Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเสนอรูปแบบการนิเทศภายในศธจ. 13-6-65

รายงานเสนอรูปแบบการนิเทศภายในศธจ. 13-6-65

Published by peerawat.bok, 2022-08-23 14:21:10

Description: รายงานเสนอรูปแบบการนิเทศภายในศธจ. 13-6-65

Search

Read the Text Version

คำนำ รายงานการนำเสนอรปู แบบการนิเทศภายในของสถานศึกษาฉบับน้ี จดั ทำข้นึ เพ่ือนำเสนอรูปแบบ วิธีการ แนวทางในการดำเนินการนิเทศภายใน โดยใช้กระบวนการ PLC ของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ซึ่งได้มีการดำเนินการตามโครงการนิเทศภายในของ สถานศึกษาท่ีได้มีการกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ จดุ มุ่งหมายเพ่ือพฒั นาบุคลากรและพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน การนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการ PLC ดังกล่าวทางโรงเรียนได้ใช้เป็นนแนวทางในการนิเทศ ติดตามเพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งภายในโรงเรียน และเพื่อให้โรงเรียนดำเนินการนิเทศ ภายในโรงเรียนได้อย่างเป็นระบบ เชอ่ื มโยงกบั ระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ผู้เรียน มีคุณภาพ ตามหลกั สตู รและมีความสามารถตามสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการนำแสน อรูปแบบการนิเทศภายในโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ให้เสร็จสมบูรณ์ เพื่อการพัฒนาการศึกษาในทุกระดับมี คุณภาพ ส่งผลต่อ คณุ ภาพการศกึ ษาต่อไป โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3

สารบญั หนา้ เร่ือง ก ข คำนำ สารบญั 1 1 แบบเสนอผลงานเขา้ รบั การคัดเลอื กนวตั กรรมการปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice ) 1 ด้านการบริหารจัดการ 1 1 1. ชื่อผู้สรา้ ง/พฒั นานวตั กรรม 1 2. ชือ่ นวตั กรรม 4 3. ประเภทนวตั กรรม 5 4. แนวทางการคดิ คน้ นวตั กรรม 5 5. ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา 10 6. วตั ถุประสงค์ 11 7. เปา้ หมาย 12 8. หลักการ แนวคิด ทฤษฎที ี่ใช้ 13 9. การออกแบบนวตั กรรม 10. วิธกี ารดำเนนิ การ 14 11. ผลการพฒั นานวัตกรรม 15 12. การเผยแพรน่ วตั กรรม 23 24 ภาคผนวก 28 ข้อมลู พืน้ ฐาน 37 รูปแบบการนเิ ทศภายใน รูปภาพกิจกรรมการนิเทศภายใน เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการนเิ ทศภายใน ตัวอยา่ ง ผลงานจากการนเิ ทศ PLC

1 แบบเสนอผลงานเข้ารบั การคัดเลือกนวตั กรรมการปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ ( Best Practice ) ดา้ นการบริหารจดั การ ตามโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมการศกึ ษา เพอื่ พัฒนาการศกึ ษา ในยคุ วิถชี ีวิตใหม่ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 …………………………………………………………………………………………………… 1. ชอ่ื ผสู้ รา้ ง / พัฒนานวตั กรรม ชื่อ นางสงวน อรัญเพิ่ม ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 อำเภอบ้านกรวด จังหวดั บุรีรัมย์ โทร. 0885946891 E-mail address : [email protected] 2. ชอ่ื นวัตกรรม “การนเิ ทศภายใน โดยใชก้ ระบวนการ PLC” 3. ประเภทนวตั กรรม  นวตั กรรมดา้ นการบรหิ ารจดั การ (ผูบ้ ริหารสถานศึกษา / สถานศึกษา) 4. แนวทางการคิดค้นนวัตกรรม ได้นำหลกั การแนวคดิ ของกระบวนการ PLC ของสำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา โดยมี 5 ข้นั ตอนดงั นี้ 1. การรวมกลุม่ PLC 2. ค้นหาปญั หา ความต้องการ/ร่วมกันหาแนวทางในการแกป้ ญั หา 3. ออกแบบกจิ กรรมการดำเนินการแกป้ ัญหา 4. แลกเปลยี่ นเสนอแนะ 5. นำไปส่กู ารปฏิบตั ิ 6. สะท้อนผล โดยนำกระบวนการนิเทศภายในไปใช้ในขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติ โดยคณะกรรมการนิเทศภายในจะ นิเทศภายในท้งั ในหอ้ งเรยี นและนิเทศออนไลน์ 5. ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นเร่ืองที่มีความสำคัญต่อการปฏิรูปการศกึ ษาของไทย เพราะปัจจุบนั ในโลกทัศน์ใหม่ของการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ เปลี่ยนแปลงทางการศกึ ษาได้เกิดขึ้นอย่างรวดเรว็ และมคี วามจำเป็นทปี่ ระเทศไทยต้องเรียนรู้ท่จี ะปรับตัวให้ทัน กับการเปลยี่ นแปลงทางการศึกษาท่เี คล่อื นไหวอยู่ตลอดเวลา และเตรียมพรอ้ มท่ีจะเผชิญความท้าทายจากการ เคลื่อนไหวของกระแสการศกึ ษาโลก โดยปัจจยั สำคัญทีจ่ ะเผชิญกบั การเปล่ียนแปลงและความท้าทายดังกล่าว ก็คือการสร้างคุณภาพของมนษุ ย์ โดยวธิ ี จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคนให้มีคุณภาพนั้น จงึ เป็นเร่ืองท่ีสำคัญอย่าง ยิ่ง เพ่ือทำให้ศักยภาพทีม่ ีอยู่ในตัวของแต่ละคนไดร้ ับการพัฒนาอย่างเต็มความสามารถทำให้เป็นคนที่รู้จักการ

2 คิดวิเคราะห์รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถปรับตัวให้ทัน กับการ เคลื่อนไหวทางการศกึ ษาและการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วรวมทั้งสิ่งทีส่ ำคัญท่ีสดุ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต และ คุณภาพการศึกษาคือ คุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม สามารถจรรโลงจิตใจของผู้เรียนสามารถดำรงชีวติอยู่ใน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ภารกจิ หลกั ของโรงเรียน คอื การจดั การเรียนการสอน งานวิชาการจงึ เป็นงานหลกั ของโรงเรียนเพราะ โรงเรยี นเป็นหน่วยงานทางศึกษาที่สำคัญที่สดุ ผู้บริหารศกึ ษาจงึ ต้องใช้เวลาในการบรหิ ารงานวิชาการมากกว่า งานอื่น ๆ เพราะงานอ่นื ๆ เป็นงานทีส่ นับสนุนการเรยี นการสอน เพ่ือใหก้ ารบริหารงานวชิ าการมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เด็กและเยาวชน ได้รับความรู้ ฝึกฝนสติปัญญาซึ่งถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของความเป็น มนุษย์ ผู้บริหารโรงเรียนยุคใหม่จะต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเป็นผู้นำทางวิชาการที่เข้มแข็ง เป็นผู้อำนวย ความสะดวก เป็นผู้มวี ิสัยทัศน์ท่ีกว้างไกล เป็นผู้นำหรือสนับสนุนส่งเสริมในการนำนวัตกรรมรูปแบบใหม่มาใช้ ในการปรับปรุง พัฒนากระบวนการเรียนรู้กระบวนการสอนให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสดุ แกผ่ เู้ รยี น การนิเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับหน่วยงานทุกระดับ การนิเทศการสอนของครูเป็นการนิเทศภายใน รูปแบบหนึ่ง เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ดี และเป็นขั้นตอนสำคัญในการบริหารงาน การ นิเทศจะช่วยแก้ไขปรับปรุงส่วนที่บกพร่องให้มีการพัฒนาด้านวิชาชีพครู เพื่อครูจะได้ใช้เป็นแนวทางในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเอง ช่วยใหค้ รูได้พัฒนาความรู้ความสามารถในเดา้ นการสอน รวมทั้งพัฒนา คุณภาพของนักเรียน การนิเทศการศึกษาเป็นกลไกที่สำคัญในการปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพราะการ นิเทศการศึกษาเป็นงานเกี่ยวกับการเรียนการสอน การบริหารงานวิชาการ ตรวจสอบพัฒนาควบคุม สถานศึกษา การศึกษาทคลองและวิจัยในเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน หลักสูตรการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน การจัดทำคู่มือครูเอกสารวิชาการ และจัดหาวัสดุการเรียนการสอน การปรับปรุง ส่งเสริมคุณภาพการเรียนการสอน การจัดอบรมสัมมนาครู อาจารย์ หรือผู้บริหารการศึกษาเพื่อส่งเสริมงาน วิชาการ การประเมินผลงานด้านวิชาการ รวมทั้งเสนอแนะและให้คำปรึกษาทางวิชาการ ด้วยเหตุนี้จึงถือว่า การนิเทศการศึกษา เป็นดังใจของความสำเร็จในการปรับปรุงการศึกษาและการนิเทสภายในเป็นยุทธศาสตร์ สำคัญของผู้บริหารการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษาทุกระดับที่จะใช้เป็ นเครื่องมือนำไปสู่ ความสำเร็จในการรวมพลังครู และผู้บริหาร รวมทั้งการพัฒนาให้มีความสามารถ ปรับปรุงและพัฒนาการ ดำเนินงานให้ได้ผลยิ่งขึ้น ซึ่งจะสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและศักยภาพของโรงเรียน โดยเน้น กระบวนการรว่ มคดิ รว่ มทำของบคุ ลากรในองค์กร การนิเทศการสอนเป็นกระบวนการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษาแก่ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและปรับปรุงการเรียนการสอน ส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ให้มีการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพราะการนิเทศมี ความสำคัญต่อการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง เพราะในบางครั้งแม้ครูอาจารย์จะใช้ความสามารถในการจัด กจิ กรรมตามท่วี างแผนไว้แล้วก็ตาม อาจจะมบี างสง่ิ บางอยา่ งขาดตกบกพร่อง ทำใหก้ ารสอนขาดความสมบูรณ์ ดังน้นั หากมีบคุ คลอ่ืน ไดช้ แ้ี นะ แนะนำให้ความชว่ ยเหลอื ก็ย่อมเกิดผลดี การนิเทศจงึ เปรยี บเสมือนกระจกเงาที่ คอยส่องให้เห็นภาพการสอนของครูและเป็นกระบวนการที่เสริมสร้างการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ เพื่อ

3 เป็นข้อมูลในการวางแผนในการพัฒนาการศึกษา การสร้างสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมในการ จัดการเรียนรู้ให้กับผเู้ รยี นได้ถูกต้องตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา โดยเน้นั ผเู้ รียนเป็นสำคญั และยัง เป็นการสร้างความตระหนักให้กับครูถึงปัญหาเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไห้สามารถแก้ไขปัญหา ได้ และสร้างขวัญกำลังใจให้กับครูผู้สอนอีกด้วย นอกจากนี้ยังมุ่งให้เกิดความร่วมมือและประสานงานกันเป็น อย่างดีภายใต้ระบบการบริหารงานของโรงเรียนเพื่อควบ คุมมาตรฐานและพัฒนางาน ด้านการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยฉพาะการก้าวสู่ระบบการประกับคุณภาพการศึกษา กล่าวโดยรวมก็คือการจัดการ นิเทศการศึกษาก็เพื่อหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานด้านการสอนของครู การทำงานเป็นทีม การ สรา้ งเจตคติที่ดีในการทำงาน ความรว่ มมอื ในการแกป้ ัญหา ทั้งนี้เพ่ือมุ่งสกู่ ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยรวม ส่งผลต่อคณุ ภาพของผเู้ รียนในที่สุด การพัฒนาคุณภาพศึกษาให้เกิดคุณภาพนั้น สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปคือคุณภาพของผู้เรียน เพื่อให้เช่ือมน่ั ว่าคณุ ภาพผู้เรียนจะเกิดไดแ้ ละบรรลุหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 น้นั จะตอ้ งมีกระบวนการสู่ความสำเร็จ มอี งค์ประกอบและปัจจยั คือ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ที่โรงเรียนต้อง ประกนั คุณภาพ ต่อผู้ปกครอง และผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี โรงเรียนต้องประกันคณุ ภาพต่อผ้ปู กครองและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียว่าผู้เรียนจะต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตร มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน จะต้องมีกระบวนการสู่ความสำเร็จในการพัฒนา 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ บริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่งกระบวนการนิเทศการศึกษา เป็น ภารกิจจำเป็นต่อการจัดการศึกษาที่ ต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้าน การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน บุคลากรที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานจัดการศึกษา จำเป็นต้องพัฒนาและ ปรับปรุง ตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศ การศึกษา เป็นกระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ช่วยเหลือ ชี้แนะและพัฒนางานให้ประสบผลสำเร็จ ทันต่อ สภาพ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อีกทั้งเป็นองค์ประกอบ สำคัญที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของประเทศ ทั้งยังเป็นส่วนสำคัญในการ ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพการศึกษา ที่ต้องพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนใหม้ ี ทักษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือ เขา้ สู่การปฏิรูปการศึกษาและการจัดการศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 ตลอดท้ัง มาตรฐานการศึกษาของชาติท่ี มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต ทักษะการ เป็นผู้นำ และทักษะการนำไปสุ่การสร้างนวัตกรรมขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การ นิเทศการศึกษาจึงมีความสำคัญต่อการพั ฒนา ปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการการศึกษา ใน สถานศึกษา เพื่อให้ผู้บริหารและครผู ู้สอนมีความรูค้ วามเข้าใจในด้านการบริหารจัดการ ด้านหลักสูตร การจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนที่มีประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ การปฏบิ ตั งิ านอื่นๆ ท่ีส่งผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา จากผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของผ้เู รยี น สภาพปัจจุบันของการจัดการศึกษาของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 พบว่า กระบวนการนิเทศภายใน โรงเรยี นยงั มกี ารดำเนนิ การไม่เตม็ รปู แบบ มีทง้ั ปัจจัยทเ่ี อ้ือและปัจจยั ท่ีเปน็ อุปสรรคต่อการนเิ ทศ การนิเทศยัง ขาดความต่อเนื่องและความเป็นเอกภาพที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุค

4 ประเทศไทย 4.0 และการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย มีทักษะและ คุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 นอกจากนั้น สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษายังมีความต้องการให้มีการ พฒั นาระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เข้มแข็งและต่อเนื่อง โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 จงึ ได้จัดทำโครงการ นิเทศภายในของโรงเรียน โดยการยึดแนวทางการนิเทศบูรณาการโดยใช้กระบวนการ PLC ตามแนวทางของ คุรุสภา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนขึ้น เพื่อสร้างความเข้มแข็งการนิเทศ ภายในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษา จากนโยบายการนิเทศภายใน ของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาการประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ซึ่งต้องการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน การ นิเทศภายในสถานศึกษา เป็นกระบวนการที่ผู้นิเทศในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูวิชาการ และครู ที่ผู้บริหารมอบหมาย ดำเนินการโดยใช้ภาวะผู้นำทำให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ ประสานงานและใช้ศักยภาพ การทำงานอย่างเต็มที่ ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนางานของสถานศึกษาโดยส่วนรวม ให้เป็นไปตามมาตรฐาน หลักสูตร มาตรฐานการศึกษา นอกจากน้ีพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ มีเจตนารมณ์อย่างชัดเจนในเรื่องกระบวนการ จัดการเรียนการสอน โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ จะต้องปฏิรูป กระบวนการเรียนรใู้ ห้เด็กได้คิดและปฏิบัติกจิ กรรม ดว้ ยตนเอง จงึ ต้องมีการพัฒนาครูใหส้ อดคล้องกับหลักการ ดงั กล่าว เพี่อเป็นการสนองต่อนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 อีกทั้งในปีการศึกษาที่ผ่านๆมามีผลการประเมินการทดสอบ ความสามารถพื้นฐานผู้เรียนระดับชาติ (NT) และ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถในการอ่านชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 (RT) ซึง่ เม่ือเทียบกบั ระดับเขตพื้นที่และระดบั ประเทศแล้วถือว่าอยู่ในระดับท่ียังต้องมีการ พฒั นา ซง่ึ ทางโรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 เหน็ ถงึ ความสำคัญในสว่ นน้ี และมคี วามต้องการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการชั้นเรียน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน จึงได้มีการจัดทำแผนนิเทศภายในครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาของโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนและเพือ่ พัฒนา ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของครผู ู้สอนซึง่ จะเกิดประโยชน์ต่อผูเ้ รียนต่อไป 6. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้สถานศึกษามีศักยภาพในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ของผู้เรยี นให้สอดคล้องกับมาตรฐาน หลกั สูตรและเปน็ ไปตามแนวทางของพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ 2. เพ่อื ให้สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารและจัดการเรียนรไู้ ด้อย่างมีคุณภาพ 3. เพ่ือให้บุคลากรในสถานศึกษา ได้พัฒนาเพ่มิ พนู ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้และการปฏบิ ัติงาน ตลอดจนความต้องการในวิชาชพี 4. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำร่วมตัดสินใจ และ รว่ มรบั ผดิ ชอบ ช่นื ชมในผลงาน

5 7. เป้าหมาย การนิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาภายใน โรงเรียนมกี ารแบ่งกิจกรรมการนิเทศ ออกเปน็ กจิ กรรม คอื ประกอบด้วยการเย่ยี มช้นั เรยี น การสงั เกตการสอน ในช้ันเรียน การนเิ ทศการเรียนการสอนของครู การสังเกตพฤติกรรมการสอน การนเิ ทศแผนการจดั การเรยี นรู้ 7.1 ขอบเขตของการนเิ ทศภายใน 1. ผู้นเิ ทศ 1. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา 2. หวั หน้าสายชน้ั เรยี น 3. ครูผสู้ อน 2. ผูร้ บั การนิเทศ ครูทุกคนในโรงเรยี นจำนวน 17 คน 3. เคร่ืองมือการนิเทศภายใน 1. แบบนิเทศการเยี่ยมช้ันเรียน 2. แบบนเิ ทศการสังเกตการสอนในชน้ั เรยี น 3. แบบนเิ ทศการเรียนการสอนของครู 4. การสงั เกตพฤติกรรมการสอน 5. การนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ 7.2 ระยะเวลาในการนเิ ทศ มถิ นุ ายน 2564 – มนี าคม 2565 8. หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีทีใ่ ช้ 8.1 รูปแบบหรอื กระบวนการนิเทศภายในของสถานศึกษา การนำกระบวนการ PLC ไปสกู่ ารปฏิบัตใิ นสถานศกึ ษา ในการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ได้นั้น ปัจจัยที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งที่จะขาด มิได้ก็คือ จะต้องมี “ชุมชนแห่งวิชาชีพ หรือ Professional community” เกิดขึ้นในโรงเรียนนั้น เพื่อให้เป็น สถานที่สำหรับการปฏิสมั พันธ์ของมวลสมาชิกผ้ปู ระกอบวิชาชีพครูของโรงเรยี น เกย่ี วกับเรื่องการให้ความดูแล และพูดถึงการปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียน ตลอดจนงานทางวิชาการของโรงเรียน และเนื่องจากครูส่วน ใหญ่ในแทบทุกประเทศมักเกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวในการปฏิบัติงานสอนของตน ดังนั้น การมี “ชุมชนแห่ง วิชาชีพ” เกิดขึ้นในโรงเรียนจึงช่วยคลี่คลายปัญหาดังกล่าว เพราะทำให้ครูมีโอกาสพูดคุยกับบุคคลผู้มีส่วนได้ เสียกับงานของครู (เช่น ผู้ปกครอง สมาชิกอื่นๆ ของชุมชน เป็นต้น) แต่แน่นอนว่า เหตุการณ์ทำนองนี้จะ เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อต้องมีการเปลี่ยนด้านโครงสร้างของโรงเรียน ตลอดจนจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมของโรงเรยี นอกี ดว้ ย โดยกจิ กรรมของชมุ ชนแห่งวิชาชีพในโรงเรียนควรประกอบดว้ ย 1) การมโี อกาส เสวนาใคร่ครวญ (Reflective dialogue) ระหว่างกัน 2) การเปิดกว้างให้มีการปฏิสัมพันธ์ในหมู่ครูผู้สอนมาก ขนึ้ เพื่อลดความรู้สึกโดดเดี่ยว (DE privatization) ในงานสอนของครู 3) การรวมกลุ่มเพื่อเนน้ เร่ืองการเรียนรู้ ของนักเรียน 4) การร่วมมือร่วมใจกันในหมู่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา 5) การแลกเปลี่ยนในประเด็นท่ี เปน็ ค่านยิ มและปทัสถานรว่ ม (Shared values and norms) ดังจะกล่าวในแตล่ ะประเดน็ ดงั น้ี

6 1) กิจกรรมทจี่ ำเป็นต่อความเป็นชมุ ชนแหง่ วชิ าชีพในสถานศกึ ษา (1) การมีโอกาสเสวนาใคร่ครวญ (Reflective dialogue) ระหว่างกัน ซึ่งเป็นการนำเอา ประเด็นปัญหาที่พบเห็น จากการปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอนของครูขึ้นมาพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่างกัน ช่วยให้แต่ละคนได้วิเคราะห์และสะท้อนมุมมองของตนในประเด็นนั้นต่อกลุ่มเพื่อนร่วมงาน ทำให้ทุกคนได้มี โอกาสเกิดการเรียนรู้ และได้ข้อสรุปต่อปัญหาจากหลากหลายมุมมองยิ่งขึ้น บรรยากาศเช่นนี้ก่อให้เกิดความ ร่วมมือร่วมใจขึ้นในหมู่ครูผู้สอน เพื่อช่วยกันปรับปรุงด้านการเรียนการสอนให้มีผลดียิ่งขึ้น แต่กิจกรรมน้ี จะ สำเรจ็ ราบรน่ื ได้ก็ต่อเม่ือแต่ละคนต้องยอมเปิดใจกว้าง รบั ฟังการประเมินจากเพ่ือร่วมกลุ่มระหว่างการสนทนา เชิงสร้างสรรคด์ งั กลา่ ว (2) การลดความโดดเด่ยี วระหวา่ งปฏิบตั งิ านสอนของครู (DE privatization of instructional practices) เปน็ กจิ กรรมท่ชี ว่ ยเสริมสรา้ งสัมพันธภาพที่ดรี ะหว่างครู กล่าวคือ ครมู โี อกาสแสดง บทบาททั้งเป็นผู้ให้ข้อมูลและได้แสดงบทบาทการเป็นทีป่ รึกษา (Advisor) การเปน็ พเี่ ล้ียง (Mentor) หรืออาจ เป็นผู้เชี่ยวชาญ (Specialist) ก็ได้ ในระหว่างที่ให้ความช่วยเหลือเพื่อนด้วยกัน ทั้งนี้เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า วิชาชีพครูแตกต่างกับวิชาชีพอื่นตรงที่ ผู้ปฏิบัติมักทำงานในลักษณะโดดเดี่ยวตามลำพัง ซึ่งเป็นผลให้ครูไม่ สามารถที่จะเรียนรู้จากผู้อื่นได้ และขาดประโยชน์ที่จะได้รับผลการวิเคราะห์และการให้ข้อมูลป้อนกลับด้าน การสอนจากผู้อื่นที่มีต่องานสอนของตน ด้วยเหตุนี้ ถ้าผู้นำสถานศึกษาต้องการให้เกิดกิจกรรมการเสวนา ใคร่ครวญระหวา่ งครขู ้ึน ก็จำเปน็ ตอ้ งพจิ ารณาใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการโดดเดีย่ วในการสอนของครู ใหไ้ ดเ้ สยี กอ่ น (3) รวมกลมุ่ เพ่ือมุง่ เนน้ ที่การเรียนรู้ของนักเรียน (Collective focus on student learning) เป็นกิจกรรมที่ดีมากแต่ยุ่งยากตรงประเด็นให้ครูเกิด “จุดมุ่งเน้น” อย่างไรก็ตาม ถ้าถือว่าการมี ชมุ ชนแห่งวชิ าชีพคือ ลกั ษณะสำคญั ของโรงเรยี นแหง่ การเรียนรู้ ที่มีเจตจำนงมงุ่ สร้างผลลัพธค์ ือการเรียนรู้ของ นักเรียนให้สูงขึ้นแล้ว ก็ต้องให้ความสำคัญอันดับแรกกับกิจกรรมที่สร้างความงอกงามของผู้เรียน ซึ่งค่อนข้าง ยากลำบากอยู่ไม่น้อยด้วยเหตุนี้ การที่ชุมชนแห่งวิชาชีพมีกิจกรรมให้ครูได้มาเสวนาใคร่ครวญ (Reflective dialogue) เพื่ออภิปรายและวิเคราะห์ด้านหลักสูตร และกลยุทธ์ด้านการสอนของครู ซึ่งแม้จะใช้เวลามาก ก็ตาม แตท่ ้ังหลายทง้ั ปวงก็เพื่อให้นักเรยี นเกิดการเรียนรไู้ ด้ผลดยี ิ่งขึ้น และเพือ่ ทีจ่ ะเปน็ จดุ เรมิ่ ต้นในการพัฒนา นักเรยี นใหเ้ ป็นผู้สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self - starting learners) ได้ต่อไป (4) สร้างจดุ เรมิ่ แหง่ ความร่วมมือรว่ มใจ (Collaboration starts) เม่ือครูหลดุ พ้นจากสภาพการต้องทำงานแบบโดดเดี่ยว และสามารถแสวงหาความเช่ียวชาญจากเพื่อนคนอ่ืนท่ี อยู่ในชุมชนวิชาชีพของตนได้แล้วก็ตาม แต่ความเป็นมืออาชีพของครูก็อาจไม่สามารถบรรลุได้ถ้าครูยังขาด การปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ดังน้ัน ความร่วมมือร่วมใจทางวิชาชีพต่อกันของครู จะก่อให้เกิดพลังในการร่วมวเิ คราะห์ปัญหา และความต้องการอันซับซอ้ นของผู้เรียน แต่ละคนได้ บรรยากาศ แห่งความรว่ มมอื ร่วมใจกันน้จี ะช่วยเสรมิ การปฏิบตั งิ านประจำวันของครแู ต่ละคน ได้อยา่ งถาวร (5) ทำการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ด้านค่านิยม และปทสั ถานร่วม (Shared values and norms) เมื่อบุคคลต่างๆ ในวิชาชพี ทั้งครูผู้สอน ครูแนะแนว ครูนิเทศ และผู้บริหารมาร่วมกนั ในชมุ ชนแห่งวชิ าชีพแล้ว ในประเด็นนี้ Sergiovanni (1992) เห็นว่า การสร้างค่านิยมและปทัสถานร่วมกันของคนในวิชาชีพที่อยู่ใน

7 โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ดังกล่าว ด้วยความเป็นมืออาชีพของบุคคลเหล่านี้จะพัฒนาสิ่งที่เรียกว่า อำนาจเชิง คุณธรรม (Moral authority) ขึ้นเป็นแนวทางของการอยู่ร่วมกันแทนที่การใช้อำนาจเชิงกฎหมายหรืออำนาจ โดยตำแหนง่ (Position authority) ซึง่ ไมเ่ หมาะสมกับชมุ ชนแหง่ วิชาชีพนัก 2) ความจำเป็นต้องปรับโครงสร้างใหม่ของโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ ให้สามารถรองรับการเกิดชุมชน แห่งวชิ าชพี เนอื่ งจากโรงเรยี นสว่ นใหญถ่ กู ออกแบบโครงสรา้ งเปน็ แบบราชการ (Bureaucratic organization) ที่มีสายงานบังคับบัญชาด้วยอำนาจโดยตำแหน่งที่ลดหลั่นตามลำดับลงมา กล่าวคือ มีกฎระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ มามากมายที่ต้องปฏิบัติตาม ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะตึงตัวและใช้ได้ดีในอดีตที่เป็นโลกยุค อุตสาหกรรม แต่กลับเป็นอุปสรรคสำคัญในโลกแห่งยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ ที่ต้องการมีโครงสร้างองค์การที่ ยืดหยุ่นคล่องตัวได้สูง พร้อมที่จะรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นมากมายตลอดเวลา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งต่อความเปน็ ไปได้ ของชุมชนแห่งวิชาชีพท่ีจะเกิดขึน้ ในโรงเรยี นได้นั้น โครงสร้างองคก์ ารของโรงเรยี น แห่งการเรียนจงึ จ าเปน็ ตอ้ งไดร้ ับการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ได้แกป่ ระเด็นต่อไปน้ี (Louis et al., 1994) (1) การกำหนดตารางเวลาว่างเพ่อื การพบปะ ถกปัญหา (Time to meet and discuss) มีผลการวิจัยเรื่องความมีประสิทธิผลของโรงเรียนและครูผู้สอน ชี้ชัดว่า การจัดสรรเวลาพิเศษเพื่อให้ครูได้ ปรึกษาหารือระหวา่ งกันเป็นสิ่งท่จี ำเป็นอย่างยิ่ง ทงั้ น้เี พราะปกติของการจัดชว่ั โมงสอน เม่อื หมดการสอนแต่ละ คาบเวลา ครูจะต้องเคลื่อนย้ายการสอนจากห้องหนึ่งไปอีกห้องหน่ึงตลอดเวลา จึงไม่มีโอกาสที่ครูจะได้พบปะ เพื่อแสวงหาความร่วมมือทางวิชาชีพซึ่งกันและกันได้ ทั้งที่ครูเหล่านี้จ าเป็นต้องร่วมกันพิจารณาหากลยุทธ์ ใหม่ๆด้านการสอน ที่เหมาะสม ด้วยเหตุนี้ การจัดตารางเวลาที่ว่างตรงกันเพื่อให้ครูได้ปฏิสัมพันธ์ จึงเป็น เง่ือนไขทจ่ี ำเป็นถา้ ตอ้ งการให้ความรว่ มมือร่วมใจของครเู กิดข้ึน (2) การกำหนดขนาดของชนั้ เรยี น (Class size) มีผลงานวิจัยระบุว่า ถ้าจำนวนนักเรียนในชั้นเรียนน้อยลงได้เท่าไรก็ยิ่งเพิ่มประสิทธิผลของการเรียนรู้ยิ่งข้ึน ทั้งนใ้ี นหอ้ งเรียนท่ีมีครูเพียงหน่งึ คนนั้น ครูสามารถท่ีจะดูแลนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิผลได้ในจำนวนท่ีจำกัด แม้วา่ จะไม่สามารถกำหนดจำนวนนกั เรียนท่เี หมาะสมแนน่ อน แตก่ ารขยายจำนวน นกั เรยี นตอ่ ชัน้ มากขึ้น ยอ่ มเพ่มิ ภาระและความยากล าบากแก่ครทู ี่จะดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ (3) การเพม่ิ อำนาจความรับผิดชอบแก่ครู และการให้อสิ ระแกโ่ รงเรยี น (Teacher empowerment and school autonomy) การเพิ่มอำนาจความรับผิดชอบแก่ครูเป็นปัจจัยที่จำเป็น เนื่องจากช่วยสร้างความรู้สึกมั่นใจต่อการปฏิบัติงานในชั้นเรียนที่ตนรับผิดชอบได้ดีขึ้น การเพิ่มอำนาจความ รับผิดชอบแก่ครู ยังสอดคล้องกับแนวทางบรหิ ารจัดการร่วม (Shared governance) ซึ่งเป็นคุณลักษณะหน่งึ ที่จำเป็นของโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ ในขณะเดียวกันโรงเรียนแต่ละแห่งของเขตพื้นที่การศึกษาก็ควรมีความ อิสระ (Autonomy) อย่างเพียงพอที่จะจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียนได้อย่างคล่องตัวและ รวดเร็ว ด้วยเหตุนี้เขตพื้นที่การศึกษาจึงควรร่วมกับโรงเรียนต่างๆ ในการจัดทำวิสัยทัศน์เป้าหมาย และ วัตถุประสงค์รวมแบบกว้างของเขตพื้นที่การศึกษา จากนั้นจึงให้อิสระแต่ละโรงเรียนไปจัดทำรายละเอียดท่ี สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และความต้องการของครผู ู้สอน และผนู้ ำสถานศึกษาแต่ละแห่ง ท่ีจะริเร่ิมสิ่ง ใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิผลต่อการเรยี นรู้ของนักเรียนของตน ในเรื่องนี้นักการศึกษาส่วนใหญ่เชื่อว่า ไม่มีวิธีสอน ใดหรือวิธีบริหารจัดการใดที่ดีที่สุด แต่พบว่า จากการใช้เทคนิควิธีในการเสวนาใคร่ครวญ ( Reflective

8 dialogue) การทำงานแบบร่วมมือร่วมใจ (Collaboration) และการสร้างปทัสถานและค่านิยมร่วม (Shared norms and values)แล้วจะช่วยส่งเสริมความสามารถในการรับมอบอำนาจความรับผิดชอบของครูต่อการ ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่นเดียวกับการให้อิสระแก่นักเรียนหรือที่เรียกว่า “การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานหรือ Site - based management” เพื่อความอิสระในการตัดสินใจต่างๆ ของโรงเรียนได้เองนั้น เป็น มาตรการที่ควรไดร้ ะบุชัดเจนในกรอบนโยบายของเขตพื้นท่ีการศึกษา ทั้งนี้มิไดห้ มายความว่า จะต้องให้อิสระ แก่โรงเรียนและครูโดยสิ้นเชิง แต่ควรจัดทำเปน็ แนวปฏิบัติร่วมกันทีอ่ ยู่ภายใต้กรอบนโยบายรวมของเขตพื้นที่ การศึกษา และขึ้นอยู่ที่ขดี ระดับความสามารถของครูในแต่ละโรงเรียน ที่จะสามารถสนองตอบและรับผิดชอบ ต่อการเรียนรู้ของนกั เรยี นไดด้ เี พียงไรดว้ ย 3) เง่อื นไขดา้ นการปรับเปลีย่ นวฒั นธรรมองค์การ (Professional community culture) วัฒนธรรมองค์การเป็นระบบความเชื่อท่ีสมาชิกขององค์การยึดถือรว่ มกัน ตวั อย่างเช่น ถ้าครูผู้สอนทุกคนและ ผู้นำของโรงเรียนมีความเชื่อว่า “มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพเพียงพอที่จะเรียนรู้ได้” ความเชื่อเช่นนี้จะท ำให้ สมาชิกของโรงเรียนพยายามที่จะสร้างสภาพแวดล้อมและแสวงวิธีการเรียนการสอนใหม่ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อนกั เรียนแต่ละคนท่ีมีความแตกต่างกัน ให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาศกั ยภาพของ ตนได้สูงสดุ เป็นตน้ ในชมุ ชนแห่งวิชาชพี กเ็ ชน่ กัน สมาชกิ แต่ละคนจะยึดเหนยี่ วต่อกันดว้ ยระบบค่านิยม ความ เชือ่ และปทสั ถานร่วมกัน ใหเ้ กดิ การดำรงอยู่ของชุมชนแห่งวิชาชีพของตน อย่างไร ก็ตาม มีวฒั นธรรมองค์การ แบบเดิมหลายประการที่ควรได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะต่อการเป็นชุมชนแห่งวิชาชีพ ได้แก่ (1) ลดความเปน็ องค์การทยี่ ดึ “วฒั นธรรมแบบราชการ หรือ Bureaucratic culture” ที่ใช้กฎระเบียบคำสั่งต่างๆ แบบตึงตัวในการปฏิบัติงาน และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกผู้ปฏิบัติงานไปสู่ การเน้น “วัฒนธรรมแบบกัลยาณมิตรทางวิชาการหรือ Collegial culture” ซึ่งเน้นวิธีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สมาชิก ที่ยึดถือค่านิยมเชิงคุณธรรมจริยธรรม (Moral and ethical cultures) เช่น การเอื้ออาทรห่วงใย ช่วยเหลอื และร่วมมือต่อกนั ในการปฏบิ ัตงิ าน และการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ของสมาชกิ เปน็ ตน้ (2) สร้างเสริมวัฒนธรรมแห่ง “ความไว้วางใจ (Trust) และความนับถือ (Respect)” ต่อกัน ในมวลหมสู่ มาชิกของชมรมแห่งวิชาชีพ กลา่ วคือ ความนบั ถือ หมายถึง การรูจ้ ักให้เกียรติและยอมรบั ในความรู้ ความสามารถและความเชี่ยวชาญของผู้อื่น ส่วนความไว้วางใจ หมายถึง ระดับคุณภาพของความสัมพันธ์ ระหวา่ งบคุ คลของมวลสมาชิก ทั้งนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชกิ เปน็ ผลที่มาจากการทส่ี มาชกิ ไดม้ ีกจิ กรรมการ เสวนาอย่างใคร่ครวญ (Reflective dialogue) และการร่วมมือร่วมใจ (Collaboration) ระหว่างกัน ดังนั้น การสร้างความไว้วางใจและความนับถือต่อกันจึงเป็นปจั จัยพื้นฐานสำคัญต่อการสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่าง สมาชิก โดยแนวคิดดังกล่าวนี้สามารถขยายกรอบให้กว้างขวางออกไปจนครอบถึงผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ทง้ั หลาย เชน่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง ตลอดจนสมาชิกของหน่วยงานท้ังหลายท่ีเป็น ชุมชนแวดล้อมของโรงเรียน เป็นต้น โดยที่บุคคลเหล่านี้ให้การยอมรับว่า การศึกษาและการเรียนรู้เป็นความ รับผิดชอบร่วมของทุกๆ คนในชุมชน (3) การสรา้ งวัฒนธรรมการใช้ทักษะดา้ นการคิดและใชส้ ติปญั ญาเป็นฐาน (A cognitive skill base) วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง (Profession) ที่ต้องใช้ความรู้ การคิดและการใช้สติปัญญาเป็นเครื่องมือ สำคัญในการประกอบวิชาชีพ ครผู สู้ อนจึงต้องเรียนรู้อยตู่ ลอดเวลา ต้องเปน็ Life-long learners และต้องเป็น

9 ผู้เรียนรู้ร่วมไปกับนักเรียนที่ตนทำการสอน ด้วยเหตุนี้วัฒนธรรมเชิงความคิดของครูที่ต้องปรับปรุงใหม่ ก็คือ เปลี่ยนความเชื่อที่ว่า ตนเป็นผู้ทำการสอน (Teaching) ไปเป็นผู้เรียนรู้ (Learning) แทน จึงต้องปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของตนจากผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้จัดสรรประสบการณ์ การเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับผู้เรียน พร้อมทั้งพยายามสร้างความตระหนัก ให้ผู้เรียนรู้จักรับผิดชอบในการใฝ่หาความรู้ด้วยตนเองอยู่เนืองนิตย์ เพ่อื ให้สามารถบรรลเุ ป้าหมายการเรียนของตน (4) สร้างวัฒนธรรมการชอบริเร่มิ สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ๆ (Openness to innovation) ในชุมชน แห่งวิชาชีพสมาชิกทุกคนต้องส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันในการค้นคว้าและริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ให้เกิดข้ึน โดยเฉพาะต้องเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ใหม่ (Knowledge creation) กล่าวคือ ครูผู้สอนจะต้องได้รับการ สนับสนนุ ในการออกแบบการสอนใหม่ๆ ท่ีเหมาะสมกับภาวะแวดลอ้ มที่ข้อมูลสารสนเทศเกดิ ขึ้นมากมายอย่าง รวดเร็ว ต้องคน้ หาว่าจะมีวิธีการเรยี นรู้ได้ดีที่สุดในภาวะเชน่ นี้ได้อย่างไร ข้อมลู สารสนเทศท่ีเกิดข้ึนมากมายจะ สง่ ผลกระทบต่อหลกั สตู รและความต้องการของผู้เรยี นซง่ึ เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลาเช่นกนั ได้อย่างไร การที่จะ ทำให้สมาชิกเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ๆ ได้นั้น ผู้นำองค์การจำเปน็ ต้องสรา้ งวัฒนธรรมการกลา้ เสี่ยง (Taking risks) ชอบการทดลอง (Experiment) เพื่อหาแนวทางปรับปรุงการเรียนรู้ของนักเรยี น ทั้งนี้สมาชิกของชุมชน แห่งวิชาชีพต้องไม่ถือว่าความผิดพลาดที่ได้จากการทดลองคือความล้มเหลว แต่ต้องถือว่าข้อผิดพลาดที่ได้ ดังกลา่ วเป็นโอกาสดีทจี่ ะได้เกิดการเรยี นรู้ใหม่เพมิ่ เติมและ “ถอื ว่าผิดเป็นคร”ู ไมเ่ ป็นเรอ่ื งท่ีควรตำหนิ แต่เป็น เรือ่ งที่ควรสนบั สนนุ ให้กำลังใจเพื่อจะได้คน้ หาคำตอบทเ่ี หมาะสมต่อไป นอกจากน้ี ควรปรบั ปรุงระบบเน้นการ ให้ความดคี วามชอบแกส่ มาชกิ ทช่ี อบทดลองค้นค้าหานวัตกรรมและริเร่ิมสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้แก่โรงเรียนอีก ด้วย (5) ต้องได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้นำ (Supportive leadership) การที่ครูผู้สอน และผู้นำสถานศึกษาได้ทำงานร่วมกันในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพแล้ว ก็มีคำถามตามมาว่า แล้วจะเพิ่ม จำนวนโรงเรียนที่มีชุมชนดังกล่าวให้มากขึ้นได้อย่างไร กระบวนทัศน์ ทางการศึกษาที่เปลี่ยนไปบ่งชี้ว่าท้ัง บรรดาครูผู้สอนทั้งหลายและสาธารณชน จำเป็นต้องร่วมกันกำหนดบทบาทใหม่ที่เหมาะสมของครู โดยต้อง ทบทวนที่ต้องให้ครูใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันอยู่หน้าชั้นเรียน และอยู่กับนักเรียนตลอดเวลานั้น ได้มี การศึกษาเปรียบเทียบเรื่อง การใช้เวลาของครูผู้สอนในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปรากฏผลออกมาชัดเจนว่าใน หลายประเทศ เช่น ในญี่ปุ่น พบว่า ครูมีชั่วโมงสอนน้อยลง และมีโอกาสได้ใช้เวลาที่เหลือส่วนใหญ่ไปกับการ จัดทำแผนเตรียมการสอน การประชุมปรึกษาหารือกับเพื่อนร่วมงาน การให้คำปรึกษาและทำงานกับนักเรียน เปน็ รายบคุ คล การแวะเย่ียมชนั้ เรียนอืน่ เพื่อสงั เกตการณเ์ รียนการสอน และการไดใ้ ชเ้ วลาไปเพื่อกจิ กรรมต่างๆ ด้านการพัฒนาวิชาชีพของครูมากขึ้น (Darling– Hammond,1994,1996) เป็นต้น การที่จะให้การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นได้นั้น จำเป็นต้องสร้างความตระหนัก และให้มุมมองใหม่ต่อสาธารณชน และ วงการวชิ าชพี ครูท่ตี อ้ งเนน้ และเหน็ คุณค่าของความจ าเป็นตอ้ งพัฒนาครใู หม้ ีความเปน็ มืออาชพี ยง่ิ ข้นึ ถา้ หาก ต้องการคุณภาพการศึกษาของนักเรียน ดังที่มีผู้กล่าวว่า “ครูต้องเป็นบุคคลแรกที่ต้องเป็นนักเรียน (Teachers are the first Learners) โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ซึ่งจะ ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิผลมากขึ้น และช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนสูงตามไปด้วย นน่ั คอื ความปรารถนาใฝฝ่ นั ของบุคคลทกุ ฝ่ายท่ีมิอาจปฏเิ สธได้

10 2.3.2 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการนิเทศภายใน ประกอบดว้ ย 1. แบบนิเทศการเย่ยี มชั้นเรยี น 2. แบบนิเทศการสงั เกตการสอนในช้นั เรยี น 3. แบบนเิ ทศการเรียนการสอนของครู 4. การสังเกตพฤติกรรมการสอน 5. การนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ 9. การออกแบบนวัตกรรม 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎที ่เี กี่ยวขอ้ งกบั การออกแบบนวตั กรรม 2. ศกึ ษากระบวนการออกแบบนวัตกรรมการศึกษา 3. ออกแบบรายละเอียดนวัตกรรม 4. การออกแบบ เคร่อื งมอื ศึกษาคณุ ภาพ และประสทิ ธิภาพนวัตกรรม 5. การนำนวตั กรรมไปใช้ 6. ประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม

11 10. วธิ ดี ำเนนิ การ Flow Chart แสดงขั้นตอนการดำเนินการนิเทศภายใน โดยใช้กระบวนการ PLC รวมกลุ่ม PLC คน้ หาปัญหา/ความต้องการ วิธีการ/นวตั กรรม ออกแบบกจิ กรรมการ ดำเนนิ การแก้ปัญหา แลกเปลยี่ น/เสนอแนะ นำไปสกู่ ารปฏิบัติ การสังเกต นเิ ทศการจดั การเรียนการสอน สะท้อนผล นวัตกรรม/Best Practices จาก Flow Chart แสดงข้ันตอนการดำเนินการนเิ ทศภายใน โดยใชก้ ระบวนการ PLC ไปใชใ้ น สถานศึกษามีรายละเอยี ด แต่ละข้ันตอน ดังน้ี 1. การรวมกลมุ่ PLC รวมกลุ่มครทู ี่มีปัญหา/ความต้องการ เดยี วกนั เชน่ ครูกลุม่ สาระเดียวกนั ครูทส่ี อนในระดับช้นั เดียวกัน เป็นตน้

12 2. ค้นหาปัญหา ความตอ้ งการ/รว่ มกนั หาแนวทางในการแก้ปญั หา 1) รว่ มกนั เสนอปัญหา/ความต้องการ 2) จดั กลมุ่ ปัญหา 3) จัดลำดับความจำเปน็ เร่งด่วน 4) เลอื กปัญหาเพียง 1 ปญั หา โดยการพจิ ารณาร่วมกัน 5) เรือ่ งเล่าเร้าพลงั /บอกเล่าประสบการณ์ทีแ่ ก้ปัญหาได้สำเรจ็ 6) ค้นหาตัวอย่าง/รูปแบบทป่ี ระสบความสำเร็จ 7) ร่วมกันตดั สินใจเลือกรปู แบบ/วิธีการ/นวตั กรรมในการแก้ปญั หา 3. ออกแบบกิจกรรมการดำเนนิ การแกป้ ัญหา ออกแบบกจิ กรรมตามวธิ ีการ/นวัตกรรมทก่ี ลุ่มเลือก 4. แลกเปลี่ยนเสนอแนะ นำเสนอกิจกรรมการแก้ปัญหา ใหผ้ ู้เช่ยี วชาญหรือผู้ทมี่ ปี ระสบการณ์ใหข้ ้อเสนอแนะ 5. นำไปสกู่ ารปฏบิ ตั กิ ารสังเกต นิเทศการจดั การเรียนการสอน 1) นำกิจกรรมไปใชใ้ นการแก้ปญั หาในช้ันเรยี น 2) คณะกรรมการนิเทศร่วมสังเกตในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เชน่ การเย่ียม ชนั้ เรยี น การสงั เกตการสอน การนเิ ทศการสอน การประชุมหารอื ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหา เป็นตน้ 6. สะท้อนผล 1) สรปุ ผลการนำรูปแบบ/วธิ ีการ ในการนำไปแก้ปญั หา 2) อภิปรายผลการแกป้ ัญหา เสนอแนะแนวทางในการพฒั นา 11. ผลการพฒั นานวตั กรรม ตามโครงการนิเทศภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ได้มีการ กำหนดโครงการและกำหนดจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นรู้ของผู้เรียน โดยการนิเทศ ตดิ ตามกระบวนการดำเนินการภายในสถานศึกษาจากคณะกรรมการ นิเทศภายในที่ได้จัดตั้งขึ้น มีการใช้รูปแบบการนิเทศด้วยกระบวนการ PLC ร่วมด้วย มีนางสงวน อรัญเพิ่ม ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 เป็นคณะทำงาน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ (Mentor) มีหน้าที่ กำกับติดตามประเมินผลและรายงานผลการนิเทศการจัดการเรียนการสอนภายใน ของคณะครูทุกคน 5 กลุ่ม สาระการเรียนรูห้ ลัก ตามประกาศของโรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 ทั้งนี้ยังมีคณะทำงานชว่ ยกำกับติดตาม การ นิเทศ ประกอบ ด้วย สมาชิกในกลุ่ม PLC ดังนี้ 1. model teacher ครูผู้สอน ซึ่งเป็นผู้นำผลการประชุมจาก กระบวนการ PLC ไปใช้ 2. buddy teacher ครูร่วมเรียนรู้ 3. mentor หัวหน้ากลุ่มสาระ/ฝ่ายวิชาการ 4. administrator ผู้บริหาร 5. export ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีส่วนช่วยในการดำเนินการตั้งแต่กระบวนการเริ่มต้น เพื่อให้การวิเคราะห์ปัญหา การวิเคราะห์ความต้องการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ตลอดจนมีการ ประชมุ ตดิ ตามการดำเนินการเปน็ ระยะ

13 จากผลการสังเกตการนิเทศ การนำผลจากการ PLC ไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทำให้ได้ เห็นรูปแบบเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และแปลกใหม่ มีการนำสื่อ เทคโนโลยีมา ประยกุ ตใ์ ช้ได้สอดคลอ้ งกับชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) ซง่ึ ในปีการศึกษา 2564 ที่ผ่านมาการดำเนินการดังที่กล่าวมานั้นมีส่วนช่วยให้ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐาน ผเู้ รยี นระดับชาติ (NT) O – net เฉลี่ยสูงกวา่ ระดับเขตพน้ื ทแี่ ละระดับประเทศ ผลสำเรจ็ ทีไ่ ด้ และการนำผลไปใช้ 1. สถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน หลกั สตู รและเปน็ ไปตามแนวทางของพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และฉบับเพม่ิ เตมิ 2. สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารและจดั การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมีคณุ ภาพ 3. บุคลากรในสถานศึกษา ได้พัฒนาเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการจัดกิจกรรม การ เรยี นร้แู ละการปฏิบัตงิ าน ตลอดจนความตอ้ งการในวชิ าชพี 4. โรงเรียนมีการปฏิรูประบบบริหารโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิดร่วมทำร่วมตัดสินใจและร่วม รับผดิ ชอบ ช่นื ชมในผลงาน 12. การเผยแพร่นวัตกรรม ได้ดำเนินการเผยแพร่นวตั กรรมท่ีได้ปฏิบัติในรปู แบบดังน้ี 1. เผยแพรใ่ ห้แกค่ ณะผบู้ รหิ ารในกลุ่มโรงเรียนบ้านกรวด 4 โดยวธิ ีสง่ ไปในกล่มุ ไลน์ 2. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ใน Facebook Fanpage : โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 ซง่ึ มีผ้ถู กู ใจเพจจำนวน 517 คน 3. เผยแพร่ประชาสมั พันธ์ใน Facebook : Sanguan Daengsee ลงชอื่ ........................................................ผู้เสนอผลงาน ( นางสงวน อรัญเพิ่ม ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 วันท่ี ………เดือน…………………พ.ศ………….

14 ภาคผนวก

15 ข้อมูลพนื้ ฐาน ขอ้ มูลท่ัวไป ชื่อสถานศึกษาโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ชื่อสถานศึกษา(อังกฤษ) : Nikomsangton-Aeng 3 รหัสโรงเรียน 10 หลัก: 1031260285 ตั้งอยู่เลขที่ - หมู่ที่ 6 ตำบลบึงเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31180 โทรศัพท์ 088-5946891 Facebook page : โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 สพป. บุรีรัมย์ เขต 2 กลุ่มโรงเรียนบ้านกรวด 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรมั ย์ เขต 2 เปิด สอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่บริการ 5 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 13 ตำบลบึงเจริญ หมู่ที่ 10 ตำบลปราสาท วัน-เดือน-ปี ก่อตั้ง: 2 พฤษภาคม 2509 โดยใช้งบประมาณ ของกรมประชาสงเคราะห์ มีผู้ปกครองนคิ มสรา้ งตนเองบ้านกรวดเป็นผู้ก่อตง้ั ต้งั อยู่บ้านสายตรี 4 หมู่ 6 ตำบล บึงเจริญ อำเภอบ้านกรวด จงั หวัดบุรรี มั ย์ มเี นอ้ื ท่ี 45 ไร่ 45 ตารางวา เปดิ ทำการสอนครงั้ แรกในระดับ ป.1-ป. 4 มีนายชาย เจตินัย เป็นครูใหญ่และนายวิจิตร พุทไธสง เป็นครูผู้สอนนกั เรียนชาย 36 คน นักเรียนหญิง 36 คน รวม 72 คน ผบู้ รหิ ารคนปัจจุบนั ชือ่ นางสงวน อรัญเพมิ่ วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ ปริญญา โท สาขาการบริหารการศกึ ษา ดำรงตำแหน่งทโ่ี รงเรยี นน้ตี งั้ แต่ 10 กุมภาพนั ธ์ 2564

16 ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากร 1) จำนวนข้าราชการครูและบคุ ลากร ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการ รอง ครผู สู้ อน พนกั งาน ครูอัตรา นักการ เจา้ หนา้ ผอู้ ำนวยการ ราชการ จา้ ง ภารโรง ที่อน่ื ๆ ปฐมวัย ป.1-6 ม.1-3 จำนวน(คน) 1 0 295 1 001 จานวนขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 10 5 0 ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ครผู ้สู อนปฐมวยั ครูผสู้ อน ป.1-6 ครผู ้สู อน ม.1-3 พนักงานราชการ ครูอตั ราจา้ ง นกั การภารโรง เจา้ หนา้ ทอี่ ่นื ๆ จานวน 1 0 2 9 5 1 0 0 1 2) วิทยฐานะ ครผู ู้ชว่ ย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 2 1 5 9 0 วิทยฐานะ จำนวน (คน) วทิ ยฐานะของขา้ ราชการครู ปกี ารศึกษา 2564 คศ.4 ครผู ูช้ ว่ ย 0% 12%คศ.1 6% คศ.3 53% คศ.2 29% ครูผ้ชู ่วย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 3) วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ขอบุคลากร วุฒิการศึกษา ม.6 ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี ป.บัณฑิต ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก จำนวน (คน) 0 0 0 10 0 9 0 วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ของบุคลากร ปีการศกึ ษา 2564 ม.6 ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี ป.บณั ฑติ ปริญญาโท ปริญญาเอก 0% 5% 0% 0% 45% 50% 0%

ข้อมลู นกั เรยี น 17 จำนวนนกั เรยี นปกี ารศึกษา 2564 รวมทง้ั สิน้ 232 คน รวม 15 จำแนกตามระดับช้ันทีเ่ ปดิ สอน ดังนี้ 11 26 ระดับชน้ั จำนวนหอ้ ง ชาย หญิง 20 22 อนบุ าล 2 17 8 17 26 อนบุ าล 3 16 5 25 29 รวมอนุบาล 2 13 13 139 32 ประถมศึกษาปีท่ี 1 1 10 10 19 16 ประถมศึกษาปที ่ี 2 1 13 9 66 232 ประถมศึกษาปที ่ี 3 1 9 8 ประถมศึกษาปีที่ 4 1 8 18 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 1 13 12 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1 14 15 รวมประถม 6 67 72 มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 1 17 15 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 1 9 10 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 1 9 7 รวมมัธยมศึกษาตอนต้น 3 35 32 รวมทงั้ หมด 11 115 117 หมายเหตุ ข้อมูล ณ 23 เมษายน 2565 ผลการจดั การศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาปฐมวยั 1) ผลพัฒนาการเด็ก ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 พฒั นาการ จำนวน ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ดี พอใช้ ปรับปรุง ดา้ นรา่ งกาย เดก็ เดก็ รอ้ ยละ ร้อย ร้อยละ เดก็ รอ้ ยละ ร้อย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ละ ละ 35 100 36 100 26 100 ด้านอารมณแ์ ละจติ ใจ 35 100 36 100 26 100 ดา้ นสังคม 35 88.57 11.43 36 100 26 100 ดา้ นสตปิ ัญญา (34) (2) 35 88.89 11.12 36 96.15 3.85 26 96.15 3.85 (32) (4) (25) (1) (25) (1)

18 ผลการประเมินพฒั นาการของเด็กระดับปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2564 100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 ระดบั ดี ระดบั พอใช้ ระดบั ปรบั ปรุง 2) ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาช้นั อนุบาล 3 ปกี ารศึกษา จำนวนนักเรยี น (คน) จำนวนนกั เรียนท่ีจบ (คน) รอ้ ยละนักเรยี นทีจ่ บ ปี 2562 19 19 100 ปี 2563 17 17 100 ปี 2564 11 11 100 ผู้สาเร็จการศึกษาช้นั อนบุ าล 3 100 100 100 100 50 รอ้ ยละนกั เรียนทจ่ี บ 0 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละและจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาชั้นอนุบาล 3 จำแนกตามปีการศกึ ษา 2562-2564 พบว่า ปกี ารศึกษา 2562 นักเรยี นจำนวน 19 คน สำเรจ็ การศึกษาจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ปกี ารศกึ ษา 2563 นักเรยี นจำนวน 17 คน สำเรจ็ การศึกษาจำนวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ปีการศกึ ษา 2564 นักเรียนจำนวน 11 คน สำเร็จการศกึ ษาจำนวน 11 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

19 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผู้เรียน ปีการศกึ ษา 2564 1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถในการอา่ นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 (RT) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 ด้าน คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ โรงเรยี น ของระดบั เขตพื้นท่ี ของระดบั ประเทศ ด้านการอ่านออกเสียง 51.33 71.65 71.85 ดา้ นการอ่านรเู้ รือ่ ง 61.00 69.47 71.08 เฉลี่ยทง้ั 2 ด้าน 56.16 70.56 71.46 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถในการอ่านชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 (RT) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 100 51.33 71.65 71.85 61 69.47 71.08 56.16 70.56 71.46 0 ดา้ นการอา่ นรเู้ ร่อื ง เฉลี่ยรวมทัง้ 2 ดา้ น ดา้ นการอ่านออกเสยี ง คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของโรงเรียน คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของระดบั เขตพ้ืนที่ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของระดับประเทศ จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) จาแนกตามสมรรถนะทั้ง 2 ด้านของชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า คะแนนเฉลี่ยในระดับ โรงเรียนทั้ง 2 ด้าน ต่ำกว่าระดับอ่ืน ๆ โดยได้คะแนนการอ่านออกเสียง ร้อยละ 51.33 และการอ่านรู้เร่ือง ร้อยละ 61.00 ตามลำดบั 2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานผู้เรยี นระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2562 - 2564 2.1) เปรียบเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถในการอ่านชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 (RT) และร้อยละผลตา่ ง ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 – 2564 ความสามารถ ปี 2562 ปี 2563 ผลตา่ ง 2562-2563 ปี 2564 ผลต่าง 2563- 2564 ด้านการอ่านออกเสยี ง 25.59 44.54 +18.95 51.33 +6.79 ด้านการอา่ นรเู้ ร่อื ง 38.28 40.81 +2.58 61.00 +20.19 รวมเฉล่ยี ทัง้ 2 ด้าน 31.94 42.68 +10.74 56.16 +13.48

20 เปรยี บเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถในการอ่านช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 (RT) ระหวา่ งปี การศกึ ษา 2562-2564 100 25.59 44.54 51.33 38.28 40.81 61 31.94 42.68 56.16 ดา้ นการอา่ นรู้เรื่อง รวมเฉลยี่ ทงั้ 2 ด้าน 0 ดา้ นการอ่านออกเสยี ง ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของโรงเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการ อ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) จาแนกตามความสามารถด้านการอ่านของชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี การศึกษา 2562 – 2564 พบว่า สมรรถนะทั้งสองด้านในปี 2563 สูงกว่าปี 2562 ทั้งสองด้านเฉล่ีย +42.68 และเพม่ิ ขน้ึ ทงั้ สองด้านในปี 2564 เฉลีย่ 56.16 เมื่อเปรยี บเทยี บผลต่างจากปี 2563 พบวา่ มผี ลต่าง อย่ทู ี่ +13.48 3) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผูเ้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ระดับช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564 ดา้ น คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละของ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ คะแนนเฉล่ียร้อยละ โรงเรยี น ของระดับเขตพ้นื ท่ี ของระดบั ประเทศ ดา้ นคำนวณ 53.83 39.91 46.07 ด้านภาษา 61.79 49.13 53.84 เฉล่ยี ทัง้ 2 ด้าน 57.81 44.52 49.97 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 100 53.8339.9146.07 61.7949.1353.84 57.8144.5249.97 0 ด้านภาษา เฉลีย่ รวมทัง้ 2 ด้าน ด้านคานวณ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละของโรงเรยี น คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละของระดบั เขตพืน้ ที่ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของระดบั ประเทศ จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะเเนนเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของระดับ โรงเรียนกับระดับเขตและระดับประเทศ จาแนกตามความสามารถทั้ง 2 ด้านของชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศกึ ษา 2563 พบวา่ คะแนนเฉลยี่ ในระดบั โรงเรียนทงั้ 2 ดา้ น สูงกว่าทงั้ ระดับเขตพื้นทแ่ี ละระดับประเทศ

21 4) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานผเู้ รยี นระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564 4.1) เปรียบเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน ผู้เรยี นระดับชาติ (NT) และรอ้ ยละผลต่าง ระหว่างปีการศึกษา 2562 - 2564 ความสามารถ ปี 2562 ปี 2563 ผลต่าง 2562-2563 ปี 2564 ผลต่าง 2563-2564 ดา้ นภาษา 48.68 48.37 -0.31 53.83 +5.46 ดา้ นคำนวณ 52.00 46.70 -4.47 61.79 +15.09 รวมเฉล่ยี ทง้ั 2 ดา้ น 50.34 47.53 -2.81 57.81 +10.28 เปรียบเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) ระหวา่ งปีการศกึ ษา 2562-2564 100 48.68 48.37 53.83 52 46.7 61.79 50.34 47.53 57.81 0 ด้านคานวณ รวมเฉล่ียทัง้ 2 ดา้ น ด้านภาษา ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของโรงเรียนจากผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) จาแนกตามความสารถทั้ง 2 ด้าน ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562-2564 พบว่า ผลต่างทั้ง 2 ด้านระหว่างปี 2562-2563 อยู่ที่ -2.81 และผลต่างทั้ง 2 ด้านเมื่อเทียบปี 2563 และ ปี 2564 มีผลต่างอยู่ท่ี +10.28 5) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานผเู้ รียนระดับชาติ (O-NET) 5.1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผเู้ รียนระดับชาติ(O-NET) ประจำปี การศกึ ษา 2564 ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 รายวชิ า โรงเรยี น เขตพ้นื ท่ี จงั หวัด ประเทศ ภาษาไทย (61) 46.81 49.05 50.29 50.38 ภาษาอังกฤษ (63) 32.19 32.32 35.32 39.22 คณิตศาสตร์ (64) 28.90 34.92 35.67 36.83 วิทยาศาสตร์ (65) 29.38 32.52 33.54 34.31

22 แผนภูมเิ ปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 100 80 60 46.81 49.05 50.29 50.38 32.19 32.32 35.32 39.22 28.9 34.92 35.67 36.83 40 29.38 32.52 33.54 34.31 20 0 ภาษาองั กฤษ (63) คณติ ศาสตร์ (64) วทิ ยาศาสตร์ (65) ภาษาไทย (61) โรงเรียน เขตพน้ื ท่ี จงั หวดั ประเทศ 5.2) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของนักเรยี นระดับชาติ (O-NET) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 รายวชิ า ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ผลตา่ ง (64-63) ภาษาไทย (61) 40.95 43.97 46.81 2.84 ภาษาอังกฤษ (63) 27.14 27.83 32.19 4.36 คณติ ศาสตร์ (64) 23.33 22.61 28.90 6.29 วทิ ยาศาสตร์ (65) 30.49 30.35 29.38 -0.97 รวม 30.48 31.19 34.32 3.13 แผนภูมเิ ปรยี บเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2562-2564 โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 60 40.95 43.97 46.81 27.14 27.83 32.19 23.33 22.61 28.9 30.49 30.35 29.38 40 ภาษาอังกฤษ (63) คณิตศาสตร์ (64) วทิ ยาศาสตร์ (65) 20 0 ภาษาไทย (61) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

23 5.3) เปรยี บเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของนักเรียนระดบั ชาติ (O-NET) ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2561 – 2564 รายวชิ า ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ผลตา่ ง (64-62) ภาษาไทย (91) 40.92 52.00 - 52.21 0.21 ภาษาอังกฤษ (93) 26.67 34.00 - 25.42 -8.58 คณิตศาสตร์ (94) 25.33 23.29 - 30.02 6.73 วิทยาศาสตร์ (95) 30.17 30.09 - 32.47 2.38 รวม 30.77 34.84 - 35.03 0.19 แผนภูมเิ ปรยี บเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2561-2564 โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 60 52 52.21 40 40.92 26.67 34 25.3323.29 30.02 30.1730.09 32.47 25.42 20 0 0 0 0 ภาษาองั กฤษ (93) คณติ ศาสตร์ (94) วิทยาศาสตร์ (95) 0 ภาษาไทย (91) ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 รูปแบบการนเิ ทศภายใน รูปแบบการนเิ ทศภายในโดยใช้กระบวนการ PLC

24 รปู ภาพกจิ กรรมการนิเทศภายใน 1. รวมกลมุ่ PLC คณะครูรวมการ PLC เร่ืองการหาแนวทางวิธีการจัดการเรียนการสอนในสถานการณโ์ ควดิ 19 2. ค้นหาปัญหา/ความตอ้ งการ รวมพดู คุยปญั หาจากการไดจ้ ัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19 ทผ่ี ่านมามีปัญหาอยา่ งไร เพื่อหาแนว ทางแก้ไข

25 3. ออกแบบกจิ กรรมการดำเนินการแก้ปญั หา การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิดโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ได้ใช้กระบวนการท่ี หลากหลายทั้งแบบ On – Hand สำหรับนักเรียนที่ไม่มีความพร้อมในการเรียนออนไลน์ และแบบ On – Demand สำหรับนักเรียนที่มีความพร้อมในเรื่องอินเตอร์เน็ตโดยมีการใช้ Application Zoom ร่วมกับ Application Line ใน การเรียนการสอน

26 4. แลกเปลยี่ น/เสนอแนะ รวมพูดคุยแลกเปลี่ยนแนวทางการแก้ปญั หา โดยมผี เู้ ช่ียวชาญในดา้ นนน้ั ๆได้ให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะแก่คณะครู 5. นำไปสู่การปฏิบตั ิ การสังเกต นิเทศการจดั การเรียนการสอน นำความรูแ้ ละแนวทางท่ีไดร้ ับจากผ้เู ชยี่ วชาญไปแก้ปญั หาในช้นั เรยี นของตนเอง คณะกรรมการนเิ ทศภายในกจ็ ะ ดำเนนิ การนิเทศการเรยี นการสอนตามที่ครูผูส้ อนออกแบบไว้

27 6. การสะทอ้ นผล คณะครแู ละผู้อำนวยการรวมสรุปผล อภปิ ราย การนำรูปแบบ/วิธกี าร ในการนำไปแก้ปัญหา

28 เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการนิเทศภายใน แบบนิเทศการเยี่ยมนเิ ทศชน้ั เรยี น โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบุรรี มั ย์ เขต 2 ชือ่ ผู้รบั การนเิ ทศ ....................................................................... (หวั หนา้ ระดับ/หัวหน้าชว่ งชั้น) วันที่ ......... เดือน .........................................พ.ศ. .................................. คำชแี้ จง ใหก้ าเครอื่ งหมาย ในช่องทางขวามือตามเกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ เกณฑ์ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = แก้ไข รายการประเมนิ ระดับการปฏบิ ัติ หมายเหตุ 54321 สภาพหอ้ งเรียน 1. มปี า้ ยนเิ ทศเพ่ือแสดงขา่ วสารและความรู้ต่าง ๆ 2. มปี ้ายแสดงข้อมูลสถิติของหอ้ งเรียนที่เป็นปจั จุบัน 3. มสี ัญลกั ษณ์ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 4. มีการแสดงผลงานนกั เรยี น 5.บรรยากาศในห้องเรียนเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ การบริหารจัดการห้องเรียน 6. ใช้การเสรมิ แรงเชิงบวกในการจัดการเรยี นรู้ (Positive Reinforcement) 7. ใช้วิธกี ารทำงานเป็นกลุ่ม 8. นกั เรยี นทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรู้ (Involve Everyone) ครผู ู้สอน 9. มีการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ 10. จดั กิจกรรมการเรียนรู้เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 11. ใช้ส่อื เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ 12. มขี ้อมูลนักเรยี นเป็นรายบุคคล 13. มีวิจัยชัน้ เรียนเพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ 14. ดแู ลเอาใจใสน่ ักเรียนอยา่ งทั่วถงึ 15. แตง่ กายเหมาะสมกบั ความเปน็ ครู นักเรยี น 16. ตัง้ ใจปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรยี นท่ไี ด้รับมอบหมาย 17. นกั เรยี นรา่ เริงแจม่ ใส 18. นกั เรยี นกระตือรือรน้ และกลา้ ซกั ถามครู

รายการประเมนิ ระดับการปฏบิ ัติ 29 54321 หมายเหตุ 19. นกั เรียนมรี ะเบยี บวนิ ัย 20. นักเรียนแตง่ กายสะอาดถูกตอ้ งตามระเบียบ รวม เฉลีย่ ขอ้ คิดและข้อเสนอแนะของผู้นเิ ทศ …............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................... ........................................................................................... ............................................................................................................................ ................................................... ลงชอ่ื …...............................................................ผนู้ ิเทศ (….............................................................) รับทราบ/ปรบั ปรุง/ดำเนนิ การตามคำแนะนำ …............................................................................................................................. .............................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................... ....................................

30 แบบบันทึกผลนิเทศการเย่ียมนิเทศชนั้ เรยี น โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ รี ัมย์ เขต 2 ชือ่ ผูร้ บั การนเิ ทศ …..................………………................................................ชน้ั …....................................... วนั เดอื น ปี วิเคราะห์ผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรียน สรปุ ผลการเยี่ยมนิเทศชั้นเรยี น ให้คำปรึกษาแนะนำ ….................... ….................................................... …......................................... …............................. ....................... ....................................................... ............................................ ................................ ....................... ....................................................... ............................................ ................................ ....................... ....................................................... ............................................ …............................. ....................... ....................................................... ............................................ ................................ ....................... ....................................................... ............................................ ................................ ....................... ….................................................... …......................................... ................................ ....................... ....................................................... ............................................ ................................ ....................... ....................................................... ............................................ …............................. ….................... ....................................................... ............................................ ................................ ....................... ….................................................... …......................................... ................................ ....................... ....................................................... ............................................ …............................. ....................... ....................................................... …......................................... ................................ ....................... ....................................................... ............................................ ................................ ลงช่ือ…...............................................................ผ้นู ิเทศ (….............................................................) รบั ทราบ/ปรบั ปรุง/ดำเนนิ การตามคำแนะนำ …............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื …...............................................................ผ้รู บั การนิเทศ (…................................................................)

31 แบบนเิ ทศการสงั เกตการสอนในชั้นเรยี น โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง 3 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2 ชื่อผูส้ อน …...................................................... วิชา ….............................................. ระดบั ช้ัน…………… ชอื่ ผูน้ ิเทศ …..................................................... ตําแหน่ง ….......................................................................... ครง้ั ทีน่ ิเทศ …................................................... วนั /เดือน/พ.ศ. …................................................................ คำชี้แจง ใหก้ าเคร่ืองหมาย ✔ ในช่องทางขวามือตามเกณฑ์การประเมิน ดังน้ี เกณฑ์ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = แก้ไข รายการประเมิน ระดบั การปฏิบตั ิ ขอ้ คน้ พบ ข้อเสนอแนะ 5432 1 1. ขั้นเตรียมความพร้อม (ข้ันนำ) 1.1 มีกิจกรรมเตรียมความพร้อมท่ีกระตุ้นมอง โดย ใช้เวลาเหมาะสม (ไมย่ าวเกินไป) และนา่ สนใจ 2. ขนั้ สอน 2.1 จัดกระบวนการเรียนรู้สอดคล้องกบั การทำงาน ของ สมอง 2.2 จัดกระบวนการเรยี นรู้สะท้อนมาตรฐานตวั ช้วี ดั ของ หลักสูตร 2.3 มีลำดับข้นั ตอนจากงา่ ยไปหายาก 2.4 เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียน การสอน นักเรยี นได้ลงมือปฏบิ ตั ิ 2.5 มกี ารใช้คำถามส่งเสริมกระบวนการคิดระดบั สงู แก่ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 2.6 มีการใช้สอ่ื อปุ กรณ์การเรียนรู้และเทคโนโลยี ที่ เหมาะสมกบั มาตรฐาน ตัวช้ีวดั ในหลกั สตู ร 2.7 มกี ารใช้คาพูดเชงิ บวก เสรมิ แรง สร้างความ ภาคภูมใิ จ และความม่ันใจแก่ผู้เรียน 2.8 มีความแม่นยำในเนื้อหา 2.9 เอาใจใส่และช่วยเหลอื ผู้เรียนได้อย่างท่ัวถึงทุก กลมุ่ 2.10 จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมส่งเสริมการ เรยี นรู้ 2.11 สร้างวนิ ยั ในชั้นเรียนด้วยความเป็น กลั ยาณมติ ร

32 รายการประเมนิ ระดับการปฏิบัติ ข้อค้นพบและ 2.12 จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได้ครบถว้ นตาม 5 4 3 2 1 ขอ้ เสนอแนะ แผน 3. ข้นั สรุป 3.1 มีการทบทวนและสรุปความรู้หรือทกั ษะ ท่ีสอนเพื่อให้ผู้เรียนเขา้ ใจและแม่นยำในสิ่งทีเ่ รยี นรู้ มากขน้ึ โดยให้ผู้เรียนช่วยกนั สรุปบทเรยี น 3.2 มวี ิธีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น อย่างหลากหลายและเหมาะสม 4. ด้านบุคลกิ ภาพ 4.1 เสยี งดงั ชดั เจน 4.2 ใช้ภาษาถกู ต้อง 4.3 วางตนเหมาะสมกับความเป็นครู 4.4 ควบคุมอารมณ์ 4.5 แตง่ กายสภุ าพ รวม เฉลี่ย ผู้นเิ ทศให้ข้อมูลย้อนกลบั เพอ่ื เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดการเรียนรู้ดังนี้ 1. จุดเด่นของการสอนในคาบน้ี ............................................................................................................................. ................................................. 2. สงิ่ ที่ควรปรบั ปรงุ / พัฒนาต่อยอด ............................................................................................................................. ................................................. 3. ความคดิ เหน็ ของผู้รบั การนิเทศต่อการจัดการเรยี นรู้ของตน ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ........................................................ ผู้รับการนิเทศ (..................................................) ลงชอ่ื ........................................................ ผู้นเิ ทศ (................................................) หมายเหตุ ให้โรงเรียนศกึ ษาสภาพและบริบทของโรงเรยี นจัดทำเกณฑ์ระดบั คุณภาพที่เหมาะสม

33 บนั ทกึ การนิเทศการจดั การเรยี นรู้Observation( Record) การนเิ ทศครง้ั ที(่ Observation time) ……………..…/…………….…. ภาคเรียนท่ี (Semester) ………………….…. ปกี ารศกึ ษา…………………… (Academic Year) ช่อื /สกุลผสู้ อน(Teacher’s Name) ……………………………………………………………………….. ตำแหนง่ (Position) …………………………………………………………… วนั ทีส่ อน(Date) ………………..… เดอื น(Month)…………………….………………….. พ.ศ (Year) …………………………………… เวลา (Time) ……………….……..…… ชน้ั (Class)………………กลุม่ สาระการเรียนรู(้ Department)……………………………….……………โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 (Nikomsangton-ang 3 school) แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี(Lesson Plan No.)…………เรื่อง(Topic)…………………………………….รายวิชา(Subject)………………… รหสั (Code3school)………… ผลการประเมนิ (Rating Scale) รายการ (Criteria for Teaching Assessment) ระดบั ระดับ ระดับ ระดบั ระดบั มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด (Very Good) (Good) (Fair) (Poor) (Failed) ๕ ๔๓ ๒๑ ๑.การเตรยี มความพรอ้ มก่อนสอน(Preparation) ๑.๑ จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้มีองคป์ ระกอบถกู ตอ้ งครบถว้ น Correctness and preparation of the lesson plans. .๒ จัดทำสอื่ อปุ กรณ์การสอนครบถว้ น สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอ Teaching materials used are relevant to the teaching activities and Expectation ๒.การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้(Procedure) ๒.๑ แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นร้(ู Telling the objective. ๒.๒ จัดกจิ กรรมสอดคลอ้ งกับตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ Relevance of the expectation and learning activities. ๒.๓ จัดกจิ กรรมตามข้ันตอนท่ีกำหนดไวใ้ นแผนการจดั การเรียนรู้ The sequences of teaching step. ๒.๕ จดั กจิ กรรมให้นักเรียนฝกึ ปฏิบตั จิ นเกิดทกั ษะตา่ ง Providing activities to enable students proficiency ๒.๖ ใชเ้ ทคนิคการต้ังคำถาม นักเรยี นมสี ่วนร่วมแสดงความคิดเห็น Motivated Questioning to motivate students ๒.๗ เลอื กใชเ้ ทคนิคการสอนทีต่ อบสนองความต้องการของนกั เรียน The teaching/learning meets the student’s requirement. ๒.๘ ใช้เสรมิ แรงตลอดการจดั การกิจกรรมการเรยี นรู้ Giving motivation for learning. ๒.๙ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นระหว่างนกั เรียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง Checking student’s understanding. ๓.การใช้สอ่ื เทคโนโลยี (Technology Use) ๓.๑ ส่ือเทคโนโลยสี อดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ The technology used is relevant to the learning expectation. ๓.๒ สือ่ เร้าใจและกระตุ้นความสนใจในการเรยี นรู้ The technology used is well motivated ๓.๓ ครูใช้สอ่ื การสอนเหมาะสมถกู ต้อง คมุ้ คา่ Worth and appropriateness of using technology

34 ผลการประเมิน (Rating Scale) ระดบั ระดบั ระดบั ระดับ ระดบั รายการ (Criteria for Teaching Assessment) มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ (Very Good) (Good) (Fair) (Poor) (Failed) ๕๔ ๓ ๒ ๑ ๔.การจดั บรรยากาศและบรกิ ารช้ันเรยี น(Classroom Management) ๔.๑ จดั บรรยากาศให้เอือ้ ตอ่ การเรยี นการสอน Managing the room with proper atmosphere for learning. ๔.๒ กระตุน้ ให้เกดิ ความสนใจการเรยี นรูผ้ า่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ Motivating students with technology ๔.๓ ครใู ห้คำแนะนำและแกไ้ ขปญั หาแกน่ ักเรยี น Giving room recommendation and problem – solving ๔.๔ ใชเ้ ทคนิคหลากหลายในการควบคมุ ช้ันเรยี น Controlling the classroom with variety of techniques. ๕.การประเมินผล (Evaluation/Assessment) ๕.๑ ประเมนิ ศักยภาพนกั เรยี นระหวา่ งเรยี น Having evaluation for the proficiency expected. ๕.๒ ใช้เทคนิคการประเมินผลตามสภาพจรงิ (Authentic Evaluation) ๕.๓ ผลการเรียนทำให้นกั เรยี นเกิดการเรียนรู้ ทักษะ และ คุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์The teaching reflect to the student’s proficiency รวมคะแนน ร้อยละ (Percent) ระดับคณุ ภาพ (Quality Level) ความคิดเห็นเพิ่มเติม(Recommend)………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… ……………………….…………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………. ระดับคุณภาพ (Level of quality) ลงช่อื …………………………………………..……………..ผ้ปู ระเมนิ ๙๓ - ๑๐๕ ระดับมากที่สุด (Very Good) (………………………………………………………………..) ๘๐ - ๙๒ ระดับมาก (Good) ๖๕ – ๗๙ ระดับปานกลาง (Fair) วนั ท…ี่ …..……เดอื น……………………………พ.ศ………………. ๕๑ - ๖๕ ระดับนอ้ ย(Needs improvement) ต่ำกวา่ ๕๐ ระดับนอ้ ยที่สุด (Failed) คำอธิบายระดับคณุ ภาพสำหรับดา้ นที่ ๑ – ๓ (Description of Quality) ๕ หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลุม/เหมาะสมระดับมากท่ีสุด (means the teaching is very clear, relevant and it covers the expectation.) ๔ หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลุม/เหมาะสมระดบั มาก (means the teaching is clear, relevant and it almost covers the expectation.) ๓ หมายถงึ มคี วามชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลุม/เหมาะสมระดบั ปานกลาง (means the teaching is quite clear but not relevant or covered the expectation.) ๒ หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลมุ /เหมาะสมระดับนอ้ ย (means the teaching is not clear, or relevant or covered the expectation.) ๑ หมายถงึ มคี วามชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลมุ /เหมาะสมระดับน้อยทีส่ ดุ (means the teaching is not so clear or relevant or covered the expectation.)

35 แบบนิเทศพฤตกิ รรมการสอนของครู โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาบุรรี มั ย์ เขต 2 ชือ่ ……………………………………………ชั้น……………………จำนวนนักเรยี น…………….คน ครง้ั ท่ี 1 วนั ที่…………..เดือน…………………พ.ศ………….กลุ่ม/วิชา………………………………. คร้งั ท่ี 2 วันที่…………..เดอื น…………………พ.ศ………….กลุ่ม/วชิ า……………………………… พฤตกิ รรมการสอนของครู รายการพฤติกรรมที่สังเกต คร้งั ที่ 1 ครั้งที่ 2 ทำ ไม่ทำ ทำ ไม่ทำ การเตรียมการสอน 1. จดั ทำแผนการสอน ตามขั้นตอนอยา่ งถูกต้องและต่อเนื่อง 2. เตรยี มสือ่ การสอนสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์และเน้ือหา 3. แบบประเมนิ ผลการเรยี นสอดคล้องกับจดุ ประสงค์และเนอ้ื หา 4. นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการเตรียมการสอน การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 5. บอกจุดประสงคก์ ารเรียนรกู้ ่อนสอน 6. จดั กิจกรรมไดส้ อดคลKองกับเนื้อหาท่ีสอน 7. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนไดม้ ีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอนอยา่ งท่วั ถึง 8. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทำตามความสามารถ 9. สง่ เสริมให้นักเรียนทำงานโดยใชก้ ระบวนการกลุม่ 10. มีการส่งเสรมิ นกั เรียนทเ่ี รียนชา้ และสง่ เสริมนักเรียนท่ีเรยี นเรว็ การใชส้ ่ือการสอน 11. ใช้สอ่ื ได้สอดคล้องกับจุดประสงคเ์ นื้อหากิจกรรม 12. สอ่ื ทใี่ ชช้ ัดเจน และเรา้ ความสนใจของนักเรียน 13. นกั เรยี นได้ศึกษาและใช้สื่อการสอนอยา่ งใกล้ชดิ ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื …………………………………..…………….ผู้นเิ ทศ (…............................................)

36 แบบนเิ ทศแผนการจดั การเรยี นร้คู รัง้ ที่...................... โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2 ช่อื ครผู ูส้ อน..........................................................ช้ัน................กลุม่ สาระการเรียนรู้…............................................. หน่วย/เรื่อง........................................................................................วนั ท่ีประเมิน.................................................. คำชี้แจง ประเมินตามสภาพจริงตามรายการและให้ระดบั คุณภาพตามคำอธบิ ายดังน้ี 5 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลมุ /เหมาะสมมากที่สดุ 4 หมายถงึ มีความชัดเจน/สอดคลอ้ ง/ครอบคลุม/เหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความชดั เจน/สอดคล้อง/ครอบคลุม/เหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคล้อง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความชัดเจน/สอดคล้อง/ครอบคลมุ /เหมาะสมน้อยท่สี ุด รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 54321 1. องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 2. สาระสำคญั 3. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด 4. การวัดประเมนิ ผลการเรยี นร 5. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 6. สาระการเรียนรู้ 7. กระบวนการเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนรู้ 8. สือ่ การจัดการเรยี นร้หู รือแหลง่ เรียนรู้ ระดบั คุณภาพ X ความถ่ี คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ น้อยกว่า 50 ปรับปรงุ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 50.00 – 59.00 พอใช้ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 60.00 – 69.00 ดี คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 70.00 – 79.00 ดมี าก คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 80.00 – 100.00 ดีเยยี่ ม ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ............................... ลงช่ือ ........................................................ผ้ปู ระเมนิ (..................................................)

ตวั อยา่ ง ผลงานจากการนิเทศ PLC 37 แผนปฏิบัตกิ ารชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC Action Plan) แผนการดำเนนิ งาน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 1. ชื่อ – นามสกุล Model teacher นางไพรวัลย์ คำโฮง วิทยฐานะ ชำนาญการ เจา้ ของแผน 2. โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 สงั กัด สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 3. รายวิชาที่ใช้ดำเนนิ การ วิทยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนร้ปู ฐมวัย 4. อนบุ าล 3 นกั เรียนชาย 6 คน หญงิ 5 คน รวมทัง้ หมด 11 คน 5. สมาชกิ ทมี PLT ประเภทเพอื่ นครู (Buddy Teacher : BT) 5.1 เพือ่ นครู นางณรษาภร สิมงาม วิทยฐานะ ชำนาญการ วิชาเอก ประถมศึกษา 6. สมาชิก PLT ประเภทผู้บริหาร (School administrators : SA) 6.1 ผู้อำนวยการโรงเรยี น นางสงวน อรัญเพ่มิ วิทยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ 7. สมาชกิ PLT ประเภทผู้ทรงคุณวฒุ ิทางการศึกษา (Senior educator : SE) 7.1 นายนายอนนั ตกรณ์ สอนศลิ ป์พงศ์ วิทยฐานะ/ตำแหน่งทางวิชาการ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ 8. แผนการดำเนนิ กิจกรรมและเวลาเปา้ หมาย ลำดับท่ี กจิ กรรม รอบท่ี 1 รอบที่ 2 รอบที่ 3 8.1 สรา้ งทมี PLT 7 มถิ นุ ายน 9-11 กรกฎาคม 9 มิถนุ ายน 64 64 8.2 เลือกปญั หาการเรียนรขู้ องนกั เรียน 14– 18 มิถนุ ายน 12 – 16 8.3 ประชุมเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ปญั หา(การ 64 กรกฎาคม ออกแบบการสอน) 21 – 25 มถิ ุนายน 64 เขียนแผนการจดั การเรียนรู้ – วิพากษ์การออกแบบ 64 19-23 8.4 การสอน กรกฎาคม 64 28 มิ.ย.-2 ก.ค. 28 กรกฎาคม 64 8.5 ปรบั แก้แผนการจัดการเรยี นรู้ – เตรยี มการสอน 64 28 กรกฎาคม 64 8.6 ดำเนนิ การปฏบิ ัตกิ ารสอน – สงั เกตชัน้ เรยี น - 5 กรกฎาคม 64 28 – 29 บันทึกคลปิ วิดโี อวดิ ีทัศนก์ ารสอน 5 กรกฎาคม 64 กรกฎาคม 64 8.7 ประชุมสะท้อนผลการสงั เกตช้นั เรยี น 5 – 7 กรกฎาคม 8.8 สรุป บนั ทึกการสังเกตชัน้ เรยี น – สรุปผล – 64 ปรบั ปรงุ – ออกแบบแผนการสอนใหม่ วันที่ เดอื น ปีทจ่ี ัดทำแผน 7 มถิ ุนายน 2564 ลงชื่อ.................................................................ผจู้ ัดทำแผน (นางนางไพรวลั ย์ คำโฮง)

38 สมาชกิ แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี Professional Learning Team (PLT) ชือ่ ทีม โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 Plc เริ่มจัดต้ังทมี วนั ที่ 7 มถิ นุ ายน 2564 หัวหนา้ ทีม นางไพรวลั ย์ คำโฮง โรงเรียน นคิ มสร้างตนเอง 3 สงั กัด สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต2 นางณรษาภร สิมงาม นายอนนั ตกรณ์ สอนศลิ ปพ์ งศ์ Buddy ศกึ ษานิเทศก์ Expert นางไพรวัลย์ คำโฮง Model Teacher นางหทยั รัตน์ ละสระนอ้ ย นางสงวน อรัญเพิม่ หวั หน้าวิชาการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน Mentor Administrators วนั เดือน ปี ที่ประชุม 1 กันยายน 2563 สถานท่ปี ระชุม ห้องประชมุ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ที่ ช่อื – สกลุ บทบาทหน้าที่ ๑ นางสงวน อรัญเพ่ิม School Admin ๒ นางณรษาภร สิมงาม Buddy teacher 3 นางไพรวัลย์ คำโฮง Model Teacher 4 นางหทัยรตั น์ ละสระน้อย 5 นายอนันตกรณ์ สอนศลิ ป์พงศ์ Mentor Expert ความเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ( นางสงวน อรัญเพ่ิม ) วันที่ 29 เดือน กรกฎาคม พ.ศ 2564

ชอ่ื นามสกุล Model Teacher นางไพรวัลย์ คำโฮง โรงเรียนนคิ มส วิธีการวดั /การประเมนิ ทักษะการ ใบงาน รวบยอด กา แบบสงั เกต/การสงั เกต เดก็ ได้ส เมลด็ พชื ชน้ั อนุบาล 3 กลุ่มสาระ/วชิ า การศึกษาปฐมวัย กลุ่มเปา้ หมายนักเรยี น

38 สรา้ งตนเอง 3 สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรัมย์ เขต2 ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ รสงั เกต การการเปรียบเทยี บ คดิ ปัญหา/จุดพัฒนา ทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ารคิดเชิงเหตุผล และการแก้ปัญหา สงั เกตและอธิบายเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของ เรอ่ื ง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ชในน้ำเปล่า น้ำโซดา และน้ำอัดลมได้ กจิ กรรม การทดลองเมลด็ พชื เต้นระบำ ทกั ษะการคิด ตัวแปร(เป้าหมายท่ีจะพัฒนา) ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… …………………........................................................................ ลงช่ือ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ( นางสงวน อรญั เพิม่ ) วนั ท่ี ………เดือน…………………พ.ศ………….

39 วงรอบท่ี 1 แบบรายงาน 1.1 การวเิ คราะห์งานนกั เรยี น บันทกึ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC ) โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 สังกดั .สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบรุ ีรัมย์ เขต 2 กิจกรรม เมลด็ พชื เตน้ ระบำ จำนวนสมาชิก 5 คน ครัง้ ที่ 1 14 มถิ ุนายน 2564 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 2 ช่ัวโมง เวลา 15.30 – 17.30 น. 1. ประเดน็ วเิ คราะห์สาเหตุของปญั หา 2. การอภปิ รายประเด็น 2.1 ขอบข่ายของปัญหาท่ีพบ การพฒั นาการจัดประสบการณ์วทิ ยาศาสตรส์ ำหรับเด็กปฐมวยั โดยมเี ป้าหมายในการปลกู ฝังให้เด็ก ๆ มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยีด้วยกิจกรรมที่สร้างความสนุก ความเพลิดเพลิน ตาม ความสนใจใคร่รู้และความกระตือรือร้น ฝึกทักษะการสังเกต รู้จักตั้งคำถาม พยายามหาคำตอบด้วย ตนเองตั้งแต่ระดับปฐมวัย เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็ก ๆ เหล่านี้เติบโตขึ้นเป็นนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร หรือเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีจิตวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะสามารถช่วยในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจ สังคม และความเป็นอยู่ของไทยให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ในการนี้ สพฐ. ได้ศึกษาแนวทางการจัด กิจกรรมของโครงการฯ พบว่ามีความสอดคล้องกับหลักการและแนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560 โดยมงุ่ เนน้ ให้เด็ก ๆ ไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง เน้นทกั ษะการต้งั คำถามและค้นคว้าหาคำตอบของ แต่ละบุคคล การแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่ได้รับจากการค้นพบ และการให้ข้อสรุปด้วยวาจา มีการทำการ ทดลองร่วมกันเป็นกลุ่มย่อย ผู้รับผิดชอบสามารถนำกิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ มาบูรณาการผ่านการ กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ให้เด็ก ๆ ในหอ้ งเรียนได้ 2.2 หลกั ฐานประจกั ษ์ของปัญหา 1. โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” 2. เพอ่ื พัฒนาครใู ห้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และสามารถจดั กิจกรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์สำหรับเดก็ ปฐมวัยได้ 3. เพ่ือปลูกฝังเตรียมความพร้อมใหเ้ ด็กปฐมวยั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะพ้ืนฐาน และ เจตคติท่ดี ี ตอ่ การเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2.3 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาจากหลักฐานในข้อท่ี 2 1. พัฒนาครูใหม้ ีความรู้ความเข้าใจ และสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์สำหรบั เดก็ ปฐมวยั ได้ 2. เตรยี มความพร้อมให้เด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะพนื้ ฐาน และ เจตคติที่ดีต่อการ เรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.4 สรปุ สาเหตุและทม่ี าของปญั หา

40 1. ฝึกทักษะการสงั เกต รูจ้ ักต้ังคำถาม พยายามหาคำตอบดว้ ยตนเองตงั้ แต่ระดบั ปฐมวัย เพือ่ เตรียม ความพร้อมให้เด็ก ๆ 2. ผรู้ ับผดิ ชอบสามารถนำกิจกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ มาบรู ณาการผา่ นการกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ใหเ้ ด็ก ๆ ในห้องเรยี นได้ 3. การอภิปรายการดำเนินการ Administrator ดำเนินกิจกรรมท่สี อดคลอ้ งและเหมาะกบั ความสนใจของเดก็ ๆ Model กจิ กรรมพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของครปู ฐมวยั เร่อื ง การจัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ teacher ตามแนวทางของโครงการการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย - จัดกิจกรรมการทดลองวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมเมลด็ พชื เต้นระบำ Buddy การเลอื กกิจกรรมที่ตืน่ เต้น ทำให้เดก็ ๆเกิดความสนใจ 4. สรุปสิ่งท่ไี ด้จากการอภิปราย การเลอื กกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรท์ ่ที ำให้เด็กเกิดความสนใจ สนุกสนาน ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต รู้จกั ตัง้ คำถาม 5. ความรูแ้ ละหลกั การท่นี ำมาใช้ในกจิ กรรม การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้กับเดก็ ปฐมวัยมุง่ เน้นพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้าน อารมณ์ - จติ ใจ ด้านสังคม และดา้ นสติปญั ญา ใหเ้ กดิ การพฒั นาไปพร้อมๆ กนั ท้ัง 4 ดา้ น นอกจากการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งเกี่ยวกับการทดลองต่างๆ เรื่อง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่ง โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย ดังนั้นโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 จึง เพิ่มการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ ก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตรใ์ ห้กับเดก็ ปฐมวยั 6. การประชุมครงั้ ตอ่ ไป - การวางแผนการจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์

41 วงรอบท่ี ๑ แบบรายงาน ๑.๒ รอ่ งรอยการทำงานร่วมกับทีมและผลการออกแบบบทเรยี น หัวข้อ เรือ่ ง กจิ กรรม เมลด็ พืชเตน้ ระบำ โครงสร้างแผนจดั การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ธรรมชาติรอบตัวเดก็ ......................................................................................................... ..................................................................... Lesson Date: วนั ทส่ี อนบทเรียน: 5 กรกฎาคม 64 Lesson Title: ชอ่ื บทเรยี น: เมลด็ พชื เต้นระบำ Grade/Team ระดับชนั้ อนุบาล 3 1. Unit Title: ช่ือหน่วยการเรียนร:ู้ การทดลองวทิ ยาศาสตร์ เร่อื งกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ 2. Lessons within unit: บทเรยี นในหน่วยการเรียนรู้: (Unit Plan) (แผนการจัดการเรียนรู้ ) มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ สำหรับเด็กปฐมวัย พฒั นาการด้านสติปญั ญา มาตรฐานที่ 9 ใชภ้ าษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั วัย มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดท่เี ป็นพ้นื ฐานในการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ มาตรฐานท่ี 12 มีเจตคติท่ดี ีต่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกบั วยั ตัวบ่งชี้ 1. สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ 2. อา่ น เขยี นภาพ และสญั ลกั ษณไ์ ด้ 3. มีความสามารถในการคิดรวบยอด 4. มคี วามสามารถในการคิดเชิงเหตุผล 5. มคี วามสามารถในการคดิ แก้ไขปัญหาและตดั สนิ ใจ 6. ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ 7. มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนรู้ 8. มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ 3. วัตถุประสงคก์ ารจดั การเรียนรขู้ องบทเรียน (แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์และแนวปฏบิ ตั ิ – อา้ งถึงมาตรฐาน การเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม) 3.1 เพอ่ื ให้เดก็ มีทักษะการสงั เกตเปรียบเทยี บ 3.2 เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ร้จู ักคุณสมบัติกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ 3.3 เพอื่ ส่งเสรมิ กระบวนการตงั้ สมมตฐิ านเปรียบเทยี บความเหมือนต่างของอุปกรณ์ที่ใช้และสรุปผล การทดลอง 3.4 เพ่อื เสริมสร้างให้เด็กมีความสนใจและกระตือรือร้นในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ 3.5 เพอ่ื ให้เกดิ การเรยี นร้จู ากประสบการณ์ตรง

42 4. คำถามหลกั สำหรบั การตรวจสอบความเข้าใจของผเู้ รยี น (คำถามเพื่อถามความเขา้ ใจในระยะยาว คำถาม เพือ่ ถามแนวคิดใหญ่ หรือคำถามอ่นื ทร่ี ะบใุ นตาราง) 4.1 นำ้ เปล่า นำ้ อัดลม น้ำโซดา มลี ักษณะแตกตา่ งกนั อย่างไร 4.1 เด็กๆ คดิ ว่าถ้าเรานำเมล็ดพชื ใสล่ งไปในแกว้ นำ้ เปล่า แก้วน้ำอดั ลม แกว้ น้ำโซดา จะเป็นอย่างไร 4.3 เมล็ดพชื ที่ใช้ในการทดลอง มลี ักษณะแตกตา่ งกันอย่างไร 5. ลักษณะของงานที่มอบหมายให้นกั เรยี น (ระบรุ ะดับของการรู้คิด) นักเรยี นทำงานท่ีท้าทายความคิดอยา่ งไร (หรอื อ้างถึงในตาราง) 5.1 เดก็ ๆนำเสนอผลงานของตนเองใหเ้ พ่อื นๆและคณุ ครูฟัง 6. สอ่ื และอุปกรณ์ทจี่ ำเป็น (นอกเหนือจากทรี่ ะบุไว้ในค่มู ือ) 6.1 นำ้ โซดา/นำ้ อัดลม 6.2 นำ้ เปลา่ 6.3 แกว้ นำ้ 6.4 เมลด็ พืช เชน่ ถั่วเขียว ถว่ั แดง 6.5 แว่นขยาย 6.6 ใบงาน 7. โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ สง่ิ ทค่ี รอู าจต้อง โครงสรา้ งการทำ แผนการปฏิบัติของครู: คำถาม พฤตกิ รรมการ สนบั สนนุ ใหแ้ ก่ กิจกรรม หลกั ; แผนสำหรบั การจัดการเรยี นรู้ ตอบสนองของผู้เรียนที่ นักเรียน เพิม่ เตมิ (จากการคาดการณ์ อาจจะเกิดขนึ้ และการสะทอ้ น หอ้ งเรยี น) Warm Up (Gathering: - ถามประสบการณเ์ ดมิ เดก็ ว่านำ้ ท่ี เดก็ ๆรว่ มกันสังเกต - Check prior เดก็ ๆ รจู้ ักมนี ้ำอะไรบ้าง เปรียบเทย่ี บ และ Knowledge) 1. ข้ัน - เด็กๆรว่ มกนั สังเกตน้ำทคี่ ุณครู สนทนาตอบคำถาม เตรยี มความพร้อม (ข้ัน นำมา(นำ้ เปลา่ นำ้ อดั ลม นำ้ โซดา)มี เก่ียวกับน้ำท่ีคณุ ครนู ำมา การคน้ หาและเลือก ลักษณะอยา่ งไร วา่ มีลักษณะแตกต่างกัน ข้อมูลเพ่อื ตรวจสอบ อย่างไร ความรูเ้ ดิม (5 นาที) Introduction of the - เด็กและครูรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกบั เดก็ ๆรว่ มกันสังเกต - main topic (Explore) กจิ กรรมการทดลองวทิ ยาศาสตร์ สนทนา ตอบคำถาม เรอ่ื งเมล็ดพืชเต้นระบำ

43 โครงสร้างการทำ แผนการปฏิบัติของครู: คำถาม พฤติกรรมการ สง่ิ ที่ครูอาจต้อง กจิ กรรม หลัก; แผนสำหรับการจดั การเรยี นรู้ ตอบสนองของผู้เรยี นที่ สนบั สนุนให้แก่ นักเรียน เพ่ิมเตมิ อาจจะเกิดขน้ึ (จากการคาดการณ์ และการสะทอ้ น หอ้ งเรียน) 2. ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น - เด็กๆสงั เกตเปรยี บเทยี บวสั ดุ เก่ียวกบั วสั ดุอปุ กรณ์ที่ (สำรวจ) การแจ้ง อุปกรณ์ทคี่ ุณครูนำมาวา่ มีอะไรบ้าง คุณครูนำมา วตั ถุประสงค์ของการ - คณุ ครูใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กเกิด เรียนรูป้ ระจำวัน การ การคิดเกยี่ วกบั น้ำท่ีคณุ ครนู ำมา วางเปา้ หมายของ (น้ำเปลา่ นำ้ อัดลม นำ้ โซดา) บทเรียน การ ต้งั สมมตฐิ าน การช้แี จง เด็กๆ คดิ ว่าถา้ เรานำเมล็ดพืชใส่ กจิ กรรม (5 – 10 นาที) ลงไปในแก้วนำ้ เปล่า แกว้ นำ้ โซดา แก้วน้ำอัดลม จะเปน็ อย่างไร ทำไม ถึงคดิ วา่ เปน็ เช่นน้ัน - เดก็ และครรู ่วมกนั คาดคะเนการ ทดลองเมล็ดพืชเต้นระบำ Body (Processing) - เด็กๆรว่ มกนั ทำกิจกรรมการทดลอง - เดก็ ๆสามารถลงมอื - 3. ขน้ั กจิ กรรม การแก้ไข เมลด็ พชื เตน้ ระบำโดยให้เด็กๆสังเกต ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการ ปัญหาการรวบรวม และเปรยี บเทียบผลของการทดลอง ทดลอง เมลด็ พืชเต้น หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ การลอยของเมล็ดพืชในน้ำเปลา่ นำ้ ระบำได้ กจิ กรรมการวางแผน โซดา น้ำอัดลม - เด็กๆมีทักษะการ การลงมือปฏิบตั ิและการ - เดก็ บนั ทึกผลการทดลองกจิ กรรม ส่อื สาร(การฟัง การพดู แปลความ (ขัน้ การจดั ทำ เมลด็ พชื เต้นระบำ การอ่าน การเขยี น) ข้อมลู และสรปุ ความรู้) (5 นาท)ี Closing (Elaboration) - เด็กและครูร่วมกันสรปุ กจิ กรรม เด็กๆสามารถออกมา - 4. ขั้นปดิ บทเรียน การ เมลด็ พชื เตน้ ระบำโดยครูบอกถึง นำเสนอผลงานของ เชอื่ มไปสู่การนำไปใช้ สาเหตกุ ารลอยของเมลด็ พชื เพราะ ตนเองได้ จริง การบา้ น และการ เหตใุ ด เมล็ดพืชถึงลอยในน้ำอัดลม และน้ำโซดา เหตเุ ป็นเพราะในนำ้

44 โครงสรา้ งการทำ แผนการปฏิบัตขิ องครู: คำถาม พฤติกรรมการ ส่งิ ท่ีครอู าจต้อง กจิ กรรม หลัก; แผนสำหรบั การจดั การเรียนรู้ ตอบสนองของผ้เู รยี นท่ี สนบั สนุนใหแ้ ก่ นกั เรียน เพ่มิ เติม เช่ือมโยงกับ สาระวชิ า อาจจะเกดิ ขึน้ (จากการคาดการณ์ อนื่ (5 – 10 นาที) และการสะท้อน โซดามีก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เมอ่ื Exit, (Self – หอ้ งเรียน) Regulating) ใส่เมลด็ พชื ลงไปในน้ำโซดา และ . ขน้ั ประเมนิ ผลการ - เรยี นรู้ สะท้อนผลการ น้ำอดั ลมเมลด็ พชื จะลอยขึ้นลง เรียนรู้ และการสะทอ้ น ถึงความสมเหตสุ มผล - เด็กนำเสนอผลงานของตนเองให้ เด็กมที ักษะการสื่อสาร (5 – 10 นาที) เพอื่ นๆและคณุ ครูฟงั โดยครจู ดบนั ทึก สามารถเล่าเรอ่ื งราวผ่าน ผลการนำเสนอของเด็กๆ ผลงานของตนเองให้ เพอื่ นและครูฟงั ได้ 8. สะทอ้ นผลการจัดการเรียนรู้ของครู: ทราบได้อยา่ งไรว่าแผนการจัดการเรยี นรูน้ ้ี สำเร็จผลด้วยดี (ระบุ หลกั ฐาน) 8.1 ผลของการจัดกจิ กรรมในชนั้ เรยี น 8.2 ผลความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ผรู้ ว่ มออกแบบแผนการจดั การเรยี นร้วู งรอบท่ี ๑ ท่ี ชอื่ – สกลุ บทบาทหน้าท่ี 1 นางสงวน อรญั เพิ่ม School Admin 2 นางณรษาภร สมิ งาม Buddy teacher 3 นางไพรวลั ย์ คำโฮง Model Teacher 4 นางหทัยรตั น์ ละสระน้อย 5 นายอนันตกรณ์ สอนศลิ ป์พงศ์ Mentor Expert วัน เดือน ปีท่ีออกแบบแผนจดั การเรียนรู้ 21 มถิ ุนายน 2564 ลงชื่อ.............................................................ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน (นางสงวน อรญั เพิม่ )

45 วงรอบที่ 1 แบบรายงาน 1.3 การเปิดชั้นเรยี นและผลการสงั เกตชั้นเรียน โครงสร้างแผนจดั การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ปฐมวัย Lesson Date: วันทีส่ อนบทเรียน: 5 กรกฎาคม 2564 Lesson Title: ช่ือบทเรียน: เมล็ดพชื เตน้ ระบำ Grade/Team ระดับช้ันอนบุ าล 3 1. Unit Title: ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้: การทดลองวทิ ยาศาสตร์ เรือ่ งกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ 2. Lessons within unit: บทเรียนในหน่วยการเรียนร:ู้ (Unit Plan) (แผนการจัดการเรียนรู้ ) มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ สำหรับเด็กปฐมวัย พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาส่อื สารได้เหมาะสมกับวยั มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถในการคิดท่ีเป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 11 มีจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 12 มเี จตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้ เหมาะสมกับวัย ตัวบ่งช้ี 1. สนทนาโต้ตอบและเลา่ เรอื่ งให้ผ้อู ื่นเขา้ ใจ 2. อา่ น เขียนภาพ และสญั ลกั ษณ์ได้ 3. มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด 4. มคี วามสามารถในการคิดเชงิ เหตผุ ล 5. มีความสามารถในการคดิ แก้ไขปัญหาและตัดสนิ ใจ 6. ทำงานศิลปะตามจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 7. มเี จตคติท่ีดตี ่อการเรยี นรู้ 8. มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ 3. วตั ถุประสงค์การจดั การเรียนรูข้ องบทเรยี น (แนวคิดทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละแนวปฏิบตั ิ – อ้างถงึ มาตรฐาน การเรียนรู้ที่เหมาะสม) 3.1 เพอ่ื ใหเ้ ด็กมีทกั ษะการสงั เกตเปรยี บเทียบ 3.2 เพอ่ื ให้เด็กรจู้ ักคุณสมบัติก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 3.3 เพ่ือสง่ เสรมิ กระบวนการตั้งสมมติฐานเปรียบเทียบความเหมือนต่างของอุปกรณ์ที่ใช้และสรปุ ผล การทดลอง 3.4 เพ่ือเสรมิ สร้างใหเ้ ดก็ มคี วามสนใจและกระตือรือรน้ ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์

46 3.5 เพื่อใหเ้ กิดการเรียนรจู้ ากประสบการณ์ตรง 4. คำถามหลกั สำหรับการตรวจสอบความเข้าใจของผ้เู รียน (คำถามเพ่ือถามความเข้าใจในระยะยาว คำถาม เพื่อถามแนวคิดใหญ่ หรือคำถามอน่ื ทีร่ ะบุในตาราง) 4.1 น้ำเปล่า น้ำอดั ลม น้ำโซดา มลี ักษณะแตกตา่ งกันอย่างไร 4.2 เดก็ ๆ คดิ วา่ ถา้ เรานำเมล็ดพืชใส่ลงไปในแกว้ น้ำเปล่า แกว้ น้ำอัดลม แก้วนำ้ โซดา จะเป็นอย่างไร 4.3 เมลด็ พืชที่ใชใ้ นการทดลอง มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร 5. ลักษณะของงานที่มอบหมายให้นกั เรยี น (ระบุระดบั ของการร้คู ิด) นักเรียนทำงานท่ที า้ ทายความคิดอย่างไร (หรืออ้างถงึ ในตาราง) 5.1 เด็กๆนำเสนอผลงานของตนเองให้เพื่อนๆและคณุ ครูฟัง 6. สื่อ และอุปกรณท์ ่ีจำเป็น (นอกเหนือจากทรี่ ะบุไวใ้ นคมู่ ือ) 6.1 น้ำโซดา/นำ้ อดั ลม 6.2 นำ้ เปล่า 6.3 แกว้ น้ำ 6.4 เมล็ดพืช เชน่ ถัว่ เขียว ถ่ัวแดง 6.5 แว่นขยาย 6.6 ใบงาน 7. โครงสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรู้ โครงสรา้ งการทำ แผนการปฏบิ ัตขิ องครู: พฤติกรรมการ ส่งิ ท่คี รูอาจต้อง กิจกรรม คำถามหลกั ; แผน ตอบสนองของผเู้ รยี นท่ี สนับสนนุ ให้แกน่ ักเรยี น สำหรับการจดั การ เรียนรู้ อาจจะเกิดข้ึน เพม่ิ เตมิ (จากการ คาดการณ์และการ สะทอ้ นห้องเรียน) 1. ขน้ั เตรยี มความ ผลการสังเกตชน้ั เรียน ผลการสังเกตชัน้ เรยี น ผลการสังเกตชัน้ เรยี น พร้อม (ขัน้ การค้นหา - เตรยี มความพร้อมไดด้ ี - เด็กสนใจในการทำ - ครูควรมีการรอ้ งเพลง และเลอื กข้อมลู เพ่ือ ถามเกยี่ วกับ กิจกรรมดี หรือท่องคำคลอ้ งจองกนิ ตรวจสอบความรู้เดมิ ประสบการณ์ความรู้เดมิ นำเขา้ สู่บทเรยี น (5 นาท)ี เป็นไปตามแผน 2. ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น ผลการสังเกตชั้นเรียน ผลการสงั เกตชัน้ เรียน ผลการสังเกตช้นั เรียน (สำรวจ) การแจง้ - ครเู ตรยี มและการแจง้ - เด็กๆมีการตอบคำถาม - ครูอาจจะมีการเพ่ิม วัตถุประสงค์ของการ วัตถุประสงค์ของการ ได้ดี คำศัพท์ภาษาองั กฤษมา เรียนรูป้ ระจำวนั การ เรยี นรไู้ ด้เปน็ ไปตามแผน ใหเ้ ดก็ ได้อ่านและเรียนรู้ วางเป้าหมายของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook