4. วเิ คราะห์หาค่าดชั นีประสิทธิผลของการเรียนรู้โดยใช้แผนการสอนตามแนวคิดภาษาเพื่อการ สื่อสาร (Communication Language Teaching) เร่ือง Out and about กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 5. วเิ คราะห์ความพงึ พอใจ ของผเู้ รียนหลงั เรียนครบทุกแบบฝึกเสริมทกั ษะโดยกาหนดเกณฑ์ ในการแปลความหมายดงั ต่อไปน้ี คา่ เฉลี่ย 4.51 - 5.00 แปลความวา่ พึงพอใจมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 3.51 - 4.50 แปลความวา่ พงึ พอใจมาก คา่ เฉล่ีย 2.51 - 3.50 แปลความวา่ พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉล่ีย 1.51 - 2.50 แปลความวา่ พึงพอใจนอ้ ย ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.50 แปลความวา่ พึงพอใจนอ้ ยท่ีสุด 6. สถิติท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 6.1 สถิติท่ีใชห้ าคณุ ภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 6.1.1 การหาความเท่ียงตรง (Validity) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้ สูตรดชั นีค่าความสอดคลอ้ ง (IOC สมนึก ภทั ทิยธานี .2537 : 221) IOC = R N เม่ือ IOC แทน ค่าดชั นีความสอดคลอ้ งระหวา่ งจุดประสงคก์ บั เน้ือหา R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญท้งั หมด N แทน จานวนผูเ้ ชี่ยวชาญท้งั หมด 6.1.2 การหาค่าอานาจจาแนกเป็นรายขอ้ B (Discrimination Index) ตามวิธีของ แบรนแนน (Brannan) คานวณโดยใชส้ ูตรดงั น้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 90) B =U − L n1 n2 เมื่อ B แทน ค่าอานาจจาแนก
U แทน จานวนผรู้ อบรู้หรือสอบผา่ นเกณฑท์ ี่ตอบถูก L แทน จานวนผไู้ ม่รอบรู้หรือสอบไมผ่ า่ นเกณฑท์ ี่ตอบถกู n1 แทน จานวนผรู้ อบรู้หรือผสู้ อบผา่ น n2 แทน จานวนผไู้ ม่รอบรู้หรือสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ 6.1.3 การหาค่าความเชื่อมนั่ (Reliability) ตามวธิ ีของโลเวท (Lovett) (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 96) rxx = k xi − xi2 (k − 1) (xi − C) 2 เมื่อ rcc แทน ความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบ k แทน จานวนขอ้ สอบ Xi แทน คะแนนของนกั เรียนแต่ละคน C แทน คะแนนเกณฑห์ รือจุดตดั ของแบบทดสอบ 6.1.4 การหาค่าอานาจจาแนก (Discrimination) ของแบบประเมินความพงึ พอใจต่อกิจกรรม การเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะการเขยี นคาศพั ท์ ชุด Fun with Vocabulary กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 โดยวิธี Item-total Correlation ใชส้ ูตรดงั น้ี (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 110) rxy = N XY − ( X )(Y ) N X 2 − ( X )2 NY 2 − (Y )2 เม่ือ t แทน ค่าอานาจจาแนก แทน คา่ เฉล่ียของกลุม่ สูง แทน คา่ เฉล่ียของกลุ่มต่า
SH2แทน ความแปรปรวนของกลุม่ สูง SL2แทน ความแปรปรวนของกลมุ่ ต่า N แทน จานวนคนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่า ซ่ึงมีจานวนเทา่ กนั 6.1.5 การหาค่าความเชื่อมนั่ ของแบบสอบถามท้งั ฉบบั ตามวธิ ีของครอนบาค (Cronbach) โดย ใชส้ ูตรดงั น้ี (สมนึก ภทั ทิยธนี. 2546 : 60-61) = S 2 K 1 − i K− เมื่อ α แทน 1 S 2 t คา่ สมั ประสิทธ์ิความเช่ือมนั่ k แทน จาวนขอ้ คาถาม Si2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนของขอ้ คาถามแตล่ ะขอ้ St2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม 6.2 สถิติพ้นื ฐาน 6.2.1 คา่ ร้อยละ (Percentage) (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 104) P= f 100 N เม่ือ P แทน ร้อยละ f แทน ความถ่ีท่ีตอ้ งการแปลงใหเ้ ป็นร้อยละ N แทน จานวนความถ่ีท้งั หมด 6.2.2 ค่าเฉล่ีย (Mean) สมนึก ภทั ทิยธนี (2546 : 237)
X = X N เม่ือ X แทน ค่าเฉลี่ย X แทน ผลรวมคะแนนท้งั หมดในกลุ่ม N แทน จานวนคะแนนในกลมุ่ 6.2.3 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชส้ ูตร S.D. = N X 2 − ( X )2 N(N + 1) เม่ือ S.D. แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนของแต่ละตวั N แทน จานวนคะแนนในกลุ่ม แทน ผลรวม 6.3 การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทกั ษะสูตร (E1/E2) (ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ 2537 : 195-196) สูตรท่ี 1 E1 = X 100 N A เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ X แทน คะแนนของแบบทดสอบยอ่ ยทุกเลม่ รวมกนั
A แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบยอ่ ยทกุ เล่มรวมกนั N แทน จานวนนกั เรียนท้งั หมด สูตรที่ 2 X 100 N E2 = B เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ X แทน คะแนนของแบบทดสอบหลงั เรียน B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน N แทน จานวนนกั เรียนท้งั หมด 6.4 สถิติที่ใชห้ าคา่ ดชั นีประสิทธิผล ใชส้ ถิติคา่ ดชั นีประสิทธิผลของแผนการสอนตามแนวคดิ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร (Communication Language Teaching) เร่ือง Out and about กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 โดยใชส้ ูตรดงั น้ี บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 159) หาไดจ้ ากสูตร ดชั นีประสทิ ธิผล = ผลรวมคะแนนหลงั เรียนของทกุ คน- ผลรวมคะแนนก่อนเรียนของทกุ คน (จานวนนักเร์ยี น คะแนนเตม็ )− ผลรวมคะแนนก่อนเรียนของทกุ คน 6.5 สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะหค์ วามแตกต่างระหวา่ งคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียน ของนกั เรียนที่ เรียนโดยใชแ้ ผนการสอนตามแนวคดิ ภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) เร่ือง Out and about กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใชส้ ูตร t- test (Dependent Sample) (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 112) โดยใชส้ ูตร t= D n D2 − ( D)2 (n − 1)
เม่ือ t แทน ค่าสถิติที่ใชเ้ ปรียบเทียบคา่ วิกฤติ D แทน ผลตา่ งระหวา่ งคคู่ ะแนน n แทน จานวนผเู้ รียน
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษาการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอน ภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ผศู้ ึกษา ขอเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลตามลาดบั ดงั น้ี 1. สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 2. ลาดบั ข้นั ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1. สัญลกั ษณ์ท่ีใช้ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผศู้ ึกษาไดก้ าหนดความหมายของสัญลกั ษณ์ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลดงั น้ี X แทน คะแนนเฉล่ีย N แทน จานวนนกั เรียนในกลมุ่ ตวั อยา่ ง S.D. แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน D แทน ผลรวมของคา่ ตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียน D2 แทน ผลรวมของค่าต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนแต่ละตวั ยกกาลงั สอง t แทน สถิติทดสอบที่ใชพ้ จิ ารณาใน t-distribution df แทน ระดบั ข้นั ของความเสรี (Degrees of Freedom)
2. ลาดบั ข้ันตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผศู้ ึกษาดาเนินการตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของแผนการจดั การเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ตามเกณฑ์ 75/75 ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน โดยใชก้ ระบวนการ เรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communication Language Teaching) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจของนกั เรียนต่อการเรียนโดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 การวิเคราะหข์ อ้ มูลเพือ่ หาประสิทธิภาพของกระบวนการฝึกทกั ษะภาษาองั กฤษเพ่อื การ สื่อสาร โดยกาหนดตามเกณฑป์ ระสิทธิภาพ 75/75 โดยการหาค่าเฉล่ียและค่าร้อยละของคะแนน จากการทาแบบฝึกทกั ษะการฟัง-พดู ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร (E1) จานวน 3 แผน และหาค่าร้อยละของ คะแนนจากการทาแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิในการฝึกทกั ษะการส่ือสารภาษาองั กฤษหลงั การ เรียน (E2 ) ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ดงั ตาราง
ตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่อื การสื่อสาร (Communication Language Teaching) คน รวมคะแนน คะแนนการการฝึ กทกั ษะการส่ือสารภาษาองั กฤษ รวมคะแนน ท่ี ก่อนเรียน หลงั เรียน 1 12 3 รวมคะแนน 2 15 18 3 11 89 9 30 18 4 14 18 5 13 89 9 26 17 6 12 18 7 12 78 8 23 17 8 9 16 9 11 88 8 24 17 10 11 17 11 10 89 9 26 17 12 11 16 13 10 78 6 21 18 14 11 17 15 14 89 7 24 16 รวม 10 15 ค่าเฉลยี่ 159 88 9 25 237 S.D 11.93 17.13 % 1.49 78 8 23 0.91 53 79 98 9 26 89 9 26 88 8 24 89 7 24 88 8 24 88 9 25 110 117 114 341 8 8.46 8.26 24.73 0.53 0.49 0.94 1.44 73.33 78 76 75.77 จากตารางที่ 5 แสดงใหเ้ ห็นวา่ นกั เรียนมีคา่ เฉลี่ยจากการทาแบบฝึกทกั ษะพดู เพ่ือการสื่อสารโดยใช้ กระบวนการ CLT ก่อนทดลอง คดิ เป็นร้อยละ 53 และนกั เรียนไดค้ ะแนน เฉล่ียจากการการทาแบบทดสอบ หลงั เรียนคิดเป็นร้อยละ 79.00 สูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด
ตารางที่ 6 สรุปผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) คะแนน คะแนนเตม็ ค่าเฉลี่ย S.D ร้อยละ คะแนนทดสอบระหวา่ งเรียน 30 24.73 1.45 75.78 คะแนนทดสอบหลงั เรียน 20 17.13 0.92 79.00 จากตารางท่ี 6 สรุปผลการวเิ คราะหป์ ระสิทธิภาพของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) คะแนนระหวา่ งเรียน (E1) รวม 341 คะแนน คิดเป็นร้อยละ75.77 คะแนนทดสอบ หลงั เรียน 237 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 79.00 ดงั น้นั คา่ ประสิทธิภาพ E1/E2 เทก่ บั 75.77/79.00 สูงกวา่ เกณฑ์ ที่กาหนดไว้ ตารางที่ 7 เปรียบเทียบผลการพฒั นาทกั ษะการสื่อสารภาษาองั กฤษของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ย วิธีการสอนโดยใชก้ ระบวนการ CLT คะแนน ทกั ษะในการฟัง-พูด N เตม็ คา่ เฉล่ีย S.D. T-test sig ก่อนเรียน 15 20 11.93 1.49 37.17 *0.000 หลงั เรียน 15 20 17.13 0.91 **มีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.001 จากตารางที่ 7 พบวา่ คะแนนการทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย (×̅=11.93, S.D = 1.49) คะแนนการ ทดสอบหลงั เรียนมีคา่ เฉลี่ย (×=̅ 17.13, S.D = 0.91) เม่ือเปรียบเทียบความแตกตา่ งของค่าเฉล่ียคะแนนก่อน เรียนและหลงั เรียนดว้ ยการทดสอบคา่ ที (t-test) แบบ dependentมีค่า t =37.17 ความสามารถดา้ นการฟัง-พูด ภาษาองั กฤษของนกั เรียนก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ยกระบวนการสอนโดยใชท้ ฤษฎี CLT แตกตา่ งกนั อยา่ ง มีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .001 ซ่ึงยอมรับสมมุติฐานท่ี 2 โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนสอน
ผลการวเิ คราะห์ความความพงึ พอใจต่อการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย ใช้วธิ สี อนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ตารางที่ 8 ผลการวเิ คราะห์ความความพงึ พอใจต่อการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย ใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ความคดิ เหน็ ของ รายการประเมนิ นักเรียน แปลผล ลาดบั ท่ี x̅ S.D. 1.การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธี 4.87 0.34 มากท่ีสุด 2 สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication Language Teaching) เนน้ งานปฏิบตั ิ มีความน่าสนใจ 2.ส่ือการเรียนรู้มีภาพและเสียงประกอบ ทาใหเ้ ร้าความ สนใจ 4.80 0.40 มากที่สุด 3.บทเรียนมีสีและขนาดตวั อกั ษรเหมาะสม 4.87 0.34 มากท่ีสุด 2 4.การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ี 4.80 0.40 มากที่สุด 3 สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ทาใหเ้ กิด ความสนุกสนานในการเรียนรู้ไมน่ ่าเบ่ือ 5.การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ี 4.93 0.25 มากที่สุด 1 สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ทาให้ บรรยากาศไมต่ ึงเครียดกบั การเรียน 6.การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธี 4.87 0.34 มากท่ีสุด 2 สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพอ่ื การสื่อสาร (Communication Language Teaching) ช่วยให้มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากข้ึน 7.นกั เรียนเห็นวา่ การเรียนวิชาภาษาองั กฤษเป็นสิ่งท่ีมีประโยชน์ต่อชีวิต 4.80 0.40 มากท่ีสุด 3 ประจาวนั 8.นกั เรียนสามารถนาความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรียนไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั 4.80 0.40 มากที่สุด 3 9.นกั เรียนเห็นวา่ การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning 4.93 0.25 มากที่สุด 1
ความคิดเหน็ ของ รายการประเมิน นักเรียน แปลผล ลาดบั ท่ี x̅ S.D. Language Teaching) ช่วยทาใหน้ กั เรียนพูดภาษาองั กฤษไดถ้ ูกตอ้ ง 10.การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ี 4.87 0.34 มากที่สุด 2 สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ฝึกให้นกั เรียนกลา้ คิด กลา้ พดู กลา้ แสดงออก 11.การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ี 4.80 0.40 มากที่สุด 3 สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่ือการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ทาใหน้ กั เรียนมีความเชื่อมน่ั ในตวั เอง 12.นกั เรียนมีความเพลิดเพลินใจในขณะทากิจกรรม 4.93 0.25 มากท่ีสุด 1 โดยรวม 4.86 0.34 มากท่สี ุด จากตารางท่ี 8 นกั เรียนมีความพงึ พอใจตอ่ ความความพึงพอใจตอ่ การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีสอนภาษาอังกฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communication Language Teaching) วิชา ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6โดยรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็ นรายขอ้ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดบั มากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเป็ นรายขอ้ พบว่าอยใู่ น ระดบั มากที่สุด 12 ขอ้ เรียงตามลาดบั ค่าเฉลี่ย จากมากที่สุด 3 อนั แรก คือ การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยใช้วิธีสอนภาษาอังกฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ทาให้ บรรยากาศไม่ตึงเครียดกบั การเรียน นกั เรียนเห็นว่าการเรียนดว้ ยกระบวนการ เรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ช่วยทาใหน้ กั เรียนพูดภาษาองั กฤษไดถ้ ูกตอ้ ง นกั เรียนมีความเพลิดเพลินใจในขณะทา กิจกรรม องค์ความรู้จากงานวิจยั องค์ความรู้ท่ีได้จากกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตาม แนวคดิ ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร (Communication Language Teaching) จาการวจิ ยั เร่ือง การใชก้ ระบวนการ เรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication
Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 สามารถสรุปองคค์ วามรู้จากการวิจยั ไดด้ งั น้ี 1. การพฒั นาทกั ษะสื่อสารภาษาองั กฤษ 1.1 ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ควรมีความสัมพนั ธ์กับความตอ้ งการในชีวิตจริงของ ผเู้ รียน ควรมีกิจกรรมการสร้างคาถามและคาตอบ มีการอภิปราย ใหค้ าตอบ ซ่ึงครูหรือเพ่ือนในช้นั เรียนเป็น ผถู้ าม บอกใหเ้ พื่อนทาตามคาสงั่ มีกิจกรรมใหน้ กั เรียนเล่าประสบการณ์ของตนเอง มีกิจกรรมใหน้ กั เรียนใช้ บทสนทนาตามสถานที่ต่าง ๆ ในชุมชน หรืออาจจะมีเกมใหเ้ ลน่ มีการโตว้ าที อภิปราย แสดงความคดิ เห็น 1.2 ดา้ นเน้ือหาที่ใช้ในการเรียนการสอนเพ่ือการสื่อสารภาษาองั กฤษ การสอนเพื่อการส่ือสารมี เน้ือหาท่ีเน้นความสาคญั อยู่ท่ีความคิดรวบยอดของความหมายและไวยากรณ์ รวมถึงหน้าท่ีในการส่ือ ความหมาย โดยพิจารณาวตั ถุประสงคข์ องการส่ือสาร ความตอ้ งการหรือความต้งั ใจของผพู้ ูด นอกจากน้ียงั คานึงถึงไวยากรณ์ของภาษารวมท้งั หน้าท่ี หัวขอ้ ทวั่ ไป หัวขอ้ เฉพาะ และฉากหรือสถานการณ์ของการใช้ ภาษาดว้ ย 1.3. วิธีสอนตามแนวการสอนเพ่ือการพฒั นาทกั ษะการส่ือสาร การสอนภาษาตามแนวทางการสอน ภาษาเพ่ือการส่ือสารน้ันเน้นการใช้ภาษาของผูเ้ รียนมากกว่าเน้นถึงหลกั เกณฑ์การใช้ภาษา อีกท้งั ยงั ให้ ความสาคญั กับความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาและความถูกตอ้ งอีกด้วย ดังน้ันการเรียนการสอนแนวน้ี จะตอ้ งเนน้ การทากิจกรรมเพื่อการฝึ กฝนการใชภ้ าษาใหใ้ กลเ้ คียงสถานการณ์จริงมากท่ีสุด เช่น มีการสร้าง สถานการณ์ใหผ้ เู้ รียนไดส้ นทนาโตต้ อบกนั เป็นคู่ กลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่ มีการสวมบทบาท การเล่นเกมส์ เป็น ตน้ และการท่ีผเู้ รียนจะสามารถใชภ้ าษาเพื่อการส่ือสารน้นั ผเู้ รียนตอ้ งมีทกั ษะความสามารถท้งั 4 ดา้ น นน่ั คือความสามารถในดา้ นกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ ความสามารถดา้ นภาษาศาสตร์เชิงสังคม ความสามารถด้าน ความสัมพนั ธข์ องขอ้ ความ และ ความสามารถดา้ นการใชก้ ลวิธีในการส่ือความหมาย 2. การจดั การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทฤษฎี CLT 2.1 กิจกรรมการสอนภาษาเพือ่ การสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาในบริบทท่ีคลา้ ย กบั ชีวิตจริง กิจกรรมหลกั ในงานวิจยั น้ีประกอบดว้ ย กิจกรรมช่องวา่ งของขอ้ มลู กิจกรรมการแสดงบทบาท สมมติ และกิจกรรมสถานการณ์จาลอง ท้งั สามกิจกรรมส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาท่ีคลา้ ยกบั บริบทชีวติ จริง โดยการใหผ้ เู้ รียนใชภ้ าษาเพื่อแลกเปล่ียนขอ้ มลู หรือใชภ้ าษาเพอ่ื หาขอ้ มูลที่ตนเองขาดจากคสู่ นทนา และเม่ือผเู้ รียนสวมบทบาทเป็นบุคคลอื่นหรือสมมติว่าตนเอกาลงั อยใู่ นสถานการณ์น้นั ทาใหผ้ เู้ รียนมี โอกาสไดใ้ ชภ้ าษาเพื่อการส่ือสารซ่ึงคลา้ ยกบั ชีวติ จริงมากท่ีสุด สอดคลอ้ งกบั Finocchario and Brumfit (as cited in Viriyachitra, et al, 2012, p.29)ท่ีวา่ การใชก้ ิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ช้ ภาษาจริงในชีวิตประจาวนั โดยผเู้ รียนยอมเส่ียงและรู้จกั เลือกใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกบั บริบท สาหรับงานวิจยั คร้ังน้ีกิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารที่ปรากฏอยใู่ นแต่แผนการสอนช่วยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนใชภ้ าษาใน คน้ หาขอ้ มูลที่ตนขาดหายไป อีกท้งั ผเู้ รียนยงั ไดเ้ ขา้ ไปอยใู่ นสถานการณ์จาลองท่ีตอ้ งตดั สินใจในการทาสิ่ง
ต่างๆ เช่น หากมีชาวต่างชาติมาทางผเู้ รียนจะสามารถบอกทาง และแนะนาเขาไดอ้ ยา่ งไร จึงกลา่ วไดว้ า่ กิจกรรม การสอนภาษาเพื่อการส่ือสารช่วยส่งเสริมและกระตนุ้ ให้ผเู้ รียนใชท้ กั ษะการฟัง-พูดของผเู้ รียนได้ โดย ผเู้ รียนตอ้ งใชภ้ าษาองั กฤษอยา่ งแทจ้ ริงในการสนทนา 2.2 กิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารส่งเสริมความรู้ดา้ นภาษาใหก้ บั ผูเ้ รียนอนั เป็ นประโยชน์ ต่อความสามารถในการฟัง-พูดภาษาองั กฤษ ท้งั น้ีในดา้ นองคป์ ระกอบของความหมายในภาษาน้นั เม่ือภาษา มีความเก่ียวขอ้ งกบั ผเู้ รียน ภาษาจะส่งเสริมกระบวนการการเรียนรู้ของผเู้ รียนได(้ Richards & Rodgers,2003, p.161) ในการเรียนการสอนของทุกแผน ผูเ้ รียนไดเ้ รียนเน้ือหาของภาษารวมถึงหน้าท่ีทางภาษา อนั เป็ น ประโยชน์ในการส่ือสาร โดยการทากิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารแต่ละคร้ัง ผูเ้ รียนตอ้ งรู้จกั เน้ือหา ภาษาและหนา้ ที่ทางภาษาก่อนที่จะทากิจกรรม กล่าวคือ ผวู้ ิจยั ใหข้ อ้ มูลทางภาษาและอธิบายใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจ ในตวั ภาษาก่อน ต่อดว้ ยการใหผ้ เู้ รียนฝึกพูดและฝึกใชภ้ าษาอยา่ งคล่องแคล่ว ตวั อยา่ งเช่น ผเู้ รียนไดร้ ับขอ้ มูล เน้ือหาเก่ียวกบั การบอกทิศทางกบั เพื่อนวา่ จะไปท่ีร้านอาหาร หรือสถานท่ีต่างๆ ซ่ึงผเู้ รียนจะสนใจและสนุก กบั การที่ใชบ้ ทบาทสมมุติและทาให้พวกเขามีความมน่ั ใจน้นั ได้ จากน้นั ผูเ้ รียนไดเ้ รียนไวยากรณ์และหนา้ ท่ี ทางภาษาเก่ียวกบั การแนะนผอู้ ่ืนเก่ียวกบั นดั หมายกบั เพื่อนวา่ จะไปที่ร้านอาหาร และสั่งอาหารดงั กลา่ วผา่ น กิจกรรมการสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสาร นอกจากน้ี ทาใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาในการสนทนากนั อยา่ งแทจ้ ริง เมื่อ ผูเ้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาที่มีความหมาย จะทาให้ผเู้ รียนสามารถจดจาภาษาและใชภ้ าษาไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว อีกท้งั ยงั ทาใหผ้ เู้ รียนไดแ้ สดงความคดิ เห็นของตนเองออกมาไดอ้ ย่างเตม็ ที่อีกดว้ ย สอดคลอ้ งกบั Larsen–Freeman (2000, pp.129-130) ที่ใหค้ วามเห็นวา่ ในการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารน้นั มีลกั ษณะเฉพาะ คอื ความต้งั ใจใน การส่ือสารของผูเ้ รียน โดยผูเ้ รียนจะใช้ภาษาผ่านกิจกรรมท่ีส่งเสริมการส่ือสาร ซ่ึงการเรียนเช่นน้ีจะ ช่วย กระตุน้ ผูเ้ รียนมีความต้งั ใจในการเรียนภาษามากยิ่งข้ึน รู้สึกว่าตนกาลงั ได้เรียนภาษาท่ีเป็ นประโยชน์ สามารถใชภ้ าษาในการสื่อความหมายได้ ทางดา้ น Littlewood (1988, pp.17-18) กล่าววา่ หากผเู้ รียนมองเห็น ประโยชน์ของการเรียนภาษาในช้นั เรียนว่าผูเ้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาในการส่ือสารกบั ผูอ้ ื่น ผูเ้ รียนจะมีความสนใจ และช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถส่ือสารไดม้ ากข้ึน นนั่ หมายความวา่ การใชก้ ิจกรรมการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร ทาใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาท่ีมีความหมาย ส่งผลให้ผเู้ รียนมีความต้งั ใจในการเรียนมากข้ึนจากการไดใ้ ช้ภาษา อย่างแทจ้ ริงอนั เป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาความสามารถดา้ นการฟัง-พูดของผูเ้ รียน 2.3กิจกรรมการสอน ภาษาเพ่ือการสื่อสารช่วยให้ผเู้ รียนมีความสามารถในการฟัง-พูด ภาษาองั กฤษเพิ่มข้ึนโดยการไดฝ้ ึ กการใช้ ภาษาจากงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย สอดคลอ้ งกบั Richards and Rodgers(2003, p.161) ที่กลา่ ววา่ ในส่วนของงานท่ีมอบหมาย จะกลา่ วไดว้ า่ กิจกรรมการใชภ้ าษาท่ีมีการฝึ ก ปฏิบตั ิหรือทางานอย่างมีความหมายจะส่งเสริมการเรียนรู้ ในงานวิจยั คร้ังน้ี ผูเ้ รียนไดร้ ับมอบหมายงานโดย ตอ้ งใชภ้ าษาผ่านชิ้นงานหรือภาระงานเหล่าน้นั ท้งั ในรูปแบบการอ่าน การเขียน รวมถึงการฟัง-พูดอีกดว้ ย ซ่ึงผวู้ ิจยั ไดใ้ หข้ อ้ มูล ทางดา้ นภาษา ท้งั คาศพั ท์ ไวยากรณ์และหนา้ ท่ีทางภาษาโดยการอธิบาย และใหผ้ เู้ รียน ไดเ้ ห็นตวั อย่างการใชภ้ าษาจากการอ่านหรือบทสนทนา และตอบคาถามเพื่อตรวจความเขา้ ใจ ผเู้ รียนจึงได้
ฝึ กการใชภ้ าษาจากงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ดงั น้นั เม่ือผูเ้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาผ่านงานที่ไดร้ ับมอบหมาย จึงทาให้ ความสารมารถในการฟัง-พูดของผเู้ รียนดีข้ึน 2.4 การใชก้ ิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารช่วยใหผ้ ูเ้ รียนแลกเปลี่ยนขอ้ มูลที่ไม่รู้มาก่อน โดย เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนพูดไดอ้ ย่างอิสระ กิจกรรมท่ีมีการทางานเป็ นกลุ่มทาใหม้ ีการส่ือสารแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกัน ผูเ้ รียนรู้สึกวางใจ ยอมรับซ่ึงกันและกัน ทาให้ผูเ้ รียนไม่รู้สึกเกร็ง ไม่ตอ้ งฝื นที่จะแลกเปล่ียน ขอ้ มูล กลา้ ที่จะถามท้งั ผูว้ ิจยั และเพื่อนในส่ิงท่ีตนเองไม่เขา้ ใจ และกลา้ แสดงออกมากข้ึน ท้งั น้ีในช่วงแรก ของการเรียน ผเู้ รียนไม่ไดม้ ีความสนิทสนมระหวา่ งผเู้ รียนดว้ ยกนั และผเู้ รียนกบั ผสู้ อนมากนกั จะเห็นไดว้ ่า คะแนนความสามารถในการฟัง-พูดของผเู้ รียนอยเู่ พียงระดบั พอใช้ แต่ในช่วงหลงั ผเู้ รียนสามารถทาคะแนน ไดด้ ีข้ึนท้งั น้ีเป็ นเพราะเม่ือผูเ้ รียนไดท้ ากิจกรรมกลุ่ม ทาให้ผูเ้ รียนมีความสนิทกนั มากข้ึน ไม่เขินอายท่ีจะ แลกเปล่ียนขอ้ มูลทางดา้ นเน้ือหา รวมถึงคาศพั ทแ์ ละกฎเกณฑท์ างดา้ นภาษา นอกจากน้นั ดว้ ยบทบาทของ ผวู้ ิจยั หรือผสู้ อนเป็ นผใู้ ห้ความสะดวกแก่ผูเ้ รียน จึงเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนไดซ้ ักถาม ผวู้ ิจยั คอยให้คาปรึกษา และใหก้ าลงั ใจแก่ผเู้ รียน เช่นเม่ือ ผเู้ รียนไมเ่ ขา้ ใจในส่วนไหน ก็ถามผวู้ จิ ยั โดยไมม่ ีความเขินอาย โดยผวู้ จิ ยั ก็ ให้คาปรึกษาอย่างเตม็ ใจ ท้งั น้ีหลงั จากประเมินความสามารถในการฟัง-พูดของผเู้ รียนแลว้ ปรากฏว่าผเู้ รียน ได้คะแนนความคล่องแคล่วในการพูดไม่ดีนัก อย่างไรก็ตามคะแนนความพยายามในการสื่อสารกลบั ค่อนขา้ งสูงอนั เนื่องมาจากความไม่เขินอาย ทาใหผ้ เู้ รียนมีความพยายามในการสื่อสารกบั เพ่ือนเป็นอยา่ งมาก กิจกรรมการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารได้เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนมีสัมพนั ธ์ท่ีดีระหว่าง ผูเ้ รียนดว้ ยกันและ ผเู้ รียนกบั ผสู้ อน ซ่ึงความสมั พนั ธด์ งั กลา่ วช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดความเขา้ ใจ มีความเมตตาเห็นอกเห็นใจกนั และ ยงั ช่วยสร้างสิ่งแวดลอ้ มท่ีสนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนแต่ละคนไดม้ ีความสามารถในการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งดีอีกดว้ ย สรุปไดว้ า่ การใชก้ ิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการส่ือสารช่วยเพิม่ พูนความสามารถดา้ นการฟัง-พดู ของผเู้ รียน ได้ เน่ืองจากกิจกรรมท่ีใชเ้ ป็ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผูเ้ รียนไดใ้ ช้ภาษาในบริบทท่ีคลา้ ยกบั ชีวิตจริง ผูเ้ รียน สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ตนเรียนเขา้ กบั การใช้ชีวิตได้ อีกท้งั ให้ขอ้ มูลทางดา้ นองค์ประกอบของภาษาท่ีมี ความหมายกบั ผเู้ รียน โดยผเู้ รียนสามารถใชภ้ าษาท่ีมีความหมายในการสื่อสาร นอกจากน้ีผเู้ รียนยงั ไดร้ ับงาน หรือฝึ กปฏิบัติอันเป็ นการส่งเสริมความรู้ในตวั ภาษาและความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาอีกด้วย และ เนื่องจากกิจกรรมที่ใชม้ ีความหลากหลาย เป็นกิจกรรมส่ือสารระหวา่ งเพื่อนและผวู้ ิจยั จึงสร้างความสัมพนั ธ์ และความรู้สึกยอมรับซ่ึงกนั และกนั ทาใหม้ ีการแลกเปล่ียนขอ้ มูลที่ตนไม่รู้อนั ส่งผลช่วยพฒั นาความสามารถ ดา้ นการฟัง-พูดภาษาองั กฤษของผเู้ รียนได้ บทท่ี 5
สรุปผลการวจิ ัย อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวจิ ยั 5.1.1. การจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษของนกั เรียน พบวา่ 1) ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน สรุปไดว้ า่ กิจกรรมที่จดั ให้ตอ้ งสมั พนั ธ์กบั ความตอ้ งการ ในชีวิตจริงของผเู้ รียน ควรมีกิจกรรมการสร้างคาถามและคาตอบ มีการอภิปรายใหค้ าตอบ ซ่ึงครูหรือเพอ่ื น ในช้นั เรียนเป็นผถู้ าม กิจกรรมบอกใหเ้ พ่ือนทาตามคาสงั่ มีกิจกรรมให้นกั เรียนเล่าประสบการณ์ของตนเอง มีกิจกรรมให้นกั เรียนใชบ้ ทสนทนาตามสถานท่ีต่าง ๆ ในชุมชนหรืออาจจะมีเกมใหเ้ ล่น มีการโตว้ าที อภิปราย แสดงความคิดเห็น 2) ดา้ นเน้ือหาที่ใชใ้ นการเรียนการสอนเพ่อื การส่ือสารภาษาองั กฤษ สรุปไดว้ า่ การสอนเพ่ือการ สื่อสารมีเน้ือหาท่ีเนน้ ความสาคญั อยทู่ ี่ความคิดรวบยอดของความหมายและไวยากรณ์ รวมถึงหนา้ ท่ีในการ ส่ือความหมาย โดยพจิ ารณาวตั ถุประสงคข์ องการสื่อสาร ความตอ้ งการหรือความต้งั ใจของผพู้ ูด นอกจากน้ี ยงั คานึงถึงไวยากรณ์ของภาษารวมท้งั หนา้ ท่ี หวั ขอ้ ทว่ั ไป หวั ขอ้ เฉพาะ และฉากหรือสถานการณ์ของการใช้ ภาษาดว้ ย 3) วิธีสอนตามแนวการสอนเพ่ือการพฒั นาทกั ษะการสื่อสาร สรุปไดว้ า่ การสอนภาษาตามแนว ทางการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารน้นั เนน้ การใชภ้ าษาของผเู้ รียนมากกวา่ เนน้ ถึงหลกั เกณฑก์ ารใชภ้ าษา อีก ท้งั ยงั ใหค้ วามสาคญั กบั ความคลอ่ งแคลว่ ในการใชภ้ าษาและความถูกตอ้ งอีกดว้ ย ดงั น้นั การเรียนการสอน แนวน้ีจะตอ้ งเนน้ การทากิจกรรมเพือ่ การฝึกฝนการใชภ้ าษาใหใ้ กลเ้ คยี งสถานการณ์จริงมากท่ีสุด เช่น มีการ สร้างสถานการณ์ใหผ้ เู้ รียนไดส้ นทนาโตต้ อบกนั เป็นคู่กลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่ มีการสวมบทบาท การเล่นเกมส์ เป็นตน้ และการท่ีผเู้ รียนจะสามารถใชภ้ าษาเพอ่ื การส่ือสารน้นั ผูเ้ รียนตอ้ งมีทกั ษะความสามารถท้งั 4 ดา้ น นน่ั คอื ความสามารถในดา้ นกฎเกณฑไ์ วยากรณ์ ความสามารถดา้ นภาษาศาสตร์เชิงสังคม ความสามารถดา้ น ความสมั พนั ธข์ องขอ้ ความและ ความสามารถดา้ นการใชก้ ลวธิ ีในการสื่อความหมาย 5.1.2.การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษา เพือ่ การส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 มีค่าประสิทธิภาพเทา่ กบั 75.77/79.00 สูงกวา่ เกณฑซ์ ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด 75 / 75 5.1.3 ผลการพฒั นาทกั ษะการสื่อสารภาษาองั กฤษของนกั เรียนในจงั หวดั สุรินทร์โดยใช้ กระบวนการของทฤษฎี CLT หลงั พฒั นาสูงกวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.05 5.1.4 ความพงึ พอใจต่อการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษ ตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) โดยรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด 5.2 อภิปรายผล
จากการดาเนินการวิจยั การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษ ตามแนวคิดภาษาเพือ่ การสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 พบประเด็นที่นามาอภิปราย ผล ดงั น้ี 1. ประสิทธิภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ ใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ี สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 มี ประสิทธิภาพเทา่ กบั 75.77/79.00 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนด75/75 หมายความวา่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี สร้างข้นึ ทาใหผ้ เู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ สามารถทาคะแนนแบบทดสอบทกั ษะการพดู หลงั เรียนเฉลี่ย ร้อยละ 79 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑท์ ี่ต้งั ไว้ 75/75 สรุปไดว้ าการจดั กิจกรรมกรรมการเรียนรู้การ พฒั นาความสามารถดา้ นการพดู ภาษาองั กฤษ ของนกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 โดยใชก้ ระบวนการทฤษฎี CLT ผวู้ ิจยั สร้างข้นึ ท้งั หมด 3 แผน แต่ละแผนการจดั การเรียนรู้สามารถกระตุน้ และสร้างแรงจูงใจให้ผเู้ รียน อยากเรียนรู้ ท้งั น้ีอาจเป็นเพราะการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การพฒั นาความสามารถดา้ นการพดู ภาษาองั กฤษ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ท่ีผวู้ จิ ยั สร้างข้นึ ไดผ้ า่ นข้นั ตอนการสร้างอยา่ งเป็นระบบโดยศึกษา แนวคิด ทฤษฎีกระบวนการเรียนรู้แบบ CLT และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ โดยใช้ กระบวนการCLT มีความเหมาะสมกบั ระดบั ช้นั และวยั ของผเู้ รียน กิจกรรมการเรียนทาใหน้ กั เรียน สนุกสนาน การวดั ผลประเมินผลมีความเหมาะสมกบั เน้ือหา เนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิจริง นกั เรียนมีส่วนร่วม ในกิจกรรมการเรียนมากท่ีสุด โดยผูว้ ิจยั ไดค้ านึงถึงจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรสถานศึกษาท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็น สาคญั ใหผ้ เู้ รียนกลา้ แสดงออก ซ่ึงเครื่องมือต่าง ๆ ไดพ้ ฒั นาตามข้นั ตอนผา่ นผูเ้ ช่ียวชาญตรวจสอบและ ดาเนินการแกไ้ ข ทาใหก้ ิจกรรมท่ีสร้างข้ึนมามีประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ่ีต้งั ไว้ สอดคลอ้ งกบั สานกั วชิ าการ และมาตรฐานการศึกษา กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและประเมินผล (2548 : 101) กลา่ วถึงการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสามารถส่ือสารดว้ ยการฟัง พูด อ่าน เขียนดว้ ยการใชภ้ าษาองั กฤษไดใ้ นสถานการณ์จริงรวมท้งั การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพโดยใช้ แนวการสอนแบบผสมผสาน และใชก้ ิจกรรมการเรียนการสอนท้งั ในและนอกช้นั เรียน ตลอดจนสื่อท่ี หลากหลายอนั จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้อยา่ งสนุกสนานและเพลิดเพลิน เน้ือหาท่ีนามาใช้ พฒั นา ความสามารถการใชภ้ าษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ดว้ ยวิธีการใหผ้ เู้ รียนเกิดการปฏิสมั พนั ธ์และร่วมมือกนั ปฏิบตั ิงาน (Task-based Learning) โดยใชร้ ูปแบบของสาร (text type) หลายประเภทเพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ประสบการณ์ภาษาองั กฤษที่กวา้ งขวางและทนั สมยั และประเมินผลอยา่ งสม่าเสมอดว้ ยวิธีการหลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการในการจดั การเรียนการสอน สอดคลอ้ งกบั Larsen–Freeman (2000, pp.129-130) ที่ใหค้ วามเห็นวา่ ในการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารน้นั มีลกั ษณะเฉพาะ คอื ความต้งั ใจในการสื่อสารของ ผเู้ รียน โดยผเู้ รียนจะใชภ้ าษาผา่ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมการส่ือสาร ซ่ึงการเรียนเช่นน้ีจะ ช่วยกระตุน้ ผเู้ รียนมี
ความต้งั ใจในการเรียนภาษามากยงิ่ ข้ึนรู้สึกวา่ ตนกาลงั ไดเ้ รียนภาษาที่เป็นประโยชน์ สามารถใชภ้ าษาในการ สื่อความหมายได้ ทางดา้ นLittlewood (1988, pp.17-18) กลา่ ววา่ หากผเู้ รียนมองเห็นประโยชนข์ องการเรียน ภาษาในช้นั เรียนวา่ ผเู้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาในการส่ือสารกบั ผอู้ ่ืน ผเู้ รียนจะมีความสนใจ และช่วยใหผ้ เู้ รียสามารถ สื่อสารไดม้ ากข้ึน นน่ั หมายความวา่ การใชก้ ิจกรรมการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารทาใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชภ้ าษาที่มี ความหมาย ส่งผลใหผ้ เู้ รียนมีความต้งั ใจในการเรียนมากข้ึนจากการไดใ้ ชภ้ าษาอยา่ งแทจ้ ริงอนั เป็น ประโยชน์ต่อการพฒั นาความสามารถดา้ นการฟัง-พดู ของผเู้ รียน 2. แผนการจดั การเรียนรู้ ใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษ ตามแนวคิดภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากบั 75.77/79.00 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด75/75 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด 75/75 สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ อารีรัตน์ อีหวน่ั (2559) ไดศ้ ึกษาการพฒั นาชุดฝึกทกั ษะภาษาองั กฤษเพื่อพฒั นาความสามารถดา้ นการเขยี น คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียน เทศบาล 2 (บา้ นมลายบู างกอก) จงั หวดั ยลาผลการวจิ ยั พบวา่ ผลการหาประสิทธิภาพของชุดฝึกทกั ษะ ภาษาองั กฤษ เพอ่ื พฒั นาความสามารถดา้ นการเขยี นคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ มีประสิทธิภาพเทา่ กบั 83.26/84.54 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐานท่ี กาหนดไว(้ 80/80) 3. ผลการพฒั นาทกั ษะการส่ือสารภาษาองั กฤษของนกั เรียนโดยใชก้ ระบวนการของทฤษฎี CLT หลงั พฒั นาสูงกวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05 สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั อารีรัตน์ อี หวนั่ (2559) ไดศ้ ึกษาการพฒั นาชุดฝึกทกั ษะภาษาองั กฤษเพ่ือพฒั นาความสามารถดา้ นการเขยี น คาศพั ท์ ภาษาองั กฤษ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนเทศบาล 2 (บา้ นมลายบู างกอก) จงั หวดั ยะลา ผลการวิจยั พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนหลงั การใชช้ ุดฝึก ทกั ษะภาษาองั กฤษ เพอ่ื พฒั นาความสามารถดา้ นการเขียนคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ พบวา่ มีคะแนนสูงกวา่ ก่อนเรียนดว้ ยแบบฝึกเสริม ทกั ษะการเขยี นคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 4. ความพึงพอใจแผนการจดั การเรียนรู้ ใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอน ภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพือ่ การส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยรวม อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ท้งั น้ีเนื่องจากกิจกรรมการพฒั นาทกั ษะการสื่อสารภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ CLT เป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ทาใหบ้ รรยากาศในการเรียนการสอนระหวา่ งครูกบั นกั เรียนเป็นไปดว้ ยดี นกั เรียนมีจิตใจอารมณ์ท่ีพร้อมในการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกบั คาสมั ภาษณ์ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนท่ีวา่ กิจกรรมท่ีจดั ใหต้ อ้ งสัมพนั ธก์ บั ความตอ้ งการในชีวิตจริงของผเู้ รียน ทาใหก้ ารเรียนรู้เป็นไปอยา่ ง มีประสิทธิภาพ ส่งผลใหน้ กั เรียนเพ่มิ พนู ทกั ษะทางดา้ นการฟัง-พดู ภาษาองั กฤษดว้ ยตนเอง จากขอ้ มลู ใน
แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อการเรียนรู้ พบวา่ นกั เรียนเห็นวา่ การเรียนวชิ าภาษาองั กฤษเป็นส่ิงท่ีมี ประโยชน์ต่อชีวิตประจาวนั นกั เรียนสามารถนาความรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสารไปใช้ ในชีวิตประจาวนั สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ของตวงทิยพ์ โสฬสเสาวภาคย์ (2557 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ าการศึกษา การพฒั นากิจกรรมสถานการณเพือ่ เสริมสร้างความสามารถในดา้ นการพูดภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร พบวา่ นกั เรียนมีเจตคติต่อการใชก้ ิจกรรมสถานการณ์ในการเรียนรู้อยใู่ นระดบั มาก 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.1 ข้อเสนอแนะเพื่อการวจิ ัย 5.1.1 จากผลการวิจยั ทาให้กล่าวไดว้ า่ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่ือการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 สามารถนาไปใชก้ บั นกั เรียนประถมศึกษา สามารถนากิจกรรมน้ีไปดดั แปลง หรือนาไป เป็นแนวทางในการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนวิชาภาองั กฤษ เป็นการเปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนไดท้ างาน ร่วมกนั เป็ นการส่งเสริมให้นกั เรียนไดฝ้ ึ กทกั ษะทางภาษาองั กฤษดว้ ยการปฏิบตั ิจริง ซ่ึงจะเป็ นพ้ืนฐานใน การเรียนในระดบั ท่ีสูงข้ึนตอ่ ไป 5.1.2 ครูควรรู้จกั ยืดหยุ่นเวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมในการกิจกรรม เน่ืองจากนักเรียนบางคนมี ทกั ษะในการเรียนชา้ และครูควรตรวจสอบพิจารณาหาขอ้ มูลของนกั เรียนหลงั การทดสอบ เพื่อดูว่าเรื่องใด หรือกิจกรรมใดท่ีนกั เรียนมีความรู้แลว้ ครูผ่านกิจกรรมน้นั ไปหรือทบทวนเพ่ือใหก้ ารจดั กิจกรรมการเรียน การสอนเป็นไปตามข้นั ตอนและครบกระบวนการ 5.1.3 ครูควรศึกษาแนวทางการวดั ผลประเมินผลใหห้ ลากหลายวิธีโดยเฉพาะการวดั ผลประเมินผล จากสภาพจริงของผูเ้ รียน และสภาพจริงของการเรียนการสอน จากพฤติกรรมท่ีผูเ้ รียนไดแ้ สดงออก ซ่ึงจะ สะทอ้ นให้เห็นความสามารถและสมรรถภาพของผูเ้ รียน และจากการลงมือปฏิบตั ิจริง ซ่ึงจะช้ีให้เห็นการ ตดั สินใจและแกไ้ ขปัญหาของตนเอง ลกั ษณะภาษาท่ีนามาประเมินควรเป็ นภาษาท่ีใช้สถานการณ์สื่อสาร ตามสภาพจริง การประเมินความสามารถในการใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสาร ควรวดั ให้ครอบคลุมองคป์ ระกอบ ทางภาษา อนั ประกอบดว้ ยความรู้เร่ืองเสียง คาศพั ทโ์ ครงสร้าง การใชภ้ าษาในสถานการณ์ และกลวธิ ีในการ ส่ือสาร 5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการทาวิจัยคร้ังต่อไป 5.2.1 ควรมีการวิจยั เก่ียวกบั การสอนภาษาตามแนวทฤษฎีธรรมชาติโดยใชส้ ่ือดิจิตอลกบั ทกั ษะฟัง- พดู 5.2.2 ควรมีการศึกษาตวั แปรต่างๆ ที่อาจมีผลต่อการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียน หลงั จากที่ไดร้ ับการสอนโดยการใชช้ ุดฝึกทกั ษะ
5.2.3 ควรมีการศึกษาวิจยั เกี่ยวกบั สภาวะแวดลอ้ มในการจดั การเรียนการสอนของวิชาภาษาองั กฤษ ระดบั มธั ยมที่ส่งผลต่อการพฒั นาการเรียนรู้ของนกั เรียนและแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อการสื่อสารในระดบั สูงข้นึ บรรณานุกรม หนังสือ
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551.พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . กิติมา สุรสนธิ. (2545). ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน. กุลยา เบญจกาญจน์. (2530) “การสอนไวยากรณ์ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร.” มติ รครู 29,3 (มีนาคม) : 22. ชยั ฤทธ์ิ ศิลาเดช. (2544). คู่มือการเขียนแผนการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็ นสาคัญ ระดับมธั ยมศึกษา. กรุงเทพฯ : จูนพบั ลิชช่ิง. ชยั ฤทธ์ิ ศิลาเดช. (2544). คู่มือการเขยี นแผนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเป็ นสาคัญ ระดับมธั ยมศึกษา. กรุงเทพฯ : จูนพบั ลิชชิ่ง. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีการศึกษา : ทฤษฎีและการวจิ ัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธูปทอง กวา้ งสวาสด์ิ. (2549). การสอนภาษาองั กฤษ. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม : ภาควิชาหลกั สูตรและการ สอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. บญุ ชม ศรีสะอาด. (๒๕4๕). การวิจัยเบือ้ งต้น. พมิ พค์ ร้ังที่ 7 . กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. บญุ ชม ศรีสะอาด. (๒๕๓๕). หลกั การวจิ ยั เบือ้ งต้น. พิมพค์ ร้ังที่ 3 . กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. บุญชม ศรีสะอาด. ๒๕๓๕. หลกั การวิจัยเบือ้ งต้น. พิมพค์ ร้ังท่ี 3 . กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. บญุ ชม ศรีสะอาด. การวิจยั เบื้องต้น. พมิ พค์ ร้ังท่ี 8 . กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2538). วธิ ีการวจิ ยั ทางพฤตกิ รรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพค์ ร้ังที่ ๖.กรุงเทพฯ : สานกั ทดสอบทางการศึกษาและจิตวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศรีครินทรวโิ รฒ. พวงรัตน์ ทวีรัตน.์ (2540). การสร้างและพฒั นาและทดสอบผลสัมฤทธ์ิ. กรุงเทพฯ : สานกั ทดสอบทางการศึกษามหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทวิโรฒประสานมิตร. ลว้ น สายยศ, องั คณา สายยศ. (๒๕๓๘). เทคนคิ การวจิ ยั ทางการศึกษา. พมิ พค์ ร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : สุวีริยาส์น. วรรณี โสมประยรู . (2537). การสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นา พานิช. สงดั อทุ รานนท.์ (2532). พื้นฐานหลกั การพฒั นาหลกั สูตร. กรุงเทพฯ : เซนเตอร์พบั ลิคเคชน่ั . สมยศ แม่นแยม้ (2543). ครูไทยสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : เคลด็ ไทย. สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2535). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภา ลาดพร้าว.๗๘ สานกั ทดสอบทางการศึกษา, กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). ระบบประกนั คุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา : กรอบและแนวทางการการดาเนนิ งาน. กรุงเทพฯ :กระทรวงศึกษาธิการ. สานกั วิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). การประเมิน การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน
ตามหลกั สูตรการศึกษานพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544 . กรุงเทพฯ : กลุ่มส่งเสริมการเรียน การสอนและประเมินผลสานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. สุขมุ าวดี ขาหิรัญ. (2537). วิธีการสอนภาษาองั กฤษเป็ นภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . สุพิน บุญชูวงศ.์ (2544). หลกั การสอน. พมิ พค์ ร้ังที่ 9. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนดุสิต. สุมิตรา องั วฒั นกุล. (2540). วิธสี อนภาษาองั กฤษ. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลยั . สุมิตรา องั วฒั นกลุ . (2540) . วธิ สี อนภาษาองั กฤษ . พิมพค์ ร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . หนงั สือพมิ พผ์ จู้ ดั การรายวนั . (2557). องึ้ ผลการสอบภาษาองั กฤษไทยติดกลุ่มแย่. ฉบบั ท่ี 28 มกราคม 2557. อรุณี วิระยจิตรา และคณะ. (2555). เหลียวหน้าและหลังการสอน ภาษาองั กฤษ, กรุงเทพฯ : ส.เอเชียเพรส. อจั ฉรา วงศโ์ สธร. (2539). เทคนคิ วิธีการสร้างข้อสอบภาษาองั กฤษ. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญ ทศั น.์ งานวจิ ยั ตวงทิพย์ โสฬสเสาวภาคย.์ (2557). การพฒั นากจิ กรรมสถานการณ์จาลอง เพ่ือเสริมสร้าง ความสามารถในด้านการพูดภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร โดยใช้บริบทเมืองเพชรบุรี สาหรับนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ. เพชรบุรี : วิทยาลยั อาชีพเพชรบุรี. อมั ราภรณ์ หนูยอด และ ณฐั กร หิรัญโท. (2558). การศึกษาผลการจดั การเรียนรู้ภาษาองั กฤษตาม แนวการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสาร ด้วยนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียนสาหรับนักศึกษา สาขาวิชาภาษาองั กฤษคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย. สาขาวิชาภาษาองั กฤษ สานกั วชิ าศึกษาทวั่ ไป มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย. อาทิตย์ อินต๊ะแกว้ . (2560). การศึกษาและพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ภาษาองั กฤษของผู้เรียน ระดบั อุดมศึกษาเพ่ือส่งเสริมทกั ษะการฟัง และการพูดภาษาองั กฤษ: การวจิ ัยแบบ ผสมผสานวธิ กี าร. ปริญญานิพนธด์ ุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการวจิ ยั และพฒั นาศกั ยภาพมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. อารีรัตน์ อีหวน่ั . (2559). การพฒั นาชุดฝึ กทกั ษะภาษาองั กฤษ เพ่ือพฒั นาความสามารถด้าน การเขยี น คาศัพท์ภาษาองั กฤษ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านมลายูบางกอก) จังหวดั ยะลา. ภาษาองั กฤษ Al-Saadat, Abdullah, and Afifi, Elhami. (1997, July -September).”Role-Playing for Inhibited Students in Patemal Communities,” Forum. 35(3) : 43. Bachman, L. F., & Palmer, A. S. (1982). The construct validation of some components of communicative proficiency. TESOL Quarterly, 16(4) : 449-465. Canale, M., & Swain, M. (1980). Theoretical Bases of Communicative Approaches to Second Language Teaching and Testing. Applied Linguistics. Dudney, Gary D. (1983). Hidden-information role plays. English Teaching Form, 3(21) : 30-31. Finocchiaro, M. (1982). The Functional National Approach : From the Theory to Practice. New York: Oxford University. Fiona Richards. (2000). Role playing in the classroom: A tourism experience. Tourism Program : James Cook University. Gerlach, Vernon S. and Donald P. Ely. (1971). Teaching and media: A systematic approach.Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice –Hall, Inc. Halliday, M. A. K. (1982). Linguistics in teacher education. Linguistics and the Teacher, 10-15. Harmer Jeremy, (1993). Teaching and learning grammar. Longman. pp.86 Hymes, Dell H. (1979). The Communicative Approach to Language Teaching. London : Oxford University Press. Hymes, Kendy. (March 1981). “Student Teaching Reflective Practice,” Teacher Education 28,3: 4-7. Larsen–Freeman, D, (2000). Techniques and principles in language teaching. Oxford: Oxford University Press. Littlewood, W. (1988). Communicative language teaching. New York: Cambridge University Press. Littlewood, W. (1990). Communicative Language Teaching. 18th ed. Cambridge : Cambridge University Press. Littlewood, William. (1981). “Foreign and School Languge learning Languge and Its
Implications for the Classroom.” Educational Journal 21,9 (September) : 17-18. Richards JC, Rodgers TS (1995). Approaches and Methods in Language Teaching. A description and analysis. Cambridge: CUP. Richarods, j. & Rodgers, T (2002). Approaches and Methods in Language Teaching. (2nd ed). (Cambridge University Press, USA. Rusbult, C. E., Johnson, D. J., & Morrow, G. D. (1986). Impact of couple patterns of problem solving on distress and nondistress in dating relationships. Journal of Personality and Social Psychology, 50(4), pp.744-753. Savignon, S. (1983). Communicative Competence: Theory and Classroom Practice. Massachustts: Addison-Wesley Publishing Company. Savignon, S. (1983). Communicative Competence: Theory and Classroom Practice. Massachustts: Addison-Wesley Publishing Company. Savignon, S. (1997). Communicative competence: Theory and classroom practice (2nd ed.). New York: McGrawHill. Savignon, S. J. (1991). Communicative language teaching state of the art. TESOL Quarterly, 25, 261-275. Savignon, S.J. (1982). Communicative Competence:Theory and classroom practice. Reading, MA: Addison-Wesley. Spada, N. (1987). Relationships between instructional differences and learning outcomes: A process-product study of communicative language teaching. Applied Linguistics, 8, 137-161. Widdowson, H. G. (1978). Teaching Language as Communication. Oxford: Oxford University Press. Wilkins, D.A. (1976). Second-Language Learning and Teaching. London: Edard Arnold.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายนามผ้เู ช่ียวชาญในการตรวจคณุ ภาพเคร่ืองมือ
1. นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ รายนามผู้เช่ียวชาญ วุฒิ สถานที่ทางาน กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ทรงคณุ วุฒิ ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) อาเภอคลอหลวง จงั หวดั ปทุมธานี สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เช่ียวชาญ ดา้ นหลกั สูตรและการสอน 2. นางสาวสุวดี กาญจนาภา ศษ.บ วทิ ยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ วฒุ ิ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง สถานท่ีทางาน ครู โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) อาเภอคลอหลวง จงั หวดั ปทุมธานี ทรงคุณวุฒิ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 เชี่ยวชาญ ดา้ นการวดั และประเมินผล 3. นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา ค.บ. คณิตศาสตร์ วฒุ ิ มหาวิทยาลยั รามคาแหง สถานท่ีทางาน ครู โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) อาเภอคลอหลวง จงั หวดั ปทุมธานี ทรงคุณวุฒิ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เช่ียวชาญ ดา้ นนวตั กรรม
บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) ที่ พเิ ศษ/2564 วันท่ี 10 พฤศจิกายน 2564 เรื่อง ขออนุญาตแต่งต้งั ผเู้ ชี่ยวชาญ …………………………………………………………………………………………….. เรียน ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) ดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวอรวรรณ พุดมอญ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิ ราษฎร์บารุง) มีความสนใจท่ีจะดาเนินการวิจยั ในช้นั เรียน เร่ือง การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ซ่ึงการดาเนินงาน จาเป็นตอ้ งมีผเู้ ชี่ยวชาญ เพอื่ ใหก้ ารวิจยั คร้ังน้ีเป็นไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพ และไดพ้ ิจารณาแลว้ เห็นวา่ นางสาวสุวดี กาญจนาภา และนางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง)เป็นบุคคลที่มี ความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์เป็นอยา่ งดี จึงใคร่ขออนุญาตแต่งต้งั เป็นผเู้ ชี่ยวชาญ เพ่ือ ตรวจสอบ และพจิ ารณาเน้ือหาของ เคร่ืองมือวิจยั ดงั กลา่ ว จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณา ขอแสดงความนบั ถือ (นางสาวอรวรรณ พดุ มอญ ) ครู โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง)
บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) ท่ี พเิ ศษ/2564 วันท่ี 10 พฤศจิกายน 2564 เร่ือง ขออนุญาตแตง่ ต้งั ผเู้ ช่ียวชาญ …………………………………………………………………………………………….. เรียน นางสาวสุวดี กาญจนาภา ดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวอรวรรณ พุดมอญ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิ ราษฎร์บารุง) มีความสนใจที่จะดาเนินการวิจยั ในช้นั เรียน เร่ือง การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ซ่ึงการดาเนินงาน จาเป็ นตอ้ งมีผเู้ ช่ียวชาญ และไดพ้ ิจารณาเห็นวา่ ทา่ นเป็นบุคคลท่ีมี ความรู้ ความสามารถ เป็นผทู้ รงคณุ วุฒิ และมีความเชี่ยวชาญ ท่ีจะใหค้ าปรึกษา คาแนะนา และคาช้ีแจง ในการปฏิบตั ิงาน จึงขอความอนุเคราะห์จากทา่ นรับเป็นอาจารยท์ ี่ปรึกษา และเป็นผเู้ ชี่ยวชาญ ต้งั แตบ่ ดั น้ี เป็นตน้ ไป จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณา ขอแสดงความนบั ถือ (นางสาวอรวรรณ พุดมอญ ) ครู โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง)
บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) ท่ี พิเศษ/2564 วันท่ี 10 พฤศจิกายน 2564 เร่ือง ขออนุญาตแต่งต้งั ผเู้ ช่ียวชาญ …………………………………………………………………………………………….. เรียน นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา ดว้ ยขา้ พเจา้ นางสาวอรวรรณ พุดมอญ ตาแหน่ง ครู โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิ ราษฎร์บารุง) มีความสนใจที่จะดาเนินการวจิ ยั ในช้นั เรียน เร่ือง การใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ซ่ึงการดาเนินงาน จาเป็นตอ้ งมีผเู้ ช่ียวชาญ และไดพ้ ิจารณาเห็นวา่ ทา่ นเป็นบุคคลท่ีมี ความรู้ ความสามารถ เป็นผทู้ รงคุณวุฒิ และมีความเชี่ยวชาญ ท่ีจะใหค้ าปรึกษา คาแนะนา และคาช้ีแจง ในการปฏิบตั ิงาน จึงขอความอนุเคราะห์จากทา่ นรับเป็นอาจารยท์ ี่ปรึกษา และเป็นผูเ้ ชี่ยวชาญ ต้งั แตบ่ ดั น้ี เป็นตน้ ไป จึงเรียนมาเพ่อื โปรดพิจารณา ขอแสดงความนบั ถือ (นางสาวอรวรรณ พุดมอญ ) ครู โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง)
ภาคผนวก ข เครื่องมือในการวิจัย
แผนการสอน ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วธิ ีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษา เพื่อการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6
พ.น./วก. 02 โรงเรยี นวดั พืชนิมติ (คำสวัสด์ริ าษฎร์บำรงุ ) แบบประเมินหน่วยการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ………. เรื่อง ..........................................................................เวลาที่ใช้...............ช่วั โมง รหัสวชิ า .............................. รายวิชา ภาษาองั กฤษ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี.............. ครผู ้สู อน นางสาวอรวรรณ พดุ มอญ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมนิ มคี วามสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม 5 หมายถงึ มากสุดท่ีสุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถึง นอ้ ยทสี่ ุด ขอ้ ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 54321 1 ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้น่าสนใจ กะทัดรัด ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนร้/ู สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงคม์ คี วามเช่ือมโยงกนั อยา่ งเหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกบั มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 5 ความเชอื่ มโยงสมั พันธ์กันระหว่างช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วดั / ผลการเรยี นรสู้ าระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดสาระการเรียนร้แู ละกจิ กรรมการเรียนรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้และสาระการเรยี นรู้ 7 กิจกรรมการเรยี นรูม้ คี วามครอบคลุมในการพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 8 กิจกรรมการเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมสามารถนำผ้เู รียนไปสูก่ ารสรา้ งชิ้นงาน/ภาระงาน 9 มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั /กิจกรรมการเรียนรู้ 10 ประเด็นและเกณฑก์ ารประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด/ผล การเรยี นรู้ 11 สื่อการเรียนรใู้ นแตล่ ะกิจกรรม มีความเหมาะสมกับเวลาและการนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้จริง 12 กำหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกับกิจกรรม และสามารถนำไปปฏิบตั จิ ริงได้ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................... ลงชอ่ื .................................................................. (…………………………………………..
พ.น./วก. 03 โรงเรียนวัดพชื นิมติ (คำสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ำรงุ ) สรปุ ผลการประเมนิ หนว่ ยการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ี่.......................... เรอ่ื ง................................................................เวลาท่ี.............. ช่ัวโมง รหสั วิชา ...................................รายวิชา ภาษาอังกฤษ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ …………….. ครผู ู้สอน นางสาวอรวรรณ พุดมอญ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ แบบประเมนิ หนว่ ยการเรยี นรู้ ซ่ึงเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) จำนวน 12 ขอ้ มรี ะดับการประเมิน 5 ระดับ คือ 5 หมายถึง มคี วามสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม มากท่ีสุด 4 หมายถึง มคี วามสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสม มาก 3 หมายถงึ มคี วามสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสม นอ้ ยท่สี ุด ซง่ึ ถือเกณฑใ์ นการแปลความหมายของคา่ เฉล่ยี ดังน้ี 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม มากที่สดุ 3.50 – 4.49 หมายความว่า มีความสอดคลอ้ ง/เช่อื มโยง/เหมาะสม มาก 2.50 – 3.49 หมายความว่า มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความว่า มีความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1.00 – 1.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม น้อยที่สุด ข้อ รายการประเมิน คะแนนของผปู้ ระเมนิ คา่ การแปล ท่ี คนที่ คนท่ี 2 คนท่ี เฉลย่ี ความหม 1 3 าย 1 ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้นา่ สนใจ กะทัดรัด ชัดเจน ครอบคลุมเน้อื หา สาระ 2 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนร้/ู สมรรถนะสำคัญของ ผูเ้ รยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์มีความเช่อื มโยงกันอย่าง เหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกบั มาตรฐาน การเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับสาระการ เรยี นรู้
-2- คะแนนของผปู้ ระเมนิ คา่ การแปล ข้อท่ี รายการประเมนิ คนท่ี คนที่ คนที่ เฉลี่ย ความหมาย 123 5 ความเช่อื มโยงสัมพันธ์กนั ระหว่างช่ือหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เรยี นรู้/ตวั ชี้วัด /ผลการเรียนรสู้ าระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดสาระการ เรยี นรแู้ ละกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั /ผลการ เรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้ 7 กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ีความครอบคลุมในการพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนรูม้ ีความเหมาะสมสามารถนำผู้เรยี นไปสกู่ ารสร้าง ชน้ิ งาน/ภาระงาน 9 มกี ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชว้ี ัด/กิจกรรมการเรยี นรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคณุ ภาพผูเ้ รียนตาม มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ 11 ส่ือการเรียนรูใ้ นแตล่ ะกจิ กรรม มคี วามเหมาะสมกบั เวลาและการนำไป ประยุกตใ์ ช้ได้จริง 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรม และสามารถนำไปปฏบิ ัตจิ ริงได้ ภาพรวม สรปุ ผลการประเมนิ ผา่ น (ความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสมตง้ั แต่ระดับปานกลางขน้ึ ไป) ผา่ น (ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสมตำ่ กว่าระดบั ปานกลาง) ลงชื่อ.......................................... (..........................................) ประธานกรรมการ ลงชือ่ .......................................... ลงชอ่ื .......................................... (..........................................) (.........................................) กรรมการ กรรมการ
พ.น./วก. 05 โรงเรียนวดั พชื นมิ ิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรงุ ) แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ า ภาษาอังกฤษ รหสั อ16101 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 หน่วยการเรยี นรู้ที่ .....................................เรอื่ ง ................................................................................. แผนการสอนท่ี ……………………….เร่อื ง ..........................................................เวลาทีใ่ ช.้ ..............ชั่วโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั รการประเมิน 5 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ ดมี าก 4 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ดี 3 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ พอใช้ 1 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ ปรบั ปรงุ ซ่ึงถือเกณฑใ์ นการแปลความหมายของค่าเฉลย่ี ดังน้ี (ธานินทร์ ศลิ ปะจาร.ุ 2555: 112) ข้อ รายการประเมิน ระดบั คะแนน ค่า การแปล ที่ คนท่ี คนท่ี คนท่ี เฉล่ยี ความหมาย 123 1 แผนการจัดการเรยี นร้สู อดคล้องสัมพันธ์กับหน่วยการเรยี นรู้ทีก่ ำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรียนรู้มอี งคป์ ระกอบสำคญั ครบถว้ นสัมพันธก์ นั 3 การเขยี นสาระสำคญั ในแผนถูกต้อง 4 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้มคี วามชัดเจนครอบคลมุ เน้ือหาสาระ 5 กำหนดเนือ้ หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกบั จดุ ประสงคแ์ ละเนื้อหาสาระ 7 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงคแ์ ละระดับชั้นของนักเรียน 8 กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความหลากหลายและสามารถปฏิบตั ิได้จรงิ 9 กจิ กรรมการเรียนรเู้ ป็นกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ กระบวนการคิดของนักเรยี น 10 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งแทรกคุณธรรมและคา่ นิยมทด่ี ีงาม 11 กิจกรรมการเรียนร้เู น้นให้ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในชัน้ เรียน 12 วัสดอุ ปุ กรณ์ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยมี ีความหลากหลาย 13 วสั ดุอุปกรณ์ ส่ือ และแหล่งเรียนรูเ้ หมาะสมกับเนือ้ หาสาระ 14 สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นค้นควา้ หาความรู้ จากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ 15 มีการวดั และประเมินผลทส่ี อดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ -2-
ข้อเสนอแนะ ดา้ นเนอื้ หาสาระ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ....................................................................................................................................................................... ....... .......................................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... ด้านการวัดและประเมนิ ผล ...................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. สรปุ ผลการประเมนิ ผา่ น (มีความเหมาะสมต้ังแต่ระดับปานกลางขนึ้ ไป) ไมผ่ ่าน (มีความเหมาะสมตำ่ กวา่ ระดบั ปานกลางขึ้นไป) ลงชอ่ื .................................................. (นางสาวกันยาภัทร ภัทรโสตถิ) ประธานกรรมการ ลงช่อื .................................................. ลงช่ือ.................................................. (นางสาวสวุ ดี กาญจนาภา) (นางสาวแพรวรงุ่ ศรปี ระภา) กรรมการ กรรมการ
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น Direction : Choose the best answer. คำชแ้ี จง แบบทดสอบก่อนเรียนมจี านวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เลอื กคำตอบทถี่ ูกต้องเพยี งข้อเดียวโดยทำเคร่อื งหมายกากบาท x ลงในกระดาษคาตอบ 1. A : What will you do this evening? B: I will go jogging at _________. a. the restaurant b. the park c. the market d. the train station 2. A : Where are you now? B : I am at ___________. I want to buy some clothes. a. the bowling alley b. the internet café c. the cinema d. the shopping center 3. I went to __________last week. There were many kinds of sea animals. a. the amusement park b. the hospital c. the aquarium d. the butcher’s shop Look at the map and answer the question No. 4 – 10 4. Where is the temple? a. It is on the corner of Main street. b. It is opposite the amusement park. c. It is next to the restaurant. d. It is between the train station and the library.
5. Which place is on the Pink street? b. The restaurant a. The amusement park d. The bakery shop c. The train station b. behind 6. A : Where is the pay phone? d. Opposite B : It is _________ the school. a. next to c. in front of 7. Bakery shop is on ___________. b. Pink street a. Main street d. Blue street c. Red street 8. ______________ is on Main street. It’s opposite the train station. a. The cinema b. The restaurant c. The drug store d. The library 9. At the bus stop A : Excuse me,________________? B : Just turn right at Blue Street. And then turn left at Pink street. It’s on your left. a. How can I get to the shopping center b. Where is the shopping center c. How can I get to the toys shop d. Where is the toys shop 10. At the train station A : Excuse me, could you please tell me the way to the restaurant? B : Sure. ______________________ a. Walk along main street, and then turn left to Blue street. It’s on your right. b. Walk along main street, and then turn right to Blue street. It’s on your left. c. Turn left to Red street, and then turn right to Pink street. It’s on your left. d. Turn left to Red street, and then turn left to Pink street. It’s on your left.
ใช้บทสนทนาตอบคำถามข้อที่ 11-12 Situation May wants to buy something at the supermarket, so she asks the direction to the supermarket. May : Excuse me. __________11__________ where is the supermarket? Man : Certainly. Go straight and turn right at the traffic lights. It’s on your left next to the post office. May : __________12__________ Man : Oh, about 500 meters from here. 11. a. What can I get b. Could you tell me c. Do you say d. Would you care for b. How can I go there? 12. a. How far is it? d. How long does it take? c. How about going there? 13. The library is ___________________ the restaurant and the post office. a. behind b. in front of c. at the back of d. between 14. Situation : A tourist asks Somsak who has just come to this town for the first time. Tourist : Could you tell me the direction to the park, please? Somsak : ________14____________. a. No, that’s good idea b. Sorry. I’m busy c. Sorry. I’m a stranger here, too d. Thank you very much.
Ken : Excuse me, Could you tell me how to get to the bank, please? Joe : _____15____You walk down Sukhumvit Road and then turn right to Nongkla Road. It is on your right hand. Ken : Oh, ______16________ Joe : ______17________ 15. a. Yes, thank you b. No, it isn’t c. Yes, exactly d. Yes, please b. that’s good idea. 16. a. thank you very much. d. have a nice trip. c. take care of yourself. b. You’re welcome. d. See you later. 17. a. Thank you very much. c. How do you do. Situation: On the road. Ton : Excuse me, ______8_____ the railway station, please? Joy : _____9______. Ton : Thank you very much. 18. a. How far is b. you walk to c. could you tell me the way to d. I want to go to b. I don’t know where it is 19. a. Go up this street and turn left d. That bus will take you there c. You’re welcome
Situation: Miss Susan is a stranger. She asks Peter about the direction to the hospital. Susan : ________20____________ Peter : Go down the street. Turn right at the T- junction. Then turn left at the traffic lights. You’ll see the hospital on your left. 20. a. How far is it from here to the hospital? b. Could you tell me how to get to the hospital? c. How long does it take from here to the hospital? d. Is the hospital near here or a long way from here?
แบบประเมินความสอดคล้องแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คาชแ้ี จง โปรดศึกษาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แลว้ พิจารณาความสอดคล้องของ ขอ้ สอบกับจดุ ประสงคแ์ ละเลือกรายการประเมนิ ที่ตรงกับความ คดิ เห็นของทา่ นดังน้ี ใหค้ ะแนน + 1 เม่ือแน่ใจว่าข้อสอบข้อนัน้ สอดคล้องกบั จุดประสงค์ ใหค้ ะแนน 0 เมือ่ ไม่แน่ใจวา่ ข้อสอบข้อนัน้ สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคห์ รือไม่ ใหค้ ะแนน - 1 เมื่อแน่ใจว่าขอ้ สอบขอ้ น้นั ไม่สอดคล้องกบั จุดประสงค์ ข้อสอบ ระดับความคิดเห็น +1 0 -1 1. A : What will you do this evening? b. the park B: I will go jogging at _________. d. the train station a. the restaurant c. the market 2. A : Where are you now? B : I am at ___________. I want to buy some clothes. a. the bowling alley b. the internet café c. the cinema d. the shopping center 3. I went to __________last week. There were many kinds of sea animals. a. the amusement park b. the hospital c. the aquarium d. the butcher’s shop Look at the map and answer the question No. 4 – 10
ขอ้ สอบ ระดับความคดิ เหน็ +1 0 -1 4. Where is the temple? a. It is on the corner of Main street. b. It is opposite the amusement park. c. It is next to the restaurant. d. It is between the train station and the library. 5. Which place is on the Pink street? b. The restaurant a. The amusement park d. The bakery shop c. The train station 6. A : Where is the pay phone? b. behind B : It is _________ the school. d. Opposite a. next to c. in front of 7. Bakery shop is on ___________. b. Pink street a. Main street d. Blue street c. Red street 8. ______________ is on Main street. It’s opposite the train station. a. The cinema b. The restaurant c. The drug store d. The library 9. At the bus stop A : Excuse me,________________? B : Just turn right at Blue Street. And then turn left at Pink street. It’s on your left. a. How can I get to the shopping center b. Where is the shopping center c. How can I get to the toys shop d. Where is the toys shop
ข้อสอบ ระดับความคิดเหน็ +1 0 -1 10. At the train station A : Excuse me, could you please tell me the way to the restaurant? B : Sure. ______________________ a. Walk along main street, and then turn left to Blue street. It’s on your right. b. Walk along main street, and then turn right to Blue street. It’s on your left. c. Turn left to Red street, and then turn right to Pink street. It’s on your left. d. Turn left to Red street, and then turn left to Pink street. It’s on your left. ใช้บทสนทนาตอบคำถามข้อท่ี 11-12 Situation May wants to buy something at the supermarket, so she asks the direction to the supermarket. May : Excuse me. __________11__________ where is the supermarket? Man : Certainly. Go straight and turn right at the traffic lights. It’s on your left next to the post office. May : __________12__________ Man : Oh, about 500 meters from here. 11. a. What can I get b. Could you tell me c. Do you say d. Would you care for 12. a. How far is it? b. How can I go there? c. How about going there? d. How long does it take?
ขอ้ สอบ ระดบั ความคดิ เหน็ +1 0 -1 13. The library is ___________________ the restaurant and the post office. a. behind b. in front of c. at the back of d. between 14. Situation : A tourist asks Somsak who has just come to this town for the first time. Tourist : Could you tell me the direction to the park, please? Somsak : ________14____________. a. No, that’s good idea b. Sorry. I’m busy c. Sorry. I’m a stranger here, too d. Thank you very much. Ken : Excuse me, Could you tell me how to get to the bank, please? Joe : _____15____You walk down Sukhumvit Road and then turn right to Nongkla Road. It is on your right hand. Ken : Oh, ______16________ Joe : ______17________ 15. a. Yes, thank you b. No, it isn’t c. Yes, exactly d. Yes, please 16. a. thank you very much. b. that’s good idea. c. take care of yourself. d. have a nice trip. 17. a. Thank you very much. b. You’re welcome. c. How do you do. d. See you later.
ขอ้ สอบ ระดับความคดิ เห็น +1 0 -1 Situation: On the road. Ton : Excuse me, ______18_____ the railway station, please? Joy : _____19______. Ton : Thank you very much. 18. a. How far is b. you walk to c. could you tell me the way to d. I want to go to 19. a. Go up this street and turn left b. I don’t know where it is c. You’re welcome d. That bus will take you there Situation: Miss Susan is a stranger. She asks Peter about the direction to the hospital. Susan : ________20____________ Peter : Go down the street. Turn right at the T-junction. Then turn left at the traffic lights. You’ll see the hospital on your left. 20. a. How far is it from here to the hospital? b. Could you tell me how to get to the hospital? c. How long does it take from here to the hospital? d. Is the hospital near here or a long way from here?
แบบสอบถามความพงึ พอใจทม่ี ีต่อการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้วิธีสอน ภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6 คาชีแ้ จ้ง 1. แบบสอบถามน้ีมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ สอบถามความพงึ พอใจท่ีมีต่อการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพ่ือการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วชิ า ภาษาองั กฤษ เรื่อง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คาสวสั ด์ิราษฎร์บารุง) ซ่ึงจะนาไปประเมินผลเพื่อเป็นแนวทางใน การปรับปรุงต่อไป 2. แบบสอบถามฉบบั น้ีประกอบดว้ ยคาถามท้งั หมด 2 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 สอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ี สอนภาษาองั กฤษตามแนวคิดภาษาเพ่อื การสื่อสาร (Communication Language Teaching) ในการพฒั นา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน วิชา ภาษาองั กฤษ เร่ือง Out and about ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ตาม แนวคดิ ของ Likert มีลกั ษณะเป็นมาตรประเมินค่า (Rating scale) มี 5 ระดบั ซ่ึงกาหนดคา่ ระดบั ของขอ้ ความ ในแบบสอบถาม 5 ระดบั ดงั รายละเอียดดงั น้ี 4.51 – 5.00 คือ มากที่สุด 3.51 – 4.50 คือ มาก 2.51 – 3.50 คือ ปานกลาง 1.51 – 2.50 คอื นอ้ ย 1.00 – 1.50 คือ นอ้ ยท่ีสุด ตอนที่ 2 ขอ้ เสนอแนะของผตู้ อบแบบสอบถาม 3. กรุณาทาเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกบั ความคิดเห็นของทา่ นหากมีขอ้ เสนอแนะกรุณาเขียนลงใน ตอนที่ 2
ท่ี หัวข้อ ระดบั ความพึงพอใจ 54321 การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธี สอนภาษาองั กฤษ ตามแนวคิดภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) เนน้ งานปฏิบตั ิ 1 มีความน่าสนใจ 2 ส่อื การเรียนรู้มีภาพและเสยี งประกอบ ทาใหเ้ ร้าความ สนใจ 3 บทเรียนมีสแี ละขนาดตัวอักษรเหมาะสม การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตาม แนวคดิ ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication Language Teaching) ทาใหเ้ กิด ความ 4 สนุกสนานในการเรียนรู้ไม่น่าเบ่ือ การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอนภาษาองั กฤษตาม แนวคดิ ภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ทาให้ บรรยากาศไม่ 5 ตึงเครียดกบั การเรียน การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตาม แนวคดิ ภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communication Language Teaching) ช่วยใหม้ ีความ 6 กระตือรือร้นในการเรียนมากข้นึ 7 นกั เรียนเห็นวา่ การเรียนวชิ าภาษาองั กฤษเป็นส่ิงท่ีมีประโยชน์ตอ่ ชีวิตประจาวนั 8 นักเรียนสามารถนาความรทู้ ี่ได้จากการเรียนไปใช้ในชีวติ ประจาวนั นกั เรียนเห็นวา่ การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ิธีสอน ภาษาองั กฤษตามแนวคดิ ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication Language Teaching) 9 ช่วยทาใหน้ กั เรียนพูดภาษาองั กฤษไดถ้ ูกตอ้ ง การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตาม แนวคิดภาษาเพ่ือการสื่อสาร (Communication Language Teaching) ฝึกใหน้ กั เรียนกลา้ 10 คิด กลา้ พูด กลา้ แสดงออก การเรียนดว้ ยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใชว้ ธิ ีสอนภาษาองั กฤษตาม แนวคิดภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (Communication Language Teaching) ทาใหน้ กั เรียนมี 11 ความเชื่อมน่ั ในตวั เอง 12 นกั เรียนมีความเพลิดเพลินใจในขณะทากิจกรรม รวม
ผลการวเิ คราะหห์ าคุณภาพของแผนการจดั การเรียนรู้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160