Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาการศึกษาและปรัชญาการศึกษาไทย กลุ่มที่5

ปรัชญาการศึกษาและปรัชญาการศึกษาไทย กลุ่มที่5

Published by มาโนช ทิพย์บรรพต, 2021-10-30 09:30:27

Description: ปรัชญาการศึกษาและปรัชญาการศึกษาไทย กลุ่มที่5

Search

Read the Text Version

กลมุ่ ที่ 5 ปรชั ญาการศึกษาและปรชั ญาการศึกษาไทย EAD 611 หลกั การบรหิ ารการศึกษา ดร.ละมุล รอดขวญั นายภานุพงศ์ คงเอียด 6414202032 นายมาโนช ทิพย์บรรพต 6414202034 นางวนิดา ศรเี มือง 6414202036 นางสาววิกานดา ขุนทอง 6414202038 นางสาวศิรประภา ทองนา้ แกว้ 6414202040 นางสาวสินีนาฎ รัตนพันธุ์ 6414202042 นางสาวสุธารัตน์ ช้านาญเหนาะ 6414202044

ปรชั ญาการศึกษาและปรชั ญาการศึกษาไทย 1.ที่มาและความหมาย 2.ความหมายของ 3.ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรัชญา ของปรัชญา การศึกษา และการศึกษา 4.ความหมายปรชั ญา 5.ยุคสมัยของปรชั ญา 6.ปรัชญา การศกึ ษา การศกึ ษา การศกึ ษาไทย 2

1.ที่มาและความหมาย ของปรัชญา EAD 611 หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา ดร.ละมลุ รอดขวญั 3

ปรชั ญาการศกึ ษา ( Philosophy of Education )

ความหมายของปรชั ญา (พระองคเ์ จ้าวรรณไวทยากร) คำว่ำ“ปรัชญา” เปน็ ศพั ท์ท่พี ระเจ้ำวรวงศ์เธอ กรมหมน่ื นรำธิปพงศ์ประพนั ธ์ ทรงบญั ญตั ขิ นึ้ เพ่ือ ใชค้ ู่กับคำภำษำอังกฤษว่ำ “Philosophy” เป็น คำมำจำกรำกศัพท์ภำษำสันสกฤต 5

ปรัชญา Philosophy 6

สาขาของปรัชญา 7

สาขาของปรัชญา 8

สาขาของปรัชญา 9

สาขาของปรชั ญา 10

2.ความหมายของ การศกึ ษา EAD 611 หลักการบรหิ ารการศึกษา ดร.ละมลุ รอดขวญั 11

ความหมายของการศกึ ษา การฝกึ คำวำ่ \"กำรศกึ ษำ\" ซ่งึ ตรงกับภำษำองั กฤษว่ำ “Education” และการ เรียน การบวน เพื่อปรับปรุงควำมรู้และ การสอน พัฒนำทักษะตำ่ ง ๆ การศึกษา 12

ความหมายของการศึกษา พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ระบุว่ำ “กำรศึกษำ เป็นกระบวนกำรเรียนรู้เพ่ือ ควำมเจริญงอกงำมของบุคคลและสังคมโดยกำรถ่ำยทอดควำมรู้, กำรฝึกกำรอบรม, กำรสืบสำนทำง วัฒนธรรม,กำรสร้ำงสรรค์จรรโลงควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำกำร, กำรสร้ำงองค์ควำมรู้อันเกิดจำกกำรจัด สภำพแวดล้อมสงั คมกำรเรยี นร้แู ละปัจจัยเกือ้ หนนุ ใหบ้ ุคคลเรียนรอู้ ยำ่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต.” ดังน้ันในกระบวนกำรสอน(Teaching Process) จึงมิใช่กำรสอน(Teaching) เพียงเพ่ือให้ ผู้เรียนจำเนื้อหำสำระ(Content) หรือเป็นกำรถ่ำยทอดควำมรู้แต่เพียงอย่ำงเดียว เพรำะควำมรู้ท่วม หัว อำจจะเอำตัวไมร่ อด กระบวนกำรสอนทด่ี คี ือกำรสอนที่ทำให้ผ้เู รยี นเกดิ ”ปัญญำ” 13

ความหมายของการศึกษา ต้องทำใหผ้ เู้ รียนรจู้ กั คดิ วเิ ครำะหแ์ ละบรู ณำกำรควำมรทู้ ไ่ี ด้ให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและ ตอ่ สังคม เชน่ เดยี วกบั กำรฝกึ (Training) ซง่ึ มีจดุ มุ่งหมำยให้ผู้เรยี นเกิดทกั ษะ(Skill) กำรฝกึ มใิ ชเ่ ป็นเพียงกำรทำแบบฝึกหัดเพ่ือใหเ้ กิดทักษะในกำรแกป้ ัญหำโจทย์ (Problem Solving) เพ่ือให้ทำข้อสอบได้ หรือเป็นเพียงกำรทำกำรทดลอง (Experiment) เพื่อให้ได้ผลกำร ทดลอง หรอื เป็นเพยี งกำรลงมอื ปฏบิ ัติ (Practice)เพ่อื ให้เกดิ ทักษะในกำรปฏบิ ัตินน้ั กำรฝึกท่ดี ีจะต้องฝึกให้ผูเ้ รียนรจู้ กั คดิ วเิ ครำะหแ์ ละบูรณำกำรด้วย กำรรู้จกั คดิ (วเิ ครำะห์ และบรู ณำกำร) เปน็ ทกั ษะและสำมำรถปรับปรงุ ได้ 14

ความหมายของการศกึ ษา จอห์น ดิวอ้ี (John Dewey) นกั กำรศึกษำชำวอเมริกัน ไดใ้ หค้ วำมหมำยของกำรศึกษำไว้ดังน้ี กำรศกึ ษำ คอื ชีวติ เป็นกำรมองวำ่ กำรศกึ ษำกับชีวติ เป็นของคกู่ ัน ตรำบใดทีม่ ชี วี ิตอยู่ตรำบนน้ั จะต้องมีกำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำ คือควำมเจริญงอกงำม เป็นกำรมองกำรศึกษำในแง่ ของผลทไี่ ด้รับ คนที่มีกำรศึกษำยอ่ มมคี วำมเจรญิ เติบโตทงั้ ทำง รำ่ งกำย อำรมณ์ สังคม และสติปญั ญำ กำรศกึ ษำ คือกำรสรำ้ งเสรมิ ประสบกำรณ์ใหแ้ ก่ชีวติ หมำยถึง กำรศกึ ษำจะต้องจดั กิจกรรม เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสบกำรณท์ จ่ี ะนำไปสกู่ ำรมชี วี ิตทด่ี ี กำรศกึ ษำ เป็นกระบวนกำรทำงสงั คม ที่ชว่ ยให้บคุ คลเข้ำใจตนเองและสังคมทตี่ นอำศัยอยู่ เป็นควำมเข้ำใจชีวิตและสงั คมในปจั จุบนั ไมใ่ ช่เพ่ือชวี ติ ในอนำคต 15

ความหมายของการศกึ ษา คาร์เตอร์ วี. กูด (Carter V. Good) ได้ให้ควำมหมำยไวใ้ น พจนำนุกรมศพั ทก์ ำรศกึ ษำ 4 ประกำร โดยสรปุ คือ 1. กำรศกึ ษำ หมำยถึง กำรดำเนินกำรดว้ ยกระบวนกำรทกุ อย่ำง ที่ทำให้บคุ คลพฒั นำ ควำมสำมำรถดำ้ นต่ำงๆ รวมท้งั ทัศนคตแิ ละพฤตกิ รรมอน่ื ๆ ตำมคำ่ นิยมและคุณธรรมในสงั คม 2. กำรศึกษำ หมำยถึง กระบวนกำรทำงสงั คม ที่ทำให้บคุ คลได้รับอิทธิพลจำก สง่ิ แวดล้อม ท่ีคัดเลือกและกำหนดไว้อยำ่ งเหมำะสมโดยเฉพำะโรงเรยี น เพือ่ พัฒนำบคุ คลและสังคม 3. กำรศกึ ษำ หมำยถึงวชิ ำชพี อยำ่ งหนึง่ สำหรบั ครู หรอื กำรเตรียมบุคคลให้เป็นครู ซง่ึ จดั สอนในสถำบนั อดุ มศกึ ษำ ประกอบดว้ ย วิชำจติ วทิ ยำกำรศกึ ษำ ปรชั ญำ ประวัตกิ ำรศึกษำ หลกั สูตร หลักกำรสอน กำรวดั ผล กำรบริหำร กำรนเิ ทศ กำรศกึ ษำ และวชิ ำอื่นๆ ท่คี รูควรรู้ ทั้งภำคทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ ซงึ่ จะทำใหเ้ กดิ ควำมเจริญงอกงำมสำหรับครู 4. กำรศึกษำ หมำยถึง ศลิ ปะในกำรถ่ำยทอดควำมรตู้ ่ำงๆ ในอดตี ซงึ่ รวบรวมไว้อย่ำงเป็นระบบสำหรับคนรุ่นใหม่ 16

ความหมายของการศึกษา นักการศึกษาไทย ดร.สาโรช บัวศรี ไดใ้ หค้ วำมหมำยกำรศึกษำวำ่ กำรศึกษำคือกำรพฒั นำขนั ธ์หำ้ อันประกอบดว้ ย รปู คือ ร่ำงกำย เวทนำ คือ ควำมรสู้ ึก สญั ญำ คือควำมจำ สังขำร คือ ควำมคดิ และวญิ ญำณ คือ ควำมรู้ กำรพัฒนำขนั ธห์ ้ำ กเ็ พ่ือให้ สำมำรถอยใู่ นสังคมได้ และเพ่อื ขจดั ตณั หำ อนั ไดแ้ ก่ โลภ โกรธ หลง 17

ความหมายของการศกึ ษา ทั้งหมดที่กลำ่ วมำ สำมำรถสรุปได้ว่ำ “กำรศึกษำคือควำมเจริญงอกงำม” (คือมนุษย์ ที่ มีชีวิตอยู่ได้ นั้นจะต้องสำมำรถปรับตัวให้เข้ำกับสิ่งแวดล้อมได้ แต่ในกำรปรับตัวนั้นจะต้อง เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสีย ใหม่ให้มีคุณภำพดีกว่ำเดิมซึ่งมีควำมหมำยว่ำบุคคลนั้น ต้องเรียนรู้ สิ่งใหม่ ๆ เพ่ิมข้ึนเกิดควำมเจริญงอกงำมถ้ำหยุดกำรเจริญงอกงำมเม่ือใดก็หมำยถึงกำรส้ินสุด แห่งชวี ิตเม่อื นั้น 18

3.ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปรชั ญา และการศกึ ษา EAD 611 หลักการบริหารการศึกษา ดร.ละมุล รอดขวัญ 19

ความสมั พันธร์ ะหว่างปรัชญาและการศึกษา ปรัชญากับการศกึ ษามีความสัมพันธก์ นั คอื ❑ ปรัชญำม่งุ ศกึ ษำของชวี ิตและจกั รวำลเพื่อหำควำมจริงอนั เป็นทีส่ ุด ❑ กำรศกึ ษำมงุ่ ศึกษำเร่อื งรำวเกย่ี วกบั มนุษย์และวธิ ีกำรทีพ่ ฒั นำมนษุ ย์ให้มีควำมเจรญิ งอกงำม สำมำรถดำรงชีวิตอย่ไู ดด้ ้วยควำมสขุ ประสบควำมสำเร็จในกำรประกอบอำชพี ❑ ทงั้ ปรัชญำและกำรศกึ ษำมจี ดุ สนใจรว่ มกันอยอู่ ย่ำงหนง่ึ คือ กำรจดั กำรศึกษำตอ้ งอำศัย ปรชั ญำในกำรกำหนดจุดมุ่งหมำยและหำคำตอบทำงกำรศึกษำ สรุปวำว่ำปรชั ญำ มคี วำมสมั พนั ธ์กบั กำรศกึ ษำดงั น้ี 20

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปรัชญาและการศกึ ษา 1. ปรชั ญำชว่ ยพิจำรณำและกำหนดเปำ้ หมำยทำงกำรศึกษำ กำรศกึ ษำเป็นกจิ กรรมท่ีทำให้บคุ คล เปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมไปในทำงทีพ่ งึ ปรำรถนำ ปรชั ญำจะชว่ ยกำหนดแนวทำงหรือเป้ำหมำยที่พงึ ปรำรถนำ ซึ่งจะสอดคล้องกบั ข้อเท็จจรงิ ทำงสังคม เศรษฐกจิ กำรเมอื ง วฒั นธรรมฯลฯ และปรชั ญำจะ ช่วยใหเ้ หน็ ว่ำเปำ้ หมำยทำงกำรศึกษำทจ่ี ะเลือกนั้นสอดคล้องกับกำรมชี ีวติ ท่ดี หี รือไม่ ชวี ติ ที่ดคี วรเปน็ อย่ำงไร ธรรมชำติของมนุษย์คืออะไร ปญั หำเหล่ำนน้ี ักปรชั ญำอำจเสนอแนวควำมเห็นเพ่ือประกอบกำร พิจำรณำในกำรเลือกเปำ้ หมำยทำงกำรศกึ ษำ 2. ควำมหมำยที่จะวิเครำะห์ วิพำกย์ วิจำรณ์ และพจิ ำรณำดูกำรศกึ ษำอย่ำงละเอียดลกึ ซ้งึ ทุกแง่ทุกมมุ ใหเ้ ขำ้ ใจถึงแนวคดิ หลกั ควำมสำคญั ควำมสัมพันธ์ และเหตผุ ลตำ่ งๆ อยำ่ งชัดเจนมีควำมต่อเน่ือง และมี ควำมหมำยต่อมนษุ ย์ สังคมและสิ่งแวดลอ้ มนเ้ี องท่เี ปน็ งำนสำคัญของปรชั ญำตอ่ กำรศกึ ษำหรือที่เรำ เรียกว่ำ ปรัชญำกำรศกึ ษำ นนั่ เอง 21

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปรชั ญาและการศึกษา สรุปว่ำปรชั ญำกบั กำรศึกษำมีควำมสมั พันธ์กนั อยำ่ งมำก ปรัชญำชว่ ยให้เกดิ ควำมชดั เจน ทำงกำรศึกษำและทำให้นักกำรศึกษำสำมำรถดำเนินกำรทำงกำรศกึ ษำไดอ้ ยำ่ งถูกต้องรัดกุมเพรำะได้ ผ่ำนกำรพิจำรณำ วิพำกย์วเิ ครำะห์อย่ำงละเอยี ดทกุ แงท่ ุกมุม ทำใหเ้ กดิ ควำมเข้ำใจอยำ่ งชัดเจน ขจัด ควำมไมส่ อดคล้อง และหำทำงพัฒนำแนวคดิ ใหม่ ใหก้ ับกำรศึกษำ https://www.kroobannok.com/19891 22

4.ความหมายปรัชญา การศกึ ษา EAD 611 หลักการบรหิ ารการศกึ ษา ดร.ละมุล รอดขวัญ 23

ความหมายปรัชญาการศึกษา มีผู้ใหน้ ิยามปรชั ญาการศกึ ษา แตกต่างกนั หลายทัศนะดังตอ่ ไปนี้ จอร์จ เอฟ เนลเลอร์ (Kneller 1971 : 1) กล่ำวว่ำ ปรัชญำกำรศึกษำ คือ กำรค้นหำควำม เข้ำใจในเรื่องกำรศึกษำทั้งหมด กำรตีควำมหมำยโดยกำรใช้ควำมคิดรวบยอดท่ัวไปท่ีจะช่วยแนะ แนวทำงในกำรเลอื กจุดมุ่งหมำยและนโยบำยของกำรศกึ ษำ เจมส์ อี แมคเคลนเลน (Mcclellan 1976 :1 อ้างถึงใน อรสา สุขเปรม 2541) กล่ำวว่ำ ปรัชญำกำรศึกษำ คือ สำขำวิชำหน่ึงในบรรดำสำขำต่ำง ๆ ท่ีมีอยู่มำกมำย อันเกี่ยวข้องกับกำร ดำรงชีวติ ของมนุษย์ 24

ความหมายปรัชญาการศกึ ษา วิจิตร ศรีสอ้าน (2524 : 109) กล่ำวว่ำ ปรัชญำกำรศึกษำ คือ จุดมุ่งหมำย ระบบควำมเช่ือ หรือแนวควำมคิดท่ีแสดงออกมำในรูปของอุดมกำรณ์ หรืออุดมคติ ทำนองเดียวกันกับท่ีใช้ในควำมหมำยของปรัชญำชีวิตซ่ึงหมำยถึง อุดมกำรณข์ องชีวิต อุดมคตขิ องชีวติ แนวทำงดำเนินชีวติ นน่ั เอง สุมิตร คุณานุกร (2523 : 39) กล่ำวว่ำ ปรัชญำกำรศึกษำ คือ อุดมคติ อุดมกำรณ์อันสูงสุด ซ่ึงยดึ เป็นหลักในกำรจัดกำรศึกษำ มีบทบำทในกำรเป็นแม่บท เป็นต้นกำเนิดควำมคิดในกำรกำหนดควำมมุ่งหมำยของกำรศึกษำและเป็นแนวทำง ในกำรจดั กำรศึกษำ ตลอดจนถึงกระบวนกำรในกำรเรยี นกำรสอน 25

ความหมายปรัชญาการศึกษา สรุปว่า ปรัชญำกำรศึกษำคือ แนวควำมคิด หลักกำร และกฎเกณฑ์ ในกำรกำหนดแนวทำง ในกำรจัดกำรศึกษำ ซ่ึงนักกำรศึกษำได้ยึดเป็นหลักในกำรดำเนินกำรทำงกำรศึกษำเพ่ือให้บรรลุ เป้ำหมำย นอกจำกน้ีปรัชญำกำรศึกษำยังพยำยำมทำกำรวิเครำะห์และทำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ กำรศกึ ษำ ทำใหส้ ำมำรถมองเหน็ ปญั หำของกำรศกึ ษำไดอ้ ย่ำงชดั เจน ปรัชญาการศึกษาจึงเปรียบเหมือนเข็มทิศนาทางให้นักการศึกษาดาเนินการทางศึกษา อย่างเปน็ ระบบ ชดั เจน และสมเหตุสมผล https://www.kroobannok.com/19891 26

5.ยุคสมยั ของปรชั ญา การศึกษา EAD 611 หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา ดร.ละมลุ รอดขวญั 27

ยคุ สมัยของปรัชญาการศกึ ษา พพิ ัฒนาการนยิ ม (Progressivism) 28

ยคุ สมยั ของปรชั ญา การศกึ ษาสมยั เก่า

ยคุ สมยั ของปรัชญาการศึกษาสมยั เกา่ สารัตถนยิ ม และ นริ ันตรนยิ มสมัยเก่า - ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism) นักปรชั ญำ : วลิ เลย่ี ม ซี แบคลี (William C. Bagley) เชื่อวำ่ ลทั ธิปรชั ญำสำรัตถนยิ มมีควำมเขม้ แข็ง ในทำงวชิ ำกำรและมปี ระสิทธิภำพในกำรสร้ำงค่ำนยิ มเกีย่ วกบั ระเบยี บวนิ ัยไดด้ พี อที่จะทำใหโ้ ลกเสรี ต่อสกู้ ับโลกเผดจ็ กำรของคอมมิวนสิ ต์ - ปรัชญาการศกึ ษานิรนั ตรนิยม (Perennialism) นักปรัชญำ : อรสิ โตเตลิ (Aristotle) และเซนต์ โทมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas) เชือ่ เกี่ยวกับพระเจำ้ เร่ืองศำสนำ ซึ่งเปน็ เรอ่ื งของเหตแุ ละผล 30

ยุคสมัยของปรชั ญาการศึกษาสมยั เก่า สารตั ถนยิ ม (Essentialism) การเปรยี บเทยี บปรชั ญาสารตั ถนยิ ม ตามแนวของลทั ธจิ ิตนยิ มและลทั ธิสจั นยิ ม ❖ นโยบายทางสงั คม ลัทธจิ ิตนิยม บุคคลเปน็ สว่ นหน่ึงของสังคมและเป็นเครอ่ื งมอื ของสงั คม ดงั นน้ั บคุ คลจะตอ้ งอทุ ศิ ตนเพื่อสังคมทตี่ นเองอำศยั นอกจำกนนั้ ยังมีควำมเห็นว่ำสิง่ ที่สำคญั ทสี่ ุดซง่ึ สงั คม จะต้องกระทำคือ กำรสะสมมรดกของสงั คมไวใ้ ห้คนรุ่นตอ่ ไป และสบื ทอดวฒั นธรรมในสังคมใหค้ งอยู่ ตอ่ ไป ❖ นโยบายทางสังคม ลัทธสิ จั นิยม มีควำมใกลเ้ คียงกบั ลทั ธิจิตนิยมซ่งึ เน้นกำรอนุรกั ษ์วฒั นธรรมอนั เป็นมรดกของสงั คมเชน่ เดยี วกนั แตม่ รดกทำงสงั คมในทศั นะของนกั ปรัชญำกลุ่มนจ้ี ะหมำยถงึ ทกุ สง่ิ ทกุ อยำ่ งทีม่ นุษยจ์ ะต้องเรียนรเู้ กี่ยวกับกฎเกณฑ์ทำงธรรมชำติ 31

ยคุ สมัยของปรัชญาการศกึ ษาสมัยเกา่ สารัตถนิยม (Essentialism) การเปรียบเทยี บปรัชญาสารัตถนิยม ตามแนวของลัทธจิ ิตนิยมและลทั ธิสัจนยิ ม เปา้ หมายการศกึ ษา ลทั ธจิ ติ นยิ ม โรงเรยี นจะต้องพัฒนำคณุ ธรรม รกั ษำไว้และถำ่ ยทอดซึ่งคณุ ธรรมของสงั คมในอดีตให้ คงอยตู่ ลอดไปยังบุคคลร่นุ ตอ่ ๆไป ดงั นน้ั สิ่งใดก็ตำมท่สี ังคมยอมรับวำ่ เป็นส่งิ ทเี่ ป็นควำมจริง หรอื เป็นส่งิ ทีด่ ีงำมแล้ว โรงเรียน หรอื สถำนศกึ ษำจะตอ้ งถ่ำยทอดส่ิงนน้ั ไปสู่อนชุ นรุน่ หลงั ต่อไป เป้าหมายการศกึ ษา ลัทธสิ ัจนยิ ม มวี ตั ถุประสงคด์ งั นี้คือ 1. เพอื่ คน้ หำควำมจริงต่ำงๆทม่ี ีอยู่ 2. เพอ่ื ขยำยควำมจริงและผสมผสำนควำมจริงทีไ่ ดร้ ู้แลว้ 3. เพ่ือใหม้ คี วำมรู้เกยี่ วกับชวี ติ โดยทัว่ ไป และเกีย่ วกบั หนำ้ ทใี่ นอำชีพตำ่ งๆ โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ ควำมรู้ควำมจริงทม่ี ีทฤษฎี สนบั สนนุ 32 4. เพื่อทำกำรถ่ำยทอดส่งิ ต่ำงๆท่แี จง้ ชัดอยู่แลว้ ใหค้ นรนุ่ หนมุ่ สำวและคนชรำ

ยุคสมัยของปรชั ญาการศึกษาสมัยเก่า สารัตถนิยม (Essentialism) การเปรยี บเทยี บปรชั ญาสารัตถนิยม ตามแนวของลัทธจิ ติ นิยมและลัทธิสจั นยิ ม ❖ นักเรียน ลัทธิจิตนิยม ผู้เรียนเป็นบุคคลที่มีควำมรู้สึกนึกคิดท่ีจะเป็นส่ิงนั้นสิ่งน้ีได้ ดังน้ันถ้ำหำกได้รับกำร อบรมส่ังสอนที่เหมำะสม ก็จะเปน็ ผู้ที่มอี ุดมกำรณ์ตำมทต่ี ้องกำรได้ หน้ำทขี่ องนักเรียนก็คือจะต้องเลียนแบบ จำกครูและศึกษำเล่ำเรียนในรำยวิชำต่ำงๆ ตำมท่ีครูกำหนดโดยเฉพำะอย่ำงย่ิงรำยวิชำท่ี เกี่ยวกับ มำนุษยวิทยำ นอกจำกนั้น ควำมเชื่ออีกอย่ำง เชื่อว่ำ “ธรรมชำติของผู้เรียนที่แท้จริงแล้ว ผู้เรียนจะเป็นผู้ท่ี ต้องทำดีทสี่ ดุ เพอื่ จะทำใหต้ นเองเป็นคนท่ีมคี วำมสมบูรณม์ ำกทสี่ ุด” ❖ นักเรียน ลัทธิสัจนิยม นักเรียนจะไม่มีอิสระ แต่จะต้องดำเนินกำรไปตำมกฎเกณฑ์ทำงธรรมชำติและ จะต้องอยู่ในระเบียบวนิ ัยจนกระทง่ั สำมำรถกระทำสิ่งตำ่ งๆ ไดอ้ ยำ่ งถูกต้องเหมำะสม 33

ยุคสมัยของปรัชญาการศึกษาสมยั เกา่ สารตั ถนยิ ม (Essentialism) การเปรียบเทียบปรชั ญาสารัตถนยิ ม ตามแนวของลทั ธิจติ นิยมและลทั ธสิ ัจนิยม ❖ ครู ลัทธิจิตนิยม เป็นบุคคลท่ีมีควำมสำคัญท่ีสุด เพรำะครูเป็นผู้ที่เป็นแบบอย่ำงของนักเรียน และเป็นสัญลักษณ์ท่ี นักเรียนจะต้องทำตัวให้เป็นเช่นน้ัน ดังน้ันครูจะต้องทำตัวให้ดีที่สุด และจะต้องพยำยำมฝึกนักเรียนให้เป็นคนท่ีมี อุดมกำรณ์ตำมที่ต้องกำรหลักสูตรหรือเน้ือหำ นักปรัชญำกลุ่มนี้มีควำมเห็นว่ำ หลักสูตรจะต้องเน้นกำรศึกษำวิชำ ประวัติศำสตร์และประวัติบุคคลสำคัญ โดยถือว่ำประวัติศำสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้ำใจสังคมและชีวิตภำยในสังคม สว่ นกำรศึกษำเกีย่ วกับมำนุษยวิทยำ จะช่วยใหเ้ ขำ้ ใจมนุษย์ไดด้ ีข้ึน ❖ ครู ลทั ธสิ จั นยิ ม ครู จะต้องรับผิดชอบในกำรแนะนำส่ิงต่ำงๆ ท่ีมีอยู่จริงให้นักเรียนได้รู้จกั โดยวิธีกำรบรรยำย สำธิต และประสบกำรณ์ตรง จะต้องให้นักเรียนได้รู้ถึงกฎเกณฑ์และระเบียบต่ำงๆตำมธรรมชำติ และเพ่ือเป็นกำรหลีกเล่ียง ควำมลำเอียงอันจะเกดิ ขึ้นจำกครู นกั ปรชั ญำกลุ่มนจ้ี ะใช้เครือ่ งชว่ ยสอนและสอื่ ต่ำงๆด้วย 34

ยุคสมยั ของปรชั ญาการศึกษาสมัยเกา่ สารตั ถนิยม (Essentialism) การเปรียบเทียบปรัชญาสารัตถนิยม ตามแนวของลัทธจิ ิตนิยมและลทั ธิสจั นิยม ❖ หลักสูตร ลัทธิจิตนิยม หลักสูตรหรือเนื้อหำ นักปรัชญำกลุ่มนี้มีควำมเห็นว่ำ หลักสูตรจะต้องเน้นกำรศึกษำวิชำ ประวัติศำสตร์และประวัติบุคคลสำคัญ โดยถือว่ำประวัติศำสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้ำใจสังคมและชีวิตภำยในสังคม สว่ นกำรศึกษำเกย่ี วกับมำนษุ ยวทิ ยำ จะช่วยให้เขำ้ ใจมนษุ ยไ์ ด้ดีขึ้น ❖ หลักสูตร ลัทธิสัจนิยม หลักสูตรเป็นส่ิงท่ีสำมำรถแบ่งแยกให้เป็นควำมรู้ย่อยท่ีสำมำรถวัดได้ นักเรียนจะต้อง เรียนกำรใช้เครื่องมือในกำรแสวงหำควำมรู้ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภำษำในสังคมของตนเอง นักเรียนจะต้องคุ้นเคยกับ วิธีกำรทำงฟิสิกส์เคมี และชีววิทยำ นักเรียนจะต้องเรียนวิทยำศำสตร์ท่ีเก่ียวกับมนุษย์ วรรณคดีและศิลปะที่สำคัญ ต่ำงๆของสังคม และในข้ันสุดท้ำยควรจะสอนให้รเู้ กี่ยวกับปรัชญำและปัญหำต่ำงๆท่ีเกิดข้ึนจำกกำรนำเอำควำมรูไ้ ปสู่ ในภำคปฏิบตั ิอกี ด้วย 35

ยุคสมัยของปรชั ญาการศึกษาสมัยเก่า สารตั ถนิยม (Essentialism) การเปรยี บเทียบปรัชญาสารัตถนยิ ม ตามแนวของลทั ธจิ ติ นยิ มและลทั ธิสัจนิยม ❖ วิธีการเรียนการสอน ลัทธิจิตนยิ ม ส่วนใหญจ่ ะใช้วธิ ีกำรบรรยำย อภปิ รำยและทำตำมตัวอยำ่ งที่มอี ยู่ ทมี่ กี ำรสบื ทอดต่อๆ กันมำต้ังแตอ่ ดีต ❖ วิธีการเรยี นการสอน ลัทธิสัจนยิ ม เน้นให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงต่ำงๆเพ่ือจะสำมำรถเข้ำใจ ในกฎเกณฑ์ของธรรมชำติ วิธีกำรสอนจะเน้นกำรอุปมำน วิธีสอนที่นิยมใชก้ ันมำกก็คือ กำรทัศนศึกษำ กำร ใชภ้ ำพยนตร์ ฟิล์ม เคร่อื งบนั ทกึ เสยี ง โทรทศั น์ และวทิ ยุหรอื สอื่ ประกอบกำรเรยี นกำรสอน 36

ยุคสมยั ของปรัชญาการศึกษาสมัยเก่า 37 สารตั ถนยิ ม (Essentialism) การเปรียบเทียบปรัชญาสารัตถนยิ ม ตามแนวของลทั ธจิ ติ นิยมและลทั ธิสัจนยิ ม ❖ ข้อวจิ ารณ์ ลทั ธจิ ิตนยิ ม ข้อถกู วิจำรณ์มดี ังตอ่ ไปนคี้ ือ 1. นกั ปรชั ญำกลุ่มนี้แยกร่ำงกำยและจติ ใจออกจำกกนั ซ่งึ เป็นกำรผิดจำกสภำพควำมเปน็ จรงิ 2. ไมค่ ำนึงถงึ ประสบกำรณเ์ ดิมของผเู้ รียน สอนในสิง่ ทผี่ ู้สอนอยำกสอนในควำมเปน็ จริงแลว้ ถงึ แมค้ วำมรูห้ รือ ข้อควำมรทู้ กุ อย่ำงไมไ่ ด้เกิดจำกประสบกำรณ์ทง้ั หมดกต็ ำม แต่ต้องยอมรับวำ่ ควำมคดิ ส่วนมำกของบคุ คลมักจะ เกิดขน้ึ จำกประสบกำรณ์เดิมหรอื ควำมรเู้ ดิมเสมอ 3. กำรต้ังจดุ ประสงค์และเป้ำหมำยของกำรศึกษำของนกั ปรัชญำกลมุ่ สำรัตถนิยมนีเ้ ปน็ สิง่ ทส่ี งู เกินไปซึ่งโดย ธรรมชำติแลว้ มนษุ ยไ์ ม่สำมำรถจะกระทำอะไรท่สี มบูรณ์ทสี่ ดุ ได้ทกุ อยำ่ ง 4. กำรจดั กำรศึกษำในแนวทำงของปรชั ญำกลุ่มจิตนยิ มจะเปน็ แนวทำงนำไปส่รู ะบบเผดจ็ กำรได้ 5. กำรให้กำรศกึ ษำที่เน้นดำ้ นมำนุษยวิทยำแต่เพียงอย่ำงเดียว (เกิดควำมสุดข้วั ) ทำให้ไมม่ ีกำรยอมรับ ควำมก้ำวหน้ำของกลมุ่ วทิ ยำศำสตร์ หรือควำมเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยไี ด้

ยคุ สมัยของปรชั ญาการศึกษาสมยั เกา่ สารัตถนยิ ม (Essentialism) การเปรียบเทียบปรัชญาสารตั ถนิยม ตามแนวของลัทธิจติ นยิ มและลัทธสิ ัจนิยม ❖ ขอ้ วิจารณ์ ลัทธิสัจนิยม กำรจดั กำรศกึ ษำตำมแนวควำมคิดของปรชั ญำกลุม่ น้ี ส่วนใหญจ่ ะขึน้ กบั ควำมสัมพันธ์ของเหตุและผลเท่ำนั้น มักจะไม่คำนึงควำมเปล่ียนแปลงของสังคม สิ่งท่ีถูกวิพำกษ์วิจำรณ์ มำกอีกประกำรหน่ึงก็คือกำรจัดกำรศึกษำตำมแนวนี้จะก่อให้เกิดระบบเผด็จกำรข้ึนมำท้ังนี้ เพรำะกำรที่ ยอมให้ผู้หน่ึงหรือกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดเป็นผู้ข้ีแนะว่ำสิ่งใดเป็นควำมจริงส่ิงใดไม่เป็นควำมจริง ก็ย่อมจะเป็น อันตรำยอย่ำงใหญ่หลวงต่อสังคมประชำธิปไตย 38

ยุคสมัยของปรชั ญาการศึกษาสมยั เก่า สารัตถนยิ ม (Essentialism) การเปรยี บเทยี บปรชั ญาสารตั ถนยิ ม ตามแนวของลทั ธิจติ นยิ มและลัทธิสัจนยิ ม โดยสรปุ แลว้ ... กล่มุ ปรชั ญาสารัตถนยิ ม เน้นกำรถ่ำยทอดทุกสง่ิ ทุกอย่ำงที่เป็นหลักเป็นแก่นของสังคมในด้ำนควำมรู้ที่ เป็นพืน้ ฐำนเปน็ หลัก สว่ นด้ำนทกั ษะกเ็ นน้ ทักษะทจี่ ำเปน็ ในกำรแสวงหำควำมรเู้ พื่อกำรดำรงชวี ิต กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเน้นกำรรับหรือปฏิบัติตำมระเบียบวินัยอยำ่ งเข้มงวดควำมเจริญก้ำวหน้ำหรือ ควำมคิดริเร่ิมขึ้นกับครูผู้สอนจะเป็นผู้จัดหำมำให้ ครูเป็นแบบอย่ำงฉะนั้นครูต้องได้รับกำรฝึกฝนอบรมมำ อยำ่ งดี เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนรบั รแู้ ละกำรจำ 39

ยุคสมัยของปรชั ญาการศึกษาสมยั เก่า ปรชั ญานิรันตรนิยม (Perenialism) เปน็ ปรชั ญำกำรศึกษำทป่ี ระยกุ ต์มำจำกปรัชญำบริสุทธล์ิ ัทธินีโอธอมซิ มึ (Neo-Thomism) ซ่ึงมี แนวควำมเชอื่ ว่ำ \"ความจริงและความดีสงู สดุ ยอ่ มไมเ่ ปล่ียนแปลงหรือเปน็ ส่ิงทเี่ รียกว่า อมตะ\" โดยเฉพำะเรอ่ื งของควำมร้คู ่ำนิยมและวฒั นธรรมที่ดี ไมว่ ่ำจะอยู่ทแ่ี หง่ หนใดกเ็ ป็นสิ่งทีด่ เี สมอไม่ วำ่ เวลำจะเปลีย่ นไป 40

ยุคสมัยของปรชั ญาการศกึ ษาสมยั เก่า ปรัชญานิรันตรนยิ ม (Perenialism) นโยบายทางสังคม เนน้ ควำมสำคัญของควำมคงท่ีหรือควำมไมเ่ ปลยี่ นแปลง นักปรัชญำกลมุ่ นจ้ี ึง ถือวำ่ ควำมจริงหรอื ควำมรใู้ นอดีตย่อมสำมำรถนำมำใช้ได้ในปจั จุบนั และถอื วำ่ ศีลธรรมและควำมรู้ ต่ำงๆ มำจำกวัดและมหำวิทยำลยั สำหรบั โรงเรยี นทต่ี ำ่ กว่ำระดบั อุดมศึกษำจะมคี วำมสำคัญต่อกำร เปลยี่ นแปลงสงั คมนอ้ ยมำก เปา้ หมายการศกึ ษา จดุ มุง่ หมำยสูงสุดของกำรศกึ ษำท่ีจัดสำหรับคนทกุ คนในสังคม และทกุ ยุคทกุ สมยั จะมคี วำมเหมือนกัน นน่ั กค็ ือจะเปน็ กำรพฒั นำสติปญั ญำและควำมสำมำรถของคนในสงู ขึน้ 41

ยุคสมัยของปรชั ญาการศกึ ษาสมยั เกา่ ปรชั ญานิรันตรนิยม (Perenialism) ผู้เรียน นักเรียนเป็นผู้ที่มีเหตุผลและมีแนวโน้มที่จะก้ำวไปสู่ควำมจริงและควำมรู้ต่ำงๆ ดังนั้น โรงเรยี นจะต้องพัฒนำผู้เรียนให้ได้รับควำมจริงและควำมรู้เหล่ำน้ันนักเรียนจะต้องได้รับกำรพัฒนำให้ เปน็ ผทู้ ีม่ ีเหตุผล ให้มคี วำมจำและให้มีควำมตั้งใจในกำรกระทำสงิ่ ต่ำงๆเปน็ เลิศ ครู ครูจะเป็นตัวอย่ำงและเป็นผู้ควบคุมดูแลและรักษำระเบียบวินัย และเน่ืองจำกครูจะต้องเป็นผู้ ท่ีฝึกอบรมนักเรียนให้เป็นคนมีเหตุผลและเป็นผู้มีควำมต้ังใจในกำรทำงำน ดังนั้น ครูจะต้องมี คุณลักษณะดงั กลำ่ ว และต้องเป็นแบบอย่ำงที่ดีให้กบั นกั เรียน 42

ยุคสมยั ของปรชั ญาการศึกษาสมัยเกา่ ปรัชญานิรนั ตรนยิ ม (Perenialism) หลักสตู ร เน้ือหำสำระทีเ่ กีย่ วข้องกบั จิตใจ ซง่ึ สว่ นใหญจ่ ะเน้นกำรศกึ ษำทำงมำนษุ ยวิทยำ และนกั ปรชั ญำกลุ่ม นิรันตรนิยม ในสหรัฐอเมริกำ หลำยคนได้สนับสนุนแนวควำมคิด ท่ีจะให้ใช้เรื่องรำวและวรรณคดีจำกหนังสือ \"The Great Book\" เป็นวิชำพ้นื ฐำนของหลักสูตรระดับอุดมศึกษำ ทั้งนี้เนื่องจำกมีควำมเห็นว่ำ เรื่องรำวใน หนงั สือดังกล่ำว ได้รับกำรพิสูจนด์ ้วยกำลเวลำมำแล้ว วิธีการเรียนการสอน ตั้งอยู่บนรำกฐำนของ กำรฝึกอบรมทำงจิตใจและปัญญำโดยใช้เน้ือหำวิชำต่ำงๆ และ นยิ มใชธ้ รรมชำติของผู้เรียนเป็นประโยชน์ตอ่ กำรเรียนกำรสอน เพอื่ ให้ผู้เรียนก้ำวไปสู่ควำมมีเหตุผล วิธีกำรสอนท่ี กลมุ่ นริ นั ตรนยิ มได้ใชม้ ำกก็คอื วธิ ีกำรบรรยำยเพอื่ ให้นกั เรียนได้มีควำมเข้ำใจในส่ิงต่ำงๆ นอกจำกน้ียังได้ใช้วิธีกำร ใหท้ อ่ งจำเนอื้ หำสำระตำ่ งๆ และวิธกี ำรถำม-ตอบอกี ดว้ ย 43

ยุคสมยั ของปรชั ญาการศกึ ษาสมยั เก่า ปรชั ญานริ ันตรนิยม (Perenialism) ข้อวิจารณ์ กำรจัดกำรศึกษำตำมควำมคิดของนักปรัชญำนิรันตรนิยมได้รับกำรวิพำกษ์วิจำรณ์ว่ำ กลุ่มนี้สนใจเรื่องรำวในอดีตเป็นส่วนใหญ่เน่ืองจำกว่ำปัจจุบันควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงด้ำนเทคโนโลยีมี มำกข้ึน กำรจะละเลยควำมก้ำวหน้ำในปัจจุบนั จงึ เป็นสง่ิ ทไี่ มส่ มควรอย่ำงยง่ิ โดยสรุปแล้วเมื่อเปรียบเทียบกับปรัชญากลุ่มสารัตถนิยมแล้ว ปรัชญากลุ่มนิรันตรนิยม เนน้ หนักไปทางด้านการพัฒนาปัญญา การใช้เหตุผล โดยยึดความรู้ที่ไดร้ ับการยอมรับแล้วมากกว่า แนวความรู้ใหม่ๆ จึงมักถูกมองวา่ อยู่ในกลุ่มพวกหัวสูงกลุ่มพวกนักปราชญ์ จนลืมไปวา่ ผู้เรียนกลุ่ม ปัญญาปานกลางและตา่ กส็ ามารถปน็ พลเมอื งดแี ละสามารถทาประโยชน์ใหก้ ับสังคมไดเ้ ช่นกนั 44

ยคุ สมยั ของปรัชญา การศึกษาสมยั ปัจจุบัน

ยุคสมยั ของปรชั ญาการศกึ ษาสมยั ปจั จบุ ัน ปรัชญาพพิ ฒั นาการนยิ ม (Progressivism) นโยบายทางสังคม โรงเรียนเป็นเคร่ืองมือของสังคมท่ีจะถ่ำยทอดวัฒนธรรมอันเป็นมรดก ของสังคมให้ไปสู่อนุชนรุ่นหลัง โรงเรียนท่ีดีควรจะต้องสำมำรถสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งต่ำงๆ ซ่ึง เป็นท่ียอมรับในสังคม และควรจะนำนักเรียนไปสู่ควำมสุขในอนำคต ปรัชญำศึกษำกลุ่มนี้จะ เน้นวธิ ีกำรประชำธิปไตย เปา้ หมายการศึกษา คือกำรสรำ้ งสถำนกำรณท์ จี่ ะสรำ้ งควำมกำ้ วหน้ำให้แก่ผู้เรียน ให้มำก ที่สุดเท่ำท่ีจะทำได้ และถือว่ำโรงเรียนเป็นสถำบันท่ีจะต้องมีส่วนในกำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคม ให้ดีขึ้น 46

ยุคสมยั ของปรัชญาการศึกษาสมัยปัจจบุ ัน ปรชั ญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) นักเรียน เป็นผู้ท่ีจะต้องพบกับสภำพแวดล้อมต่ำงๆ นักเรียนเป็นศูนย์กลำงกำรเรียนและได้ ยอมรบั ว่ำนักเรียนแต่ละคนจะมีควำมแตกต่ำงกัน ครู ภำระหน้ำท่ีของครูก็คือ แนะแนวทำงให้แก่ผู้เรียน จัดสภำพแวดล้อมเพื่อให้เกิดกำร เรียนรู้ได้มำกที่สุด และมีหน้ำที่ช่วยเหลือนักเรียนในกำรพัฒนำโครงกำรต่ำงๆ ที่นักเรียนได้ทำ อยู่ เปน็ ผสู้ นับสนุนให้นักเรียนไดร้ ่วมมอื กันมำกกว่ำกำรแขง่ ขันกนั 47

ยคุ สมยั ของปรชั ญาการศกึ ษาสมัยปัจจบุ ัน ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) หลักสูตร ยึดเอำผู้เรียนเป็นศูนย์กลำงกำรเรียน และคัดค้ำนอย่ำงย่ิงต่อหลักสูตรที่ยึดเอำ วิชำเป็นศูนย์กลำง หลักสูตรแบบนี้มีชื่อเรียกว่ำ “หลักสูตรประสบกำรณ์ (Experience Curriculum)” หรือ “หลกั สตู รท่ียดึ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลำง (Child-centered Curriculum)” วิธีการเรียนการสอน วิธีกำรท่ีนิยมใช้มำกก็คือ กำรทำโครงกำร กำรอภิปรำยกลุ่ม และ กำรแก้ปัญหำเป็นรำยบุคคล กำรจัดกำรเรียนกำรสอนตำมแนวควำมคิดของกลุ่มพิพัฒนำกำร นิยม จะเน้น “คิดอย่ำงไร\" มำกกว่ำ \"คิดอะไร\" น่ันคือ เน้นกระบวนกำรมำกกว่ำจุดหมำย ปลำยทำงของกำรเรียน 48

ยุคสมยั ของปรัชญาการศกึ ษาสมัยปัจจุบนั ปรชั ญาพพิ ัฒนาการนยิ ม (Progressivism) ข้อวิจารณ์ กำรจัดกำรศึกษำตำมแนวพิพัฒนำกำรนิยมมีแนวโน้มในกำรต่อต้ำน แนวควำมคิดกำรจัดกำรศึกษำแบบเก่ำ ที่เน้นระเบียบวินัย เน้นกำรเรียนกำรสอนที่เข้มงวด ทีต่ ้องทำแบบฝกึ หัดตำมหลักสูตรและท่องจำเป็นหลกั จะเนน้ กระบวนกำรมำกกว่ำเน้อื หำ 49

ยคุ สมัยของปรัชญาการศกึ ษาสมยั ปจั จุบัน ปรชั ญาการศึกษาปฏิรูปนยิ ม (Recontructionism) นโยบายทางสังคม กลุ่มปฏิรูปนิยมมีควำมเชื่อว่ำ กำรศึกษำควรจะเป็นเคร่ืองมือ โดยตรงสำหรับกำรเปล่ียนแปลงสังคม ในภำวะท่ีสังคมกำลังเผชิญปัญหำต่ำงๆอยู่นั้น กำรศกึ ษำควร จะมบี ทบำทในกำรแก้ปัญหำและพฒั นำสงั คมใหด้ ีขึ้น เป้าหมายการศกึ ษา กำรศกึ ษำควรจะมุ่งให้ผู้เรียนสนใจและตระหนักในตนเอง สร้ำง ควำมรสู้ กึ วำ่ ผู้เรียนเป็นสมำชกิ ของสังคม และสำมำรถปฏิรปู สงั คมใหด้ ขี ึ้นได้ 50