า

หนังสอื Electronic : ทกั ษะการรทู้ นั ส่อื (Media Literacy Skills) หน้า 42 แฟกซ์-โมเด็ม ไปยังเครือ่ งรบั โทรสาร การส่งข้อความในลกั ษณะนชี้ ว่ ยประหยัดค่าใช้จา่ ยและมี ประสทิ ธิภาพสงู กว่าการสง่ ขอ้ มลู ผา่ นเครื่องโทรสารธรรมดา 1.2.3 วอยซ์เมล (Voice Mail) เปน็ การสง่ ข้อความเปน็ เสียงพูดใหก้ ลายเป็นข้อความอิเลก็ ทรอนิกส์ผ่าน ระบบเครือข่ายการส่อื สารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอปุ กรณ์บนั ทึกเสียงที่เรียกวา่ วอยซเ์ มลบ็อกซ์ เม่อื ผรู้ ับเปิดฟังข้อความดังกลา่ วก็จะถกู แปลงกลับไปอยู่ในรูปแบบของเสียงพูดตามเดิม 1.2.4 การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ (Video Conferencing) เปน็ การส่อื สารข้อมลู โดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝา่ ยหนึง่ ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอปุ กรณ์สำหรับการบันทึกภาพและอปุ กรณ์บนั ทึกเสยี ง โดย ทีภ่ าพและเสยี งที่ส่งไปน้ันอาจเปน็ ภาพเคลือ่ นไหวที่มเี สียงประกอบได้ การประชุมทางไกล อเิ ล็กทรอนิกสช์ ่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประชมุ 1.2.5 การระบุตำแหนง่ ดว้ ยดาวเทียม (Global Positioning Systems : GPSs) เป็นระบบทีใ่ ช้วิเคราะหแ์ ละระบุตำแหน่งของคน สัตว์ หรือสิง่ ของที่เป็น เป้าหมายของระบบ การวิเคราะหต์ ำแหน่งทำได้โดยใช้ดาวเทียมระบตุ ำแหน่ง ปจั จบุ นั มีการนำไปใช้ ในระบบการเดินเรอื เครื่องบินและเริมพฒั นามาใช้เพื่อระบุตำแหนง่ ของรถยนตด์ ว้ ย 1.2.6 กรุ๊ปแวร์ (groupware) เป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ี่ช่วยสนบั สนนุ การทำงานของกลุ่มบคุ คลใหส้ ามารถ ทำงานรว่ มกัน การใช้ทรพั ยากรและสารสนเทศรว่ มกนั โดยผ่านระบบเครือข่าย 1.2.7 การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer : EFT) ปัจจบุ ันผู้ใช้สามารถชำระคา่ สนิ คา้ และบริการโดยการโอนเงินทาง อเิ ลก็ ทรอนิกส์จากบญั ชีธนาคารที่ใหบ้ ริการโอนเงนิ อตั โนมัติด้วยเทคโนโลยีการสอ่ื สารที่ทนั สมยั กิจกรรมที่ประยกุ ต์ใช้กนั เป็นประจำ ไดแ้ ก่ การโอนเงินผ่านทางตู้ ATM 1.2.8 การแลกเปลี่ยนขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เป็นระบบแลกเปลย่ี นข้อมูลเชิงทางอเิ ลก็ ทรอนิกสร์ ะหวา่ งองคก์ าร โดยใช้ แบบฟอรม์ ของเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทม่ี ีรูปแบบมาตรฐานสากล เชน่ การสง่ ใบสง่ั สินค้า ใบสง่ ของ ใบเรียกเกบ็ เงิน 1.2.9 การระบุลกั ษณะของวตั ถดุ ้วยคล่นื ความถีว่ ิทยุ (RFID) เปน็ ระบบระบลุ กั ษณะของวัตถุด้วยคลน่ื ความถี่วิทยุ ปัจจุบนั มีการนำ RFID ไปประยกุ ตใ์ ช้งานหลากหลายประเภท เช่น หว่ งโซ่อุปทาน ระบบโลจสิ ติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์มเลีย้ งสุกร บตั รทางด่วน บัตรรถไฟฟ้าใต้ดนิ ระบบหนงั สอื เดนิ ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 1.3 ประเภทของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ภายในเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรูท้ นั สื่อ (Media Literacy Skills) หนา้ 43 1.3.1 เซริ ฟ์ เวอร(์ Server) เปน็ เครื่องคอมพิวเตอรท์ ีท่ ำหน้าที่ให้บริการต่างๆ โดยแต่ละเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถมีเครื่องคอมพิวเตอรเ์ ซิรฟ์ เวอรไ์ ด้หลายเครื่องตามความ ต้องการชนิดของเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ ซิรฟ์ เวอรม์ ีดังนี้ - ไฟล์เซฟิ เวอร์ (File Server) ทำหน้าทีใ่ ห้บริการแฟ้มข้อมลู แก่เครือ่ ง คอมพิวเตอรอ์ น่ื ๆ ซึ่งสามารถเรียกใช้แฟ้มงานต่างๆ จากเซริ ฟ์ เวอรไ์ ด้ - ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) ทำหน้าทีใ่ ห้บริการฐานข้อมูล แกเ่ ครือ่ งคอมพิวเตอรภ์ ายในเครือข่าย - พรินต์เซิรฟ์ เวอร์ (Print Server) ทำหน้าที่ให้บริการเครื่องพิมพใ์ นการพิมพ์ เอกสารตา่ งๆ - อนิ เทอรเ์ น็ตเซริ ฟ์ เวอร์ (Internet Server) เป็นเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ี่ สามารถติดต่อกับเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ได้และทำหน้าทีใ่ หบ้ ริการแกเ่ ครื่องคอมพิวเตอรอ์ น่ื ๆ ในการใช้อินเตอร์เน็ต - เวป็ เซิรฟ์ เวอร์ (Web Server) ทำหน้าทีเ่ ก็บข้อมูลเวบ็ ไซต์ และเมื่อเครื่อง คอมพิวเตอร์อนื่ ต้องการเรียกดขู ้อมูลจากเว็บไซต์เหล่าน้ัน เว็บเซริ ์ฟจะทำหน้าที่ส่งข้อมลู เหล่านั้น ไปให้ - เมลเซริ ฟ์ เวอร์ (Mail Server) ทำหน้าทีเ่ ก็บจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Mails หรือ E-Mail) - ระบบโดเมนเนม (Domain Name System Server) ทำหน้าที่เกบ็ ชอื่ โดเมน และแปลชื่อโดเมนให้เปน็ อแี อดเดรส (IP Address) - เวิรก์ สเตช่ัน (Workstation) เปน็ เครื่องคอมพิวเตอรท์ วั่ ๆ ไปที่สามารถทำ การประมวลผลข้อมลู ตา่ งๆ - ไคลเอนต์ (Client) เปน็ เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ีม่ ีการเรียกใช้ข้อมลู จาก เซริ ์ฟเวอร์ - เทอร์มินลั (Terminal) เป็นอปุ กรณ์ที่ประกอบดว้ ยจอภาพ แป้นพิมพ์ และ อปุ กรณ์อน่ื ๆ เทอร์มินัลไม่สามารถประมวลผลข้อมูลได้ดว้ ยตนเองแตใ่ ช้การสอ่ื สารข้อมูลกับ เซริ ฟ์ เวอร์และให้เซิรฟ์ เวอรท์ ำการประมวลผลข้อมลู พร้อมท้ังสง่ ข้อมูลมาปรากฏบนจอภาพ 1.4 ชนดิ ของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์

หนงั สอื Electronic : ทกั ษะการรู้ทนั สือ่ (Media Literacy Skills) หนา้ 44 1.4.1 Personal Area Network (PAN) เครือข่ายส่วนบุคคล เปน็ เครือขา่ ยสำหรับ การแลกเปลี่ยนสารสนเทศและบริการตลอดจนการใช้งานอุปกรณร์ ่วมกนั เชน่ เทคโนโลยี บลูทธู 1.4.2 Local Area Network (LAN) เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบท้องถิ่น ระยะ ทางการเชื่อมต่อประมาณไม่เกิน 10 กิโลเมตร มีความเรว็ ในการแลกเปลย่ี นข้อมูลประมาณ 10- 100 Mbps 1.4.3 Metropolitan Area Network (MAN) เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ อาจครอบคมุ พนื้ ที่ท้ังตำบลหรืออำเภอ 1.4.4 Wide Area Network (WAN) เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาก ภายใน เครือข่ายประกอบไปดว้ ยเครือข่าย Lan และ Man พืน้ ที่ของเครือข่ายแบบนี้ สามารถครอบคลุมได้ ทั้งประเทศ หรือทวั่ โลก 2. สื่อสังคมออนไลน์ หรือ Social Media สอ่ื สงั คมออนไลน์ หรือ Social Media หมายถึง สื่อดจิ ิตอล หรือซอรฟ์ แวรท์ ีท่ ำงาน อยู่บนพืน้ ฐานของระบบเว็บ หรือเวบ็ ไซตบ์ นอนิ เตอร์เนต็ ที่เปน็ เครือ่ งมือในการปฏิบตั ิการทาง สังคม ที่มีผสู้ ่อื สารจดั ทำขนึ้ โดยที่ผู้เขียนจดั ทำขึน้ เอง หรือพบเจอส่ิงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองราว เหตุการณ์ บทความ ประสบการณ์ รูปภาพ วดิ โี อ และเพลง แลว้ นำมาแบ่งปนั เนือ้ หา ขอ้ มลู ข่าวสาร ประสบการณ์ และพดู คยุ ใหผ้ ู้ใช้ในโลกออนไลน์ ในเครือข่ายของตนได้รบั รู้ ทั้งข้อความ ภาพนิง่ ภาพเคลอ่ื นไว เสียง กบั คนที่อยู่ในสังคมเดียวกนั ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ รวมถึง การใช้ประโยชน์รว่ มกัน (Elizabeth, 2012; Jan 2011, อรวรรณ วงศแ์ ก้วโพธิ์ทอง, 2553) 2.1 ประเภทของ Social Media ทีใ่ ช้ในการส่อื สารข้อมลู ตา่ งๆ แบง่ เปน็ 7 ประเภท ดงั นี้ 2.1.1 ประเภทการเขียนบทความ (Web Blog) เปน็ ระบบจดั การเน้ือหา (Content Management System: CMS) รปู แบบหนึ่ง ซ่งึ ทำให้ผู้ใช้สามารถเขยี นบทความที่เรียกว่าโพสต์ (Post) และทำการเผยแพร่ได้งา่ ย เป็นการเปิดโอกาสให้คนทีม่ คี วามสามารถในดา้ นต่างๆ สามารถ เผยแพรค่ วามรู้ดงั กล่าวดว้ ยการเขยี นได้อยา่ งเสรี 2.1.2 ประเภทแหล่งข้อมูล หรือความรู้ (Data/ Knowledge) เปน็ เวบ็ ทีร่ วบรวม ข้อมลู ความรู้ในเร่ืองตา่ งๆ ในลักษณะเนือ้ หาอิสระ ทั้งวิชาการ ภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ สนิ ค้า หรือบริการ โดยม่งุ เน้นใหบ้ คุ คลทีม่ ีความรู้ในเรือ่ งต่างๆ เปน็ ผู้เข้ามาเขียนหรือแนะนำไว้ ซึง่ สว่ น ใหญม่ ักเปน็ นกั วิชาการ นกั วิชาชีพ หรือผู้เชยี่ วชาญ ที่เหน็ ได้ชัดเจน เช่น Wikipedia, Google Earth เปน็ ต้น

หนังสือ Electronic : ทกั ษะการร้ทู นั ส่ือ (Media Literacy Skills) หน้า 45 2.1.3 ประเภทเกมออนไลน์ (Online Games) เป็นเว็บทนี่ ิยมมากเพราะเปน็ แหล่ง รวบรวมเกมไว้มากมาย จะมีลักษณะเปน็ วิดีโอเกมที่เลน่ บนเครือข่ายอินเตอร์เนต็ ซ่งึ เกมออนไลน์นี้ ผู้เลน่ สามารถทีจ่ ะสนทนา เล่น แลกเปลี่ยนสิ่งของในเกมกับบคุ คลอ่นื ๆ ในเกมได้ และสาเหตุทีม่ ีผู้ นิยมมากเน่ืองจากผเู้ ลน่ ได้เข้าสงั คมจึงรู้สึกสนกุ ทีจ่ ะมีเพื่อนเล่นเกมไปด้วยกัน มากกว่าการเล่นเกม คนเดียว อีกท้ังมีภาพทสี่ วยงาม และมีกิจกรรมตา่ งๆ เพ่มิ เชน่ อาวธุ หรอื เครื่องแตง่ ตัวใหมๆ่ ที่ สำคัญสามารถที่จะเล่นกบั เพ่อื นๆ แบบออนไลนไ์ ดท้ นั ที เชน่ Word of Warcraft, League of Legends, Star Craft เป็นต้น 2.1.4 ประเภทชมุ ชนออนไลน์ (Community) เป็นเว็บทีเ่ น้นการหาเพือ่ นใหม่ หรือการ ตามหาเพ่อื นเกา่ ที่ไมไ่ ด้เจอกันนาน การสร้าง Profile ของตนเอง โดยการใส่รูปภาพ, กราฟฟคิ ที่ แสดงถึงความเปน็ ตวั ตนของเรา (Identity) ใหเ้ พื่อนทีอ่ ย่ใู นเครือข่ายได้รู้จักเรามากยิง่ ขนึ้ และยังมี ลกั ษณะของการแลกเปลย่ี นเร่อื งราว ถ่ายทอดประสบการณต์ า่ งๆ รว่ มกนั เช่น Facebook, Google Plus เป็นต้น 2.1.5 ประเภทฝากรปู ภาพ (Photo Management) เวบ็ ที่เน้นฝากเฉพาะรูปภาพโดย การ Upload รปู ภาพจากกล้องถ่ายรปู หรือโทรศพั ทม์ ือถอื ไปเกบ็ ไว้บนเว็บ ซง่ึ สามารถแชร์ภาพ หรือซอื้ ขายภาพกันได้ เชน่ Instagram, Flickr, Pinterest เปน็ ต้น 2.1.6 ประเภทส่อื (Media) เว็บที่ใช้ฝาก หรือแบ่งปนั ไฟลป์ ระเภท Multimedia อยา่ ง คลิปวิดีโอ ภาพยนตร์ เพลง ฯลฯ โดยใช้วิธีเดยี วกนั กบั แบบเว็บฝากภาพ แต่จะเน้นเฉพาะไฟล์ที่เปน็ Multimedia เช่น YouTube, Ustream, Vimeo เปน็ ต้น 2.1.7 ประเภทซื้อ-ขาย (Business/ Commerce) เปน็ เวบ็ ที่ทำธรุ กิจออนไลน์ทีเ่ น้นการ ซือ้ -ขายสินค้า หรือบรกิ ารต่างๆ ผ่านเว็บไซต์ (e-Commerce) เช่นการซือ้ ขายรถยนต์ หนงั สอื หรือ ที่พกั อาศัย เวบ็ ที่ไดร้ ับความนยิ มมาก เช่น Amazon, eBay, Lazada เป็นต้น แต่เวบ็ ไซตป์ ระเภทนี้ ยงั ไม่ถอื วา่ เป็น Social Network ทีแ่ ท้จริง เนือ่ งจากไมไ่ ด้เปิดโอกาสใหผ้ ู้ใชบ่ ริการแชร์ข้อมลู กัน นอกจากเน้นการส่ังซอื้ และแนะนำสนิ ค้าเปน็ ส่วนใหญ่ 3. การวนิ จิ ฉยั ความนาเชื่อถือของขอมูล 3.1 ชนดิ ของสัญญาณขอ้ มลู 3.1.1 สัญญาณแอนะลอ็ ก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบตอ่ เนื่อง มีลักษณะ เป็นคล่นื ไซน์ (Sine Wave) โดยทีแ่ ตล่ ะคล่นื จะมีความถี่และความเข้มของสญั ญาณทีต่ ่างกนั เมือ่ นำ สญั ญาณขอ้ มูลเหลา่ นีม้ าผา่ นอปุ กรณร์ บั สญั ญาณและแปลงสัญญาณและแปลงสัญญาณกจ็ ะได้ ข้อมูลที่ต้องการ

หนงั สือ Electronic : ทักษะการรทู้ นั สอ่ื (Media Literacy Skills) หนา้ 46 เฮิรตซ์ (Hertz) คือหนว่ ยวดั ความถ่ีของสัญญาณข้อมลู แบบแอนะล็อก วีธวี ัด ความถีจ่ ะนบั จำนวนรอบของสญั ญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เชน่ ความถึ่ 60 Hz หมายถึง ใน 1 วินาที สัญญาณมีการเปลย่ี นแปลงระดับสญั ญาณ 60 รอบ 3.1.2 สัญญาณดิจทิ ัล (Digital Signal) สัญญาณดิจทิ ัลเปน็ สัญญาณแบบไมต่ ่อเนื่อง รูปสญั ญาณของสัญญาณมี ความเปลย่ี นแปลงที่ไม่ปะติดปะตอ่ อย่างสัญญาณแอนะลอ็ ก ในการสอ่ื สารดว้ ยสัญญาณดจิ ิทลั ข้อมลู ในคอมพิวเตอรซ์ ึง่ เป็นเลขฐานสอง (0และ1) จะถกู แทนด้วยสัญญาณดิจทิ ัล Bit Rate เป็นอัตราความเรว็ ในการส่งข้อมลู แบบดจิ ิทลั วิธีวดั ความเร็วจะนบั จำนวนบิตข้อมลู ที่ส่งได้ในชว่ งระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 bps หมายถึง มคี วามเรว็ ในการสง่ ข้อมลู จำนวน 14,4001 บิตในระยะเวลา 1 วินาที 3.1.3 โมเด็ม (Modulator DEModulator หรือ Modem) โมเด็ม(Modem) เปน็ อุปกรณ์ที่ทำหน้าทแี่ ปลงสัญญาณดิจทิ ัลจากเครือ่ ง คอมพิวเตอร์ใหเ้ ปน็ สญั ญาณแอนะล็อก ความเรว็ ในการส่อื สารข้อมูลของโมเดม็ วนั เป็นบิตตอ่ วินาที (bit per second หรือ bps) ความเรว็ ของโมเด็มโดยทวั่ ไปมีความเร็วเป็น 56 กิโลบติ ต่อวินาที 3.1.4 ทิศทางการสง่ ขอ้ มลู (Transmission Mode) สามารถจำแนกทิศทางการส่ง ข้อมูลได้ 3 รปู แบบ - แบบทศิ ทางเดียว (Simplex Transmission) - การสง่ ขอ้ มลู แบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission) - การสง่ ขอ้ มูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission) 3.1.5 ตวั กลางการส่อื สาร 3.1.5.1 สอ่ื นำข้อมลู แบบมีสาย (Wired Media) ส่อื ข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้มี 3 ชนิดดังนี้ - สายคู่บิดเกลยี ว (Twisted-Pair Cable) สายค่บู ิดเกลยี ว เปน็ สายสญั ญาณนำข้อมลู ไฟฟ้า สายแต่ละเสน้ มีลกั ษณะคลา้ ยสายไฟทว่ั ไป จำนวนสายจะมีเป็นคู่ เชน่ 2 , 4 หรือ 6 เสน้ แตล่ ะคจู่ ะมีพันบิดเกลยี ว การบิดเกลยี วนี้จะชว่ ยลดสัญญาณรบกวนทีเ่ กดิ ขนึ้ ในการสง่ ขอ้ มูล ทำใหส้ ามารถส่งข้อมูลไดไ้ กลกว่าปกติ -สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) -สายโคแอกเชียล เป็นสายสญั ญาณนำข้อมลู ไฟฟ้า มีความถี่ในการส่ง ข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง500 MHz สายโคแอกเชียลมีความมเรว็ ในการสง่ ข้อมูลและราคาสูง กวา่ สายบิดเกลยี ว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook