1 สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) 1.ข้อมูลทั่วไป ชอื่ หนว่ ยงาน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นดงบัง ตาบลดงอจี าน อาเภอโนนสวุ รรณ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ทอี่ ยู่ 68 หมู่ท่ี 10 บ้านดงสนั ติ ตาบลดงอจี าน อาเภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรรี ัมย์ รหสั หน่วยบรกิ าร 03060 วสิ ยั ทัศน์ สถานบรกิ ารปฐมภมู ทิ ่ีมคี ุณภาพ การบริการเชงิ รุก ภาคเี ครือขา่ ยมีสว่ นร่วม พัฒนางานสาธารณสขุ ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตที่ดี พนั ธกิจ ใหบ้ รกิ ารแบบผสมผสาน สอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชน สนับสนุนภาคีเครือขา่ ยใหม้ ีส่วนรว่ ม ในการสง่ เสรมิ สุขภาพ นาไปสู่มาตรฐานของหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ เปา้ ประสงคห์ ลัก ประชาชนมีสขุ ภาวะท่ดี ี ชุมชนเข้มแข็ง วฒั นธรรมองคก์ ร ทางานโดยยดึ หลักการทางานเปน็ ทมี อยูแ่ บบครอบครวั ค่านยิ มองคก์ ร เป็นนายตนเอง เร่งสร้างส่ิงใหม่ ใส่ใจประชาชน อ่อนนอ้ มถ่อมตน (MOPH)
2 คาขวัญประจาจงั หวัด อาเภอ : เมอื งปราสาทหนิ ถนิ่ ภเู ขาไฟ ผา้ ไหมสวย รวยวัฒนธรรม คาขวัญจังหวดั บุรีรมั ย์ : โนนสวุ รรณ ถ่ินพืชไร่ ผลไมร้ สหวาน งานตระการผ้าไหม คาขวญั อาเภอโนนสวุ รรณ บญุ บั้งไฟน่าชม ดมื่ นมโคพันธด์ุ ี มากมียางพารา นกั กีฬาเหรียญทองโอลิมปกิ 2.ประวัตแิ ละลักษณะสาคญั ทางสงั คม เศรษฐกิจ ส่งิ แวดล้อมและประชากร 2.1 ประวัติความเป็นมา ตาบลดงอีจาน เดิมเป็นตาบลหนึ่งขึ้นอยู่กับอาเภอนางรอง และได้แยกออกจากอาเภอ นางรองมาร่วมต้ังเป็นก่ิงอาเภอโนนสุวรรณ เม่ือปี พ.ศ.2536 โดยมีพื้นทปี่ กครอง 4 ตาบล และได้รับการยก ฐานะเป็นอาเภอโนนสุวรรณ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2539 เดิมที่น้ันบริเวณพ้ืนที่ของตาบลดงอีจานเป็นป่าดง ดิบ มีต้นไม้หนาแน่น ซ่ึงเรียกว่า ดงอีจาน ต่อมาได้มีผู้อพยพเข้ามาถากถางป่าเพ่ือเพาะปลูกทามาหากิน ประมาณ ปี พ.ศ.2496 โดยราษฎรสว่ นใหญ่จะอพยพมาจากแถวอาเภอชมุ พวง พิมาย ประทาย บัวใหญ่ โนน สูง จังหวัดนครราชสีมา อาเภอลาปลายมาศ นาโพธิ์ พุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ และจากจังหวัดมหาสารคาม บางส่วน ซ่ึงได้มาต้ังบ้านเรือนอยู่ในชุมชนใหญ่ๆ 2 ชุมชน คือบริเวณชุมชนบ้านดงบัง และชุมชนบ้านดอน สมบูรณ์ จนมีขนาดของชมุ ชนใหญ่ขึน้ จงึ ไดแ้ ยกออกเปน็ หมู่บา้ นต่างๆ ซึง่ ในปัจจุบันนี้ มที ง้ั หมด 13 หมบู่ า้ น 2.2 ทต่ี ัง้ และอาณาเขต 2.2.1 สภาพทางภมู ิศาสตร์ จงั หวดั บุรรี ัมยต์ ้งั อยบู่ นท่ีราบสูงทางตอนใต้ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ พิกดั ภูมศิ าสตร์ ละติจดู (เส้นรงุ้ ) ที่ 15 ลิปดาเหนอื ถงึ 15 องศา 45 ลิปดาเหนอื ลองติจูด (เส้นแวง) ท่ี 102 องศา 30 ลิปดา ถึง 103 องศา 45 ลปิ ดา สงู จากระดบั นา้ ทะเลปานกลาง 163 เมตร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลดงบังต้ังอยู่เลขท่ี 68 หมู่ 10 ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรีรัมย์ อยู่ห่างจากอาเภอโนนสุวรรณ 11 กิโลเมตร อยู่ห่างจากโรงพยาบาลโนนสุวรรณ 8 กิโลเมตร อยู่หา่ งจากจงั หวัดบุรีรมั ย์ 90 กิโลเมตร 2.2.2 อาณาเขต จดเขตตาบลทุ่งจังหัน อาเภอโนนสวุ รรณ จงั หวดั บรุ ีรัมย์ ทศิ เหนอื และจดเขตตาบลดอนอะราง อาเภอหนองก่ี จงั หวัดบุรรี ัมย์ จดเขตตบลกุดโบสถ์ อาเภอเสิงสาง จงั หวดั นครราชสมี า ทศิ ใต้ จดเขตตาบลทุ่งจังหนั อาเภอโนนสุวรรณ จังหวดั บุรีรมั ย์ ทศิ ตะวันออก จดเขตตาบลดอนอะราง อาเภอหนองก่ี จงั หวัดบุรีรมั ย์ ทศิ ตะวันตก และเขตตาบลสุขไพบลู ย์ อาเภอเสงิ สาง จังหวดั นครราชสีมา
3 9 6 1 4 11 12 5 13 3 10 N7 แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงแผนท่ตี าบลดงอจี าน 2.2.3 ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.2.3.1 สภาพภมู อิ ากาศ อากาศในเขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลดงอีจาน แบง่ ออกได้ ๓ ฤดู ไดแ้ ก่ - ฤดฝู น เรม่ิ ต้งั แตก่ ลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตลุ าคม ซึ่งได้รับอิทธพิ ลจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ -ฤดูหนาว เร่ิมตัง้ แต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพนั ธ์ ซ่งึ ได้รบั อทิ ธิพลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ -ฤดรู ้อน เริ่มต้ังแต่กลางเดือนมนี าคมถงึ กลางเดือนพฤษภาคม ชว่ งระยะนีอ้ ากาศ จะร้อนและแห้งแลง้ มาก อณุ หภูมิเฉลย่ี ตลอดทั้งปี 37.50 องศาเซลเซยี ส -อณุ หภูมเิ ฉลี่ยตลอดปี 37.9 องศาเซลเซียส อณุ หภูมติ ่าสุดอยใู่ นชว่ งเดอื นธันวาคม ประมาณ 17 องศา เซลเซยี ส อุณหภูมิสูงสุดอยู่ในชว่ งเดือนเมษายน ประมาณ 40 องศาเซลเซียส 2.2.3.2 การโทรคมนาคมและการติดตอ่ ส่ือสาร -สญั ญานคลืน่ โทรศพั ท์มือถือ ทีต่ วั ตาบลดงอจี านใช้ได้ 3 ระบบคอื AIS ,DTAC และTrue move การตดิ ต่อ ข้อมูลทางดา้ นสุขภาพ ใช้ทางอินเตอร์เน็ตมาชว่ ยในการสง่ ข้อมูล ท้งั Data center ,E-mail ,Facebook และ Line ทาใหร้ ะบบการขอคาปรึกษาในการบริการผปู้ ว่ ยสะดวกมากขึ้น จานวนโทรศัพทบ์ ้าน 73 เลขหมาย ทท่ี าการไปรษณีย์ โทรเลขชั่วคราว 1 แห่ง ระบบเสยี งตามสาย/หอกระจายขา่ ว 13 แห่ง 2.2.3.3 ด้านศาสนา ประชาชนสว่ นใหญ่ นบั ถือศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 100 ศาสนสถาน ประกอบดว้ ย 1.วดั 7 แห่ง 2.สานักสงฆ์ 1 แหง่ 3.โบสถค์ ริสตจักร - แหง่ 4.พระภิกษุ 36 รปู 5.สามเณร 1 รูป
4 2.2.3.4 ดา้ นประเพณวี ฒั นธรรม ตาบลดงอจี าน มปี ระเพณวี ัฒนธรรมประจาถน่ิ ของตนเองตามชว่ งฤดกู าล คือ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณชี ่วง เทศกาลเข้าพรรษา ประเพณีลอยกระทง 2.2.2.5 สภาพทางสังคม การศกึ ษา โรงเรยี นในเขตรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ 1.โรงเรียนมธั ยม ขยาย 2 แห่ง 1.1 โรงเรยี นบา้ นดงบังซับสมบรู ณ์ จานวนนกั เรียน 558 คน ครู 33 คน 1.2 โรงเรียนบา้ นดอนสมบรู ณ์ จานวนนักเรียน 261 คน ครู 19 คน 2.โรงเรียนประถม 1 แห่ง - โรงเรียนบา้ นม่วงงาม จานวนนักเรียน 52 ราย ครู 10 คน 3. ศูนยเ์ ด็กเล็กก่อนเกณฑ์ ๒ แห่ง -ศูนยเ์ ด็กก่อนเกณฑ์วัดบ้านดงบัง จานวนเดก็ 36 คน ครูพี่เล้ียง 5 คน -ศนู ย์เดก็ ก่อนเกณฑ์ อบต.ตาบลดงอจี าน จานวนเดก็ 48 คน ครพู ่เี ลยี้ ง 4 คน 1.4.4 ด้านเศรษฐกจิ 1.4.4.1 โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจ/รายไดป้ ระชากร -อาชีพหลักของประชากรในเขตตาบลดงอีจาน คือ การทาเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การทานา ทาไร่ ทาสวน ยางพารา สวนผลไม้ อาชีพรองคือการเลยี้ งสัตว์ ปลูกหมอ่ น เล้ยี งไหม -กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชน ในเขตตาบลดงอจี าน มจี านวนท้งั หมด 20 กลมุ่ 1. กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนน้าแร่ภรู ิน สถานท่ีต้ัง 66/1 ม.5 ต.ดงอีจาน อ.โนนสวุ รรณ จ.บรุ ีรัมย์ 31110 โทร 08 9845 9499 2. กลุ่มเกษตรกรบ้านดอนสมบรู ณ์ สถานทต่ี ง้ั 1 หมู่ 1 บา้ นดอนสมบูรณ์ ถนนหวั ถนน-ดอนอะราง ตาบลดงอจี าน อาเภอโนนสุวรรณ จังหวัดบรุ รี ัมย์ 31110 ติดต่อ นางมนเทียร ท่รี ัก โทร 044 607230, 09 8450469
5 3. กลุม่ ผลติ ภัณฑ์รากไม้ประดษิ ฐ์ สถานท่ีตั้ง 15 หมู่ 12 ตาบลดงอจี าน อาเภอโนนสวุ รรณ จังหวัดบุรรี มั ย์ 31110 ตดิ ตอ่ คณุ กจิ ติภณั ฑ์ เพ็งมลู โทร 044 780716, 08 7251 8315 4. กลุ่มสตรีทอผ้าพ้ืนเมือง สถานทตี่ ั้ง 59 หมู่ที่ 11 ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสวุ รรณ จงั หวัดบรุ ีรัมย์ โทร 08 1065 6019
6 การเกษตรกรรม การประกอบอาชพี เกษตรกรรมในเขตพนื้ ที่ตาบลดงอจี าน คือ การทานาปลูกข้าว การปลูก มนั สาปะหลงั การปลูกอ้อย และการทานาไรส่ วนผสม
7 การพาณิชยกรรมและบรกิ าร -สถานบี ริการนา้ มนั จานวน 2 แห่ง -สถานบริการนา้ มัน (ปั๊มหลอด) จานวน 20 แหง่ -ร้านค้าทั่วไป จานวน 46 แหง่ -รา้ นซอ่ มรถจักรยานยนต์ จานวน 11 แห่ง -ร้านซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้า จานวน 3 แห่ง -สหกรณ์ จานวน 1 แห่ง -โรงสีขาวขนาดเล็ก จานวน 12 แหง่ -องค์การบริหารส่วนตาบล ( อบต. ) จานวน 1 แห่ง 2 แห่ง -ศนู ย์ยางพารา จานวน การปศุสัตว์ การประกอบอาชพี การเกษตรกรรมในเขตตาบลดงอจี าน เป็นการเล้ยี งสตั ว์ชนดิ ตา่ งๆ เชน่ โค เนอื้ โคนม กระบอื สกุ ร ไก่ เป็ด สว่ นมากเปน็ การเลี้ยงเพอ่ื ใชง้ าน ซื้อขาย และเปน็ อาหาร - การคมนาคม / ขนส่ง /การจราจร โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นดงบงั มีถนน ทางหลวงชลบท สายหวั ถนน – ดอนอะราง ตัดผา่ น โดยเร่มิ ตน้ ทางจากทางแยกถนนสายโชคชยั -เดชอุดม ทบ่ี ้านหวั ถนน ตาบลหัวถนน อาเภอนางรอง ถึง ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณระยะทาง 22 กิโลเมตร เปน็ ถนนลาดยางตลอดสาย ไม่มสี ถานีขนสง่ มี เฉพาะรถสองแถววิง่ ระหว่างอาเภอนางรอง กบั อาเภอโนนสวุ รรณ วนั ละประมาณ 3 เทีย่ ว และใชร้ ถยนต์ สว่ นตัวในการสญั จรไปมา ระบบประปาหมูบ่ ้าน 1.จานวนครวั เรอื นทใี่ ชน้ า้ ประปาใน เขตตาบลดงอจี าน ประมาณ 1,585 ครวั เรอื น 2.กาลงั การผลิตประมาณ 560 ลูกบาศก์เมตร/วัน 3.แหล่งนา้ ดิบทใี่ ช้ผลิตน้าประปาจาก - น้าบาดาลหม่ทู ี่ 6,หมู่ท่ี 7,หมูท่ ่ี 13,หมทู่ ่ี 8 - น้าผิวดนิ หมูท่ ่ี 5,หมทู่ ่ี 9,หมทู่ ี่ 10 ไฟฟา้ 1.พน้ื ที่ไดร้ บั บริการไฟฟ้า ร้อยละ 99 ของพน้ื ทท่ี งั้ หมด 2.ไฟฟา้ สาธารณะ จานวน 65 จดุ
8 3.ข้อมูลประชากร 3.1 ข้อมูลประชากรจาแนกตามเพศรายหมู่บ้าน ตารางที่ 1 แสดงประชากรจาแนกตาม เพศรายหม่บู า้ นรบั ผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล บา้ นดงบงั 2565 (ประชากรอยจู่ รงิ ) - ชาย 3,061 คน หญงิ 3,054คน รวมทัง้ หมด 6,115 คน - จานวนหลังคาเรอื น 1,685 หลังคาเรอื น กล่มุ อายุ (ป)ี ชาย(คน) หญงิ (คน) รวม (คน) อตั รา (รอ้ ยละ) 0-4 153 147 300 4.91 5-9 190 162 352 5.76 10-14 204 177 381 6.23 15-19 201 215 416 6.80 20-24 217 181 398 6.51 25-29 232 237 469 7.67 30-34 224 222 446 7.29 35-39 218 221 439 7.18 40-44 263 237 500 8.18 45-49 257 277 534 8.73 50-54 229 250 479 7.83 55-59 209 230 439 7.18 60-64 174 160 334 5.46 65-69 119 138 257 4.20 70-74 74 79 153 2.50 75-79 45 40 85 1.39 80-84 37 48 85 1.39 85-89 9 22 31 0.51 90-94 6 10 16 0.26 95-99 0 1 1 0.02 100 ปีขึ้นไป 0 0 0 0.00 รวม 3,061 3,054 6,115 100 ที่มา : งานทะเบียนราษฎร์ อาเภอโนนสุวรรณ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2565
9 3.2 ข้อมลู หลักประกนั สขุ ภาพ - ประชากรทุกสิทธิ 6,115 คน ร้อยละ 88.06 - ความครอบคลุม(UC coverage) 5,385คน 3.3 ขอ้ มูลทรพั ยากรสาธารณสขุ - ศสมช. 13 แหง่ 4.การกระจายอัตราเจา้ หนา้ ทตี่ ่อประชากรในเขตรับผดิ ชอบ สดั ส่วนตอ่ ประชากร ตารางท่ี 2 อตั ราเจ้าหน้าทต่ี ่อประชากรในเขตรบั ผิดชอบ ท่ี ตาแหนง่ //วชิ าชพี จานวนบุคลากร 1 พยาบาลวิชาชีพ 2 1:3,058 2 นกั วิชาการสาธารณสขุ 2 1:3,058 3 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 1 1:6,115 รวม 5 อตั ราเจ้าหนา้ ทท่ี ัง้ หมด ตอ่ ประชากร 1:874 ทมี่ า : ระบบรายงานโปรแกรม Hosxp _PCU ขอ้ มลู ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2565 5 ขอ้ มูลกลุ่มเปา้ หมายประชากร 5 กลุม่ วัย จานวน (คน) ตารางท่ี 3 จานวนกลุ่มประชากร 5 กลมุ่ วยั กลุ่มวัย กลุม่ เด็กปฐมวยั (อายุ 0-5 ปี) 306 กลุ่มวัยเรียน (อายุ 6-14 ป)ี 586 กลุม่ วยั รนุ่ ( อายุ 15-20 ป)ี 387 กลุ่มวยั ทางาน (อายุ 21-59 ปี) 1,913 กลุ่มผู้สงู อายุ (อายุ 60 ปี ขน้ึ ไป) 786 รวม 3,378 ทม่ี า : ระบบรายงานโปรแกรม Hosxp _PCU ข้อมูล ณ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2565
10 แผนภูมิท่ี 1 พีระมิดประชากรในพื้นทรี่ ับผิดชอบ ของ รพ.สต.ไมแ้ ดง ปี 2565 จากปิรามิดประชากรใน ปี 2565 พบวา่ ประชากร เป็นหญิงรอ้ ยละ 51.64 ชายรอ้ ยละ 48.36 ประชากร อายุ 15-19 ปี และ 60-64 ปี มีแนวโน้มเพม่ิ สงู ขึ้น ประชากร 30 -34 ปี มีสดั สว่ นลดลง เม่ือเทียบกับ ประชากรทั้งหมด และมีการนาขอ้ มูลประชากรดงั กลา่ วมาใชใ้ นการวางแผนด้านสขุ ภาพ การสง่ เสริมป้องกนั ควบคมุ โรค การฟน้ื ฟูดแู ลสุขภาพใหเ้ หมาะสมกบั กลุ่มวยั
11 4.ความครอบคลุมหลกั ประกนั สขุ ภาพ ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลหลกั ประกนั สุขภาพของประชาชนเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล บา้ นดงบงั 3 ปีย้อนหลงั (การเขา้ ถึงบรกิ ารสาธารณสุข) ความครอบคลุมสทิ ธใิ น ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ระบบหลักประกันสุขภาพ จานวน จานวน จานวน จานวน (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ ขา้ รายการ/รัฐวิสาหกิจ 159 4.61 283 5.52 258 6.27 192 6.98 ประกันสังคม 82 2.38 132 2.57 104 2.53 95 3.45 UC ท้งั หมด 3,177 92.11 4,689 91.42 3,711 90.25 2,440 88.73 ตา่ งดา้ ว 1 0.03 3 0.06 3 0.07 4 0.15 อปท. 30 0.87 22 0.43 36 0.88 19 0.69 รวม 3,449 5,129 4,112 2,750 ท่มี า : ระบบรายงานโปรแกรม Hosxp _PCU ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2565 จากตารางพบว่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านดงบังได้ให้บริการผู้มารับบริการทุกกลุ่มวัย ในทุก สทิ ธแิ ละมจี านวนผู้รับบรกิ ารเพม่ิ ข้นึ ในทกุ ปี จากปี พ.ศ.2562 มผี ู้มารบั บรกิ าร จานวน 3,449 คน ในปี พ.ศ. 2563 มีผู้มารับบริการเพ่ิมข้ึน โดยพบผู้รับบริการ จานวน 5,129 คน แต่เมื่อมีการระบาดของโรคติดเช้ือไว รสโคโรนา 19 ทาใหผ้ มู้ ารบั บรกิ ารลดลงในปี พ.ศ.2564 จานวน 4,112 คน 5.ข้อมูลสภาวะสุขภาพ 5.1 อัตราเกดิ -ตาย อตั ราการเกิด 4.91 ตอ่ พันประชากร (เกดิ 30 คน) อตั ราการตาย 425 ตอ่ พันประชากร (ตาย 26 คน) อตั ราการเพ่ิม 0.66 ตอ่ พันประชากร (เพม่ิ 4 คน)
12 ตารางที่ 6 แสดงกลุ่มสาเหตกุ ารปว่ ยของผู้มารับบริการผ้ปู ่วยนอก 10 อนั ดบั โรคแรกยอ้ นหลัง 3 ปี ปี พ.ศ. 2562-2564 ลาดบั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ท่ี สาเหตุการป่วย จานวน สาเหตุการป่วย จานวน สาเหตุการป่วย จานวน 1 โรคระบบกลา้ มเน้ือ โรคระบบยอ่ ยอาหารรวม โรคระบบยอ่ ยอาหารรวมโรค 1,667 โรคในช่องปาก 2,156 ในช่องปาก 2,153 2 โรคระบบทางเดินหายใจ 1,354 โรคระบบกลา้ มเนื้อ 1,226 โรคระบบกลา้ มเนื้อ 973 3 โรคระบบย่อยอาหารรวม 880 โรคระบบทางเดินหายใจ 903 โรคระบบไหลเวียนเลือด 729 โรคในช่องปาก 634 769 อาการแสดงและสิง่ ผิดปกติ 521 4 อาการแสดงและส่ิงผดิ ปกติ 733 โรคระบบไหลเวียนเลอื ด โรคเกี่ยวกบั ตอ่ มไร้ทอ่ 498 451 5 โรคระบบไหลเวยี นเลือด โรคเกย่ี วกบั ตอ่ มไร้ท่อ 633 โภชนาการ 298 729 โภชนาการ 180 578 โรคระบบทางเดินหายใจ 175 6 โรคเก่ยี วกบั ต่อมไร้ทอ่ 546 อาการแสดงและสง่ิ ผิดปกติ โรคผวิ หนงั และเน้อื เย่ือใต้ โภชนาการ 344 ผวิ หนัง 7 โรคผวิ หนังและเน้ือเยื่อใต้ โรคผวิ หนงั และเนือ้ เยื่อใต้ ผวิ หนัง 486 ผวิ หนงั 252 สาเหตุจากภายนอกอ่นื ๆ โรคระบบสืบพนั ธ์ุรว่ ม 8 สาเหตุจากภายนอกอืน่ ๆ 310 สาเหตจุ ากภายนอกอ่นื ๆ 217 ปัสสาวะ 9 โรคระบบสบื พันธ์รุ ่วม โรคระบบสืบพันธร์ุ ่วม โรคตารวมสว่ นประกอบของ ปัสสาวะ 226 ปัสสาวะ 148 ตา 10 โรคตารวมสว่ นประกอบ โรคตารวมสว่ นประกอบ ของตา 134 ของตา ท่มี า : ขอ้ มูลจากโปรแกรม HOSxP_PCU ณ วันที่ 3 สิงหาคม 2565
ตารางท่ี 7 แสดงสาเหตุการตาย 5 อนั ดับแรก ปี 2561 – 2565 13 ลาดับ ช่ือโรค ปี จานวน (ราย) 2565 ท่ี 2561 2562 2563 2564 16 7 1 ชราภาพ 13 17 15 11 5 3 2 หลอดเลอื ด 7965 1 46 3 หวั ใจ 4554 4 โรคทางเดนิ หายใจ 3 3 2 2 5 อุบัตเิ หตุ 0100 รวมผูเ้ สยี ชีวติ ทิ ั้งปี 35 51 40 30 ตารางท่ี 8 แสดงจานวนผรู้ ับบรกิ ารทง้ั หมด ในระหวา่ งปีงบประมาณ 2561-2565 ปงี บประมาณ ผู้มารบั บริการ (จานวนครั้ง) 2561 14,908 2562 13,047 2563 18,004 2564 14,286 2565 (กรกฎาคม 2565) 9,156 ทมี่ า : ขอ้ มูลประชากรจากโปรแกรมระบบฐานขอ้ มูล รพ.สต.(Hosxp pcu) ขอ้ มลู ณ กรกฎาคม 2565
14 5.2.5 ขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยา ตารางท่ี 8 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง 5 ปียอ้ นหลัง ปี พ.ศ. 2560 – 2565 จำนวนผู้ป่ วย(รจำำยน)วนผปู้ ว่ ยดว้ ยโรค ไขเ้ ลือดออกรวม(26,27,66) จำแนกรำยเดอื น ต.ดงอจี ำน อ.โนนสุวรรณ จ.บรุ รี ัมย์ เปรียบเทียบขอ้ มูลปี 2565 กับค่ำมธั ยฐำน 5 ปี ยอ้ นหลัง 1 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec เดือน Median 2565 จากแผนภมู ิจะเห็นไดว้ ่า ปี 2565 ไม่มีจานวนผู้ปว่ ยโรคไข้เลือดออก และจานวนผ้ปู ่วยโรคไขเ้ ลือดออกไม่เกิน ค่ามัธยฐานยอ้ นหลงั 5 ปี
15 ตารางท่ี 9 แสดงโรคทตี่ อ้ งเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา 3 อันดับแรกย้อนหลงั 3 ปี พ.ศ.2562 – 2564 ป2ี 561 ป2ี 562 ป2ี 563 ป2ี 564 ปี2565 จานวน (ราย) จานวน (ราย) จานวน (ราย) จานวน (ราย) จานวน (ราย) ท่ี ชื่อโรค จา อัตรา: จา อตั รา/ จา อัตรา/ จา อัตรา/ จา อตั รา/ นวน แสน นวน แสน นวน แสน นวน แสน นวน แสน ปชก. ปชก. ปชก. ปชก. ปชก. 1 อจุ จาระรว่ ง/ อาหารเป็น 572.3 506.9 637.7 670.4 310.7 35 6 31 5 39 8 41 8 19 1 พิษ 2 ตาแดง 21 343.4 19 310.7 22 359.7 14 228.9 7 114.4 2 1 757 3 ไข้ไมท่ ราบ 114.4 114.4 สาเหตุ 7 7 6 98.12 5 81.77 7 7 2 32.71 ประชากรกลางปี 6,115 6,115 6,115 6,115 6,115 ที่มา : ข้อมูลประชากรจากโปรแกรมระบบฐานข้อมลู รพ.สต.(Hosxp pcu) ขอ้ มลู ณ กรกฎาคม 2565 ตารางที่ 10 แสดงการฉีดวัคซีน โรค Covid-19 กลมุ่ เปา้ หมาย จานวน เขม็ ที่ ผลงาน เขม็ ท่ี ร้อย เขม็ ที่ เขม็ ท่ี 1 รอ้ ยละ 2 รอ้ ยละ 3 ร้อยละ 4 ละ 5 -11 ปี 481 415 86.27 386 80.24 12 -17 ปี 543 482 88.76 387 71.27 18 -59 ปี 4320 3931 90.99 3624 83.88 1326 30.69 172 3.98 60 ปขี ึ้นไป 961 852 88.65 816 84.91 381 39.64 7 กล่มุ โรค 1356 1295 95.5 1243 91.99 577 42.55
16 แผนภูมแิ สดงการฉดี วคั ซีน โรค Covid-19 ตามกลุ่มอายุ แยกรายเขม็ แผนภูมิแสดงข้อมูลการฉีดวัคซีนโค วิด 19 เขม็ ท1ี่ เขม็ ท2ี่ เข็มท3ี่ เข็มท4ี่ เขม็ ท5่ี 120 95.5 91.99 100 86.27 88.76 90.99 80.24 71.27 83.88 88.65 84.91 80 60 13.26 42.55 30.69 40 3.98 20 39.64 0 12 -17 ปี 18 -59 ปี 60 ปีขนึ ้ ไป 7 กลมุ่ โรค 5 -11 ปี ตารางที่ 11 แสดงจานวนและอตั ราป่วยด้วยโรคเรอื้ รัง 5 อนั ดับแรก ปี 2562 - 2565 ปี2562 ป2ี 563 ปี2564 ปี2565 ลาดบั โรค จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อย ละ 1 ความดันโลหติ สงู 282 4.61 356 5.97 450 7.36 546 8.93 2 เบาหวาน 97 1.59 123 2.01 157 2.57 307 5.02 3 DM / HT 31 0.51 39 0.64 41 0.67 44 0.72 4 LTC. 20 0.33 21 0.34 21 0.34 22 0.36 5 โรคมะเร็ง 7 0.11 5 0.08 5 0.08 12 0.20 ประชากรกลางปี 6,115 6,115 6,115 6,115
17 6.กลุ่มพ่งึ พงิ ท่ตี อ้ งได้รับการดแู ลโดยทีมหมอครอบครวั ตารางที่ 12 แสดงจานวนผปู้ ่วยกลุ่มพ่งึ พิงทต่ี ้องได้รบั การดูแลโดยทีมหมอครอบครัว ผปู้ ว่ ยตดิ บา้ น ผูป้ ว่ ยติดเตยี ง Palliative Care เด็ก 0-5 ปี ทมี่ ี ผู้พกิ ารที่ต้องดูแล พฒั นาการล่าชา้ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ 19 0.31 6 0.10 2 0.03 3 0.05 1 0.02 ทมี่ า : จากโปรแกรม Hosxp_ PCU ณ วนั ท่ี 7 มถิ นุ ายน 2565
7.ข้อมูลสถานะเงนิ บารงุ ของโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลบ้านดงบงั ตารางท่ี 13 แสดงรายรบั เงินบารงุ ของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นดงบัง ราย ปงี บประมา เงนิ โอนโครงการประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ณ fixed cost QOF งบ OP/PP Fee พรบ Schedule 466,608.0 99,121.6 2562 0 0 10,424.00 473,787.0 95,621.0 265,700.0 16,810.0 2563 0 0 92,807.71 0 0 484,733.0 70,900.0 129,856.0 2564 0 00 9,380.00 ทีม่ า : จากรายงานการเงนิ รพ.สต.บ้านดงบัง วนั ท่ี 5 มถิ ุนายน 2565 เงินคงเหลือ ณ ปจั จุบัน วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2565 จานวน 1,379,669.81 บาท
18 ง ยอ้ นหลัง 3 ปี ยรบั (บาท) รายรับอ่นื อ่ืนๆLTC+ ค่า นค+ คา่ ยา/ ประกนั สังค ปว่ ย อืน่ ๆ บรจิ าค ม การ ดอกเบ้ีย กองทุน+ฉ. 11 อสม. 351,200.0 35,299.0 0.0 3,548.5 00 0 2 966,201.12 447,247.7 18,273.0 0.0 3,541.6 1,413,788.0 10 05 7 534,600.0 23,464.0 17,000.6 0.0 3,472.5 1,273,406.1 0 05 02 7
ตารางที่ 14 แสดงรายจ่ายเงินบารงุ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบา้ นดงบ รายจ่าย ปงี บประมา คา่ OT/ คา่ จา้ งลูกจา้ ง คา่ วัสดุ คา่ ครภุ ณั ฑ์/ ณ ค่าตอบแทน สิ่งก่อสรา้ ง 249,480.0 159,240.0 2562 0 0 84,576.00 - 309,840.0 126,540.0 2563 0 0 20,880.00 2,366.00 367,090.0 240,401.0 153,103.9 45,000.0 2564 0 0 0 0 ทม่ี า : จากรายงานการเงนิ รพ.สต.บา้ นดงบงั วันที่ 5 มิถนุ ายน 2565
19 บัง ยอ้ นหลัง 3 ปี ย (บาท) คา่ ใช้สอย คา่ ปว่ ย การ อส ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ รวมรายจ่าย ค่า สาธารณูปโภ ม. ค 203,375.7 170,400.0 - 0 926,525.87 59,454.13 4 180,167.0 53,189.40 5 - 74,700.00 767,682.45 199,117.0 1,123,353.0 43,636.79 0 - 75,004.32 1
20 8.อัตรากาลังบุคลากรด้านสุขภาพ บคุ ลากรทางการสาธารณสุข สังกัดโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบ้านดงบงั ประกอบด้วย สหวิชาชีพสาขา ตา่ งๆ รวมทง้ั สิน้ 7 คน รายละเอียดดงั ตาราง ตารางที่ 15 แสดงจานวนบคุ ลากรทางการสาธารณสุข สังกดั โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลบา้ นดงบัง ปี พ.ศ. 2565 ช่อื สกลุ ตาแหนง่ ข้าราชการ พกส. ลกู จา้ ง นางสาวเยาวลกั ษณ์ คนชมุ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ / นายจีระศกั ดิ์ อาจหาญ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั ิการ / นางละอองดาว นิยมวรรณ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ / นางสาวณฤดี ชเู ชิดเชือ้ เจา้ พนักงานสาธารณสุขชานาญงาน / นางสาวณิชา แผนเสือ นักวชิ าการสาธารณสุข(ทันตสาธารณสุข) / นางนัทมน เพ็งมูล ผู้ช่วยเหลอื คนไข้ / นางศิริลกั ษณ์ ยบุ ไธสง ผูช้ ว่ ยแพทยแ์ ผนไทย / นางน้าผ้งึ คาพงษ์ พนกั งานธุรการ / รวม 5 2 1
21 ตารางท่ี 16 แสดงอัตรากาลังบุคลากรจาแนกตามสาขาวชิ าชีพที่สาคญั ท่ีมาให้บริการโรงพยาบาลสง่ เสริม สุขภาพตาบลบา้ นดงบงั ทั้งหมนุ เวยี นและใหบ้ รกิ ารประจา ประเภทตาแหน่ง บุคลากรตามภาระ ตอ่ หลังคาเรอื น(ทัง้ หมด ตอ่ ปชก.(ทั้งหมด งาน (กลมุ่ วชิ าชีพ) 1,685 หลังคาเรอื น) 6,115คน) แพทย์ (แพทยห์ มนุ เวียนจาก 1 1:1,685 1:6,115 รพช.โนนสุวรรณ) 1:6,115 ทันตแพทย์ (หมุนเวียนจาก รพช. 1 1:1,685 โนนสวุ รรณ) 1:6,115 เภสัชกร (หมนุ เวียนจาก รพช. 1 1:1,685 1:6,115 โนนสวุ รรณ) 1 1:1,685 1:6,115 นกั วิชาการแพทยแ์ ผนไทย 1:3,058 (หมนุ เวยี น จาก รพช.โนน 1:3,058 1:6,115 สวุ รรณ) 1:2,039 นกั กายภาพบาบัด(หมนุ เวียน 1 1:1,685 จาก รพช.โนนสวุ รรณ) พยาบาลวิชาชพี 2 1:843 นักวิชาการสาธารณสุข 2 1:843 เจา้ พนักงานสาธารณสุข 1 1:1,685 สายสนับสนนุ อ่ืนๆ 3 1:562
22 ตารางที่ 17 จานวนอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้านประจาปี 2565 หมู่ จานวนหลังคา จานวน อสม. อสม./ครัวเรอื น ท่ี ชอ่ื หมบู่ ้าน เรอื น 10 1 : 17 1 บ้านดอนสมบูรณ์ 169 9 1 : 12 2 บา้ นดอนตาอยู่ 110 11 1 : 11 3 บ้านดงบงั 124 11 1 : 11 4 บา้ นดงเจรญิ 118 12 1 : 16 5 บา้ นหนองตาเฮียง 188 10 9 : 10 6 บ้านหนองไทร 98 9 1 : 14 7 บ้านมว่ งงาม 127 10 1 : 12 8 บา้ นหนองตะไก้ 120 11 1 : 14 9 บ้านดอนพฒั นา 153 9 1 : 13 10 บ้านดงสนั ติ 120 12 1 : 11 11 บา้ นดอนเจรญิ 130 9 9 : 11 12 บ้านดงนคร 96 13 1 : 10 13 บา้ นดงพัฒนา 132 136 : 13 136 รวม 1,685 ท่ีมา : ขอ้ มูลงานสขุ ภาพภาพประชาชน โปรแกรม Hosxp_pcu 7 มิถนุ ายน 2565
23 สว่ นที่ 1 บริหารดี หมวด 1 การนาองคก์ ร และการจดั การดี โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลบา้ นดงบงั ไดย้ กระดบั จากสถานีอนามยั เปน็ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล (รพ.สต.) ในปี พ.ศ.2554 เพ่ือตอบสนองนโยบายกระทรวงสาธารณสขุ และความจาเป็นด้านสขุ ภาพของ ประชาชนให้มกี ารจัดบริการทุกกลมุ่ วยั และเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันทง้ั ประเทศ ตั้งแต่ ระดับ รพ.สต.เกณฑค์ ณุ ภาพ รพ.สต.ติดดาว มีการพัฒนาความสอดคลอ้ งกับแผนยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี กระทรวงสาธารณสุข วิสยั ทัศน์ สถานบริการปฐมภูมทิ ี่มีคุณภาพ การบริการเชิงรุก ภาคเี ครือขา่ ยมสี ว่ นรว่ ม พฒั นางานสาธารณสขุ ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ี พันธกจิ ใหบ้ รกิ ารแบบผสมผสาน สอดคลอ้ งกับความต้องการของชุมชน สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยใหม้ ีส่วนร่วม ในการสง่ เสรมิ สุขภาพ นาไปสู่มาตรฐานของหน่วยบริการปฐมภูมิ เปา้ ประสงคห์ ลัก ประชาชนมสี ขุ ภาวะท่ีดี ชุมชนเข้มแข็ง วัฒนธรรมองค์กร ทางานโดยยดึ หลักการทางานเป็นทมี อยู่แบบครอบครวั ค่านิยมองคก์ ร เปน็ นายตนเอง เร่งสร้างสิ่งใหม่ ใส่ใจประชาชน อ่อนน้อมถ่อมตน (MOPH) วฒั นธรรมองคก์ ร
24 รบั ผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา พัฒนาเป็นนิจ จิตบรกิ าร ทางานเปน็ ทมี รบั ผิดชอบ : ต่อหน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย และมีความตงั้ ใจท่ีจะดาเนินงานท่ีได้รบั มอบหมายใหป้ ระสบ ผลสาเร็จ นอกจากนั้น ยังต้องรับผิดชอบต่อองค์กร และเพ่ือนร่วมงาน ในการประกอบกิจต่างๆ ท่ีได้รับ มอบหมาย ท้งั น้ี ความรับผิดชอบจะส่งผลต่อองค์กรท้ังทางบวกและลบ หากบุคคลมคี วามรับผิดชอบ ผลดีย่อม ตกแก่ตนเอง และองคก์ ร ในทางกลบั กัน หากไร้ซ่ึงความรับผิดชอบ องคก์ รยอ่ มเกดิ ความเสยี หาย ตรงต่อเวลา : ตรงตอ่ เวลาทีน่ ดั หมาย ในภารกิจต่างๆ ดว้ ยความต้ังใจ โดยตอ้ งวางแผนการดาเนนิ งาน เพ่ือให้สามารถปฏิบัติภารกิจให้ตรงต่อเวลา ทั้งนี้ต้องถือหลักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ทุกคนย่อมมีภารกิจ เวลา เป็นสิ่งมีค่า หากปล่อยเวลาให้ผ่านไป ก็จะเสียเวลาไปโดยไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ การตรงต่อเวลา ถือ เป็น ความรับผิดชอบส่วนบุคคล ที่จะแสดงถึง ความจริงใจ ความเคารพต่อผู้อื่นและถือเป็นการให้เกียรติ ผู้ร่วมงาน พัฒนาเป็นนิจ : การพัฒนาตนเองอยู่เป็นนิจสิน ถือเป็นหน้าที่สาคัญของบุคลากรด้านสาธารณสุข ที่ ตอ้ งคน้ ควา้ พฒั นาทัง้ ทางด้านวิชาการ ด้านจติ วญิ ญาณ และ คณุ ธรรมส่วนบุคคล จิตบริการ : มีความยินดี หวังดี พร้อมให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน และเอ้ืออาทรต่อเพื่อน ร่วมงานและผูร้ ับการตดิ ตอ่ พร้อมทจี่ ะให้ความร่วมมือ หรือ ยินดีท่ีใหบ้ ริการ แมว้ ่างานน้นั ไม่ใชห่ น้าที่โดยตรง ทางานเป็นทีม : ทีมงาน และการทางานเป็นทีม เป็นลักษณะสาคัญที่ส่งผลให้การทางานประสบ ผลสาเร็จ ทีมงานจะมีจุดเด่นคือ การรวมไว้ซึ่งความแตกต่างของบุคลากร เม่ือเกิดการรวมเป็นทีม ความ แตกตา่ งดังกล่าวจะกลายเป็นการเสรมิ แรงซึ่งกันและกัน ร่วมผลักดนั ภารกิจท่ีได้รับมอบหมายจนบรรลุผล การ ทางานทดี่ ี จึงเนน้ การทางานเป็นทมี การสรา้ งทีมงานที่ดี การมที มี งานที่ดีถอื เป็นศกั ยภาพทส่ี าคัญของบคุ ลากร ทีจ่ ะประสบผลสาเรจ็ ในการทางาน 1.1 ภาวะผ้นู า การนา ธรรมาภบิ าล 1.1.1 ภาวะผู้นาของผูบ้ รหิ ารองค์กร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง มีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับบุคลากรใน องค์กรชัดเจน รวมถึง การพัฒนาระบบร้านชาปลอดภัย แบบมีส่วนร่วมโดยภาคีเครือข่ายในชุมชนในพ้ืนที่ รับผิดชอบ เพ่ือให้คนในชุมชน มีความรู้และการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการป้องกันโรคโควิด 19 รวมถึง ผู้ประกอบการร้านค้าได้มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องและปลอดภัย ร่วมกับใช้ หลักการให้บริการอย่างมีคุณภาพ ในสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 โดยมีการมอบหมายพื้นที่ การดาเนินงานให้กบั เจ้าหน้าท่ีทีร่ ับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ดแู ล ร่วมกับ อสม. ผู้นาชมุ ชน ตวั แทนภาคประชาชน ผู้ประกอบการร้านค้า และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขประจาองค์การบริหารส่วนตาบลร่วมกันดูแลและดาเนินงาน ซ่ึงผู้บริหารสามารถดาเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในตาบลได้ และนาโครงการมาปฏิบัติ เพ่ือเป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดีได้เป็นอย่างดี โดยให้บุคลากรในหน่วยงานสามารถดาเนินงานตามหน้าท่ีความรับผิดชอบ รว่ มกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ และผู้นาชุมชน รวมถึงผู้บรหิ ารมีการมอบหมายงานในระดับเครือข่ายให้กับ บคุ ลากรให้สามารถดาเนนิ งานในฐานนะแมข่ า่ ยได้เป็นอยา่ งดี 1.1.1.1 มีการทางานร่วมกันของคณะกรรมการสุขภาพอาเภอ (DHS)/คณะกรรมการ คณะกรรมการสุขภาพตาบลดงอีจาน ซ่ึงประกอบด้วย ผู้แทนจากโรงพยาบาลโนนสุวรรณ สานักงาน สาธารณสุขอาเภอโนนสุวรรณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง ประธานชมรมผู้สูงอายุ ผู้แทน เครือข่ายโรงเรียนพื้นท่ีตาบลดงอีจาน ผู้นาชุมชน กลุ่มพัฒนาสตรี กลุ่มเยาวชน และชมรม อสม. โดยนายก องค์การบริหารส่วนตาบลดงอีจาน เป็นประธานคณะกรรมการ และผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
25 ตาบลบ้านดงบงั เป็นเลขานกุ าร ได้เหน็ ปัญหาของการระบาดของโรคโควิด 19 จงึ ประชุมแผนยทุ ธศาสตร์ โดย มุ่งเน้นให้ประชาชนปลอดภัยจากการระบาดของโรคโควิด 19 และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้มีการเสนอแผนงาน และโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังการระบาดของโรคโควิด 19 ในชุมชน โดยใชห้ ลักการดาเนินการท่ี สอดคล้องกับสภาวะสุขภาพของผู้รับบริการและบริบทของพ้ืนที่ โดยใช้แบบมีส่วนร่วมโดยภาคีเครือข่ายใน ชมุ ชนในการดาเนินโครงการ 1.1.1.2 การกาหนดและการถา่ ยทอดทิศทางทางานรว่ มกนั เปน็ ทมี มีการกาหนดการดาเนินงานเป็นทีม โดยการวิเคราะห์ปัญหาในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายในชุมชน สารวจวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็น พร้อมจัดอบรมให้ความรู้ให้แก่ผู้นาชุมชน อสม.และแกนนา ด้านสุขภาพ มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในชุมชนโดยมีแผนงานและโครงการในการกากับการดาเนินกิจกรรมและ โครงการ ได้ประชุมกาหนด แผนยุทธศาสตร์ มีแผนงานและโครงการสอดคล้องกับสภาวะสุขภาพของ ผรู้ บั บริการและบรบิ ทของพนื้ ทร่ี วมทั้งสือ่ สารใหบ้ ุคลากรและผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียรับทราบ
26 1.2 แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นสขุ ภาพ 1.2.1 การจัดทายุทธศาสตร์และกลยทุ ธ์ การกาหนดเป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด เป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุ เป้าประสงค์ กลวิธีเพ่ือให้บรรลุ เป้าหมายท่ีมี ความชัดเจนและเป็นรูปธรรมทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพมีการจัดทาแผนปฏิบัติการท่ี ตอบสนอง สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ จัดสรรทรัพยากร (คน เงิน ของ) ให้เพียงพอต่อการดาเนินงานได้ สาเร็จ ถ่ายทอดแผนไปสู่บุคลากรให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการนาไปปฏิบัติให้บรรลุกาหนดตัวช้ีวัดท่ีใช้ ติดตามความคืบหน้าของแผนปฏิบตั กิ าร 1.2.2 การนาแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ
27 1.3.1 การจดั การการเงนิ และบัญชี 1.มีคาสง่ั คณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ ของหน่วยงาน 2.มีแผนการใช้เงินงบประมาณและเงินบารงุ 3.มีหลกั ฐานทางการเงินทตี่ รวจสอบได้และเปน็ ปัจจบุ ัน 3.1.มีบัญชีควบคมุ การรับ-จา่ ยเป็นปัจจบุ นั ถูกต้อง
28 3.2.มีสมุดคมุ การใช้ใบเสร็จรับเงินและสรุปผลการใชป้ ระจาปี 3.3.มีเอกสารการจัดซ้ือ/จัดจ้าง เป็นปัจจุบนั 4.มแี ฟม้ การจัดทาบญั ชเี กณฑค์ งค้าง-ได้ถกู ต้องและทันตามกาหนดเวลา
29 5.ได้รบั การตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ และนาผลขอ้ เสนอแนะแก้ไข 1.3.2 การจดั การทรพั ยากร (เพอื่ สนับสนนุ ระบบบริการจากแม่ข่าย IT, IC, LAB, เครือ่ งมือบรกิ าร, เภสชั กรรมและ RDU/คบส.) โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลบ้านดงบงั ในฐานะหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ ได้รบั การสนบั สนุน ท้งั คน เงิน ของ เพื่อจัดบริการแกป่ ระชาชนครบถ้วนจากโรงพยาบาลแมข่ ่าย ได้แก่ - งบคา่ เสอ่ื ม ในการพฒั นาโครงสรา้ งอาคารสถานท่ี และครุภัณฑ์ท่ีจาเป็น เช่น ครภุ ัณฑ์คอมพวิ เตอร์ ครภุ ัณฑ์ การแพทยต์ ามมาตรฐานการข้ึนทะบียนหน่วยบริการ - ไดร้ ับการจดั สรร Fixed cost เปน็ ค่าใช้จา่ ยหมวดบุคลากร ค่าตอบแทน และงบดาเนินงาน - พี่เลยี้ ง โรงพยาบาลกระสัง สนบั สนุน บุคลากรมาหมนุ เวียนได้แก่ ทันตแพทย์ และเภสชั กร รวมถึงการจัด อบรมฟื้นฟูความรใู้ หเ้ จา้ หนา้ ท่ี ทุกปี - สสอ.โนนสวุ รรณในฐานะผู้บังคับบัญชา กาหนดใหม้ ีผรู้ บั ผดิ ชอบระดับอาเภอในการคืนข้อมูลสารสนเทศ ให้กับหน่วยงาน - มกี ารแตง่ ตงั้ ทมี คปสอ.ในการนเิ ทศตดิ ตามงานปีละ 2 คร้ัง
30 ๑.๓.๓ การจัดการด้านส่ิงแวดล้อม รพ.สต. มีการจัดการสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ดาเนินการตาม มาตรฐาน ๕ ส ๑. สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ๑.๑ การปรับปรุงสภาพส่ิงแวดล้อมภายนอกอาคาร บริเวณท่ัวไปสะอาด มีความเป็นระเบียบ เรียบร้อยจดั เปน็ สัดสว่ น มีร้วั รอบขอบชิด ๑.๒ การจัดสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเข้าถึงบริการ มีจุดสาหรับจอดรถผู้ป่วยฉุกเฉิน สามารถมา จอด เพื่อรับส่งผูป้ ่วยได้สะดวกและใกล้กับจดุ ท่ีกาหนดไว้และจุดที่กาหนดไว้สาหรบั จอดรถผู้พกิ ารทุพพล ภาพ และ ผูส้ ูงอายุ เป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้างไมน่ ้อยกว่า ๒,๔๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร และจดั ใหม้ ีท่วี า่ งข้างทีจ่ อดรถกว้างไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ มิลลเิ มตร ๑.๓ มกี ารกาหนดจดุ สาหรบั จอดรถผพู้ กิ าร/ผสู้ ูงอายุ อยา่ งเหมาะสม
31 ๒. รพ.สต. มกี ารจัดการสภาพแวดลอ้ มภายในสถานที่ทางาน ดาเนินการตามมาตรฐาน ๕ ส ๒.๑ มีการดแู ลส่งิ แวดล้อมภายในสถานที่ทางาน บริเวณทวั่ ไปสะอาด ๒.๒ หอ้ งทางาน (Back office & Service) มปี ้ายตดิ หนา้ ห้องทกุ หอ้ งที่สอดคลอ้ งกับภารกิจ ๒.๓ โต๊ะภายในห้องทางานมีป้ายช่ือเจ้าหน้าท่ี ระบุชื่อ-สกุล ตาแหน่ง ให้ตรงกับผู้ปฏิบัติงานในวัน น้นั ๆ/กรณีเป็นโต๊ะสาหรบั ให้บรกิ ารไม่ตอ้ งมีป้ายชื่อประจาโต๊ะ ใหม้ ปี า้ ยตดิ หนา้ อกหรอื หอ้ ยคอ เจ้าหนา้ ท่ี ระบุ ชือ่ -สกุล ตาแหน่งใหช้ ดั เจน ๒.๔ โต๊ะคอมพิวเตอร์/เคร่ืองพิมพ์ สายอุปกรณต์ ่อพ่วงคอมพิวเตอร/์ เครื่องพิมพ์ ต้องเก็บให้ปลอดภัย และเปน็ ระเบยี บ
32 ๒.๕ ตู้เก็บเอกสารและการเก็บเอกสาร มีป้าย ส สะดวก ติดไว้ให้ชัดเจน ครอบคลุม เหมือนกันทุก แฟม้ ในทกุ ตู้ และจัดเกบ็ เปน็ ระเบยี บ ๒.๖ เอกสารที่อยู่ในแฟ้มงานจะต้องเป็นเอกสารปีปัจจุบัน หรือหากมีเอกสารย้อนหลังเกิน ๑ ปี ต้อง เปน็ เอกสารที่มคี วามจาเปน็ ตอ้ งใช้ข้อมลู เกยี่ วพันกัน และต้องระบุจากปีใด ถงึ ปใี ด ๓. รพ.สต. พัฒนาสว้ มให้ได้มาตรฐานสว้ มสาธารณะไทย (HAS) ไดแ้ ก่ ความสะอาด (Health : H) ๑. พ้ืน ผนงั เพดาน โถสว้ ม ท่กี ดโถสว้ ม โถปสั สาวะ สะอาด ไม่มคี ราบสกปรกอยู่ในสภาพดีใชง้ านได้ ๒. น้าใช้สะอาด เพียงพอ และไม่มีลูกน้ายุง ภาชนะเก็บกักน้า ขันตักน้า สะอาดอยู่ในสภาพดี ใช้งาน ได้ ๓. กระดาษชาระเพียงพอต่อการใช้งานตลอดเวลาท่ีเปิดให้บริการ (อาจจาหน่ายหรือบริการฟร)ี หรือ สายฉีดนา้ ชาระทส่ี ะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ ๔. อา่ งล้างมือ ก๊อกน้ากระจก สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อย่ใู นสภาพดแี ละใชง้ านได้ ๕. สบูล่ ้างมือ พรอ้ มใหใ้ ชต้ ลอดเวลาทีเ่ ปิดใหบ้ รกิ าร ๖. ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด อยู่ในสภาพดี ไม่รั่วซึม ต้ังอยู่ในบริเวณอ่างล้างมือหรือบริเวณ ใกลเ้ คยี ง ๗. มีการระบายอากาศดี และไม่มีกล่นิ เหม็น ๘. สภาพท่อระบายสงิ่ ปฏิกลู และถงั เกบ็ กักไม่ร่วั แตก หรือชารุด ๙. จัดใหม้ กี ารทาความสะอาด และระบบการควบคมุ ตรวจตราเป็นประจา
33 ความเพียงพอ (Accessibility: A) ๑๐. จดั ให้มสี ้วมน่ังราบสาหรบั ผ้พู กิ าร ผสู้ ูงวัย หญิงตั้งครรภแ์ ละประชาชนทัว่ ไปอย่างน้อยหน่งึ ที * จัดให้มีห้องส้วมสำหรับผู้พิกำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำเข้ำใช้ได้ อย่ำงน้อย ๑ ห้อง และมีสิ่ง อำนวยควำมสะดวกสำหรับผู้พิกำรหรือ ทุพพลภำพ และคนชรำ ตำมที่กำหนดในกฎกระทรวงกำหนด สิ่ง อำนวยควำมสะดวกในอำคำรสำหรับผูพ้ กิ ำรหรือทุพพลภำพ และคนชรำ พ.ศ.2548 ๑๑ ส้วมสาธารณะพร้อมใช้งานตลอดเวลาทเี่ ปิดใหบ้ ริการ ความปลอดภัย (Safety: S) ๑๒. บรเิ วณท่ีตั้งสว้ มต้องไม่อยู่ท่ลี ับตา/เปลย่ี ว ๑๓. กรณีที่มีห้องส้วมตั้งแต่ ๒ ห้องข้ึนไป ให้แยกเป็นห้องส้วมสาหรับชาย - หญิง โดยมีป้ายหรือ สญั ลักษณ์ทช่ี ัดเจน ๑๔. ประตูท่ีจับเปดิ – ปิด และท่ีล็อคด้านใน สะอาด อยใู่ นสภาพดี ใชง้ านได้ ๑๕. พน้ื ห้องสว้ มแห้ง ๑๗. แสงสว่างเพยี งพอ สามารถมองเห็นไดท้ ั่วบรเิ วณ ๔. รพ.สต. มีมาตรการประหยัดพลังงานที่เป็นรูปธรรมเกิดการปฏิบัติตามมาตรการที่กาหนดร่วมกันท้ัง องคก์ ร มมี าตรการประหยดั พลังงานทเ่ี ป็นรูปธรรมเกดิ การปฏิบตั ติ ามมาตรการที่กาหนดร่วมกนั – กาหนดเวลาการเปิด-ปิดเครื่องใชไ้ ฟฟา้ - การตั้งคา่ อณุ หภมู ิเครื่องปรบั อากาศที่ ๒๕ องศาเซลเซยี ส - ส่งเสรมิ การใช้จักรยานในโรงพยาบาล - รณรงคก์ ารใช้นา้ อย่างประหยัด ๔.๑ มมี าตรการดาเนินการประหยดั พลงั งานท่ชี ดั เจน
34 ๔.๒ มีผลการดาเนินการกิจกรรมประหยัดพลังงานท่ีเป็นรูปธรรมและสอดคล้องกับมาตรการท่ี สอดคล้องกับนโยบาย ๕. รพ.สต. จดั ให้มกี ารจัดน้าอปุ โภค บรโิ ภค เพยี งพอในการใหบ้ รกิ ารตามสภาพพ้ืนที่ ๕.๑ มีนา้ อปุ โภค บริโภค ปริมาณเพยี งพอตามสภาพพื้นที่ ๕.๒ จดั ให้มีจดุ บริการน้าดมื่ อย่างเพียงพอตอ่ จานวนผูม้ ารับบริการ
35 ๕.๓ มีการเฝ้าระวังคุณภาพน้าดื่มด้วยชุดทดสอบการปนเป้ือนแบคทีเรีย (อ๑๑) ณ จุดที่ให้บริการน้า ดม่ื ความถี่ ๖ เดือน/ครั้ง 1.4 การสนบั สนุนทีมพีเ่ ลย้ี งเพอ่ื พฒั นาตามเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว 1.4.1 มที มี พเ่ี ลย้ี งระดบั อาเภอครอบคลุมตามรายหมวด และแตล่ ะเกณฑ์
36 1.4.2 มีการประชมุ ทีมพีเ่ ลี้ยง ( 17 กมุ ภาพันธ์ 2565 ) 1.4.3 มีมแี ผนการดาเนินงาน 1.4.4 มีการดาเนินงานตามแผนทวี่ างไว้ 1.4.5 มีการสรุปผลการพัฒนา
37 หมวด 2 การให้ความสาคัญกบั ประชากร เปา้ หมาย ชมุ ชน และผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี การทางานร่วมกับชุมชน ภาคีเครือข่าย ต้องอาศัยความอ่อนน้อมถ่อมตน ประสานงานใน เครือข่าย และภาคีเครือข่าย มีช่องทางการสื่อสารที่ชัดเจน มีกลไกสร้างสัมพันธ์กับชมุ ชนและสร้างความร่วมมือ ร่วมกัน คิด ค้นหาความจาเป็นด้านสุขภาพในพน้ื ท่ี จากนั้นมาวางแผนโครงการแก้ปัญหา ร่วมกันทา ร่วมกันแก้ปัญหา รวมถึงประเมินผลและเรียนรู้ไปด้วยกัน ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีและพึงพอใจ ไม่เกิดข้อร้องเรียน นอกจากการประสานงานกับภาคีเครือข่ายแล้วการประสานภายใน คปสอ.โนนสุวรรณแล้ว โรงพยาบาล สง่ เสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบงั ยงั มแี นวทางชดั เจนนาไปปฏิบตั ิได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม เหมาะสมตามบรบิ ท การได้มาซ่งึ ปญั หาของชุมชน (ODOP/OTOP) ประชากรกลมุ่ เป้าหมาย ฐานข้อมูลผู้รบั บรกิ าร ทราบความต้องการของประชาชนและผู้รับบริการ(Health Need) ประเด็นปัญหาหรือประเด็นที่ต้องพัฒนาที่ ประชาชนและผู้รับบริการ จาเป็นต้องได้รับ มีกระบวนการ(ประชุม ประชาคม เรื่องเล่า CBL SRM ธรรมนูญ สุขภาพ) อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นอยู่กับบริบทของพ้ืนที่นั้นๆ เพื่อให้ได้มาซ่ึงประเด็นปัญหาของชุมชน (ODOP/OTOP) มกี ารนาฐานขอ้ มูลมาจดั ทาแผนงานโครงการเพ่ือตอบสนองต่อปัญหาและความตอ้ งการ คณะกรรมการสุขภาพตาบลดงอีจาน มีการประชุมเพ่ือจัดลาดับความสาคัญของปัญหาสุขภาพระดับตาบล ปี 2564 ในวันท่ี 19 มกราคม 2565 ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง กาหนด หลักเกณฑ์องค์ประกอบ ได้แก่ ขนาดปัญหา ความรุนแรง/เร่งด่วน ความยากง่าย ความตระหนักของชุมชน สรปุ ผลการจดั ลาดับความสาคญั ของปญั หาสาธารณสขุ ของตาบล
38 ตารางแสดงการคน้ หาปญั หาพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสขุ ภาพในชุมชน และแนวทางการแก้ไข ปัญหา แนวทางแกไ้ ข กล่มุ ท่ี ๑ กลมุ่ แมแ่ ละเดก็ (อายุ ๐-๕ ปี) 1.การฝากครรภ์ไม่ครบตามกาหนด, การฝากครรภ์ 1.แนะนาหญิงต้ังครรภ์ฝากครรภ์ตามนัด ฝากครรภ์ ลา่ ช้ากว่าเกณฑ์ ๑๒ สปั ดาห์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับการ 2.การดูแลเด็กโดยผู้ดูแลสูงอายุ ขาดการกระตุ้นการ ดแู ลตามสภาวะและความเสี่ยงท่เี หมาะสมของแตล่ ะ พฒั นาการเดก็ ตามวยั คนและได้รับการติดตามและดูแลจากแม่คนที่ 2 3.การอบรมดูแลเด็กผิดวิธี เข้มงวดเกินไป ปล่อย ตามโครงการดูแลต่อเน่ือง (อสม.) ปละละเลยเกนิ ไป 2.ส่งเสริมให้ผู้ปกครองควรดแู ลเอาใจใส่บุตรมากขึ้น 4.การให้บุตรหลานใช้เทคโนโลยีที่ผิดหรือไม่ เพิ่มระยะเวลาการดูแลบุตรด้วยนมแม่ลดการให้นม เหมาะสม การเล่นเกม กระป๋อง กระตุ้นพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัย 5.ผ้ปู กครองไม่คอ่ ยมีเวลาดแู ลเดก็ อ่อนหรอื เด็กเล็ก ตามแนวทางการประเมินพัฒนาการเด็กในสมุดสี 6.การพัฒนาเดก็ ขาดความต่อเน่ือง ระหวา่ งศูนยเ์ ด็ก ชมพแู ละแบบประเมนิ พัฒนาการเด็ก (DSPM) และผ้ปู กครอง ท่ี ร.ร.และท่ีบา้ น 3.แนะนาส่งเสรมิ การกนิ นมตงั้ แตแ่ รกเกดิ - 6 เดือน 7.เด็กขาดภาวะโภชนาการ เด็กมีภาวะโภชนาการ 4.เช่ือมสัมพันธภาพระหว่างครูกับผู้ปกครอง เกนิ โรคอว้ น โรงเรยี น บ้านและครอบครัวให้ไปในทิศทางเดียวกัน 8.ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ดู แ ล เ ด็ ก ข อ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง วางแผนการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการและการ สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมมีผลตอ่ สภาวะจิตใจและการ กระต้นุ พัฒนาการให้สมวยั เรียนรู้ ทาให้เกิดสภาวะกดดัน เกิดการทะเลาะเบาะ 5.ร่วมกันจัดสภาวะแวดล้อมของบ้าน ชุมชน แวง้ โรงเรียน ให้มีความเหมาะสมสาหรับเด็กนักเรียน 9.การซื้ออาหารบริโภคท่ีไม่มีฉลาก ไม่มีวันหมดอายุ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน IQ EQ การส่งเสริมระเบียบ รับประทาน วินยั สร้างเสรมิ ระบบคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 6. ติดตามตรวจเยี่ยมร้านค้าในชุมชนโดยการมีส่วน ร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ที่จาหน่ายสินค้าท่ี ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคในชุมชน และร่วมกันวางแผนจัดทา โครงการเพอื่ แก้ไขปญั หา กลมุ่ ท่ี ๒ กล่มุ วยั เรยี น ( ๕-๑๔ ป)ี 1.เดก็ ตดิ เกมสต์ ดิ สือ่ ไอทโี ทรศพั ท์มอื ถอื 1.ส่งเสริมการจัดกิจกรรมกลุ่ม ส่งเสริมการออก 2.ฟนั ผุ การดแู ลสุขภาพชอ่ งปาก กาลังกาย การใช้เวลาวางให้เกิดประโยชน์ การ 3.เด็กเสี่ยงเป็นโรคไข้เลือดออกมากข้ึน มียุงและ เรียนรูน้ อกช้ันเรียน ลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ พาหะนาโรคมจี านวนมาก 2.เน้นการดแู ลสุขภาพชอ่ งปากใหเ้ ด็ก การให้ความรู้ 4.การจัดการขยะในโรงเรยี นและชมุ ชน การให้สุขศกึ ษา การฝึกปฏิบตั ิ 5.การซ้ืออาหาร และสินค้าบริโภคที่ไม่ได้มาตรฐาน 3.การรณรงค์กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย ท้ัง มาใช้ ในชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน ให้เป็นรูปธรรม สร้าง 6.การซ้ือยามาใช้เอง ความตระหนัก
39 ปญั หา แนวทางแก้ไข สานึกรับผิดชอบร่วมกัน ขับเคลื่อนการทางานใน รูปแบบภาคีเครือข่ายดาเนินงานสู่เป้าหมายลดการ เกดิ โรคตดิ ต่อร่วมกัน 4.ผ้ปู กครองเอาใจใส่ดแู ลเดก็ มากขึน้ 5.โรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมการกาจัดขยะ การนา ขยะไปแปรรูป การขายขยะ การหมุนเวียนและการ จัดสร้างแหล่งกาจัดขยะ การทาปุ๋ยหมักจากขยะใน โรงเรยี น 6. ติดตามตรวจเย่ียมร้านค้าในชุมชนโดยการมีส่วน ร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ท่ีจาหน่ายสินค้าท่ี ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคในชุมชน และร่วมกันวางแผนจัดทา โครงการเพื่อแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้ประกอบการและ ประชาชนเข้าร่วมโครงการ กล่มุ ท่ี ๓ กลมุ่ เด็กวัยรุ่น 1.ตง้ั ครรภใ์ นวยั รุน่ ปญั หาครอบครวั 1.ให้ความรู้เร่ืองเพศึกษา, วิธีการป้องกันการ 2.วยั ร่นุ ติดสุรา, สูบบหุ ร่ี และใชย้ าเสพติด ตงั้ ครรภ์ 3.ปัญหาทะเลาะวิวาทในชุมชน, ก่อความราคาญให้ 2.ให้ความรูเ้ รื่องโทษของยาเสพตดิ , บหุ รี่ และสรุ า ผู้อ่ืน 3.ผู้ปกครองเอาใจใส่เดก็ วัยร่นุ , ดูแลใหค้ วามอบอนุ่ 4.วัยรุ่นขับรถเร็ว, เด็กแวน้ เสียงดงั 4.การส่งเสริมการขับข่ีปลอดภัย ส่งเสริมความรู้คู่ 5.การซื้ออาหาร และสินค้าบริโภคท่ีไม่ได้มาตรฐาน คุณธรรม ความเกรงใจ คุณสมบัติอันพึงประสงค์ มาใช้ และการอยู่ร่วมกับชมุ ชนและบุคคลอ่นื 6.การซ้อื ยามาใชเ้ อง และใชย้ าไม่ถูกตอ้ ง 5.ติดตามตรวจเย่ียมร้านค้าในชุมชนโดยการมีส่วน ร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ที่จาหน่ายสินค้าท่ี ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคในชุมชน และร่วมกันวางแผนจัดทา โครงการเพ่ือแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้ประกอบการและ ประชาชนเข้ารว่ มโครงการ กลมุ่ ท่ี ๔ กลมุ่ วยั ทางาน (๒๑ -๕๙ ป)ี ปัญหา แนวทางแก้ไข 1.การเกดิ โรคภัยไขเ้ จบ็ โรคจากการทางาน โรค 1.ให้ความรู้การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพ เรอ้ื รงั ,เบาหวาน,ความดนั โลหติ สูง,มะเร็ง 2.ให้ความรเู้ ร่ืองโทษของยาเสพตดิ , บุหร่ี และสรุ า 2.ประชาชนสบู บหุ ร,ี่ ดม่ื สุรา,ใช้ยาเสพติด 3.รณรงค์การลดใช้สารเคมีทางการเกษตร และมี 3.การประกอบอาชพี เกษตรกรรม, การใช้สารเคมี การตรวจคัดกรองสารเคมใี นร่างกายเป็นประจาทุกปี 4.การซือ้ อาหาร และสนิ คา้ บรโิ ภคทไี่ ม่ได้มาตรฐาน มาใช้
40 ปญั หา แนวทางแก้ไข 4.ติดตามตรวจเยี่ยมร้านค้าในชุมชนโดยการมีส่วน ร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ที่จาหน่ายสินค้าที่ ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคในชุมชน และร่วมกันวางแผนจัดทา โครงการเพ่ือแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้ประกอบการและ ประชาชนเขา้ รว่ มโครงการ กลมุ่ ที่ 5 กลุ่มวัยสงู อายุ ( 60 ปีขึ้นไป ) 1. การเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โรคเรื้อรัง,เบาหวาน,ความ 1.ให้ความรูก้ ารปรับเปลยี่ นพฤติกรรมสุขภาพ ดันโลหิตสงู ,มะเร็ง 2.ให้ความรู้เร่อื งโทษของยาเสพตดิ , บุหร่ี และสรุ า 2.ประชาชนสบู บหุ รี่,ดื่มสุรา 4.ติดตามตรวจเย่ียมร้านค้าในชุมชนโดยการมีส่วน 3.การเกิดอุบัตเิ หตุพลดั ตก หกลม้ ร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน ที่จาหน่ายสินค้าที่ 4.การซ้ืออาหาร และสินค้าบริโภคท่ีไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อ มาใช้ ผู้บริโภคในชุมชน และร่วมกันวางแผนจัดทา 5.การซอื้ ยามาใชเ้ อง และใชย้ าไมถ่ กู ต้อง โครงการเพื่อแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้ประกอบการและ ประชาชนเข้าร่วมโครงการ การจัดลาดบั ความสาคญั ของปญั หา : ขอ้ มลู ทีน่ ามาประกอบมาจาก ข้อมลู รายงาน HOSXP_PCU รายงานการรับแจ้ง/การสอบสวนโรค ข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ข้อมูลจากสภาพปัญหาในพื้นที่ข้อมูล จากการกาหนดมาจากสว่ นกลาง การประเมนิ ปัญหาเพือ่ จัดลาดับสาคัญ :ประเมนิ โดยตารางตดั สินใจ (Multi-variable decision)โดยมาตวั แปร ต่าง ๆใช้ในการตัดสินใจ ได้แก่การจัดลาดับสาคัญของปัญหา (Piorities setting of health problem) วเิ คราะห์โดยพจิ ารณาจากตัวแปรต่อไปน้ี ๑.ขนาดของปัญหา (size of problem) ประชากรได้รับผลกระทบจากปัญหา หากเป็นครอบครัว เปรียบเทียบจากจานวนคนในครอบครัวถา้ มีประชากรที่ได้รับผลจากปัญหามากก็ควรไดก้ ารจดั ลาดับสาคัญสูง กว่า เพราะขนาดปญั หาใหญเ่ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนมี ผลกระทบกับคนสว่ นมากให้๕ คะแนน กระทบน้อยสุดให้๑ คะแนน ๒.ความรุนแรงของปัญหา (severity of problem) หมายถึง ปัญหาที่เกิดข้ึนเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง หรือเร่งด่วนวันที่จะต้องแก้ไข หากปล่อยไว้นาน อาจเกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้ เป็นต้น เกณฑ์การให้ คะแนน ๕ คะแนน ทาให้เสียชวี ติ ๔ คะแนน ทาให้พิการ ๓ คะแนน ทาใหเ้ จ็บปว่ ยเรอ้ื รัง 2 คะแนน ทาใหเ้ จบ็ ปว่ ยไมร่ า้ ยแรง 1 คะแนน ไม่ทาให้เจ็บป่วย ๓.ความยากง่ายในการแก้ไขปัญหาความยากง่ายในการแก้ไขปัญหา พิจารณาจากวิธีการแก้ไขปัญหา และความซับซ้อนของปญั หา เกณฑก์ ารให้คะแนน ๕ คะแนน แก้ได้งา่ ยโดยไมต่ อ้ งใช้เทคโนโลยี
41 ๔ คะแนน แก้ไดง้ า่ ย แตต่ ้องใชก้ ลวธิ ี เทคโนโลยที ไี่ ม่ซับซอ้ นทช่ี ุมชนมี ๓ คะแนน แตต่ ้องอาศัยเทคโนโลยีและวธิ ีการทีซ่ บั ซอ้ น ๒ คะแนน แต่ต้องใชก้ ลวิธหี รอื เทคโนโลยีขนั้ สูงทีไ่ ม่มีในชมุ ชน ๑ คะแนน แกไ้ ด้ลาบาก ต้องใชเ้ ทคโนโลยีท่ซี บั ซอ้ นที่ไมม่ ีในชุมชุน ๔.ความตระหนักของคนในชุมชน พิจารณาจากความคิดเห็นของชุมชนท่ีเห็นว่าเป็นปัญหานั้น ต้อง ดาเนนิ การแก้ไข เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ความตระหนกั มากทส่ี ุดให้๕ คะแนน น้อยสดุ ให้๑ คะแนน ๕.ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา (feasibility or ease) เช่น ข้อจากัดทาง วิชาการข้อจากัด ทางการบริหารจัดการข้อจากดั ดา้ นเวลา หรือจานวนทรัพยากรท่ีตอ้ งใช้ในการแก้ไขปัญหา เกณฑ์การให้คะแนน ความเป็นไปไดม้ ากที่สดุ ให้ ๕ คะแนน นอ้ ยสดุ ให้๑ คะแนน ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน ๑.เชิญกลุ่มผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียมาจัดกิจกรรมค้นหาปัญหาชุมชน ตามกระบวนการจัดลาดับ ความสาคญั ของปญั หา ๒.จดั เตรยี มสถานที่อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการดาเนินงาน ๓. อธิบายข้ันตอนการจดั ลาดับสาคญั ของปัญหา ๔.แบง่ กลมุ่ ให้ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสียสนทนาภายในกลมุ่ เพ่อื ค้นหาปญั หาดา้ นสาธารณสุข ๕.กาหนดปัญหาดา้ นสาธารณสขุ ใหเ้ กดิ ในชมุ ชน ๖.อธิบายการให้ระดับคะแนนตามเกณฑ์การจัดลาดับสาคัญของปัญหา และให้กลุ่มเป้าหมาย ลงคะแนนภายในกลมุ่ ๗.สรุปคะแนนแตล่ ะประเด็นปัญหาดา้ นสาธารณสขุ ของชุมชน ๘.จดั ลาดับตามคะแนนมากไปหานอ้ ย ตามลาดับ ๙.สรปุ ปญั หาท่ไี ดจ้ ากการจัดลาดบั ความสาคญั ของปัญหา ๕ แรก ๑๐ .นาปัญหาท่ีไปไข โดยการเขียนโครงการเพ่ือขอรับงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานตาม โครงการ ๑๑.การอภปิ รายผล
42 กิจกรรมการประชาคมค้นหาปัญหาดา้ นสาธารณสุขโดยการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือข่ายสขุ ภาพ ตารางแสดงผลสรปุ การจัดลาดบั ความสาคญั ของปญั หาสาธารณสขุ ของตาบลดงอีจาน องค์ประกอบปัญหา ขนาด ความ ความยาก ความ ความ สรปุ ผลการ ของ รุนแรง งา่ ยใน ตระหนกั เปน็ ไปได้ คะแนน จัดลาดับ 1.โรคโควดิ 19 ปัญหา ของ การ ในการ 2.การจดั การขยะ ปัญหา แกป้ ญั หา ของ แกไ้ ข 3.โรคเรอื้ รัง ชุมชน ปญั หา 4.มหัศจรรย์ 1000 วัน 5.โรคไข้เลือดออก 5 5 4 5 4 23 1 5 4 5 2 4 20 2 3 3 5 2 3 16 4 3 4 4 3 4 18 3 2 2 3 3 3 13 5 สรุปปญั หาทีถ่ กู เลอื กเพอ่ื เปน็ OTOP ได้แก่ 1.โรคโควิด 19 2.การจดั การขยะ 3.มหศั จรรย์ 1000 วนั 4.โรคเร้อื รัง 5.โรคไขเ้ ลอื ดออก
43 แผนการดาเนินงานทสี่ อดคลอ้ งกับปญั หาสาคญั ของพืน้ ท่ี(OTOP) กจิ กรรมดาเนินงานแก้ไขปญั หาสาคญั ของพน้ื ท่ี(OTOP)
44 โครงสร้างของเครือข่ายบรกิ ารและเครือข่ายความร่วมมือ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดบรุ รี ัมย์ (นายธชั กร หตั ถาธยากลู ) สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดบรุ ีรมั ย์ สานกั งานอาเภอโนนสุวรรณ (นพ.พเิ ชษฐ์ พชื ขนุ ทด) (นายณฎั ฐ์กร บญุ โรภาคย์) โรงพยาบาลปะคา สานักงานสาธารณสขุ อาเภอโนนสวุ รรณ พญ.อรภัทร วิรยิ อุดมศริ ิ (นายคุณาพงศ์ คตวงค์) กองทนุ หลกั ประกันสุขภาพตาบลดงอจี าน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลดงอีจาน กลุม่ โรงเรยี นในเขตรับผดิ ชอบ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นดงบงั สายตรวจตาบลดงอีจาน (นางสาวเยาวลกั ษณ์ คนชุม) ผู้นาหมูบ่ า้ น และ อสม. ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กในเขตรบั ผดิ ชอบ สายบงั คับบญั ชา กลุ่มอาชีพต่างๆ ในตาบลดงอีจาน สานประสานงาน แผนผงั แสดงโครงสร้างเครือขา่ ยบริการและเครือขา่ ยความร่วมมือของโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ ตาบลบ้านดงบัง
45 ภาคีเครอื ข่ายมสี ่วนร่วมในการจัดการสขุ ภาพ ภาคีเครอื ขา่ ยและบทบาทหน้าท่ีในการมสี ่วนร่วมในการจดั การสขุ ภาพดาเนินงานที่สอดคล้องกับ ปญั หาสาคญั ของพืน้ ท่(ี OTOP) ตารางแสดงบทบาทหน้าทข่ี องภาคเี ครือขา่ ย ในเขตโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง ภาคเี ครือข่าย บทบาทหนา้ ที 1.โรงพยาบาลโนนสวุ รรณ 1.สนบั สนนุ วิชาการ 2. ทมี สหวชิ าชีพในการติดตามงานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค 3. ใหค้ าปรกึ ษา รพ.สต. ในการจัดการปัญหา 4.ร่วมพฒั นาบุคลากร และเจ้าหนา้ ที่ 2.สานักงานสาธารณสุขอาเภอ 1.ประสานงานตาม DHS 2. จดั การระบบฐานข้อมูล 3. นิเทศ กากบั ตดิ ตาม 4. ใหค้ าปรกึ ษา รพ.สต. ในการจัดการปญั หา 5.ร่วมพัฒนาบุคลากร และเจา้ หนา้ ที่ 3.รพ.สต.ในเครือข่าย 1.วางแผน/จดั ระบบบรกิ าร ติดตามเย่ยี มบ้านร่วมกัน 2.รว่ มเปน็ วทิ ยากรในการจดั อบรมกลุ่มวัยต่างๆ 4.อสม. 1.ร่วมตรวจเย่ยี มรา้ นค้าในชุมชน 2.รว่ มกจิ กรรมกล่มุ ให้ความรู้/แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เรอื่ งอาหารปลอดภยั ๓. เฝ้าระวังในงานคุม้ ครองผู้บริโภค 5.อปท. 1.สนับสนนุ งบประมาณผา่ นกองทุนสขุ ภาพตาบลและจัดงบประมาณใน การดาเนินงานด้านส่งเสรมิ สุขภาพป้องกันโรคในงบปกติ 2.รว่ มวางแผน/นโยบาย 3.รว่ มตรวจเย่ียมรา้ นคา้ ในชมุ ชน 6.ผูน้ าชมุ ชน 1.รว่ มจัดทานโนบายสุขภาพ 2.ประชาสัมพันธข์ ่าวสารดา้ นสขุ ภาพและการเลอื กซ้ือสิน้ ค้าผลติ ภัณฑ์ 7.ประชาชนทั่วไป 1.รว่ มกจิ กรรมกลุ่มให้ความรู้/แลกเปลยี่ นเรียนรเู้ รอ่ื งการป้องกนั โควิ19 2.ปฏิบตั ิตนตามมาตรการป้องกนั โควดิ 19 8.สว่ นราชการอนื่ ๆ โรงเรียน ๑. รว่ มจดั ทาแผนพัฒนาสุขภาพผา่ นกองทนุ สุขภาพตาบล 2.รว่ มกิจกรรมกลุ่มให้ความรู้/แลกเปล่ียนเรยี นรู้เร่อื งการป้องกนั โควิ19 3.รว่ มปฏิบัตติ ามมาตรการป้องกนั โควิด 19
46 การติดต่อประสานงาน ผลลพั ธ์ของการแก้ไขปัญหาสาคัญของพ้ืนที่(OTOP) การจัดกิจกรรมโครงการให้ความรเู้ รอ่ื งการปอ้ งกนั โรคโควดิ 19 หลักเขา้ รว่ มกิจกรรมประชาชนมี ความรู้ความเข้าใจเพมิ่ มากขึ้นในเรือ่ งการป้องกันตนเองใหป้ ลอดภยั จากโรคโควดิ 19 กิจกรรมโครงการเย็บหน้ากากผา้ เพื่อแจกประชาชนในพืน้ ท่ี ผลลพั ธ์ประชาชนในตาบลไดร้ บั หน้ากาก ผ้าทกุ หลังคาเรือน ร้านคา้ พ่อคา้ แมค่ า้ ตลาดนัดคลองถม มกี ารจดั มาตรการท่ีถกู ต้องตามหลักการปอ้ งกันโรคโควดิ 19
47 ปัญหาทต่ี ้องดาเนนิ การแกไ้ ข โดยมภี าคีเครอื ขา่ ยร่วมทบทวนปัญหา โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นดงบัง ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณ จงั หวดั บุรีรมั ย์ ตารางแสดงการทบทวนปัญหา โดยภาคีเครอื ขา่ ย ปญั หา สาเหตุ การแก้ปญั หา โครงการ ผู้รบั ผิดชอบ 1.ประชาชนขาด -เนอ่ื งจากเปน็ โรค -จดั กิจกรรมให้ โครงการส่งเสริม รพ.สต.บ้านดงบัง ความรู้ที่ถูกต้อง อุบตั ิใหม่ ความรู้/ สขุ ภาพและ อบต.ดงอีจาน เก่ยี วกบั การ -ประชาชนขาด แลกเปล่ยี นเรียนร/ู้ ป้องกนั โรคเพื่อ ป้องกนั โควิด19 ความรู้เก่ยี วกบั โรค ในประชาชน ป้องกันโรคติดเช้อื 2.ขาดวสั ดอุ ุปกรณ์ โควดิ 19 ผูป้ ระกอบการ/ร.ร. ไวรสั โคโรนา เชน่ หน้ากาก -จดั โครงการตดั 2019 อนามยั เย็บหนา้ กากผ้า -โครงการใหค้ วามรู้ เพื่อแจกประชาชน การปอ้ งกันโรคตดิ ในตาบล เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ความสัมพนั ธ์ความพึงพอใจ ของประชากรกลุ่มเปา้ หมาย ชมุ ชน ผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียและการ จดั การขอ้ รอ้ งเรียน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นดงบังมีกระบวนการประเมนิ ความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการการวดั ความ คดิ เห็น ความพึงพอใจ รวมถึงการตดิ ตามข้อมูล นาผลทไ่ี ด้ไปปรบั ปรุงแก้ไข ซง่ึ การประเมนิ ความพึงพอใจในปี 2564 ผรู้ บั บริการมีความพงึ พอใจร้อยละ 95 การดาเนินงานระบบการร้องเรียน ชอ่ งทางการรอ้ งเรียน 1ระบบรับเรอื่ งร้องเรยี น - โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลบา้ นดงบงั มีระบบรบั เร่ืองร้องเรียนโดยมตี รบั เร่อื งร้องเรยี นติดไวด้ ้านหน้า และรบั รายงานจากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลกรณีรอ้ งเรียนเร่ืองเหตุราคาญและอันตรายตอ่ สขุ ภาพ การแกป้ ญั หาข้อร้องเรียน 2 ปีงบประมาณ 2565 ไม่มีเรื่องรอ้ งเรียน
48 หมวดท่ี 3 บคุ ลากรดี การมงุ่ เนน้ ทรพั ยากรบุคคล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132