Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวปฏิบัติงานวินิจฉัยคำร้องเพื่อขอรับการสงเคราะห์และจ่ายเงินกองทุน

แนวปฏิบัติงานวินิจฉัยคำร้องเพื่อขอรับการสงเคราะห์และจ่ายเงินกองทุน

Published by Nulek Labour, 2021-01-15 11:14:47

Description: จัดทำโดยกรมการจัดหางาน

Search

Read the Text Version

การจัดการความรู้ (knowledge management) เรอื่ ง แนวปฏิบัติงานการวนิ ิจฉยั คาร้องเพอ่ื ขอรับการสงเคราะห์ และจา่ ยเงนิ กองทนุ กองทนุ เพ่อื ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ กองบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ กรมการจดั หางาน

คานา การจัดการความรู้ (Knowledge management) เร่ือง “แนวปฏิบัติงานการ วินิจฉัยคาร้องเพ่ือขอรับการสงเคราะห์และจ่ายเงินกองทุน” เป็นภารกิจหลักที่มีความสาคัญต่อ สมาชิกกองทุนฯ มีองค์ประกอบที่ค่อนข้างหลากหลาย ยึดหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายประการ อาทิ พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน กฎกระทรวง ระเบียบต่าง ๆ เพ่ือ ประกอบการวินิจฉัยให้การสงเคราะห์แก่คนหางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบุคลากรของภาครัฐ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับกองทุน ท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ที่มีการโยกย้าย เล่ือนตาแหน่ง หรือ สับเปลี่ยนหมุนเวียน ทาให้การปฏิบัติงานด้านวินิจฉัยเพ่ือให้การสงเคราะห์แก่คนหางาน ยังขาด ความรู้ความเข้าใจ หรือเข้าใจคลาดเคล่ือน ไม่สอดคล้องกับข้อกฎหมายกาหนด ดังนั้น การรวบรวม ข้อมูล ข้อกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการประกอบการวินิจฉัยท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นองค์ ความรแู้ ก่บุคลากรของภาครัฐผู้ปฏิบัติงานเก่ียวกับกองทุนฯ ท้ังในปัจจุบันและอนาคต ได้เสริมสร้าง ความรคู้ วามเขา้ ใจ ตามกระบวนงานการขอรบั เงินสงเคราะห์จากกองทุนฯ สามารถนาไปปฏิบัติงาน ให้เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ตามกฎหมายทีก่ าหนด และพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ให้ มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ส่งผลให้การช่วยเหลือสมาชิกกองทุนฯ ในกรณีต่าง ๆ ได้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกิดประโยชน์สูงสดุ แกค่ นหางาน คณะทีมงานการจัดการความรู้ ได้จัดทา “แนวปฏิบัติงานการวินิจฉัยคาร้องเพ่ือ ขอรับการสงเคราะหแ์ ละจ่ายเงินกองทุน” เพ่ือประกอบการวนิ ิจฉัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตาม กฎหมายท่ีกาหนด และหวังว่าองค์ความรู้น้ีจะเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษา เรียนรู้วิธีการปฏิบัติงาน ของเจา้ หนา้ ที่ และการพฒั นาบุคคลากรในหนว่ ยงานให้สอดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตรก์ องทุนฯ กอง บรหิ ารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ และกรมการจดั หางานต่อไป คณะผ้จู ดั ทา กันยายน ๒๕๕๙

สารบัญ หนา้ บทท่ี ๑ บทนา ๑ ๒ ๑. หลักการและเหตผุ ล ๒ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๓ ๓. คาจากัดความ ๔. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ บทท่ี ๒ กฎหมายท่เี ก่ียวข้อง ๔ ๕ ๑. พระราชบญั ญัตจิ ัดหางานและคมุ้ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ๒. พระราชบัญญัตจิ ัดหางานและค้มุ ครองคนหางาน แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๖ ๓. กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบญั ญัตจิ ดั หางานและ ๖ ค้มุ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ๔. ระเบยี บกระทรวงแรงงาน วา่ ดว้ ยกจิ การท่ีจะใช้จ่ายจากเงนิ กองทุนเพ่ือช่วยเหลอื คนหางาน ๖ ไปทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๖ ๕. ระเบยี บกระทรวงแรงงาน วา่ ด้วยการบรหิ ารกองทนุ เพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานใน ต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๖. ระเบียบกระทรวงแรงงาน วา่ ด้วยการรบั เงิน การจ่ายเงนิ และการเก็บรกั ษาเงนิ กองทนุ เพ่อื ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ บทที่ ๓ การวนิ จิ ฉัยการจ่ายเงนิ กองทนุ เพ่ือชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ ๑. สทิ ธิประโยชนท์ ่สี มาชกิ กองทุนฯ จะได้รบั การสงเคราะห์ ๗ ๒. ระยะเวลาการคุม้ ครองสมาชิกกองทนุ ๙ ๓. การยน่ื คารอ้ งขอรบั การสงเคราะหจ์ ากกองทุน ๙  การขอรบั เงินสงเคราะห์จากกองทนุ เพ่อื ชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ มีข้นั ตอนการดาเนนิ การ ดังน้ี  ขนั้ ตอนท่ี ๑ การย่ืน/รับคาร้องขอรับการสงเคราะห์ ๙  ขั้นตอนที่ ๒ การวนิ จิ ฉยั คาร้องขอรับการสงเคราะห์ ๑๑  ขัน้ ตอนท่ี ๓ การขออนุมัติเบิก/จ่ายเงนิ กองทุนฯ ๑๒  ขน้ั ตอนท่ี ๔ การอุทธรณ์คาวินจิ ฉัย ๑๒ ๔. แผนผังกระบวนงานการขอรับเงินสงเคราะหจ์ ากกองทุนเพอ่ื ชว่ ยเหลือคนหางานไปทางาน ๑๔ ในตา่ งประเทศ  แผนผังการยน่ื /รบั คาร้องขอรับการสงเคราะห์ ๑๕  แผนผังการวินิจฉยั คาร้องขอรับการสงเคราะห์ ๑๖  แผนผังการอนุมัตเิ บิก/จ่ายเงินกองทุนฯ ๑๗  แผนผงั การอุทธรณ์คาวินิจฉยั ๑๘

บทท่ี ๔ บทสรุป หน้า ๑. ความสาคญั ของปญั หา ๑๙ ๒. วตั ถุประสงค์ ๑๙ ๓. ข้อกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ๑๙ ๔. กระบวนงานการขอรับเงินสงเคราะหจ์ ากกองทุนเพ่ือช่วยเหลอื คนหางานไปทางาน ๒๐ ในตา่ งประเทศ ๒๐ ข้นั ตอนที่ ๑ การยนื่ /รบั คาร้องขอรบั การสงเคราะห์ ๒๑ ขั้นตอนที่ ๒ การวินิจฉยั คาร้องขอรบั การสงเคราะห์ ๒๒ ขนั้ ตอนท่ี ๓ การอนมุ ตั เิ บกิ /จา่ ยเงนิ กองทุน ๒๒ ขัน้ ตอนที่ ๔ การอทุ ธรณ์คาวินจิ ฉยั บรรณานุกรม ภาคผนวก  พระราชบญั ญัตจิ ัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘  พระราชบญั ญัตจิ ัดหางานและคุ้มครองคนหางาน แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔  กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิจัดหางาน และคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘  ระเบยี บกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยกจิ การที่จะใช้จ่ายจากเงินกองทนุ เพื่อชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙  ระเบยี บกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพอ่ื ช่วยเหลือคนหางานไปทางาน ในตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙  ระเบียบกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยการรบั เงนิ การจา่ ยเงิน และการเก็บรกั ษาเงินกองทนุ เพือ่ ชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙  คาสง่ั สานักงานบรหิ ารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ เรื่อง แตง่ ตั้งทมี งานจัดการความรู้ในการ บริหารพัฒนากองทุนเพื่อชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในต่างประเทศ  โรคตอ้ งหา้ มทางานในตา่ งประเทศ แบบฟอร์มต่าง ๆ  คาร้องขอรับการสงเคราะหจ์ ากกองทนุ เพ่อื ชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในต่างประเทศ  บันทกึ การสอบปากคาเพอื่ ขอรับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ (กรณตี รวจโรคไมผ่ ่าน หรอื กรณีประสบอนั ตราย)  บันทกึ การสอบปากคาเพือ่ ขอรบั การสงเคราะหจ์ ากกองทนุ ฯ (กรณีเสยี ชีวติ )  แบบประเมินความสูญเสียสมรรถภาพรา่ งกายหรอื อวัยวะ  หนงั สอื มอบอานาจ

บทที่ ๑ บทนา ๑. หลักการและเหตุผล การเดินทางไปทางานในต่างประเทศของคนหางาน เป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาการ ว่างงานของภาครัฐ ก่อให้เกิดผลดีท้ังด้านครอบครัวและเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยภาครัฐได้ตระหนัก ถึงความสาคัญของการไปทางานต่างประเทศ ที่มุ่งเน้นให้คนหางานได้รับประโยชน์ตามความคาดหวัง อาทิ กาหนดวิธีการไปทางานที่ถูกต้องตามกฎหมาย กาหนดอัตราค่าบริการที่เป็นธรรมกรณีไปทางานกับบริษัท จัดหางาน มีนโยบายแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการถูกหลอกลวง รวมท้ังกาหนดให้คนหางานสมัครเป็น สมาชิกกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ ท้ังกรณีที่กาหนดไว้ในกฎหมายและกรณีให้ คนหางานเปน็ สมาชิกโดยความสมคั รใจ ทงั้ น้ี เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของครอบครัวหากคนหางาน ประสบปัญหาหรือประสบอันตรายจากการทางานในตา่ งประเทศ กองทุนเพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ เป็นหน่วยงานในสังกัดกองบริหาร แรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดหางานและ คุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือช่วยเหลือคนหางานในการจัดการให้คนหางานซึ่งถูก ทอดท้ิงอยู่ในต่างประเทศได้เดินทางกลับประเทศไทย เพ่ือให้การสงเคราะห์แก่คนหางานซึ่งไปหรื อจะไป ทางานในต่างประเทศหรือทายาทโดยธรรมของสมาชิกกองทุนฯ และเพื่อการคัดเลือกและทดสอบฝีมือและการ ฝึกอบรมคนหางานก่อนจะเดินทางไปทางานในต่างประเทศ โดยที่กฎหมายกาหนดให้คนหางานต้องส่งเงินเข้า เป็นสมาชิกกองทุนเพียงคร้ังเดียวต่อหน่ึงสัญญาจ้างในอัตรา ๓๐๐ – ๕๐๐ ตามแต่ละกลุ่มประเทศท่ีเดินทาง และเมือ่ ครบสัญญาจ้างแล้วหากประสงคท์ างานหรอื อยู่ในต่างประเทศ กฎหมายให้การคุ้มครองสมาชิกให้ได้รับ สิทธิประโยชนต์ ามกฎหมายกาหนดต่อไปอกี ๕ ปี นับวา่ เปน็ ประโยชนแ์ ก่คนหางานท่เี ปน็ สมาชิกอย่างมาก กระบวนการ ขั้นตอนการให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกกองทุนฯ นับว่าเป็นภารกิจหลักที่มี ความสาคัญต่อสมาชิกกองทุนฯ มีองค์ประกอบที่ค่อนข้างหลากหลาย ยึดหลักกฎหมายท่ีเก่ียวข้องหลาย ประการ อาทิ พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน กฎกระทรวง ระเบียบต่างๆ ประกาศ เพ่ือ ประกอบการวินิจฉัยให้การสงเคราะห์แก่คนหางานอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนหางาน โดยบุคลากรของภาครัฐผู้ปฏิบัติงานมีท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็นเหตุการณ์ปกติที่มีการโยกย้าย เลื่อนตาแหน่ง หรือสับเปล่ียนหมุนเวียน อาจทาให้การปฏิบัติงานด้านการวินิจฉัยเพ่ือให้การสงเคราะห์แก่ คนหางานบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่เพียงพอหรือเข้าใจคลาดเคล่ือน ไม่สอดคล้องกับข้อกฎหมาย ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ส่งผลให้การปฏิบัติงานไม่เป็นตามกฎหมายกาหนด และอาจส่งผลกระทบต่อคนหางาน ดังนั้น การรวบรวมข้อมูล ข้อกฎหมายต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในการประกอบการวินิจฉัยท่ีมีประสิทธิภาพจึงเป็น ส่ิงจาเป็นต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับกองทุนฯ เพ่ือให้แนวปฏิบัติการช่วยเหลือคนหางานใน กรณีตา่ งๆ ไดป้ ฏบิ ตั ิอย่างถูกต้องและเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน กองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ กองบริหารแรงงานไทยไป ต่างประเทศ จึงได้จัดทา “แนวปฏิบัติการวินิจฉัยคาร้องเพ่ือขอรับการสงเคราะห์และจ่ายเงินกองทุน” เพื่อให้เป็นองค์ความรู้แก่บุคลากรกรมการจัดหางานผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับกองทุนฯ ท้ังในปัจจุบันและ อนาคตได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ส่งผลให้การช่วยเหลือสมาชิกกองทุนฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้งั มกี ารจดั ทาองคค์ วามร้ใู หเ้ ป็นปจั จบุ นั อยา่ งสม่าเสมอตามสถานการณท์ ่ีเปล่ียนแปลงไป

๒ ๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้บคุ ลากรผูป้ ฏิบตั งิ านที่เกย่ี วข้องกับกองทนุ ฯ ไดม้ ีความรคู้ วามเข้าใจท่ีถกู ต้องตาม กฎหมายและองค์ประกอบตา่ งๆ ในการประกอบการวินิจฉัยสงเคราะหค์ นหางาน ๒. เพ่อื ให้บคุ ลากรผปู้ ฏิบตั ิงานทเี่ กี่ยวข้องกับกองทนุ ฯ สามารถปฏิบตั งิ านใหก้ ารวนิ ิจฉยั และ สงเคราะห์แกค่ นหางานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกนั ๓. เพือ่ ให้คนหางานเห็นความสาคญั ของการเป็นสมาชกิ กองทุนฯ และไดร้ บั สิทธิประโยชน์ เม่อื ประสบปัญหาหรอื ประสบอันตรายในการไปทางานตา่ งประเทศ ๓. คาจากดั ความ “กองทนุ ” หมายความวา่ กองทุนเพ่ือช่วยเหลอื คนหางานไปทางานต่างประเทศ “สมาชกิ กองทนุ ” หมายความว่าคนหางานซึง่ ตนเองหรือนายจา้ งหรือผรู้ ับอนุญาตจดั หางาน เพอื่ ไปทางานในตา่ งประเทศไดส้ ง่ เงินเข้ากองทุน “ประสบอันตราย” หมายความว่าการทส่ี มาชกิ กองทนุ ไดร้ ับอันตรายแก่ชวี ิต รา่ งกาย หรอื ผลกระทบทางจิตใจ ทั้งนี้ การไดร้ ับอันตรายต้องมไิ ดเ้ กิดจากการทีส่ มาชกิ กองทุนเป็นผกู้ ่อใหเ้ กิดข้นึ เนอ่ื งมาจากการกระทาอันกฎหมายบญั ญตั ิเปน็ ความผดิ “พิการ” หมายความว่าการสูญเสียอวยั วะท่ีเห็นได้อย่างชัดเจน หรอื กรณีท่ีแพทยว์ นิ จิ ฉยั แลว้ วา่ มีความบกพร่องทางจติ ใจ “ทพุ พลภาพ” หมายความว่าการสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือของร่างกายหรอื สูญเสีย สภาวะปกติของจติ ใจ จนประกอบกรณกี ิจตามปกตไิ ม่ไดเ้ กินยสี่ ิบวันโดยการวนิ ิจฉัยของแพทย์ “จดั หางาน” หมายความวา่ ประกอบธุรกจิ จดั หางานให้แก่คนหางานหรือหาลูกจา้ งให้แก่ นายจ้าง โดยจะเรยี กหรือรบั ค่าบริการตอบแทนหรือไม่ก็ตาม และให้หมายรวมถึงการเรียกเงินหรือทรัพยส์ ิน หรือประโยชน์อ่นื ใดเพ่ือจัดหางานใหค้ นหางาน “ผรู้ บั อนุญาต” หมายความว่าผู้รับอนุญาตจัดหางานตามพระราชบญั ญตั ิจัดหางานและคุ้มครอง คนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ “คนหางาน” หมายความว่าบุคคลซ่ึงประสงค์จะทางานโดยเรียกหรือรับคา่ จ้างเปน็ เงินหรอื ประโยชน์อย่างอ่ืน “พนกั งานเจา้ หน้าที่” หมายความว่าผ้ซู งึ่ รัฐมนตรีแตง่ ตั้งให้ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญัติ จัดหางานและคุม้ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ “อธิบดี” หมายความว่าอธบิ ดีกรมการจัดหางาน “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรผี รู้ ักษาการตามพระราชบญั ญัติจัดหางานและคุ้มครอง คนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ “ทดสอบฝีมือ” หมายความว่าการดาเนินการใดๆ เพื่อให้ทราบถงึ ฝีมือของคนหางาน เพื่อ ออกใบรบั รองผลการทดสอบให้คนหางานโดยจะเรยี กหรือรับคา่ ทดสอบฝีมอื หรือไม่กต็ าม “คณะกรรมการกองทุน” หมายความวา่ คณะกรรมการกองทุนเพื่อชว่ ยเหลือคนหางานไป ทางานในตา่ งประเทศ

๓ ๔. ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ ๑. บุคลากรผปู้ ฏิบัติงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับกองทนุ ฯ ได้มีความรู้ความเขา้ ใจที่ถูกต้องตามกฎหมาย และองค์ประกอบต่างๆ ในการประกอบการวินจิ ฉยั สงเคราะหค์ นหางาน ๒. บคุ ลากรผู้ปฏิบตั ิงานทีเ่ ก่ียวข้องกบั กองทุนฯ สามารถปฏบิ ตั ิงานให้การวินจิ ฉัยและ สงเคราะห์แกค่ นหางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน ๓. คนหางานเห็นความสาคญั ของการเป็นสมาชกิ กองทุนฯ และได้รบั สทิ ธิประโยชน์เมอ่ื ประสบปัญหาหรอื ประสบอันตรายในการไปทางานตา่ งประเทศ

บทท่ี ๒ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ๑. พระราชบัญญตั ิจดั หางานและคมุ้ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๓๗ ให้ผู้รับอนุญาตจัดหางานเพื่อไปทางานในต่างประเทศจัดให้นายจ้างใน ต่างประเทศ ซึ่งทาสัญญาจ้างแรงงงานกับคนหางาน ส่งเงินเข้ากองทุนท่ีจัดต้ังข้ึนตามมาตรา ๕๒ สาหรับ คนหางานแต่ละคน ถ้าไม่อาจจัดให้นายจ้างส่งเงินดังกล่าวได้ ให้เป็นหน้าท่ีของผู้รับอนุญาตต้องส่งเงินเข้า กองทนุ ในกรณีท่ีสานักงานจัดหางาน กรมการจัดหางาน เป็นผู้จัดหางานให้คนหางานเพ่ือไปทางาน ในต่างประเทศ ให้อธิบดีเป็นผู้จัดให้นายจ้างส่งเงินเข้ากองทุนตามวรรคหน่ึง ถ้าไม่อาจจัดให้นายจ้างส่งเงิน ดังกล่าวได้ และคนหางานแสดงความประสงค์ที่จะไปทางานในต่างประเทศ โดยยินยอมส่งเงินเข้ากองทุนด้วย ตนเอง ให้อธบิ ดมี อี านาจเรยี กเกบ็ เงินจากคนหางานเพ่ือส่งเข้ากองทุนได้ มาตรา ๔๘ คนหางานผู้ใดประสงค์จะเดินทางไปทางานในต่างประเทศด้วยตนเอง โดยมีได้ ทาสัญญาจัดหางานกับผู้รับอนุญาตจัดหางานเพ่ือไปทางานในต่างประเทศ ตามความในหมวด ๓ ให้แจ้งให้ อธิบดีหรอื ผู้ที่อธิบดีมอบหมายทราบกอ่ นเดินทางไปไม่นอ้ ยกวา่ สิบห้าวัน การแจง้ ให้เป็นไปตามแบบท่ีอธิบดีประกาศกาหนด มาตรา ๔๘/๑ คนหางานซึ่งตนเองหรือนายจ้างหรือผู้รับอนุญาตจัดหางานเพ่ือไปทางานใน ต่างประเทศไดส้ ่งเงินเข้ากองทุนตามมาตรา ๓๗ หรือคนหางานซึ่งเดินทางไปทางานในต่างประเทศด้วยตนเอง ตามมาตรา ๔๘ ทีส่ มัครใจสง่ เงินเขา้ กองทุนตามอตั ราทีก่ าหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา ๓๗ ก่อนเดินทาง ออกนอกราชอาณาจักร ใหไ้ ดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนจ์ ากกองทนุ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนดตามมาตรา ๕๓ เป็น ระยะเวลาตามสัญญาจ้างที่คนหางานนัน้ มอี ยู่ คนหางานซ่ึงยังอยู่หรือยังทางานอยู่ในต่างประเทศให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากกองทุนตาม มาตรา ๕๓ เปน็ ระยะเวลาหา้ ปีนับแต่วันครบกาหนดตามสัญญาจ้าง หรอื วนั ทีส่ ญั ญาจา้ งสนิ้ สดุ ลง คนหางานที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากกองทุนตามวรรคสอง หากไปทาสัญญาจ้างกับนายจ้าง ใหม่หรือนายจ้างเดิม และประสงค์จะได้รับสิทธิประโยชน์จากกองทุนตามวรรคสองต่อไป ให้คนหางานหรือ นายจ้างสง่ เงนิ เข้ากองทนุ ภายในหกสบิ วันนับแต่วันที่ครบกาหนดตามวรรคสอง มาตรา ๕๒ ใหจ้ ดั ต้ังกองทุนข้นึ กองทนุ หนึ่งในกรมการจดั หางานเรียกว่ากองทุนเพื่อช่วยเหลือ คนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ เพื่อใช้จ่ายในกิจการตามมาตรา ๕๓ โดยประกอบด้วยเงินและทรัพย์สินอื่น ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาล (๒) เงนิ ท่ผี รู้ บั อนญุ าตจัดหางานเพอ่ื ไปทางานในต่างประเทศนายจา้ งหรอื คนหางานส่งเข้า กองทุนตามพระราชบญั ญัติน้ี (๓) ดอกผลของกองทนุ (๔) เงนิ หรือทรัพย์สินอ่นื ทม่ี ีผอู้ ุทศิ ให้ (๕) หลกั ประกนั ทีต่ กเป็นของกองทุนตามมาตรา ๓๔ เงนิ และทรัพย์สนิ อน่ื ตามวรรคหนง่ึ ใหส้ ง่ เขา้ กองทุนโดยไม่ต้องนาสง่ กระทรวงการคลงั เป็น รายได้แผ่นดนิ

๕ การบริหารกองทุนและการควบคุมการใช้จ่ายเงินกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีรัฐมนตรี กาหนดโดยความเห็นชอบของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั มาตรา ๕๓ กจิ การทจ่ี ะใชจ้ ่ายเงินจากกองทนุ ได้นน้ั ไดแ้ ก่กจิ การดังต่อไปน้ี (๑) จัดการให้คนหางานซึง่ ถูกทอดท้งิ อยู่ในต่างประเทศได้เดนิ ทางกลบั ประเทศไทย (๒) ให้การสงเคราะห์แก่คนหางานซ่งึ ไปหรือจะไปทางานในตา่ งประเทศหรอื ทายาทโดยธรรม ของบุคคลดังกล่าว (๓) การคัดเลือกและทดสอบฝีมือและการฝกึ อบรมคนหางานกอ่ นจะเดินทางไปทางานใน ตา่ งประเทศ ท้ังนี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บท่ีรัฐมนตรีกาหนด มาตรา ๕๔ ให้มคี ณะกรรมการกองทนุ เพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ ประกอบด้วยอธิบดีเปน็ ประธานกรรมการ และบคุ คลอน่ื ซึ่งรฐั มนตรีแต่งตัง้ อกี ไม่เกินหกคนเป็นกรรมการ และใหผ้ อู้ านวยการสานักงานบรหิ ารแรงงานไทยไปต่างประเทศเปน็ กรรมการและเลขานุการ มาตรา ๕๘ คณะกรรมการกองทนุ มีอานาจหน้าท่ีดังต่อไปนี้ (๑) เสนอคาแนะนาต่อรฐั มนตรีในการออกระเบียบตามมาตร ๕๒ และมาตรา ๕๓ (๒) ใหค้ าปรึกษาแนะนาแกอ่ ธบิ ดี นายทะเบียน และพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการปฏบิ ตั ิท่ี เกยี่ วกับกองทนุ ตามพระราชบัญญตั ินี้ มาตรา ๕๙ ใหร้ ัฐมนตรมี ีอานาจนาเงนิ กองทนุ ตามมาตรา ๕๒ (๒) (๓) (๔) และ (๕) ไปหา ดอกผลได้โดยการฝากออมทรัพยห์ รอื ฝากประจากับธนาคารที่เปน็ รัฐวิสาหกจิ หรือโดยการซอ้ื หลกั ทรัพย์ของ รฐั บาล มาตรา ๖๐ ให้อธิบดหี รอื ผ้ซู ่ึงอธิบดีมอบหมายมีอานาจและหน้าท่ใี นการเบกิ จ่ายเงินจาก กองทนุ เพื่อใชจ้ ่ายในกิจการตามมาตรา ๕๓ ๒. พระราชบญั ญัตจิ ัดหางานและค้มุ ครองคนหางาน แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๔๘/๑ คนหางานซ่ึงตนเองหรือนายจ้างหรือผู้รับอนุญาตจัดหางานเพื่อไปทางานใน ต่างประเทศได้สง่ เงนิ เข้ากองทนุ ตามมาตรา ๓๗ หรือคนหางานซ่ึงเดินทางไปทางานในต่างประเทศด้วยตนเอง ตามมาตรา ๔๘ ท่ีสมัครใจส่งเงินเข้ากองทุนตามอัตราที่กาหนดในกฎกระทรวงตามมาตรา ๓๗ ก่อนเดิน ทางออกนอกราชอาณาจักร ให้ได้รับสิทธิประโยชน์จากกองทุนตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีกาหนดตามมาตรา ๕๓ เป็นระยะเวลาตามสญั ญาจ้างท่คี นหางานนน้ั มอี ยู่ คนหางานซ่ึงยงั อยูห่ รือยังทางานอยใู่ นต่างประเทศให้ไดร้ บั สิทธปิ ระโยชนจ์ ากกองทุนตาม มาตรา ๕๓ เปน็ ระยะเวลาหา้ ปนี ับแต่วนั ครบกาหนดตามสัญญาจา้ ง หรือวันทส่ี ญั ญาจ้างสิ้นสุดลง คนหางานท่ีได้รบั สทิ ธิประโยชนจ์ ากกองทนุ ตามวรรคสอง หากไปทาสัญญาจา้ งกับนายจา้ ง ใหม่หรือนายจ้างเดมิ และประสงค์จะไดร้ ับสิทธิประโยชน์จากกองทุนตามวรรคสองต่อไป ให้คนหางานหรอื นายจา้ งสง่ เงนิ เข้ากองทุนภายในหกสิบวนั นับแต่วันทค่ี รบกาหนดตามวรรคสอง

๖ ๓. กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบญั ญตั จิ ัดหางานและคุ้มครอง คนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ๔. ระเบยี บกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยกิจการท่จี ะใชจ้ ่ายจากเงนิ กองทุนเพอ่ื ช่วยเหลือคนหางานไปทางาน ในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๕. ระเบียบกระทรวงแรงงาน วา่ ดว้ ยการบริหารกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๖. ระเบียบกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยการรับเงนิ การจา่ ยเงนิ และการเก็บรกั ษาเงินกองทนุ เพ่อื ชว่ ยเหลือ คนหางานไปทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙

บทที่ ๓ การวินจิ ฉยั การจา่ ยเงินกองทุนเพ่ือช่วยเหลอื คนหางาน ไปทางานในต่างประเทศ กฎหมายได้กาหนดให้จัดตั้งกองทุนข้ึนกองทุนหนึ่งในกรมการจัดหางาน เรียกว่า “กองทุน เพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การช่วยเหลือและสงเคราะห์สมาชิก กองทนุ และทายาท ใหไ้ ดร้ ับสิทธิประโยชน์และความช่วยเหลือกรณีต่างๆ ต้ังแต่ก่อนเดินทางไปทางานต่างประเทศ ขณะทางานในต่างประเทศ และหลงั จากเดนิ ทางกลับประเทศไทย อัตราการเป็นสมาชิกกองทุนแตกต่างกันตามกลุ่ม ประเทศท่ีจะเดินทางไปทางาน ที่กาหนดในกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) เช่น กลุ่มประเทศในทวีป ยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปออสเตรเลีย ประเทศญ่ีปุ่น ไต้หวัน และสาธารณรัฐเกาหลี เท่ากับ ๕๐๐ บาท หากเป็นประเทศอ่ืนๆ นอกจากที่กล่าวมาจะอยู่ท่ีอัตรา ๓๐๐ – ๔๐๐ บาท คุ้มครองตลอดระยะเวลาที่สมาชิก กองทุนทางานในต่างประเทศจนครบกาหนดตามสัญญาจ้างหรือวันท่ีสัญญาจ้างสิ้นสุดลง และหากยังทางานอยู่ใน ต่างประเทศ การคุ้มครองจะขยายต่อไปอีกห้าปี ซ่ึงตามกฎหมายจะบังคับให้คนหางานท่ีเดินทางไปทางาน ต่างประเทศโดยบริษัทจัดหางานทุกคนได้เป็นสมาชิกกองทุน เว้นแต่คนหางานท่ีเดินทางไปทางานโดยแจ้งการ เดนิ ทางด้วยตนเอง สามารถสมคั รเป็นสมาชิกกองทนุ ไดโ้ ดยสมัครใจ ๑. สทิ ธิประโยชน์ท่ีสมาชิกกองทนุ ฯ จะไดร้ ับการสงเคราะห์ สมาชิกกองทุนหรือทายาท สามารถย่ืนขอรับการสงเคราะห์ตามระเบียบกระทรวงแรงงาน ว่าด้วย กิจการที่จะใช้จ่ายจากเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และระเบียบ กระทรวงแรงงาน ว่าดว้ ยการบริหารกองทุนเพือ่ ชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ สรปุ ดังน้ี การสงเคราะห์ เงนิ สงเคราะห์ ๑. คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การใหส้ มาชิกกองทุนฯ ทีถ่ กู ทอดทง้ิ ในต่างประเทศได้เดินทางกลับประเทศไทย - ตามท่ีจ่ายจรงิ ไมเ่ กินคนละสามหมื่นบาท กรณจี า่ ย จนถึงภมู ิลาเนา เกนิ วงเงนิ ทีก่ าหนดให้อธบิ ดีมอี านาจสั่งจา่ ยเงินเพม่ิ เติม - คา่ พาหนะ คา่ อาหาร ค่าทพี่ กั ค่ารักษาพยาบาล และ ได้ตามความจาเปน็ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการ คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ที่จาเปน็ กองทุนเพอ่ื ชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ ๒. ใหก้ ารสงเคราะห์แก่สมาชกิ กองทนุ ฯ หรอื ทายาทโดย จ่ายเงินสงเคราะห์เป็นค่ารักษาพยาบาลเท่าท่ีจ่ายจริง ธรรมของสมาชิกกองทุนฯ ตามทบี่ ัญญตั ไิ ว้ในประมวล ไมเ่ กินคนละสามหม่นื บาท กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซ่งึ มคี า่ ใชจ้ า่ ยและเงิน ให้จา่ ยเป็นเงินสงเคราะห์คนละหน่งึ หม่ืนหา้ พันบาท สงเคราะห์ ดังน้ี ก. สมาชกิ กองทุนฯ ประสบอนั ตรายกอ่ นไปทางาน ในต่างประเทศ หรอื ในต่างประเทศ ข. สมาชิกกองทุนฯ เดนิ ทางกลับประเทศไทยเพราะ ถกู เลกิ จา้ งโดยมสี าเหตุมาจากการประสบอันตราย และเขา้ รับการรักษาตัวในโรงพยาบาลในตา่ งประเทศ

๘ การสงเคราะห์ เงินสงเคราะห์ ค. กรณปี ระสบอันตรายจนพิการหรือทพุ พลภาพใน ให้จา่ ยเปน็ เงินสงเคราะห์ ระหวา่ งท่เี ปน็ สมาชิกกองทุน ไมว่ ่าเหตกุ ารณท์ ่ีก่อให้เกิด - กรณีพิการคนละหน่ึงหมืน่ ห้าพันบาท อันตรายจนพิการหรอื ทพุ พลภาพจะเกิดขน้ึ ในประเทศ - กรณีทุพพลภาพคนละสามหมืน่ บาท หรือต่างประเทศ ใหจ้ ่ายเมอื่ สมาชิกกองทนุ กลับเข้ามา ในราชอาณาจักรแล้ว ง. สมาชิกกองทนุ ฯ ประสบปัญหาในตา่ งประเทศ ได้แก่ คา่ ใช้จ่ายตามทจ่ี ่ายจรงิ ไม่เกนิ คนละสามหม่ืนบาท รอการเข้าทางานใหม่ รอการสง่ กลับประเทศไทย รอ หากค่าใช้จา่ ยเกินวงเงนิ ที่กาหนดให้อธบิ ดมี อี านาจสงั่ การดาเนินคดี เปน็ เหตุใหส้ ูญเสียรายไดจ้ ากการทางาน จา่ ยเพ่มิ เติมได้ตามความจาเปน็ โดยคาแนะนาของ หรอื ไมไ่ ดร้ ับความเปน็ ธรรมจากนายจา้ ง โดยไม่ใช่ คณะกรรมการกองทนุ ฯ ความผิดของสมาชิกกองทุนฯ หรือกรณอี ่ืนในลักษณะ เดียวกัน ให้จ่ายเปน็ คา่ พาหนะ คา่ ทีพ่ กั คา่ อาหาร คา่ รกั ษาพยาบาล และค่าใช้จา่ ยอืน่ ที่จาเป็นใหแ้ กส่ มาชิก กองทุนฯ ระหว่างทอี่ ยู่ในตา่ งประเทศ จ. สมาชิกกองทุนฯ ตอ้ งเดนิ ทางกลับประเทศไทยกอ่ น ให้จ่ายเปน็ เงินสงเคราะหต์ ามกรณดี ังนี้ ส้นิ สุดการเป็นสมาชกิ กองทนุ เนื่องจากผลการตรวจ - คนละสองหมืน่ ห้าพนั บาท ถกู ส่งกลบั ภายใน สุขภาพจากสถานพยาบาลของประเทศน้นั พบวา่ หกเดือนแรกของการเปน็ สมาชกิ กองทนุ ฯ เป็นโรคต้องห้ามทางานตามข้อบังคบั ของประเทศนั้น - คนละหนึ่งหม่นื หา้ พันบาท ถกู ส่งกลบั หลงั จากทางาน เกนิ กวา่ หกเดือน ฉ. สมาชกิ กองทุนฯ ประสบปญั หาตอ้ งเดนิ ทางกลบั ใหจ้ ่ายเปน็ เงินชว่ ยเหลือบรรเทาความเดอื ดร้อน คนละ ประเทศไทยกอ่ นสน้ิ สดุ การเปน็ สมาชกิ กองทุน เนื่องจาก หนึง่ หมน่ื ห้าพันบาท ภยั สงครามหรอื ปญั หาความไมส่ งบหรือจากภัยธรรมชาติ หรือเกดิ โรคระบาด ซ่ึงทางการของประเทศน้นั ๆ ประกาศกาหนดแลว้ ซ. สมาชิกกองทุนฯ ถูกดาเนินคดีอาญาในความผิดซ่ึง ให้จ่ายเป็นค่าจ้างทนายความเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน มิใช่ หน่งึ แสนบาท เกิดจากการกระทาโดยเจตนาในตา่ งประเทศหรอื สมาชิกกองทุนฯ ดาเนนิ คดแี พ่งแก่นายจา้ ง เนอ่ื งจาก มิได้รับความเป็นธรรมจากการทางาน ซ่ึงเกดิ ข้นึ ใน ระหวา่ งทีเ่ ป็นสมาชิกกองทนุ ฯ ฌ. สมาชกิ กองทุนฯ เสยี ชีวิตใหจ้ า่ ยเงินสงเคราะห์ในการ - ประสบอนั ตรายกอ่ นไปทางานในต่างประเทศจนถงึ แก่ จัดการศพและเงินชว่ ยเหลือเพ่อื บรรเทาความ ชีวติ สงเคราะห์เหมาจ่ายจานวนสามหมนื่ บาท เดือดรอ้ นแกท่ ายาทโดยธรรมของสมาชิกกองทุนตาม - เสียชวี ติ ขณะกลับมาประเทศไทย สงเคราะห์เหมาจา่ ย ที่บญั ญตั ไิ ว้ในประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ จานวนสามหมน่ื บาท - ประสบอนั ตรายกอ่ นไปทางานในตา่ งประเทศ - เสยี ชีวติ ในตา่ งประเทศ สงเคราะห์ทายาทเหมาจา่ ยจานวนสี่ จนถงึ แกช่ วี ติ หม่ืนบาท และค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศพในตา่ งประเทศ - เสยี ชวี ิตขณะกลบั มาประเทศไทย ให้จ่ายเทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ ไมเ่ กินส่ีหมื่นบาท - เสยี ชีวติ ในตา่ งประเทศ

๙ กรณีมีความจาเป็นและมีเหตุอันสมควรที่จะต้องสงเคราะห์แก่สมาชิกกองทุน นอกเหนือจาก ข้างต้น ให้อธิบดมี ีอานาจสง่ั จ่ายเงินกองทนุ ฯ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางาน ไปทางานในตา่ งประเทศ ๒. ระยะเวลาการคุ้มครองสมาชกิ กองทุน เมื่อคนหางานสมัครเป็นสมาชิกกองทุนฯ โดยจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ตามอัตราท่ีกาหนดแล้ว จะอยู่ในการคุ้มครองของกองทุนฯ ตามระยะเวลาที่กาหนดในสัญญาจ้าง และเม่ือทางานครบกาหนดตาม สัญญาจ้างหรือวันท่ีสัญญาจ้างสิ้นสุดลง หากคนหางานยังอยู่หรือยังทางานอยู่ในต่างประเทศ จะได้รับการ คุ้มครองจากกองทุนฯ ต่อไปอีก ๕ ปี นับแต่วันครบกาหนดตามสัญญาจ้าง หรือวันที่สัญญาจ้างส้ินสุดลงตาม พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.๒๕๒๘ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๔๘/๑ วรรคหนงึ่ และวรรคสอง ระเบียบกระทรวงแรงงาน วา่ ดว้ ยการบรหิ ารกองทนุ เพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานใน ตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ขอ้ ๖ กาหนดใหผ้ ทู้ ่ีประสงค์รับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ ยืน่ คารอ้ งขอรบั การ สงเคราะห์ภายใน ๒ ปี นบั แต่วนั เกดิ สทิ ธิ (คอื วันที่ประสบอันตราย ประสบอบุ ัตเิ หตุ เสยี ชวี ิต หรือวนั ท่เี ขา้ รับ การตรวจสขุ ภาพและแพทย์ระบวุ ่าเป็นโรคต้องหา้ ม หรือพิการ หรือทุพพลภาพ หรือวนั ท่ีเดินทางกลับประเทศ ไทย) ๓. การยนื่ คารอ้ งขอรบั การสงเคราะห์จากกองทนุ ฯ การยื่นคาร้องขอรับการสงเคราะห์จากกองทุนเพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานใน ต่างประเทศทุกกรณี สามารถยืน่ คาร้องเมื่อคนหางานเดินทางกลบั ประเทศไทยแล้ว ณ สถานที่ดังนี้ ๑. สานักงานจดั หางานจงั หวัดตามภมู ลิ าเนา ๒. กองบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ กลมุ่ งานกองทุนเพ่อื ช่วยเหลือคนหางานไป ทางานในตา่ งประเทศ หรือสานักงานจดั หางานกรุงเทพมหานครพน้ื ที่ ๑-๕ กรณีสมาชิกกองทุนฯ ขอรับความช่วยเหลือจากการประสบปัญหาในต่างประเทศ ณ สานักงาน แรงงานไทยในต่างประเทศ หรือสถานเอกอัครราชทูตไทยหรือสถานกงสุลใหญ่ในประเทศที่สมาชิกกองทุนฯ ทางาน อยู่ ๔. การขอรับเงนิ สงเคราะหจ์ ากกองทนุ เพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ มขี ้นั ตอนการดาเนนิ การ ดังนี้ ขน้ั ตอนท่ี ๑ การยน่ื /รบั คาร้องขอรบั การสงเคราะห์ ๑. สมาชิกกองทุน /ทายาท /ผู้รับมอบอานาจ เขียนคาร้องขอรับการสงเคราะห์จากกองทุน เพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ ตามแบบท่ีอธิบดีกาหนด โดยกรอกรายละเอียดชื่อ-ท่ีอยู่ เลขท่ี สมาชิกกองทุนฯ การเดินทางไปทางานต่างประเทศ ช่ือ-ที่อยู่นายจ้างในต่างประเทศ ประเภทการเดินทาง ระบุกรณีทปี่ ระสงคข์ อรับการสงเคราะห์ฯ ๒. บันทึกการสอบปากคาเพื่อขอรบั การสงเคราะหเ์ งินกองทุนฯ ๑) กรอกรายละเอียดข้อมูลของผู้ยื่นคาร้องและหากเป็นทายาท หรือผู้รับมอบอานาจให้ ระบคุ วามเก่ียวข้องกับสมาชกิ กองทุนฯ ๒) ชอื่ -ทอี่ ยู่นายจา้ งในต่างประเทศ ระยะเวลาการจ้างงาน บริษทั จดั หางานผู้จดั ส่ง

๑๐ การบันทึกปากคา ควรสอดคล้องกบั หลกั ฐานประกอบกรณีทข่ี อรบั การสงเคราะห์ เชน่ ๑) กรณถี ูกทอดทิ้งในตา่ งประเทศ ดาเนนิ การเช่นเดียวกับกรณีประสบปญั หาใน ต่างประเทศ ดังนี้ เป็นกรณีขอรับการสงเคราะห์เป็นค่าพาหนะ ค่าอาหาร ค่าท่ีพัก และค่าใช้จ่ายอื่นที่ จาเป็น ซึ่งเป็นหลักฐานท่ีจ่ายจริง จึงต้องมีความชัดเจน ต้องบันทึกการสอบปากคาให้ละเอียดโดยใช้แบบ บันทึกคาให้การเช่นเดียวกับการร้องทุกข์ขอคืนเงินค่าบริการและค่าใช้จ่ายจากบริษัทจัดหางาน (บันทึกคาให้การ แบบเปิด) ๒) กรณีประสบอันตรายก่อนไปทางานในต่างประเทศ หรือในต่างประเทศ ต้องระบุวัน เดือนปีที่ประสบเหตุ ลักษณะและรายละเอียดการเกิดเหตุ และผลของการเกิดเหตุ ค่าใช้จ่ายในการ รกั ษาพยาบาลจะตอ้ งไม่มหี น่วยงานใดรับผิดชอบ ๓) กรณีถูกเลิกจ้าง โดยมีสาเหตุมาจากการประสบอันตรายและเข้ารับการรักษาตัวที่ โรงพยาบาลในต่างประเทศ ต้องระบวุ นั เดอื นปที ่ปี ระสบเหตุ ลักษณะและรายละเอียดการเกิดเหตุ และผลของ การเกิดเหตุ เพ่ือความชัดเจนต้องมีสาเนาสัญญาจ้าง ใบตรวจโรคของสถานพยาบาลในต่างประเทศ เอกสารท่ี แสดงวา่ ถูกเลิกจ้างหรอื ถูกส่งตัวกลับประเทศไทยอันเน่ืองมาจากสาเหตดุ งั กลา่ ว ๔) กรณีประสบอันตรายหรืออุบัติเหตุจนพิการหรือทุพพลภาพ ต้องระบุวันเดือนปีท่ี ประสบเหตุ ลักษณะและรายละเอียดการเกิดเหตุ และผลของการเกิดเหตุ เพื่อความชัดเจนต้องมีแบบ ประเมนิ ผลความสูญเสยี สมรรถภาพของร่างกายหรอื อวยั วะ ๕) กรณตี รวจสุขภาพไม่ผ่าน ต้องระบุรายละเอียดการตรวจสุขภาพก่อนเดินทางไปทางานใน ต่างประเทศ ผลการตรวจสุขภาพในต่างประเทศ และการตรวจสุขภาพเมื่อเดินทางกลับถึงประเทศไทย ๖) กรณปี ระสบปัญหาจากภยั สงครามหรอื ความไม่สงบในต่างประเทศหรือโรคระบาดหรือภัย ธรรมชาติ เป็นเหตุให้ต้องเดินทางกลับประเทศไทย ต้องบันทึกปากคาให้ละเอียดโดยใช้แบบบันทึกคาให้การ เช่นเดียวกับการร้องทกุ ข์ขอคืนเงนิ ค่าบรกิ ารและคา่ ใชจ้ ่ายจากบรษิ ัทจดั หางาน (บนั ทึกคาให้การแบบเปดิ ) ๗) กรณีการเสยี ชวี ติ ของสมาชิกกองทุนฯ ไดแ้ ก่ เสียชีวติ เน่ืองจากประสบอันตราย กอ่ นไปทางานในต่างประเทศ เสียชีวติ ในต่างประเทศ หรือเสยี ชีวิตขณะกลับมาประเทศไทย (ต้องมี RE – ENTRY VISA) - คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศพในต่างประเทศ กรณีท่ไี ม่มผี รู้ ับผิดชอบ ตอ้ งแนบหลักฐาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศพในตา่ งประเทศ เปน็ ใบเสรจ็ รับเงินหรือหลักฐานการจา่ ยเงินฉบับจรงิ - ระบทุ ายาทโดยธรรมของสมาชิกกองทุนฯ ลาดับทายาทตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ - เงนิ ทดแทนจากต่างประเทศ ๘) กรณีถกู ดาเนนิ คดีอาญา ในความผดิ ซง่ึ มิใชเ่ กดิ จากการกระทาโดยเจตนาใน ตา่ งประเทศหรือดาเนินคดีแพ่งแกน่ ายจา้ ง เน่ืองจากมไิ ด้รับความเปน็ ธรรมจากการทางาน ตอ้ งสอบปากคา รายละเอียดเก่ยี วกับความช่วยเหลอื ของหนว่ ยงานในตา่ งประเทศ ในเรื่องของการจ้างทนายความ และ ค่าใช้จ่ายในการดาเนนิ การ การทางาน ระยะเวลาทเี่ ริ่มประสบปัญหา (ซ่ึงจะต้องสอดคล้องกับการใชเ้ งินใน ตา่ งประเทศ) ๓. สาเนาเอกสารหลักฐานประกอบคารอ้ ง ตอ้ งลงลายมอื ช่ือรับรองสาเนาถูกตอ้ งทุกหน้า

๑๑ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ขิ องเจา้ หนา้ ท่ีเก่ียวกบั การรบั คาร้องขอรบั การสงเคราะห์จากกองทุนฯ ๑. การปฏบิ ัติงานของเจา้ หนา้ ที่สานักงานจดั หางานจังหวัด / สานกั งานจัดหางาน กรุงเทพมหานครพ้นื ที่ ๑) การรับคาร้องขอรับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ ควรต้องสอบถามผู้ร้องให้ทราบถึงความ เป็นสมาชิกกองทุนฯ พร้อมตรวจสอบสถานภาพการเป็นสมาชิกกองทุนฯ จึงรับคาร้อง ถ้าไม่ใช่ต้องแนะนาและ อธิบายให้เข้าใจถึงเหตุที่ไม่รับ หรือคืนคาร้อง แต่ถ้าผู้ย่ืนคาร้องยืนยันจะขอยื่นคาร้องเจ้าหน้าท่ีสามารถรับได้ และสง่ ตอ่ กองบรหิ ารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กลุ่มงานกองทุนเพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ พจิ ารณาตอ่ ไป ๒) บนั ทึกปากคาให้มีข้อมูลทีช่ ัดเจนเพื่อให้ทราบรายละเอยี ดเกี่ยวกบั คาร้อง และขอ หลักฐานเพิ่มเติมให้ไดส้ ่วนทเี่ ก่ียวข้องกรณีการขอรับการสงเคราะห์ เช่น เสยี ชวี ิต ต้องมใี บมรณบัตรชัดเจน เป็นต้น ๓) ลงทะเบียนคาร้องทุกข์ในสมุดคาร้องเก่ยี วกบั กองทุนฯ ๔) ส่งคาร้อง/บันทึกการสอบปากคาพรอ้ มเอกสารประกอบให้กองบริหารแรงงานไทยไป ตา่ งประเทศ กลุ่มงานกองทุนเพอ่ื ชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ ๒. การปฏิบัติงานของเจา้ หนา้ ทกี่ องบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กล่มุ งานกองทุนเพ่ือ ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ เม่ือเจ้าหน้าท่ีรับคาร้องขอรับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ ณ กองบริหารแรงงานไทยไป ต่างประเทศแล้ว ตอ้ งตรวจสถานภาพการเปน็ สมาชิกกองทุนฯ ถ้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จึงรับคาร้องพร้อมท้ังให้ผู้ ขอรับการสงเคราะห์ แจ้งความประสงค์ว่าจะรับเงินสงเคราะห์ที่กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศหรือ สานกั งานจัดหางานจงั หวัด (กรณไี ม่ไดเ้ ป็นสมาชิกกองทุน เจ้าหน้าท่ีชี้แจงให้ผู้ร้องเข้าใจ) และดาเนินการบันทึก ปากคาเก่ียวกับรายละเอียดในคาร้องรวมทั้งขอเอกสารประกอบคาร้องที่เก่ียวข้อง ดาเนินการเช่นเดียวกับ สานักงานจดั หางานจงั หวดั ในขอ้ ๑-๓ ขน้ั ตอนที่ ๒ การวนิ จิ ฉัยคาร้องขอรับการสงเคราะห์ ๑. เจา้ หน้าทีว่ นิ ิจฉัย ดาเนินการตรวจสอบหลักฐานเอกสารเพิ่มเติมจากเจา้ หน้าทร่ี ับคารอ้ ง ๒. หากยังขาดสาระสาคัญทชี่ ัดเจนที่จะวินจิ ฉัยให้การสงเคราะห์ เจา้ หน้าที่จะตอ้ งประสาน การตรวจสอบจากบุคคลหรอื หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง อาทิ สานักงานแรงงานไทยในต่างประเทศ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ บริษัทจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทางานในต่างประเทศ สมาชกิ กองทนุ หรือ ทายาท เป็นต้น เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณเี กิดเหตุในต่างประเทศ หรือหลักฐานท่ีขาดสาระสาคัญ ๓. พิจารณาเอกสารหรือหลกั ฐานใหส้ อดคล้องตามข้อเทจ็ จริง เปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวง แรงงานทเ่ี กี่ยวข้อง ๔. วินิจฉัยให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกกองทุน/ไม่สงเคราะห์ ๕. กรณีอธิบดมี ีข้อสั่งการหรือความเห็นใดๆ ให้นากลบั มาดาเนินการต่อ ต้องเรง่ ดาเนนิ การ เช่น ใหม้ หี ลักฐานเอกสารหรือสอบขอ้ เทจ็ จริงเพ่ิมเติม แลว้ นาเสนอใหม่เมื่อดาเนินการตามข้อส่ังการให้แล้วเสร็จ ๖. เสนอผลการพจิ ารณาตอ่ อธิบดีกรมการจดั หางาน พร้อมเหตุผล ดงั น้ี ๑) กรณที เี่ จ้าหน้าที่วินจิ ฉยั เสนออธบิ ดเี หน็ ชอบอนุมัติใหก้ ารสงเคราะห์ ตามระเบยี บขอ้ ใด ๒) กรณที ่ีวินจิ ฉัยไม่ใหก้ ารสงเคราะห์ เจา้ หนา้ ทผ่ี ้ดู าเนนิ การจะต้องปฏิบัตขิ ้ันตอนดังน้ี

๑๒ - จัดทาหนงั สือรายงานขอ้ เทจ็ จริงพรอ้ มเหตผุ ลทีไ่ ม่สามารถใหก้ ารสงเคราะห์ตาม ระเบียบ เสนออธิบดพี ิจารณา - แจง้ ผลการวนิ จิ ฉัยให้แก่สมาชิกกองทุนหรือผู้รอ้ งและหนว่ ยงานทส่ี ง่ คาร้องทราบผลการ พจิ ารณาวินจิ ฉยั พร้อมแจ้งสทิ ธใิ นการอุทธรณภ์ ายใน ๑๕ วนั นบั แตว่ ันทร่ี ับทราบผลการวินิจฉัย ข้ันตอนที่ ๓ การอนมุ ัติเบิก/จา่ ยเงินกองทนุ ฯ กรณีอธบิ ดเี ห็นชอบและอนมุ ตั ใิ ห้การสงเคราะหไ์ ดต้ ามทีเ่ สนอ เจา้ หน้าทว่ี ินิจฉัย ปฏิบตั ดิ ังน้ี ๑. จดั ทาคาขออนุมัติเบิกจา่ ยเงนิ กองทุนตามระเบียบที่กาหนดเสนออธิบดีอนุมัติ และแจง้ เปน็ หนงั สือใหผ้ ูร้ ้องทราบ แจ้งสานักงานจัดหางานจังหวัด / สานกั งานจัดหางานกรุงเทพมหานครพื้นที่ ดาเนนิ การ มอบเงนิ ใหผ้ รู้ ้อง พร้อมตอบรับให้กลมุ่ งานกองทุนฯ ทราบผล โดยมีหลักฐานใบสาคญั การรับเงนิ และสาเนาบตั ร ประจาตัวประชาชน แนบมาด้วยทุกรายการ ๒. เบิกจา่ ยเงินกองทนุ ฯ โดยจดั ทาต๋ัวแลกเงินให้ผูร้ ้องหรือทายาทแต่ละราย และเจ้าหน้าที่ ลงบัญชตี ามระบบเงินกองทนุ ฯ บันทึกในสมุดรายวนั จา่ ยเงนิ ๓. จดั ส่งต๋วั แลกเงินใหผ้ ู้ร้องหรอื ทายาท ไปยังหนว่ ยงานท่ีผู้ร้องประสงค์จะรับเงิน ๔. ผูร้ อ้ งมารับเงินท่ีสานกั งานจดั หางานจังหวดั หรือกองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ เจา้ หนา้ ทม่ี อบเงินใหผ้ รู้ ้องพร้อมตอบรับให้กลุ่มงานกองทนุ ฯ ทราบผล โดยมหี ลักฐานใบสาคัญการรบั เงินและสาเนา บตั รประจาตัวประชาชนแนบมาดว้ ยทุกรายการ ขั้นตอนท่ี ๔ การอทุ ธรณ์คาวินิจฉยั ในกรณีท่ีคนหางานหรือทายาทไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยไม่ให้การสงเคราะห์จากกองทุนฯ สามารถดาเนินการ ได้ดังน้ี ๑. คนหางานหรอื ทายาทยืน่ อทุ ธรณ์คาสง่ั ไมใ่ ห้การสงเคราะห์ โดยทาเป็นหนังสือระบุ ข้อโต้แย้ง พร้อมข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายท่ีอ้างอิงประกอบย่ืนต่ออธิบดีกรมการจัดหางาน ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ท่ไี ด้รบั หนงั สือแจ้งหรอื ทราบผลการพจิ ารณาไมส่ งเคราะห์ทางไปรษณีย์ หรือย่ืนที่สานักงานจัดหางาน จังหวัด สานักงานจดั หางานกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี หรือกองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ ๒. กองบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ รวบรวมเอกสารหลักฐานการอุทธรณ์และสง่ เรื่อง ให้กองนิตกิ าร กรมการจัดหางานเพื่อพิจารณา ๓. กองนติ ิการพจิ ารณาคาอุทธรณ์ประกอบข้อเท็จจรงิ เอกสารหลกั ฐานและขอ้ กฎหมาย ๓.๑ กรณีเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ กองนิติการเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรมการจัดหางาน เห็นชอบ และเพิกถอนคาสั่งไม่ให้การสงเคราะห์ แล้วส่งเรื่องให้กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ เพ่ือ จัดทาคาขออนมุ ตั เิ บิกเงนิ สงเคราะหต์ ามระเบียบต่อไป ๓.๒ กรณไี ม่เหน็ ด้วยกบั คาอุทธรณ์ กองนิติการเสนอความเห็นตอ่ อธิบดีกรมการจดั หางาน และรายงานผลการพิจารณาต่อปลดั กระทรวงแรงงาน เพ่อื พิจารณาคาอุทธรณต์ อ่ ไป ๔. กองกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน พิจารณาคาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงาน หากมีเหตุจาเป็นให้ขยายระยะเวลาอีก ๓๐ วันนับแต่วันที่ครบกาหนด ดังกล่าว ๔.๑ กรณีเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ จะมีคาสั่งเพิกถอนคาสั่งไม่ให้การสงเคราะห์และส่ังให้ กรมการจัดหางานจ่ายเงินสงเคราะห์ตามระเบียบฯ โดยส่งเร่ืองให้กรมการจัดหางาน ผ่านกองนิติการ ซึ่งกอง นิติการจะแจ้งคาสงั่ ให้กองบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ เพ่ือดาเนินการตามคาส่ังตอ่ ไป

๑๓ ๔.๒ กรณีไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ จะแจ้งผลการพิจารณาต่อคนหางานหรือทายาท โดยตรง ๕. เมื่อคนหางานหรือทายาทได้รับแจ้งผลการพิจารณาแล้วน้ัน หากไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัย อุทธรณ์ มีสิทธิยื่นคาฟ้องเป็นหนังสือต่อศาลปกครองหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปยังศาลปกครองภายใน ๙๐ วนั นับแตว่ ันท่ีรบั แจ้งหรอื ทราบคาวนิ ิจฉัยอทุ ธรณ์

กระบวนงานการขอรับเงินสงเคราะหจ์ ากกอง การยน่ื /รบั การวิน คารอ้ ง คาร้อ ขอรับ ขอร การสงเคราะห์ การสงเค ขน้ั ตอนท่ี ๑ ขน้ั ตอน หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ ขัน้ ตอนท่ี ๑, ๓, ๔ สานกั งานจดั หางานจังหว ข้นั ตอนที่ ๑, ๒, ๓, ๔ กองบริหารแรงงานไทยไป ขั้นตอนท่ี ๔ กองนิติการ กรมการจดั ห

งทนุ เพอ่ื ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ นจิ ฉยั การอนมุ ัติ การอุทธรณ์ อง เบิก/จา่ ยเงิน คาวินจิ ฉัย รับ คราะห์ กองทุนฯ นท่ี ๒ ขัน้ ตอนที่ ๓ ข้ันตอนท่ี ๔ วัด สานกั งานจัดหางานกรุงเทพมหานครพน้ื ที่ ปตา่ งประเทศ กลุ่มงานกองทนุ เพื่อชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ หางาน

การย่ืน/รบั คาร้อง คนหางาน ๑  ตร  บนั ทายาท  เขียนคารอ้ งขอรบั การสงเคราะห์ ตามแบบทอ่ี ธิบดกี าหนด เกี่ย ผรู้ บั มอบ - กรอกรายละเอียด ชอ่ื -ทอี่ ยู่ ใหไ้ อานาจ - เลขท่สี มาชิกกองทุน กา - การเดินทางไปทางาน  เอก - ช่ือ-ท่อี ยนู่ ายจ้างในต่างประเทศ ลา - ประเภทการเดินทาง - กรณีท่ขี อรบั การสงเคราะห์  กรณ - เจ  เอกสารหลกั ฐานประกอบคาร้อง -ค คนหางาน/ทายาท/  ขอห ผูร้ ับมอบอานาจ หนว่ ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ ข้นั ตอนท่ี ๒, ๓ สานักงานจดั หางานจังหว กองบริหารแรงงานไทยไป

งขอรบั การสงเคราะห์ ๒ ๓ รวจสถานภาพการเปน็ สมาชิกกองทุน  ลงทะเบียนรบั คาร้องทกุ ข์ใน นทึกการสอบปากคาให้มขี อ้ มลู ชัดเจน สมุดคาร้องเกี่ยวกับกองทนุ ฯ ยวกับคารอ้ งและขอหลกั ฐานเพม่ิ เตมิ ไดส้ ่วนที่เกีย่ วข้องกบั กรณีการขอรบั  สง่ คารอ้ ง และบนั ทึกการ ารสงเคราะหฯ์ สอบปากคา พร้อมเอกสาร กสารหลักฐานประกอบคารอ้ ง ตอ้ งลง หลักฐานประกอบเพื่อ ายมือชื่อรบั รองสาเนาถูกต้องทกุ หน้า พิจารณาวนิ จิ ฉยั เจ้าหนา้ ที่ เจา้ หน้าท่ี ณที ไี่ มไ่ ด้เป็นสมาชกิ กองทนุ หรือส้นิ สดุ ความคุ้มครองของกองทุนฯ จา้ หนา้ ทีช่ ี้แจงและอธิบายใหค้ าแนะนาใหผ้ ู้รอ้ งเขา้ ใจ คืนเร่อื ง หลักฐานเพ่ิมเติม วัด สานักงานจดั หางานกรงุ เทพมหานครพนื้ ที่ และ ปต่างประเทศ กลุ่มงานกองทนุ เพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ

การวนิ ิจฉัยคารอ้ ๑ ๓ ๓.๑  พจิ ารณาคารอ้ งขอรบั การ พิจารณา ตรวจสอบข้อเทจ็ จร สงเคราะห์ วินิจฉัย การสอบปากคา และ ประกอบวา่ สอดคลอ้  ตรวจสอบความถูกต้อง ตามระเบยี บหรอื ไม่ ของหลกั ฐานเอกสาร จากเจา้ หนา้ ท่ีรบั คารอ้ ง ๒ หากยังขาดสาระสาคญั ท่ชี ัดเจน  ประสานตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ  ตรวจสอบสถานภาพ การเปน็ สมาชกิ กองทุน ท่เี กยี่ วข้อง อาทิ - สานกั งานแรงงานไทยในตา่  อายคุ วาม การย่ืน - สถานกงสุลใหญ่ กรมการ คาร้องขอรับการ - สานักงานจัดหางานจังหวัด สงเคราะห์ภายใน - บริษัทจดั หางาน/สมาชิกกอ ๒ ปี นับแต่วนั เกิดสิทธิ์ กองบรหิ ารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ ขั้นตอนท่ี ๑ – ๔ สานกั งานจดั หางานจงั หวดั สานกั งานจ ขัน้ ตอนท่ี ๓.๒, ๔.๒ สานกั งานแรงงานไทยในต่างประเทศ สถ ข้ันตอนท่ี ๓.๒

องขอรับการสงเคราะห์ ๑ ๔ สงเคราะห์ ๔.๑ ริงจากบันทึก พิจารณา เสนออนมุ ตั ิ ะหลักฐาน อนมุ ัติ/ไมอ่ นุมตั ิ ให้การสงเคราะห์ องและเป็นไป ใหก้ ารสงเคราะห์ และเบกิ จ่าย ตามระเบียบ ๔.๒ ๓.๒ ไมส่ งเคราะห์  หนงั สือแจ้งผลการ วินิจฉยั ใหแ้ กผ่ ู้รอ้ งและ นในการพจิ ารณาจะต้องเรยี กเอกสารเพิ่มเติม สานกั งานจัดหางาน งและหลักฐานเพ่ิมเติมจากบุคคลหรอื หน่วยงาน จงั หวดั / สานกั งานจัดหางาน างประเทศ/สถานเอกอคั รราชทูตไทย กรุงเทพมหานครพ้นื ท่ี รกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ ทราบพรอ้ มแจ้งสิทธิใน ด/สานกั งานจัดหางานกรุงเทพมหานครพนื้ ที่ การอทุ ธรณ์ภายใน ๑๕ องทนุ /ทายาท วัน นบั แต่วนั ท่รี ับทราบ ผลการวนิ จิ ฉัย กลมุ่ งานกองทุนเพอ่ื ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ จดั หางานกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี ถานเอกอัครราชทตู ไทย/สถานกงสุลใหญ่ กรมการกงสลุ กระทรวงการต่างประเทศ

การอนมุ ัตเิ บิก อธิบดี ๑  การเบ โดยจัด P เหน็ ชอบ  ทาคาขออนมุ ัติเบกิ จา่ ยเงนิ ผรู้ ้องห ใหก้ ารสงเคราะห์ กองทนุ ฯ ตามระเบียบทีก่ าหนด  ลงบัญ ตามระเบียบ  แจ้งเป็นหนังสือใหผ้ รู้ ้องทราบ เงินกอ หรือ - บนั ราย  แจง้ ให้สานกั งานจัดหางาน จังหวดั /สานกั งานจัดหางาน กรุงเทพมหานครพ้ืนที่ ดาเนนิ การมอบเงนิ ใหผ้ ูร้ อ้ ง พร้อมตอบรับใหก้ ล่มุ งาน กองทนุ ฯ ทราบผล โดยมี หลกั ฐานใบสาคญั การรบั เงนิ และสาเนาบตั รประจาตัว ประชาชน แนบมาด้วย ทุกรายการ หน่วยงานท่รี บั ผดิ ชอบ ขน้ั ตอนที่ ๑ – ๓ กองบริหารแรงงานไทยไป ขัน้ ตอนที่ ๔ สานกั งานจัดหางานจังหว

ก/จ่ายเงินกองทุนฯ ๒ ๓ ยื่น ณ กรต. คนหางาน จา่ ยเงนิ ทายาท บกิ จา่ ยเงินกองทุนฯ การจัดสง่ ตั๋วแลกเงิน ดทาต๋วั แลกเงนิ ให้ ใหผ้ ูร้ อ้ งหรอื ทายาท หรือทายาท . ผู้รบั มอบ ญชตี ามระบบ อานาจ องทนุ ฯ ๔ นทกึ ในสมุด ยนื่ ณ สจจ./สจก. ยวนั จา่ ยเงนิ  สานักงานจดั หางานจงั หวดั จา่ ยเงนิ สานักงานจัดหางาน กรุงเทพมหานครพน้ื ท่ี  ส่งหลักฐานการรบั เงนิ ให้ กรต. กลุ่มงานกองทุนฯ ปตา่ งประเทศ กลุ่มงานกองทุนเพอื่ ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ วดั สานกั งานจัดหางานกรงุ เทพมหานครพน้ื ท่ี

คนหางาน/ทายาท ๑ การอทุ ธรณ หรือ  คนหางานหรือทายาท ๒ ผู้รบั มอบอานาจ ยนื่ อุทธรณ์คาสั่งไมใ่ ห้ ทราบผล การสงเคราะห์ โดยทา  กรต. รวบรวมเอก เปน็ หนังสอื ภายใน ๑๕ หลักฐานการอุทธ การพิจารณา วัน ทางไปรษณีย์ หรอื สจจ./สจก.หรอื กรต.  ส่งให้กองนิติการ การไม่สงเคราะห์ พิจารณา ๓.๒ รายง หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ขนั้ ตอนท่ี ๑ ๔.๑ เห ขน้ั ตอนที่ ๑, ๒, ๓ และให้ ข้ันตอนที่ ๓ ขัน้ ตอนท่ี ๔ สานกั งานจัดหางานจงั หวัด สานกั งานจ กองบรหิ ารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ ก กองนิติการ กรมการจัดหางาน กองกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงแ

ณค์ าวินจิ ฉยั ๓ จา่ ยเงนิ คนหางาน/ทายาท สงเคราะห์ รับเงนิ สงเคราะห์พรอ้ ม กสาร กองนติ ิการ ธรณ์ พจิ ารณาคาอุทธรณ์ ลงนามในใบสาคญั การรบั เงนิ ๓.๑ เห็นด้วยกบั คาอทุ ธรณ์จะ เสนออธบิ ดี ยกเลิกคาสัง่ และให้ ๕ กรต. เบกิ จ่ายเงินตามระเบียบ คนหางาน/ทายาท เสนอความเหน็ ยกอทุ ธรณ์ เสนออธิบดี ยืน่ คาฟ้องตอ่ ศาลปกครอง งานปลัดกระทรวงแรงงาน พิจารณา ภายใน ๙๐ วนั ๔ ไม่จ่ายเงินสงเคราะห์ กองกฎหมาย สป.รง. พิจารณาคาอทุ ธรณ์ ๔.๒ แจ้งผลการพจิ ารณาต่อ แล้วเสรจ็ ภายใน ๓๐ วัน คนหางานหรือทายาทโดยตรง ยึดตามคาสั่งไม่สงเคราะห์ ห็นดว้ ยกบั คาอุทธรณ์ เสนอปลดั ทรวงแรงงาน ยกเลิกคาสง่ั กรมการจัดหางาน เบิกจ่ายเงนิ ตามระเบยี บ จดั หางานกรงุ เทพมหานครพื้นท่ี กลุ่มงานกองทนุ เพอื่ ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ แรงงาน กระทรวงแรงงาน

บทที่ ๔ บทสรปุ ๑. ความสาคัญของปัญหา กองทุนเพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ เป็นหน่วยงานในสังกัดกองบริหาร แรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติจัดหางานและ คุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ มีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือช่วยเหลือคนหางานในการจัดการให้คนหางานซึ่งถูก ทอดทิ้งอยู่ในต่างประเทศได้เดินทางกลับประเทศไทย เพ่ือให้การสงเคราะห์แก่คนหางานซึ่งไปหรือจะไป ทางานในต่างประเทศหรอื ทายาทโดยธรรมของสมาชกิ กองทนุ ฯ โดยที่กฎหมายกาหนดให้คนหางานต้องส่งเงิน เขา้ เปน็ สมาชิกกองทนุ เพียงครั้งเดยี วต่อหนึ่งสญั ญาจ้าง และเมอื่ ครบสัญญาจ้างแล้วหากประสงค์ทางานหรืออยู่ ในต่างประเทศ กฎหมายให้การคุ้มครองสมาชิกให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายกาหนดต่อไปอีก ๕ ปี นับวา่ เปน็ ประโยชนแ์ กค่ นหางานท่ีเปน็ สมาชิกอย่างมาก กระบวนการ ขั้นตอนการให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกกองทุนฯ นับว่าเป็นภารกิจหลักท่ีมี ความสาคัญต่อสมาชิกกองทุนฯ เพ่ือประกอบการวินิจฉัยให้การสงเคราะห์แก่คนหางานอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนหางาน โดยบุคลากรของภาครัฐผู้ปฏิบัติงานมีทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็นเหตุการณ์ปกติท่ีมีการโยกย้าย เล่ือนตาแหน่ง หรือสับเปล่ียนหมุนเวียน อาจทาให้การปฏิบัติงานด้าน การวินิจฉัยเพื่อให้การสงเคราะห์แก่คนหางานบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจท่ีเพียงพอหรือเข้าใจ คลาดเคล่ือน ไม่สอดคล้องกับข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่งผลให้การปฏิบัติงานไม่เป็นตามกฎหมาย กาหนด กองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศได้จัดทาการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง “แนวปฏิบัติงานการวินิจฉัยคาร้องเพื่อขอรับการสงเคราะห์และจ่าย เงินกองทุน” เพ่ือให้เป็นองค์ความรู้แก่บุคลากรกรมการจัดหางานผู้ปฏิบัติงานเก่ียวข้องกับกองทุนฯ ท้ังใน ปัจจบุ ันและอนาคตได้มีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง แม้ว่าเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติจะมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ปฏิบัติหน้าที่ เมื่อมีแนวปฏิบัติท่ีชัดเจนทาให้สามารถมีความเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้การ ช่วยเหลอื สมาชิกกองทนุ ฯ ไดร้ บั ความสะดวก รวดเรว็ และมคี วามพงึ พอใจในการรบั การบริการ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรผู้ปฏิบัตงิ านทเ่ี กีย่ วข้องกับกองทุนฯ ไดม้ ีความรคู้ วามเข้าใจท่ีถกู ต้องตาม กฎหมายและองค์ประกอบต่างๆ ในการประกอบการวนิ จิ ฉัยสงเคราะห์คนหางาน ๒. เพ่ือใหบ้ คุ ลากรผู้ปฏบิ ตั งิ านทีเ่ กยี่ วข้องกับกองทุนฯ สามารถปฏิบัตงิ านใหก้ ารวินิจฉัยและ สงเคราะหแ์ ก่คนหางานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกนั ๓. เพ่อื ใหค้ นหางานเหน็ ความสาคัญของการเป็นสมาชกิ กองทนุ ฯ และไดร้ บั สิทธปิ ระโยชน์ เมือ่ ประสบปัญหาหรอื ประสบอนั ตรายในการไปทางานต่างประเทศ ๓. ข้อกฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง ๑. พระราชบญั ญัตจิ ดั หางานและคมุ้ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ๒. พระราชบัญญัติจดั หางานและคุ้มครองคนหางาน แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๓. กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบญั ญัตจิ ดั หางาน และคมุ้ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘

๒๐ ๔. ระเบียบกระทรวงแรงงาน ว่าดว้ ยกจิ การท่จี ะใช้จ่ายจากเงินกองทุนเพื่อชว่ ยเหลือ คนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๕. ระเบยี บกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยการบรหิ ารกองทนุ เพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางาน ในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๖. ระเบียบกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยการรับเงนิ การจา่ ยเงิน และการเกบ็ รักษาเงินกองทนุ เพ่อื ชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๔. กระบวนงานการขอรบั เงินสงเคราะห์จากกองทนุ เพ่อื ช่วยเหลอื คนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ ๑. ระยะเวลาการคมุ้ ครองสมาชกิ กองทนุ เมื่อคนหางานสมัครเป็นสมาชกิ กองทนุ ฯ โดยจ่ายเงนิ เขา้ กองทุนฯ ตามอัตราท่ีกาหนดแล้ว จะอยู่ในการคุ้มครองของกองทุนฯ ตามระยะเวลาท่ีกาหนดในสัญญาจ้าง และเมื่อทางานครบกาหนดตาม สัญญาจ้างหรือวันที่สัญญาจ้างส้ินสุดลง หากคนหางานยังอยู่หรือยังทางานอยู่ในต่างประเทศ จะได้รับการ คุ้มครองจากกองทุนฯ ต่อไปอีก ๕ ปี นับแต่วันครบกาหนดตามสัญญาจ้าง หรือวันท่ีสัญญาจ้างสิ้นสุดลงตาม พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.๒๕๒๘ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๔๘/๑ วรรคหน่งึ และวรรคสอง ระเบียบกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยการบริหารกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานใน ต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๖ กาหนดให้ผู้ที่ประสงค์รับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ ยื่นคาร้องขอรับการ สงเคราะห์ภายใน ๒ ปี นับแต่วันเกิดสิทธิ (คือวันที่ประสบอันตราย ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต หรือวันท่ีเข้ารับ การตรวจสขุ ภาพและแพทย์ระบวุ ่าเปน็ โรคต้องห้าม หรือพิการ หรือทุพพลภาพ หรือวันท่ีเดินทางกลับประเทศ ไทย) ๒. การยน่ื คารอ้ งขอรบั การสงเคราะหจ์ ากกองทุนฯ การย่ืนคาร้องขอรับการสงเคราะหจ์ ากกองทุนเพ่ือชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานใน ตา่ งประเทศทุกกรณี สามารถย่ืนคารอ้ งเม่ือคนหางานเดนิ ทางกลบั ประเทศไทยแลว้ ณ สถานทดี่ งั นี้ ๑. สานักงานจดั หางานจังหวดั ตามภมู ลิ าเนา ๒. กองบรหิ ารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กลุ่มงานกองทนุ เพ่ือชว่ ยเหลอื คนหางานไป ทางานในต่างประเทศ หรอื สานกั งานจดั หางานกรงุ เทพมหานครพื้นท่ี ๑-๕ กรณีสมาชิกกองทุนฯ ขอรับความช่วยเหลือจากการประสบปัญหาในต่างประเทศ ณ สานักงานแรงงานไทยในต่างประเทศ หรือสถานเอกอัครราชทูตไทยหรือสถานกงสุลใหญ่ในประเทศท่ีสมาชิก กองทนุ ฯ ทางานอยู่ ๓. การขอรับเงินสงเคราะห์จากกองทุนเพ่ือช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ มีขนั้ ตอนการดาเนินการ ดังน้ี  ขั้นตอนท่ี ๑ การย่นื /รบั คาร้องขอรับการสงเคราะห์  ขัน้ ตอนท่ี ๒ การวินิจฉยั คาร้องขอรับการสงเคราะห์  ข้นั ตอนท่ี ๓ การอนุมัตเิ บิก/จา่ ยเงนิ กองทุนฯ  ขน้ั ตอนท่ี ๔ การอุทธรณค์ าวินิจฉยั  ขนั้ ตอนท่ี ๑ การย่นื /รับคาร้องขอรบั การสงเคราะห์ ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ขิ องเจา้ หนา้ ทีเ่ กี่ยวกับการรบั คารอ้ งขอรบั การสงเคราะห์จากกองทนุ ฯ ๑. การปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หน้าที่สานักงานจัดหางานจังหวัด / สานกั งานจัดหางาน กรุงเทพมหานครพ้ืนท่ี

๒๑ ๑) การรับคาร้องขอรับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ ควรต้องสอบถามผู้ร้องใหท้ ราบถึงความ เป็นสมาชิกกองทุนฯ พร้อมตรวจสอบสถานภาพการเป็นสมาชกิ กองทุนฯ จงึ รบั คาร้อง ถา้ ไมใ่ ช่ต้องแนะนาและ อธบิ ายให้เขา้ ใจถึงเหตุท่ีไม่รับ หรอื คนื คาร้อง แต่ถา้ ผู้ย่ืนคาร้องยนื ยนั จะขอยนื่ คาร้องเจา้ หนา้ ท่ีสามารถรับได้ และสง่ ตอ่ กองบรหิ ารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กลุ่มงานกองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทางานในต่างประเทศ พจิ ารณาต่อไป ๒) บนั ทึกปากคาให้มขี ้อมูลท่ชี ัดเจนเพ่ือให้ทราบรายละเอยี ดเก่ียวกบั คาร้อง และขอ หลักฐานเพมิ่ เติมให้ได้ส่วนที่เกี่ยวข้องกรณกี ารขอรับการสงเคราะห์ เชน่ เสียชีวติ ต้องมใี บมรณบัตรชัดเจน เปน็ ตน้ ๓) ลงทะเบียนคาร้องทุกข์ในสมุดคาร้องเกี่ยวกับกองทนุ ฯ ๔) ส่งคาร้อง/บนั ทึกการสอบปากคาพร้อมเอกสารประกอบให้กองบริหารแรงงานไทยไป ต่างประเทศ กลุ่มงานกองทนุ เพือ่ ชว่ ยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ ๒. การปฏิบัติงานของเจ้าหนา้ ทกี่ องบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ กล่มุ งานกองทนุ เพ่ือ ช่วยเหลือคนหางานไปทางานในตา่ งประเทศ เม่ือเจ้าหน้าท่ีรับคาร้องขอรับการสงเคราะห์จากกองทุนฯ ณ กองบริหารแรงงานไทยไป ต่างประเทศแล้ว ตอ้ งตรวจสถานภาพการเปน็ สมาชิกกองทุนฯ ถ้าเป็นสมาชิกกองทุนฯ จึงรับคาร้องพร้อมท้ังให้ผู้ ขอรับการสงเคราะห์ แจ้งความประสงค์ว่าจะรับเงินสงเคราะห์ที่กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศหรือ สานกั งานจัดหางานจังหวดั (กรณไี ม่ได้เป็นสมาชิกกองทุน เจ้าหน้าท่ีชี้แจงให้ผู้ร้องเข้าใจ) และดาเนินการบันทึก ปากคาเกี่ยวกับรายละเอียดในคาร้องรวมท้ังขอเอกสารประกอบคาร้องท่ีเก่ียวข้อง ดาเนินการเช่นเดียวกับ สานักงานจัดหางานจงั หวัด ในข้อ ๑-๓  ขัน้ ตอนท่ี ๒ การวินิจฉยั คาร้องขอรับการสงเคราะห์ ๑. เจา้ หน้าที่วนิ จิ ฉัย ดาเนินการตรวจสอบหลักฐานเอกสารเพ่ิมเติมจากเจ้าหน้าทีร่ ับคารอ้ ง ๒. หากยงั ขาดสาระสาคญั ทชี่ ัดเจนทจ่ี ะวินจิ ฉัยให้การสงเคราะห์ เจ้าหนา้ ทจี่ ะต้องประสาน การตรวจสอบจากบุคคลหรอื หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง อาทิ สานักงานแรงงานไทยในตา่ งประเทศ กรมการกงสลุ กระทรวงการตา่ งประเทศ บริษัทจดั หางานให้คนหางานเพ่ือไปทางานในต่างประเทศ สมาชกิ กองทุนหรือ ทายาท เป็นตน้ เพ่ือตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีเกดิ เหตุในต่างประเทศ หรือหลักฐานที่ขาดสาระสาคัญ ๓. พจิ ารณาเอกสารหรือหลักฐานใหส้ อดคลอ้ งตามข้อเท็จจริง เปน็ ไปตามระเบียบกระทรวง แรงงานท่ีเก่ียวข้อง ๔. วินิจฉัยให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกกองทุน/ไมส่ งเคราะห์ ๕. กรณีอธิบดีมีข้อส่ังการหรือความเห็นใดๆ ใหน้ ากลบั มาดาเนินการต่อ ต้องเรง่ ดาเนนิ การ เชน่ ใหม้ ีหลักฐานเอกสารหรือสอบขอ้ เทจ็ จริงเพิ่มเติม แลว้ นาเสนอใหม่เมื่อดาเนินการตามข้อส่ังการให้แล้วเสร็จ ๖. เสนอผลการพิจารณาตอ่ อธบิ ดกี รมการจัดหางานพร้อมเหตุผล ดงั น้ี ๑) กรณที เ่ี จา้ หนา้ ทว่ี ินจิ ฉยั เสนออธบิ ดเี หน็ ชอบอนุมัติให้การสงเคราะห์ ตามระเบียบขอ้ ใด ๒) กรณีท่ีวนิ จิ ฉยั ไมใ่ ห้การสงเคราะห์ เจ้าหน้าท่ีผู้ดาเนินการจะต้องปฏิบตั ิขน้ั ตอนดังน้ี - จดั ทาหนงั สอื รายงานขอ้ เท็จจรงิ พร้อมเหตผุ ลท่ไี มส่ ามารถให้การสงเคราะหต์ าม ระเบียบ เสนออธิบดีพิจารณา - แจง้ ผลการวินิจฉัยให้แก่สมาชกิ กองทนุ หรือผู้ร้องและหน่วยงานท่ีสง่ คาร้องทราบผลการ พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั พร้อมแจ้งสทิ ธใิ นการอทุ ธรณภ์ ายใน ๑๕ วนั นับแต่วันท่ีรับทราบผลการวินิจฉัย

๒๒  ขัน้ ตอนที่ ๓ การอนุมตั เิ บิก/จา่ ยเงินกองทุนฯ กรณีอธบิ ดีเห็นชอบและอนมุ ตั ใิ ห้การสงเคราะหไ์ ด้ตามทเ่ี สนอ เจา้ หนา้ ทวี่ นิ ิจฉยั ปฏบิ ตั ิดังน้ี ๑. จัดทาคาขออนุมัตเิ บิกจ่ายเงนิ กองทุนตามระเบียบที่กาหนดเสนออธิบดีอนมุ ตั ิ และแจง้ เปน็ หนังสือใหผ้ ู้ร้องทราบ แจ้งสานกั งานจัดหางานจงั หวัด / สานักงานจัดหางานกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี ดาเนินการ มอบเงนิ ให้ผูร้ อ้ ง พร้อมตอบรับให้กลุ่มงานกองทุนฯ ทราบผล โดยมีหลกั ฐานใบสาคญั การรบั เงนิ และสาเนาบัตร ประจาตวั ประชาชน แนบมาด้วยทุกรายการ ๒. เบิกจ่ายเงนิ กองทุนฯ โดยจัดทาต๋ัวแลกเงินให้ผ้รู ้องหรือทายาทแต่ละราย และเจา้ หน้าท่ี ลงบญั ชตี ามระบบเงินกองทุนฯ บันทึกในสมุดรายวันจ่ายเงนิ ๓. จดั ส่งตว๋ั แลกเงินใหผ้ รู้ ้องหรอื ทายาทไปยังหนว่ ยงานท่ผี ้รู ้องประสงคจ์ ะรับเงิน ๔. ผู้ร้องมารับเงินท่ีสานักงานจัดหางานจังหวัด หรือกองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ เจา้ หนา้ ทม่ี อบเงนิ ใหผ้ รู้ อ้ งพรอ้ มตอบรับให้กลุ่มงานกองทุนฯ ทราบผล โดยมีหลักฐานใบสาคัญการรับเงินและสาเนา บตั รประจาตัวประชาชนแนบมาดว้ ยทุกรายการ  ขน้ั ตอนท่ี ๔ การอุทธรณค์ าวินิจฉัย ในกรณีท่ีคนหางานหรือทายาทไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยไม่ให้การสงเคราะห์จากกองทุนฯ สามารถดาเนินการ ไดด้ ังนี้ ๑. คนหางานหรือทายาทยื่นอุทธรณ์คาสั่งไม่ให้การสงเคราะห์ โดยทาเป็นหนังสือระบุข้อ โต้แย้ง พร้อมข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายท่ีอ้างอิงประกอบย่ืนต่ออธิบดีกรมการจัดหางาน ภายใน ๑๕ วันนับ แต่วันท่ีได้รับหนังสือแจ้งหรือทราบผลการพิจารณาไม่สงเคราะห์ทางไปรษณีย์ หรือย่ืนท่ีสานักงานจัดหางาน จังหวัด สานกั งานจัดหางานกรงุ เทพมหานครพนื้ ท่ี หรอื กองบรหิ ารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ ๒. กองบรหิ ารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ รวบรวมเอกสารหลักฐานการอุทธรณ์และส่งเร่ือง ให้กองนิติการ กรมการจัดหางานเพ่ือพิจารณา ๓. กองนิตกิ ารพจิ ารณาคาอทุ ธรณ์ประกอบข้อเท็จจรงิ เอกสารหลักฐานและข้อกฎหมาย ๓.๑ กรณีเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ กองนิติการเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรมการจัดหางาน เห็นชอบ และเพิกถอนคาส่ังไม่ให้การสงเคราะห์ แล้วส่งเรื่องให้กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ เพ่ือ จดั ทาคาขออนมุ ัติเบกิ เงนิ สงเคราะห์ตามระเบยี บต่อไป ๓.๒ กรณไี ม่เห็นด้วยกบั คาอทุ ธรณ์ กองนติ ิการเสนอความเหน็ ตอ่ อธิบดีกรมการจดั หางาน และรายงานผลการพิจารณาต่อปลัดกระทรวงแรงงาน เพื่อพจิ ารณาคาอุทธรณต์ อ่ ไป ๔. กองกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน พิจารณาคาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงาน หากมีเหตุจาเป็นให้ขยายระยะเวลาอีก ๓๐ วันนับแต่วันท่ีครบกาหนด ดังกล่าว ๔.๑ กรณีเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ จะมีคาสั่งเพิกถอนคาสั่งไม่ให้การสงเคราะห์และส่ังให้ กรมการจัดหางานจ่ายเงินสงเคราะห์ตามระเบียบฯ โดยส่งเรื่องให้กรมการจัดหางานผ่านกองนิติการ ซ่ึงกอง นติ ิการจะแจง้ คาส่ังให้กองบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ เพอ่ื ดาเนินการตามคาส่ังตอ่ ไป ๔.๒ กรณีไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ จะแจ้งผลการพิจารณาต่อคนหางานหรือทายาท โดยตรง ๕. เมื่อคนหางานหรือทายาทได้รับแจ้งผลการพิจารณาแล้วน้ัน หากไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัย อุทธรณ์ มีสิทธิย่ืนคาฟ้องเป็นหนังสือต่อศาลปกครองหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนไปยังศาลปกครองภายใน ๙๐ วัน นับแต่วนั ทร่ี ับแจง้ หรือทราบคาวินจิ ฉัยอุทธรณ์

บรรณานกุ รม พระราชบัญญัตจิ ดั หางานและคมุ้ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘. ราชกจิ กานุเบกษา. ๒๕๒๘. พระราชบญั ญตั ิจดั หางานและคุ้มครองคนหางาน แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๔. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๕๔๔. กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบัญญตั จิ ดั หางานและ คุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ระเบียบกระทรวงแรงงาน วา่ ด้วยกิจการที่จะใช้จ่ายเงนิ กองทุนเพ่ือช่วยเหลอื คนหางานไป ทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๕๔๙. ระเบยี บกระทรวงแรงงาน ว่าดว้ ยการบริหารกองทุนเพอื่ ชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานใน ตา่ งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๕๔๙ ระเบียบกระทรวงแรงงาน วา่ ด้วยการรบั เงิน การจ่ายเงนิ และการเก็บรกั ษาเงินกองทุนเพื่อ ชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางานในต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๕. ราชกิจจานเุ บกษา.๒๕๕๕ กรมการจดั หางาน กองนิตกิ าร. ๒๕๔๔. รวมกฎหมายกรมการจัดหางาน (พิมพค์ ร้ังที่ ๒). กรงุ เทพฯ. สานักพมิ พน์ ิตธิ รรม. กรมการจัดหางาน สานักงานบริหารแรงงานไทยไปตา่ งประเทศ ๒๕๕๗. แนวปฏบิ ัตงิ าน กองทนุ เพอื่ ช่วยเหลอื คนหางานไปทางานในต่างประเทศ. ฉบับปรับปรงุ . ๒๕๕๗

ภาคผนวก

สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานพครณะระากชรรบมัญกญารตักฤิ ษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จดั หางานและคมุ ครองคนหางาน สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาพ.ศ. ๒๕๒๘สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. สาํ นกั งานคณะกรใรหมไกวา รณกฤวษนั ฎทกี ่ีา๑๗ สงิ หาคมสําพนัก.ศงา.น๒ค๕ณ๒ะก๘รรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า เปน ปที่ ๔๐ ในรัชกาลปจจบุ ัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า เกลาฯ ใหประกาศวา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการจัดหางานและคุมครอง คนหางาน สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษจฎึงกีทารงพระกรุณาสโําปนกัรงดาเนกคลณาะฯกรใรหมกตารรากพฤษรฎะรกี าาชบัญญัติขึ้นสไาํวนโักดงยานคคําณแะนกะรนรมํากแาลระกฤษฎีกา ยินยอมของรัฐสภา ดังตอ ไปนี้ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครอง สํานกั งานคคนณหะากงรารนมกพา.รศก.ฤษ๒ฎ๕กี ๒า๘” สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานมกั งาาตนรคาณะ๒กร๑รมพการระกรฤาษชฎบกี าัญญัตินี้ใหใสชําบนังกั คงาับนคตณ้ังะแกตรรวมันกถารัดกจฤษากฎีกวาันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปน ตนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓ ใหยกเลิกพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๑๑ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ี้ สาํ น“กั จงัาดนหคาณงะากนร”ร๒มกหามรกาฤยษคฎวกี าามวา ประกอสบํานธุกัรงกาิจนจคัดณหะการงรามนกใาหรกแฤกษคฎนกี หา างานหรือหา ลูกจางใหแกนายจาง โดยจะเรียกหรือรับคาบริการตอบแทนหรือไมก็ตามและใหหมายรวมถึงการ สาํ นักงานเรคยี ณกะเกงรินรหมรกอืารทกรฤัพษยฎสีกินา หรอื ประโยชสนํานอ กั นื่ งใานดคเพณอื่ะกจรดั รหมากงาารนกฤใหษฎค ีกนาหางาน สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า “คาบริการ” หมายความวา เงินหรือประโยชนอยางอื่นท่ีใหเปนคาตอบแทนการ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา จัดหางาน สํานกั งานคณะกรรมการกฤษ“ฎคีกาใาชจ าย” หมาสยําคนวกั างมานวาคณคะากใรชรจมา กยาใรนกกฤษารฎจีกัดาหางาน สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สําน๑ักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๒/ตอนท่ี ๑๑๖/ฉบบั พิเศษ หนา ๑/๑ กันยายน ๒๕๒๘ ๒ ๔ นิยามสคําํานวักางา“นจัดคณหาะงการนรม”กแากรกไขฤเษพฎ่ิมกี เาติมโดยพระราสชาํ บนัญักงญานัตคิจณัดะหการงรามนกแาลรกะฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎมีกาาตรา คมุ ครองคนหางาน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗

- ๒ - สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษ“ฎผีกรู าบั อนญุ าต” หสมํานายักคงาวนาคมณวะา กผรรูรมบั กใาบรอกฤนษญุ ฎากี ตาจัดหางานตาสมําพนรักะงารนาคชณบะัญกญรรัตมนิกา้ี รกฤษฎกี า “ตัวแทนจัดหางาน” หมายความวา ผูซึ่งผูรับอนุญาตจดทะเบียนใหเปนตัวแทน จดั หางานตามสพํานรกัะรงาานชคบณัญะญกรัตรินมก้ี ารกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า “สาํ นกั งาน” หมายความวา สาํ นกั งานจดั หางานของผูรับอนญุ าต สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษ“ฎคกีนาหางาน” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมายความวา บุคคลซึ่งประสงคจะทํางานโดยเรียกหรือรับคาจาง เปน เงินหรือปสราํ ะนโักยงชานนอคณยาะงกอรรื่นมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ทดสอบฝมือ”๓ หมายความวา การดําเนินการใดๆ เพื่อใหทราบถึงฝมือของ สาํ นักงานคคนณหะากงรารนมกเาพรกื่อฤอษอฎกีกใาบรับรองผลสกําานรักทงาดนสคอณบะกใรหรคมกนาหรกาฤงษานฎกีโดา ยจะเรียกหรสือํานรักับงคานาคทณดะสกอรรบมฝกมารือกฤษฎกี า หรือไมก็ตาม สาํ น“ักฝงากนงคาณนะ”ก๔รหรมมกาายรคกฤวษามฎวีกาา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภาษา นายจางสงลูกจางไปรับการเพ่ิมพูนความรูฝมือ สํานกั งานทคัศณนะคกตรรหิ มรกือาทรกักฤษษะฎใกีนาการทํางานเพสอ่ืํานใหักงก าานรคทณาํ ะงการนรมมีปการระกสฤิทษธฎภิ ีกาาพเพิ่มขน้ึ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า “กองทุน” หมายความวา กองทุนเพ่ือชวยเหลือคนหางานไปทํางานใน ตา งประเทศทสี่จําดั นตักัง้ าขนึ้นคตณาะมกพรรรมะกรารชกบฤญั ษฎญีกตั านิ ี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “คณะกรรมการกองทุน” หมายความวา คณะกรรมการกองทุนเพ่ือชวยเหลือ สาํ นักงานคคนณหะากงรารนมไกปาทรกาํ ฤงษานฎใกี นา ตา งประเทศสํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สําน“ักนงาานยคทณะะเกบรียรมนก”ารหกมฤษายฎคีกาวามวา นายทสําะนเบกั งียานนคจณัดะหการงรามนกากรลกาฤงษหฎรีกือา นายทะเบียน จัดหางานจังหวดั แลว แตก รณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษ“ฎพกี นาักงานเจาหนสํานทกั ่ี”งาหนมคณายะกครวรามมกาวรากฤผษูซฎึ่งีกราัฐมนตรีแตงสตํา้ังนใักหงาปนฏคิบณัตะกิกรารรมตกาารมกฤษฎีกา พระราชบัญญัตินี้ สาํ น“กั องาธนบิ คดณี”ะ๕กหรรมมากยาครกวฤาษมฎวาีกาอธบิ ดกี รมกาสรําจนดัักงหาานงคาณนะกรรมการกฤษฎีกา “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรกั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๕๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน*รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า และใหมีอํานาจแตงต้ังนายทะเบียนและพนักงานเจาหนาที่ กับออกกฎกระทรวงกําหนด สํานกั งานคคาณธระรกมรรเมนกียามรกไมฤษเกฎินีกอา ัตราทายพรสะํารนากัชงบาัญนคญณัตะินกร้ี รยมกกเาวรนกคฤาษธฎรีกรามเนียม และกสาํ นหักนงดานกคิจณกะากรรอร่ืนมหการรือกฤษฎกี า ออกระเบยี บเพอื่ ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ี สาํ นกักฎงากนรคะณทะรกวรงรนม้นัการเมกฤื่อษไดฎปกี าระกาศในราชสกําจินจกั างานนเุ คบณกะษการแรลมวกใาหรกใฤชษบ ฎงั ีกคาบั ได สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓ มาตรา ๔ นิยามคําวา “ทดสอบฝมือ” เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครอง คนหางาน (ฉบบัสาํทนี่ ๒กั ง)าพน.คศณ. ะ๒ก๕ร๓รม๗การกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔ มาตรา ๔ นิยามคําวา “ฝกงาน” เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน สาํ นกั งาน(ฉคบณบั ะทกี่ร๒รม) กพา.รศก.ฤ๒ษ๕ฎ๓กี ๗า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕ มาตรา ๔ นิยามคําวา “อธิบดี” แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครอง สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า คนหางาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ ๖ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎมีกาาตรา ๕ แกไขเพส่ิมํานเตกั ิมงโาดนยคพณระะกรรารชมบกัญารญกัตฤิจษัดฎหีกาางานและคุมครอสงําคนนักงหาานงคานณะ(กฉรบรับมทก่ีา๒รก)ฤษฎกี า พ.ศ. ๒๕๓๗

- ๑๘ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษมฎากีตารา ๕๐๒๓ หาสมํานมักิใงหานนคาณยจะกางรใรนมกตาารงกปฤรษะฎเกีทาศ หรือตัวแทสนาํ ทนักํากงาานรครณับะสกมรัครมรกเพาร่ือกฤษฎกี า หาลูกจางในประเทศไทยดวยตนเองเพื่อไปทํางานในตางประเทศเวนแตจะติดตอใหสํานักงาน จดั หางานหรือสกาํ รนมกั งกาานรคจณดั ะหการงรามนกจารดั กหฤาษใฎหกี  า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษมฎาีกตารา ๕๑ เม่ือคสนํานหกั างงาานนคเณดะนิ กทรรามงกไปารถกงึ ฤปษรฎะีกเาทศทต่ี นไปทาํ สงาํ านนักงใาหนค คนณหะการงรามนกแาจรงกฤษฎีกา เปนหนังสือใหสํานักงานแรงงานไทยในประเทศดังกลาวทราบภายในสิบหาวันนับแตวันท่ีเดินทาง สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไปถงึ โดยระบุชือ่ ภมู ิลําเนาในประเทศไทย สถานทีอ่ ยู และสถานท่ที าํ งานในตางประเทศ ในกรณที ี่ สํานกั งานไมคมณสีะกาํ รนรกั มงกาานรกแฤรษงฎงากี นาไทยในประเสทําศนดกั งังากนลคาณวะใกหรรแมจกงาเรปกนฤหษฎนีกังาสือใหสถานทสูตําไนทักยงาหนรคือณสะถการนรมกกงาสรุลกฤษฎีกา ไทยในประเทศนั้นหรือสถานทูตไทยหรือสถานกงสุลไทยท่ีรับผิดชอบในการดูแลคนไทยใน ประเทศนน้ั ทรสาํ บนักภงาายนใคนณระะกยระรเมวกลาารดกังฤกษลฎาีกวา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณหะมกวรดรม๕การกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า กองทุนเพอ่ื ชว ยเหลือคนหางานไปทาํ งานในตา งประเทศ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษมฎากีตารา ๕๒๒๔ ใสหําจนัดกงตาั้นงกคณอะงกทรุนรมขก้ึนากรกอฤงษทฎุนกี หา นึ่งในกรมกสาํ รนจักังดาหนคางณาะนกรเรมียกกาวรากฤษฎกี า กองทนุ เพ่ือชว ยเหลือคนหางานไปทํางานในตา งประเทศ เพ่ือใชจ า ยในกจิ การตามมาตรา ๕๓ โดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประกอบดว ยเงินและทรพั ยส นิ อืน่ ดังตอไปน้ี สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ(๑ฎีก)าเงนิ อุดหนนุ จสาํานกักรงฐั าบนาคลณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า (๒) เงินท่ีผูรับอนุญาตจัดหางานเพ่ือไปทํางานในตางประเทศนายจางหรือ คนหางานสงเสขํา นกักองงาทนุนคณตาะมกรพรรมะกราารชกฤบษัญฎญีกาตั นิ ี้ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ดอกผลของกองทนุ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษ(๔ฎกี)าเงนิ หรอื ทรัพสยํานส ักนิ งอาน่ืนคทณม่ี ะีผกอู รุทรมศิ กใาหรกฤษฎีกา สําน(กั ๕งา)นหคณลักะกปรรระมกกนั ารทกี่ตฤกษเฎปกี น าของกองทนุ ตสําานมกั มงาาตนคราณะ๓ก๔รรมการกฤษฎีกา เงินและทรัพยสินอื่นตามวรรคหน่ึง ใหสงเขากองทุนโดยไมตองนําสง สาํ นักงานกครณะทะกรวรรงมกกาารรคกลฤังษเฎปกี น ารายไดแผนดสินํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การบรหิ ารกองทนุ และการควบคุมการใชจ า ยเงนิ กองทนุ ใหเ ปน ไปตามระเบยี บท่ี รัฐมนตรกี าํ หนสาํดนโกัดงยาคนควาณมะเกหรน็รมชกอาบรกขฤอษงฎรัฐกี ามนตรีวาการกสรํานะทักงราวนงคกณาระกครลรงั มการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษมฎากีตารา ๕๓ กจิ กสาํารนทักจี่ งะาในชคจ ณา ะยกเรงรินมจกาากรกกฤอษงทฎกีนุ าไดนน้ั ไดแกกสิจาํ นกักางราดนงัคตณอ ะไกปรนรม้ี การกฤษฎกี า (๑) จัดการใหคนหางานซ่ึงถูกทอดท้ิงอยูในตางประเทศไดเดินทางกลับประเทศ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ไทย สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๓ มาตรา ๕๐ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน (ฉบับท่ี สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ ๒๔ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกีมาาตรา ๕๒ แกไสขําเพนกัิ่มงเาตนิมคโดณยะพกรรระมรากชาบรกัญฤญษัตฎิจกี ัดาหางานและคุมสคํารนอักงงคานนคหณางะากนรร(มฉกบาับรทก่ีฤษฎกี า ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗

- ๑๙ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ(ฎ๒ีก)า๒๕ ใหการสงเสคํานรักาะงาหนแคกณคะนกรหรามงกาานรกซฤ่ึงษไปฎีกหารือจะไปทํางาสนํานในักงตาานงคปณระะกเรทรศมหการรือกฤษฎีกา ทายาทโดยธรรมของบุคคลดังกลา ว สําน(กั ๓งา)นคกณาระคกดัรรเมลกอื ากรแกฤลษะทฎกีดาสอบฝม ือและสกํานาักรงฝากนอคบณระกมรครนมกหาารงกาฤนษกฎอีกนาจะเดินทางไป ทาํ งานในตา งประเทศ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ทง้ั น้ี ใหเปน ไปตามระเบียบที่รัฐมนตรกี ําหนด สาํ นมักงาาตนรคาณ๕ะก๔ร๒ร๖มกใาหรกมฤีคษณฎกีะากรรมการกอสงําทนุนกั งเาพนื่อคชณวะยกเรหรมลกือาครกนฤหษาฎงีกาานไปทํางานใน สาํ นกั งานตคาณงปะรกะรรเทมศการปกรฤะษกฎอีกบาดวยอธบิ ดีเปสนํานปักรงะาธนาคนณกะรกรรมรมกกาารรกแฤลษะฎบกี ุคาคลอื่นซึ่งรัฐมสนํานตักรงแี าตนคงตณง้ัะอกกีรรไมมกเากรนิ กฤษฎกี า หกคนเปนกรรมการ และใหผูอํานวยการสํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศเปน กรรมการและสเลาํ นขกัางนาุกนาครณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษมฎากีตารา ๕๕ กรรมสํกานาักรงซาึง่ นรคฐั ณมะนกตรรรมแี กตางรตกฤงั้ มษฎีวากี ราะอยูใ นตําแหสนาํ นงคักรงาานวคลณะสะกามรรปม การกฤษฎกี า ในกรณีที่มีการแตงต้ังกรรมการในระหวางที่กรรมการซึ่งแตงต้ังไวแลวยังมีวาระ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า อยใู นตาํ แหนง ไมว าจะเปนการแตงตงั้ เพม่ิ ข้นึ หรือแตง ตัง้ ซอม ใหผ ไู ดร ับแตง ตัง้ นั้นอยใู นตาํ แหนง สาํ นกั งานเทคาณกะับกวรรามระกทารเ่ี กหฤลษอื ฎอกี ยาูข องกรรมกาสรําซนึง่ กั ไงดาแนตคณงตะก้งั ไรวรมแกลาวรนกัน้ฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับการแตงต้ังอีกได แตตองไมเกินสองคราว ติดตอ กนั สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษมฎาีกตารา ๕๖ นอกสจําานกกั กงาานรคพณนะจการกรมตกําาแรหกนฤษงฎตีกามา วาระตามมาสตาํ นราักง๕าน๕คกณระรกมรรกมากราซร่ึงกฤษฎีกา รัฐมนตรแี ตงตงั้ พนจากตาํ แหนง เมื่อ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สําน(กั ๑งา)นตคณายะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ลาออก สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) รฐั มนตรใี หออก สําน(กั ๔งา)นเคปณนะบกรคุ รคมลกลารม กลฤะษลฎากี ยา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) เปน คนไรความสามารถหรอื คนเสมือนไรความสามารถ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ(ฎ๖ีก)าไดรับโทษจสําําคนุกักโงดานยคคณําะพกิพรรามกกษารากถฤึงษทฎ่ีสกี ุดา หรือคําสั่งทส่ีชาํ อนบักงดาวนยคกณฎะกหรมรมากยาใรหกฤษฎกี า จาํ คุก เวน แตเ ปนโทษสาํ หรับความผิดทกี่ ระทาํ โดยประมาท หรือความผดิ ลหุโทษ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๕๗ การประชุมของคณะกรรมการกองทุน ตองมีกรรมการมาประชุมไม สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า นอ ยกวา กงึ่ หนึง่ ของจาํ นวนกรรมการท้ังหมด จึงเปนองคประชุมถาประธานกรรมการไมอยูหรือไม สามารถปฏิบัตสําิหนนักางทานี่ไคดณใ หะกกรรรรมมกการากรทฤษี่มฎากีปาระชุมเลือกกรสรํานมักกงาารนคคนณหะกนรึ่งรเมปกน าปรกรฤะษธฎานกี าในทปี่ ระชุม การวนิ ิจฉัยชีข้ าดของทป่ี ระชุมใหถ ือเสยี งขางมาก สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๒๕ มาตรา ๕๓ (๒) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ ๒๖ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกีมาาตรา ๕๔ แกไสขําเพนิ่กัมงเตานิมคโดณยะพกรรระมรากชาบรกัญฤญษัตฎิจีกัดาหางานและคุมสคํารนอักงงคานนหคณางะากนรร(มฉกบาับรทก่ีฤษฎกี า ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗

- ๒๐ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษกฎรีกรามการคนหนสึ่งําในหักมงาีเนสคียณงะหกนรร่ึงมใกนารกกาฤรษลฎงีกคาะแนน ถาคะสแํานนักนงาเนสคียณงะเกทรารกมันกาใรหกฤษฎีกา ประธานในท่ีประชมุ ออกเสยี งเพ่มิ ข้นึ อีกเสียงหน่งึ เปนเสยี งช้ขี าด สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๕๘ ใหค ณะกรรมการกองทนุ มีอํานาจหนา ท่ีดังตอไปนี้ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษ(ฎ๑ีก)าเสนอคําแนะสนํานําักตงอานรัฐคมณนะกตรรรีใมนกการากรฤอษอฎกีกราะเบียบตามมสาาํ ตนรักางา๕น๒คณแะลกระรมมากตารรากฤษฎกี า ๕๓ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ใหคําปรึกษาแนะนําแกอธิบดี นายทะเบียน และพนักงานเจาหนาท่ีในการ สาํ นกั งานปคฏณิบะัตกิกรรามรกทาีเ่ รกกี่ยฤวษกฎบั ีกกาองทนุ ตามพสรําะนรกั างชาบนัญคณญะัตกรนิ ร้ี มการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานมกั งาาตนรคาณ๕ะก๙รรมใกหารรัฐกมฤษนฎตกี ราีมีอํานาจนําเสงําินนกักองางนทคุนณตะากมรรมมากตารรกาฤ๕ษฎ๒กี (า๒) (๓) (๔) และ (๕) ไปหาดอกผลไดโ ดยการฝากออมทรัพยหรอื ฝากประจํากบั ธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจหรือ สาํ นักงานโดคยณกะากรซรมื้อกหาลรกักฤทษรฎพั กี ยาของรัฐบาล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นมกั งาาตนรคาณ๖ะก๐รรมใกหาอรธกฤิบษดฎีหกี ราือผูซึ่งอธิบดสีมํานอกับงหานมคาณยะมกีอรรํามนกาาจรแกลฤษะฎหีกนาาท่ีในการเบิก จายเงนิ จากกองทนุ เพื่อใชจา ยในกจิ การตามมาตรา ๕๓ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๖๑ ภายในเกาสิบวันนับแตวันสิ้นปงบประมาณ ใหนายทะเบียนจัดหา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา งานกลางทํารายงานการรับจายเงินกองทุนประจําปงบประมาณที่ส้ินสุด และประกาศใน สาํ นกั งานราคชณกะจิกจรรามนกุเบารกกษฤาษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาหมวด ๕ ทวสิ ํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ๒๗ คณะกรรมการพัฒนาการจดั หางานและคมุ ครองคนหางาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานมกั างาตนรคาณ๖ะ๑กรรทมวกิ าใรหกฤมษีคฎณีกาะกรรมการคณสําะนหกั นงา่ึงนเครียณกะกวราร“มคกณาระกกฤษรรฎมีกกา ารพัฒนาการ จัดหางานและคุมครองคนหางาน” ประกอบดวยปลัดกระทรวงแรงงาน*เปนประธานกรรมการ สาํ นกั งานผคูแณทะนกกรรรมะกทารรวกงฤกษาฎรีกตาางประเทศ สผําูแนทกั งนาสนําคนณักะกงารรนมคกณาระกกฤรษรฎมีกกา ารพัฒนากาสราํ เนศักรงษานฐคกณิจะแกลระรสมังกคารมกฤษฎีกา แหงชาติ ผูแทนกรมตํารวจผูแทนกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูแทนกรมการจัดหางานเปนกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และบุคคลอื่นซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงต้ังอีกไมเกินแปดคนเปนกรรมการ โดยใหมีกรรมการผูท่ีมี สาํ นักงานคควณามะกรรูใรนมกกาารรกจฤัดษหฎากี งาานและคุมครสอํานงกัคงนานหคาณงาะนกรไรมมนกอารยกกฤวษาฎสกี าามคน กรรมกสาํารนซัก่ึงงาเนปคนณละูกกจรรามงกแาลระกฤษฎีกา นายจางฝายละหน่ึงคน และใหผูอํานวยการสํานักงานบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศเปน กรรมการและสเลาํ นขักางนาุกนาครณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะกรรมการจะแตง ต้งั บคุ คลใดเปน ผชู วยเลขานุการคณะกรรมการก็ได สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สําน๒ัก๗งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า หมวด ๕ ทวิ คณะกรรมการพัฒนาการจัดหางานและคุมครองคนหางาน มาตรา ๖๑ ทวิ สาํ นักงานมคาตณระากร๖ร๑มกตารรีกมฤาษตฎรกี าา๖๑ จัตวาแลสะํามนากั ตงราานค๖ณ๑ะเกบรญรมจกาเรพกิ่มฤโษดฎยีกพาระราชบัญญัตสิจาํ ัดนหักางางนานคณและะกครรุมมคกราอรกงฤษฎกี า คนหางาน (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗

- ๒๘ - สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานอค่นื ณใดะกจรารกมผกูถารูกกหฤลษอฎกี าลวง ตองระวสางํานโทักงษาจนําคคณุกะตกั้รงรแมตกสาารมกฤปษถฎึงกี สาิบป หรือปรับสตาํ นั้งแักงตาหนกคณหมะก่ืนรบรมากทาถรึงกฤษฎกี า สองแสนบาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๙๒ ในกรณีท่ีผูกระทําความผิดซ่ึงตองรับโทษตามพระราชบัญญัติเปน สาํ นกั งานนคิตณิบะุคกครรลมผกูจาัรดกกฤาษรฎหกี ารือผูแทนนิติบสําุคนคกั ลงานน้ันคตณอะกงรรรับมโกทาษรกตฤาษมฎทกี ี่กาฎหมายกําหสนาํ ดนไักวงสานําหคณรับะกครวรามมกผาริดกฤษฎีกา นน้ั ๆ ดวย เวนแตจ ะพสิ ูจนไ ดว า ตนมิไดมีสวนในการกระทาํ ความผดิ ของนติ ิบุคคลน้นั สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า มาตรา ๙๓๔๔ บรรดาความผดิ ตามพระราชบัญญัติน้ีท่ีมีโทษปรับสถานเดียวหรือ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีโทษปรับหรอื โทษจําคกุ ไมเ กนิ หกเดอื น ใหบ คุ คลตอ ไปนี้ มอี ํานาจเปรยี บเทยี บปรบั ได สําน(กั ๑งา)นอคธณิบะกดรี รสมาํ กหารรับกฤคษวฎามีกาผิดตามพระรสาําชนบักัญงาญนคัตณินะี้ กเวรนรมแกตากรกรฤณษีตฎากี มา (๒) (๒) อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน สําหรับความผิดท่ีเก่ียวกับการทดสอบฝมือ สํานักงานตคาณมพะกรระรรมากชาบรกัญฤญษฎตั กี ินา้ี สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า อํานาจเปรียบเทียบตามวรรคหน่ึงอธิบดีหรืออธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงานจะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา มอบอาํ นาจใหผ ูวา ราชการจงั หวดั สําหรับความผิดตามพระราชบัญญตั ินีท้ ี่เกดิ ข้นึ ในจงั หวดั นัน้ กไ็ ด สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษในฎีกการณีทีม่ กี ารสอสบํานสกัวงนานถคา ณพะนกักรรงมากนาสรอกบฤษสฎวีกนาพบวาบุคคลใสดํากนรักะงาทนําคคณวะากมรผริดมกตาารมกฤษฎกี า พระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษอยูในเกณฑที่จะทําการเปรียบเทียบได และบุคคลน้ันยินยอมให เปรียบเทียบ สใําหนพักงนาักนงคาณนะสกอรรบมสกวารนกสฤงษเฎรื่อกี างใหอธิบดีหรสือํานอกัธงิบาดนคีกณรมะกพรัฒรมนการฝกมฤือษแฎรกี งางาน หรือผูวา ราชการจังหวัดซึ่งไดรับมอบอํานาจจากบุคคลดังกลาว แลวแตกรณี ภายในเจ็ดวัน นับแตวันที่ สํานักงานบคคุ ณคะลกนรรั้นมยกินายรกอฤมษใฎหีกเาปรียบเทียบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า เมื่อผูกระทําผิดไดชําระเงินคาปรับตามจํานวนท่ีเปรียบเทียบภายในเวลาที่ สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดแตไมเกนิ สามสบิ วันแลว ใหถ อื วา คดีเลกิ กันตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา สํานักงานคณะกรรมการกฤษถฎา ผีกากู ระทาํ ผิดไมสยําินนยักองามนใคหณเปะกรรียรบมเกทาียรกบฤษหฎรกีือาเม่ือยินยอมแสลาํ วนไักมงชานําคระณเะงกินรครมาปการรับกฤษฎีกา ภายในกาํ หนดเวลาตามวรรคส่ี ใหด ําเนนิ คดตี อ ไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า บทเฉพาะกาล สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นมักงาาตนรคาณ๙ะก๔รรมบกรารกดฤาษกฎฎกี การะทรวงและสปํานรกัะงกาานศคทณี่อะกอรกรตมกามารพกฤรษะรฎาีกชาบัญญัติจัดหา งานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๑๑ และยังใชบังคับอยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ สํานกั งานใหคณยะังกครงรใมชกาบรังกคฤษับฎไกีดาตอไปเพียงสเทํานากั ทงี่าไนมคขณัดะหกรรรือมแกยารงกกฤับษฎพกี ราะราชบัญญัตสินํานี้ ักทงั้งานนคี้ ณจนะกกรวรมาจกาะรมกีฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบและประกาศทอ่ี อกตามพระราชบญั ญัติน้ี สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔๓ มาตรา ๙๑ ตรี เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน (ฉบับท่ี ๒) สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๓๗ ๔๔ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกมาาตรา ๙๓ แกไสขําเนพักิ่มงเาตนิมคโณดยะพกรรระมรากชาบรกัญฤญษัตฎิจกี ัดาหางานและคุมสคํารนอักงงคานนหคณางะากนรร(มฉกบาับรทก่ีฤษฎีกา ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗

- ๒๙ - สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษมฎาีกตารา ๙๕ ใบสอํานุกัญงานตคจณัดะหกรารงมากนาทรกี่อฤอษกฎตกี าามพระราชบสัญํานญักังตาิจนัดคณหะากงรารนมแกาลระกฤษฎีกา คุมครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๑๑ กอนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหใชไดจนกวาจะสิ้นอายุ ใบอนุญาตนั้นสาํ แนตักทงาั้งนนคี้ ณผะูซก่ึงรไรดมรกับารใกบฤอษนฎุญีกาาตดังกลาวตสอํางนปักงฏาิบนคัตณิตะากมรมรมาตการรากฤ๖ษ๔ฎีกภาายในหน่ึงรอย ย่ีสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และในระหวางเวลาดังกลาวมิใหนํามาตรา ๗๔ มา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใชบงั คับ สาํ นใักนงากนรคณณีะทก่ีผรูรซมึ่งกไาดรกรัฤบษใฎบีกอานุญาตดังกสลําานวักกงาอนนควณันะกทร่ีพรมรกะารรากชฤบษฎัญีกญา ัติน้ีใชบังคับ ประสงคจะจัดหางานเพื่อใหคนหางานไปทํางานในตางประเทศภายหลังวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช สํานกั งานบคงั ณคับะกรตรอมงกปารฏกบิ ฤตัษิตฎากี มา พระราชบญั สญํานตั ักนิ ง้ีากนอ คนณสะกงครรนมหการงกานฤษไปฎทีกาํางานในตา งปสราํ ะนเักทงศานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นมักางาตนรคาณ๙ะก๖รรมเพก่ือารปกรฤะษโฎยีกชานในการขอรสับําคนวกั างามนคคุมณคะรกอรรงมจกาากรกอฤษงทฎุกีนาเพ่ือคนหางาน ในตางประเทศตามพระราชบัญญัติน้ี คนหางานซ่ึงผูไดรับอนุญาตจัดหางานเพ่ือไปทํางานใน สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตางประเทศ ตามพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๑๑ ไดจัดสงไป ทํางานในตางสปาํ รนะกั เงทาศนคอณาะจกขรอรมรับกาสริทกฤธษิแฎลกีะาประโยชนจากสกํานอกั งงทาุนนคไดณโะดกยรรสมงกเงารินกเฤขษากฎีกอางทุนตามอัตรา ท่ีกําหนดโดยกฎกระทรวงตามมาตรา ๓๗ พรอมดวยสําเนาเอกสารหลักฐานตามที่อธิบดีกําหนด สาํ นกั งานทคั้งณนะ้ี กโรดรมยกสางรไกปฤษยฎังีกสาํานักงานทะสเําบนียักงนานจคัดณหะากงรรามนกการลกาฤงษภฎาีกยา ในหนึ่งรอยสํายนี่สักิบงาวนันคณนัะบกแรรตมวกันารทกี่ฤษฎกี า กฎกระทรวงดงั กลาวใชบงั คับ สาํ นเกั มง่ือานสคําณนะักกงรารนมทกาะรเกบฤียษนฎจกี ัดาหางานกลางสไําดนตักงราวนจคสณอะบกรเหรม็นกวาารถกฤูกษตฎอกี งาแลวใหแจงให คนหางานทราบ และใหคนหางานไดรับสิทธิและประโยชนนับแตวันที่สํานักงานทะเบียนจัดหางาน สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า กลางไดร บั เงนิ และเอกสารหลกั ฐานตามวรรคหนงึ่ สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พลเอก ป. ตณิ สลู านนท นายสกาํ รนัฐกั มงานนตครณี ะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

‡≈¡à ÒÒ¯ µÕπ∑Ë’ Òˆ ° Àπâ“ 1 Òˆ 惻®°‘ “¬π ÚıÙÙ √“™°®‘ ®“πÿ‡∫°…“ æ√–√“™∫—≠≠—µ‘ ®—¥À“ß“π·≈–§ÿ¡â §√ÕߧπÀ“ß“π (©∫—∫∑’Ë Û) æ.». ÚıÙÙ ¿¡Ÿ ‘æ≈Õ¥ÿ≈¬‡¥™ ª.√. „À‰â «â ≥ «—π∑Ë’ ˘ 惻®°‘ “¬π æ.». ÚıÙÙ ‡ªìπª∑ï Ë’ ıˆ „π√—™°“≈ª®í ®ÿ∫—π æ√–∫“∑ ¡‡¥Á®æ√–ª√¡‘π∑√¡À“¿Ÿ¡‘æ≈Õ¥ÿ≈¬‡¥™ ¡’æ√–∫√¡√“™‚Õß°“√‚ª√¥‡°≈â“ œ „Àâ ª√–°“»«à“ ‚¥¬∑Ë’‡ªìπ°“√ ¡§«√·°â‰¢‡æË¡‘ ‡µ¡‘ °ÆÀ¡“¬«“à ¥â«¬°“√®—¥À“ß“π·≈–§âÿ¡§√ÕߧπÀ“ß“π ®ß÷ ∑√ßæ√–°√≥ÿ “‚ª√¥‡°≈“â œ „Àµâ √“æ√–√“™∫≠— ≠µ— ¢‘ π÷È ‰«‚â ¥¬§”·π–π”·≈–¬π‘ ¬Õ¡¢Õß√∞—  ¿“ ¥—ßµàÕ‰ªπÈ’ ¡“µ√“ Ò æ√–√“™∫—≠≠—µ‘π’ȇ√’¬°«à“ çæ√–√“™∫—≠≠—µ‘®—¥À“ß“π·≈–§ÿ⡧√ÕߧπÀ“ß“π (©∫∫— ∑’Ë Û) æ.». ÚıÙÙé ¡“µ√“ Ú æ√–√“™∫—≠≠—µ‘π’È„Àâ„™â∫—ߧ—∫µÈ—ß·µà«—π∂—¥®“°«—πª√–°“»„π√“™°‘®®“πÿ‡∫°…“ ‡ªπì µπâ ‰ª ¡“µ√“ Û „À⬰‡≈‘°§«“¡„π¡“µ√“ Ù¯ ∑«‘ ·Ààßæ√–√“™∫—≠≠—µ‘®—¥À“ß“π·≈–§âÿ¡§√Õß §πÀ“ß“π æ.». ÚıÚ¯ ´÷Ëß·°â‰¢‡æË‘¡‡µ‘¡‚¥¬æ√–√“™∫—≠≠—µ‘®—¥À“ß“π·≈–§ÿ⡧√ÕߧπÀ“ß“π (©∫∫— ∑Ë’ Ú) æ.». ÚıÛ˜ ·≈–„À„⠙⧫“¡µÕà ‰ªπ·’È ∑π ç¡“µ√“ Ù¯/Ò §πÀ“ß“π´Ë÷ßµπ‡ÕßÀ√◊Õ𓬮â“ßÀ√◊ÕºŸâ√—∫Õπÿ≠“µ®—¥À“ß“π‡æ◊ËÕ‰ª∑”ß“π „πµà“ߪ√–‡∑»‰¥â à߇ߑπ‡¢â“°Õß∑ÿπµ“¡¡“µ√“ Û˜ À√◊Õ§πÀ“ß“π´Ë÷߇¥‘π∑“߉ª∑”ß“π„πµà“ߪ√–‡∑»

‡≈¡à ÒÒ¯ µÕπ∑Ë’ Òˆ ° Àπâ“ 2 Òˆ 惻®°‘ “¬π ÚıÙÙ √“™°®‘ ®“π‡ÿ ∫°…“ ¥â«¬µπ‡Õßµ“¡¡“µ√“ Ù¯ ∑’Ë ¡—§√„® à߇ߑπ‡¢â“°Õß∑ÿπµ“¡Õ—µ√“∑Ë’°”Àπ¥„π°Æ°√–∑√«ßµ“¡ ¡“µ√“ Û˜ °àÕπ‡¥‘π∑“ßÕÕ°πÕ°√“™Õ“≥“®—°√ „À≥â√—∫ ‘∑∏‘ª√–‚¬™π宓°°Õß∑ÿπµ“¡√–‡∫’¬∫ ∑Ë√’ —∞¡πµ√°’ ”À𥵓¡¡“µ√“ ıÛ ‡ªπì √–¬–‡«≈“µ“¡ —≠≠“®“â ß∑’§Ë πÀ“ß“πππ—È ¡Õ’ ¬Ÿà §πÀ“ß“π´Ë÷߬—ßÕ¬àŸÀ√◊Õ¬—ß∑”ß“πÕ¬àŸ„πµà“ߪ√–‡∑»„À≥â√—∫ ‘∑∏‘ª√–‚¬™π宓°°Õß∑ÿπµ“¡ ¡“µ√“ ıÛ ‡ªìπ√–¬–‡«≈“À⓪ïπ—∫·µà«—π§√∫°”À𥵓¡ —≠≠“®â“ß À√◊Õ«—π∑Ë’ —≠≠“®â“ß ‘Èπ ÿ¥≈ß §πÀ“ß“π∑‰Ë’ ¥√â ∫—  ∑‘ ∏ª‘ √–‚¬™π®å “°°Õß∑πÿ µ“¡«√√§ Õß À“°‰ª∑” ≠— ≠“®“â ß°∫— 𓬮“â ß„À¡à À√◊Õ𓬮â“߇¥‘¡ ·≈–ª√– ß§å®–‰¥â√—∫ ‘∑∏‘ª√–‚¬™π宓°°Õß∑ÿπµ“¡«√√§ ÕßµàÕ‰ª „Àâ§πÀ“ß“π À√◊Õ𓬮“â ß ßà ‡ßπ‘ ‡¢“â °Õß∑πÿ ¿“¬„πÀ° ‘∫«π— π∫— ·µà«π— ∑Ë’§√∫°”À𥵓¡«√√§ Õßé ºŸ√â ∫—  πÕßæ√–∫√¡√“™‚Õß°“√ æ—πµ”√«®‚∑ ∑°— …‘≥ ™π‘ «µ— √ 𓬰√—∞¡πµ√’ À¡“¬‡Àµÿ :- ‡Àµºÿ ≈„π°“√ª√–°“»„™æâ √–√“™∫≠— ≠µ— ©‘ ∫∫— π’È §Õ◊ ‚¥¬∑ÀË’ ≈°— ‡°≥±°å “√®“à ¬‡ßπ‘ ®“°°Õß∑πÿ ‡æÕË◊ ™«à ¬‡À≈Õ◊ §πÀ“ß“π´Ë÷߉ª∑”ß“π„πµà“ߪ√–‡∑»µ“¡∑’Ë∫—≠≠—µ‘‰«â„π¡“µ√“ Ù¯ ∑«‘ ·Ààßæ√–√“™∫—≠≠—µ‘®—¥À“ß“π·≈–§ÿ⡧√Õß §πÀ“ß“π æ.». ÚıÚ¯ ´÷Ëß·°â‰¢‡æ‘Ë¡‡µ‘¡‚¥¬æ√–√“™∫—≠≠—µ‘®—¥À“ß“π·≈–§ÿ⡧√ÕߧπÀ“ß“π (©∫—∫∑’Ë Ú) æ.».‹ ÚıÛ˜ ¬—߉¡àÕ“®„À⧫“¡™à«¬‡À≈◊Õ§πÀ“ß“π∑’ˬ—ߧß∑”ß“πÕ¬Ÿà„πµà“ߪ√–‡∑» À≈—ß®“°§√∫°”À𥇫≈“µ“¡  —≠≠“®â“ß  ¡§«√¢¬“¬√–¬–‡«≈“„π°“√„À⧫“¡™à«¬‡À≈◊Õ§πÀ“ß“π∑Ë’‰¥â√—∫ ‘∑∏‘ª√–‚¬™π宓°°Õß∑ÿπÕ¬Ÿà°àÕπ·≈â« ·≈–¬—ߧß∑”ß“π„πµà“ߪ√–‡∑»„À≥â√—∫§«“¡™à«¬‡À≈◊ÕµàÕ‰ª‡ªìπ√–¬–‡«≈“À⓪ïπ—∫·µà«—π§√∫°”À𥵓¡ —≠≠“®â“ß ®÷ß®”‡ªπì µÕâ ßµ√“æ√–√“™∫≠— ≠—µ‘π’È









เลม ๑๒๓ ตอนที่ ๔๔ ง หนา ๒๖ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานเุ บกษา ระเบียบกระทรวงแรงงาน วาดวยกจิ การทจ่ี ะใชจ ายเงนิ จากกองทนุ เพอ่ื ชวยเหลือคนหางานไปทาํ งานในตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม วาดวยกิจการ ทจ่ี ะใชจ า ยเงนิ จากกองทนุ เพือ่ ชวยเหลือคนหางานไปทาํ งานในตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ เพ่ือใหเปน ประโยชนแกคนหางาน โดยการขยายความคุมครองและเพ่ิมสิทธิประโยชน และใหสอดคลองกับ มาตรา ๕๓ แหงพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ แกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญตั จิ ดั หางานและคมุ ครองคนหางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ แกไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัตจิ ัดหางานและคุมครองคนหางาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ และมาตรา ๕๓ แหงพระราชบญั ญตั ิจดั หางานและคมุ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงแรงงานจงึ ออกระเบยี บไว ดังตอ ไปนี้ ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงแรงงาน วาดวยกิจการท่ีจะใชจายเงินจาก กองทุนเพอ่ื ชว ยเหลือคนหางานไปทํางานในตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙” ขอ ๒ ระเบียบนีใ้ หใชบงั คับตง้ั แตว ันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตน ไป ขอ ๓ ใหยกเลกิ ระเบียบกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม วาดวยกิจการท่ีจะใชจายเงิน จากกองทุนเพ่ือชว ยเหลือคนหางานไปทาํ งานในตา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ บรรดาระเบียบหรือคาํ ส่งั อน่ื ใดท่ีขัดหรอื แยงกบั ระเบยี บน้ี ใหใ ชร ะเบียบนแ้ี ทน ขอ ๔ ในระเบียบนี้ “กองทนุ ” หมายความวา กองทนุ เพอื่ ชว ยเหลือคนหางานไปทํางานในตา งประเทศ “สมาชิกกองทนุ ” หมายความวา คนหางานซ่ึงตนเองหรือนายจางหรือผูรับอนุญาตจัดหางาน เพื่อไปทาํ งานในตา งประเทศไดส ง เงินเขากองทนุ “ประสบอันตราย” หมายความวา การท่ีสมาชิกกองทุนไดรับอันตรายแกชีวิต รางกาย หรือ ผลกระทบทางจติ ใจ ทั้งนี้ การไดรับอันตรายตองมิไดเกิดจากการที่สมาชิกกองทุนเปนผูกอใหเกิดข้ึน เน่อื งมาจากการกระทําอนั กฎหมายบัญญตั เิ ปนความผดิ

เลม ๑๒๓ ตอนท่ี ๔๔ ง หนา ๒๗ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ราชกิจจานเุ บกษา “พิการ” หมายความวา การสญู เสียอวยั วะท่ีเหน็ ไดอยา งชดั เจน หรือกรณีที่แพทยวินิจฉัยแลววา มคี วามบกพรอ งทางจติ ใจ “ทุพพลภาพ” หมายความวา การสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือของรางกายหรือสูญเสีย สภาวะปกติของจิตใจจนประกอบกรณกี ิจตามปกตไิ มไ ดเ กนิ ย่สี ิบวนั โดยการวินจิ ฉยั ของแพทย “อธบิ ด”ี หมายความวา อธิบดกี รมการจดั หางาน ขอ ๕ ใหจ ายเงินจากกองทนุ ในกิจการตา ง ๆ ดังตอ ไปนี้ (๑) จัดการใหสมาชิกกองทุนซึ่งถูกทอดท้ิงอยูในตางประเทศไดเดินทางกลับประเทศไทย จนถงึ ภูมลิ ําเนา ซึ่งมีคาใชจ า ย ดังน้ี (ก) คา พาหนะ คาทพ่ี กั คา อาหาร คารกั ษาพยาบาล และคาใชจายอน่ื ที่จําเปน (ข) คาใชจายของเจาหนาท่ีในการจัดการใหสมาชิกกองทุนเดินทางกลับประเทศไทย จนถึงภมู ิลาํ เนา ใหก ระทาํ ไดใ นกรณที ่จี าํ เปน (ค) เงนิ ชดเชยคา ใชจ า ยแกผ ูร บั อนุญาตจดั หางานทไ่ี ดรับอนมุ ัตจิ ากอธิบดี ตามมาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๒ แหง พระราชบัญญัติจดั หางานและคมุ ครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ (๒) ใหก ารสงเคราะหแกสมาชกิ กองทนุ ซงึ่ ไปหรอื จะไปทาํ งานในตางประเทศหรอื ทายาทโดยธรรม ของสมาชิกของกองทุนตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงมีคาใชจายและหรือ เงินสงเคราะห ดงั นี้ (ก) เงินสงเคราะหเปนคารักษาพยาบาลกรณีสมาชิกกองทุนประสบอันตรายกอนไป ทาํ งานในตางประเทศหรอื ประสบอันตรายในตางประเทศ (ข) เงินสงเคราะหกรณีสมาชิกกองทุนตองเดินทางกลับประเทศไทยเพราะถูกเลิกจาง โดยมสี าเหตมุ าจากการประสบอนั ตรายและเขารับการรกั ษาตัวในโรงพยาบาลในตา งประเทศ (ค) เงนิ สงเคราะหกรณีสมาชิกกองทนุ ประสบอันตรายจนพิการหรือทุพพลภาพในระหวางท่ี เปนสมาชกิ กองทนุ ไมวา เหตกุ ารณทก่ี อใหเกดิ อนั ตรายจะเกิดข้นึ ในประเทศไทยหรือตางประเทศ (ง) คาพาหนะ คาที่พัก คาอาหาร คารักษาพยาบาลและคาใชจายอื่นท่ีจําเปนใหแก สมาชกิ กองทุนระหวา งที่อยูในตางประเทศ กรณีประสบปญหาในตา งประเทศ ไดแก รอการเขา ทาํ งานใหม รอการสง กลับประเทศไทย รอการดําเนนิ คดี เปน เหตใุ หสูญเสยี รายไดจ ากการทํางาน หรอื กรณไี มไ ดร บั ความเปน ธรรมจากนายจางโดยไมใชค วามผดิ ของสมาชกิ กองทุน หรือกรณอี ่ืนในลักษณะเดียวกัน

เลม ๑๒๓ ตอนท่ี ๔๔ ง หนา ๒๘ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ราชกิจจานเุ บกษา (จ) เงนิ สงเคราะหกรณีสมาชิกกองทุนตองเดินทางกลบั ประเทศไทยกอนสิ้นสุดการเปน สมาชิกกองทุน เนอ่ื งจากผลการตรวจสขุ ภาพจากสถานพยาบาลของประเทศน้ัน พบวาสมาชิกกองทุน เปนโรคทต่ี ามขอ บังคับของทางการของประเทศนัน้ หามมใิ หท าํ งานในประเทศตอ ไป (ฉ) เงินสงเคราะหกรณีสมาชิกกองทุนประสบปญหาตองเดินทางกลับประเทศไทย กอนสน้ิ สดุ การเปน สมาชิกกองทุน เน่อื งจากภัยสงครามหรือปญหาความไมสงบหรือจากภัยธรรมชาติ หรอื เกดิ โรคระบาด ซึ่งทางการของประเทศนัน้ ๆ ประกาศกาํ หนดแลว (ช) คาเชาสถานท่ี คาสาธารณูปโภคและคาใชจายอ่ืน ๆ รวมท้ังคาภาษีเทาท่ีจําเปน ในการจดั การและการบริหารท่ีพกั ฉกุ เฉินในตางประเทศ (ซ) คาจางทนายความเพื่อตอสูคดีกรณีสมาชิกกองทุนถูกดําเนินคดีอาญาในความผิด ซึ่งมิใชเกิดจากการกระทําโดยเจตนาในตางประเทศ หรือสมาชิกกองทุนดําเนินคดีแพงแกนายจาง เนอื่ งจากไมไ ดร ับความเปนธรรมจากการทาํ งานซ่งึ เกิดข้ึนระหวา งท่เี ปน สมาชิกกองทนุ (ฌ) เงินสงเคราะหในการจัดการศพและเงินชวยเหลือเพ่ือบรรเทาความเดือดรอนแก ทายาทโดยธรรมของสมาชิกกองทุน ตามท่ีบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กรณี ประสบอันตรายกอนไปทํางานในตางประเทศจนถึงแกชีวิต กรณีเสียชีวิตขณะกลับมาประเทศไทย และกรณเี สียชวี ติ ในตา งประเทศระหวางทเี่ ปนสมาชกิ กองทุน (๓) การคดั เลอื กและทดสอบฝมือ และการฝกอบรมคนหางานกอนจะเดินทางไปทํางานใน ตางประเทศ ซง่ึ มคี า ใชจา ย ดงั น้ี (ก) คาใชจายเก่ยี วกบั วัสดอุ ุปกรณ คา จาง คา ตอบแทนลกู จางชว่ั คราว คา วิทยากร และ คา ใชจา ยอ่ืนทจ่ี าํ เปน ของทางราชการในการคดั เลอื กและฝก อบรมคนหางานกอ นจะเดินทางไปทํางานใน ตา งประเทศ (ข) คาใชจา ยเกย่ี วกบั วัสดทุ ่ีใชในการทดสอบฝมือคนหางานซงึ่ จะไปทํางานในตา งประเทศ การขอรบั การสนบั สนนุ คาใชจ า ยตาม (ก) และ (ข) น้ัน หากไดรบั อนมุ ัติจากเงินงบประมาณ จะใชเงนิ กองทุนฯ ไมไ ด (๔) คาใชจายที่เกิดข้ึนจากการโอนเงินกองทุนและคาธรรมเนียมการใหบริการรับ-สงเงิน ตามที่ ธนาคารเรียกเกบ็

เลม ๑๒๓ ตอนที่ ๔๔ ง หนา ๒๙ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๙ ราชกจิ จานเุ บกษา (๕) ภายใตบังคับมาตรา ๕๓ คาใชจายอื่นใดที่เก่ียวกับการชวยเหลือคนหางานไปทํางาน ในตา งประเทศท่มี ิไดกาํ หนดไวใ นระเบียบน้ี หากมีความจาํ เปน และมเี หตุอนั สมควร ใหอธิบดีมีอํานาจ สง่ั จา ยเงนิ กองทุนเพ่ือใหการสงเคราะหแกสมาชิกกองทุนไดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการกองทุน เพอื่ ชว ยเหลอื คนหางานไปทํางานในตา งประเทศ ขอ ๖ ใหอ ธิบดเี ปน ผูรกั ษาการตามระเบียบน้ี ประกาศ ณ วันท่ี ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ สมศักด์ิ เทพสุทนิ รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน