Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการนิเทศส่วนบุคคล_64

แผนการนิเทศส่วนบุคคล_64

Published by tooktook719, 2021-11-25 08:33:00

Description: แผนการนิเทศส่วนบุคคล_64

Search

Read the Text Version

คำนำ ศึกษานิเทศกเปนผูทำหนาที่นิเทศ แนะนำ ชี้นำ กระตุนใหครูและผูบริหารสถานศึกษา ใหเกิด ความรู ความตระหนัก และมีทักษะในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสามารถ เปนที่ปรึกษาทางวิชาการสำหรับนักบริหารระดับสูงในองคกรที่สังกัด ดังนั้นการจัดทำแผนการนิเทศ การศึกษาของศึกษานิเทศกจึงเปนสิ่งสำคัญ เนื่องจากสามารถใชเปนเข็มทิศในการทำงานเพื่อใหการ ปฏบิ ตั หิ นาทีใ่ นการเปนศึกษานเิ ทศกเปนไปตามเปาหมายการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ และนโยบายดานการศึกษาของของตนสังกัด ตลอดจนเปนไปตามความตองการของโรงเรียน และสง ผลใหการศกึ ษาไดร ับการพัฒนาอยา งเต็มศักยภาพ จงึ ไดจัดทำแผนการนเิ ทศ ขอขอบคุณคณะทำงานทุกทานที่มีสวนรวมในการจัดทำแผนนิเทศ ตามภารกิจและกรอบงานที่ ไดรับมอบหมายประจำปงบประมาณ 2564ในครั้งนี้ จนประสบความสำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงคและ สามารถนำไปใชใ หเกดิ ประโยชนแ กส ถานศึกษาตอ ไป นางปรยี า สงคประเสริฐ ศกึ ษานิเทศก

สารบญั บทท่ี หนา คำนำ สารบัญ สว นที่ 1 บทนำ 1 ความเปนมา 1 สภาพทว่ั ไปของสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรราชเขต 1 2 ผลการดำเนนิ งานดานการประกนั คุณภาพการศึกษาปงบประมาณ 2563 7 สวนที่ 2 แนวคิด ทิศทางและนโยบายการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 26 พระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั รชั การที่ 10 26 ยุทธศาสตรช าตริ ะยะ 20 ป (พ.ศ.2561-2580) 27 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2560-2564) 28 แผนปฏิบัตริ าชการประจำปงบประมาณพ.ศ.2564ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 29 แผนปฏิบตั ิราชการประจำปงบประมาณพ.ศ.2564ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้นั พื้นฐาน 30 แผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปง บประมาณพ.ศ.2564ของจังหวดั นครศรีธรรมราช 33 แผนปฏบิ ัติราชการประจำปงบประมาณพ.ศ.2564ของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา นครศรธี รรมราชเขต1 34 สว นที่ 3 ทิศทางการดำเนนิ งานของกลุม งานประกนั คุณภาพการจดั การศึกษา 38 กรอบภาระงานท่ีไดรับมอบหมาย 43 วสิ ัยทัศน 28 วัตถปุ ระสงค 43 เปา หมายการดำเนนิ งาน 44 ภาพความสำเรจ็ 51 ประโยชนท ี่ไดรับ 51 รูปแบบการนิเทศ 53 ภาคผนวก 54

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา 1 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามทต่ี ง้ั และเครอื ขาย 5 2 จำนวนนักเรยี น จำนวนหองเรยี น จำแนกตามช้นั เรยี นและเพศ 5 3 จำนวนบคุ ลากร 6 4 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามขนาดจำนวนนักเรียน ปการศึกษา 2563 6 5 ผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอานของผเู รยี น Reading Test (RT) 7 6 การเปรียบเทยี บผลการประเมินระดับเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาระดับประเทศ 7 7 การเปรียบเทียบผลการประเมินระดบั เครอื ขา ย 8 8 การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ระดับเครือขาย ปการศึกษา 2561 กับ 2562 8 9 การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ระดบั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีกับระดบั ประเทศ 9 10 การเปรยี บเทียบผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน NT 3 ป 9 11 ผลการจัดระดบั คุณภาพการประเมินคุณภาพการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน NT 10 12 ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน NT จำแนกตามระดับคุณภาพ 10 13 แสดงคาสถิติผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปก ารศึกษา 2562 จำแนกตามระดบั เขตพน้ื ที่ 11 14 ระดบั จังหวัด ระดับสังกดั และระดบั ประเทศ เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน O-NET 12 15 ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปก ารศกึ ษา 2562 จำแนกตามกลมุ สาระ การเรียนรู 13 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน O-NET ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 จำแนกตามระดับเขตพ้ืนท่ี ระดับจังหวัด 13 ระดับสงั กดั และระดับประเทศ ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน O-NET ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 ปการศกึ ษา 2560-2562 จำแนกตามรายวิชา

สารบญั ตาราง(ตอ ) ตารางท่ี หนา 17 ผลการประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดวยขอสอบมาตรฐานกลางปลายป 14 ปก ารศกึ ษา 2562 15 18 เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดว ยขอสอบมาตรฐานกลางปลายป 16 ปก ารศึกษา 2561 กบั 2562 18 19 ตารางผลการประเมินการบริหารและการจดั การศึกษา 19 20 ผลการดำเนนิ งานเทียบคาเปาหมายตวั ช้วี ดั 21 ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประจำป งบประมาณ 2563

สว นท่ี 1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญ ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) เปนแผนการพัฒนาประเทศ ที่กำหนดกรอบและแนว ทางการพฒั นาใหหนวยงานของรฐั ทุกภาคสว นตองทำตาม เพอ่ื ใหบ รรลุวิสัยทศั นประเทศไทยที่วา”ประเทศไทย มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศที่พัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีคติพจนประจำชาติวา “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบตอผลประโยชนแหงชาติ โดยที่รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กำหนดใหรัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศ อยา งยั่งยนื ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใชเปนกรอบในการจดั ทำแผนตางๆใหสอดคลองและบูรณาการกัน เพ่ือให เกิดพลังผลักดันรว มกันไปสเู ปาหมาย กระทรวงศึกษาธิการไดกำหนดแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เปนแผนยุทธศาสตรดาน การศึกษาระยะยาว เพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติขางตน โดยมุงจัดการศึกษาใหคนไทยทุกคนสามารถ เขาถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มี ประสิทธิภาพ พัฒนากำลังคนใหมีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคลองกับความตองการของตลาดงานและการ พัฒนาประเทศ ซึ่งการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหเกิดคุณภาพนั้น จะตองมีกระบวนการสูความสำเร็จมี องคประกอบและปจจัยคือ คุณภาพของผูเรียน ทีโ่ รงเรยี นตองประกันคุณภาพตอผูปกครองและผูมีสวนไดสวน เสียวาผูเรียนจะตองมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักสูตร มีทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นการพัฒนา คุณภาพผเู รยี นจะตอ งมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหประสบผลสำเรจ็ ประกอบดวยองคป ระกอบ 3 ประการ คือ กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา สำหรับกระบวนการนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการที่ผูนิเทศใชขอมูลจากการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลสำหรับการวางแผนในการใหคำแนะนำ ชวยเหลือ รวมคิด รวมทำ และสนับสนุน ใหมีการพัฒนา คุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้นตรงตามสภาพความตองการที่แทจ ริงของการพัฒนา โดยผานครูผูส อนและผูบริหาร โรงเรียน รวมทั้งการชี้แจง การแสดงหรือการแนะนำเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรูและการจัดกิจกรรม พัฒนาผูเรียนที่สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการ เรียนรแู ละตัวชว้ี ดั ฯ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา เปนภารกิจที่จำเปนตอการจัดการศึกษาที่ตอง อาศัยความรวมมือจากบุคคล หลายฝาย เพื่อชวยเหลือสนบั สนุนใหก ระบวนการบรหิ ารและกระบวนการเรยี น การสอนมีคณุ ภาพและ ใหทนั ตอสภาพความเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขึ้น ไดแก ความเปล่ยี นแปลงของสังคม รวมทั้ง ความเจริญกาวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เปนไปอยางรวดเร็ว บุคลากรที่เกี่ยวของในหนวยงาน จัดการศึกษา จำเปนตองพัฒนาและปรับปรุงตนเองใหทันตอการเปลี่ยนแปลง เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการที่มีจุดมุงหมายเพื่อชวยเหลือ ชี้แนะและพัฒนา

2 งานใหประสบผลสำเร็จ ทันตอสภาพการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อีกทั้งเปนองคประกอบสำคัญที่ชวยเหลือ สนับสนนุ ใหกระบวนการบริหารและกระบวนการเรียนการสอนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของประเทศ ทั้งยังเปนสวนสำคัญในการสงเสริมระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่ตองพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีทักษะที่ จำเปนในศตวรรษที่ 21 เพื่อเขาสูการปฏิรูปการศึกษาและการจัดการศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0 ตลอดท้ัง มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ที่มุงเนนใหผ ูเ รียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค มีทักษะวิชาการ ทักษะ อาชีพ ทักษะการเปนผูน ำ และทักษะการนำไปสูการสรา งนวตั กรรม กระบวนการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน การนิเทศการศึกษาจงึ มีความสำคัญตอการพฒั นา ปรับปรงุ และเพิ่มประสิทธิภาพในการ จัดการศึกษาในสถานศึกษา เพื่อใหผูบริหารและครูผูสอนมีความรู ความเขาใจในดานการบริหารจัดการดาน หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ที่สงผลตอการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา สภาพท่วั ไปของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ที่ตั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตั้งอยูที่138 หมู 8 ถนนศรธี รรมราช ตำบลโพธเิ์ สดจ็ อำเภอเมือง จังหวดั นครศรธี รรมราช 80000 โทรศพั ท 075-356151 โทรสาร 075 -347356เวบ็ ไซต www.nst1.go.th e-mail : pnst1 @outlook.co.th และ nst1 [email protected] อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ กบั อำเภอทา ศาลา ทศิ ใต ติดตอกบั อำเภอพระพรหม ทศิ ตะวันออก ติดตอกบั อำเภอปากพนัง อำเภอเฉลมิ พระเกียรติ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ กับอำเภอชา งกลาง สภาพทั่วไป สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เปนสวนราชการ สว นกลาง กอตง้ั เม่ือวนั ที่19 สงิ หาคม 2553 โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหงชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 ซึ่งรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของสภาการศึกษา เมื่อคราวประชุม ครั้งที่ 2/2553 วันที่ 17 สิงหาคม 2553 ไดกำหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเดิม เปนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอยูในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบการบริหาร จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแตระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน (โรงเรียนขยายโอกาส ทางการศกึ ษา) ใหแ กประชากรวัยเรียนใน 4 อำเภอของจงั หวัดนครศรธี รรมราช ไดแ ก อำเภอเมอื งนครศรธี รรมราช อำเภอพระพรหม อำเภอลานสกา และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ โดยมีบทบาทหนาท่ีตามประกาศสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เรื่อง การแบงสวนราชการภายในสำนักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต1 พ.ศ.2561 ดงั นี้

3 อนุสนธิประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ไดดำเนินการแบงสวนราชการภายในสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาใหเปนไปดวยความเหมาะสมกับภารกิจ ปริมาณ และคุณภาพการจัดการศึกษาในแตละเขตพื้นท่ี การศกึ ษา อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 37 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2561 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 จงึ ออกประกาศไว ดังตอ ไปนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เรื่อง การแบงสวนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 พ.ศ. 2561” ขอ 3 ในประกาศฉบับนี้ “สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา” หมายความวา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ขอ 4 ใหส ำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามีอำนาจหนาท่ีดำเนนิ การใหเปนไปตามอำนาจหนาที่ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอำนาจหนาที่ ดงั ตอไปน้ี 1) จัดทำนโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาใหส อดคลอง กับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความตองการ ของทอ งถ่ิน 2) วิเคราะหการจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหนวยงานในเขตพื้นที่ การศึกษา และแจงการจัดสรรงบประมาณที่ไดรับใหหนวยงานขางตนรับทราบ รวมทั้งกำกับ ตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจ า ยงบประมาณของหนวยงานดังกลาว 3) ประสาน สง เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาหลกั สูตรรว มกบั สถานศึกษาในเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา 4) กำกับ ดูแล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 5) ศกึ ษา วเิ คราะห วจิ ัย และรวบรวมขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 6) ประสานการระดมทรัพยากรดานตาง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อสงเสริม สนับสนุน การจดั และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา 7) จดั ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 8) ประสาน สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคกรปกครอง สวนทองถิ่น รวมทั้งบุคคล องคกรชุมชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน อ่นื ทจี่ ดั การศึกษารูปแบบทีห่ ลากหลายในเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา 9) ดำเนนิ การและประสาน สง เสริม สนบั สนนุ การวิจยั และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา 10) ประสาน สงเสริมการดำเนินงานของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ดานการศึกษา

4 11) ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองคกรหรือหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ 12) ปฏิบัตงิ านรวมกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนวยงานอ่ืนที่เก่ียวขอ งหรือที่ไดรบั มอบหมาย ภารกิจและปริมาณงานในความรบั ผดิ ชอบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดกำหนดโครงสรางการบริหารสำนักงานเขต พนื้ ทีก่ ารศกึ ษาตามโครงสรางทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด ประกอบดวย 9 กลุม 1 หนว ย ปจ จุบันมีบคุ ลากร รวมทกุ กลุม / หนว ย จำนวน 71 คน (ขอมลู ณ วนั ท่ี 8 กุมภาพันธ 2564 ) ไดแ ก 1) ผบู ริหาร จำนวน 5 คน 2) กลุมอำนวยการ จำนวน 17 คน 3) กลุมนโยบายและแผน จำนวน 6 คน 4) กลุมสง เสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศฯ จำนวน 2 คน 5) กลุมบรหิ ารงานการเงินและสนิ ทรัพย จำนวน 6 คน 6) กลมุ บรหิ ารงานบคุ คล จำนวน 7 คน 7) กลุม พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน 1 คน 8) กลุม นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา จำนวน 12 คน 9) กลมุ สง เสริมการจัดการศึกษา จำนวน 8 คน 10) หนว ยตรวจสอบภายใย จำนวน 2 คน 11) กลุมกฎหมายและคดี จำนวน 1 คน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีภารกิจสำคัญในการบริหารจัด การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานใหประชากรวยั เรียนที่มีอายุอยใู นเกณฑก ารศึกษาภาคบังคับในเขตบริการไดเ ขา เรยี นอยาง ทวั่ ถึงทกุ คนและไดรบั การพัฒนาตามศักยภาพตามกระบวนการเรียนรทู ี่หลกั สตู รกำหนด โดยมีโรงเรียนในสังกัด และดูแลรับผิดชอบ ดังตารางท่ี 1-4

5 ตารางที่ 1 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามที่ต้ัง และเครือขาย อำเภอ เครือขา ยสถานศึกษา จำนวนสถานศกึ ษา เมอื งนครศรธี รรมราช (58) เครอื ขาย 1 อำเภอเมือง 14 เครือขา ย 2 อำเภอเมือง 18 เครือขา ย 3 อำเภอเมือง 12 เครอื ขา ย 4 อำเภอเมือง 14 อำเภอลานสกา (20) เครือขา ย 5 อำเภอลานสกา 20 อำเภอพระพรหม (16) เครือขา ย 6 อำเภอพระพรหม 16 อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ (15) เครอื ขา ย 7 อำเภอเฉลิมพระเกยี รติ 15 รวม 109 ทมี่ า : กลมุ สงเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 18 ก.ค. 2563 ตารางท่ี 2 จำนวนนกั เรียน จำนวนหองเรียน จำแนกตามชัน้ เรยี นและเพศ ชั้น จำนวนหอ งเรียน จำนวนนกั เรยี น ชาย หญงิ รวม อนุบาล 1 61 309 279 588 อนุบาล 2 110 663 564 1,227 อนุบาล 3 116 783 715 1,498 รวมระดับกอ นประถมศึกษา 287 1,755 1,558 3,313 ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 136 1,246 1,186 2,432 ประถมศึกษาปท่ี 2 135 1305 1,229 2,534 ประถมศึกษาปที่ 3 135 1,278 1,197 2,475 ประถมศกึ ษาปท่ี 4 130 1,263 1,088 2,351 ประถมศึกษาปท่ี 5 129 1,266 1,119 2,385 ประถมศึกษาปท่ี 6 130 1,255 1,150 2,405 รวมระดบั ประถมศึกษา 795 7,613 6,969 14,582 มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 24 296 223 519 มธั ยมศึกษาปที่ 2 23 260 203 463 มัธยมศึกษาปท ี่ 3 24 287 212 499 รวมมัธยมศึกษาตอนตน 71 843 638 1,481 รวมทั้งสน้ิ 1,153 10,211 9,165 19,376 ท่มี า : กลมุ่ สง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 18

6 ตารางท่ี 3 จำนวนบคุ ลากร จำนวน (คน) ประเภท 103/14 1,028 ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา/รองผบู ริหารสถานศกึ ษา 5 ครู 12 ครอู ตั ราจางข้ันวิกฤต 10 พนักงานราชการ 4 ป (คร)ู 109 บุคลากรวทิ ย – คณติ 43 ธุรการโรงเรียน 24 นักการภารโรงคนื ครใู หโ รงเรยี น 21 นักการภารโรงงบดำเนินงาน 37 ครผู ทู รงคณุ คาแหง แผนดิน 1,415 พีเ่ ลี้ยงเด็กพิการ รวม ท่ีมา : กลมุ บริหารงานบคุ คล 18 ก.ค. 2563 ตารางท่ี 4 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามขนาดจำนวนนกั เรียน ปการศกึ ษา 2563 ขนาด สพฐ. (โรง) ขนาดท่ี 1 จำนวนนักเรียน 0 - 120 คน 66 (นักเรยี น 0 - 20 คน) 3 (นกั เรียน 21 - 40 คน) 11 (นกั เรยี น 41 - 60 คน) 15 (นักเรียน 61 - 80 คน) 18 (นักเรียน 81 - 100 คน) 11 (นักเรยี น 101 - 120 คน) 8 ขนาดท่ี 2 (นกั เรียน 121 -200 คน) 22 ขนาดท่ี 3 (นกั เรยี น 201 -300 คน) 12 ขนาดท่ี 4 (นักเรียน 301 – 499 คน) 7 ขนาดท่ี 5 (นกั เรียน 500 – 1,499 คน) 0 ขนาดที่ 6 (นกั เรยี น 1,500 – 2,499 คน) 2 ขนาดที่ 7 (นกั เรยี น >2,500 คน) 1 รวมท้ังสิ้น 110 ท่มี า : กลมุ่ สง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

7 ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 มรี ายละเอียด ดังน้ี 1) ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (Reading Test : RT) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดประเมินความสามารถดานการอาน ของผูเรียน (Reading Test : RT) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2562 โดยมีโรงเรียนในสังกัดเขาสอบ จำนวน 107 โรงเรยี น นกั เรยี นจำนวน 2,547 คนและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช จำนวน 1 โรงเรยี น นกั เรยี นจำนวน 83 คน รวมท้งั สนิ้ 108 โรงเรยี น นกั เรียนจำนวน 2,630 คน จากการประเมนิ ไดผลดงั น้ี ตารางท่ี 5 ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (Reading Test : RT) ระดับเขตพื้นท่ี สมรรถนะ การอา นออกเสียง การอานรูเรื่อง รวม 2 สมรรถนะ คะแนนเฉลีย่ (รอ ยละ) 68.23 70.70 69.47 ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี จากตารางที่ 5 พบวา โดยภาพรวม 2 สมรรถนะผูเรียน มีความสามารถในการอานอยูในระดับ ดี คิด เปนรอยละ 69.47 เมื่อพิจารณาเปนรายสมรรถนะ พบวา สมรรถนะการอานออกเสียงอยูในระดับดี คิดเปน รอยละ 68.23 และสมรรถนะการอานรูเรือ่ ง อยูในระดบั ดี คดิ เปน รอ ยละ 70.70 ตารางที่ 6 การเปรยี บเทียบผลการประเมนิ ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษากับระดบั ประเทศ ระดับ สมรรถนะการอา นออกเสียง สมรรถนะการอา นรเู ร่ือง รวม 2 สมรรถนะ (รอ ยละ) (รอ ยละ) (รอ ยละ) 69.47 สพป.นศ.1 68.23 70.70 70.66 ประเทศ 68.50 72.81 -1.19 ผลตาง -0.27 -2.11 ต่ำกวา สรปุ ตำ่ กวา ต่ำกวา จากตารางท่ี 6 การเปรียบเทียบผลการประเมินระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษากับระดับประเทศ พบวา โดย ภาพรวม 2 สมรรถนะ ผูเรียนมีความสามารถในการอานระดับเขตพื้นที่การศึกษา มีคาเฉลี่ยต่ำกวา ระดบั ประเทศ รอยละ1.19 เมอ่ื พิจารณาเปน รายสมรรถนะ พบวา ผลการประเมินสมรรถนะการอานออกเสียง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา มีคาเฉลี่ยตำ่ กวา ระดับประเทศ คิดเปนรอยละ 0.27 และผลการประเมนิ สมรรถนะ การอา นรูเ รือ่ ง ระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา มคี า เฉล่ยี ตำ่ กวา ระดบั ประเทศ คดิ เปน รอยละ 2.11

8 ตารางที่ 7 การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ ระดับเครือขา ย เครือขาย จำนวนโรงเรยี น การอานออกเสยี ง(รอ ยละ) การอา นรเู ร่อื ง(รอ ยละ) รวม 2 สมรรถนะ(รอ ยละ) 1 14 60.53 65.61 63.07 60.44 2 17 57.70 63.18 74.86 64.09 3 12 75.39 74.33 66.25 69.16 4 14 61.14 67.13 81.05 5 19 66.80 65.70 6 16 68.08 70.23 7 15 81.29 80.80 จากตารางที่ 7 การเปรียบเทียบผลการประเมินระดับเครือขาย จำแนกตามสมรรถนะ พบวา การ ประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน รวม 2 สมรรถนะ เครือขายที่ 7 มีคาเฉลี่ยสูงสุด รอยละ 81.05 รองลงมาคือ เครือขายที่ 3 รอยละ 74.86 และมีคาเฉลี่ยต่ำสุดคือ เครือขายที่ 2 รอยละ 60.44 เมื่อพิจารณาเปน รายสมรรถนะ พบวา ผลการประเมินสมรรถนะการอานออกเสียง เครือขายที่ 7 มีคาเฉลี่ยสูงสุด รอยละ 81.29 รองลงมาคือ เครือขายที่ 3 รอ ยละ 75.39 และมีคาเฉล่ียต่ำสุดคือ เครือขายที่ 2 รอ ยละ 57.70 และผลการประเมิน สมรรถนะการอานรูเรื่อง เครือขายที่ 7 มีคาเฉลี่ยสูงสุด รอยละ 80.80 รองลงมาคือ เครือขายที่ 3 รอยละ 74.33 และมีคาเฉลีย่ ต่ำสดุ คือ เครือขา ยท่ี 2 รอยละ 63.18 ตารางท่ี 8 การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ ระดบั เครือขาย ปการศึกษา 2561 กบั 2562 เครอื ขา ย จำนวนโรงเรยี น การอา นออกเสยี ง (รอยละ) การอา นรเู รอ่ื ง(รอยละ) รวม 2 สมรรถนะ(รอ ยละ) (โรงเรียน) 2561 2562 พัฒนาการ 2561 2562 พัฒนาการ 2561 2562 พัฒนาการ 1 14 57.25 60.53 3.28 62.50 65.61 3.11 59.87 63.07 3.20 2 17 63.76 57.70 -6.06 67.00 63.18 -3.82 65.38 60.44 -4.94 3 12 69.07 75.39 6.32 68.36 74.33 5.97 68.72 74.86 6.14 4 14 64.00 61.14 -2.86 63.82 67.13 3.21 63.91 64.09 0.18 5 19 53.54 66.80 13.26 64.91 65.70 0.79 59.22 66.25 7.03 6 16 68.73 68.08 -0.65 72.41 70.23 -2.18 70.57 69.16 -1.41 7 15 71.29 81.29 10.00 72.67 80.80 8.13 71.98 81.05 9.07 จากตารางที่ 8 การเปรียบเทียบผลการประเมินระดับเครือขาย ปการศึกษา 2561 กับ 2562 เม่ือ พิจารณารวม 2 สมรรถนะ พบวา เครือขายที่ 7 มีคา พัฒนาการมากท่สี ุด เพิม่ ขนึ้ รอยละ 9.07 รองลงมาคือเครือขาย ที่ 5 เพิม่ ขน้ึ รอยละ 7.03 นอยท่ีสุดคือ เครอื ขายท่ี 2 ลดลงรอยละ 4.94 เมอ่ื พจิ ารณาสมรรถนะ การอานออกเสียง พบวา เครือขายที่ 6 มีคาพัฒนาการมากที่สุด เพิ่มขึ้นรอยละ 13.26 รองลงมาคือเครือขายที่7 เพิ่มขึ้นรอยละ 10.00 และนอยที่สุดคือ เครือขายที่ 2 ลดลงรอยละ 6.06 และเมื่อพิจารณาสมรรถนะ การอาน รูเรื่อง พบวา

9 เครือขายที่ 7 มีคาพัฒนาการมากที่สุด เพิ่มขึ้นรอยละ 8.13 รองลงมาคือเครือขายที่3 เพิ่มขึ้นรอยละ 5.97 และ นอ ยทสี่ ดุ คอื เครือขายท่ี 2 ลดลงรอ ยละ 3.82 2) ผลการสอบประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (National Test: NT) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน (National Test: NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปก ารศึกษา 2562 โดยมีโรงเรียนในสังกัดเขาสอบ จำนวน 108 โรงเรียน นักเรียนจำนวน 1,962 คนและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช 1 โรงเรียน นักเรยี นจำนวน 76 คน และการจัดการศึกษาโดยครอบครัว จำนวน 1 ครอบครวั จำนวนนกั เรียน 2 คน รวมท้ังส้ิน 110 โรงเรยี น นกั เรยี นจำนวน 2,040 คน จากการประเมนิ ไดผลดังน้ี ตารางท่ี 9 การเปรยี บเทยี บผลการประเมินระดับสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ับระดับประเทศ ดาน คะแนนเฉล่ยี รอ ยละ ผลการเปรยี บเทียบ เขตพื้นที่ ประเทศ ผลตา ง ดานคณติ ศาสตร 48.72 44.94 +3.78 สงู กวา ดานภาษาไทย 50.47 46.46 +4.01 สงู กวา เฉล่ียความสามารถทัง้ 2 ดาน 49.60 45.70 +3.90 สูงกวา จากตารางที่ 9 การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT) นักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2562 ระดบั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีกบั ระดับประเทศ พบวา หากพิจารณาภาพรวม ความสามารถท้ัง 2 ดาน(เฉลยี่ ) ระดบั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 สงู กวา ระดับประเทศ รอยละ 3.9 หากพิจารณาความสามารถดานคณิตศาสตร ระดับสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 สูงกวา ระดับประเทศ รอยละ 3.78 และดานภาษาไทย ระดับสำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 สูงกวา ระดบั ประเทศ รอ ยละ 4.01 ตารางท่ี 10 การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (NT)3 ปยอนหลงั ดา น ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (NT)3 (รอ ยละ) ปก ารศึกษา 2560 ปก ารศึกษา 2561 ปการศึกษา 2562 ดานคณติ ศาสตร 42.14 51.14 48.72 ดา นภาษาไทย 56.74 57.95 50.47 เฉลีย่ ความสามารถ 2 ดา น 49.44 54.55 49.60 จากตารางที่ 10 การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT)3 ปยอนหลัง (ป การศึกษา 2560-2562) ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 พิจารณาผล การประเมินคุณภาพผูเรียนรวมความสามารถทั้ง 2 ดาน จำแนกตามคะแนนเฉลี่ยรอยละ พบวา ปการศึกษา

10 2560 กับปการศึกษา 2561 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษามีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น และปการศึกษา 2561 กับปก ารศึกษา 2562 คะแนนเฉล่ยี รอยละลดลง เมื่อพิจารณารายดา นผลการเปรยี บเทยี บเปน ดงั นี้ ความสามารถดานคณติ ศาสตร พบวา ปก ารศึกษา 2560 กับปการศึกษา 2561 มคี ะแนนเฉลี่ยรอยละ เพิม่ ขึ้น และ ในปก ารศกึ ษา 2562 คะแนนเฉลยี่ รอ ยละลดลงในปก ารศึกษา 2561 ความสามารถดานภาษาไทย พบวา ปก ารศึกษา 2560 กับปก ารศึกษา 2561 มีคะแนนเฉล่ยี รอยละ เพิ่มขนึ้ และ ในปการศกึ ษา 2562 คะแนนเฉลีย่ รอ ยละลดลงในปก ารศกึ ษา 2561 ตารางที่ 11 ผลการจดั ระดบั คณุ ภาพการประเมินคุณภาพการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (NT) ดาน จำนวนนักเรียนทเี่ ขาสอบ คะแนนเฉลี่ยรอยละ ระดบั คุณภาพ ดานคณิตศาสตร 1,962 48.72 พอใช ดี ดา นภาษาไทย 1,962 50.47 พอใช รวมความสามารถท้งั 2 ดา น 1,962 49.60 จากตารางที่ 11 ผลการจัดระดับคุณภาพการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT) ชั้น ประถมศึกษาปท ี่ 3 ปการศึกษา 2562 ซงึ่ มผี ูเขา สอบ จำนวน 1,962 คน (เฉพาะนกั เรียนปกต)ิ สังกัดสำนักงาน เขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำแนกตามระดับคุณภาพ พบวา ผลการประเมิน คุณภาพผูเรียน (NT) รวมความสามารถทั้ง 2 ดาน อยูในระดับพอใช คิดเปนรอยละ 49.60 เมื่อพิจารณาราย ดาน พบวา ผลการประเมินความสามารถดานคณิตศาสตร อยูในระดับพอใช คิดเปนรอยละ 48.72 และผล การประเมนิ ความสามารถดา นภาษาไทย อยใู นระดับดี คดิ เปนรอ ยละ 50.47 ตารางท่ี 12 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (NT) จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ จำนวนและรอ ยละนักเรียน จำแนกตามระดบั คุณภาพ (ยกเวนเด็กพเิ ศษและ Walk-in) ดา น ระดบั ดีมาก ระดับดี ระดับพอใช ระดบั ปรับปรุง จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ (คน) (คน) (คน) (คน) ดานคณติ ศาสตร 330 16.81 538 27.42 819 41.74 275 14.01 ดา นภาษาไทย 277 14.11 772 39.34 580 29.56 333 16.97 รวมความสามารถทง้ั 2 ดา น 240 12.23 692 35.27 790 40.26 240 12.23 จากตารางที่ 12 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT) จำแนกตามระดับคุณภาพ ช้ัน ประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2562 จำแนกตามระดับคุณภาพ พบวา ผลการประเมินคุณภาพผูเรียน (NT) รวมความสามารถทั้ง 2 ดาน มีผูเรียนอยูในระดับคุณภาพดีมาก จำนวน 240 คน คิดเปนรอยละ 12.23, ผูเรียนอยูในระดับคุณภาพดี จำนวน 692 คน คิดเปนรอยละ 35.27, ผูเรียนอยูในระดับคุณภาพพอใช จำนวน

11 790 คน คดิ เปน รอยละ 40.26 และผเู รยี นอยูใ นระดับคุณภาพปรับปรุง จำนวน 240 คน คิดเปน รอยละ 12.23 เมือ่ พิจารณาเปนรายดาน ผลการเปรียบเทยี บเปนดังนี้ ดานคณิตศาสตร พบวา มีผูเรียนอยูในระดับคุณภาพดีมาก จำนวน 330 คน คิดเปนรอยละ 16.81 ผูเรียนอยูในระดับคุณภาพดี จำนวน 538 คน คิดเปนรอยละ 27.42 ผูเรียนอยูในระดับคุณภาพพอใช จำนวน 819 คน คดิ เปน รอ ยละ 41.74 และผเู รียนอยูในระดับคุณภาพปรับปรุง จำนวน 275 คน คิดเปน รอ ยละ 14.01 ดานภาษาไทย พบวา มีผูเรียนอยูใ นระดับคุณภาพดีมาก จำนวน 277 คน คิดเปนรอยละ14.11ผูเรยี น อยูในระดับคุณภาพดี จำนวน 772 คน คิดเปนรอยละ 39.34 ผูเรียนอยูในระดับคุณภาพพอใช จำนวน 580 คน คดิ เปน รอ ยละ 29.56 และผูเ รียนอยใู นระดับคุณภาพปรับปรุง จำนวน 333 คน คดิ เปน รอ ยละ 16.97 3) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดทำการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่3 จากการประเมินไดผลดังนี้ 3.1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 ตารางท่ี 13 แสดงคาสถิตผิ ลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2562 จำแนกตามระดับเขตพน้ื ท่ี ระดับจงั หวัด ระดับสังกดั และระดับประเทศ คะแนนเฉลยี่ ( Χ ) วิชา สพป.นศ.1 จงั หวดั สังกัด ระดบั ประเทศ การเปรยี บเทียบ (สพป.นศ.1)กบั จงั หวัด สงั กดั (สพฐ.) ประเทศ ภาษาไทย 53.54 51.09 47.95 49.07 2.45 5.59 4.47 คณติ ศาสตร 35.67 34.32 31.60 32.90 1.35 4.07 2.77 วิทยาศาสตร 37.41 36.18 34.30 35.55 1.23 3.11 1.86 ภาษาองั กฤษ 34.62 33.37 30.86 34.42 1.25 3.76 0.20 เฉล่ีย 4 วิชา 40.31 38.74 36.18 37.99 1.57 4.13 2.33 จากตารางที่ 13 แสดงคาสถิติผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษา ปที่ 6 ปการศึกษา 2562 จำแนกตามระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ พิจารณาโดยใช คาเฉลี่ย 4 วิชา พบวา คาเฉลี่ยของนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เทากับ 40.31 สูงกวาระดับจังหวัด (38.74) ระดับสังกัด (36.18) และระดับประเทศ (37.99) และเมื่อเปรียบเทียบกับ ระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และระดับประเทศ พบวา คาเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 สูงกวาในทกุ ระดับ

12 ตารางที่ 14 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET)ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 6 จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรู กลมุ สาระการ คะแนนเฉลย่ี พฒั นาการ เรียนรู ปก ารศึกษา 2560 ปการศึกษา 2561 ปการศึกษา 2562 2562 - 2561 ภาษาไทย 50.55 60.13 53.54 - 6.59 คณิตศาสตร 40.29 40.43 35.67 - 4.76 วิทยาศาสตร 41.16 41.62 37.41 - 4.21 ภาษาอังกฤษ 36.36 39.31 34.62 - 4.69 เฉลี่ย 4 วิชา 42.09 45.37 40.31 - 5.06 จากตารางที่ 14 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2560 – 2562 จำแนกตามรายวิชาพิจารณาโดยใชคาเฉลี่ย 4 สาระ การเรยี นรู พบวา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ปก ารศึกษา 2562 มีคา เฉลี่ยรอยละ 53.54 ปการศึกษา 2561 มีคาเฉล่ียรอยละ 60.13 ดังนัน้ มคี าเฉลี่ยลดลง 6.59 กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร ปก ารศกึ ษา 2562 มีคาเฉลี่ยรอยละ 35.67 ปก ารศกึ ษา 2561 มคี าเฉลี่ยรอย ละ 40.43 ดังนนั้ มคี า เฉลีย่ ลดลง 4.76 กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ปการศึกษา 2562 มีคาเฉลี่ยรอ ยละ 37.41 ปการศกึ ษา 2561 มีคาเฉล่ียรอย ละ 41.62 ดงั นั้น มคี าเฉล่ียลดลง 4.21 กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ปการศึกษา 2562 มีคาเฉลี่ยรอยละ 34.62 ปการศึกษา 2561 มี คาเฉลย่ี รอ ยละ 39.31 ดังนนั้ มีคา เฉลยี่ ลดลง 4.69 เฉล่ยี 4 กลมุ สาระการเรยี นรู ปก ารศึกษา 2562 มคี า เฉลี่ยรอยละ 40.31 ปก ารศกึ ษา 2561 มีคาเฉล่ยี รอยละ 45.37 ดงั น้นั มคี า เฉลย่ี ลดลง 5.06

13 3.2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ตารางท่ี 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 จำแนกตามระดับเขตพ้ืนท่ี ระดบั สังกดั และระดับประเทศ คะแนนเฉลยี่ ( Χ ) วิชา สพป.นศ.1 จังหวัด สงั กัด ประเทศ สพป.นศ..1 เทยี บกบั จงั หวดั สงั กดั ประเทศ ภาษาไทย 54.90 57.81 คณิตศาสตร 23.83 31.52 55.91 55.14 -2.91 -1.01 -0.24 วิทยาศาสตร 29.12 37.93 ภาษาอังกฤษ 30.00 28.70 26.98 26.73 -7.69 -3.15 -2.90 เฉลี่ย 4 วชิ า 34.46 38.99 30.22 30.07 -8.81 -1.10 -0.95 32.98 33.25 1.3 -2.98 -3.25 36.52 36.30 -4.53 -2.06 -1.84 จากตารางที่ 15 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ป การศึกษา 2562 จำแนกตามระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ พบวา คาเฉลี่ยของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เทากับ 34.46 ต่ำกวาระดับจังหวัด (38.99) ระดับสังกดั (36.52) และระดบั ประเทศ (36.30) ตารางที่ 16 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET)ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 ปการศึกษา 2560 – 2562 จำแนกตามรายวชิ า กลุมสาระการเรียนรู ปก ารศกึ ษา คะแนนเฉลี่ย(Χ ) ปการศึกษา พฒั นาการ 2560 2562 2562 - 2561 ปการศึกษา 2561 ภาษาไทย 47.51 53.13 54.90 1.77 คณิตศาสตร 21.98 26.01 23.83 -2.18 วิทยาศาสตร 31.31 34.57 29.12 -5.45 ภาษาอังกฤษ 28.12 25.62 30.00 4.38 เฉล่ีย 4 วชิ า 32.23 34.83 34.46 -0.37 จากตารางที่ 16 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) ของ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2560 – 2562 จำแนกตามรายวิชาพิจารณาโดยใชคา เฉลี่ย 4 สาระ การเรียนรู พบวา กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ปการศกึ ษา 2562 มีคาเฉลี่ยรอยละ 54.90 ปการศกึ ษา 2561 มคี า เฉล่ียรอยละ 53.13 ดังนนั้ มีคา เฉลย่ี เพ่มิ ขนึ้ 1.77 กลุมสาระการเรียนรูค ณิตศาสตร ปก ารศกึ ษา 2562 มีคา เฉลยี่ รอ ยละ 23.83 ปการศึกษา 2561 มคี าเฉลี่ยรอย ละ 26.01 ดงั นัน้ มีคา เฉลีย่ ลดลง 2.18

14 กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ปการศึกษา 2562 มคี า เฉลี่ยรอ ยละ 29.12 ปก ารศกึ ษา 2561 มคี า เฉล่ียรอย ละ 34.57 ดงั นัน้ มีคา เฉลี่ยลดลง 5.45 กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ปการศึกษา 2562 มีคาเฉลี่ยรอยละ 30.00 ปการศึกษา 2561 มี คาเฉล่ยี รอ ยละ 25.62 ดังน้นั มคี า เฉลย่ี เพม่ิ ข้ึน 4.38 เฉล่ยี 4 กลมุ สาระการเรียนรู ปก ารศึกษา 2562 มคี าเฉล่ยี รอ ยละ 34.46 ปการศึกษา 2561 มคี าเฉลย่ี รอ ยละ 34.83 ดงั นน้ั มคี า เฉล่ียลดลง 0.37 4) ผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นดว ยขอ สอบมาตรฐานกลางปลายป สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหมีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยขอสอบ มาตรฐานกลาง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินคุณภาพผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และใชประเมินนักเรียนทุกคน ทุกโรงเรียน และทุกสังกัด โดยใหสถานศึกษาเปนผูกำหนด สัดสวนในการใชขอสอบมาตรฐานเองตามความเหมาะสมปการศึกษา สำหรับปการศึกษา 2562 สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ใหบ ริการขอสอบ มาตรฐานในการสอบปลายป ในระดับช้นั ป.2, ป.4, ป.5, ม.1 และ ม.2 ใน 4 กลุมสาระการเรียนรู คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยขอสอบมาตรฐานกลางปลายป ปการศึกษา 2562 ปรากฏผลดังนี้ ตารางท่ี 17 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดว ยขอสอบมาตรฐานกลางปลายป ปก ารศึกษา 2562 ช้นั ภาษาไทย คะแนนเฉล่ีย (Χ ) คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร ภาษาอังกฤษ ประถมศึกษาปท ี่ 2 41.78 54.16 66.44 58.23 ประถมศกึ ษาปท่ี 4 57.65 42.56 47.51 44.91 ประถมศึกษาปท ่ี 5 53.28 40.23 51.47 42.85 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 46.97 31.41 38.72 33.06 มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 45.48 45.48 34.77 32.47 จากตารางที่ 17 ผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนดว ยขอ สอบมาตรฐานกลางปลายป ช้ั น ประถมศึกษาปที่ 2 วิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ย 41.78 วิชาคณิตศาสตรมีคะแนนเฉลี่ย 54.16 วิชา วิทยาศาสตรมคี ะแนนเฉลย่ี 66.44 และวชิ าภาษาอังกฤษ มคี ะแนนเฉลยี่ 58.23 ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 วิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ย 57.65 วิชาคณิตศาสตรมีคะแนนเฉลี่ย 42.56 วชิ าวทิ ยาศาสตรม ีคะแนนเฉลย่ี 47.51 และวิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ีย 44.91 ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 5 วิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉล่ีย 53.28 วชิ าคณติ ศาสตรมคี ะแนนเฉลีย่ 40.23 วชิ า วิทยาศาสตรมีคะแนนเฉลี่ย 51.47 และวิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ีย 42.85

15 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 1 วิชาภาษาไทยมคี ะแนนเฉลี่ย 46.97 วิชาคณิตศาสตรมคี ะแนนเฉล่ีย 31.41 วิชา วิทยาศาสตรมีคะแนนเฉลี่ย 38.72 และวิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลย่ี 33.06 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 วิชาภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ย 45.48 วิชาคณิตศาสตรมีคะแนนเฉลี่ย 45.48 วิชาวทิ ยาศาสตรม ีคะแนนเฉลย่ี 34.77 และวชิ าภาษาอังกฤษ มคี ะแนนเฉลย่ี 32.47 การเปรยี บเทียบผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดวยขอ สอบมาตรฐานกลางปลายป ป การศึกษา 2561 กับปการศกึ ษา 2562 การเปรียบเทียบผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยขอสอบมาตรฐานกลางปลายป ใน ระดับชั้น ป.2, ป.4, ป.5, ม.1 และ ม.2ใน ๔ กลุมสาระการเรียนรู คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และภาษาตา งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ปก ารศกึ ษา 2561 กบั ปการศึกษา 2562 ปรากฏผลดงั น้ี ตารางท่ี 18 เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนดว ยขอ สอบมาตรฐานกลางปลายป ปก ารศึกษา 2561 กบั ปก ารศกึ ษา 2562 คะแนนเฉลี่ย (Χ ) ช้นั ภาษาไทย คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร ภาษาองั กฤษ 2561 2562 2561 2562 2561 2562 2561 2562 ป. 2 55.29 41.78 55.71 54.16 55.62 66.44 57.66 58.23 ป. 4 57.85 57.65 45.25 42.56 46.07 47.51 41.04 44.91 ป. 5 56.39 53.28 38.24 40.23 46.79 51.47 39.02 42.85 ม. 1 42.25 46.97 24.07 31.41 37.02 38.72 31.18 33.06 ม. 2 47.05 45.48 27.76 45.48 32.12 34.77 30.84 32.47 จากตารางท่ี 18 การเปรยี บเทียบผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นดวยขอสอบมาตรฐานกลางปลายป ปก ารศึกษา 2561 กบั ปการศกึ ษา 2562 พบวา ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ปการศึกษา 2562 วิชาภาษาไทย และคณิตศาสตรมีคะแนนเฉลี่ยลดลง สวน วิชาวทิ ยาศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉลีย่ เพม่ิ ขน้ึ ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2562 วิชาภาษาไทย และคณิตศาสตรมีคะแนนเฉลี่ยลดลง สวน วชิ าวทิ ยาศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษมคี ะแนนเฉลย่ี เพม่ิ ข้นึ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปการศึกษา 2562 วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยลดลง สวนวิชาคณิตศาสตร วิชาวิทยาศาสตรแ ละวชิ าภาษาอังกฤษมคี ะแนนเฉลี่ยเพิม่ ข้นึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 ปการศึกษา 2562 มคี ะแนนเฉลย่ี เพมิ่ ขึน้ ทกุ วิชา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ปการศึกษา 2562 วิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยลดลง สวนวิชาคณิตศาสตร วิชาวิทยาศาสตรแ ละวิชาภาษาองั กฤษมคี ะแนนเฉล่ียเพม่ิ ขึน้

16 ผลการประเมนิ การบริหารและการจัดการศึกษา 1) ผลการติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 ของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 (ผลการดำเนินงาน ตามระดับคุณภาพ) ตารางท่ี 19 ผลการประเมินการบรหิ ารและการจัดการศึกษา นโยบาย/ตัวชี้วดั ระดบั คำอธิบาย คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ นโยบายท่ี 1 ดา นการจดั การศึกษาเพอื่ ความม่ันคงของมนุษยแ ละของชาติ 3.50 ดมี าก ดมี าก ตัวชี้วัดที่ 2 รอยละของผูเรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีตอ 4 บานเมอื ง มหี ลักคิดที่ถกู ตอ งเปน พลเมืองดีของชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมมีคานิยมท่ีพึง ดี ประสงค มีคุณธรรมอตั ลักษณ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผดิ ชอบตอครอบครัว ผูอน่ื ไมป ระเมนิ ไมประเมิน และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย สุจริต มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย และรักษา ดี ศีลธรรม ดเี ย่ยี ม ดเี ยยี่ ม ตัวชี้วัดที่ 6 จำนวนสถานศึกษาที่นอมนำพระบรมราโชบายดานการศึกษาของ 3 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา เจาอยูหัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอัน พึงประสงคต ามท่กี ำหนดไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ นโยบายท่ี 2 ดานการจดั การศกึ ษาเพ่ือเพิม่ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ - ตวั ช้วี ัดท่ี 9 ผูเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาผานการประเมินสมรรถนะที่จำเปนดานการรูเร่ือง - การอาน(Reading Literacy) ดานการรูเรื่องคณิตศาสตร(Mathematical Literacy) และดา นการรูเร่อื งวิทยาศาสตร( Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA นโยบายที่ 3 ดานการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย 3.13 ตัวชวี้ ัดที่ 11 ผเู รยี นทกุ ระดับมสี มรรถนะสำคญั ตามหลกั สูตร มที กั ษะการเรียนรูใน 5 ศตวรรษที่ 21 (3R8C) ตัวช้ีวัดท่ี 12 รอ ยละของผเู รยี นชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 3 ทม่ี ีคะแนนผลการทดสอบ 5 ความสามารถพ้นื ฐานระดับชาติ (NT)ผานเกณฑทกี่ ำหนด (สำหรับ สพป.)

17 นโยบาย/ตวั ช้ีวัด ระดับ คำอธิบาย คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ตัวชวี้ ดั ท่ี 13 รอยละของผเู รียนทมี่ คี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั ปรบั ปรุง พ้นื ฐาน (O-NET) มากกวารอยละ 50 ในแตล ะวิชาเพมิ่ ขน้ึ จากปก ารศึกษาทผ่ี า นมา ดีมาก ไมป ระเมนิ ตวั ช้วี ัดยอยท่ี 13.1 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 6 (สำหรับ สพป.) 1 ดีมาก ตวั ชี้วดั ยอ ยที่ 13.2 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 3 4 ปรบั ปรุง ไมประเมิน ตัวชีว้ ดั ยอยท่ี 13.3 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 6 (สำหรับ สพม.) - ประเมนิ ไมไ ด ตวั ชว้ี ดั ท่ี 14 รอยละของผูเรยี นท่ีจบการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 ชน้ั มธั ยมศึกษาป ดีเยย่ี ม ท่ี 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 6 มีทักษะการเรยี นรทู เ่ี ชื่อมโยงสอู าชีพและการมีงานทำตาม ความถนดั และความตอ งการของตนเอง มที ักษะอาชพี ท่สี อดคลอ งกบั ความตอ งการของ ประเทศ วางแผนชวี ิตและวางแผนทางการเงนิ ท่เี หมาะสมและนำไปปฏิบตั ไิ ด ตวั ชี้วดั ยอ ยที่ 14.1 ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 (สำหรบั สพป.) 4 ตัวช้วี ัดยอ ยที่ 14.2 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 3 1 ตัวชว้ี ดั ยอ ยที่ 14.3 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 6 (สำหรับ สพม.) - ตัวชว้ี ัดท่ี 16 ผูเรียนทกุ คนมีศกั ยภาพในการจดั การสุขภาวะของตนเองใหมีสขุ ภาวะทดี่ ี สามารถดำรงชวี ติ อยา งมคี วามสขุ ทัง้ ดา นรางกายและจิตใจ ตวั ชว้ี ดั ยอยที่ 16.1 ระดับปฐมวยั (สำหรบั สพป.) N/A ตวั ชว้ี ัดยอยที่ 16.2 ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 5 นโยบายท่ี 4 การสรางโอกาสในการเขา ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและการลดความ 3.20 ดี เหล่ือมล้ำทางการศกึ ษา 1 ปรบั ปรุง ตัวชีว้ ัดท่ี 18 ผูเรยี นทกุ คนสามารถเขา เรียนในสถานศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพเปน มาตรฐานเสมอกนั 5 ดเี ยี่ยม 5 ดีเยย่ี ม ตวั ชว้ี ดั ยอ ยที่ 18.1 ระดบั ชั้นประถมศึกษา (สำหรบั สพป.) 4 ดีมาก ตวั ช้ีวดั ยอ ยท่ี 18.2 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน (สำหรับ สพป.) - ไมป ระเมิน ตวั ช้วี ดั ยอ ยท่ี 18.3 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตัวชีว้ ัดท่ี 23 สถานศกึ ษานำเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology)มาใชเปนเคร่ืองมอื ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแ กผเู รียนไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ตวั ชีว้ ดั ยอยท่ี 23.1 สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา (สำหรบั สพป.) ตวั ชว้ี ดั ยอ ยที่ 23.2 สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา (สำหรับ สพม.)

18 นโยบาย/ตัวช้ีวดั ระดับ คำอธิบาย คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ตัวช้ีวดั ที่ 24 สถานศกึ ษามรี ะบบดแู ลชว ยเหลือนกั เรยี นและคุมครองนักเรียนและการแนะแนวท่ี 1 ปรบั ปรงุ มปี ระสิทธภิ าพ 5 ดเี ย่ยี ม นโยบายที่ 5 ดา นการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน มิตรกบั 5 ดเี ยี่ยม สง่ิ แวดลอม ตัวช้วี ดั ท่ี 26 สถานศกึ ษาในสังกัดมนี โยบายและจดั กิจกรรมใหความรูท่ถี ูกตองและสรา งจิตสำนึก 3 ดี 5 ดเี ยีย่ ม ดานการผลิตและบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมนำไปปฏิบัติใชที่บานและชุมชน เชน การสงเสริม อาชพี ทีเ่ ปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม การลดใชส ารเคมีจากปุย และยาฆาแมลง ฯลฯ 1 ปรับปรุง 3.28 ดี นโยบายที่ 6 ดานการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ตัวชี้วัดที่ 41 สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสำนักงานสวนกลางมีแพลตฟอรม ดจิ ิทัล (Digital Platform) เพอ่ื สนับสนุนภารกจิ ดานบรหิ ารจดั การศกึ ษา ตัวชี้วัดที่ 42 สถานศึกษาทุกแหงมีระบบขอมูลสารสนเทศที่สามารถใชในการวางแผนการจัด การศึกษาไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ คะแนนเฉล่ยี รวม 6 นโยบาย ตารางที่ 20 ผลการดำเนนิ งานเทียบคา เปา หมายตัวช้ีวัด นโยบาย/ตวั ช้ีวดั คา ผลการดำเนินงาน เปาหมาย ดำเนนิ การ การแปร นโยบายท่ี 1 ดา นการจัดการศึกษาเพอ่ื ความมนั่ คงของมนุษยแ ละของชาติ ตวั ชว้ี ัด ตัวชี้วัดที่ 3 รอยละของผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และมีความพรอม สามารถ ได ผล 100 0.00 ไมบรรลุ รับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่มีผลกระทบตอความมั่นคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความรนุ แรง การคกุ คามในชีวติ และทรพั ยสนิ การคา มนุษย อาชญากรรมไซเบอร และ 50 0.00 ไมบรรลุ ภยั พบิ ตั ติ าง ๆ เปนตน 100 100 บรรลุ นโยบายที่ 3 ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของทรพั ยากรมนุษย ตัวชี้วัดที่ 17 ครูมีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผูสอน”เปน “Coach” ผู คำปรกึ ษา ขอ เสนอแนะการเรยี นรหู รือผอู ำนวยการการเรยี นรู นโยบายที่ 6 ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ สถานศกึ ษา ตัวชีว้ ัดที่ 34 สถานศกึ ษาไดรบั การกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาอยาง อสิ ระ

19 2) ผลการประเมินตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 รายงานผลการตดิ ตาม และประเมนิ ผลการบริหารและจัดการของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ตามมาตรฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (พ.ศ. 2560 ) ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ตารางท่ี 21 ผลการประเมินตามมาตรฐานสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 มาตรฐานท่ี /ตัวบงช/ี้ ประเดน็ การพิจารณา ระดับ คำอธิบาย คุณภาพ ระดบั คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 การบรหิ ารจัดการองคการสูความเปนเลศิ ตัวบงชีท้ ี่ 1 การบริหารจดั การท่ดี ี 4 ดมี าก ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 ภาวะผนู ำของผบู ริหารในการนำองคการไปสู 3 ดี เปา หมาย ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 2 การใชข อมลู สารสนเทศในการบริหารและจัดการ 4 ดีมาก การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพของสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 3 การใชแ ผนเปน เคร่อื งมอื ในการบริหารและจดั 5 ดีเยย่ี ม การศึกษา ประเด็นการพิจารณาท่ี 4 การสรา งหรือประยุกตใ ชนวตั กรรม เทคโนโลยี 5 ดเี ย่ยี ม รูปแบบในการบริหารและการจดั การศึกษา ประเด็นการพจิ ารณาที่ 5 การสอื่ สาร การประชาสัมพนั ธภ ายในและ 4 ดีมาก ภายนอกสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 6 การนำผลการดำเนนิ งานมาพฒั นาการบริหาร 1 ปรับปรุง และจัดการศกึ ษา ตัวบงชท้ี ี่ 2 การพัฒนาสูองคการแหง การเรียนรู 4 ดมี าก ประเด็นการพิจารณาท่ี 2 การสง เสริมใหเกิดการจดั การความรู (Knowledge Management : KM ) และการสรา งชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชพี ( 4 ดมี าก Professional Learning Community : PLC ) และนำองคความรูมาพัฒนา ตนเอง พัฒนางานและพฒั นาองคการ โดยใชก ระบวนการวิจัย ตัวบงชที้ ่ี 3 การกระจายอำนาจและการสงเสริมการมีสวนรวมในการ 4 ดมี าก บรหิ ารและจัดการศึกษา ประเดน็ กรพจิ ารณาที่ 3 การสง เสรมิ สนับสนุน กรมีสวนรว มในการจัดการศกึ ษาข้นั 4 ดีมาก พื้นฐานของบคุ คล ครอบครวั องคก รชมุ ชน องคก ร เอกชน องคกรปกครองสว น ทอ งถิน่ องคกรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอ่ืน สรุปภาพรวมมาตรฐานท่ี 1 4 ดมี าก

20 มาตรฐานท่ี /ตัวบงช/ี้ ประเด็นการพจิ ารณา ระดับ คำอธิบาย คุณภาพ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาท่มี ปี ระสิทธภิ าพ ตัวบง ชี้ท่ี 1 การบริหารดา นวิชาการ 2 พอใช ประเดน็ การพิจารณาท่ี 6 พฒั นา สง เสรมิ สนับสนุน กำกบั ดูแล 2 พอใช ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา ตามระบบการประกันคุณภาพ การศกึ ษา 5 ดเี ยี่ยม ตวั บง ชี้ที่ 2 การบรหิ ารดานงบประมาณ 5 ดีเยี่ยม ประเดน็ การพิจารณาที่ 1 การวางแผนการใชง บประมาณอยางเปน ระบบ สอดคลอ งกับนโยบายปญ หาและความตองการ N/A N/A ตวั บงช้ีที่ 3 การบริหารดานการบริหารงานบุคคล ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 3 การพฒั นาสงเสรมิ ยกยองเชดิ ชเู กยี รติครูและ N/A N/A บุคลากรทางการศึกษาสูความเปนมืออาชพี สอดคลองกับปญหาความ ตอ งการจำเปนและสง เสริมความกา วหนา ในวชิ าชพี ของครูและบคุ ลากร 3 ดี ทางการศึกษา 3 ดี ตวั บง ชท้ี ี่ 4 การบริหารงานดานการบริหารทัว่ ไป 1 ปรบั ปรงุ ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 1 การพัฒนาระบบเครือขา ยขอมลู สารสนเทศ 1 ปรับปรุง ตวั บงชท้ี ี่ 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัด การศึกษาที่มปี ระสทิ ธิภาพ 3 ดี 5 ดเี ยี่ยม สรุปภาพรวมมาตรฐานท่ี 2 5 ดีเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3 ผลการบริหารและการจัดการศกึ ษาของสำนักงานเขต พน้ื ทีก่ ารศกึ ษา 5 ตวั บงชที้ ่ี 1 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามีผลงานทแี่ สดงความสำเรจ็ และ เปนแบบอยา งได 5 ดเี ยยี่ ม ตัวบงชี้ที่ 2 สถานศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานเพ่อื การประกันคุณภาพการศึกษา 5 ดเี ยย่ี ม 2.1 ระดับปฐมวัย 2.2 ระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ตวั บงชท้ี ี่ 3 ผเู รยี นระดับปฐมวยั และและระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานมี คณุ ภาพตามหลักสูตร ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2 ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียน ระดบั ชาติ (National Test : NT )

21 มาตรฐานท่ี /ตัวบงช/้ี ประเดน็ การพิจารณา ระดับ คำอธิบาย คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ประเด็นการพิจารณาที่ 4 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ตาม หลกั สตู รแกนการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 4.1 ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6 5 ดเี ย่ียม 4.2 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 5 ดีเยย่ี ม 4.3 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 ตัวบง ชีท้ ่ี 4 ประชากรวัยเรียนไดร ับสิทธแิ ละโอกาสทางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเทา เทยี นกนั ศกึ ษาตอในระดับท่สี งู หรือมีความรูทกั ษะพ้นื ฐานใน 5 ดีเยี่ยม การประกอบอาชีพ ประเดน็ การพิจารณาที่ 4 ผูเรียนระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานท่ีทีความ ตองการพิเศษไดร ับรบั การดูแลชว ยเหลือและสงเสริมใหไ ดรับการศกึ ษาเต็ม 5 ดเี ยย่ี ม ตามศักยภาพ 4.1 เดก็ พิการรียนรวม 4.2 เดก็ ดอ ยโอกาส 5 ดเี ยีย่ ม 4.3 เดก็ ท่ีมีความสามารถพิเศษ 5 ดีเยี่ยม ตวั บงชท้ี ี่ 5 ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ ลูกจางในสำนกั งานเขตพ้นื ท่ี การศึกษาและสถานศึกษามผี ลงานเชงิ 1 ปรบั ปรงุ ประจักษตามเกณฑ ไดรับการยกยองเชดิ ชเู กียรติ ตัวบงชี้ท่ี 6 ผรู ับบรกิ ารและผูม สี ว นไดส วนเสยี มีความพงึ พอใจในการ 1 ปรบั ปรุง บริหาร และการจัดการศึกษารวมท้งั การใหบริการ สรุปภาพรวมมาตรฐานท่ี 3 3 ดี คะแนนรวมของภาพรวม ( 3 มาตรฐาน ) 3 ดี ** หมายเหตุ N/A หมายถงึ เอกสารไมส มบูรณ/ ไมรายงานผล ไมส ามารถประเมนิ ได 3) ผลการปฏบิ ัติงานตามสภาพจรงิ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดใหความสำคัญกับการ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏบิ ัติราชการ โดยไดด ำเนนิ การประเมินตัวช้ีวัดและโครงการทก่ี ำหนดไวใน แผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปรียบเทียบกับเปาหมายที่กำหนดไว และวิเคราะหถึง ความสัมพันธและความสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย นโยบาย ผลผลิตในการดำเนินกิจกรรม/ โครงการ ตามกลยุทธพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการศึกษา ทั้งนี้ผลการปฏิบัติงาน ตามสภาพจริงของ สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 มดี งั น้ี

22 ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไดรับงบประมาณเพื่อขับเคลื่อนงานตามโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปนเงิน1,500,000บาท ใชในการดำเนินโครงการจำนวน 20 โครงการและ งบประมาณขับเคลื่อนงานตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนเงิน 1,684,428 บาท จำนวน 20 โครงการ รวมมีโครงการในการดำเนินงานจำนวน 40 โครงการ ใชงบประมาณทั้งสิ้น 3,184,428 บาท ซึง่ มีโครงการสำคญั ในแตละประเดน็ ยทุ ธศาสตร ดังน้ี ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู คูคุณธรรม มีจำนวน 7 โครงการ ดำเนินการไดตามเปาหมาย 6 โครงการ และดำเนินการไดเกินเปาหมาย 1 โครงการ ไดแก โครงการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษา กิจกรรมลูกเสือตานภัยยาเสพติด เปาหมายอบรมนักเรียน จำนวน 552 คน สามารถดำเนินการไดเ กินกวาเปา หมายทตี่ ้ังไว 431 คน คิดเปนรอ ยละ 35.96 และต่ำกวาเปา หมาย 1 โครงการ ไดแก โครงการพัฒนานักเรียนอยางมีคุณภาพดวยการจัดประสบการณเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษา เปาหมายคือครูพี่เลี้ยงที่เปนศูนยอบรมครูสะเต็มศึกษา จำนวน 90 คน เขารวมอบรมตามหลักสูตรสะเต็มศึกษาดวยระบบทางไกล จำนวน 4 รุน ผานการอบรม จำนวน 84 คน สวนท่ีเหลอื จำนวน 6 คน เนอ่ื งจากติดสถานการณโ รค COVID 19 อบรมดวยระบบทางไกลท่บี านตนเอง ยุทธศาสตรที่ 2 การขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต จำนวน 8 โครงการ ดำเนินการไดตามเปาหมาย 7 โครงการ ต่ำกวาเปาหมาย 1 โครงการ ไดแก โครงการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ (O-NET) ประจำปการศึกษา 2562 เปาหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 3 ทุกคนในศูนยสอบ สพป.นครศรีธรรมราช เขต 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยมีนักเรียนเขา สอบคดิ เปนรอยละ 97.46 และชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 มนี ักเรยี นเขา สอบคดิ เปนรอ ยละ 94.41 ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มีจำนวน 12 โครงการ ดำเนินการไดตามเปาหมาย จำนวน 9 โครงการ ต่ำกวาเปา หมาย 3 โครงการ ไดแ ก โครงการสงเสริมศักยภาพ ทางภาษา และการรูหนังสือระดับปฐมวัย เปาหมายอบรมครูปฐมวัย จำนวน 106 คน ดำเนินการได จำนวน 100 คน คิดเปนรอยละ 94.34 โครงการ พัฒนาศักยภาพบุคลากรในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เปาหมายบุคลากร ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 77 คน ดำเนินการได 59 คน คิดเปนรอยละ 76.62 และโครงการพัฒนา ศักยภาพผูบริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เปาหมาย ผูบริหารสถานศึกษา จำนวน 109 คน รองผูอำนวยการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผูอำนวยการกลุม/ หนวย จำนวน 12 คน รวม 121 คน ดำเนินการได 103 คน คิดเปนรอยละ 85.12 ยุทธศาสตรที่ 4 การผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ไมมี โครงการสนองยุทธศาสตร เนอ่ื งจากงบประมาณปรับลดจาก สพฐ. ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการและสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด การศึกษามจี ำนวน 4 โครงการ ดำเนินการไดต ามเปา หมายครบทัง้ 4 โครงการ ยุทธศาสตรที่ 6 โครงการสง เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื การศึกษา มจี ำนวน 4 โครงการ ดำเนินการไดต ามเปาหมายครบทั้ง 4 โครงการ

23 ยุทธศาสตรที่ 7 การสงเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาสูความเปนสากล มีจำนวนรวม 5 โครงการ สามารถดำเนนิ การไดต ามเปาหมาย 4 โครงการ และต่ำกวา เปาหมาย 1 โครงการ คือ โครงการยกระดับการใช ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนการสอน จำนวนงบประมาณ 49,260 บาท ใชง บประมาณไป 48,408 บาท คงเหลือ งบประมาณ 852 บาท ดานเปาหมายครูผูสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 109 คน เนื่องจากสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาปรับลดงบประมาณ ทำใหเปาหมายลดลงเหลอื ครูผูสอนภาษาอังกฤษจำนวน 52 คน คิดเปนรอยละ 47.71 ปญ หา/อุปสรรค วเิ คราะหไ ดดังน้ี 1) งบประมาณท่ีไดรบั มจี ำกัดไมเ พยี งพอตอการดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการไดครบทุกกจิ กรรม 2) ศกึ ษานิเทศกม ีขอจำกัดของเวลาท่ีไมไดน ิเทศ ติดตามอยางตอ เนอ่ื ง 3) โรงเรยี นบางโรงขาดการนิเทศอยางเปน ระบบและตอเนื่อง 4) โรงเรยี นบางโรงไมน ำผลการนิเทศมาใชใ นการปรบั ปรุงพฒั นาการเรียนการสอน 5) ขั้นตอนยุงยาก ซับซอน กลาวคือ เมื่อขาราชการครูไดรับการเปลี่ยนตำแหนงและไดรับการแตงตั้ง เปนผูอำนวยการสถานศึกษา งานสรรหาตองแตงตั้งกรรมการ 1 คณะ ใหเปนพี่เลี้ยงและเสนอรายชื่อ อีก 1 คณะ ไปยังสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเสนอบอรดคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด แตงตั้งคณะกรรมการ ประเมิน หลังจากแตงตั้งแลว ตองสงคำสั่งไปยังคณะกรรมการทั้ง 2 คณะ และสงคำสั่งไปยังผูรับการประเมิน ตองเก็บผลการโคชชิ่ง ใหกรรมการประเมินและเก็บคะแนนจากผลการประเมิน แลวกลับไปเพื่อรายงานการ ประเมินใหกับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเสนอคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด อีกครั้ง และประเมินไดไม เกนิ 10 คน เมอื่ มีโรงเรียนวา ง ศึกษาธิการจังหวัดสงั่ แตง ต้งั ผูอำนวยการสถานศึกษาจากการขึ้นบัญชี เจา หนาที่ ตอ งเสนอแตง ต้ังกรรมการชุดใหมเ พมิ่ อีก 6) การดำเนินการประเมินสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานในหนาที่ ในระยะเวลา 1 ป ตำแหนงผูอำนวยการ สถานศึกษาเปนการดำเนินกิจกรรมภายหลังการบรรจุแตงตั้งตั้งไปแลว แตผูบริหารสำนักงานยังคงใหงานสรร หาและบรรจแุ ตงตั้งเปนผูดำเนนิ การ 7). เนอ่ื งจากการดำเนินงานสรรหาและเลือกสรร พนกั งานราชการในชว งการแพรระบาดของโรคไวรัส โคโรนา 2019 (COVID 19) ทำใหยากลำบากตอการบริหารจัดการในการเวนระยะหางทางสังคม การปองกัน โรคตามมาตรการของ ศบค.และอกี ประการหน่ึง การท่ีระเบยี บทางการเงินไมใหจ ายเงนิ คาอาหารและเครื่องด่ืม สำหรับคณะกรรมการ กรณีเบิกคาตอบแทนไปแลว ซึ่งในสถานการณจริงจำเปนตองเลี้ยงอาหารและเคร่ืองดม่ื แกกรรมการ 8) ระเบียบ/แนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ ยังไมชัดเจนและรัดกุม ยากแกการตีความและทำความเขาใจ และ เกิดอปุ สรรคจากการเกดิ โรคระบาด ทำใหข น้ั ตอนการดำเนินการเปลี่ยนแปลงไมสอดคลองกับปฏิทนิ ที่กำหนด ไวในแผนงาน/โครงการ

24 9) ในการดำเนินโครงการไดรับจัดสรรงบประมาณในเวลาที่กระชั้นชิดทำใหการบริหารโครงการมี ขอกำหนดในเรือ่ งระยะเวลาดำเนินการดำเนินงาน 10) หนวยงานไมสามารถดำเนินงานตามโครงการดังกลาวไดตามวัตถุประสงคทั้งหมด เนื่องจาก ประสบปญ หาสถานการณ โควิด 19 11) การปฏิบัตงิ านตามกิจกรรม/โครงการ มีความลาชา ไมสามารถดำเนินการไดตามหว งระยะเวลาท่ี กำหนดเนื่องจาก การจัดสรรงบประมาณมีความลาชา สงผลใหการอนุมัติแผนปฏิบัติการประจำป มีความ ลาชา 12) สถานศึกษาที่จัดกิจกรรม มีขอจำกัดทำใหการทำกิจกรรมของนักเรียนเกิดความไมสะดวกในบาง กจิ กรรมและระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมนอ ยเกินไปสำหรับการทำกิจกรรมทีห่ ลากหลาย 13) ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมมนี อยเนอื่ งจากเกดิ สถานการณโ ควดิ ทำใหการดำเนินงานโครงการไม เปนไปตามแผนทวี่ างไว 14) ผูบริหาร/ครูผูสอนของโรงเรียนในสังกัดขาดความตอเนื่องในการดำเนินงานโครงการโรงเรียน คุณธรรมสพฐ. สพท. ขาดการฝก อบรมสรางความเขาใจตอ โครงการในปการศึกษา 2562 ผูบ รหิ ารและครผู ูสอน จงึ ไมส ามารถดำเนินการไดอยางตอ เนื่อง 15) โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงของครู/ผูบริหารที่รับผิดชอบโครงการ ทำใหขาดบุคลากรที่มีความ ชำนาญ 16) การเกดิ การแพรร ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กอนการจัดการสอบดวยขอสอบ มาตรฐานในการสอบปลายปของผูเรียน ปการศึกษา 2562 ทำใหโรงเรียนบางโรงเรียนหยุดการเรียนการสอน และไมสามารถทำการสอบภายในเวลาที่กำหนดไว 17) บางโรงเรียนมีครูไมครบชั้นทำใหโรงเรียนที่มีครูไมเพียงพอ ตองปดการเรียนการสอนเพื่อนำ นกั เรียนเขา สอบ และครตู องเปนกรรมการประเมินดว ย 18) นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ยงั ตอ งไดรับการดูแล ทำใหม ีอปุ สรรคในการเดินทางเขาสอบไปยัง สนามสอบ 19). ผูปกครองมอี าชพี ไมแ นนอน มปี ญ หาครอบครวั การหยา รา ง เด็กอยูกบั ปู ยา ตายายท่ีแกชรา 20) สภาพเศรษฐกจิ ผปู กครองไมดี ทำใหไ มสามารถสงเดก็ เขา เรียนตามกฎหมายกำหนด 21) ครูบางโรงเรียนไมสามารถมาอบรมที่สำนักงานเขตพื้นที่ไดเนื่องจากสถานการณ COVID 19 ซ่ึง ไดม ารับกลอ งอปุ กรณ และไดถ ายภาพรวมกิจกรรมอบรมเปนระยะใหตรวจสอบได 22) กิจกรรมบานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย ปการศึกษา 2562 โครงงานไมมีความแปลกใหม หรือความคิดริเริ่มสรางสรรคของโครงงาน มีการใชคำถามเดิม ๆ เหมือนโครงงานที่ทำมาแลวในปกอน ๆ การ ตั้งคำถามยังไมสามารถนำไปสูกระบวนการเรยี นรูแบบสืบเสาะไดอยางชัดเจน ครูขาดทักษะในการตั้งคำถามท่ี กระตุนใหเด็กเกิดความอยากรู ความสงสัย หรือความกระตือรือรนในการเรียนรู ครูผูจัดกิจกรรมไมเขาใจ

25 กระบวนการวัฏจักรการสืบเสาะที่ชัดเจนในทุกขั้นตอน ทำใหบางขั้นตอนในการจัดกิจกรรมไมมีความสมบูรณ เทาทีค่ วร ศึกษานเิ ทศกมขี อจำกัดของเวลาท่ไี มไดน เิ ทศติดตามอยา งตอเน่ือง 23) ชวงระยะเวลาในการจัดสรรงบประมาณใหสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการลาชาและ คอนขา งมจี ำกัด เน่ืองจากจะส้นิ ปง บประมาณมภี าระงานอ่ืนท่ีซำ้ ซอนมาก 24) โรงเรียนไมมีความพรอมเพ่ือรับการประเมินจากตน สงั กดั นอย เน่อื งจากเพิง่ เปด เทอม และตองทำ การเตรียมความพรอ มในการจัดการเรยี นการสอนใหผ ูเรยี น 25) เวลาในการดำเนนิ การคอ นขางมีจำกดั และมีงานอ่นื ซ้ำซอ น สพฐ.จดั สรรงบประมาณลาชา 26) งบประมาณที่ไดรับจัดสรรไมเพียงพอกับสภาพความเปนจริงในการซอมบำรุงอุปกรณ DLTV ควร จัดสรรใหมากขึ้น และควรจัดสรรครุภัณฑประเภทเครื่องรับโทรทัศนทดแทนใหเปนรุนใหมทั้งหมด เนื่องจาก เครอ่ื งรับโทรทัศนท่ีไดร ับจัดสรรคร้ังแรกเปน เคร่ืองรุนเกาไมเ หมาะกับการเผยแพรออกอากาศในปจจุบันที่เปน ความละเอียดสูง และเครื่องสว นใหญชำรุดเสียหายไมส ามารถซอ มแซมได 27) เนื่องจากสถานการณการจัดการเรียนการสอนในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส โค โรนา 2019 (COVID-19 ) การจดั กิจกรรมการประชุม การอบรม สมั มนา จึงเปนกิจกรรมท่ีตองหลีกเล่ียง จึงไม สามารถดำเนนิ การจัดกจิ กรรมดังกลา วได 28) ครูขาดทักษะและความชำนาญในการนำเทคโนโลยีมาใชใ นเร่ืองการตัดตอ คลิปวดี ิทศั น

26 สว นท่ี 2 แนวคิด นโยบายและทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ในการดำเนินงานจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกลุมนิเทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 โดยนอม นำพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั นโยบายรัฐบาลตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครศรีธรรมราช และนโยบายสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๑ เปน แนวทางในการขบั เคลื่อน เพือ่ ใหสอดคลองกบั วิสัยทัศน พันธกจิ ยุทธศาสตร นโยบาย จุดเนน ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 มีรายละเอยี ดดงั นี้ พระบรมราโชบายดา นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว รัชกาลท่ี 10 การศึกษาตองมงุ สรางพืน้ ฐานใหแ กนกั เรยี น 4 ดาน ดังนี้ 1. มที ศั นคตทิ ี่ถูกตอ งตอบานเมอื ง 1.1 ความรคู วามเขาใจตอ บานเมือง 1.2 ยดึ ม่นั ในศาสนา 1.3 มนั่ คงในสถาบันพระมหากษัตรยิ  1.4 มคี วามเออ้ื อาทรตอครอบครัวและชุมชนของตน 2. มีพน้ื ทีฐ่ านทีม่ น่ั คง- มคี ณุ ธรรม 2.1 รจู กั แยกแยะส่ิงผิด-ชอบ ชั่ว-ดี 2.2 ปฏิบัติแตสิ่งที่ชอบ ส่ิงที่ดีงาม 2.3 ปฏเิ สธสง่ิ ที่ผิด-ส่งิ ท่ชี ั่ว 2.4 ชวยกนั สรา งคนดีใหแกบ า นเมือง 3. มีงานทำ-มีอาชีพ 3.1 การเล้ยี งดลู ูกหลานในครอบครัวหรอื การฝก ฝนอบรมในสถานศึกษา ตอ งมงุ ให เด็กและเยาวชน รกั งาน สงู าน ทำจนงานสำเรจ็ 3.2 การฝกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลกั สูตรตองมีจุดมุงหมายใหผูเรียน ทำงานเปนและมี งานทำในท่ีสุด 3.3 ตอ งสนบั สนนุ ผูสำเร็จหลกั สูตรอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลยี้ งตนเองและ ครอบครวั 4. เปนพลเมืองดี 4.1 การเปน พลเมืองดีเปน หนาทข่ี องทุกคน 4.2 ครอบครัว สถานศึกษา และสถานประกอบการตองสงเสริมใหทุกคนมีโอกาสใน การทำหนาท่ี เปน พลเมอื ง

27 4.3 การเปนพลเมอื งดี เห็นอะไรทจี่ ะทำเพ่อื บานเมอื งไดก็ตองทำ เชน งาน อาสาสมัคร งานบำเพ็ญ ประโยชน งานสาธารณสขุ ใหท ำดว ยความมนี ำ้ ใจ และความเอ้ืออาทร ยุทธศาสตรชาตริ ะยะ 20 ป (พ.ศ.2561-2580) กรอบยทุ ธศาสตรชาติทัง้ 6 ดา น ซงึ่ ในแตละยุทธศาสตร มรี ายละเอียดดงั ตอ ไปนี้ 1. ยุทธศาสตรด า นความม่นั คง 1.1 เสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข 1.2 ปฏริ ปู กลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการ เมอื งขจดั คอรัปชั่น สรางความ เช่ือมนั่ ในกระบวนการยตุ ธิ รรม 1.3 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบรอยภายในตลอดจนการบริหาร จัดการความ มัน่ คงชายแดนและชายฝง ทะเล 1.4 การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความรวมมือระหวางประเทศ ทุกระดับ และรักษาดุลย ภาพความสัมพันธกบั ประเทศ มหาอำนาจ เพื่อปอ งกันและแกไ ขปญหาความมั่นคง รปู แบบใหม 1.5 การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพการผนึกกำลังปองกันประเทศการรักษาความสงบ เรียบรอย ภายในประเทศ สรางความรวมมือกับประเทศเพื่อนบา นและมติ รประเทศ 1.6 การพัฒนาระบบการเตรยี มพรอมแหงชาติและระบบบรหิ าร จัดการภยั พบิ ัตริ ักษา ความม่ันคง ของฐานทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ ม 1.7 การปรบั กระบวนการทำงานของกลไกทเี่ กย่ี วของจากแนวดิง่ สแู นวระนาบ มากข้ึน 2. ยทุ ธศาสตรดา นการสรา งความสามารถในการแขง ขัน 2.1 การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ สง เสริมการคา การลงทนุ พัฒนาสชู าติการคา 2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการเสริมสรางฐานการผลิตเขมแข็งยั่งยืน และ สงเสริม เกษตรกรรายยอยสเู กษตรยั่งยืนเปนมิตรกบั สง่ิ แวดลอม 2.3 การพัฒนาผูประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทกั ษะ ผปู ระกอบการ ยกระดับผลิตภาพ แรงงานและพัฒนา SMEs สสู ากล 2.4 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดนและ พัฒนา ระบบเมอื งศูนยกลางความเจรญิ 2.5 การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ดานการขนสง ความมั่นคงและพลังงานระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศและการวจิ ยั พัฒนา 2.6 การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สรางความเปนหุนสวน การพัฒนากับ นานา ประเทศ สง เสรมิ ใหไทยเปน ฐานของการประกอบธุรกิจ ฯลฯ 3. ดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งชวี ิต

28 3.2 การยกระดับการศึกษาและการเรียนรใู หมีคุณภาพเทาเทยี มและทัว่ ถงึ 3.3 ปลูกฝง ระเบยี บวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยมท่พี ึงประสงค 3.4 ปลกู ฝง ระเบียบวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นิยมทพี่ งึ ประสงค 3.5 การสรา งความอยดู มี ีสขุ ของครอบครวั ไทยไกในการสนับสนนุ การพัฒนา 4. ดานการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 สรางความมน่ั คงและการลดความเหลือ่ มลา ทางเศรษฐกจิ ทางสังคม 4.2 พฒั นาระบบบรกิ ารและระบบบรหิ ารจัดการสขุ ภาพ 4.3 มสี ภาพแวดลอ มและนวัตกรรมทเ่ี อื้อตอ การดำรงชีวติ ในสังคมสงู วัย 4.4 สรา งความเขมแข็งของสถาบันทางสงั คมทนุ ทางวัฒนธรรมและความเขมแข็งของชมุ ชน 4.5 พัฒนาการสื่อสารมวลชนใหเ ปน กลไกในการสนบั สนุนการพัฒนา 5. ดานการสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เปนมิตรตอ สง่ิ แวดลอ ม 5.1 จัดระบบอนรุ กั ษ ฟน ฟแู ละปองกนั การทลายทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบริหารจัดการน้ำใหมีประสิทธิภาพใน 25 ลุมน้ำ เนนการปรับระบบการ บริหาร จัดการอุทกภัยอยางบรณู าการ 5.3 พฒั นาและใชพลงั งานท่ีเปน มติ รกับสงิ่ แวดลอมในทุกภาคเศรษฐกิจ 5.4 พฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศและเมืองท่ีเปน มติ รกบั สิง่ แวดลอ ม 5.5 รวมลดปญหาโลกรอ นและปรบั ตัวใหพ รอ มรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5.6 ใชเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรแ ละนโยบายการคลงั เพ่ือสงิ่ แวดลอมของครอบครัว 6. ดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั 6.1 การปรับปรุงโครงสรา ง บทบาทภารกิจของหนวยงานภาครัฐใหมีขนาดท่ีเหมาะสม 6.2 การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครฐั 6.4 การตอ ตานการทจุ ริตและพฤติมิชอบ 6.5 การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบยี บตา งๆ 6.6 ใหท นั สมยั เปนธรรมและเปน สากล 6.7 พัฒนาระบบการใหบรกิ ารประชาชนของหนว ยงานภาครัฐ 6.8 ปรบั ปรงุ การบริหารจดั การรายไดแ ละรายจา ยของภาครัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2560-2564) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติฉบับท่ี12 พ.ศ. 2560 - 2564 สําหรับใชเปนแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปซึ่งเปนการ แปลงยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป สูการปฏิบตั ิอยา งเปนรูปธรรมเพื่อเตรียมความพรอมและวางรากฐานในการ ยกระดับประเทศไทยให เปนประเทศที่พัฒนาแลว มีความมั่งคั่ง ยั่งยืนดวยการพัฒนาตามปรัชญาของ

29 เศรษฐกิจพอเพียงประกอบ ดวย 10 ยุทธศาสตรซึ่งเกี่ยวของกับภารกิจของสํานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร 9 ยุทธศาสตร ดงั น้ี ยุทธศาสตรท่ี 1 การเสรมิ สรา งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย ยุทธศาสตรท ี่ 2 การสรางความเปนธรรม ลดความเหลอื่ มล้ำในสงั คม ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การสรางความเขม แข็งทางเศรษฐกิจและแขง ขันไดอ ยางย่ังยืน ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การเตบิ โตทเ่ี ปน มิตรกับสง่ิ แวดลอมเพือ่ การพัฒนาอยา งย่ังยนื ยุทธศาสตรที่ 5 การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสูความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐการปอ งกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน สงั คมไทย ยุทธศาสตรท ี่ 7 การพัฒนาโครงสรา งพน้ื ฐานและโลจิสติกส ยุทธศาสตรที่ 8 การพฒั นาวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ยุทธศาสตรที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ กลุมพัฒนาระบบบริหารสํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสวนเกี่ยวของกับยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการ ทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย เพื่อใหภาครัฐมีขนาดเล็ก มีการบริหารจัดการที่ดีและได มาตรฐานสากล แผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการไดกาํ หนดสาระสําคัญของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ( ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร บั จัดสรร ) ดังน้ี วิสัยทัศน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสิทธิภาพ ผูเรยี นไดรบั การเรยี นรูตลอดชีวิต อยา ง มคี ณุ ภาพและมีทักษะทจ่ี าํ เปน ในศตวรรษท่ี 21 คานยิ ม TEAMWINS T = Teamwork การทํางานเปน ทีม E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทํางาน A = Accountability ความรับผดิ ชอบ M = Morality and Integrity การมศี ลี ธรรมและมีความซือ่ สตั ย W = Willful ความมงุ มัน่ ตัง้ ใจทํางานอยางเตม็ ศักยภาพ I = Improvement การพัฒนาตนเองอยางตอ เนือ่ งสม่ำเสมอ N = Network and Communication การเปน เครอื ขายท่ีมปี ฏสิ มั พนั ธท ดี่ ตี อกัน S = Service Mind การมจี ติ มงุ บริการ

30 พนั ธกิจ 1) สงเสริม สนับสนุน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ ทุกพื้นที่อยางมี ประสิทธิภาพ สง ผลตอ การพัฒนาคุณภาพของผเู รยี น 2) สง เสริม สนบั สนนุ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษา ตาม อัธยาศยั ใหสอดคลองกบั ทกั ษะทีจ่ าํ เปนในศตวรรษท่ี 21 3) สงเสริม สนับสนุนการสรางโอกาส และความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาอยางทั่วถึง ตาม ศักยภาพของผเู รยี น เพื่อลดความเหลือ่ มลำ้ ทางการศึกษา 4) สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะของขาราชการ พล เรือน และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอืน่ ทส่ี ง ผลตอการปฏบิ ตั งิ านในศตวรรษที่ 21 เปาประสงครวม 1) สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการมีการบรหิ ารและการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการ ตามหลักธรร มาภิบาล 2) ผเู รยี นมีการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตท่มี ีคุณภาพ และมีทักษะทีจ่ าํ เปน ในศตวรรษที่ 21 3) ผเู รียนไดรับโอกาสเขา ถงึ การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพอยางท่ัวถึงและเสมอภาค 4) ขา ราชการพลเรือนและบุคลากรทางการศึกษาอื่นมีสมรรถนะการปฏิบัติงานในศตวรรษที่ 21 แผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทำแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ป (พ.ศ.2563-2565) ที่สอดคลองเชื่อมโยง กับยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561 - 2580)แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 -2564) นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความมั่นคง เพื่อใหทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการใชเปนกรอบแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการซึ่งมี สาระสำคัญ 5 เรอื่ ง ไดแ ก 1)การจัดการศึกษาเพอื่ ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ 2)การผลติ และพัฒนา กำลังคน การวิจยั และนวตั กรรมเพ่อื สรา งขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศ 3)การพัฒนาศักยภาพคน ทุกชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรียนรู 4)การสรางโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมทาง การศึกษา และ5)การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาโดยมีเปาหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการ พฒั นา แผนงาน/โครงการสำคัญในแผนปฏิบัตริ าชการ แตล ะเรื่องดงั กลา ว วิสยั ทศั น “สรางคุณภาพ ทนุ มนษุ ย สสู งั คมอนาคตทย่ี ัง่ ยนื ” พนั ธกจิ 1) จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข

31 2) พัฒนาผูเรียนใหม คี วามสามารถ ความเปนเลิศทางวิชาการเพือ่ สรา งขดี ความสามารถในการแขง ขนั 3) พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพผูเรียนใหมสี มรรถนะตามหลักสตู รและคุณลกั ษณะในศตวรรษท่ี21 4) สรางโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการทางการศึกษาอยาง ทั่วถึงและเทาเทยี ม 5) พฒั นาผบู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเปนมอื อาชพี 6) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและเปา หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 7)ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั (Digital Technology) เพอ่ื พัฒนามงุ สู Thailand 4.0 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปง บประมาณ พ.ศ.2564-2565 เมื่อวันที่ 16ธันวาคม 2563 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนังสือเรื่อง นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณพ.ศ.2564-2565 ถึงผูอำนวยการสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาทุกเขต วา ดวยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดกำหนดนโยบายสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ถึง 2565 โดยสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติพ.ศ. 2561 ถึง 2580 แผนปฏิรูป ประเทศดานการศกึ ษาโดยเฉพาะกิจกรรมปฏิรูปประเทศ ที่จะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอประชาชนอยา ง มนี ัยสำคญั ท่ีมีความสำคัญเรงดว น สามารถดำเนนิ การวดั ผลไดอยางเปนรปู ธรรมในชวงป พ.ศ. 2564 ถึง 2565 ในสว นทีเ่ กีย่ วของกบั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไดแ ก 1) การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาระดบั ปฐมวยั 2) การจัดการเรียนการสอนสกู ารเรยี นรฐู านสมรรถนะเพือ่ ตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21 3) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลติ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหม คี ุณภาพมาตรฐาน รวมทั้งนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการดังนั้นเพื่อใหการดำเนินการเกิดผลสัมฤทธิ์ จึงกำหนด นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานปงบประมาณ 2564 ถงึ 2565 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุงมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานใหเปน \"การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานวถิ ใี หม วิถคี ณุ ภาพ\" มุงเนนความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา สงเสริมโอกาสทางการศกึ ษาท่ีมี คุณภาพอยางเทาเทียม และบริหารจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดังน้ี 1) ดานความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยใหกับผูเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมี สุขภาวะท่ีดี สามารถปรบั ตัวตอโรคอบุ ัตใิ หมและโรคอุบัติซำ้

32 2) ดานโอกาส 1) สนับสนุน ใหเด็กปฐมวัยไดเขาเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ทั้งทางรางกาย จิตใจ วินัยอารมณ สงั คม และสติปญ ญา ใหส มกับวยั 2) ดำเนินการ ใหเด็กและเยาวชนไดรับการศึกษาจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางมีคุณภาพตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะหตนเองเพื่อการศึกษาตอ และประกอบอาชีพตรง ตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งสง เสรมิ และพฒั นาผเู รยี นทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษ สูความเปนเลศิ เพ่อื เพิ่มขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศ 3) พัฒนาระบบดูแลชวยเหลือเด็กและยาวชนที่อยูในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปองกันไมใหออก จากระบบการศึกษา รวมทั้งชวยเหลือเด็กตกหลนและเด็กออกกลางคันใหไดรับการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางเทา เทยี มกนั 4) สงเสริมใหเด็กพิการและผูดอยโอกาส ใหไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพมีทักษะในการ ดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองไดอยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) ดานคณุ ภาพ 1) สงเสริมการจัดการศึกษาใหผูเรียนมีความรู มีทักษะการเรียนรูและทักษะที่จำเปนของโลกใน ศตวรรษที่ 21 อยางครบถวน เปนคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข มีทศั นคตทิ ี่ถูกตองตอ บานเมือง 2) พัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะและทักษะดานการอาน คณิตศาสตร การคิดข้ันสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดิจิทัลและภาษาตางประเทศ เพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขงขันและการเลือก ศึกษาตอเพ่ือการมีงานทำ 3) ปรับหลกั สตู รเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เนน การพัฒนาสมรรถนะหลักทจี่ ำเปนในแตละระดับ จัดกระบวนการเรียบรูแบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งสงเสริมการจัดการเรียนรูที่สรางสมดุลทุกดานสงเสริมการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหปุ ญ ญา พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลผูเรียนทุกระดับ 4) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเปนครูยุคใหม มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหนาที่ไดดี มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีดิจิทลั มกี ารพฒั นาตนเองทางวิชาชีพอยา งตอเนื่อง รวมทัง้ มจี ติ วิญญาณความเปน ครู 4) ดา นประสิทธิภาพ 1) พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใชพื้นที่เปนฐาน มีนวัตกรรมเปนกลไกหลักในการขับเคลื่อนบน ฐานขอมลู สารสนเทศทีถ่ ูกตอ ง ทนั สมยั และการมสี ว นรว มของทกุ ภาคสว น 2) พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนท่ี สามารถดำรงอยูไดอยางมคี ณุ ภาพ(Stand Alone) ใหมคี ณุ ภาพอยา งยง่ั ยนื สอดคลอ งกับบริบทของพ้นื ที่ 3) บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1-3 นอ ยกวา 20 คน ใหไ ดร บั การศึกษาอยา งมีคุณภาพ สอดคลอ งกบั นโยบายโรงเรียนคณุ ภาพของขุมชน

33 4) สงเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงคเฉพาะและสถานศึกษาที่ต้ัง ในพื้นทล่ี ักษณะพเิ ศษ 5) สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรรมการศึกษาใหเปนตนแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเพ่ิม ความคลองตวั ในการบริหารและการจัดการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 6) เพ่ิมประสทิ ธิภาพการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน แผนปฏิบตั ิราชการประจำปง บประมาณ พ.ศ.2564 ของจังหวดั นครศรีธรรมราช วสิ ัยทศั น “นครแหง อารยธรรม นา อยู นาเที่ยว การเกษตรและอตุ สาหกรรมยง่ั ยืน” พนั ธกิจ 1) เพิ่มขีดความสามารถการบริหารจัดการภาคเกษตรเชื่อมโยงความหลากหลายทางธุรกิจและ อตุ สาหกรรมของจังหวดั บนพน้ื ฐานการสนบั สนนุ จากระบบโลจสิ ตกิ สแ ละบริหารจัดการดานการตลาด 2) พัฒนาการทองเทยี่ วใหมีคุณภาพเติบโตอยา งเขมแข็งม่นั คงบนพ้ืนฐานการจดั การความหลากหลาย ของทรัพยากร 3) เพมิ่ ขีดความสามารถการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ มและพลังงาน 4) ยกระดับความสามารถการเรียนรู กระจายการเรียนรูบนเครือขายชุมชนและสงเสริมการสราง ชมุ ชนตนแบบความพอเพียง 5) พฒั นาคน องคก ร ระบบสวัสดกิ ารสังคมและความม่นั คงบนพนื้ ฐานการบรหิ ารกจิ การบา นเมืองท่ดี ี จุดยืนการพฒั นาของจังหวัด จากขอมูลการวิเคราะหศักยภาพของจังหวัด และกำหนดทิศทางการพัฒนายุทธศาสตรในภาพรวม ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ไดกำหนดจุดยืนการพัฒนาของจงั หวัด 3 ประเดน็ ดงั น้ี 1) เมืองสืบสานศิลปวัฒนธรรม สงบสขุ นาเทยี่ ว 2) เมืองเกษตรนวตั กรรม และอตุ สาหกรรมสเี ขียว 3) ศนู ยก ลางการคมนาคมขนสง และกระจายสินคา ของภาคใต เปาหมายการพัฒนา 1) เพิ่มรายไดจากการเกษตร อุตสาหกรรมและการทอ งเท่ยี ว ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ 2) เพมิ่ รายไดจากการทองเที่ยว 3) ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มไดร บั การจดั การอยา งมีประสิทธภิ าพและยัง่ ยืน 4) ประชาชนยดึ หลักธรรมในการดำเนินชีวิตและมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ขี ้นึ 5) ศิลปวัฒนธรรม และประเพณมี ีการสบื สานอยา งตอเนื่อง ประเด็นการพัฒนา 1) การบริหารจัดการเกษตรและอุตสาหกรรมสมู าตรฐานครบวงจรและเปนมติ รกับสิ่งแวดลอ ม 2) การพฒั นาการทอ งเทีย่ วบนพืน้ ฐานธรรม ธรรมชาติและศลิ ปวฒั นธรรม

34 3) การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มอยางยง่ั ยนื 4) การพัฒนาคน ชุมชน และสังคมใหนาอยเู ขมแข็งตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 5) การรกั ษาความมัน่ คงและความสงบเรยี บรอ ย 6) การสงเสรมิ ศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปง บประมาณ พ.ศ.2564 ของสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 วิสยั ทศั น เนน คุณภาพ มาตรฐาน บรหิ ารจัดการแบบมสี วนรว ม พนั ธกจิ พันธกจิ ท่ี 1 จัดการศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สรา งความม่นั คงของสถาบันหลักของชาตแิ ละการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข พันธกิจที่ 2 พัฒนาผเู รยี นใหม ีความสามารถความเปนเลศิ ทางวิชาการเพื่อสรา งขีดความสามารถ ในการแขง ขนั พันธกจิ ที่ 3 พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผูเ รียนใหม ีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลกั ษณะ ศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 4 สรางโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการทางการศึกษา อยางท่วั ถึงและเทาเทยี ม พันธกจิ ที่ 5 พฒั นาผบู รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหเปนมืออาชีพ พันธกิจที่ 6 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและเปา หมายโลกเพ่อื การพัฒนาที่ย่ังยนื (Sustainable Development Goals:SDGs) พันธกิจที่ 7 ปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Technology) เพื่อพฒั นามุง สู Thailand 4.0 คำขวัญ องคกรดี มมี าตรฐาน บรกิ ารประทบั ใจ เปาหมาย 1) ผูเรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทศั นคตทิ ี่ถูกตองตอบานเมือง มีหลกั คิดท่ีถูกตองและเปนพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมที่พึงประสงค มีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น ซื่อสัตย สุจริต มธั ยัสถ อดออม โอบออ มอารี มีวินัย รักษาศลี ธรรม 2) ผูเรยี นทมี่ ีความสามารถพิเศษดานวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า ภาษาและ อน่ื ๆ ไดร ับการพฒั นาอยา งเต็มตามศักยภาพ สรา งความสามารถในการแขง ขนั

35 3) ผูเ รยี นเปนบคุ คลแหงการเรียนรู คดิ รเิ รม่ิ และสรางสรรคนวัตกรรม มคี วามรู มีทกั ษะ มสี มรรถนะ ตามหลกั สูตรและคุณลกั ษณะของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 มสี ขุ ภาวะท่ีเหมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการ พึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการเปนพลเมือง พลโลกที่ดี (GLOBAL CITIZEN) พรอมกา วสูสากล นำไปสกู ารสรา งความสามารถในการแขงขันของประเทศ 4) ผบู ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนบุคคลแหงการเรียนรู มคี วามรแู ละจรรยาบรรณตาม มาตรฐานวิชาชีพ 5) ผูเรยี นที่มคี วามตองการจำเปนพิเศษ (ผูพกิ าร) กลุมชาติพนั ธุ กลุมผดู อ ยโอกาสและกลุม ท่ีอยูใน พ้ืนท่ีหางไกลทรุ กันดารไดร ับการศึกษาอยางทั่วถึง เทาเทียมและมคี ณุ ภาพ 6) สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development Goals:SDGs) และสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมตามหลักของปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง 7) สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษามีสมดลุ ในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล มีระบบขอมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและการรายงานผลอยางเปน ระบบ ใชงานวิจัย เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการขบั เคล่อื นคุณภาพการศึกษา นโยบาย นโยบายที่ 1 ดานการจดั การศึกษาเพอื่ ความม่ันคงของมนษุ ยและของชาติ นโยบายท่ี 2 ดา นการจดั การศึกษาเพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ นโยบายที่ 3 ดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย นโยบายที่ 4 ดานการสรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลด ความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา นโยบายท่ี 5 ดา นการจดั การศึกษาเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอม นโยบายท่ี 6 ดา นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา เปา ประสงค 1) ผูเรียนทุกคนมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ระบบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2) ผูเรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอง เปนพลเมืองดีของชาติมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี านิยมที่พงึ ประสงค มจี ิตสาธารณะ มจี ติ อาสา รับผดิ ชอบตอครอบครวั ผูอืน่ และสังคม 3) ผูเ รยี นทุกระดบั มคี วามเปน เลศิ มที ักษะท่จี ำเปนในศตวรรษท่ี 21 4) ผูเ รยี นมคี วามเปน เลิศตามความถนัดและความสนใจนำไปสูการพัฒนาทักษะวิชาชีพเปน นักคิด เปนผสู รา งนวัตกรรมเปน นวัตกร 5) ผเู รยี นไดรบั โอกาสเขาสูเวทีการแขงขันระดับนานาชาติ 6) หลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการพัฒนาที่สอดคลองกับ แนวโนม การพฒั นาของประเทศ

36 7) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู 8) ผูเรียนไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เชื่อมโยงสูอาชีพและการมีงานทำ มีทักษะอาชีพ ที่สอดคลอ งกับความตอ งการของประเทศ 9) ผูเรียนไดรับการพัฒนาตามจุดมุงหมายของหลักสูตรและมีทักษะความสามารถที่สอดคลองกับ ทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ 21 มีความยืดหยุนทางดานความคิด สามารถทำงานรว มกับผูอื่นไดภายใตส ังคมที่ เปนพหุวัฒนธรรม รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรูเพื่อการวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในแตละชวงวัยและนำไป ปฏบิ ัตไิ ด 10) ผเู รียนไดร ับการพัฒนาใหมศี ักยภาพในการจดั การสุขภาวะของตนเองใหมสี ุขภาวะทีด่ ี สามารถ ดำรงชีวติ อยา งมีความสขุ ทง้ั ดา นรา งกายและจติ ใจ 11) พฒั นาคุณภาพผูบรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 12) ผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มีศักยภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม 13) สรางโอกาสใหประชากรวัยเรียนทุกคนเขาถึงการบริการการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานเสมอ กนั และลดความเหลอื่ มลำ้ ดานการศกึ ษา 14) สถานศกึ ษามีคุณภาพและมมี าตรฐานตามบรบิ ทของพ้ืนที่ 15) นำเทคโนโลยีดิจิทัล (DigitalTechnology) มาเปนเครื่องมือใหผูเรียนไดมีโอกาสเขาถึงบริการ ดา นการศึกษาไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ 16) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาทุกแหงมีการปรับปรุงพัฒนาหนวยงานใหเปน สำนกั งานสเี ขยี ว 17) สถานศึกษาหรือกลุมสถานศึกษามีความเปนอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุม ดา นการบรหิ ารวชิ าการ ดานการบริหารงบประมาณ ดานการบรหิ ารงานบคุ คล และดานการบรหิ ารงานท่ัวไป 18) หนวยงานทกุ ระดับมีความโปรงใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ บรหิ ารจดั การตามหลัก ธรรมาภบิ าล 19) หนวยงานทุกระดับพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล (DigitalTechnology) มาใชในการ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการเรยี นการสอนอยางเปนระบบ แนวทางดำเนนิ การ 1) พฒั นาผเู รยี นใหเ ปน พลเมืองดขี องชาตแิ ละเปนพลโลกที่ดี 2) ปลกู ฝง ความมรี ะเบียบวินัย ทัศนคติทถ่ี ูกตอ งโดยกระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด 3) พัฒนาผูเรียนใหมีความพรอม สามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรงที่มี ผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศ 4) พัฒนาคุณภาพผูเรียนเต็มตามศักยภาพ นำไปสูความเปนเลิศดานวิชาการ ตามความสามารถ ความสนใจ มที กั ษะทจี่ ำเปน ในศตวรรษท่ี 21 สรา งขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ 5) จดั การเรียนรูเ พ่ือสรางทกั ษะพนื้ ฐานเช่อื มโยงสูการสรา งอาชีพและการมงี านทำ

37 6) พัฒนาหลกั สตู รทกุ ระดบั การศึกษา 7) จัดการเรยี นรดู ว ยวธี ีการ Active Learning 8) จดั การเรยี นการสอนเพ่ือฝกทักษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเปนขนั้ ตอน (Coding) 9) จดั การเรียนรูดวย STEM Education 10) การใชด จิ ทิ ลั แพลตฟอรมเพอ่ื สรางอาชพี 11) พฒั นาศักยภาพและคณุ ภาพของผเู รยี น 12) การเรยี นภาษาอังกฤษเพอ่ื ใชใ นการสื่อสารและเพมิ่ ทักษะสำหรบั ใชในการประกอบอาชีพ 13) การสงเสรมิ ทักษะการอา น เขียน ภาษาไทยเพื่อใชเปนเครอื่ งมอื ในการเรยี นรูวิชาอื่น 14) ครู เปลี่ยนบทบาทจาก“ครูผูสอน”เปน“Coach”ผูใหคำปรึกษาขอเสนอแนะการเรียนรู หรือผูอำนวยการการเรียนรู 15)การพัฒนาครูใหมีความชำนาญในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาคอมพิวเตอร (Coding) 16) สรางความรวมมือกับองคกรปกครองระดับทองถิ่น ภาคเอกชน หนวยงานที่เกี่ยวของในการจัด การศึกษาใหสอดคลองกบั บริบทของพน้ื ที่โดยจัดการเรียนรกู ารเขาถึงโอกาสทางการศึกษาในทุกกลุม 17) การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภทใหมีคุณภาพและมาตรฐานเพื่อการ ประกันคุณภาพการศึกษาตามบรบิ ทของพื้นท่ี 18) การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เปนเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพ ของผเู รียน 19) สง เสรมิ สนบั สนุน พฒั นาใหส ถานศึกษาบริหารจดั การหนว ยงานเปนสำนกั งานสเี ขียว 20) ใหส ถานศึกษาหรอื กลุมสถานศกึ ษามคี วามเปนอสิ ระในการบรหิ ารจัดการศึกษา 21) สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษานำเสนอผลงานทแ่ี สดงถึงความสำเร็จและเปน แบบอยางได 22) โครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ

38 สวนที่ 3 ทิศทางการดำเนนิ งานตามกรอบภาระงานทีไ่ ดรับมอบหมาย บทบาทหนา ที่ของกลุมนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ภารกิจหลกั ของการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา คือ การชว ยเหลอื แนะนำ สง เสริม สนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งคณุ ภาพดานการบรหิ ารจัดการและคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ซ่ึง ตองเกย่ี วขอ งกับงานหลายดานและบุคลากรหลายฝาย โดยผูน เิ ทศตองทำหนา ทใี่ น 5 บทบาทสำคัญ ไดแ ก 1. การเปนผูประสาน (Coordinator) เชน ประสานงานระหวางหนวยงานตนสังกัดกับโรงเรียน ประสานใหครแู ตล ะระดับใหค วามชว ยเหลอื ซึ่งกนั และกัน ประสานชุมชน ผปู กครองกบั ครู เปน ตน 2. การเปน ท่ปี รกึ ษา (Consultant) โดยเปนที่ปรึกษาใหคำแนะนำแกครแู ละผรู ับการนิเทศทัว่ ไป 3. การสอนงานและการเปนพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ไดแกการสามารถฝกหรือสอนการ ทำงาน และเปน พี่เล้ียงใหแกผ ูอ่ืนได 4. การเปน ผูนำกลุม (Group Leader) คือตองรูวธิ ที จี่ ะทำงานรว มกับกลมุ ใหประสบผลสำเร็จ 5. การเปนผูประเมิน (Evaluator) ไดแก เปนผูประเมินผลหลักสูตร ประเมินผลการจัดการเรียนการ สอน ประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรยี นท่ีเกีย่ วของกระบวนการนิเทศ ประเมนิ คณุ ภาพผูเรยี นในสมรรถนะ ตา ง ๆ เปนตน ความสำเร็จของการปฏิบัติการนิเทศการจัดการศึกษานั้น ศึกษานิเทศกตองใชบทบาททั้ง 5 นี้เปน สำคัญ แตจะเลือกใชบทบาทใดเปนหลักในการนิเทศนั้นอาจขึ้นอยูกับเรื่องที่นิเทศ สถานการณ ความจำเปน รวมทั้งความถนัดของผูนิเทศเองดวย อยางไรก็ตามจะตองมีการปฏิบัติการนิเทศอยางทั่วถึงและตอเนื่องจึงจะ ทำให “ภารกจิ หลกั ” น้ี ประสบความสำเรจ็ อยางสมบรู ณและสงา งาม กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 มหี นาทดี่ ำเนินการเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา วเิ คราะห วิจยั ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการพัฒนาระบบการบรหิ ารและจัดการศึกษา เพื่อใหสถานศึกษามีความเขมแข็งในการบริหารและ จัดการเรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐานเทาเทียมกันโดยยึดโรงเรียนเปนฐาน สงผลใหผูเรียนเกิด การเรียนรูตามวัตถุประสงค และเปาหมายของการศึกษา เพื่อใหการนิเทศการศึกษาเปนกลไกสำคัญในการ ขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาจึงจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อใชเปนแนวทางในการดำเนินงานของกลุมนิเทศติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษาและแนวทางในการขับเคลื่อนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ของ โรงเรียนในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 และเพ่อื นเิ ทศ ตดิ ตาม และ ประเมินผลการจัดการศึกษา การดำเนินงานโครงการในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาตามนโยบายของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1เพอื่ ใหก ารนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาสงผลดีตอการ

39 พัฒนาคุณภาพการศึกษา กลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 ไดก ำหนดทิศทาง แผนงานและแนวดำเนนิ การไวดังตอ ไปนี้ กรอบภาระงานท่ีไดร ับมอบหมายในปงบประมาณ 2564 ภาระงานตามคำสง่ั ตามคาํ สง่ั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ที่ 12/2564 เรอ่ื ง การมอบหมายใหปฏิบตั ิหนาท่ีและกําหนดหนาท่ีความรับผดิ ชอบของขา ราชการและลูกจางสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ลงวนั ที่ 21 มกราคม 2564 ไดร บั มอบหมายใหร ับผดิ ชอบงาน ดังน้ี 1. ปฏิบัติหนาทแ่ี ทนผูอำนวยการกลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา คนท่ี 1 2. ปฏบิ ัตหิ นาทห่ี วั หนา กลุมงานสง เสรมิ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโดยมีภาระงานดงั นี้ 2.1 งานการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 2.2 งานตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 2.3 งานศึกษาคน ควา วิเคราะห วจิ ยั พัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.4 งานสงเสริมและประสานการรายงานและประเมนิ คณุ ภาพ 3. งานสงเสริมและพัฒนาสื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 3.1 งานสงเสริม พัฒนาสือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 3.2 งานศึกษาคน ควา วเิ คราะหว จิ ยั การพฒั นาส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา 3.3 งานศกึ ษาคนควา วเิ คราะหว จิ ยั การพฒั นาแพลลตฟอรมดานการศึกษา 4. งานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐานและกระบวนการเรียนรู 5. การพฒั นางานวชิ าการและนเิ ทศการศึกษากลุม สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ 6. การพัฒนางานวิชาการและนเิ ทศการศึกษาสาระการเรียนรูวทิ ยาการคำนวณ 7. โครงการโรงเรียนคณุ ภาพดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท.(SMT) 8. โครงการจดั การศึกษาแบบเรยี นรวม/การจดั การศกึ ษาโดยครอบครัว 9. โครงการ English for all 10. โครงการสงเสรมิ การอา นตามรอยพระจริยวัตรสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี 11. โครงการจดั การเรยี นการสอนทางไกล DLTV/DLIT 12. โครงการงานศิลปหัตกรรมนักเรยี น 12. พฒั นางานวชิ าการและนเิ ทศการศกึ ษาในกลุมเครือขาย 1 มหาธาตสุ ามัคคี

40 โครงการทรี่ บั ผิดชอบ (ปงบประมาณ พ.ศ. 2564) 1. โครงการ “พฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1” วัตถปุ ระสงค 1. เพอ่ื พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 2. เพือ่ แลกเปล่ยี นเรยี นรแู ละถอดประสบการณการพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ของผูรับผิดชอบระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 3. เพ่อื ประกวดโรงเรยี นทมี่ ีผลการการปฏิบตั ทิ ่เี ปนเลิศ (Best Practice) ดา นระบบประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษา 4. เพือ่ นเิ ทศติดตามการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนในสงั กัดสำนกั งาน เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 เปา หมาย เชิงปรมิ าณ 1. ผรู บั ผดิ ชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนละ 1 คน เขา รว มแลกเปลยี่ น เรยี นรู 2. ผบู ริหารโรงเรยี นจำนวน 109 คน เขารวมแลกเปลยี่ นเรียนรู 3. โรงเรยี นเขา รวมประกวด best practice เครอื ขา ยละ 1 โรง 4. โรงเรียนในสงั กดั ทกุ โรงไดร ับการนิเทศติดตามดานการประกนั คุณภาพการศึกษา เชิงคุณภาพ 1. ผูร บั ผดิ ชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาไดรับความรคู วามเขา ใจการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 2. โรงเรยี นมีแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ชดั เจน 3. โรงเรียนไดรบั การช้ีแนะ สงเสรมิ สนบั สนนุ การดำเนินงานประกนั คุณภาพภายใน กิจกรรมทีร่ องรับ 1.พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา -แลกเปลี่ยนเรียนรูก ารดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา -พัฒนาคมู ือการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 2. ประกวด นวตั กรรม ดานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 3. นเิ ทศ ติดตาม การพฒั นาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

41 4. สังเคราะหรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 5. สรปุ รายงานผล 2. โครงการ “พัฒนาศกั ยภาพการสอนภาษาองั กฤษ ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1” วัตถุประสงค 1. เพือ่ พฒั นาศักยภาพการสอนภาษาองั กฤษ ของโรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 2. เพ่ือสง เสรมิ สนบั สนุน และแลกเปลี่ยนเรียนรูการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของ ครูผสู อนภาษาอังกฤษในสังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 3. เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนภาษาอังกฤษของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 4. เพื่อนเิ ทศติดตามการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษของโรงเรียนในสังกดั สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เปา หมาย เชิงปริมาณ 1.ครผู สู อนภาษาอังกฤษจำนวน 109 คนเขารวมอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการสอน ภาษาองั กฤษ 2. โรงเรียนในสงั กัดจำนวน 109 โรงเขา รว มการแลกเปลย่ี นเรียนรูท ักษะการสอน ภาษาองั กฤษแบบออนไลน 3. โรงเรยี นในสงั กดั รอยละ 30 มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นภาษาอังกฤษเพ่ิมขึ้น 4. โรงเรยี นในสงั กดั จำนวน 109 โรง ไดร ับการนิเทศติดตามการจัดการเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษ เชิงคุณภาพ 1. ครูผสู อนภาษาองั กฤษมคี วามรูความเขาใจในการพฒั นาการสอนภาษาอังกฤษเพิม่ ขนึ้ 2. โรงเรียนในสังกัดไดร ับประสบการณใ นการพฒั นาทักษะการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ จากการแลกเปลีย่ นเรียนรรู ว มกัน 3. นักเรยี นไดร ับการพฒั นาศักยภาพทางการเรยี นภาษาอังกฤษอยางเต็มศักยภาพ 4. โรงเรยี นไดรับการสงเสริม สนบั สนนุ ช้แี นะ แนวทางการพัฒนาทกั ษะการสอน ภาษาอังกฤษอยางเปนระบบ เตม็ ศกั ยภาพ กิจกรรมที่รองรบั 1. อบรมพัฒนาครูผสู อนภาษาอังกฤษ 2. แลกเปลยี่ นเรียนรกู ิจกรรมการสอนออนไลน

42 3. ประกวด Best Practice และ คลปิ การสอนภาษาอังกฤษ 4. นิเทศตดิ ตามการสอนภาษาอังกฤษ 5. สรุป รายงานผล 3. โครงการ พฒั นาทักษะและสงเสรมิ การจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ ของโรงเรยี นในสงั กัด สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1” วตั ถุประสงค 1. เพ่อื พัฒนาศักยภาพการสอนวิทยาการคำนวณ ของครูในสังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 2. เพ่ือสงเสริม สนับสนนุ และแลกเปล่ียนเรียนรูการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ ของครูผสู อนวิทยาการคำนวณในสังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 3. เพอ่ื นเิ ทศติดตามการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสงั กัดสำนักงาน เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 เปาหมาย เชงิ ปรมิ าณ 1.ครูผูสอนวทิ ยาการคำนวณจำนวน 109 คนเขารว มอบรมเพือ่ พฒั นาทักษะการสอน วทิ ยาการคำนวณ 2. โรงเรยี นในสงั กดั จำนวน 109 โรงเขา รว มการแลกเปลีย่ นเรียนรทู ักษะการสอนวทิ ยาการ คำนวณแบบออนไลน 3. โรงเรยี นในสังกดั จำนวน 109 โรง ไดรบั การนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ เชิงคุณภาพ 1. ครูผสู อนวิทยาการคำนวณมคี วามรูค วามเขาใจในการพัฒนาการสอนวทิ ยาการคำนวณ เพิม่ ขึน้ 2. โรงเรยี นในสังกดั ไดร บั ประสบการณในการพัฒนาทกั ษะการเรยี นการสอนวิทยาการ คำนวณจากการแลกเปลีย่ นเรียนรรู ว มกนั 3. โรงเรยี นไดรบั การสง เสริม สนับสนนุ ชี้แนะ แนวทางการพัฒนาทักษะการสอนวิทยาการ คำนวณอยา งเปน ระบบ เต็มศักยภาพ กจิ กรรมท่รี องรบั 1. อบรมพัฒนาครผู ูสอนวิทยาการคำนวณในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1

43 2. แลกเปลย่ี นเรียนรูกิจกรรมการสอนวิทยาการคำนวณแบบออนไลน 3. ประกวด Best Practice คลิปการสอนวทิ ยาการคำนวณของครูในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 4. แขง ขันการสรา งเกมคอมพิวเตอรดว ยโปรแกรม Scratch ของนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา 5. นเิ ทศตดิ ตามการสอนวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 6. สรปุ รายงานผล วสิ ัยทศั น มงุ ม่นั นเิ ทศตดิ ตามการจัดการศึกษา อยางมีระบบ เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพ งานวิชาการของสถานศึกษา ในสังกัด ใหพฒั นาสคู วามเปน เลศิ โดยใชน วัตกรรม การวจิ ยั และเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั เพ่อื เพิม่ ศกั ยภาพในการ ทำงาน วตั ถปุ ระสงค 1) เพื่อใชเปนแนวทางในการดำเนินงานตามภาระงานที่ไดรับมอบหมาย และเปนแนวทางในการ ขับเคลื่อนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2). เพอ่ื นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ตามภาระงานที่ไดร ับมอบหมาย ตามนโยบาย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1

44 เปาหมายการดำเนนิ งานตามภาระหนาทีท่ ่ไี ดร บั มอบหมาย งานที่ไดร บั ตวั ชี้วัด ผลผลติ ผลลพั ธ มอบหมาย 1. งานสง เสริม เชงิ ปรมิ าณ -โรงเรยี นสามารถดำเนินงาน -โรงเรียนสามารถ ดำเนนิ งานประกนั พัฒนาระบบการ -โรงเรียนในสังกดั 109 โรงเรียนไดร บั การ ตามระบบประกนั คณุ ภาพ คณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษาไดอยางมี ประกนั คุณภาพ สนับสนุนสง เสรมิ การดำเนนิ งานประกนั การศึกษาไดตามบริบทของ การศกึ ษา คณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรยี น -โรงเรยี นในสังกัด 109 โรง ไดรับการ -โรงเรยี นมีมาตรฐานการศึกษา ประสิทธภิ าพ เปน นิเทศติดตามการดำเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษา เปาหมาย แผนพัฒนาคุณภาพ ระบบ ตอ เนื่องและ -โรงเรยี นในสังกดั อยางนอย 30 โรงเขา การจัดการศกึ ษาและ เชื่อถอื ได รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกใน ปง บประมาณ 2564 แผนปฏบิ ัติการประจำป -โรงเรียนมผี ลการ -โรงเรียนดำเนนิ การประกนั ประเมนิ คุณภาพ คุณภาพภายในตามแผนท่ี ภายในสถานศกึ ษา วางไว อยูในระดับดีขึ้นไป เชิงคุณภาพ -โรงเรยี นมีรายงานการประเมิน ทุกมาตรฐาน - ผูบริหารและครมู ีความรูความเขาใจ ตนเองของสถานศกึ ษาที่ -โรงเรยี นทีเ่ ขารับ ดา นการประกันคุณภาพภายใน ชัดเจน ถูกตอ ง สะทอนตัวตน การประเมนิ คณุ ภาพ สถานศึกษา ภายนอกมีผลการ ประเมนิ ระดับดขี นึ้ - ผบู รหิ ารและครนู ำความรูจากการ ไปทุกโรง ประชุม อบรม แลกเปล่ยี นเรียนรดู า น -โรงเรียนมคี วามพึง การประกนั คณุ ภาพไปปรับปรุงระบบ พอใจตอการนเิ ทศ ประกันคุณภาพภายในสภานศึกษา ติดตามดา นการ - โรงเรียนไดรับการนิเทศติดตามดานการ ประกนั คุณภาพ ประกันคุณภาพการศึกษาอยา งมี การศึกษาอยูในระดบั ประสิทธิภาพ มาก

45 งานที่ไดรับ ตัวช้วี ดั ผลผลติ ผลลัพธ มอบหมาย 2. งานสงเสรมิ เชงิ ปริมาณ และพฒั นาส่ือ นวตั กรรมและ -ผูบ รหิ ารในสงั กัด 109 โรง ไดรับการ - ผบู รหิ ารสามารถใชส่อื - โรงเรียนมรี ะบบ เทคโนโลยี ทางการศึกษา สง เสรมิ แนะนำ การใชส ่อื เทคโนโลยี เทคโนโลยีแบบตา ง ๆ มาใชใน บรหิ ารจดั การท่มี ี 3. งานพัฒนา และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เพ่ือการบรหิ าร การบรหิ ารจดั การไดอ ยาง ประสิทธิภาพและ หลักสูตร การศกึ ษาขน้ั จัดการผานชองทางตา ง ๆ หลากหลาย ทันสมัยดว ยระบบ พนื้ ฐานและ กระบวนการ - ครูในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา การบริหารจัดการ เรยี นรู ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 1 - ครูสามารถประยุกตใ ชส่ือ ดวยส่ือเทคโนโลยี รอ ยละ 80 ไดรบั การ แนะนำ สง เสรมิ เทคโนโลยี และเทคโนโลยี สนับสนนุ ดานการนำสือ่ เทคโนโลยีดิจทิ ลั ดจิ ิทลั ประเภทตา ง ๆ มาจดั -นกั เรยี นมีชอ งทาง มาใชใ นการจดั การเรยี นการสอนได กิจกรรมการเรยี นการสอนได การเรียนรทู ี่ -โรงเรียนในสงั กัด 109 โรงไดรับการ อยา งเหมาะสม หลากหลายและ นิเทศติดตามแนะนำการใชส ือ่ เทคโนโลยี ทันสมยั สามารถ เพอ่ื การเรยี นการสอน -ผูบริหารและครสู ามารถนำผล นำไปประยุกตใชไ ด เชิงคณุ ภาพ การนเิ ทศติดตาม ดา นการใช -ผบู ริหารมคี วามรคู วามเขาใจเกยี่ วกบั การ สื่อเทคโนโลยี และ เทคโนโลยี -ผบู ริหารและครมู ี ใชสอ่ื เทคโนโลยี และ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ดจิ ิทลั มาใชป รบั ปรุงการ ความพึงพอใจตอ การ เพอ่ื การบริหารจัดการ บริหารจัดการและการจดั การ นิเทศตดิ ตามการใช -ครสู ามารถนำสื่อเทคโนโลยี และ เรียนการสอนไดอ ยางเตม็ เทคโนโลยีเพอื่ การ เทคโนโลยดี ิจิทัล มาประยุกตใชใ นการ ศักยภาพ เรียนการสอนและ จัดการเรียนการสอนได การบริหารจัดการอยู - ผูบริหารและครไู ดร บั การนเิ ทศติดตาม ในระดับมาก แนะนำ และแกปญหาการใชสอื่ เทคโนโลยอี ยางมีประสิทธภิ าพ -โรงเรยี นในสงั กดั 109 โรงไดรบั การ -โรงเรียนมีหลกั สูตรการศกึ ษา นักเรยี นไดร บั การ นิเทศตดิ ตามแนะนำการพฒั นาหลกั สูตร ข้นั พืน้ ฐานที่มคี ุณภาพ จดั การเรียนรู -โรงเรียนนำผลการนิเทศ การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ครอบคลุมมตาม ติดตามดา นการใชห ลักสตู รไป หลกั สูตรการศกึ ษา -โรงเรียนมคี วามรคู วามเขาใจดานการ ปรับปรงุ พฒั นาการบรหิ าร ข้ันพน้ื ฐาน บรหิ ารจดั การหลกั สตู รการศึกษาขั้น จดั การหลกั สูตรไดอยางถูกตอง พืน้ ฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook