คำนำ การจดั ทำสารสนเทศของโรงเรยี นเรียนบ้านเดก็ รามอินทราเป็นสิ่งสำคัญ เพราะข้อมลู สารสนเทศเป็น การแสดงถึงการพัฒนางานด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน ท่ีจะนำไปสู่การวางแผนการบริหารการจัดการศึกษาของ โรงเรยี น เป็นการชว่ ยให้สามารถตัดสนิ ใจกำหนดทศิ ทางการพัฒนาและปรบั ปรุงแก้ไขการดำเนินงานให้ถูกตอ้ ง ตามสภาพความเป็นจริง เนื่องด้วยการศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาในทุกด้าน การตัดสินใจและการ วางแผน จึงต้องอาศัยข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้องสมบูรณ์เป็นเคร่ืองมือสำคัญ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราได้ เห็นความสำคัญ ในเรอ่ื งนม้ี าโดยตลอด จึงได้จัดระบบขอ้ มูลสารสนเทศให้ตรงกบั ความต้องการของผู้ใชบ้ ริการ สารสนเทศโรงเรียนเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565 ฉบับน้ี จัดทำข้ึนด้วยการ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลของโรงเรียนในปีการศึกษา 2565 หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ี เกยี่ วข้องตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะผู้จดั ทำ และบุคลากรทุกส่วนงานที่ช่วยเก็บรวบรวมข้อมูล ทำให้สารสนเทศโรงเรียน เรยี นบ้านเด็กรามอินทราฉบับนเี้ สร็จสมบรู ณ์ __________________________ (นางสาวดวงหฤษฎ์ ภแู พง) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอินทรา
สารบญั ประวัตโิ รงเรยี นบา้ นเด็กรามอินทรา.................................................................................................................7 ข้อมลู พนื้ ฐาน....................................................................................................................................................8 ปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย..........................................................................................................9 ระเบียบการของโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา........................................................................................... 10 พันธสญั ญาวา่ ด้วยการทำทารณุ กรรม .......................................................................................................... 12 โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน................................................................................................................... 13 ผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรทางการศึกษา ............................................................................................................. 14 โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน .......................................................................................................................... 14 โครงสร้างการดำเนนิ งานบรหิ ารแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา .............................................................. 16 โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นบ้านเด็กรามอนิ ทรา............................................................................ 17 โครงสร้างคณะกรรมการ ........................................................................................................................... 18 รายนามบคุ ลากรโรงเรียนบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ......................................................................................... 19 ขอ้ มูลผบู้ รหิ ารและบุคลากรทางการศึกษา ............................................................................................... 21 ข้อมูลภายในโรงเรียน .................................................................................................................................... 22 ขอ้ มลู นักเรียน ................................................................................................................................................ 24 ลักษณะความพิการของนักเรียน............................................................................................................... 26 จำแนกภูมลิ ำเนาของนักเรยี น........................................................................................................................ 29 จำแนกภมู ลิ ำเนาของนักเรยี นตามจังหวัด ................................................................................................ 29 แผนภูมจิ ำแนกภมู ลิ ำเนาของนกั เรียนตามจังหวัด.................................................................................... 30 จำแนกภมู ลิ ำเนาของนกั เรยี นตามภูมภิ าค................................................................................................ 31 ผลงานนวัตกรรมและแบบอยา่ งที่ดีของครแู ละบุคลากร.............................................................................. 32 ผลงานวิจยั ในช้นั เรียน ครู 1 คน 1 ผลงานวิจัย....................................................................................... 32 รางวัลบุคลากรดีเด่น ประจำปกี ารศึกษา 2565....................................................................................... 33 ผลงานดเี ด่นและการแขง่ ขนั ของนกั เรยี น..................................................................................................... 34
การแขง่ ขันศกั ยภาพนกั เรยี นตาบอดพกิ ารซอ้ น ครั้งที่ 3......................................................................... 34 การแข่งขนั ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น คร้ังที่ 70........................................................................................... 36 การสง่ เสริมคา่ นิยม 12 ประการ.................................................................................................................... 38 ความหมายของคา่ นิยมทงั้ 12 ประการ.................................................................................................... 38 การเรยี นภายใตก้ ารแพรร่ ะบาด โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 .................................................................. 40 แนวปฏบิ ตั ริ ะหว่างเปิดภาคเรยี น .............................................................................................................. 45 1. กรณีเปดิ เรียนไดต้ ามปกติ (Onsite) สถานศึกษา........................................................................... 45 2. กรณโี รงเรียนไม่สามารถเปดิ เรียนไดต้ ามปกติ ................................................................................. 49 แผนเผชญิ เหตุของโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา....................................................................................... 51 สถานทแ่ี ยกกกั ตวั ในโรงเรียน (School Isolation) ................................................................................ 54 การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั (อนบุ าล 1-3).......................................................................................................... 56 คุณลกั ษณะระดบั ปฐมวยั ท้ัง 4 ด้าน ......................................................................................................... 56 มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์........................................................................................................... 57 ผลการประเมนิ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น ระดบั ปฐมวยั ................................................................................. 58 ผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐาน ระดับปฐมวยั ............................................................................... 62 การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (ประถมศกึ ษาชั้นปีที่ 1-6) ......................................................................................... 64 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน....................................................................................................................... 64 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ........................................................................................................................ 65 คณุ ลักษณะและสมรรถนะผเู้ รียน.............................................................................................................. 65 ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ชว่ งชน้ั ท่ี 1 (ประถมศึกษาปที ี่ 1–3) ........................................................ 65 ระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ช่วงชั้นท่ี 2 (ประถมศึกษาปที ่ี 4-6)......................................................... 66 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้................................................................................................................... 68 มาตรฐานการเรียนรู้ .................................................................................................................................. 69 กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น................................................................................................................................ 74 โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสตู รสถานศึกษา................................................................................................. 75
ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษา........................................................................................... 76 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา .............................................................................................................. 86 1. โครงการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รยี น...................................................................................................... 86 2. โครงการพัฒนากระบวนการบรหิ ารและการจดั การ............................................................................ 91 3. โครงการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั ......................................... 96 สรปุ งบประมาณยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการพัฒนา ................................................................................. 100 งบประมาณตามยทุ ธศาสตร์.................................................................................................................... 100 ปฏทิ ินงานและงบประมาณ ..................................................................................................................... 101 ภาคผนวก..................................................................................................................................................... 105 ผลงานดเี ดน่ และการแข่งขันของนักเรียน............................................................................................... 106 ภาพกจิ กรรมการแขง่ ขันศักยภาพนักเรียนตาบอดพิการซอ้ น ครง้ั ท่ี 3............................................. 106 ภาพกจิ กรรมการแข่งขนั ศิลปหตั ถกรรมนักเรียน ครงั้ ที่ 70............................................................... 108 แผนทต่ี ั้งโรงเรียนบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา..................................................................................................... 113 แผนท่ีตำแหน่งอาคาร สถานที่ โรงเรียนบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา................................................................. 114 คณะผ้จู ดั ทำ ............................................................................................................................................. 115
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเา ีรทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทาบ้รมาโาอิรนเงนเด็รีทกรยรานาบ้มโาอรงนเเรีด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทกบ้ราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรงบ้เารีนยเนด็กบ้ารานเม ็ดอิกนรทารมาอินทร 7 ประวัตโิ รงเรียนบา้ นเด็กรามอนิ ทรา โรงเรยี นเริ่มก่อตั้งแตป่ พี ุทธศักราช 2528 เริม่ จากการเปน็ บา้ นเด็กตาบอดผ้พู ิการซ้ำซอ้ น และไดจ้ ัดตั้ง เป็นโรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา เม่ือปีพุทธศักราช 2552 โดยการก่อสร้างจากงบประมาณของผู้บริจาคชาว ไทยและองค์กรตา่ งประเทศ โรงเรียนต้ังข้ึนโดยมีเป้าหมายข้ันต้นเพ่ือรองรับเด็กนักเรียนพิการซ้อนซ่ึงถูกทอดทิ้งและเด็กที่ ผู้ปกครองนำบุตรหลานมาฝากโดยเป็นการบริการแบบให้เปล่า ซ่ึงรองรับเด็กพิการซ้อนจากสาขาอ่ืนภายใต้ มูลนิธิธรรมิกชนเพ่ือคนตาบอดในประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นการให้บริการ การศึกษาและฟ้ืนฟู สมรรถภาพคนตาบอดพกิ ารซ้อนในพ้ืนทก่ี รงุ เทพมหานครและจังหวดั ปรมิ ณฑล โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา (บ้านเด็กตาบอดผู้พิการซ้ำซ้อน) โดย นายประหยัด ภูหนองโอง เป็น ผูแ้ ทนผู้รับใบอนุญาตมูลนิธิธรรมิกชนเพ่ือคนตาบอดในประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ขออนุญาตจัดตั้ง บ้านเด็กตาบอดพิการซ้ำซ้อนเป็นโรงเรยี นเอกชนการกศุ ลชื่อว่า“โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา”สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตัง้ แตร่ ะดับก่อน ประถมศึกษาถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ประเภทการศึกษาพิเศษ มาตรา 15 (3) เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พุทธศักราช 2552 โรงเรียนต้ังอยู่เลขที่ 21/13 ซอยรามอินทรา 34 แยก 19 แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร 10230 สารสนเทศโรงเรียนบ้านเดก็ รามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 8 ข้อมูลพ้ืนฐาน ชอื่ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ( Bandek Ramintra School ) อักษรย่อ บดร. สถานท่ตี ้งั 21/13 ซอยรามอินทรา34 แยก 19 ถนนรามอินทรา แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรุงเทพมหานครฯ 10230 เน้ือท่ี โทรศพั ท์ 02-5103625, 02-5104885 โทรสาร 02-8436235 ได้รับอนญุ าตต้งั เมื่อ E-mail:[email protected] เปิดสอนประเภท 2 ไร่ 76 ตารางวา ระดบั 16 พฤษภาคม 2552 ตราประจำโรงเรยี น สามัญศึกษา (จัดการเรียนการสอนในลกั ษณะโรงเรยี นการศกึ ษาพิเศษ) ปฐมวัย – ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่6 ไมเ้ ท้าขาว เป็นลักษณะรูปเปลวไฟต้ังอยู่บนรูปหัวใจ ไม้เท้าขาวอยู่ในวงกลม มีความหมายว่า สปี ระจำโรงเรยี น พลังใจ ศรัทธานำทางด้วยวิชา ความรู้เพื่อคนตาบอด สามารถอยู่ได้ในสังคมอย่างมี เกียรตแิ ละศักดิศ์ รี ตน้ ไม้ประจำโรงเรียน ประเภทโรงเรียน เปลวไฟ หมายถงึ แสงสวา่ งนำทางชวี ติ หัวใจ หมายถึง ความศรัทธาท่ีจะอดทน เสียสละด้วย ความรัก เมตตา ตามคำสอนของศาสนา หมายถึงสญั ลกั ษณ์ในการนำพาคนตาบอดไปในโลกกว้างอยา่ งมอี สิ ระและความหวัง ชมพู เขียว สีชมพู ความรกั เมตตาตอ่ เด็ก ความรกั ความเมตตาจะทำให้เดก็ เจริญงอกงาม สีเขยี ว สแี หง่ ความเจริญงอกงาม ตน้ ประดเู่ หลือง การกศุ ล สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 9 ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย ปรชั ญา “การศึกษา คือความเจริญงอกงาม ทเ่ี ป็นไปตามสดั สว่ นของต้นทุนทีแ่ ต่ละคนมีอย”ู่ วสิ ยั ทัศน์ “เป็นสถานศกึ ษาตน้ แบบทีจ่ ดั การศึกษาและพฒั นาศักยภาพนกั เรยี นตาบอดพกิ ารซ้อนให้มีทักษะในการดำเนิน ชวี ิตประจำวนั และเป็นผู้นำดา้ นผลติ สอื่ นวัตกรรมการเรยี นการสอน” พนั ธกจิ 1. จัดบริการการศึกษาและฟื้นฟูสมรรถภาพจัดบริการการศึกษาสำหรับนักเรียนตาบอดพิการซ้อน โดย เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ 2. จัดทำมาตรฐานและหลักสตู รสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการจำเปน็ ของผ้เู รยี น 3. พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามรู้ และทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ าน 4. พัฒนาอาคารสถานท่ี แหล่งเรียนรู้ ส่ือ ส่ิงอำนวยความสะดวกให้เอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน 5. สง่ เสริมให้ผู้ปกครองและชุมชนมสี ่วนรว่ มในการฟื้นฟแู ละพฒั นานกั เรียนตาบอดพกิ ารซอ้ น 6. พัฒนาองคก์ รให้มรี ะบบการใหบ้ รกิ ารที่มปี ระสทิ ธภิ าพ เปา้ หมายของโรงเรียน 1. นักเรียนตาบอดพิการซ้อนได้รับการพัฒนาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล และพัฒนา ฟื้นฟู ศักยภาพ ตามความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษรายบคุ คล 2. โรงเรียนมีมาตรฐานและหลกั สูตรสถานศึกษาท่สี อดคล้องกบั ศกั ยภาพของนกั เรยี นตาบอดพิการซ้อน 3. ครู บุคลากรและผบู้ ริหาร มคี วามรู้ และทักษะในการปฏิบัติงาน 4. โรงเรยี นมีอาคารสถานที่ แหลง่ เรียนรู้ สอื่ สิง่ อำนวยความสะดวกทีเ่ ออ้ื ต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนการ สอน 5. ผ้ปู กครอง ชมุ ชนและผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งมีส่วนร่วมในการพฒั นา ฟนื้ ฟูนักเรยี นตาบอดพกิ ารซ้อน 6. องค์กรมีระบบการให้บรกิ ารที่มปี ระสิทธภิ าพ อตั ลกั ษณข์ องนกั เรียน “ดำเนินชวี ิตประจำวนั เต็มตามศกั ยภาพ ส่ือสารได้เหมาะสม” เอกลักษณ์ของโรงเรยี น “เปน็ สถานศกึ ษาทพี่ ัฒนานักเรียนตาบอดพกิ ารซอ้ น” สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 10 ระเบยี บการของโรงเรยี นบ้านเด็กรามอินทรา เกณฑก์ ารรับสมคั รนกั เรยี น 1. รับสมัครทัง้ ชายและหญงิ ท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ และมีความบกพรอ่ งอน่ื รว่ มดว้ ย 2. อายุตง้ั แต่ 3 ปี - ไม่เกนิ 15 ปี 3. พืน้ ความร้เู ดมิ ไมจ่ ำกดั ความรู้ 4. รับนักเรียนประจำ และนักเรยี นไป - กลบั หลักฐานการสมัคร 1. สำเนาสตู บิ ัตร 2. บัตรประจำตวั คนพกิ ารของนกั เรียน หรือใบรับรองความพิการ 3. สำเนาทะเบยี นบ้าน ของนักเรยี นและบิดา มารดาหรอื ผูป้ กครอง 4. รูปถา่ ยนักเรยี น (ถา่ ยไวไ้ มเ่ กิน 6 เดอื น) ขนาด 2 นิว้ จำนวน 4 รปู 5. สำเนาบตั รประจำตวั ประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของบิดา มารดาหรอื ผปู้ กครอง 6. หลกั ฐานการเปลย่ี นชอ่ื – สกุลของบดิ า/ มาดา/ ผ้ปู กครองและนกั เรียน (ถา้ มี) 7. ใบรบั รองแพทย์ของนกั เรยี น การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน และวนั หยุด 8. จัดการเรียนการสอนสปั ดาหล์ ะ 5 วัน 9. วนั จนั ทร์ – วนั ศกุ ร์ ระหวา่ งเวลา 08.00 น. – 15.30 น. 10. พกั กลางวนั ตั้งแตเ่ วลา 12.00 น. – 13.00 น. 11. แบง่ การเรียนการสอนออกเปน็ 2 ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ 1 ตั้งแตว่ นั ท่ี 1 พฤษภาคม – 31 ตลุ าคม ภาคเรยี นที่ 2 ตัง้ แตว่ นั ท่ี 1 พฤศจิกายน – 30 เมษายน 12. หยดุ วันเสาร์, วันอาทติ ย์ และวันนักขตั ฤกษ์ 13. วนั หยุดตามประกาศของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารหรอื ประกาศของทางราชการ 14. วันหยุดประจำภาคเรยี น การประเมนิ ผล 2.1 ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ประเมนิ พฒั นาการทางดา้ นร่างกาย, อารมณ,์ จิตใจ, สงั คมและสติปญั ญา 2.2 ระดับประถมศึกษา ประเมินผลตามระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา อตั ราคา่ ธรรมเนียมการศึกษาและคา่ ธรรมเนยี มอน่ื ๆ - ไมเ่ กบ็ ค่าธรรมเนยี มใด ๆ สารสนเทศโรงเรียนบ้านเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 11 การแตง่ กาย - แต่งกายตามระเบยี บที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด วิชาทส่ี อน 1. สอนตามหลักสูตรกระทรวงศกึ ษาธิการ 2. สอนวชิ าเฉพาะสำหรับนักเรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเห็นและมีความบกพรอ่ งอื่นรว่ มดว้ ย 3. การอา่ นเขียนอกั ษรเบรลล์ 4. การสอ่ื สารโดยการใช้สัญลักษณ์แทนการพูด (AAC) 5. การทำความค้นุ เคยกับสภาพแวดลอ้ มและการเคลอื่ นไหว (O&M) หลักสูตร 1. หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ของ กระทรวงศึกษาธิการ 3. หลักสูตรสถานศึกษาสำหรบั นกั เรยี นที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเห็นและมีความบกพร่องอ่นื ร่วมด้วย ขอ้ บงั คับ 1. การกลับบ้านจะต้องมผี ู้ปกครองมารับถงึ จะกลับได้ 2. นักเรียนจะออกนอกบริเวณโรงเรียนไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้ทำ การแทน 3. นกั เรียนทุกคนจะตอ้ งเข้ารว่ มกจิ กรรมที่ทางโรงเรียนได้จดั ขึน้ 4. เวลาเรียนจะต้องอยูใ่ นความควบคมุ ดแู ลของครูผู้สอนและทำกจิ กรรมต่าง ๆ ตามที่กำหนด 5. มีครูประจำดแู ลความเรยี บรอ้ ยท่วั ไป 6. การออกนอกบริเวณโรงเรียนจะต้องไดร้ ับอนญุ าตจากผบู้ ริหารกอ่ น สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 12 พันธสัญญาวา่ ด้วยการทำทารุณกรรม 1. ข้าพเจ้าจะไม่กระทำทารุณกรรมทางร่างกาย ไม่ลงโทษเด็กและเยาวชนในมูลนิธิฯ จนได้รับบาดเจ็บ หรือกอ่ ให้เกดิ อนั ตราย 2. ข้าพเจ้าจะไม่กระทำทารุณกรรมทางจิตใจ กระทำการก่อให้เกิดความอับอายขายหน้าหรือก่อให้เกิด การเกบ็ กดทางอารมณแ์ กเ่ ดก็ และเยาวชนในมลู นิธฯิ 3. ข้าพเจ้าจะไม่ฉวยโอกาสสัมผัสใกล้ชิดเด็กและเยาวชนเกินกว่าจรรยาบรรณของวิชาชีพ หรือขัดต่อ ขนบประเพณขี องไทย 4. ข้าพเจ้าจะละเว้นการใช้อำนาจและอิทธิพลใด ๆ ที่ได้จากตำแหน่งหน้าที่มาครอบงำ ชี้นำ ชักจูง บีบ บงั คับทงั้ ทางตรงและทางออ้ มให้มีผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ิตของเด็กและเยาวชนที่อยใู่ นอปุ การะของ มลู นิธิฯ 5. ข้าพเจ้าจะดแู ลเด็กและเยาวชนด้วยความเสมอภาค ไมล่ ำเอียง และจะรักษาขอ้ มลู ประวตั ขิ องเด็กและ เยาวชนทอี่ ยูใ่ นอปุ การะของมลู นิธิฯ ให้เป็นความลบั 6. ขา้ พเจา้ จะไมม่ สี ว่ นรว่ มในการแสวงหาผลประโยชน์จากการใช้แรงงานเดก็ และเยาวชนในมลู นิธิฯ 7. ข้าพเจ้าจะไม่เรียกร้องการบริการต่าง ๆ จากเด็กและเยาวชนในความดูแลหรือผู้อ่อนแอ ซึ่งเป็น กิจกรรมการบรกิ ารในเชงิ ล่วงละเมิดทางเพศ 8. ข้าพเจ้าจะไม่หยอกล้อแสดงอาการในเชิงชู้สาวหรืออยู่กับเด็กและเยาวชนสองต่อสองในเวลาและ สถานท่ีไม่เหมาะสม 9. ขา้ พเจ้าจะสนับสนุน ส่งเสริม ปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมและสถานท่ีต่าง ๆ ให้เป็นสถานที่ปลอดภัย น่า อย่อู าศัยและมสี ุขลกั ษณะที่ดี เพ่ือให้เดก็ และเยาวชนได้ใช้ เปน็ การส่วนตวั และส่วนรวม 10. ข้าพเจ้าจะยึดถือแนวนโยบายและระเบียบปฏิบัติของมูลนิธิฯ ว่าด้วยเรื่อง การพิทักษ์สิทธิเด็กและ เยาวชน การป้องกนั การทารุณกรรมเด็กและเยาวชน และรายงานถงึ ความเป็นอยู่ ความปลอดภัยของ เดก็ และเยาวชนในมลู นธิ ิฯ เป็นประจำ ต่อหัวหนา้ ตามสายงาน สารสนเทศโรงเรียนบ้านเดก็ รามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 13 โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรียน โอกาส / จดุ แข็ง ✓ ตั้งอยู่ใกลแ้ หลง่ เรยี นร้ทู สี่ ำคญั และเปน็ ประโยชน์ เช่น แหล่งโบราณสถาน/โบราณวตั ถุ สถานท่ี ทอ่ งเทย่ี ว ✓ ตั้งอยู่ในเมือง อยใู่ กล้สถานทร่ี าชการ/โรงพยาบาล/หนว่ ยงานอื่น ๆ ✓ ต้ังอยูใ่ นเขตทอี่ ยู่อาศยั หนาแนน่ /ใกลต้ ลาด/แหลง่ ชมุ ชน/ใกล้หา้ งสรรพสินค้า ✓ ปลอดภยั ตอ่ ยาเสพติด/แหลง่ เรงิ รมย/์ แหลง่ การพนัน มอมเมาเยาวชน ✓ สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นเหมาะสม เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ✓ สภาพแวดลอ้ มดี/ปลอดโปรง่ /ไมแ่ ออัด/บรรยากาศร่มร่นื ✓ ผปู้ กครองและชุมชนมสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมของโรงเรยี น/มีสัมพนั ธท์ ีด่ ีตอ่ กนั ✓ การคมนาคมสะดวก มรี ถรบั จา้ ง/รถประจำทางผ่าน ✓ สนับสนนุ ดา้ นการพฒั นาบุคลากร ✓ ผ้ปู กครองมีศรัทธา/ทศั นคติ/ความเชอ่ื มน่ั ท่ดี ีต่อโรงเรียน ✓ มคี วามคลอ่ งตัวในการบรหิ ารจดั การ ✓ มบี ุคลากรเพียงพอ ✓ ครูมวี ฒุ ิทางการศกึ ษา ขอ้ จำกัด / จุดออ่ น • ผเู้ รยี นมีทกั ษะการคดิ /ต้งั คำถาม/แสวงหาความรู้ นอ้ ย • ไม่สามารถขยายการศกึ ษาในระดับที่สงู ขน้ึ ได้ • ผปู้ กครองสว่ นใหญม่ ฐี านะยากจน/รายได้นอ้ ยการบรหิ ารจดั การไมค่ ล่องตวั • ถิ่นฐานท่ีอยอู่ าศัยของผู้ปกครองอยหู่ ่างไกลจากโรงเรยี นทำให้การตดิ ต่อสอ่ื สารไมส่ ะดวก สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 14 ผู้บริหารและบคุ ลากรทางการศึกษา โครงสรา้ งการบริหารงาน โรงเรยี นบ้านเดก็ รามอินทรา แบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารงานเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารวิชาการ, ฝ่ายงาน บรหิ ารงบประมาณ, ฝา่ ยงานบรหิ ารบุคลากร, ฝา่ ยงานบรหิ ารทั่วไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร กำหนดแนวทางการกำกับติดตามการดำเนินงานในการบริหารแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน พ.ศ. 2561 – 2563 โดยยึดหลัก PDCA : DEMING CYCLE (วงจรคุณภาพ) จาก Dr.Edward W. Deming ดังนี้ 1. P : PLAN การวางแผนจัดทำโครงการ - วัตถุประสงค์เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับแผนของพนั ธกจิ หรือไม่ - มกี ารกำหนดผู้รบั ผดิ ชอบหรอื ไม่ - ระยะเวลาดำเนนิ การทก่ี ำหนดไวเ้ หมาะสมหรือไม่ - งบประมาณเหมาะสมหรือไม่ - มกี ารเสนอเพื่อขออนุมตั กิ อ่ นดำเนนิ การหรอื ไม่ 2. D : DO มกี ารกำกบั ติดตามการปฏิบัตงิ านตามโครงการ - มกี ารกำหนดขน้ั ตอนหรอื วธิ กี ารดำเนนิ การหรือไม่ - มีผรู้ ับผดิ ชอบไดด้ ำเนินการตามที่กำหนดหรือไม่ - มีการประสานงานกับผู้ท่เี กี่ยวขอ้ งมากนอ้ ยเพียงไร - สามารถดำเนนิ การตามระยะเวลาทีก่ ำหนดหรือไม่ - มาสามารถดำเนินการได้ตามงบประมาณท่กี ำหนดไวห้ รือไม่ 3. C : CHECK ตรวจสอบและตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน - ได้มีการกำหนดวธิ /ี รปู แบบการประเมนิ หรอื ไม่ - มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสมหรอื ไม่ - ผลของการประเมินตรงกับวตั ถุประสงค์ท่วี างไว้หรอื ไม่ - ปญั หา/จุดออ่ นที่พบในการดำเนินการมีหรือไม่ - ขอ้ ด/ี จดุ แขง็ ของการดำเนนิ การมีหรือไม่ 4. A : Action นำข้อมูลที่ไดจ้ ากการกำกบั ตดิ ตามการดำเนนิ งานไปปรับปรงุ ต่อไป - มกี ารระดมสมองเพ่ือหาทางแก้ปัญหา/จุดออ่ นท่คี น้ พบ สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 15 - มกี ารระดมสมองเพอื่ หาทางเสรมิ ขอ้ ดี/จดุ แขง็ เพ่มิ เตมิ - มีการนำผลท่ีได้จากระดมสมองเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาสำหรับใช้วางแผนจัดทำโครงการในคร้ัง ตอ่ ไป - กำหนดกลยุทธ์ในการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาในคร้งั ตอ่ ไป สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเดก็ รามอินทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร16 โครงสรา้ งการดำเนนิ งานบรหิ ารแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ผู้แทนผ้รู ับใบอนญุ าต นายโกมล มาลัยทอง ผู้อานวยการ ผูจ้ ดั การ นางสาวดวงหฤษฎ์ ภูแพง นางทัศนยี ์ รตั นะ ฝา่ ยบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคลากร ฝา่ ยบริหารแผนงานงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป นางสาวปน่ิ มณี เกดิ เมืองเลก็ นางสาวดวงหฤษฎ์ ภแู พง นางทัศนีย์ รัตนะ นาดวงจนั ทร์ ปัททมุ 1. การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา 1. การวางแผนอตั รากาลัง 1. การจดั ทาแผนบรหิ ารงบประมาณ งานประชมุ กบั องคก์ รภายนอก 2. การจัดและพฒั นากระบวนการ 2. การสรรหาบุคลากร 2. การบรหิ ารจัดการทางการเงิน 2. งานหอพกั เรยี นรู้ 3. การเสริมสรา้ งประสิทธิภาพในการ 3. การรบั เงนิ ,การจ่ายเงิน,การเก็บ 3. งานพฒั นาระบบและเครอื ขา่ ย 3. การวดั ประเมินผลและเทยี บโอน ปฏบิ ตั ิงาน รักษาเงิน ขอ้ มูลสารสนเทศ ผลการเรียน 4. วนิ ยั และการรักษาวนิ ยั 4. การบรหิ ารพสั ดุและสนิ ทรัพย์ 4. งานยานพาหนะ 4. การวิจยั เพื่อพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษา 5. งานกากบั ดูแลบคุ ลากร 5. การควบคมุ พสั ดแุ ละสนิ ทรัพย์ 5. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. การพัฒนาสอื่ นวตั กรรมและ 6. งานขวัญกาลงั ใจ 6. การระดมทรพั ยากร 6. การดแู ลอาคารสถานที่และ เทคโนโลยีทางการศึกษา สภาพแวดลอ้ ม 6. การพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้การนิเทศ 7. การกากับ,ควบคุม,ประเมินผล 7. งานส่งเสริมความประพฤตแิ ละ การศึกษา และจัดทารายงาน ระเบียบวินัย 7. การพัฒนาระบบประกนั คุณภาพ 8. การวางระบบตรวจสอบ 8. การประชาสมั พนั ธ์ทางการศกึ ษา การศึกษา ประสานงาน ภายใน กบั ชมุ ชน 8. การแนะแนวการศกึ ษา 9. งานสารบรรณ 9. งานโภชนาการ 9. กิจกรรมส่งเสริมความก้าวหน้า 10. งานพัฒนาเครอื ข่ายสารสนเทศ 10. งานกิจการนักเรยี น ทางวิชาการของครูนักเรยี นและ คุณภาพการศึกษา 11. งานสวัสดกิ าร 11. งานส่งเสริมประชาธิปไตยและ คุณธรรมจริยธรรมในงานอน่ื ๆ 12. ระบบรักษาความปลอดภยั นักเรยี น สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
บงเ้ารนยี เนดบ็กรา้ นามเดอก็นิ รทายรมาโนอรบินงเ้าทรนียรเานดบก็ โร้ารนางมเเรดอียก็นิ นรทาบรมา้าโอนรนิงเดเทร็กียรรานาบมโ้าอรนงเเรดียก็ โนรราบงรมเ้าารอนียินเนดทบก็ รรา้านามเโดอรินงเทรียราโนรบงเ้ารนียเนดบ็กรา้ นามเดอ็กนิ รทารมาอนิ ทร 17 โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอินทรา ปกี ารศกึ ษา 2565 *หมายเหตุ : สรปุ ข้อมลู บุคลากรหลงั ส้นิ สดุ ปกี ารศกึ ษา 2565 สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเดก็ รามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565
บงเ้ารนยี เนดบ็กรา้ นามเดอก็นิ รทายรมาโนอรบินงเ้าทรนียรเานดบก็ โร้ารนางมเเรดอียก็นิ นรทาบรมา้าโอนรนิงเดเทร็กียรรานาบมโ้าอรนงเเรดียก็ โนรราบงรมเ้าารอนียินเนดทบก็ รรา้านามเโดอรินงเทรียราโนรบงเ้ารนียเนดบ็กรา้ นามเดอ็กนิ รทารมาอนิ ทร 18 โครงสร้างคณะกรรมการ *หมายเหตุ : สรปุ ขอ้ มลู หลงั สิ้นสดุ ปีการศกึ ษา 2565 สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร19 รายนามบุคลากรโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา ลำดับ ช่อื - นามสกุล ตำแหน่ง 1 นายโกมล มาลยั ทอง ผแู้ ทนผ้รู บั ใบอนญุ าต 2 นางสาวดวงหฤษฎ์ ภแู พง ผู้อำนวยการโรงเรยี น 3 นางทัศนยี ์ รตั นะ ผู้จดั การโรงเรยี น 4 นางสาวปนิ่ มณี เกดิ เมืองเลก็ หวั หนา้ ฝา่ ยวชิ าการ ครู 5 นางดวงจนั ทร์ ปทั ทุม หวั หนา้ ฝา่ ยบริหารงานทว่ั ไป ครู 6 น.ส.จนั ทร์ศิริ แกว้ มณี เจา้ หนา้ ทธ่ี ุรการ 7 นางสาวอารยา ชนะพลชัย ครู 8 นางสาวดานี ประดษิ ฐส์ ุวรรณ์ ครู 9 นางสาวปทั มวรรณ แบนจาด ครู 10 นางสาวธนติ า ทองบริสทุ ธ์ิ ครู 11 นางสาวเจนจิรา พมิ พส์ นนั่ ครู 12 นางสาวชลดา นอ้ ยเสนา ครู 13 นางสาวลัดดาวัลย์ วงษ์นลิ ครู 14 นายซลุ ฮสั รี สาแมง ครู 15 นางสาววิไลวรรณ บุตรพรหม ครู 16 นางสาวรุ้งทพิ ย์ ชนื่ ความดี ผู้ช่วยครู 17 นางรัชฎาพร พทุ ธบตุ ร ผชู้ ว่ ยครู 18 นางสาวอำพร สิงหต์ อ้ื ผชู้ ่วยครู 19 นางสาวอลุ ยั วรรณ์ ทรภสี งิ ห์ ผ้ชู ่วยครู 20 นางสายยนต์ นาลอย ผู้ช่วยครู 21 นางสาวธนฏั ฐา นาค-อก ผู้ชว่ ยครู 22 นายกฤษฎา ศรีสวุ รรณ์ ผู้ชว่ ยครู 23 นางสาวขันทอง นาแพง ผู้ช่วยครู 24 นางสาวศศธิ ร สายทองทวี ผู้ช่วยครู 25 นางสาวสุภาพร ศรวี งสา ผู้ชว่ ยครู สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร20 26 นางแก้ว ศรเี มฆ พนักงานพี่เลี้ยงคนพกิ าร พนักงานขบั รถ 27 นางสาวศศธิ ร ยวนจรัส พนักงานพี่เลี้ยงคนพกิ าร รักษาความปลอดภัย 28 นางปันธร ชา้ งโรจน์ พนกั งานพี่เลย้ี งคนพกิ าร รักษาความปลอดภยั /ภารโรง 29 นางสาวพรบรรจง พรหมบตุ ร พนกั งานพ่ีเลี้ยงคนพกิ าร 30 นางสาวสุดารัตน์ อปุ ปิด พนกั งานพี่เลย้ี งคนพิการ 31 นางสาววนิดา ออ่ นนอ้ ม พนกั งานพเ่ี ล้ยี งคนพกิ าร 32 นายจิรเดช สมิ าวัน พนกั งานพเ่ี ลีย้ งคนพกิ าร 33 นางสาวสมุ าลี เรืองตังญาณ พนกั งานพเ่ี ลย้ี งคนพกิ าร 34 น.ส.รัตนาภรณ์ ทองโคตร พนกั งานพี่เล้ียงคนพิการ 35 นางนอ้ ย ศรเี มฆ พนกั งานฝา่ ยสนับสนนุ 36 นางสาววรภร ฟักขำ พนกั งานฝา่ ยสนับสนุน 37 น.ส.พวงเพชร ลำเฟอื ย พนักงานฝา่ ยสนบั สนุน 38 นายทวี เหลา่ หลวง พนกั งานฝา่ ยสนับสนนุ 39 นายคณญาณ สอนวิรกลุ พนักงานฝ่ายสนบั สนุน 40 นายขวัญเมอื ง โพธิราช พนกั งานฝา่ ยสนับสนุน 41 42 *หมายเหตุ : สรปุ ขอ้ มลู บคุ ลากรหลังส้นิ สดุ ปกี ารศกึ ษา 2565 สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอินทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร21 ข้อมูลผู้บรหิ ารและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประเภท/ตำแหนง่ จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญิง - ผแู้ ทนผู้รบั ใบอนญุ าต - - - -1 --1 - ผู้จดั การ - - - - -1- -1 - ผู้อำนวยการ - - - - -1- -1 - รองผอู้ ำนวยการ --------- รวม - - 3 - 3 2. ผู้สอนการศึกษาปฐมวัย ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญิง รวม - ครบู รรจุ - - -2- - - -1 - ครตู า่ งชาติ --------- รวม - 2 - - 1 3. ผู้สอนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญิง รวม - ครูบรรจุ - - 1 8 - - - - 10 - ครูตา่ งชาติ --------- รวม - 9 - - 10 4. บุคลากรทางการศึกษาและอ่นื ๆ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญงิ รวม - เจา้ หน้าทธี่ รุ การ - - -1- - - -1 - ผชู้ ่วยครู 1 9 - - - - - - 10 - พี่เล้ยี งคนพิการ 18- - - - - - 9 - เจ้าหน้าทฝ่ี ่ายสนบั สนนุ 33- - - - - - 6 - อื่น ๆ .................................... --------- รวม 25 1 - - 26 รวมระดบั การศกึ ษาบคุ ลากร 25 12 3 - 40 สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร22 ขอ้ มูลภายในโรงเรียน ลักษณะโรงเรยี น สามัญท่ัวไป ☐ สามัญศึกษา และ EP ☐ EP ☐ อิสลามศกึ ษา การกศุ ล ☐ การสอนศาสนาอิสลามควบควู่ ชิ าสามัญของมูลนธิ ิ/มัสยิด ระดับท่ีเปดิ สอน ☐ ปฐมวยั ปฐมวัย – ประถมศึกษา ☐ ปฐมวัย – ม.ต้น ☐ ปฐมวยั – ม.ปลาย ☐ ประถมศึกษา ☐ ประถมศึกษา – ม.ต้น ☐ ประถมศึกษา – ม.ปลาย ☐ ม.ต้น – ม.ปลาย ☐ ม.ปลาย ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี อาคารเรียน 1 หลงั อาคารอเนกประสงค์ 1 หลงั อาคารประกอบจำนวน 1 หลัง สระว่ายนำ้ 1 สระ ลานอเนกประสงค์ 1 ลาน สนามเด็กเล่น 2 สนาม ท่ีจอดรถคนพิการ 1 ช่อง สวนเกษตร 1 สวน จำนวนหอ้ งเรียน จำแนกตามหลักสตู ร / โครงการ เตรยี มอนบุ าล 0 ห้อง อนุบาล 2 ห้อง ประถมศึกษา 1 – 6 6 หอ้ ง ห้องปฏบิ ัติการ ห้องคอมพวิ เตอร์ 2 หอ้ ง หอ้ งสมดุ 1 หอ้ ง ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา - หอ้ ง หอ้ งศิลปะ - ห้อง ห้องดนตรี 1 ห้อง หอ้ งพยาบาล 1 ห้อง หอ้ งศาสนสัมพันธ์ - หอ้ ง หอ้ งแนะแนว - หอ้ ง หอ้ งพละ - หอ้ ง หอ้ งลูกเสือ - หอ้ ง ห้องสอ่ื การเรยี นการสอน 1 หอ้ ง ห้องโสตทัศน์ 1 ห้อง ห้องประกอบอาหาร 2 ห้อง ห้องกิจกรรมบำบัด 1 หอ้ ง ห้องกายภาพบำบัด 1 หอ้ ง ห้องออกกำลงั กาย 1 ห้อง หอ้ งSensory 1 ห้อง อื่น ๆ ..................................................... สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร23 เครอ่ื งคอมพวิ เตอรพ์ รอ้ มโปรแกรมใช้งาน จำนวน (เครอื่ ง) รวมจำนวน (เคร่ือง) คอมพวิ เตอร์ 5 10 4 ใชส้ บื ค้นข้อมลู ทางอินเทอร์เนต็ และการเรียนการสอน 1 ใช้ในการบรหิ ารจัดการ อน่ื ๆ แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรยี น สวนหยอ่ ม/สวนสขุ ภาพ บอ่ ทราย สวนเกษตร เรอื นเพาะเหด็ นางฟ้าภูฐาน โรงเพาะตน้ ออ่ นทานตะวนั โรงแคคตัส บา้ นก่ึงวถิ ี โรงอาหาร หอ้ งประกอบอาหาร ร้านค้าสาธติ สนามเดก็ เลน่ ลานกจิ กรรมสนั ทนาการ ป้ายนิเทศ/บอร์ด ห้องSensory ห้องโสตทัศน์ สนามหญา้ สารสนเทศโรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร24 ข้อมลู นกั เรียน ขอ้ มลู จำแนกนกั เรยี นตามหลกั สตู ร / โครงการและเพศ หลักสตู รโครงการ / ระดบั ชั้น จำนวนนกั เรยี น รวม ชาย หญิง เตรยี มอนุบาล 00 0 ระดบั ปฐมวัย 62 8 ระดับประถมศกึ ษา 1 – 6 49 29 78 รวม 55 31 86 ขอ้ มูลจำแนกนกั เรยี นตามช้ันเรยี นและเพศ ระดบั นกั เรยี นท้ังหมด รวม นร. ลาออก ยอด ชนั้ เรยี น ชาย หญงิ เข้าใหม่ คงเหลอื อนบุ าล 1 000 00 8 ปฐมวัย อนุบาล 2 2028 2 0 78 อนบุ าล 3 426 30 86 ประถมศึกษา 1 4 3 7 40 ประถมศกึ ษา 2 5 6 11 10 ประถมศึกษา 3 10 5 15 0 0 ประถมศกึ ษา ประถมศึกษา 4 9 8 17 78 0 0 ประถมศึกษา 5 11 2 13 00 ประถมศึกษา 6 10 5 15 00 รวม 55 31 86 10 0 สารสนเทศโรงเรียนบ้านเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร25 จำนวนผ้เู รียนทม่ี ลี ักษณะพิเศษ รายการ อนบุ าล จำนวน ประถม รวม รอ้ ยละ นักเรียนทมี่ คี วามบกพร่องเรยี นรว่ ม 0 0 0 0.00 นักเรียนทต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลือพเิ ศษ(ตาบอดพกิ ารซอ้ น) 8 78 86 100 นกั เรยี นเขา้ ใหม่ 2 3 5 11.63 นกั เรียนซำ้ ชนั้ 0 15 15 17.44 นักเรียนทท่ี ำชือ่ เสยี งใหก้ บั โรงเรียน 2 10 12 13.95 จำนวนนักเรยี นที่ลาออก ระดับชัน้ น.ร.ทั้งหมด ลาออก รอ้ ยละ คงเหลือ ระดบั ปฐมวัย 8 0 0.00 8 ระดับประถมศึกษา 78 0 0.00 78 รวมทง้ั หมด 86 0 0.00 86 อัตราส่วน ครู/ผชู้ ว่ ยครู กบั นกั เรยี น คร/ู ผ้ชู ว่ ยครู นักเรยี น 14 *หมายเหตุ : สรุปข้อมูลจำนวนนกั เรยี นทั้งหมดหลังสน้ิ สุดปกี ารศึกษา 2565 สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร26 ลกั ษณะความพกิ ารของนักเรยี น จำแนกลกั ษณะความพกิ ารของนกั เรียน ระดบั ปฐมวัย ลักษณะความพกิ าร จำนวน ร้อยละ 12.50 ตาบอด, สตปิ ัญญา 1 12.50 12.50 ตาบอด, สตปิ ญั ญา, ภาษา 1 12.50 12.50 ตาบอด, สตปิ ญั ญา, ภาษา, ออทิสตกิ 1 12.50 12.50 ตาบอด, สติปัญญา, ร่างกาย, พฤติกรรม 1 เลอื นราง, รา่ งกาย 1 เลือนราง, สติปญั ญา, รา่ งกาย, ภาษา 1 เลือนราง, สตปิ ญั ญา, การไดย้ ิน, ออทสิ ตกิ 1 แผนภมู ลิ ักษณะความพิการของนักเรยี น ระดับปฐมวัย ตาบอด, ออทสิ ตกิ ตาบอด, สตปิ ัญญา 13% 12% เลือนราง, สตปิ ัญญา, การได้ ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา ยิน, ออทสิ ตกิ 12% 13% เลือนราง, สตปิ ัญญา, ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา, รา่ งกาย, ภาษา ออทสิ ตกิ 13% 12% เลอื นราง, รา่ งกาย ตาบอด, สตปิ ัญญา, รา่ งกาย, พฤตกิ รรม 13% 12% สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร27 จำแนกลกั ษณะความพิการของนกั เรียน ระดบั ประถมศกึ ษา ลักษณะความพกิ าร จำนวน รอ้ ยละ ตาบอด 1 1.28 ตาบอด, สตปิ ัญญา 6 7.69 ตาบอด, สตปิ ัญญา, การไดย้ นิ 1 1.28 ตาบอด, สตปิ ัญญา, การได้ยนิ , ภาษา, พฤติกรรม, ออทสิ ตกิ 2 2.56 ตาบอด, สตปิ ัญญา, การได้ยิน, ภาษา, ออทสิ ตกิ 1 1.28 ตาบอด, สตปิ ญั ญา, ภาษา 3 3.85 ตาบอด, สติปัญญา, ภาษา, พฤตกิ รรม, ออทิสตกิ 11 14.10 ตาบอด, สตปิ ญั ญา, ภาษา, รา่ งกาย 2 2.56 ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา, รา่ งกาย, ออทิสตกิ 3 3.85 ตาบอด, สติปญั ญา, ภาษา, ออทสิ ติก 16 20.51 ตาบอด, สตปิ ญั ญา, รา่ งกาย 6 6.41 ตาบอด, สตปิ ัญญา, ออทิสตกิ 6 7.69 เลอื นราง 1 1.28 เลอื นราง, รา่ งกาย, ออทสิ ติก 1 1.28 เลือนราง, สตปิ ญั ญา 1 1.28 เลอื นราง, สตปิ ญั ญา, พฤติกรรม, ออทิสตกิ 2 2.56 เลือนราง, สตปิ ญั ญา, ภาษา 2 2.56 เลือนราง, สตปิ ญั ญา, ภาษา, พฤตกิ รรม, ออทิสตกิ 1 1.28 เลอื นราง, สติปญั ญา, ภาษา, ออทิสตกิ 6 7.69 เลอื นราง, สติปญั ญา, ร่างกาย 2 2.56 เลือนราง, สติปญั ญา, รา่ งกาย, ภาษา 1 1.28 เลอื นราง, สติปญั ญา, ออทสิ ตกิ 4 5.13 รวม 78 สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร28 แผนภมู ิลกั ษณะความพกิ ารของนักเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ตาบอด, สตปิ ัญญา, การไดย้ ิน, ตาบอด, สตปิ ัญญา, การได้ ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา, พฤตกิ รรม, ออทสิ ตกิ ภาษา, พฤตกิ รรม, ออทิสตกิ ยิน, ภาษา, ออทิสตกิ 14% 1% ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา 3% 4% ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา, รา่ งกาย 3% ตาบอด, สตปิ ัญญา, การไดย้ ิน 1% ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา, รา่ งกาย, ออทิสตกิ ตาบอด ตาบอด, สตปิ ัญญา 4% 1% 8% ตาบอด, สตปิ ัญญา, ภาษา, เลือนราง, สตปิ ัญญา, ออทิสตกิ ออทิสตกิ 5% 21% เลอื นราง, สตปิ ัญญา, เลอื นราง, สตปิ ัญญา, ตาบอด, สตปิ ัญญา, รา่ งกาย, ภาษา ภาษา รา่ งกาย 1% 3% 5% เลือนราง, สตปิ ัญญา, ตาบอด, สตปิ ัญญา, ออทิสตกิ รา่ งกาย 8% 4% เลอื นราง, สตปิ ัญญา, เลอื นราง ภาษา, ออทิสตกิ เลอื นราง, รา่ งกาย, ออทิสต1กิ% 8% 1% เลือนราง, สตปิ ัญญา, ภาษา, พฤตกิ รรม, ออทสิ ตกิ เลอื นราง, สตปิ ัญญา, เลือนราง, สตปิ ัญญา 1% พฤตกิ รรม, ออทสิ ตกิ 1% 3% สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร29 จำแนกภมู ิลำเนาของนกั เรียน จำแนกภมู ิลำเนาของนักเรียนตามจงั หวัด จงั หวดั ชาย หญงิ รวม จังหวดั ชาย หญงิ รวม กรงุ เทพมหานคร 14 11 25 มกุ ดาหาร 011 กาฬสนิ ธ์ุ 101 ขอนแก่น 2 1 3 ราชบุรี 112 จันทบุรี 314 ฉะเชงิ เทรา 1 1 2 สกลนคร 011 ชลบุรี 202 ชยั ภูมิ 2 0 2 สงขลา 101 ชมุ พร 415 เชียงราย 0 1 1 สมทุ รสงคราม 101 นครนายก 202 นครปฐม 3 0 3 สระบรุ ี นครพนม นครราชสีมา 1 1 2 สุพรรณบุรี นครศรีธรรมราช นนทบรุ ี 0 1 1 สุรินทร์ บุรรี ัมย์ ปทุมธานี 1 0 1 หนองคาย พระนครศรีอยธุ ยา พัทลงุ 0 1 1 อดุ รธานี เพชรบูรณ์ 112 022 303 213 628 011 112 011 101 202 สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอินทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร30 แผนภูมจิ ำแนกภมู ลิ ำเนาของนกั เรียนตามจังหวดั แผนภูมิภูมลิ ำเนำของนกั เรียน แยกประเภท ชำย/หญงิ หญิง ชาย อดุ รธานี 0 2 หนองคาย 0 1 สุรินทร์ 1 4 สุพรรณบรุ ี 0 1 สระบรุ ี 0 2 สมุทรสงคราม 0 1 สงขลา 1 3 11 สกลนคร ราชบุรี 0 1 มุกดาหาร 0 1 เพชรบรู ณ์ 0 2 พทั ลงุ 0 1 พระนครศรอี ยธุ ยา 0 1 11 ปทุมธานี บุรรี ัมย์ 0 1 2 นนทบรุ ี 6 นครศรธี รรมราช 12 นครราชสมี า 0 3 นครพนม 0 2 นครปฐม 11 นครนายก 0 1 เชียงราย 0 1 ชมุ พร 0 1 ชยั ภมู ิ 11 ชลบรุ ี 0 3 ฉะเชิงเทรา 0 1 จันทบุรี 0 2 11 ขอนแก่น กาฬสนิ ธุ์ 12 กรงุ เทพมหานคร 11 14 สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร31 จำแนกภูมลิ ำเนาของนกั เรยี นตามภูมภิ าค ภาค ชาย หญงิ รวม 0 3 ภาคเหนอื 3 9 24 16 39 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 15 2 7 1 4 ภาคกลาง 23 3 9 86 ภาคตะวันออก 5 31 ภาคตะวนั ตก 3 ภาคใต้ 6 รวม 55 จาแนกนกั เรยี นตามภมู ภิ าค ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 28% ภาคใต้ ภาคเหนอื 10% 4% ภาคตะวนั ตก 5% ภาคตะวนั ออก 8% ภาคกลาง 45% *การจำแนกนักเรียนตามภูมิภาค ได้จัดแบ่งเป็น 6 ภูมิภาค ตามแนวทางการแบ่งภูมิภาคของ คณะกรรมการภมู ิศาสตรแ์ หง่ ชาติ โดยสภาวิจัยแหง่ ชาติ สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเดก็ รามอินทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 32 ผลงานนวัตกรรมและแบบอย่างท่ีดขี องครูและบคุ ลากร นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ เพ่ือแก้ปัญหาหรือเพ่ือ การพัฒนา ซึ่งทำให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงทางความคดิ กระบวนการ หรอื องคก์ รอยา่ งเหน็ ได้ชดั แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รปู แบบวธิ ีปฏบิ ัตหิ รือขึ้นตอนการปฏิบตั ทิ ่ีทำให้สถานศึกษา ประสบความสำเร็จ หรือสคู่ วามเปน็ เลิศ โดยมกี ารปฏิบัตติ ลอดจนความรแู้ ละประสบการณ์ มีรอ่ งรอยหลกั ฐาน เชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หนว่ ยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ผลงานวจิ ัยในชน้ั เรียน ครู 1 คน 1 ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยในชั้นเรียน ครู 1 คน 1 ผลงานวิจัย ได้ทำการเผยแพร่งานวิจัยในชั้นเรียน รูปแบบ E-Book ลงในเวบ็ ไซค์ https://pubhtml5.com/bookcase/pmuq/ 1. ศึกษาผลการลดพฤติกรรมใช้นิ้วมือเข่ียอาหารโดยใช้ช้อนปรับพฤติกรรมสำหรบั นักเรียน ท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นและมีความพิการอื่นร่วมด้วย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา โดยนางสาวปนิ่ มณี เกดิ เมอื งเลก็ https://online.pubhtml5.com/bgepp/kqou/ 2. ศกึ ษาผลการใชน้ วัตกรรมรอ้ ยสายคล้องหนา้ กากอนามยั ในการพฒั นาทักษะ กระบวนการทำงานของนกั เรยี นตาบอดพกิ ารซอ้ น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 กลมุ่ บา้ นกึง่ วิถี โรงเรียนบา้ นเดก็ รามอินทรา https://online.pubhtml5.com/bgepp/uvfu/ 3. ผลการใชส้ อื่ อุปกรณห์ ยอดเมล็ดเพอื่ พัฒนาความสามารถในการปลูกพชื สำหรับนักเรยี น ตาบอดพิการซอ้ น ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรยี นบา้ นเด็กรามอินทรา https://online.pubhtml5.com/bgepp/mqqd/ 4. ศึกษาผลการใช้หนงั สอื ธญั พืชนา่ ร้สู ำหรับนักเรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ และ ความบกพรอ่ งอน่ื รว่ มดว้ ย https://online.pubhtml5.com/bgepp/abzc/ 5. ศึกษาผลการใช้ชอ้ นชว่ ยจับ เพ่ือปรับพฤติกรรมการไมจ่ บั ชอ้ นตักอาหาร ของนกั เรยี นที่มี ความบกพร่องทางการเหน็ และมคี วามพิการอื่นรว่ มด้วย ของโรงเรียนบ้านเด็กราม อินทรา https://online.pubhtml5.com/bgepp/qnuz/ สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเด็กรามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 33 6. ศึกษาผลการพฒั นาทักษะการรบั ประทานอาหาร โดยใชเ้ ทคนคิ การวิเคราะหง์ าน นกั เรียนตาบอดพิการซอ้ น ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นบา้ นเด็กรามอินทรา https://online.pubhtml5.com/bgepp/buds/ 7. การใชช้ ุดกจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรคใ์ นการพัฒนาความสามารถด้านกล้ามเนอ้ื มดั เล็ก สำหรับเดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเห็น https://online.pubhtml5.com/bgepp/rsns/ 8. ศึกษาผลการใชผ้ ้าหลากสที ม่ี ีผลตอ่ การปรบั ลดพฤติกรรมทำร้ายตนเอง https://online.pubhtml5.com/bgepp/tpmo/ รางวัลบคุ ลากรดเี ดน่ ประจำปกี ารศกึ ษา 2565 เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากร ให้บุคลากรมุ่งม่ันใน การปฏบิ ตั ิหน้าท่ีไดเ้ ต็มความสามารถ โดยบุคลากรท่ไี ด้รบั การคดั เลือกให้เปน็ บคุ ลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา ได้แก่ นางสาวอรายา ชนะพลชัย ตำแหนง่ ครูปฏบิ ัตกิ ารสอน สารสนเทศโรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร34 ผลงานดเี ด่นและการแข่งขันของนักเรยี น การแขง่ ขนั ศกั ยภาพนกั เรียนตาบอดพกิ ารซ้อน คร้ังที่ 3 การแข่งขนั ศักยภาพนกั เรยี นตาบอดพิการซ้อน ครั้งที่ 3 จัดขึน้ ในวนั ที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ โรงเรยี น บ้านเด็กรามอินทรา มีโรงเรียนเข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 7 โรงเรียน 64 รายการ โดยมีผลการแข่งขันของ โรงเรียนบา้ นเดก็ รามอนิ ทรามีดงั นี้ ลำดบั รายการแขง่ ขัน อนั ดบั การแข่งขัน หมายเหตุ 1 หยบิ เมล็ดถ่ัวใสข่ วด ชนะเลศิ อันดับ 1 2 แนะนำตนเองภาษาไทย รุน่ ต่ำกวา่ 15 ปี ชนะเลิศ อันดับ 1 3 แยกสิง่ ของ ระดับ อนุบาล ชนะเลศิ อันดบั 1 4 ราบเบญจางคประดษิ ฐ์ รุน่ ต่ำกว่า 15 ปี ชนะเลิศ อันดบั 1 5 พบั เส้อื รุ่น 15 ปี ขึ้นไป ชนะเลศิ อนั ดบั 1 6 แยกรูปทรง (สามเหลยี่ ม) (ส่เี หลีย่ ม) (วงกลม) ชนะเลศิ อนั ดบั 1 7 กราบแบบเบญจาง รุน่ 15 ปี ขึน้ ไป ชนะเลิศ อนั ดบั 1 8 ชงโอวัลตนิ รุ่น ตำ่ กวา่ 15 ปี ชนะเลศิ อันดับ 1 9 ตำนำ้ พริกกะปิ (ประเภททีม) ชนะเลศิ อนั ดับ 1 10 บอกชอื่ ผลไม้เป็นภาษามือ รุ่น ต่ำกว่า 15 ปี ชนะเลศิ อันดับ 1 11 บอกชอ่ื ผลไมเ้ ป็นภาษามอื ร่นุ 15 ปขี ้นึ ไป ชนะเลิศ อันดับ 1 12 ลา้ งจาน รุ่น 15 ปขี ้นึ ไป ชนะเลิศ อนั ดับ 1 13 ลา้ งมือ 7 ขั้นตอน รุ่น ตำ่ กว่า 15 ปี ชนะเลศิ อันดับ 1 14 ลา้ งมอื 7 ขั้นตอน ร่นุ 15 ปี ข้ึนไป ชนะเลศิ อันดับ 1 15 ล้างมือ 7 ขั้นตอน ระดับ อนุบาล รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 16 ลา้ งมอื รองชนะเลศิ อันดับ 1 17 พับเส้อื รุ่น ตำ่ กว่า 15 ปี รองชนะเลิศ อันดบั 1 18 เลา่ นทิ าน รุ่น 15 ปี ข้ึนไป รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 19 กระโดดแทรมโพลีน รุน่ ต่ำกว่า 15 ปี รองชนะเลิศ อนั ดบั 1 20 กระโดดแทรมโพลนี รุ่น 15 ปี ขนึ้ ไป รองชนะเลิศ อนั ดับ 1 21 ตากผา้ โดยใช้ไมแ้ ขวน รนุ่ 15 ปี ข้ึนไป รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 22 ทมุ่ น้ำหนัก รนุ่ ตำ่ กวา่ 15 ปี รองชนะเลิศ อันดบั 1 23 ทมุ่ น้ำหนัก รุ่น 15 ปี ขน้ึ ไป รองชนะเลิศ อันดับ 1 24 วิง่ ระยะส้นั ระดับ อนุบาล รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร35 ลำดบั รายการแข่งขนั อันดบั การแขง่ ขัน หมายเหตุ 25 หยิบสิ่งของตามคำส่ัง รองชนะเลิศ อันดบั 1 26 แนะนำตนเองภาษาองั กฤษ รุ่น ตำ่ กว่า 15 ปี รองชนะเลิศ อนั ดับ 1 27 ขนมปงั ทาแยม รุ่น ต่ำกวา่ 15 ปี รองชนะเลิศ อันดับ 1 28 ล้างจาน รนุ่ ตำ่ กว่า 15 ปี รองชนะเลิศ อนั ดับ 1 29 การสวมถงุ เทา้ รองเทา้ ร่นุ ต่ำกวา่ 15 ปี รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 30 ยืนไหว้รนุ่ ระดับ อนุบาล รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 31 ร้อยลกู ปดั ขนาดใหญ่ รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 32 แนะนำตนเองภาษาอังกฤษ รุ่น 15 ปี ขึ้นไป รองชนะเลิศ อันดบั 2 33 แนะนำตนเองภาษาไทย รนุ่ 15 ปี ขนึ้ ไป รองชนะเลิศ อันดับ 2 34 เดินผา่ นผใู้ หญ่ รุ่น ตำ่ กวา่ 15 ปี รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 35 เดนิ ผ่านผใู้ หญ่ รุน่ 15 ปี ข้ึนไป รองชนะเลิศ อันดับ 2 36 พมิ พ์คำศพั ทภ์ าษาไทยตามคำบอก รองชนะเลิศ อนั ดับ 2 37 วง่ิ ระยะสน้ั ร่นุ ตำ่ กว่า 15 ปี รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 38 วงิ่ ระยะสัน้ รนุ่ 15 ปี ขนึ้ ไป รองชนะเลิศ อันดบั 2 39 เดนิ ข้ึนบันได รองชนะเลศิ อันดับ 2 40 ไข่ต้ม รุ่น 15 ปี ข้นึ ไป รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 41 ส้มตำลีลา (ประเภททมี ) รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 42 ชงโอวัลติน รุ่น 15 ปี ขึน้ ไป รองชนะเลิศ อนั ดบั 2 43 การสวมถุงเท้ารองเท้า รุ่น ตำ่ กวา่ 15 ปี รองชนะเลิศ อันดับ 2 44 พับกางเกง รุน่ ต่ำกว่า 15 ปี รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 45 พบั กางเกง รุ่น 15 ปี ขนึ้ ไป รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 46 เล่านิทาน รุ่น ต่ำกวา่ 15 ปี รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 47 ร้องเพลงคาราโอเกะ รนุ่ ต่ำกว่า 15 ปี รองชนะเลิศ อันดบั 2 48 เล่นเดี่ยว เครอื่ งดนตรี รนุ่ ตำ่ กวา่ 15 ปี รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 49 สวมถุงเท้าและรองเทา้ ระดบั อนุบาล รองชนะเลิศ อันดับ 2 สรุปผลอนั ดบั รายการการแขง่ ขันศกั ยภาพนักเรียนตาบอดพกิ ารซอ้ น คร้ังที่ 3 อนั ดบั การแขง่ ขนั จำนวนรายการ รายการท้งั หมด ชนะเลศิ อนั ดบั 1 14 รายการ รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 15 รายการ 64 รายการ รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 20 รายการ สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร36 การแขง่ ขนั ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ที่ 70 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 70 ประจำปีการศึกษา 2565 จังหวัดราชบุรี 25 – 27 มกราคม พ.ศ.2566 เป็นการจัดแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ ภาคกลางและตะวันออก การศึกษา พิเศษ ได้จัดข้ึน ณ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 45 จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราได้ส่ง นักเรียนเข้าร่วมเพ่ือให้นักเรียนได้แสดงออกถึงความสามารถในด้านวิชาการ, ด้านเทคโนโลยี, ศิลปะ, ดนตรี และการแสดงสำหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นและมีความบกพร่องอ่ืนร่วมด้วย เป็นการเข้าร่วม กิจกรรมภายใต้ โครงการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีผลสรุปการ ดำเนินงานดงั ต่อไปนี้ รายการเข้ารว่ มการแขง่ ขัน จำนวน 6 รายการ 1. การแขง่ ขนั รำวงมาตรฐาน รางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง 2. การแข่งขนั ประกวดรอ้ งเพลงไทยลกู ท่งุ รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 1 เหรียญทอง 3. การแข่งขนั ปนั้ ดนิ นำ้ มัน ปฐมวยั รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 1 เหรยี ญทอง 4. การแข่งขันดนตรีโฟล์คซอง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เหรียญทอง 5. การแข่งขนั เต้นแอโรบิค รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 2 เหรยี ญเงนิ 6. การแข่งขนั ประกวดมารยาทงามอย่างไทย อันดบั ท่ี 4 เหรยี ญเงิน รายการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผู้เขา้ แขง่ ขัน ผ้ฝู ึกสอน การประกวดมารยาท อนั ดับ 4 1. น.ส.วาสนา จงรุจนิ ันท์ 1. น.ส.ดวงหฤษฎ์ ภูแพง งามอย่างไทย เหรยี ญ เงนิ 2. ด.ช.อภสิ ทิ ธิ์ ณะแก้ว 2. น.ส.อารยา ชนะพลชัย บกพร่องทางการเห็น คะแนน 77 ป.1-ป.6 1. ด.ช.กิตติธชั ทองชู 1. น.ส.ปทั มวรรณ แบนจาด การแข่งขนั การเตน้ รองชนะเลศิ อันดับ 2 2. ด.ช.ชญานินท์ จรี ภภิ ทั ร์ 2. นางอำพร สิงหต์ ้ือ แอโรบิค บกพร่อง เหรยี ญ เงนิ ทางการเห็น คะแนน 70.66 3. ด.ช.พฒุ ชิ ยั ชำนาญจติ 3. น.ส.ธนฏั ฐา นาค – อก ไม่กำหนดช่วงชัน้ 4. ด.ช.ยทุ ธศาสตร์ เสือป้นั 5. น.ส.วาสนา จงรจุ ินนั ท์ 6. ด.ญ.สุนษิ า มนั่ คง 7. ด.ช.อภสิ ิทธ์ิ ณะแกว้ 8. ด.ช.เอกชยั วงษพ์ รดั การแข่งขันดนตรี รองชนะเลศิ อันดบั 2 1. ด.ช.กิตติธชั ทองชู 1. นายซลุ ฮสั รี สาแมง โฟลค์ ซอง ประเภท เหรยี ญ ทอง 2. น.ส.วาสนา จงรจุ ินันท์ 2. นายกฤษฎา ศรีสวุ รรณ์ บกพรอ่ งทางการเหน็ คะแนน 85 3. นายวุฒไิ กร โกมาระเดช สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร37 รายการแข่งขัน ผลการแขง่ ขนั ผู้เขา้ แขง่ ขนั ผู้ฝกึ สอน ป.1-ป.6 1. ด.ช.ชญานินท์ จีรภิภัทร์ 1. นางดวงจันทร์ ปัททุม การแขง่ ขนั รำวง ชนะเลิศ 2. ด.ญ.สุนษิ า ม่นั คง 2. น.ส.ปน่ิ มณี เกิดเมอื งเล็ก มาตรฐาน ประเภท เหรยี ญ ทอง บกพร่องทางการเห็น คะแนน 83 1. ด.ช.วุฒิไกร โกมาระเดช 1. น.ส.อารยา ชนะพลชยั ไม่กำหนดช่วงช้ัน การประกวดร้อง รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 1. ด.ช.จริ ายุ ทับเนยี ม 1. น.ส.ลัดดาวลั ย์ วงษ์นิล เพลงไทยลกู ทุ่ง เหรียญ ทอง 2. ด.ช.ณัฐพล กึง่ กลาง 2. น.ส.ชลดา นอ้ ยเสนา ประเภทบกพรอ่ ง คะแนน 91.5 ทางการเหน็ ป.1-ป.6 รองชนะเลิศอนั ดบั 1 การแขง่ ขนั การปั้น เหรยี ญ ทอง ดนิ น้ำมนั ประเภท คะแนน 85 บกพร่องทางการเหน็ ปฐมวัย สารสนเทศโรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 38 การส่งเสริมคา่ นิยม 12 ประการ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ได้ส่งเสริมนักเรียนได้ปฏิบัติตนตามค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบาย ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เพื่อที่จะส่งเสริมและพัฒนาสังคมไทยให้ก้าวไกลและม่ันคง ปลูกฝังให้ นักเรียนเปน็ ไปตามคา่ นิยมของคนไทย 12 ประการ อย่างชดั เจน ความหมายของคา่ นิยมทงั้ 12 ประการ 1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ เราเกิดมาบนผืนแผ่นดินไทยท่ีอุดมสมบูรณ์และม่ังคั่ง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขท่ีอุทิศให้แก่ ประชาชนอันเปน็ ทรี่ ัก มีศาสนาพุทธซงึ่ เป็นทพ่ี ึง่ ทางใจ และก็มธี งชาติท่ปี า่ วประกาศถงึ สัญชาตขิ องเรา 2. ซอื่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณ์ในส่งิ ท่ีดงี ามเพื่อสว่ นรวม การทเ่ี ราเปลย่ี นแปลงอปุ นสิ ัยของเราให้เขา้ กับคนอืน่ หรือทศั นคตไิ ปในทางที่ดนี ้ันจะทำให้เราได้เรยี นรู้ สิ่งใหม่ ๆ เข้าใจส่ิงต่าง ๆ ในแตล่ ะมุมมอง ซ่งึ จะทำให้ขอ้ ขัดแยง้ และปัญหายตุ ิลง 3. กตญั ญูต่อพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์ บญุ คุณของพ่อแมน่ ้ันใหญ่หลวงมาก ท่านท้ังสองให้กำเนิดเรามาในโลกอันกว่างใหญ่ เลย้ี งดูเราอย่างดี ดว้ ยความรักและห่วงใย รวมท้ังผู้ปกครอง และคุณครูบาอาจารย์ท่ีให้การศึกษาตัง้ แต่เล็กจนโต ซึ่งจะทำให้เรา เติบใหญ่เป็นคนท่ีดีในสังคม ดังน้ัน เราควรตอบแทนบุญคุณของทุกท่านโดยประพฤติตัวให้ดี เข่น การเคารพ หรือปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบทมี่ ีอยู่ มคี วามรบั ผิดชอบในหนา้ ทต่ี ่าง ๆ และไมล่ ะเมดิ สทิ ธิส่วนบุคคล 4. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม การที่เราดำรงชีวิตประจำวันน้ัน แน่นอนว่าเราต้องใช้ความรู้อยู่ตลอดเวลา ณ ตอนน้ีโลกเปล่ียนไป อย่างมาก เพราะฉะน้ันเราต้องใฝ่หาความรู้เพ่ือให้ทันกลับโลกภายนอกท่ีหมุนอยู่ตลอดเวลา เราควรมีความ เพียรพยายาม มุ่งมั่นในการศึกษาท้ังในและนอกโรงเรียน เช่น การใช้ตำราเรียน อินเตอร์เน็ตหรือสื่ออ่ืน ๆ ที่ สามารถคน้ ควา้ ขอ้ มูลได้ 5. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม ประชาชนชาวไทยควรทีจ่ ะภาคภูมิใจกบั ประเพณีศิลปะอันงดงาม และวัฒนธรรมอันดั่งเดิม เช่น วันปี ใหม่ของประเทศไทย สงกรานต์ ในขณะนี้ค่านิยมของตะวันตกน้ันเข้ามา และมีบทบาทมากกับการพูด กิริยา และการแต่งกาย ซึ่งทำให้ประเพณีอันงดงามนั้นถดถอยลง ด้วยเหตุนี้เราควรที่จะเป็นต้นแบบในการอนุรักษ์ และสบื ทอดให้ถงึ รุน่ ต่อไปเรยี นรู้ สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเดก็ รามอินทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 39 6. มีศลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผ้อู ่นื เผ่ือแผ่และแบง่ ปัน การที่เราให้โดยไม่หวังผลตอบแทนน้ันเป็นส่ิงที่ประเสริฐ การทำส่ิงต่างๆด้วยความหวังดี ถึงแม้ว่า ผลลพั ธ์ท่ีเราจะได้คือความสขุ เลก็ ๆ น้อย ๆ แต่เรากจ็ ะได้มิตรสมั พันธ์ทีด่ ี ศลี ธรรมกเ็ ป็นขอ้ ทีเ่ ราควรถอื ไวใ้ นใจ เช่น ศีล5 และการทเ่ี ราสื่อสตั ยต์ ลอดไม่ว่าจะทำอะไรจะทำให้เราเปน็ คนดใี นสังคม 7. เขา้ ใจเรยี นรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ ท่ถี กู ตอ้ ง การเป็นประชาธิปไตยนั้นเป็นระบบการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง โดยที่เรามี พระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ ซ่งึ เราควรเคารพพอ่ หลวงเราด้วยใจรัก 8. มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยร้จู ักการเคารพผูใ้ หญ่ ทุกวันน้ีเรามักจะเห็นผู้คนแตกแยก หรือไม่ให้ความเคารพกัน ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการท่ีไม่มีระเบียบใน สงั คม อย่างแรกต้องเริ่มทตี่ ัวเราเอง เราควรท่ีจะมีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย และเคารพผหู้ ลักผใู้ หญ่ และส่งิ เหลา่ น้จี ะเปน็ ต้นแบบใหอ้ กี หลาย ๆ คนเพื่อท่จี ะทำให้สังคมไทยนน้ั เจรญิ 9. มีสตริ ตู้ ัว รู้คิด รู้ทำ รปู้ ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั สติเป็นสิ่งท่ีเราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะได้ทำส่ิงหนึ่งให้ดีที่สุด รวมถึงการคิดทบทวนให้ รอบคอบ และมีความมุ่งมนั่ ตั้งใจในการทำงาน ผลลพั ธ์ที่ราจะไดถ้ า้ เราทำอะไรโดยมีสตคิ ือความสำเรจ็ 10. รจู้ ักดำรงตนอยู่โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การดำรงชีพนั้น อาจจะเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีเราควรตระหนักอยู่ตลอดเวลา ดั้งที่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ ให้คำสอนไว้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังการที่เราต้องปรับเปลี่ยนตนให้เข้ากับคนอ่ืน และถ้าเราทำตามคำสอนของพ่อหลวง ชีวติ เราจะมีความสุขอยู่กับสง่ิ ทีเ่ รามี 11. มีความเขม้ แข็งทั้งรา่ ยกายและจติ ใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำหรือกเิ ลสมีความละอาย เกรงกลัวต่อ บาปตามหลักของศาสนา การท่ีมีจติ ใจอันแนว่ แน่ จะไมส่ นั่ คลอนใด ๆ ทั้งส้ินถ้ามอี ปุ สรรคหรอื กเิ ลสผ่านเขา้ มา ถา้ เราได้ผา่ นส่งิ เหลา่ น้มี าบอ่ ยครั้ง มนั จะทำให้เราเข้มแขง็ เช่น เราไมค่ วรด่มื สรุ าหรอื สบู บุหร่ถี ้ามคี นชกั ชวน 12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง ในการดำเนินการสิ่งใดส่ิงหน่งึ น้ัน เราควรคำนึงถึงข้อดีและข้อเสีย แต่ไมใ่ ช้แค่คำนึงสำหรับตนเอง แต่ ควรคำนึงถึงผ้อู น่ื ดว้ ย อกี ทัง้ เราควรช่วยเหลือเพอื่ นมนุษย์ เช่น ไปสอนหนงั สอื ทบ่ี า้ นเดก็ กำพรา้ หรือไปให้ความ บนั เทงิ ทบี่ า้ นคนชรา เป็นต้น สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 40 การเรยี นภายใต้การแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019 เน่ืองด้วยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตาม ข้อกำหนดตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 32) ลงวันที่ 20 กันยายน 2564 ได้กำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพ่ือให้ สถานศึกษานำไปใช้ในการการปฏิบัติ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรายังคงให้ความสำคัญในการป้องกันการแพร่ ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ตลอดปีการศึกษา 2565 ยังคงมีการจัดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ประเภทที่ 1 โรงเรยี นหรือสถาบนั การศึกษาประเภทพักนอน โดยมหี ลกั เกณฑป์ ฏิบัติดังน้ี ดา้ นกายภาพ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราได้มีจัดอาคารและพื้นที่โดยรอบให้เป็นไปตามมาตรการที่กระทรวง สาธารณสุขไดก้ ำหนดใหเ้ ปน็ พ้นื ท่ี COVID free zone 1. หอพักนักเรยี นชาย หรือ หอพกั นกั เรยี นหญงิ • ในช่วงเวลาที่ไม่มีการเข้าพัก จะมีการเปิดประตูหน้าและต่างเพื่อระบายอากาศ ท้ังก่อนและหลังการ เข้าพัก อย่างนอ้ ย 15 นาที • กรณีหอพักทีม่ ีการใช้เคร่อื งปรบั อากาศ จะมกี ารเปิดประตหู น้าและหน้าต่างเพื่อระบายอากาศ ทงั้ ก่อน และหลงั การเขา้ พกั อย่างน้อย 2 ชว่ั โมง • มีการทำความสะอาดฆ่าเช้ือโรคบนพ้ืนผิวอุปกรณ์ที่มีการสัมผัสร่วม เช่น ห้องน้ำ ห้องส้วม ลูกบิด ประตู ราวบันได จุดน้ำด่ืม เป็นต้น ด้วยแอลกอฮอล์ 70% และทำความสะอาดฆ่าเช้ือโรคบนพ้ืนผิว วัสดแุ ข็ง ด้วยนำ้ ยาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5 - 10 นาที วนั ละ 2 ครงั้ • ทำความสะอาดและจัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน โดยทำความสะอาดทุก วนั เชน่ หนา้ กากผา้ ช้อน สอ้ ม แก้วนำ้ แปรงสีฟนั ยาสีฟัน ผ้าเชด็ หนา้ ผ้าเชด็ ตัว เปน็ ต้น • จัดหาสบหู่ รือเจลแอลกอฮอลแ์ ละกำกบั ดแู ลนกั เรียนใหล้ า้ งมอื บ่อย ๆ หลงั ใช้ส้วม เพือ่ สร้างสุขนสิ ัยท่ีดี ให้กับนกั เรียน 2. พื้นท่ีอาคารสนบั สนุนการบรกิ าร • กำหนดใหม้ ีจดุ คัดกรอง เข้า - ออก สถานศึกษาดว้ ยการตรวจวดั อุณหภูมิของรา่ งกาย • จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์หรือจุดล้างมือสำหรับทำความสะอาดไว้ให้บริการตามบริเวณต่าง ๆ ทั่ว สถานศึกษาอย่างเพียงพอ เช่น ทางเข้า - ออก, หน้าลิฟต์, จุดประชาสัมพันธ์, หน้าห้องประชุม, หน้า ห้องเรยี น เป็นตน้ สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเด็กรามอนิ ทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 41 • จัดบริการแจกจ่ายหน้ากากผ้า, หน้ากากอนามัยให้กับบุคลลากร, นักเรียน, ผู้ปกครอง หรือ บคุ คลภายนอกได้ใชบ้ ริการ • จัดบริการอาหารในลักษณะลดการสัมผสั อปุ กรณ์ที่ใช้ร่วมกนั ในรปู แบบอาหารชดุ เดียว • จัดการคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคให้เหมาะสม โดยมีจุดบริการน้ำดื่มอย่างน้อย 1 จุดหรือหัวก๊อก ต่อ ผบู้ ริโภคไมเ่ กิน 75 คน มีการตรวจสอบคุณภาพของน้ำดืม่ โดยจะต้องสะอาด ไม่มีกลิ่นและสี • จัดให้มกี ารเว้นระยะห่างระหว่าง ทางเดิน, ท่ีนัง่ , จุดยนื เขา้ แถว อย่างน้อย 1.5 เมตร • จัดให้มีถังขยะทีม่ ีฝาปดิ และเกบ็ รวบรวมขยะเพอื่ กำจดั อยา่ งถูกตอ้ ง • มีการทำความสะอาดฆ่าเช้ือโรคบนพื้นผิวอุปกรณ์ท่ีมีการสัมผัสร่วม เช่น ห้องน้ำ ห้องส้วม ลูกบิด ประตู ราวบันได จุดน้ำดื่ม เป็นต้น ด้วยแอลกอฮอล์ 70% และทำความสะอาดฆ่าเช้ือโรคบนพ้ืนผิว วสั ดแุ ขง็ ดว้ ยน้ำยาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5 - 10 นาที วนั ละ 2 ครั้ง • มีมาตรการติดตามข้อมูลผู้เข้า - ออก สถานศึกษาโดยใช้แอพพลิเคชั่น (ไทยชนะ) หรือด้วยการจด บันทึกข้อมูล 3. พื้นท/่ี อาคารเพอื่ จดั การเรยี นการสอน • ในช่วงเวลาที่ไม่มีการเรียนการสอน หรือช่วงพักเที่ยง จะมีการเปิดประตูหน้าและต่างเพ่ือระบาย อากาศ ทง้ั ก่อนและหลังการเข้าใช้ อย่างนอ้ ย 15 นาที • กรณีมกี ารใชเ้ ครือ่ งปรับอากาศ จะมีการเปิดประตูหน้าและตา่ งเพือ่ ระบายอากาศ ท้ังกอ่ นและหลังการ เข้าพัก อยา่ งนอ้ ย 2 ชวั่ โมง • มีการทำความสะอาดฆ่าเช้ือโรคบนพ้ืนผิวอุปกรณ์ที่มีการสัมผัสร่วม เช่น ห้องน้ำ ห้องส้วม ลูกบิด ประตู ราวบันได โต๊ะ เก้าอี้ จุดน้ำดื่ม เป็นต้น ด้วยแอลกอฮอล์ 70% และทำความสะอาดฆ่าเช้ือโรค บนพนื้ ผิววัสดุแข็ง ดว้ ยนำ้ ยาฟอกขาวหรอื โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5 - 10 นาที วันละ 2 ครง้ั • จัดหาเจลแอลกอฮอล์ไว้หน้าห้องเรียนและกำกับดูแลให้นักเรยี นทำความสะออดมือบ่อย ๆ ก่อนและ หลงั เข้าห้องเรยี นสมำ่ เสมอ เพ่อื สร้างสขุ นิสยั ท่ดี ีให้กับนกั เรยี น • จัดใหม้ ีถงั ขยะภายในห้องเรียนทม่ี ฝี าปดิ และเกบ็ รวบรวมขยะเพอ่ื กำจดั อย่างถูกตอ้ ง 4. สถานท่พี กั ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา • จัดต้ังคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบ, ดูแลและกำกับความปลอดภัยให้เป็นไปตามระเบียบของสถานท่ี พัก เพอ่ื ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019 สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเดก็ รามอินทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร42 • จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ สำหรบั ทำความสะอาดและจดั จุดบรกิ ารแจกจา่ ยหนา้ กากผ้า, หนา้ กากอนามัย ไว้ให้บรกิ ารบรเิ วณ เขา้ - ออก สถานท่ีพกั ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา • มีมาตรการติดตามข้อมูลผู้เข้า - ออก สถานที่พักด้วยการจดบนั ทกึ ข้อมูล • จดั ใหม้ ีการทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคบนพื้นผิวอุปกรณ์ท่ีมกี ารสัมผสั รว่ มสถานที่พัก เช่น ลกู บิด ประตู ราวบนั ได โตะ๊ เก้าอี้ จดุ นำ้ ดืม่ เป็นต้น ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% และทำความสะอาดฆา่ เชอ้ื โรคบนพน้ื ผวิ วัสดแุ ข็ง ด้วยน้ำยาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5 - 10 นาที วนั ละ 2 คร้ัง • จดั ให้มีถังขยะภายในหอ้ งพกั และเก็บรวบรวมขยะนำไปกำจัดอยา่ งถกู ต้อง • มีการจัดการคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคให้เหมาะสม โดยมีจุดบริการน้ำด่ืมส่วนกลางอย่างน้อย 1 จุด หรือหัวกอ๊ ก ต่อผบู้ ริโภคไม่เกิน 75 คน มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพของน้ำดื่มโดยจะตอ้ งสะอาด ไม่มกี ลิ่น และสี • เมื่อออกจากหอ้ งพกั ส่วนตัวครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาจะต้องสวมหน้ากากอนาอมยั 100% ทุกครง้ั • ห้ามมิให้บุคคลภายนอกที่ไม่ได้พักอาศัยในห้องพักน้ัน ๆ เข้าไปภายในห้องพักของบุคคลอ่ืนโดยไม่มี เหตอุ ันควร • หา้ มมีการรวมตวั กันเป็นกลุ่มภายในสถานท่พี กั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเกิน 5 คน • หา้ มบุคคลาภายนอกทไ่ี มม่ ีส่วนเกย่ี วข้องเข้าสถานที่พักครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเดด็ ขาด • มีการจดั เตรียมห้องพักเพ่ือให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสามารถเข้าพกั อาศยั มีการแบ่งออกเปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ หอพักเจา้ หน้าที่, หอพักรวมอาคารหอพักนักเรียน และอาคารอเนกประสงค์ของโรงเรียน บา้ นเดก็ รามอินทรา มรี ายละเอยี ดดงั ต่อน้ี การจดั เตรยี มหอ้ งพักกรณีพบผตู้ ิดเชือ้ ภายในสถานศึกษา สถานที่ จำนวนหอ้ ง ขนาดหอ้ ง รองรบั ผู้อาศัย/หอ้ ง หอพกั เจา้ หน้าท่ี อาคาร 3 ชน้ั 23 ชน้ั 1 5 2 9 5x4 เมตร ชัน้ 2 ช้นั 3 9 สามารถรองรบั ครแู ละบคุ ลากร รวมทงั้ สิน้ 46 คน ปจั จบุ นั มคี รแู ละบคุ ลากรอาศัย รวมทง้ั สนิ้ 30 คน สถานที่ จำนวนหอ้ ง ขนาดหอ้ ง รองรบั ผู้อาศยั /หอ้ ง สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร43 ห้องพกั รบั รองอาคารอเนกประสงค์ 14 5x4 เมตร 2 สามารถรองรบั ครแู ละบคุ ลากร รวมท้งั ส้นิ 28 คน สถานท่ี จำนวนหอ้ ง ขนาดหอ้ ง รองรบั ผู้อาศัย/หอ้ ง อาคารหอพกั นักเรียน ชนั้ 3 1 6X8 เมตร 6 ด้านการมสี ว่ นรว่ ม • จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ครู, ผู้ปกครอง, ชุมชน และ องค์การต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้องเพื่อจัดพนื้ ที่การเรยี นการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School • โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราได้ทำการประสานขอความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี เพ่ือ เข้ารบั การดูแล รกั ษา เมอ่ื เกิดพบผ้ตู ิดเช้ือภานในสถานศึกษา • ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น หน้าการอนามัย, เจลล้างมือ, ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK), อุปกรณ์วดั อุณหภูมิ ฯลฯ จากผบู้ รจิ าคหลากหลายองคก์ ร ดา้ นการประเมินความพรอ้ มสกู่ ารปฏบิ ัติ • รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ต่อท่ีประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือขอความเห็นชอบในการเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 แบบ Onsite • จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) โดยสามารถใช้ ห้องประชุมโรงเรียน ห้องเรียน หอนอน หรือห้องพักอาคารเอนกประสงค์ของโรงเรียนสำหรบั รองรับการดูแลรักษาเบ้ืองต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบคุ ลากรในสถานศกึ ษามกี ารตดิ เชื้อโควิด 19 หรือผลตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เปน็ บวก • มวี างแผนเผชิญเหตุและมคี วามร่วมมือกบั สถานพยาบาลเครือขา่ ยในพื้นท่ีทีด่ ูแลอย่างใกลช้ ดิ • เสนอเอกสารการประเมนิ ตนเองและความเห็นของการเปิดเรยี นของคณะกรรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเอกสารข้อมลู จำนวนครู บุคลากรทางการศกึ ษา และจำนวนนักเรียนทมี่ ีอายุ 12 ปีขึน้ ไปทป่ี ระสงค์รับ การฉัดวัคซีน เสนอต่อสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือขออนุญาตต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด พจิ ารณาอนุมตั กิ ารเปิดเรยี น ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 แบบ On Site • ครแู ละบคุ ลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องได้รับการตรวจ Antigen Test Kit (ATK) 100 % • เตรยี มความพรอ้ ม อาคาร สถานที่ โดยมีการทำความสะอาดบริเวณของสถานศึกษาใหม้ คี วามพรอ้ มในการ เปิดภาคเรียน รวมท้งั การเตรยี มความพร้อมทางดา้ นสื่อเทคโนโลยีต่าง เพือ่ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน สารสนเทศโรงเรยี นบา้ นเด็กรามอนิ ทรา ประจำปกี ารศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 44 • ครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้รับการฉีดวัคซีน ร้อยละ 85 ขึ้นไป (ปัจจุบันครูและบุคลากรทุกคนใน สถานศึกษาไดร้ ับการฉดี วคั ซีน 100 % ) • ขอความรว่ มมือใหผ้ ู้ปกครองของนักเรียนและนกั เรียนตั้งแต่อายุ 12 ปีข้ึนไปได้รบั การฉดี วคั ซีนใหม้ ากทสี่ ดุ การเข้าถงึ วคั ซนี ของครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษา เงอื่ นไขหลกั ของมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพื่อรองรบั การเปดิ ภาคการศึกษาท่ี 2/2564 โดยการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา On Site ประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราช กำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับท่ี 34) มีข้อกำหนดให้ครูและบุคลากรใน สถานศึกษาต้องได้รับการฉีดวัคซีนตามในเขตพื้นที่การแพร่ระบาดไม่น้อยกว่า 85% ซ่ึงในปีการศึกษา 2565 ครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ไดร้ ับวัคซีนไม่น้อยกวา่ 2 เขม็ จำนวน 100% สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเดก็ รามอินทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 45 แนวปฏบิ ัตริ ะหว่างเปดิ ภาคเรยี น ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพื่อ ป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (Covid-19) โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราได้คำนึงถึง ความปลอดภัยของนักเรยี น ครูและบคุ ลากรในสถานศึกษาไดด้ ำเนินการจัดทำและรวบรวมแนวปฏบิ ัตริ ะหวา่ ง เปดิ เรยี นเป็น 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีเปิดเรียนไดต้ ามปกติ (Onsite) สถานศึกษา 1.1 มาตรการ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราได้จัดให้มีมาตรการความปลอดภัยเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) โดยใช้เง่ือนไขข้อกำหนดของ 6 มาตรการหลัก (DMHT - RC), 6 มาตรการเสริม (SSET - CQ) และ 7 มาตรการเข้มงวด สำหรบั สถานศกึ ษากำหนดไว้ดังน้ี 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) (1.) (Distancing) : จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร (2.) (Mask Wearing) : ให้นักเรียน บุคลากร และผู้เขา้ มาติดตอ่ ภายในสถานศึกษาจะต้องสวมหน้ากากผา้ หรือ อหน้ากากอนามยั (3.) (Hand Washing) : จัดให้มีจุดบริการทำความสะอาดมือด้วยการล้างมือด้วยสบู่และน้ำ หรือใช้เจล แอลกอฮอล์ โดยรอบสถานศึกษา (4.) (Testing) : มกี ารคัดกรองตรวจวดั อุณหภมู ิ, วดั ไข้, สงั เกตอาการ และจุดลงบันทึกการเข้าออกสถานศกึ ษา ผา่ นแอพพลเิ คชน่ั (ไทยชนะ) หรือการจดบนั ทึกเข้า-ออก ของสถานศึกษา (5.) (Reducing) : ลดการแออดั ลดเข้าไปในพืน้ ทเี่ สี่ยง กลมุ่ คนจำนวนมาก (6.) (Cleaning) : เปิดประตู หน้าต่างเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกและทำความสะอาดบริเวณพื้นผิวสัมผัส รว่ มตา่ ง ๆ เชน่ มอื จบั ประตู ลกู บิดประตู ราวบนั ได เปน็ ตน้ 6 มาตรการเสรมิ (SSET - CQ) (1.) (Self - care) : ดแู ลตนเองและปฏิบัติตามมาตรการต่าง ๆ ตามที่กำหนดอย่างเครง่ ครัด (2.) (Spoon) : ใช้ชอ้ นกลางสว่ นตวั เมอื่ ต้องกินอาหารร่วมกัน (3.) (Eating) : กินอาหารท่ีปรงุ สุกใหม่ กรณอี าหารเก็บเกิน 2 ช่ัวโมง ควรนำมาอ่นุ ใหร้ ้อนทวั่ ถงึ กอ่ นกินอกี ครัง้ (4.) (Track) : ครู, ผู้ปกครอง, นักเรยี นและผู้เขา้ มาภายในสถานศึกษาจะต้องลงทะเบยี นตามทรี่ ัฐกำหนด หรือ ลงทะเบยี นบนั ทึกการเขา้ - ออกอย่างชดั เจน สารสนเทศโรงเรียนบ้านเดก็ รามอนิ ทรา ประจำปีการศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 46 (5.) (Check) : มีการสังเกตและตรวจสอบอาการเสี่ยง เช่น ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ เหน่ือยหอบ หายใจ ลำบาก จมูกไม่ได้กล่ิน ล้ินไม่รู้รส และตรวจสอบกลุ่มเสี่ยงท่ีเดินทางมาจากพื้นท่ีเส่ียงเพ่ือเข้าสู่ กระบวนการคัดกรอง (6.) (Quarantine) : กักกันตัวเองเป็นระยะเวลา 14 วัน เม่ือเข้าไปสัมผัสหรืออยู่ในพ้ืนท่ีเส่ียงท่ีมีการ ระบาดโรค 7 มาตรการเขม้ งวด (1.) สถานศึกษาได้ผ่านการประเมินความพร้อมเปิดเรียน TSC+ และรายงานการติดตาม การ ประเมินผลผ่าน MOECOVID (2.) ทำกิจกรรมรว่ มกันในรูปแบบ Small Bubble โดยจัดให้ โดยจัดให้มีการเว้นระยะห่างกันระหว่าง นกั เรยี นในหอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 1 - 2 เมตร และหลีกเลยี่ งการทำกจิ กรรมขา้ มกลุ่มกัน (3.) จัดระบบการใหบ้ รกิ ารอาหารสำหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลกั มาตรฐาน สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น มีการประกอบอาหารที่ปรุงสุกใหม่, มีการจัดซ้ือ วัตถุดิบจากแหล่งจำหน่ายที่ถูกสุขลักษณะ, ส่ังซื้ออาหารด้วยระบบการนำส่งอาหาร (Delivery), มีจุดรับส่งอาหารเพ่ือลดความเสี่ยงในการสัมผัสกับผู้นำส่ง, มีการตรวจสอบทางโภชนาการก่อน นำมาบรโิ ภค ตามหลักสุขาภิบาล อาหารและหลกั โภชนาการ (4.) จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา ได้แก่ มีการระบายอากาศภายในอาคารสามารถถ่ายเทได้สะดวก, ตรวจสอบสะอาดและคุณภาพ น้ำดื่มทีใ่ ช้อุปโภคบรโิ ภค โดยไมใ่ ช้แก้วน้ำรว่ มกนั และการจดั การขยะโดยจัดให้ถังขยะจะต้องมฝี า ปิด โดยขยะทม่ี ีความเสยี่ งสงู จะตอ้ งนำใส่ถงุ กอ่ นนำไปทิ้งทกุ ครง้ั (5.) จัดให้มีสถานท่ีสำหรับแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) หรือพ้ืนที่กักตัวชั่วคราว รวมทั้งมีการซกั ซ้อมแผนเผชิญเหตสุ ำหรับใช้รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณีนักเรียน ครู หรือ บุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID - 19) หรือผลตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) เปน็ บวก โดยมกี ารซกั ซอ้ มอย่างเครง่ ครัด (6.) ควบคมุ ดแู ลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อย่างเครง่ ครดั ท้ัง รถส่วนบุคคล และรถโดยสารสาธารณะ โดยให้หลีกเล่ียงการเข้าไปสัมผัสในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ตลอด เสน้ ทางการเดินทาง สารสนเทศโรงเรยี นบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 47 (7.) จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ เช่น ผลการประเมิน TST, ผลตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ภายใน 7 วัน, ประวัติการรับ วัคซีนของบคุ ลากรและนกั เรียน ใหเ้ ป็นไปตามมาตรการทกี่ ำหนด 1.2 อนามยั และส่งิ แวดลอ้ ม การระบายอากาศภายในอาคาร - เปดิ ประตหู นา้ ต่างระบายอากาศก่อนและหลงั การใช้งาน อย่างน้อย 15 นาที - กรณีมีการใช้เครื่องปรับอากาศ จะทำการระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการใช้อย่างน้อย 2 ชวั่ โมง โดยเปดิ ประตู หน้าต่างเพอ่ื ระบายอากาศชว่ งพกั เทย่ี งหรือช่วงทไ่ี ม่มีการเรียนการสอน และทำ ความสะอาดหอ้ งสม่ำเสมอ การทำความสะอาด - ทำความสะอาดวัสดุสิ่งของต่าง ๆ ด้วยผงชักฟอก, น้ำยาทำความสะอาด หรือน้ำยาฆ่าเช้ือโรคบน พ้ืนผิวท่ัวไป อุปกรณ์สัมผัสรว่ ม เช่น ห้องน้ำ ห้องส้วม ลูกบดิ ประตู รโี มทคอนโทรล ราวบันได สวติ ช์ ไฟ กดลฟิ ท์ จดุ น้ำดื่ม เป็นต้น ด้วยแอลกอฮอล์ 70% นาน 10 นาที และฆ่าเช้ือโรคบนพื้นผิววัสดุแข็ง เช่น กระเบ้ือง, เซรามิก, สแตนเลส ด้วยน้ำยาฟอกขาวหรือโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% นาน 5-10 นาที อยา่ งน้อยวนั ละ 2 คร้ัง ตามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาท่มี ีผ้ใู ชง้ านจำนวนมาก คณุ ภาพนำ้ เพ่อื การอปุ โภคบริโภค - ตรวจดูคณุ ลักษณะทางกายภาพของนำ้ ดืม่ โดยจะตอ้ งไม่มสี ี กล่ิน และไมม่ ีสง่ิ เจือปนในนำ้ ดม่ื - ดแู ลความสะอาดจุดบริการ ภาชนะบรรจนุ ้ำดม่ื และไมใ่ ชแ้ กว้ น้ำดมื่ รว่ มกัน การจัดการขยะ - มกี ารคดั แยกลดปริมาณขยะ ตามหลกั 3R ได้แก่ • ลดการใช้ (Reduce) : ควบคุมปริมาณการใช้ให้อยู่ในสัดส่วนท่ีพอเหมาะ โดยลดการใช้ การ บรโิ ภคทรพั ยากรทไ่ี ม่จำเป็นลง • กลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) : ใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด โดยการนำสิ่งของเครื่องใช้ที่สามารถนำมาใช้ ซ้ำได้ นำกลบั มาใช้ซ้ำกอ่ นท้งิ เพอ่ื ลดการเกิดขยะ • นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) : คัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภท ท่ีสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ หมุนเวยี นกลับเขา้ สู่กระบวนการผลติ ของแต่ละประเภทได้ - ขยะทเ่ี กดิ จากผู้สมั ผัสเสยี่ งสงู / กักกนั ตัว หรอื หนา้ กากอนามัยที่ใช้แลว้ นำใส่ในถงั ขยะปิดให้มิดชิด สารสนเทศโรงเรียนบา้ นเด็กรามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 48 1.3 การใชอ้ าคารสถานที่ หากมีการฝึกอบรม หรือการทำกจิ กรรมใด ๆ ทม่ี ีผ้เู ขา้ ร่วมจำนวนมาก โรงเรียนบา้ นเด็กรามอนิ ทราได้ มแี นวทางในการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1.4 แนวปฏิบัติดา้ นสาธารณสขุ 1) กำหนดจุดคัดกรองช่องทางเข้า - ออกของสถานท่ี หากพบว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม หรือเข้าร่วม กจิ กรรมมีไข้ ไอ จาม มีน้ำมูกหรือเหนอ่ื ยหอบ หรือมีอุณหภูมิรา่ งกายเท่ากับหรอื มากกวา่ 37.5 องศา เซลเซียสขึ้นไป จะแจ้งงดใหเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม และแนะนำไปพบแพทย์ หรือจดั ให้มีหอ้ งแยกผู้ท่ีมอี าการ ออกจากพื้นที่ 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้มาติดต่อ ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาที่เข้าร่วม กจิ กรรม 3) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ หรือ จุดล้างมือ สำหรับทำความสะอาดมือไว้บริการ บริเวณต่าง ๆ อย่าง เพียงพอ เช่น บริเวณหน้าห้องประชุม ทางเข้าออกหน้าลิฟต์ จุดประชาสัมพันธ์ และพนื้ ที่ที่มีกิจกรรม อ่ืน ๆ เปน็ ต้น 4) จัดบริการอาหารในลักษณะท่ีลดการสัมผัสอุปกรณ์ท่ีใช้ร่วมกัน เช่น จัดอาหารว่างแบบกล่อง (Box Set) อาหารกลางวันในรูปแบบอาหารชดุ เดี่ยว (Course Menu) 5) กรณีมีรถรับส่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้เว้นระยะห่าง 1 ที่น่ัง ทำความสะอาดรถรับส่งทุกรอบหลัง ใหบ้ รกิ าร 6) กำกับใหน้ กั เรียนน่ังโดยมีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งทน่ี งั่ และทางเดนิ อย่างน้อย 1.5 เมตร 7) จัดให้มถี งั ขยะทมี่ ฝี าปดิ เพือ่ เก็บรวบรวมขยะ ส่งไปกำจัดได้อยา่ งถกู ต้อง 8) จดั ให้มกี ารระบายอากาศภายในอาคาร มกี ารหมุนเวียนถ่ายเทของอากาศ ทงั้ ในอาคารและห้องสว้ ม 9) ใหท้ ำความสะอาดและฆ่าเช้ือทั่วทง้ั บริเวณ และเน้นบริเวณที่มักมีการสัมผัส หรอื ใช้งานร่วมกันบ่อย ๆ ดว้ ยน้ำยาฟอกขาวที่เตรยี มไว้ หรอื แอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% เช็ดทำความ สะอาดและฆ่าเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง ทำความสะอาดห้องส้วมทุก 2 ช่ัวโมงและอาจเพิ่มความถ่ี ตามความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาที่มผี ใู้ ช้งานจำนวนมาก 10) มีมาตรการติดตามข้อมูลของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น การใช้แอพพลิเคช่ัน(ไทยชนะ) หรือใช้มาตรการ ควบคุมการเขา้ ออกดว้ ยการจดบันทึกข้อมูล 11) มกี ารจัดการคณุ ภาพเพื่อการนำ้ อปุ โภคบรโิ ภคท่ีเหมาะสม - จัดใหม้ จี ดุ บรกิ ารนำ้ ดืม่ 1 จดุ หรอื หัวกอ๊ กตอ่ ผู้บรโิ ภค 75 คน สารสนเทศโรงเรียนบ้านเด็กรามอนิ ทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 49 - ตรวจสอบคุณภาพนำ้ ดืม่ นำ้ ใช้ - ดแู ลความสะอาดจุดบริการน้ำดื่ม ภาชนะบรรจุน้ำด่มื และใชแ้ ก้วน้ำส่วนตวั 1.5 แนวทางปฏบิ ัติสำหรับผูจ้ ัดกจิ กรรม 1) ควบคุมจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไมใ่ ห้แออัด โดยคิดหลักเกณฑจ์ ำนวนคนต่อพื้นที่จัดงาน ไมน่ ้อยกว่า 4 ตารางเมตรตอ่ คน โดยพจิ ารณาเพ่มิ พ้นื ท่ีทางเดินให้มีสัดส่วนมากขน้ึ 2) จำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนให้เพียงพอสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพอ่ื ลดความแออัด โดยอาจใชร้ ะบบการประชุมผา่ นสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ ใช้การสแกน QR Code ในการ ลงทะเบยี นหรือตอบแบบสอบถาม 3) ประชาสัมพันธ์มาตรการ คำแนะนำในการป้องกันการแพร่ระบาดให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนได้ ทราบ 1.6 แนวทางปฏิบตั สิ ำหรบั ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม 1) ขอความร่วมมือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทำการสังเกตและประเมินอาการตนเองก่อนเข้าร่วมกิจกรรม หากมีไข้ ไอ จาม มีนำ้ มูก หรอื เหนือ่ ยหอบให้งดการเข้ารว่ มกิจกรรมและพบใหแ้ พทยท์ นั ที 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนจะต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย โดยให้เว้นระยะห่างระหว่าง บุคคลอย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร งดการรวมกลุ่ม และลดการพูดคยุ เสยี งดัง 3) ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ ก่อนและหลังใช้บริการ หรือหลังจากสัมผัสจุดสัมผัสร่วม หรอื สง่ิ ของ เครื่องใช้ เม่อื กลบั ถึงบ้านควรเปลย่ี นเสื้อผ้าและอาบนำ้ ทนั ที 4) ปฏิบัติตามระเบียบของสถานท่ีอย่างเคร่งครัด และปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่าง เข้มขน้ ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) 2. กรณโี รงเรียนไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา เป็นโรงเรียนสำหรับสำหรับคนพิการ ซ่ึงมีนักเรียนท่ีมีความบกพร่อง ทางการเห็นและมีความบกพรอ่ งอ่ืนร่วมด้วย (ตาบอดพิการซ้อน) ได้มีการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ในกรณีที่ไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณารูปแบบให้มีความเหมาะสมตต่อความพร้อมของ นกั เรยี นและสถานศึกษา ดงั น้ี 1) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรยี นการสอนผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตและแอพพลิเคช่ัน การจัดการเรียนการสอนแบบน้ี สำหรับครูและนักเรียนท่มี ีความพร้อมทางด้านอปุ กรณ์ เช่นคอมพิวเตอร์ แท็บ เลต็ โทรศัพท์ และมีการเช่ือมตอ่ สัญญาณอนิ เทอร์เน็ต สารสนเทศโรงเรียนบ้านเดก็ รามอินทรา ประจำปีการศึกษา 2565
งบ้เา ีรนยเนด็กบ้ารานเม ็ดิอกนรทารยมโานอิรง้บนเารีทนรยเานด็กบ้โารรางนเเม ีรด็อิยกนรนทา้บรมาโา ิอรนเงนเด็รีทกรยรานา ้บมโาอรงนเเ ีรด็ยกโรนรางบ้รเมาารีอินยเนนด็ทก้บราราานเมโดอิรงนเรีทรยโานรง้บเา ีรนยเน็ดก้บารานเม ็ดิอกนรทารมา ิอนทร 50 แนวทางในการเรียนของนักเรยี น - สำหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่นคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และมี การเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต จะทำการติดต่อผ่านแอพพลิเคช่ันเพื่อใช้สนับสนุนการเรียนการสอน ทางไกลตามความเหมาะสมโดยมรี ายละเอียดดังน้ี • Zoom Meeting ใช้สำหรับการประชุมสัมมนากับนักเรียนและผู้ปกครองพร้อมกันได้หลายคน เป็นการพูดคุยแบบเห็นหน้ากัน และยังใช้ในการเรียนสอนสอนออนไลน์สำหรับนักเรยี นหลายคน พรอ้ มกัน • LINE ใช้สำหรับการสอนออนไลน์ให้กับนักเรียนภายในชั้นเรียน ทั้งแบบรายกลุ่ม (GroupCall) และรายบุคคล อีกท้ังยังเป็นช่องทางสำหรับโรงเรียนบ้านเด็กรามอินทราใช้ในการแจ้งข่าวสารท่ี เกย่ี วกบั การศกึ ษาใหน้ ักเรียนได้รบั ทราบ 2) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณีท่ีนักเรียนมี ทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศึกษาจัดทำแบบฝึกหัดหรือให้ การบ้านไปทำทีบ่ ้าน อาจใชร้ ่วมกบั รูปแบบอน่ื ๆ ตามบรบิ ทของท้องถ่นิ แนวทางในการเรียนของนักเรียน - สำหรับนักเรียนและผู้ปกครองท่ีไม่สามารถจัดการเรียนการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและ แอพพลเิ คช่นั ได้ จะมกี ารจดั ส่งวสั ด,ุ อุปกรณ,์ ใบงาน และวิธกี ารปฏบิ ตั ไิ ปให้นกั เรยี นทบ่ี า้ นเพือ่ จัดการเรียน การสอนให้กบั นกั เรียน 3) การจั ด ก ารเรียน ก ารสอ น แ บ บ (ON Demand) คื อ การเรียน รู้ผ่าน ท างเว็บ ไซ ต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่องทางแอพลิเคชั่น YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอพพลิเคช่ัน DLTV บนสมาร์ทโฟน หรือแทบ็ เลต็ แนวทางในการเรยี นของนกั เรียน - โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา เป็นโรงเรียนสำหรับสำหรับคนพิการ ซ่ึงมีนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางการเห็นและมีความบกพร่องอื่นร่วมด้วย(ตาบอดพิการซ้อน) ทางโรงเรียนจึงได้มีการปรับเปล่ียนให้มี ความเหมาะสมต่อลักษณะการเรียนการสอน โดยจัดทำคลิป VDO การฝึกสอนเพื่อใช้ประกอบการเรียน การสอนให้กับนักเรียนตาบอดพิการซ้อนผ่านแอพพลิเคช่ัน YouTube (โรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา Channel) เพือ่ ให้สอดคลอ้ งต่อลักษณะความพกิ ารของนักเรียนและตรงตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน โดยมผี ้ปู กครองเป็นผู้ร่วมนำไปฝึกปฏิบตั ิใหก้ บั นกั เรียน สารสนเทศโรงเรียนบ้านเด็กรามอินทรา ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117