Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการนิเทศประกันคุณภาพ_64

รายงานผลการนิเทศประกันคุณภาพ_64

Published by tooktook719, 2021-12-27 06:51:45

Description: รายงานผลการนิเทศประกันคุณภาพ_64

Search

Read the Text Version

คำนำ การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการดำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อสร้าง ความมั่นใจให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมโดยรวมว่าการดำเนินงานของสถานศึกษาจะมี ประสิทธิภาพและทำให้ผู้เรียนมีคุณภาพ หรือคุณลักษณะพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่ได้กำหนดไว้ เพื่อให้สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ได้รับการนิเทศ ติดตามและ แนะนำแนวทางการดำเนินงานประกันคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งเต็มศักยภาพ ผูร้ บั ผดิ ชอบกลุ่มงานประกนั คุณภาพการศึกษา กลมุ่ นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ได้จัดทำแผนการนิเทศ การดำเนินการ ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดและได้ดำเนินการตามแผนนิเทศติดตามเพื่อส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้สามารถดำเนินการระบบประกัน คุณภาพอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง น่าเชื่อถือ และสามารถนำผลไปพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาและ เชื่อมโยงต่อการประเมินคุณภาพภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้จัดทำสรุปและรายงานผลการ ดำเนินงานตามแผนนิเทศติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในปีงบประมาณ 2563 โดยมี รายละเอียดแสดงให้เห็นถึงผลการดำเนินงานตามแผนการนเิ ทศติดตามและความสำเร็จในการดำเนินงานเพอื่ นำผลไปปรับปรุงและพฒั นาการดำเนนิ งานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการสรุปรายงานผลการนิเทศติดตามการดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ในครั้งนี้ จนประสบความสำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ สถานศกึ ษาตอ่ ไป กล่มุ งานประกนั คุณภาพการจัดการศึกษา กลมุ่ นเิ ทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1

ข สารบญั บทท่ี หน้า คำนำ 1 สารบัญ 1 2 บทท่ี 1 บทนำ 3 ความเปน็ มา 3 วตั ถปุ ระสงค์ของการนเิ ทศ เปา้ หมายการนเิ ทศ 4 กระบวนการนเิ ทศ 4 16 บทท่ี 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 43 เอกสารเกย่ี วกบั การประกันคุณภาพการศกึ ษา เอกสารที่เกย่ี วกบั การนเิ ทศการศึกษา 44 กระบวนการนิเทศแบบ 3PPS Model 44 44 บทที่ 3 กระบวนการดำเนนิ งาน ข้ันตอนการดำเนินงาน 46 ระยะที่ 1 การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ระยะที่ 2 การนิเทศติดตามการดำเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 47 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา 48 นครศรีธรรมราชเขต 1 49 ระยะที่ 3 การสังเคราะห์ข้อมลู และการประเมินผลการพฒั นา 53 ระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล กระบวนการนิเทศ ปฏทิ นิ การนิเทศ

ค บทท่ี หน้า บทท่ี 4 ผลการนเิ ทศ 55 ผลการดำเนินงานระยะที่1 การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนในสงั กดั 55 ผลการดำเนนิ งานระยะที่ 2 การนเิ ทศติดตามการดำเนินงานระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 63 ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 1 ผลการดำเนินงานระยะที่ 3 การสงั เคราะหข์ ้อมลู และการประเมินผลการพัฒนา 73 ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 84 84 บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 88 สรุปผลการนเิ ทศตดิ ตาม 89 ข้อเสนอแนะเพ่อื พัฒนาการนิเทศ 91 บรรณานุกรม ภาคผนวก

ง สารบัญตาราง ตารางท่ี หน้า 1 ผลการศึกษาสภาพปัจจบุ นั การดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาของ 56 สถานศึกษาในสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา 57 นครศรธี รรมราชเขต 1 ขั้นการวางแผน 58 59 2 ผลการศกึ ษาสภาพปจั จุบันการดำเนินงานระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาของ 60 สถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา 61 นครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นดำเนินการ 3 ผลการศึกษาสภาพปัจจบุ นั การดำเนินงานระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราชเขต 1 ขน้ั การตรวจสอบ 4 ผลการศึกษาสภาพปจั จุบันการดำเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 ข้นั ประเมินและใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับ 5 ผลการศกึ ษาสภาพปจั จบุ ันการดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 6 ผลการประเมินความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมประชุมทางไกลผ่านระบบ MS TEAM 7 ผลนเิ ทศออนไลนเ์ พอ่ื การตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายใน 63 สถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 67 นครศรีธรรมราช เขต 1 แบบออนไลน์ 70 8 ผลการนเิ ทศติดตามเพื่อตรวจสอบกระบวนการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 9 ผลนิเทศติดตามเพื่อการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดบั ปฐมวยั

จ ตารางท่ี หน้า 10 ผลการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพื่อ 71 เตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดบั ขน้ั พ้นื ฐาน 79 79 11 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของโรงเรียน 81 12 ผลสรุปข้อมลู ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การของสถานศึกษาจากการ ตรวจเยยี่ มพื้นทีเ่ ชงิ ประเมินฯ จำนวน 4 โรงเรยี น 13 ผลการเกบ็ ขอ้ มลู แบบเก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้านกระบวนการจดั การเรยี นรู้

ฉ บทสรุปผ้บู รหิ าร การนิเทศติดตามเพื่อพัฒนาการดำเนินงานประกันคณุ ภาพการศึกษา ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบ ประกนั คณุ ภาพภายในและเชื่อมโยงส่กู ารประกนั คณุ ภาพภายนอก มกี ารดำเนินงานเป็น 3 ระยะ คอื ระยะที่ 1 ดำเนินการระหว่างเดือน ตุลาคม–ธันวาคม 2563 ระยะที่ 2 ดำเนินการระหว่าง เดือนมกราคม – มิถุนายน 2564 ระยะท่ี 3 ดำเนินการระหว่างเดอื น กรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564 โดยมีผลการนเิ ทศตดิ ตามดงั นี้ 1. ผลการสร้างความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 1.1 ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 พบวา่ สภาพปัจจบุ ันการดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยูใ่ นระดับมาก และเมื่อพิจารณา รายด้านพบว่าขั้นประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับมีการปฏิบัติ อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนขั้นการวางแผน ข้นั ดำเนนิ การ และขนั้ ตรวจสอบ มกี ารปฏิบตั อิ ยู่ในระดบั มาก สภาพปัจจบุ นั การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ในขั้นวางแผนพบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเม่ือ พิจารณารายด้านพบว่าประเด็นที่มีการดำเนินการมากที่สุดได้แก่ การให้ความรู้แก่บุคลากรซึ่งมีระดับการ ปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนประเด็นที่ยังมีการปฏิบัติน้อยได้แก่ประเด็นการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนนิ งานซ่งึ มรี ะดบั การปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดบั ปานกลาง สภาพปัจจบุ นั การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นดำเนินการ ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และเมอ่ื พิจารณารายขอ้ พบวา่ ประเดน็ ท่ีมกี ารปฏิบัติสงู สุดไดแ้ ก่ การกำหนด มาตรฐานการศึกษาตามประกาศ สพฐ. และ ประกาศมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ มีการปฏิบัติอยู่ ในระดับมากที่สุด ประเด็นรองลงมาได้แก่ ส่งเสริมสนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการ ดำเนินงานตามแผนมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด และประเด็นที่มีการปฏิบัติน้อยที่สุดได้แก่กำหนด มาตรฐานการศกึ ษาเพิม่ เติมตามบรบิ ท โดยมรี ะดบั การปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ สภาพปัจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 ข้ันตรวจสอบ ในภาพรวม มีการปฏบิ ตั อิ ยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายข้อพบว่าประเด็นที่มีการปฏิบัติสูงสุดได้แก่นิเทศ ติดตาม ดูแล ให้คำปรึกษาในการ ดำเนินงานตามแผนพัฒนา มีการปฏิบัติอยูใ่ นระดบั มากที่สุด และประเด็นที่มีการปฏิบัติน้อยได้แก่ ดำเนินการ ประเมินคณุ ภาพภาคเรยี นละ 1 ครัง้ มีระดับการปฏบิ ตั ิระดบั ปานกลาง

ช สภาพปัจจบุ ันการดำเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นให้ข้อมูลย้อนกลับ ในภาพรวมมีการปฏิบตั ิอยู่ในระดับ มากที่สุด และเมื่อพิจารณารายข้อพบว่าประเด็นที่มีการปฏิบัติสูงสุดได้แก่ การจัดทำรายงานการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา และ การเขียนรายงานการประเมินตนเองเสนอต่อต้นสังกัด มีการปฏิบัติอยู่ในระดับ มากที่สุด และประเด็นที่มีการปฏิบัติน้อยได้แก่ ปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมาย มีระดับการ ปฏิบตั ริ ะดบั ปานกลาง 1.2 ผลการสร้างคลงั ความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่ออำนวยความสะดวกแก่สถานศึกษา มีดังน้ี 1. กลมุ่ ไลน์ชอ่ื “ประกันคณุ ภาพ NST1” มสี มาชิก 134 คน 2. เว็บไซต์ ชื่อ“ห้องนิเทศออนไลน์ ศน.ปรียา สงค์ประเสริฐ” เข้าถึงโดย https://sites.google.com/esdc.go.th/svnst1/ 3. เพจสาระน่ารู้ by ศน.Dr.tooktook มผี ูต้ ิดตาม 507 คนผู้ถกู ใจ 486 คน 4. เอกสารใหค้ วามรูด้ ้านการประกนั คุณภาพการศึกษา ไดแ้ ก่ - เอกสารประกอบการประชมุ MS TEAM ไฟล์นำเสนอ การขับเคลือ่ นการดำเนนิ งาน ประกันคุณภาพการศึกษา, การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา,การเตรียมความพร้อมของ โรงเรยี นเพ่ือเข้ารบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก - คูม่ อื การเขยี นรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 1.3 การประชุมเพื่อสื่อสารสร้างความเข้าใจด้านการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แก่ ผู้บริหาร และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดได้ดำเนินการ ประชุมทางไกลแบบ ออนไลนด์ ว้ ยระบบ MS TEAM ผลการดำเนนิ งานดงั น้ี 1) กลุม่ เปา้ หมายเขา้ รว่ มประชมุ 109 โรง พบว่ามีผเู้ ข้าร่วมประชุมครบ 109โรง คดิ เป็นร้อยละ 100 2) ผลการประเมินความความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ ประชมุ ทางไกลเพ่อื สร้าง ความเข้าใจการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาโดยการประชุมทางไกลผ่านระบบ MS TEAM อยู่ใน ระดับมากท่สี ุด 2. ผลการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราชเขต 1 2.1 ผลการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ทุกโรง เพื่อตรวจสอบกระบวนการ ดำเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาพบวา่ โรงเรียนทุกโรงมีการปฏิบัติครบทุกขั้นตอนทกุ ประเด็น คิด เป็นร้อยละ 100

ซ 2.2 ผลการนเิ ทศติดตามการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาและเตรยี มความ พรอ้ มรบั การประเมินคุณภาพภายนอก จำนวน 50 โรง พบวา่ 1) ผลการตรวจสอบการจดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับปฐมวัย ทุกโรงมีการดำเนินการครบทุกประเด็นทุก มาตรฐานคดิ เป็นรอ้ ยละ 100 2) ผลการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพ่ือเตรยี มความพร้อมรบั การประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกโรงมีการดำเนินการครบทุก ประเด็นทุกมาตรฐานคดิ เป็นร้อยละ 100 3. ผลการสังเคราะหข์ อ้ มูลและการประเมนิ ผลการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 3.1 การสังเคราะหร์ ายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศึกษา 2563 ของ โรงเรยี นในสังกดั ปรากฏผลดังน้ี 1) โรงเรียนในสังกัดทุกโรงมีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับ ปฐมวยั อยใู นระดับดขี ึ้นไปทุกมาตรฐานทกุ โรง 2) โรงเรียนในสังกัดทุกโรงมีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับ การศกึ ษาขั้นพื้นฐานอยูในระดับดขี นึ้ ไปทกุ มาตรฐานทุกโรง โดยมรี ายลเอียดผลการประเมินคณุ ภาพภายในดังนี้ ผลการจดั การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาโดยมีผลการประเมินในภาพรวมระดับยอดเยี่ยม จำนวน 25 โรง คิดเป็นร้อยละ 23.58 ระดับดีเลิศจำนวน 60 โรง คิดเป็นร้อยละ 56.60 ระดับดี จำนวน 21 โรง คิดเป็นร้อยละ 19.81 นอกจากนี้ผลการประเมินแยกเป็นรายมาตรฐานดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก มี ระดับคุณภาพยอดเยี่ยมจำนวน 33 โรง คิดเป็นร้อยละ 31.13 ระดับดีเลิศ จำนวน 57 โรง คิดเป็นร้อยละ 53.77 ระดับดี 16 โรง คิดเป็นร้อยละ 15.09 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยมจำนวน 24 โรง คิดเป็นร้อยละ 22.64 ระดับดีเลิศจำนวน 57 โรง คิดเป็นร้อยละ 53.77 และระดับดี จำนวน 25 โรง คิดเป็นรอ้ ยละ 23.58 มาตรฐานที่ 3 ด้านการจัดประสบการณ์ทีเ่ น้น เด็กเปน็ สำคัญ ระดับยอด เยี่ยมจำนวน 29 โรง คิดเป็นร้อยละ 27.36 ระดับดีเลิศ จำนวน 51 โรง คิดเป็นร้อยละ 48.11 และระดับดี จำนวน 26 โรง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.53 ผลการจัดการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ในภาพรวมพบว่า ระดับยอดเยี่ยม จำนวน 14 โรง (รอ้ ยละ 12.84) ระดับดีเลิศ จำนวน 65 โรง (รอ้ ยละ 59.63) ระดับดจี ำนวน 30 โรง (รอ้ ยละ 27.52) เม่ือ จำแนกผลการประเมินเป็นรายมาตรฐานพบว่า มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียนมีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม

ฌ จำนวน 13 โรง (ร้อยละ 11.93) ระดับดีเลิศจำนวน 63 โรง (ร้อยละ 57.80) ระดับดีจำนวน 33 โรง (ร้อยละ 30.28) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอดเยี่ยมจำนวน 23 โรง (ร้อยละ 21.10) ระดบั ดเี ลศิ จำนวน 58 โรง (รอ้ ยละ 53.21) และระดบั ดีจำนวน 28 โรง (ร้อยละ 25.69) มาตรฐานที่ 3 ดา้ นการ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ระดับยอดเยี่ยมจำนวน 19 โรง (ร้อยละ 17.43) ระดับดีเลิศ จำนวน 61 โรง (รอ้ ยละ 55.96) ระดบั ดี จำนวน 29 โรง (รอ้ ยละ 26.61) 3.2 ผลการตรวจเย่ียมพื้นทเ่ี ชิงประเมนิ เพอ่ื พฒั นากระบวนการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและค้นหาโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติที่เปน็ เลศิ ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาจำนวน 4 โรง พบวา่ 1) โรงเรียนมีผลการปฏิบัติดา้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ด้านการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ด้านการติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และด้านการนำผลการ ติดตามไปปรับปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษาครบทกุ ด้านทุกโรงเรยี นคดิ เป็นร้อยละ 100 2) โรงเรียนมผี ลการปฏิบัติดา้ นการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ดา้ นการจดั การเรียนรู้ ด้านการติดตามตรวจสอบการจัดการเรียนรู้และด้านปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนรู้ ครบทุกด้านทุกโรงเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 3.3 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวน 50 โรง พบวา่ ระดับปฐมวัย จำนวน 49 โรงมีผลการประเมินในระดับดีขึ้นไปทุกโรงทุกมาตรฐาน คดิ เปน็ ร้อยละรอ้ ย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 50 โรงมีผลการประเมินระดับดีขึ้นไปทุก มาตรฐานทุกโรงจำนวน 49 โรง คิดเป็นร้อยละ 98 และมีผลการประเมินระดับพอใช้ 1 มาตรฐาน จำนวน 1 โรง คิดเป็นร้อยละ 2

1 บทท่ี 1 บทนำ ความเปนมา การจัดการศึกษาตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมุงจัดการศึกษา ตามหลักสำคัญ 3 ประการ ไดแก 1) หลักการกระจายอำนาจ 2) หลักแหงความมีเอกภาพดาน นโยบาย แตหลากหลายในทางปฏิบัติ และ 3) หลักแหงการมีสวนรวมของประชาชนโดย พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง ชาติ (2542:14) พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9(3) ไดกำหนดใหก ารจัดระบบ โครงสรา งและกระบวนการจัดการศึกษาใหย ึดหลักท่ีสำคัญขอ หนึ่ง คือมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา โดยมาตรา 31 ใหกระทรวงมีอำนาจหนาที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุก ประเภท กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา และมาตราที่ 47 ไดกำหนดใหมีระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวยระบบ การประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก โดยระบบหลักเกณฑและวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษาใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยใหหนวยงานตนสังกัดและ สถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพ ภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดำเนินการอยาง ตอเนื่อง และมีการ จัดทำรายงานประจำปเสนอตอ หนว ยงานตนสังกดั หนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ งและเปดเผยตอ สารธารณชน เพอ่ื นำไปสกู ารพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพ่อื รองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกตอไป กระทรวงศึกษาธิการจงึ ไดออกกฎกระทรวง วา ดายการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ 2561 ไดกำหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา โดย มีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อใหเกิด การพัฒนาและสรางความเชื่อมัน่ ใหแกผูมีสวนเกี่ยวของและสาธารณชนวาสถานศึกษานั้นสามารถจดั การศึกษาไดอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเปาประสงคของหนวยงานตนสังกัด เพื่อใหส อดคลองกับกฎกระทรวงดังกลาวกระทรวงศึกษาธิการจึงไดออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนยการศึกษาพิเศษ เพื่อเปนหลักในการเทียบเคียงในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ หนวยงานตนสงั กดั สถานศกึ ษาหนว ยงานตนสังกัด และสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาทั้งประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ในการพัฒนาสงเสริม สนับสนุน กำกับดูแล ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก

2 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 4 (พ.ศ.2559-2563) มีจุดเปลี่ยนสำคัญหลาย ประการโดยมีแนวคิดหลักในการประเมินคอื การประเมินคุณภาพภายนอกเชื่อมโยงกับระบบประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัด และชวยกระตุนหนวยงานที่เกี่ยวของใหเกิด การสงเสริมยกระดับคุณภาพการศึกษา และจุดเปลี่ยนที่สำคัญในการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 4 ไดแก การประเมินคุณภาพภายนอกจะเปนการประเมินเชิงคุณภาพ เนนขอมูลเชิงประจกั ษ (Evidence Based) ที่สะทอนผลลัพธการดำเนินงาน โดยใชการตัดสินใจของผูเชี่ยวชาญ (Expert Judgment) และการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review) ใหครอบคลุมองคประกอบทั้งระบบแบบองครวม (Holistic Approach) เนนการลดภาระ ดานเอกสารและนำเทคโนโลยีมาใชในการประเมินและการตัดสินผลจะเปนการยืนยันคุณภาพไมใช การตัดสินผลผานหรือไมผานเหมือนที่ผานมา (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา,2562:22) กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตระหนักและเห็นความสำคัญของการขับเคลื่อนการประกัน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด จึงไดจัดทำแผนปฏิบัติการนิเทศในการดำเนินการประกัน คุณภาพการศึกษาประจำปการศึกษา 2563 โดยการใชฐานขอมูลและสารสนเทศจากการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล และการสังเคราะหร ายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษามาเปน ขอมูล ในการวางแผนการนเิ ทศตดิ ตามการดำเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นในสังกัด วัตถุประสงคการนิเทศ 1. เพื่อสรางความรูความเขาใจ และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 2. เพื่อนิเทศ ติดตาม ใหคำแนะนำชวยเหลอื และประเมินผลการดำเนนิ งานประกันคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 3. เพื่อสังเคราะหขอมลู รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปก ารศึกษา 2563 และประเมินผลการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 เปาหมายการนิเทศ เชงิ ปรมิ าณ 1. โรงเรยี นในสงั กัดจำนวน 109 โรง ไดรบั การนเิ ทศติดตามเพื่อพฒั นาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา

3 2. โรงเรยี นในสงั กัดทกุ โรงมผี ลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาอยูในระดับดีขนึ้ ไป ทุกระดับ ทกุ มาตรฐาน 3. โรงเรยี นในสงั กัด รอ ยละ 80 ท่ีเขา รับการประเมนิ คุณภาพภายนอกมผี ลการประเมนิ อยู ในระดบั ดีข้ึนไป ทุกมาตรฐาน เชงิ คณุ ภาพ 1. ผบู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาไดรบั ความรคู วามเขาใจดานการประกันคุณภาพ การศกึ ษา 2. โรงเรียนไดรับการสนับสนุนสงเสริมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาอยางเต็ม ศกั ยภาพ 3. กลุม งานประกนั คณุ ภาพการจดั การจัดการศกึ ษา ดำเนินการขบั เคลอ่ื นการประกนั คุณภาพ การศึกษาอยางเต็มศกั ยภาพโดยผานกระบวนการนเิ ทศติดตามโดยใชรปู แบบ 3PPS Model 4. โรงเรียนมีความพึงพอใจตอการนิเทศติดตามการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาอยใู นระดบั มาก กระบวนการนิเทศ ในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการนิเทศติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ การประกันคุณภาพ การศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ได ยดึ กระบวนการนิเทศแบบ 3PPS Model

บทท่ี 3 กระบวนการดำเนนิ งาน การดำเนินการนิเทศติดตามเพื่อพัฒนาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ของ โรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เพื่อสรางความ เขมแข็งของระบบประกันคุณภาพภายในและเชื่อมโยงสูการประกันคุณภาพภายนอก กำหนดการ ดำเนินงานเปนระยะเวลาดำเนินการเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ดำเนินการระหวางเดือน ตุลาคม– ธันวาคม 2563 ระยะท่ี 2 ดำเนินการระหวาง เดือนมกราคม – มถิ นุ ายน 2564 ระยะที่ 3 ดำเนินการ ระหวางเดือน กรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564 โดยคาดหวังวา แผนปฏิบัติการนิเทศ จะเปน เครื่องมือสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตอการดำเนินงาน มีรายละเอียดการ ดำเนินการดงั ตอไปน้ี ระยะท่ี 1 ผลการสรางความรคู วามเขา ใจ และพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ระยะที่ 2 ผลการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระยะที่ 3 ผลการสังเคราะหขอมูลรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและการ ประเมินผลการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ขน้ั ตอนการดำเนินงาน ระยะท่ี 1 การสรา งความรคู วามเขา ใจเกีย่ วกับการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ประกอบดว ย 1.1 การศึกษาสภาพปจจุบัน และขอมูลสารสนเทศดานการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กัดไดดำเนินการดังนี้ 1.1.1 ศึกษาเอกสาร ขอมูลและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการดำเนินการประกัน คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาตามประกาศกฎกระทรวงพทุ ธศักราช 2561 การประเมินคุณภาพภายนอก 1.1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามแบบตาง ๆ เพอื่ การเกบ็ ขอ มูล 1.1.3 สรางแบบสอบถามเพื่อเก็บขอมูลดานสภาพปจจุบัน ปญหา และการ ดำเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาแบบมาตรประมาณคา 5 ระดบั 1.1.4 นำแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหผูทรงคุณวุฒิดานการประกันคุณภาพการศึกษา ตรวจสอบความถูกตองของแบบสอบถาม

45 1.1.5 นำแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบมาจัดทำเปนแบบเก็บขอมูลแบบ ออนไลนด ว ยระบบ Google form 1.1.6 เกบ็ ขอมูลดา นสภาพปจ จบุ ันปญหาและการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาดว ยแบบสอบถามออนไลนท ี่สรางข้ึน 1.1.7 นำขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามมาวิเคราะหสังเคราะหเพื่อนำผลไปใชในการ วางแผนในการนเิ ทศติดตามข้นั ตอนตอ ไป 1.2 การสรางคลังความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาโดยการรวบรวมขอมูล พัฒนา เอกสาร คมู ือ เพ่ือสรา งความเขาใจดา นการประกนั คณุ ภาพการศึกษาไดด ำเนินการดงั น้ี 1.2.1 ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประเมนิ คุณภาพภายนอก 1.2.2 เขารวมประชมุ อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู ดานการดำเนนิ งานประกันคุณภาพ การศกึ ษา 1.2.3 รวบรวมเอกสาร คูมือ เว็บไซต คลิป และอื่น ๆ ที่ใหความรูดานการประกัน คุณภาพการศึกษา ตลอดจนพัฒนาคูมือ แนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของ สำนักงานเขตพ้ืนที่ 1.2.3 เผยแพรเอกสาร คูมือ คลิป เว็บไซตตาง ๆ ลงสื่อออนไลน ไดแก เพจนิเทศ กลุมไลน เว็บไซต เพื่อใหโรงเรียนไดนำไปใชประโยชนในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา 1.3 การประชุมเพื่อสื่อสารสรางความเขาใจดานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แก ผูบริหาร และครูผูรับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดไดดำเนินการ ประชุมทางไกลแบบออนไลนดวยระบบ MS TEAM ดงั นี้ 1.3.1 แตง ตั้งคณะกรรมการแตงตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ที่ 69/2564 ลงวันท่ี 8 กุมภาพนั ธ 2564 1.3.2 ประชมุ กรรมการตามคำสงั่ ในวนั ท่ี 11 กมุ ภาพนั ธ 2564 และ แตงตั้ง คณะกรรมการจัดการประชุมทางไกลดวยระบบ MS TEAM โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศกึ ษาฯที่ 123/2564 ลงวันท่ี 16 กุมภาพนั ธ 2564 1.3.3 กลุมเปา หมายเขา รบั การประชุมไดแ ก ผบู ริหารโรงเรียน ครผู ูรับผิดชอบงาน ประกันคุณภาพการศึกษาและผสู นใจโดยแบงกลมุ เขา ประชุมจำนวน 3 กลุมตามวันและเวลาทกี่ ำหนด ไดแ กว ันที่ 22,23,25 กมุ ภาพันธ 2564 โดยมีรายละเอียดดงั ภาคผนวก

46 ระยะที่ 2 การนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 2.1 การนเิ ทศตดิ ตามการดำเนินงานระบบประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ทุกโรง ดวยระบบการนิเทศ ออนไลนโ ดยไดดำเนนิ การดังนี้ 2.1.1 ศึกษาเอกสาร ขอมูลและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการดำเนินการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาตามประกาศกฎกระทรวงพทุ ธศักราช 2561 การประเมนิ คุณภาพภายนอก 2.1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามแบบตาง ๆ เพื่อการเก็บขอมูล 2.1.3 สรางแบบสอบถามเพื่อเก็บขอมูลดานสภาพปจจุบัน ปญหา และการ ดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาแบบมาตรประมาณคา 5 ระดับ 2.1.4 นำแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหผูท รงคุณวุฒิดานการประกันคุณภาพการศึกษา ตรวจสอบความถกู ตอ งของแบบสอบถาม 2.1.5 นำแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบมาจัดทำเปนแบบเก็บขอมูลแบบ ออนไลนดวยระบบ Google form 2.1.6 เก็บขอ มลู ดา นสภาพปจ จบุ ันปญ หาและการดำเนนิ งานประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาดว ยแบบสอบถามออนไลนที่สรา งข้ึน 2.1.7 นำขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามมาวิเคราะหสังเคราะหเพื่อนำผลไปใชในการ วางแผนในการนเิ ทศตดิ ตามข้ันตอนตอไป 2.2 การนิเทศตดิ ตามการดำเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ดวยการนิเทศแบบชี้แนะและ แลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดานการประกันคุณภาพภายในเพื่อเตรียมความพรอมสูการประเมิน คณุ ภาพภายนอกไดด ำเนินการดงั น้ี 2.2.1. แตงต้งั คณะกรรมการนเิ ทศตดิ ตามเพ่ือเตรยี มความพรอมรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกปง บประมาณ 2564 ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ท่ี 126/2564 ลงวันที่ 16 กมุ ภาพนั ธ 2564 และประชุมคณะกรรมตามคำสั่ง ในวันที่ 2 มีนาคม 2564 ณ หองประชุมสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา 2.2.2 สรางเครือ่ งมือนิเทศติดตามการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือเตรยี มความพรอมรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกจำนวน 2 ชุด ไดแก

47 ชุดที่ 1 แบบนิเทศติดตามเพื่อตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 5 ดาน 40 ขอ ยอ ย เปนแบบตรวจเชค็ รายการ ปฏิบัติ หรอื ไมไ ดป ฏบิ ตั ิ ชุดที่ 2 แบบตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพื่อเตรียมความพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 ระดบั ปฐมวัยและระดบั ขนั้ พ้นื ฐาน 2.2.3 ดำเนนิ การนิเทศติดตามโดยใชเครือ่ งมือนเิ ทศซงึ่ ผานการตรวจสอบจากท่ี ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน และไดแบงการนิเทศเปนทีม 2 ทีม เพื่อออกนิเทศตามกำหนดการ นิเทศ 2.2.4 ประเด็นการนิเทศ ในการนเิ ทศติดตามการเตรยี มความพรอมรับการประเมิน คุณภาพภายนอกปงบประมาณ 2564 ซึ่ง สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีแนวทางการประเมินในชว งสถานการณก ารแพรระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา COVID-19 คือ ประเมินระยะแรกดวยการวิเคราะห SAR ซ่งึ ไดดำเนินการอัพโหลดขึ้นระบบ e-sar ไปแลว ดังน้ันการ นิเทศติดตามจึงมุงใหกำลังใจโรงเรียนและสรางความเขาใจกับโรงเรียนเกี่ยวกับแนวทางการประเมิน คุณภาพภายนอกในสถานการณการแพรระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา COVID-19 และใหความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหเขมแข็งตอไปอยางเปนระบบ ตอ เนอ่ื งและมีคณุ ภาพ 2.2.5 นำขอมูลที่ไดจากการนิเทศติดตามมาวิเคราะห สังเคราะหเพื่อเปนขอมูลใน การวางแผนพฒั นาการดำเนนิ การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาตอไป ระยะที่ 3 การสังเคราะหขอมูลและการประเมินผลการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา 3.1 การสงั เคราะหร ายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ปก ารศึกษา 2563 ของ โรงเรยี นในสงั กดั 3.1.1 รวบรวมรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปการศกึ ษา 2563 ในรปู แบบไฟล PDF 3.1.2 จัดหมวดหมูรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปการศึกษา 2563 เปนเครือขา ยโรงเรยี น 7 เครือขาย 3.1.3 แตงตั้งคณะกรรมการสังเคราะหรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปก ารศึกษา 2563

48 3.1.3 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานฝายบันทึกขอมูลลงระบบเพื่อชี้แจง กระบวนการบนั ทึกขอมลู ลงในฐานขอมูล 3.1.4 ประชุมเพื่อสรุปขอมูลการสังเคราะหรายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) ปการศึกษา 2563 3.1.4 จัดทำรปู เลมรายงานการสังเคราะหการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 ของสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 3.1.5 รายงานผลการสังเคราะหการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ป การศึกษา 2563 ตอ ตน สังกัดและโรงเรยี นในสงั กดั 3.2 การตรวจเยี่ยมพื้นที่เชิงประเมินเพื่อพัฒนากระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาที่สงผลตอการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผูเรียนและคนหาโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติท่ี เปน เลิศดา นการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3.2.1 แตง ตงั้ คณะกรรมการตรวจเยย่ี มพ้นื ท่เี ชิงประเมินเพื่อพฒั นากระบวนการ ประกนั คุณภาพภายใน 3.2.2 ประชมุ คณะกรรมการดำเนินงาน 3.2.3 คดั เลอื กโรงเรยี นท่ีมผี ลการปฏิบัติทเี่ ปน เลิศเพื่อนำเสนอขอมลู ในการตรวจ เย่ยี มพืน้ ทเ่ี ชงิ ประเมนิ จำนวน 4 โรง 3.2.4 ดำเนินการตรวจเยยี่ มพ้ืนทเ่ี ชิงประเมนิ แบบออนไลน ผานระบบ Google Meet เนอ่ื งจากสถานการณการแพรระบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 3.2.5 สรุปรายงานผลการตรวจเย่ยี มพื้นที่เชิงประเมนิ เพื่อพัฒนากระบวนการ ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทีส่ งผลตอ การพฒั นาสมรรถนะสำคญั ของผเู รียน เครอื่ งมอื ท่ใี ชในการเกบ็ รวบรวมขอมูล 1. แบบสอบถามเพ่ือเก็บขอ มูลดานสภาพปจ จุบัน ปญ หา และการดำเนินงานประกนั คุณภาพ ภายในสถานศึกษาแบบมาตรประมาณคา 5 ระดบั 2. แบบนเิ ทศติดตามการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาเพอื่ เตรยี มความพรอม รับการประเมินคุณภาพภายนอกจำนวน 2 ชุด ไดแ ก ชุดที่ 1 แบบนิเทศติดตามเพื่อตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จำนวน 5 ดาน 40 ขอยอ ย เปน แบบตรวจเชค็ รายการ ปฏิบัติ หรอื ไมไ ดป ฏิบัติ

49 ชุดที่ 2 แบบตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพื่อเตรียมความพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดบั ปฐมวัยและระดบั ขั้นพนื้ ฐาน 3. เครอื่ งมือสังเคราะหรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ซึ่งพัฒนาโดยสำนัก ทดสอบทางการศกึ ษา แบง ออกเปน 2 สวน ไดแก สวนที่ 1 การสังเคราะห ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา สวนที่ 2 เครื่องมือวเิ คราะหป ระสทิ ธภิ าพ และโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา 4. เครื่องมือการตรวจเยย่ี มพ้ืนทีเ่ ชงิ ประเมนิ ซึ่งพัฒนาโดยสำนักทดสอบทางการศึกษา เปน แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) มี 3 ฉบบั คือ เครื่องมือฉบับที่ 1 แบบเก็บรวบรวมขอมูลดานกระบวนการบริหารและการจัดการของ สถานศึกษา จากการตรวจเยี่ยมพื้นที่เชิงประเมินฯ มีประเด็นหลักจำนวน 4 ประเด็น และรายการ พิจารณา จำนวน 15 รายการ เครื่องมือฉบับที่ 2 แบบเก็บรวบรวมขอมูลดานกระบวนการจัดการเรียนรู มีจำนวน 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ขอ มูลทั่วไป และตอนท่ี 2 แบบเกบ็ รวบรวมขอ มลู ดานกระบวนการจัดการเรยี นรู มี ประเด็นหลักจำนวน 4 ประเดน็ และรายการพิจารณา จำนวน 23 รายการ เครื่องมือฉบับที่ 3 แบบเก็บรวบรวมขอมูลสมรรถนะของผูเรียน มีจำนวน 2 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ขอ มลู ทวั่ ไป และตอนที่ 2 แบบเกบ็ รวบรวมขอมูลดานกระบวนการจัดการเรียนรู มีประเด็น หลักจำนวน 5 ประเด็น และรายการพจิ ารณา จำนวน 11 รายการ กระบวนการนเิ ทศ กระบวนการนิเทศแบบ 3PPS Model

50 กระบวนการนิเทศตดิ ตามของรูปแบบ กระบวนการนิเทศตามรูปแบบ 3PPS Model เพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ประกอบดวย 3 ขน้ั ตอนดังน้ี 1. ขั้นวิเคราะหนโยบายรอบดาน เปนการรับทราบแนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงการ ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษามขี ั้นตอน ดงั น้ี 1.1 กระทรวงศึกษาธิการออกประกาศกฎกระทรวงวาดวยการประกันคุณภาพ การศึกษา ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ 2561 และ ประกาศใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานศนู ยก ารศึกษาพิเศษ ลงวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 1.2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานออกประกาศเรื่องแนวปฏิบัติการ ดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. 2561 1.3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สื่อสารสรางความเขาใจเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษาพ.ศ. 2561 แกผูบรหิ ารสถานศึกษา ผูรับผิดชอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน และผูเกี่ยวของทุกคนผานชองทางตาง ๆ ไดแก การประชมุ สมั มนา การจัดทำเอกสารเผยแพรเพ่อื ใหโรงเรยี นในสังกดั การสรา งความเขาใจผาน ชองทางการติดตอสื่อสารผานส่ือโซเชียลมีเดีย เว็บไซต และ แอปพลิเคชันไลน เพื่อสรางความเขาใจ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศกึ ษา 2. ข้นั ดำเนินงานเปนระบบประกอบดวย 2.1 การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนประกอบดวย กระบวนการทำงานดวยระบบ PDCA ดังน้ี 2.2.1 ข้นั วางแผน (Plan) 1) วางแผนและเตรยี มความพรอมดา นบคุ ลากร และขอ มลู ตา ง ๆ ไดแก 1. ใหความรแู ละสรางความตระหนักแกบคุ ลากร ดา นการประกัน คุณภาพการศกึ ษา 2. แตง ต้งั คณะกรรมการฝายตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ 3. รวบรวมขอมูลดา นตา ง ๆ ยอนหลัง 3 ป 4. วเิ คราะหส งั เคราะหผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในยอนหลัง 3 ป 5. วเิ คราะห สังเคราะหผ ลการประเมินคุณภาพภายนอกยอนหลัง 6. วเิ คราะหส งั เคราะหแผนพฒั นาการศึกษาแผนปฏิบตั ิการประจำป

51 2) กำหนดปฏทิ นิ การดำเนินงาน 3) เตรยี มความพรอ มดานทรพั ยากรและเทคโนโลยี 2.1.2 ขั้นดำเนนิ การ (Do) 1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาและเปาหมายโดยใชขอมูลจากการ สังเคราะหยอ นหลัง 3 ป มาเปน ฐานในการกำหนดเปา หมาย 2) ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาและคาเปาหมายใหผ เู ก่ียวขอทราบ 3) จดั ลำดับความสำคัญของเปาหมาย 4) กำหนดแนวทางดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ และผูรับผิดชอบ โครงการหรอื กจิ กรรมที่ชดั เจน 5) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับสภาพปญหาและ เปาหมายโดยกำหนดโครงการหรอื กิจกรรมใหส อดคลองกบั เปา หมายที่ตองการพัฒนา 6) ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ตามเปาหมายและ ระยะเวลาที่กำหนด 7) สง เสรมิ สนับสนนุ อำนวยความสะดวกในการดำเนินงานตามแผน 2.1.3 ขั้นตรวจสอบ (Check) 1) นเิ ทศ ตดิ ตาม ดูแล ใหคำปรึกษาในการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นา 2) วางกรอบการประเมิน และ จัดเก็บขอมูล โดยใชเครื่องมือตาง ๆ ตาม ความเหมาะสม 3) ดำเนินการประเมนิ คุณภาพระหวา งการดำเนินงานภาคเรียน 4) ใหข อมลู ยอ นกลบั ระหวา งการดำเนนิ งานเพือ่ ปรบั ปรุงแกไขขอ บกพรอง 2.1.4 ขัน้ การดำเนินงานใหเหมาะสม (Action) 1) รวบรวมขอมลู จากการดำเนินงานตามมาตรฐาน 2) นำขอมลู ทไี่ ดมาวเิ คราะห ตรวจสอบเพือ่ จดั ทำรายงาน 3) วิเคราะหข อ มูลตามมาตรฐาน 4) สรปุ ผลการดำเนินงานเปรียบเทยี บกับคา เปาหมาย วเิ คราะห สงั เคราะหห าจุดเดน จดุ ดอ ย จดุ ควรพัฒนา และแนวทางการยกระดบั คณุ ภาพในปตอไป 5) จดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 6) เขียนรายงานการประเมินตนเองเสนอตอตนสังกัด และนำขอมูล มาพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตอ ไป

52 2.2 การนิเทศติดตามจากหนวยงานตนสังกัด เปนกระบวนการนิเทศติดตาม และ แนะนำชวยเหลอื การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจากตน สงั กดั ประกอบดวย 2.2.1 การนิเทศติดตามและสง เสริมสนบั สนนุ การดำเนินงาน 1) รวมประชุมชี้แจงเพื่อสรางความเขาใจการดำเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อใหบุคลากรภายในโรงเรยี นรับทราบและมีความตระหนกั ในการรวมมือกันพัฒนาระบบ ประกนั คณุ ภาพภายใน 2) ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพ่อื สรางความเขาใจแกสถานศึกษาระดบั เครือขาย เพื่อใหโรงเรยี นสามารถจัดทำระบบประกนั คุณภาพในสถานศึกษาตามประกาศกฎกระทรวง 2561 ได อยา งเปนระบบเชอื่ ถอื ไดและมปี ระสิทธผิ ล 3) อบรมพัฒนาครูแกนนำระดับเครือขายเพื่อชวยสื่อสารสรางความเขาใจ ในกระบวนการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาแกโรงเรียนในระดบั เครอื ขา ย 4) นิเทศติดตามจากผูรับผิดชอบจากหนวยงานตนสังกัดเพื่อสะทอนการ ดำเนนิ งานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาทั้งในภาพรวม 5) นิเทศตามคำรองขอเฉพาะโรงเรียนเพื่อดูแล แนะนำ และใหการนิเทศ ตามความตอ งการเฉพาะของโรงเรียนตา ง ๆ ตามประเด็นหรือเน้ือหาทโ่ี รงเรียนตองการ 2.3 การเชื่อมโยงขอมูลสูการประเมินคุณภาพภายนอก เปนกระบวนการเตรียม ความพรอมเพื่อใหส ถานศึกษามีความพรอมในการรบั การประเมินคุณภาพภายนอกโดยมกี ระบวนการ ดังนี้ 2.3.1 การวิเคราะหสังเคราะห SAR ของสถานศึกษาเพื่อรับทราบขอมูลจากการ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาวาผลการดำเนินงานอยูในระดับใดและบรรลุเปาหมาย หรอื ไม 2.3.2 เขียนขอเสนอแนะ ประเด็นสำคัญของสถานศึกษาแตละโรงเรียนวามี จุดเดน จุดควรพฒั นาอยา งไรบางเพือ่ เสนอตอคณะกรรมการประเมนิ 2.3.3 ดำเนนิ การเตรียมความพรอมกอนรับการประเมินคุณภาพภายนอก (Mock Assessment) ใหแกสถานศึกษาที่พรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประชุมชี้แจงและ ซกั ซอมการประเมิน 2.3.4 รวมใหขอมูลในการประเมินคุณภาพภายนอกและนำขอ มูลทีไ่ ดมาปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการศกึ ษา 2.4 ขั้นการประเมินคุณภาพภายนอก เปนกระบวนการที่สถานศึกษาเขารับการ ประเมินคุณภาพภายนอกโดยคณะผูประเมินจาก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา (สมศ.) องคก ารมหาชน ซึ่งผลจากการประเมินคุณภาพภายนอกจะสะทอนผลกลับไปยัง

53 การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียน และ ใชเปนขอมูลใหกับตนสังกัดใน การปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการศึกษาตอไป 3. ขั้นประสบความสำเร็จ เปนขั้นตอนสรุปภาพความสำเร็จหลังจากการดำเนินงาน ไปในแตละรอบปและรอบประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อนำขอมูลที่ไดมาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาอยางตอ เนอื่ งตอ ไป ไดแ ก 3.1 ประสบความสำเรจ็ ตามเปา หมายมาตรฐานการศกึ ษาที่วางไว 3.2 ประสบผลสำเรจ็ จากการประเมนิ คุณภาพภายนอก 3.3 ประสบความสำเร็จในการสะทอนขอมูล หรือไดขอมูลที่แทจริงในการนำไปเปน ฐานขอมูลในการพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษา และเปน ขอมูลใหกบั ตน สงั กดั ในการปรับปรุงพัฒนา ในระดับนโยบายตอ ไป ปฏิทินการนิเทศ ระยะเวลาในการนเิ ทศ ตุลาคม 2563 – กนั ยายน 2564 กจิ กรรมนเิ ทศ วตั ถุประสงค ผรู บั การนเิ ทศ ผนู เิ ทศ ระยะที่ 1 การสรา งความรูความ 1. เพือ่ สรางความรูความ โรงเรียนใน นางปรียา สังกัดทุกโรง สงคป ระเสริฐ เขาใจเกย่ี วกับการประกนั คุณภาพ เขา ใจ การดำเนินการประกนั และคณะ คุณภาพการศึกษาของ การศกึ ษา โรงเรียนในสังกดั สำนกั งาน - การศกึ ษาสภาพปจจบุ นั และ เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ขอ มลู สารสนเทศดา นการประกนั ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เขต 1 - การรวบรวมขอมลู พฒั นา 2. เพอื่ นิเทศ ตดิ ตาม ใหคำ เอกสาร คูมือ เพอื่ สรางความเขา ใจ แนะชำชวยเหลอื และ ดา นการประกันคุณภาพการศึกษา ประเมินผลการดำเนนิ งาน ประกันคุณภาพการศึกษาของ - การประชุมเพื่อสอ่ื สารสรา งความ โรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขา ใจดานการประกนั คุณภาพ เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา ภายในสถานศกึ ษา

54 กิจกรรมนเิ ทศ วัตถปุ ระสงค ผูร ับการนเิ ทศ ผูนเิ ทศ ระยะที่ 2 การนิเทศติดตามการ ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช โรงเรยี นทกุ โรง ศึกษานิเทศกทกุ โรงเรยี นเขารบั คน ดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เขต 1 การประเมนิ ภายนอก 50 นางปรียา สงค ภายในสถานศกึ ษา 3. เพ่อื พฒั นาระบบการ โรง ประเสรฐิ และ คณะ - การนิเทศติดตามการดำเนินงาน ประกนั คุณภาพภายใน โรงเรยี นใน สงั กดั ทุกโรง ระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา สถานศกึ ษาของโรงเรยี นใน สังกดั สำนักงานเขตพื้นที่ โรงเรียนทีไ่ ดรบั ของสถานศึกษาในสังกัด การศกึ ษาประถมศึกษา คัดเลอื ก นครศรีธรรมราช เขต 1 -การนเิ ทศตดิ ตามการดำเนนิ งาน 4. เพ่อื สงั เคราะหรายงานการ ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประเมินตนเองของ เพ่ือเตรยี มความพรอ มรับการ สถานศกึ ษา (SAR) ป ประเมนิ คุณภาพภายนอก ระยะที่ 3 การสังเคราะหขอมูล การศกึ ษา 2563 ของโรงเรียน และการประเมินผลการพัฒนา ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี ระบบประกันคุณภาพภายใน การศึกษาประถมศกึ ษา สถานศกึ ษา นครศรธี รรมราชเขต 1 - การสังเคราะหรายงานการ 4. เพ่ือตรวจเย่ียมพ้นื ท่ีเชงิ ประเมนิ ของโรงเรียนในสังกัด ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครศรธี รรมราช (SAR) ปการศึกษา 2563 ของ เขต 1 โรงเรียนในสงั กัด -การตรวจเยี่ยมพื้นที่เชิงประเมิน เพื่อพัฒนากระบวนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาที่สงผล ตอการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของ ผูเรียนและคนหาโรงเรียนที่มีผล การปฏิบัติที่เปนเลิศดานการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

บทที่ 4 ผลการนิเทศ ผลการนิเทศติดตามการดำเนินการระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนใน สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ประจำปการศึกษา 2564 มี การดำเนนิ งานแบง เปน 3 ระยะ ดงั น้ี 1. ผลการสรา งความรคู วามเขาใจ และพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาของ โรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 2. ผลการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 3. ผลการสังเคราะหขอมูลรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและการประเมินผล การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ผลการดำเนินงานระยะที่ 1 การสรา งความรูความเขาใจเกี่ยวกบั การประกนั คุณภาพการศึกษา กิจกรรมท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพปจจบุ นั การดำเนินงานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา ของสถานศึกษาในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ผลการศึกษาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ปรากฏผลดัง ตารางที่ 1-5

56 ตารางที่ 1 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบันการดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขน้ั การวางแผน ท่ี รายการประเมนิ Χ SD ระดบั การ ปฏบิ ัติ 1 การใหค วามรูความเขาใจแกบุคลากรดานการ 4.57 0.51 มากทีส่ ุด ประกนั คุณภาพการศึกษา 2 แตง ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพ 3.09 0.70 ปานกลาง การศกึ ษาและชแี้ จงบทบาทหนา ท่กี ารดำเนินงาน 3 การวิเคราะห สังเคราะหขอ มูลยอ นหลงั 3 ป 4.05 0.74 มาก 4 ศกึ ษาวิเคราะหจดุ เดนจุดดอ ยจากผลการประเมนิ 3.71 0.72 มาก คุณภาพภายนอกยอนหลัง 5 วเิ คราะห สงั เคราะห แผนพัฒนาคุณภาพ 4.24 0.70 มาก การศกึ ษา และแผนปฏิบตั ิการประจำป 6 มกี ารกำหนดปฏิทนิ การดำเนินงานระบบประกนั 4.24 0.70 มาก คุณภาพภายในทช่ี ดั เจน 7 เตรยี มความพรอ มดานเทคโนโลยแี ละทรพั ยากร 3.67 0.80 มาก ดา นการจัดการศึกษาอยางเพียงพอกับความ ตองการ เฉลี่ย 4.05 0.69 มาก จากตารางที่ 1 พบวาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราชเขต 1 ขัน้ การวางแผน ในภาพรวมมีระดับการปฏิบัติอยูในระดับมากและเมื่อพิจารณารายประเด็นพบวาประเด็นที่มีการ ดำเนินการมากที่สุดไดแก การใหความรูแกบุคลากรซึ่งมีระดับการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ =4.57,SD=0.51) สวนประเด็นที่ยังมีการปฏิบัตินอยไดแกประเด็นการแตงตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานซ่ึงมรี ะดบั การปฏบิ ัติอยูในระดับปานกลาง ( Χ =3.09,SD=0.70)

57 ตารางท่ี 2 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกนั คุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขัน้ ดำเนินการ ท่ี รายการประเมิน Χ S.D ระดบั การ ปฏิบตั ิ 1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาตามประกาศ สพฐ. 5.00 0.00 มากท่ีสดุ 2 กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมตามบรบิ ท 1.00 0.00 นอ ยท่สี ดุ 3 ประกาศมาตรฐานการศึกษาและคาเปา หมายให 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ ผเู ก่ียวขอ งทราบ 4 จัดลำดบั ความสำคัญของเปาหมายสูการปฏบิ ัติ 3.43 0.60 มาก 5 กำหนดแนวทางดำเนินการ ระยะเวลา 4.29 0.64 มาก งบประมาณ และผูรับผิดชอบโครงการหรอื กจิ กรรมท่ีชดั เจน 6 จัดทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาใหส อดคลอง 4.33 0.66 มาก กบั สภาพปญ หาและเปาหมาย 7 ดำเนนิ การตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษา ตาม 4.24 0.62 มาก เปา หมายและระยะเวลาท่กี ำหนด 8 สง เสริมสนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการ 4.71 0.46 มากทีส่ ดุ ดำเนนิ งานตามแผน 9 การตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผล ระหวางการ 3.71 0.72 มาก ดำเนนิ งาน เฉล่ยี 3.97 0.41 มาก จากตารางที่ 2 พบวาสภาพปจจุบนั การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขนั้ ดำเนนิ การ ในภาพรวมมีการปฏบิ ตั อิ ยใู นระดับมาก ( Χ =3.97,SD=0.41) และเมื่อพิจารณารายขอ พบวาประเด็นที่มีการปฏิบัติสูงสุดไดแก การกำหนดมาตรฐานการศึกษาตามประกาศ สพฐ. และ ประกาศมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายใหผูเกี่ยวของทราบ มีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ =5, SD = 0.00) ประเด็นรองลงมาไดแก สงเสริมสนับสนุน และอำนวยความสะดวกใน การดำเนินงานตามแผนมีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ =4.71, SD = 0.46) และประเด็นที่มี

58 การปฏิบัตินอยที่สุดไดแกกำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมตามบริบท โดยมีระดับการปฏบิ ัตอิ ยูใน ระดบั นอยทสี่ ุด ( Χ =1 ,SD= 0.00) ตารางท่ี 3 ผลการศกึ ษาสภาพปจ จบุ ันการดำเนนิ งานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต1 ขน้ั การตรวจสอบ ท่ี รายการประเมิน Χ SD ระดบั การ ปฏิบตั ิ 1 นิเทศ ติดตาม ดูแล ใหค ำปรึกษาในการ 4.48 0.60 มากทสี่ ดุ ดำเนนิ งานตามแผนพัฒนา 2 วางกรอบการประเมิน และ จัดเก็บขอมูล โดยใช 3.86 0.73 มาก เคร่ืองมอื ตาง ๆ อยา งหลากหลายตามความ เหมาะสม 3 ดำเนนิ การประเมินคุณภาพภาคเรยี นละ 1 ครัง้ 3.10 0.62 ปานกลาง 4 ใหขอ มูลยอ นกลับระหวางการดำเนนิ งานเพื่อ 4.05 0.67 มาก ปรบั ปรุงแกไขขอบกพรอง เฉลยี่ 3.87 0.66 มาก จากตารางที่ 3 พบวาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขนั้ ตรวจสอบ ในภาพรวมมีการปฏิบตั ิอยใู นระดับมาก ( Χ =3.87,SD=0.66) และเมอ่ื พิจารณารายขอ พบวาประเด็นที่มีการปฏิบัติสูงสุดไดแกนิเทศ ติดตาม ดูแล ใหคำปรึกษาในการดำเนินงานตาม แผนพัฒนา มีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ =4.88,SD=0.60) และประเด็นที่มีการปฏิบัตินอย ไดแก ดำเนินการประเมินคุณภาพภาคเรียนละ 1 ครั้ง มีระดับการปฏิบัติระดับปานกลาง ( Χ =3.10,SD=0.62)

59 ตารางที่ 4 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ขัน้ ประเมินและใหขอมลู ยอ นกลับ ที่ รายการประเมิน Χ SD ระดบั การ ปฏิบัติ 1 รวบรวมขอ มลู จากการดำเนินงานตามมาตรฐาน 4.67 0.48 มากทส่ี ุด 2 นำขอมูลที่ไดมาวิเคราะห ตรวจสอบเพ่อื จดั ทำ 4.86 0.36 มากทส่ี ุด รายงาน 3 วิเคราะหข อมูลตามมาตรฐาน 4.90 0.30 มากที่สดุ 4 สรปุ ผลการดำเนินงานเปรยี บเทียบกับคา 4.90 0.30 มากที่สดุ เปาหมาย 5 วิเคราะห สังเคราะหหาจดุ เดน จุดดอ ย จุดควร 4.43 0.51 มาก พัฒนา 6 การศกึ ษาและจดั ทำแนวทางการยกระดับ 4.57 0.51 มากที่สดุ คุณภาพการศึกษา ในปต อไป 7 จดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ 8 เขยี นรายงานการประเมนิ ตนเองเสนอตอตน 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ สงั กัด 9 นำขอ มูลทีไ่ ดไปพัฒนาการศกึ ษาในปตอไป 4.90 0.30 มากท่ีสุด 10 ปรับปรงุ มาตรฐานการศกึ ษาและคา เปาหมาย 3.33 0.48 ปานกลาง เฉล่ีย 4.66 0.32 มากทส่ี ดุ จากตารางที่ 4 พบวาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นใหขอมูล ยอนกลับ ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ =4.66,SD=0.32) และเมื่อพิจารณา ราย ขอพบวา ประเด็นที่มกี ารปฏบิ ัตสิ ูงสุดไดแกจดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และ การ เขียนรายงานการประเมินตนเองเสนอตอตนสังกัด มีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ = 5.00,SD=0.00) และประเด็นที่มีการปฏิบัตินอยไดแก ปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมาย มรี ะดบั การปฏบิ ตั ริ ะดับปานกลาง ( Χ =3.33, SD=0.48)

60 ตารางท่ี 5 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบนั การดำเนินงานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 ท่ี รายการประเมิน Χ SD ระดบั การ ปฏิบัติ 1 ขน้ั การวางแผน 4.05 0.69 มาก 2 ข้ันการดำเนนิ การ 3.97 0.41 มาก 3 ขัน้ การตรวจสอบ 3.87 0.66 มาก 4 ขั้นการประเมินและใหข อมูลยอนกลับ 4.66 0.32 มากท่ีสดุ เฉลี่ย 4.13 0.52 มาก จากตารางที่ 5 พบวาสภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ในภาพรวมมี การปฏิบัติอยูในระดับมาก ( Χ =4.13, SD=0.52) และเมื่อพิจารณารายขอพบวาขั้นตอนที่มีการ ปฏิบัติสูงสุดไดแก ขั้นการประเมินและใหขอมูลยอนกลับโดยมีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด ( Χ = 4.66, SD=0.32) และ ลำดับถัดมาไดแก ขั้นการวางแผน( Χ =4.05, SD=0.69), ขนั้ ดำเนินการ ( Χ =3.97,SD=0.41), และขน้ั การตรวจสอบ( Χ =3.87,SD=0.66) ตามลำดบั กิจกรรมท่ี 2 การสรางคลังความรูดานการประกันคณุ ภาพการศึกษาไดดำเนินการเพ่ือพัฒนา รวบรวม และสรางคลังความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่ออำนวยความสะดวกแก สถานศกึ ษาดงั นี้ 1. สรางชองทางสื่อสารดานการประกันคุณภาพการศึกษากับโรงเรียนในสังกัดโดย การสรางกลมุ ไลนช ือ่ “ประกนั คณุ ภาพ NST1” 2. พัฒนาเว็บไซตเพื่อใหความรูและเปนคลังความรูดานการประกันคุณภาพ การศึกษา เชน เอกสารทางวิชาการ สรุปรายงานผล ลิงคความรูตาง ๆ แบบออนไลน ชื่อ“หองนิเทศ ออนไลน ศน.ปรียา สงคป ระเสริฐ” เขา ถงึ โดย https://sites.google.com/esdc.go.th/svnst1/ 3. เผยแพรความรูและกิจกรรมตาง ๆ ดานการสงเสริมสนับสนุนและการนิเทศ ติดตามการประกนั คุณภาพการศึกษาผา นเพจเฟชบุค “สาระนา รู by ศน.Dr.tooktook” 4. จดั ทำเอกสารใหความรูดานการประกันคณุ ภาพการศึกษา การจัดทำรายงานการ ประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

61 กิจกรรมที่ 3 การประชุมเพื่อสื่อสารสรางความเขาใจดานการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา แก ผูบริหาร และครูผูรับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดได ดำเนนิ การ ประชุมทางไกลแบบออนไลนดวยระบบ MS TEAM ผลการดำเนนิ งานดังนี้ 1. กลมุ เปา หมายเขา รวมประชมุ 109 โรง พบวามีผเู ขา รว มประชมุ ครบ 109 โรง คิดเปนรอ ยละ 100 2. ผลการประเมินความความพงึ พอใจของผูเขาประชุมทางไกลเพ่ือสรางความเขา ใจ การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาโดยการประชุมทางไกลผานระบบ MS TEAM ปรากฏดัง ตารางที่ 6 ตารางท่ี 6 ผลการประเมินความพึงพอใจของผเู ขา รวมประชมุ ทางไกลผา นระบบ MS TEAM ท่ี รายการประเมนิ คา เฉลี่ย S.D ระดับคุณภาพ ดานสอื่ เทคโนโลยีการประชมุ 4.41 0.63 มาก 1 ความชดั เจนของสัญญาณภาพ 4.38 0.59 มาก 2 ความชัดเจนของสัญญาณเสียง 4.27 0.70 มาก 3 ความชดั เจนของไฟลง านนำเสนอ 4.59 0.60 มากทส่ี ุด ดา นเน้อื หาและผูใหความรู 4.69 0.49 มากทส่ี ุด 4 เน้อื หาสาระในการประชุมมปี ระโยชนต อ โรงเรยี น 4.73 0.47 มากที่สุด วิทยากรมีความรูความสามารถในเน้อื หาที่ มากทส่ี ดุ 5 รบั ผดิ ชอบ 4.73 0.46 เวลาในการบรรยายของวทิ ยากรมคี วามเหมาะสม มากทส่ี ุด 6 กับเน้อื หา 4.62 0.55 ดา นการดำเนนิ การประชมุ 4.56 0.59 มากทีส่ ุด 7 ความสะดวกในการประสานงานและการแกป ญหา 4.45 0.61 มาก 8 ความพรอ มในดา นเอกสารการประชุม 4.65 0.54 มากท่ีสุด 9 ความสะดวกของโรงเรยี นในการประชมุ ออนไลน 4.53 0.64 มากทส่ี ุด 10 เวลาในการจดั ประชมุ เหมาะสมกับเน้ือหา 4.53 0.63 มากทส่ี ุด 11 ความพึงพอใจของทานในภาพรวมของการประชุม 4.62 0.54 มากท่ีสดุ เฉลย่ี 4.55 0.59 มากท่ีสุด

62 จากตารางที่ 6 พบวาผูเขาประชุมมีความพึงพอใจตอการจัดประชุมในภาพรวมอยูในระดับ มากทส่ี ดุ ( Χ =4.55, SD=0.59) และเม่ือพิจารณารายดา นพบวา ดา นดานส่อื เทคโนโลยีการประชุมมี ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( Χ =4.41, SD=0.63) ดานเนื้อหาและผูใหความรูมีความพึงพอใจอยู ในระดับมากท่ีสุด ( Χ =4.69, SD=0.49) ดา นการดำเนนิ การประชมุ มีความพึงพอใจออยูในระดับมาก ที่สุด ( Χ =4.56, SD=0.59) ขอเสนอแนะอ่นื ๆ ขอคิดเห็นเชงิ บวก ขอเสนอแนะ ไดความรเู ปน แนวทางปฏิบตั ชิ ัดเจน สัญญาณเสยี ง มเี สยี งกรอกแกรกรบกวนตลอดเวลา ดมี ากคะ วิทยากรอธบิ ายละเอยี ดมากคะ สัญญาณเสยี งไมค อยดเี ทา ท่คี วร ขาดๆหายๆ จะนำความรูทีไ่ ดไปปรบั ใชกบั โรงเรยี น � ควรปรบั ปรงุ สัญญาณ ควรใหครูเขาอบรมทั้งโรงเรียน เพราะครูเปนผู ครคู วรไดร บั การประชมุ ทกุ คน ปฏบิ ัติ ควรใหคำแนะนำกอ นจัดทำ sar ของแตล ะปก ารศึกษา กรุณา ระบุหลักฐานตามตัวช้ีวัดใหดว ยจะเปน พระคุณ ขอขอบคณุ สำหรบั ความรทู ี่ไดรบั คะ การประชุมแบบน้ีดีประหยัดงบประมาณแตยังคง อยา งสูงคะ เวลาในการประชุมมาก นาจะครึ่งวัน บางกิจกรรม ไดเ นือ้ หาสาระครบถวน มีแบบฟอรมการเขียนและรองรอยหลักฐานที่ อาจจะใชเ วลานอ ยลง ได โรงเรียนตองจัดสงใหจะดีมากคะ ขอบคุณคะสุด เน้ือหามาก เวลานอ ย รวบรัดมากเกนิ ควรเพมิ่ เวลาในการอบรมใหม ากกวานค้ี ะ ยอดมากๆ ค ว ร ใ ช  เ ว ล า ก า ร ป ร ะ ช ุ ม ใ ห  ม า ก ก ว  า น ี ้ เ พ ื ่ อ จ ะ ไ ด วิทยากรพูดไดดีมสี าระ รายละเอียดมากขึ้น ครเู ขาประชมุ ทกุ คนเพราะความรดู ีมาก ขอมูลเปนประโยชน ยอดเยี่ยมเหมาะสมกับเวลา เวลานอ ยเกินไป มากคะ วิทยากรมีความรูความสามารถ ขอใหมีการ ประชมุ อกี เปน กิจกรรมทด่ี ีมาก สามารถสรุปประเด็นการประชุมไดอยางชัดเจน เขา ใจงา ย จดั ไดด ีครับ เน้อื หาสาระเหมาะสม

63 ขอสงั เกตเพมิ่ เตมิ จากการจัดประชุม 1. เปาหมายผูเขาประชุมโรงเรียนละ 1 คน จากผลการดำเนินงานพบวาทุกโรงเรียนเขารวม การประชุมทางไกลและมีการจัดผูเขารับฟงการประชุมมากกวาจำนวนที่กำหนด โดยบางโรงเรียนได จัดหอ งประชุมใหค รทู ุกคนเขารบั ฟง โดยรับสญั ญาณจากระบบการประชมุ ทางไกล 2. การประชุมทางไกลมีขอดคี ือสามารถรับชมยอนหลังไดในกรณีท่ีมีขอสงสัยหรือในกรณีที่มี ผเู ขา รว มประชุมไมสะดวกเขา รวมประชมุ ในเวลาที่กำหนดในตารางการประชมุ ผลการดำเนินงานระยะที่ 2 การนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 กิจกรรมที่ 1 การนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ทุกโรง ดวย ระบบการนิเทศออนไลนไดดำเนินการโดยสงแบบนิเทศติดตามดวย Google form สงไปยังโรงเรียน ทุกโรงในสังกัดยกเวน 50 โรงซึ่งเขารับการประเมินคุณภาพภายนอกในปงบประมาณ 2564 จะ ไดรับการนิเทศแบบ on site ผลการตอบแบบฟอรมการนิเทศแบบออนไลนเพื่อสอบกระบวนการ ดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 แบบออนไลน จำนวน 59 โรง ปรากฏผลดังตารางท่ี 7 ตารางที่ 7 ผลนิเทศออนไลนเพอ่ื การตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา นครศรธี รรมราช เขต 1 แบบออนไลน การดำเนนิ การ รอ ยละ ขอ ที่ ประเด็นการตรวจสอบ (จำนวน) ไม 100 ปฏิบตั ิ ไม 100 100 แนใจ ปฏิบัติ 100 ขนั้ การวางแผน 100 1 การใหความรูความเขาใจแกบ ุคลากรดา นการ 59 ประกนั คุณภาพการศึกษา 2 แตง ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งานประกันคุณภาพ 5๙ การศึกษาและชีแ้ จงบทบาทหนา ทีก่ ารดำเนินงาน 3 การศึกษารวบรวมขอมูลยอนหลงั อยางนอย 3 ป 59 4 การวิเคราะห สังเคราะหขอ มูลยอ นหลัง 3 ป 59

64 การดำเนินการ รอ ยละ ขอ ที่ ประเด็นการตรวจสอบ (จำนวน) ไม ปฏบิ ตั ิ ไม แนใ จ ปฏิบัติ 5 ศกึ ษาวเิ คราะหจ ดุ เดนจุดดอ ยจากผลการประเมิน 59 100 คณุ ภาพภายนอกยอนหลัง 6 วิเคราะห สงั เคราะห แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 59 100 และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป 7 มกี ารกำหนดปฏิทนิ การดำเนินงานระบบประกัน 59 100 คุณภาพภายในท่ชี ัดเจน 8 เตรียมความพรอ มดา นเทคโนโลยีและทรัพยากร 59 100 ดา นการจดั การศกึ ษาอยางเพียงพอกบั ความ ตอ งการ ขน้ั ดำเนนิ การ 100 9 กำหนดมาตรฐานการศึกษาและเปา หมาย 59 100 10 ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาและคาเปา หมายให 59 100 ผูเก่ียวขอ งทราบ 11 จัดลำดับความสำคญั ของเปา หมาย 59 100 12 กำหนดแนวทางดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 59 100 และผูร บั ผิดชอบโครงการหรอื กิจกรรมท่ชี ัดเจน 13 จดั ทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษาใหส อดคลองกบั 59 100 สภาพปญ หาและเปาหมาย 14 ดำเนนิ การตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา ตาม 59 100 เปา หมายและระยะเวลาที่กำหนด 15 สงเสรมิ สนับสนนุ และอำนวยความสะดวกในการ 59 100 ดำเนนิ งานตามแผน 16 การติดตามตรวจสอบ ประเมินผล ระหวา งการ 59 100 ดำเนนิ งาน 17 การสรปุ รายงานผลโครงการหลังเสร็จส้นิ กิจกรรม 59 100

65 การดำเนินการ รอยละ ขอ ท่ี ประเด็นการตรวจสอบ (จำนวน) ขัน้ การตรวจสอบ ปฏิบัติ ไม ไม 18 นิเทศ ตดิ ตาม ดูแล ใหคำปรึกษาในการดำเนินงาน แนใ จ ปฏบิ ตั ิ ตามแผนพฒั นา 19 วางกรอบการประเมิน และ จัดเก็บขอมูล โดยใช 100 เครอ่ื งมือ ตาง ๆ ตามความเหมาะสม 59 100 20 ดำเนนิ การประเมนิ คุณภาพภาคเรียนละ 1 คร้งั 21 ใหข อมูลยอ นกลับระหวางการดำเนินงานเพ่ือ 59 100 ปรับปรงุ แกไขขอบกพรอง 59 100 ข้ันประเมนิ และใหขอมลู ยอนกลบั 59 100 22 รวบรวมขอ มูลจากการดำเนินงานตามมาตรฐาน 100 23 นำขอมูลทีไ่ ดมาวิเคราะห ตรวจสอบเพอื่ จดั ทำ 59 100 รายงาน 59 100 24 วเิ คราะหขอมูลตามมาตรฐาน 25 สรุปผลการดำเนนิ งานเปรียบเทยี บกับคา เปา หมาย 59 100 26 วเิ คราะห สังเคราะหหาจดุ เดน จดุ ดอ ย จุดควร 59 100 59 100 พัฒนา 27 การศึกษาและจดั ทำแนวทางการยกระดบั คุณภาพ 59 100 การศึกษา ในปต อไป 59 100 28 จดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 59 100 29 เขียนรายงานการประเมนิ ตนเองเสนอตอตน สังกัด 59 100 30 นำขอมูลทีไ่ ดไปพัฒนาการศึกษาในปต อไป 59 100 31 ปรับปรงุ มาตรฐานการศกึ ษาและคาเปาหมาย 100 ดา นการจัดการเรียนการสอน 59 100 32 ครูมแี ผนการสอนอยางนอ ย 1 วิชา 59 100 33 ครจู ดั กิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายตอบสนอง 59 100 ผูเ รียน 34 ครมู ีสอื่ การสอนในทุกระดับช้ัน

66 การดำเนินการ รอยละ ขอท่ี ประเดน็ การตรวจสอบ (จำนวน) ไม ปฏิบตั ิ ไม แนใ จ ปฏิบัติ 35 มขี อมลู สรุปผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู รยี นครบ 59 100 ทกุ ชน้ั ป 36 มีขอ มูลสรปุ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของผเู รียน 59 100 รายหองและในภาพรวมของโรงเรียน 37 มีขอมลู รอ ยละผูสำเร็จการศึกษาของนกั เรียนทจ่ี บ 59 100 การศกึ ษาในระดับชน้ั ป.6 และ ม.3 แสดงไวใ นทุก ปก ารศึกษา 38 มีการรายงานขอ มูลการดำเนินการตา ง ๆใหผทู ่ี 59 100 เกย่ี วของทราบ 39 สถานศกึ ษามนี วตั กรรมหรอื ผลงานทีเ่ ปนเลิศเปนท่ี 59 100 ยอมรับของบุคคลทว่ั ไปเปนที่ประจกั ษ 40 สถานศึกษามีชองทางการเผยแพรขอมูลที่ 59 100 หลากหลาย สรุป 59 100 จากตารางที่ 7 พบวาผลนิเทศออนไลนเพื่อการตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกัน คุณภาพภายใน สถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 แบบออนไลนจำนวน 59 โรง พบวาทุกโรงมีการดำเนินการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาแตละขั้นตอนไดแก ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนการ ตรวจสอบ ข้ันตอนการประเมินและใหข อมูลยอนกลบั และ การตรวจสอบดา นการเรยี นการสอน ครบ ทุกประเด็นทกุ โรงเรยี นคิดเปน รอ ยละ 100 กิจกรรมที่ 2 การนิเทศติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและเตรียม ความพรอ มรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก ไดด ำเนนิ การนิเทศติดตามโรงเรียนในสังกัดท่ีเขารับการ ประเมินคุณภาพภายนอกในปงบประมาณ 2564 จำนวน 50 โรง โดยมีประเด็นการนิเทศ ในการ นิเทศติดตามการเตรียมความพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอกปงบประมาณ 2564 ซึ่ง สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) มีแนวทางการประเมินในชวง

67 สถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 คือประเมินระยะแรกดวยการวิเคราะห SAR ซง่ึ ไดดำเนนิ การอพั โหลดขึน้ ระบบ e-sar ไปแลว ดังนัน้ การนเิ ทศติดตามจึงมงุ ใหกำลงั ใจโรงเรียน และสรางความเขาใจกับโรงเรียนเกี่ยวกับแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกในสถานการณการ แพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา COVID-19 และใหความรูความเขาใจเก่ียวกับการดำเนินงานประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาใหเ ขม แข็งตอไปอยางเปนระบบตอเน่ืองและมีคุณภาพ โดยมีผลการนิเทศ ตดิ ตามดังตารางท่ี 8-10 ตารางท่ี 8 ผลการนิเทศตดิ ตามเพ่อื ตรวจสอบกระบวนการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 ขอ ที่ ประเด็นการตรวจสอบ การดำเนินการ(จำนวน) รอยละ ปฏิบตั ิ ไมป ฏิบัติ 100 100 ขน้ั การวางแผน 50 100 1 การใหค วามรูความเขาใจแกบ ุคลากรดา นการประกนั 50 100 คุณภาพการศึกษา 100 100 2 แตงต้งั คณะกรรมการดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพ 50 100 การศึกษาและชีแ้ จงบทบาทหนาท่ีการดำเนินงาน 100 3 การศกึ ษารวบรวมขอมูลยอ นหลงั อยา งนอ ย 3 ป 50 100 4 การวิเคราะห สังเคราะหขอ มูลยอ นหลงั 3 ป 50 100 5 ศกึ ษาวเิ คราะหจ ดุ เดนจุดดอยจากผลการประเมนิ 50 100 100 คุณภาพภายนอกยอนหลงั 6 วิเคราะห สงั เคราะห แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา และ 50 แผนปฏิบัติการประจำป 7 มีการกำหนดปฏิทินการดำเนินงานระบบประกนั คุณภาพ 50 ภายในทช่ี ดั เจน 8 เตรยี มความพรอมดา นเทคโนโลยแี ละทรัพยากรดานการ 50 จดั การศึกษาอยา งเพยี งพอกับความตอ งการ ขัน้ ดำเนินการ 50 9 กำหนดมาตรฐานการศึกษาและเปา หมาย 50 10 ประกาศมาตรฐานการศึกษาและคา เปา หมายให 50 ผูเ ก่ียวขอ งทราบ

68 ขอ ท่ี ประเด็นการตรวจสอบ การดำเนนิ การ(จำนวน) รอ ยละ ปฏบิ ตั ิ ไมปฏิบัติ 100 100 11 จดั ลำดบั ความสำคญั ของเปา หมาย 50 100 12 กำหนดแนวทางดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ และ 50 100 ผรู บั ผดิ ชอบโครงการหรือกิจกรรมท่ชี ดั เจน 100 13 จดั ทำแผนพฒั นาการจัดการศึกษาใหสอดคลองกบั สภาพ 50 100 ปญ หาและเปาหมาย 100 14 ดำเนินการตามแผนพฒั นาการจดั การศึกษา ตาม 50 100 100 เปา หมายและระยะเวลาท่ีกำหนด 100 15 สง เสริมสนบั สนุน และอำนวยความสะดวกในการ 50 100 ดำเนนิ งานตามแผน 100 16 การติดตามตรวจสอบ ประเมินผล ระหวางการ 50 100 100 ดำเนินงาน 100 100 17 การสรุปรายงานผลโครงการหลังเสร็จสิน้ กิจกรรม 50 100 100 ขัน้ การตรวจสอบ 50 100 18 นิเทศ ติดตาม ดูแล ใหคำปรึกษาในการดำเนนิ งานตาม 50 100 แผนพัฒนา 19 วางกรอบการประเมนิ และ จัดเก็บขอมลู โดยใช 50 เครือ่ งมอื ตา ง ๆ ตามความเหมาะสม 20 ดำเนนิ การประเมนิ คุณภาพภาคเรยี นละ 1 ครง้ั 50 21 ใหข อ มลู ยอ นกลบั ระหวา งการดำเนินงานเพอื่ ปรับปรงุ แกไข 50 ขอ บกพรอง ขนั้ ประเมนิ และใหขอ มูลยอนกลบั 50 22 รวบรวมขอมลู จากการดำเนินงานตามมาตรฐาน 50 23 นำขอมูลท่ีไดมาวิเคราะห ตรวจสอบเพอื่ จัดทำรายงาน 50 24 วิเคราะหขอมูลตามมาตรฐาน 50 25 สรปุ ผลการดำเนนิ งานเปรียบเทยี บกับคาเปา หมาย 50 26 วเิ คราะห สงั เคราะหห าจุดเดน จดุ ดอย จดุ ควรพฒั นา 50 27 การศึกษาและจดั ทำแนวทางการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา ใน 50 ปต อไป 28 จดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 50

69 ขอ ที่ ประเด็นการตรวจสอบ การดำเนินการ(จำนวน) รอ ยละ ปฏบิ ตั ิ ไมปฏบิ ตั ิ 29 เขียนรายงานการประเมินตนเองเสนอตอตนสังกัด 50 100 30 นำขอมลู ทไี่ ดไปพัฒนาการศึกษาในปต อไป 50 100 31 ปรบั ปรุงมาตรฐานการศึกษาและคาเปา หมาย 50 100 ดา นการจัดการเรียนการสอน 50 100 32 ครมู แี ผนการสอนอยา งนอย 1 วิชา 50 100 33 ครูจัดกิจกรรมการเรียนรทู ่ีหลากหลายตอบสนองผูเ รยี น 50 100 34 ครูมีส่อื การสอนในทกุ ระดับช้ัน 50 100 35 มขี อมลู สรปุ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเรียนครบทุก 50 100 ชน้ั ป 36 มขี อมลู สรปุ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคของผูเรยี นราย 50 100 หองและในภาพรวมของโรงเรียน 37 มขี อมูลรอยละผูส ำเร็จการศึกษาของนกั เรยี นที่จบ 50 100 การศกึ ษาในระดบั ชั้น ป.6 และ ม.3 แสดงไวใ นทกุ ป การศึกษา 38 มีการรายงานขอมูลการดำเนินการตาง ๆใหผูทเี่ กีย่ วของ 50 100 ทราบ 39 สถานศกึ ษามนี วตั กรรมหรอื ผลงานท่ีเปนเลิศเปน ท่ี 50 100 ยอมรับของบุคคลทัว่ ไปเปนท่ีประจักษ 40 สถานศกึ ษามชี อ งทางการเผยแพรขอมูลท่หี ลากหลาย 50 100 สรปุ 50 100 จากตารางที่ 8 พบวาโรงเรียนไดดำเนินการกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาแตละขั้นตอนไดแก ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนการตรวจสอบ ขั้นตอนการประเมินและใหขอมูลยอนกลับ และ การตรวจสอบดานการเรียนการสอน ครบทุก ประเด็นทุกโรงเรยี นคดิ เปนรอยละ 100

70 ตารางท่ี 9 ผลนิเทศติดตามเพอื่ การตรวจสอบการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) เพือ่ เตรยี มความพรอ มรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกของโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงาน เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดบั ปฐมวยั ที่ คำถาม ผลการตรวจสอบ รอยละ ปฏิบัติ ไมปฏบิ ตั ิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก 1 มีการระบุเปา หมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวัย 50 100 2 มกี ารระบวุ ธิ พี ฒั นาคุณภาพของเด็กปฐมวัยอยางเปนระบบ 50 100 ตามเปาหมายการพัฒนาเด็กปฐมวยั 3 มีพฒั นาการสมวัยตามเปาหมายการพัฒนาเด็กปฐมวยั 50 100 4 มกี ารนำผลประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัยมาพัฒนาเด็กปฐมวยั 50 100 ใหมีพฒั นาการสมวัย 5 มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั ตอผทู ี่ 50 100 เก่ยี วของ รวมรายการท่ีปฏบิ ตั ิ .......5.......... รายการ 50 100 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1 มีการวางแผนการดำเนนิ การในแตล ะปการศกึ ษา 50 100 2 มีการนำแผนการดำเนินการไปใชด ำเนินการ 50 100 3 มกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธขิ์ องการดำเนินการตามแผน 50 100 4 มกี ารนำผลการประเมนิ ไปใชในการปรบั ปรุงแกไ ขในป 50 100 การศกึ ษาตอไป 5 มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศกึ ษาใหผ ูมีสว น 50 100 ไดสวนเสียไดร บั ทราบ รวมรายการทป่ี ฏิบตั ิ .......5.......... รายการ 50 100 มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ ทเ่ี นนเด็กเปนสำคัญ 1 ครมู กี ารวางแผนการจดั ประสบการณร ายปครบทกุ หนวยการ 50 100 เรยี นรูทกุ ช้นั ป 2 ครูทกุ คนมกี ารนำแผนการจดั ประสบการณการเรียนรไู ปใชใ น 50 100 จดั ประสบการณ การเรยี นรโู ดยใชส อื่ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหลง เรยี นรูท่ีเออื้ ตอการเรียนรู

71 ท่ี คำถาม ผลการตรวจสอบ รอยละ ปฏบิ ตั ิ ไมปฏิบัติ 3 มกี ารตรวจสอบและประเมนิ การจดั ประสบการณอ ยา งเปน 50 100 ระบบ 4 มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจัดประสบการณของครู 50 100 อยางเปน ระบบ 5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรูและใหขอมลู ปอนกลับเพอ่ื พัฒนาปรบั ปรุง 50 100 การจดั ประสบการณ รวมรายการท่ีปฏิบัติ .......5.......... รายการ 50 100 จากตารางที่ 9 พบวาผลการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพ่อื เตรียมความพรอมรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของโรงเรียนในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับปฐมวัย ทุกโรงมีการดำเนินการครบทุกประเด็น ทกุ มาตรฐานคิดเปน รอ ยละ 100 ตารางที่ 10 ผลการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพ่อื เตรยี ม ความพรอ มรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกของโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับขั้นพนื้ ฐาน ท่ี คำถาม ผลการตรวจสอบ รอยละ ปฏิบัติ ไมป ฏิบตั ิ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น 1 มกี ารระบุเปา หมายคุณภาพของผเู รียน 50 100 2 มกี ารระบุวิธพี ัฒนาคณุ ภาพของผเู รยี นอยา งเปน ระบบตาม 50 100 เปา หมายการพัฒนาผูเ รยี น 3 มีผลสัมฤทธข์ิ องผเู รียนตามเปาหมายการพฒั นาผเู รียน 50 100 4 มกี ารนำผลประเมินคุณภาพของผูเรียนมาพัฒนาผูเรยี นดาน 50 100 ผลสมั ฤทธ์ใิ หส ูงข้ึน 5 มีการนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพผูเรยี นตอผูทีเ่ ก่ยี วของ 50 100 รวมรายการท่ปี ฏิบตั ิ ......5........... รายการ 50 100

72 ที่ คำถาม ผลการตรวจสอบ รอยละ ปฏบิ ัติ ไมปฏิบตั ิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1 มีการวางแผนการดำเนนิ การในแตละปการศึกษา 50 100 2 มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใชด ำเนนิ การ 50 100 3 มีการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิของการดำเนนิ การตามแผน 50 100 4 มกี ารนำผลการประเมินไปใชใ นการปรบั ปรุงแกไ ขในป 50 100 การศกึ ษาตอไป 5 มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาใหผมู ีสวนได 50 100 สวนเสยี ไดรบั ทราบ รวมรายการทป่ี ฏบิ ตั ิ .......5.......... รายการ 50 100 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผเู รียนเปนสำคญั 1 ครูมกี ารวางแผนการจดั การเรียนรูครบทุกรายวชิ า ทกุ ชน้ั ป 50 100 2 ครทู กุ คนมีการนำแผนการจดั การเรียนรไู ปใชในการจดั การ 50 100 เรยี นการสอนโดยใชส ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง เรยี นรูท ี่ เออื้ ตอการเรียนรู 3 มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนอยาง 50 100 เปน ระบบ 4 มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั การเรียนการสอนของ 50 100 ครอู ยา งเปน ระบบ 5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู ละใหขอ มลู ปอนกลบั เพอื่ พัฒนา 50 100 ปรับปรุงการจัดการเรยี นการสอน รวมรายการที่ปฏบิ ัติ .........5........ รายการ 50 100 จากตารางที่ 10 พบวาผลการตรวจสอบการจดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพ่ือเตรยี มความพรอ มรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับขั้นพื้นฐาน ทุกโรงมีการดำเนินการครบทุก ประเดน็ ทุกมาตรฐานคิดเปน รอ ยละ 100

73 ขอสงั เกต/ขอคิดเห็น 1. เนอื่ งจากเวลาในการนิเทศตดิ ตามการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษามีอยู จำกดั ทำใหไมส ามารถออกนิเทศไดทุกโรงเรียนจงึ ตองใชเคร่ืองมือการนิเทศแบบออนไลนในการให โรงเรียนไดตรวจสอบกระบวนการทำงานของตนเอง 2. การดำเนินงานสวนใหญเ กือบทุกโรงเรียนไดดำเนนิ การครบถวนอยา งเปนกระบวนการ แตไ มไดเขยี นรายละเอยี ดทช่ี ัดเจนลงใน SAR 3. ส่ิงทโี่ รงเรียนยังขาดความรูความเขาใจมากทส่ี ดุ ไดแก เคร่ืองมอื ในการเก็บขอมูลและการ ตัดสินผลเพ่ือใหร ะดบั ในแตละมาตรฐาน 4. หลายโรงเรยี นไดมกี ารดำเนินงานแยกงานประกันออกจากการดำเนินงานปกตดิ าน วิชาการและดานอ่ืน ๆ สงผลใหโรงเรียนตองทำงานซ้ำซอน และรสู ึกวา งานประกนั คณุ ภาพเปน งานที ยากและเสียเวลาในการทำงาน 5. โรงเรียนยังมคี วามเขา ใจทไ่ี มชดั เจนในการเก็บขอมูลเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพวา จะมี การจัดกระทำกบั ขอมลู ท่ีไดมาอยางไร 6. อยากใหเขตพ้นื ที่สรา งเครื่องมือประเมินหรอื แนวทางการประเมนิ ใหโ รงเรยี นจะไดส ะดวก ในการเกบ็ ขอ มลู ผลการดำเนินงานระยะที่ 3 การสังเคราะหขอมูลและการประเมินผลการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศกึ ษา กิจกรรมที่ 1 การสังเคราะหรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปการศึกษา 2563 ของโรงเรยี นในสงั กดั ปรากฏผลดงั น้ี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ไดดำเนินการสังเคราะห รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัดจำนวน 109 โรง พบวา มีสถานศึกษาในสังกัด จัดการเรียนการสอน ในระดับปฐมวยั จำนวน 106 โรง คิดเปนรอ ยละ 97.24 และจัดการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 109 แหง คิดเปนรอยละ 100 และ เปนโรงเรียนขยายโอกาสจัด การศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนจำนวน 22 โรง คิดเปนรอยละ 20.18 มีผูบริหาร สถานศึกษาปฏิบัติงานจำนวน 100 โรง (รอยละ 91.75) มีรักษาการในตำแหนงผูอำนวยการ สถานศึกษาจำนวน 9 โรง (รอยละ 8.25) เปนสถานศึกษาขนาดเล็ก (นักเรียนต่ำกวา 120 คน) จำนวน 66 โรง (รอ ยละ 60.55) เปน สถานศึกษาขนาดกลาง (จำนวนนกั เรยี น 121-500 คน) จำนวน 40 โรง (รอ ยละ 36.69) และเปน สถานศกึ ษาขนาดใหญ( จำนวนนักเรยี น 501 -2400 คน) จำนวน 2 โรง (รอยละ 1.83) ขนาดใหญพิเศษ (จำนวนนกั เรยี น 2,500 คนข้ึนไป) จำนวน 1 โรง (รอ ยละ 0.91)

74 ผลการจัดการศึกษาระดบั การศกึ ษาปฐมวัย จำนวนสถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย 106 โรง (รอยละ97.24) มีจำนวนนักเรียน ระดับปฐมวัยจำนวนต่ำกวา 20 คน จำนวน 47 โรง (รอยละ 4.11) โรงเรียนที่มีนักเรียน ระดับ ปฐมวัยมากกวา 100 คน จำนวน 1 โรงเรียน (รอยละ 0.94) มีครูผูสอนระดับปฐมวัยตามเกณฑ จำนวน 33 โรง (รอยละ 31.13) และมีครรู ะดับปฐมวัยต่ำกวา เกณฑ จำนวน 73 โรง (รอยละ 68.86) โรงเรยี นท่ีจัดสง รายงานการประเมินตนเองทนั ตามกำหนด จำนวน 106 โรง คดิ เปน รอ ยละ 100 ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาโดยมีผลการประเมินในภาพรวมระดบั ยอดเยี่ยม จำนวน 25 โรง คิดเปนรอยละ 23.58 ระดับดีเลิศจำนวน 60 โรง คิดเปนรอยละ 56.60 ระดับดี จำนวน 21 โรง คิดเปนรอ ยละ 19.81 นอกจากนีผ้ ลการประเมินแยกเปนรายมาตรฐานดงั นี้ มาตรฐาน ที่ 1 คุณภาพเดก็ มรี ะดับคณุ ภาพยอดเยี่ยมจำนวน 33 โรง คดิ เปนรอ ยละ 31.13 ระดับดีเลศิ จำนวน 57 โรง คิดเปนรอยละ 53.77 ระดับดี 16 โรง คิดเปนรอยละ 15.09 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ บริหารและการจดั การ อยใู นระดบั ยอดเย่ยี มจำนวน 24 โรง คดิ เปนรอ ยละ 22.64 ระดับดีเลิศจำนวน 57 โรง คิดเปนรอยละ 53.77 และระดับดีจำนวน 25 โรง คิดเปนรอยละ 23.58 มาตรฐานที่ 3 ดาน การจัดประสบการณที่เนน เด็กเปนสำคัญ ระดับยอดเยี่ยมจำนวน 29 โรง คิดเปนรอยละ 27.36 ระดบั ดีเลศิ จำนวน 51 โรง คดิ เปนรอยละ 48.11 และระดบั ดีจำนวน 26 โรง คดิ เปนรอ ยละ 24.53 จุดเดน จุดท่ีควรพฒั นา และแผนการดำเนนิ งานเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา จุดเดน ดา นคณุ ภาพเด็ก พบวา โรงเรียนทกุ โรงระบุจุดเดนดา นพฒั นาการทางดานรางกาย คิดเปน รอยละ 100 และ ถัดมาคือพัฒนาการดานสังคม คิดเปนรอยละ 96.22 พัฒนาการดานสติปญญา คิดเปนรอ ยละ 94.33 และพฒั นาการดา นอารมณแ ละจติ ใจ คิดเปนรอ ยละ 93.39 ตามลำดบั ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ พบวา โรงเรียนระบุจุดเดนตามลำดับดังนี้ ดาน กระบวนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพดานหลักสูตร คิดเปนรอยละ 73.19 และถัดมา ดานการ จัดครูและสงเสริมพัฒนาครูคิดเปนรอยละ 34.02 ดานการจัดสภาพแวดลอ มใหเอือ้ ตอการเรียนรู คิด เปนรอ ยละ 10.30 และ ดา นการมสี วนรวมของทกุ ภาคสวน คดิ เปน รอยละ 7.21 ตามลำดับ ดานการจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสำคัญ พบวา โรงเรียนรุบุจุดเดน ดานการจัด ประสบการณเพื่อสงเสริมพัฒนาการเด็กทุกดานอยา งสมดลุ มากทีส่ ดุ คดิ เปน รอยละ 77.17 รองลงมา ไดแก ดานการจัดใหเด็กไดรบั ประสบการณตรง และเลนอยางมีความสุข คิดเปนรอยละ 50 ดานการ จัดบรรยากาศใหเอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อเทคโนโลยีอยางเหมาะสม คิดเปนรอยละ 18.47 และ ดาน การประเมินพฒั นาการตามสภาพจรงิ และการนำผลไปพัฒนา คดิ เปนรอยละ 15.21

75 จุดทีค่ วรพฒั นา ดานคุณภาพเด็ก พบวา พัฒนาการทั้ง 4 ดาน ที่โรงเรียนระบุเปนจุดที่ควรพัฒนามากที่สดุ คือ พัฒนาการดานสติปญญา รอยละ 65.97 รองลงมา คือ พัฒนาการดานสังคม รอยละ 21.64 อันดับสาม คือ พัฒนาการดานรางกาย รอยละ 20.61 และ พัฒนาการดานอารมณและจติ ใจ คิดเปน รอยละ 10.30 ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ พบวา ประเด็นที่โรงเรียนระบุใหเปนจุดที่ควร พัฒนามากที่สุดคือดานการจัดครูใหเพียงพอและสงเสริมพัฒนาครูใหม ีความเชี่ยวชาญคิดเปนรอยละ 65.21 ถัดมา เปน ดานการมีสวนรวมของทุกภาคสวน คิดเปนรอยละ 26.28 และ ดานการจัด สภาพแวดลอ มใหเอื้อตอ การเรยี นรคู ดิ เปนรอยละ 23.91 ตามลำดับ ดานการจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสำคัญ พบวาโรงเรียนระบุจุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ ดานการจัดบรรยากาศที่เอตอการเรียนรู ใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย คิดเปนรอยละ 95.28 ถัดมา ดานการสรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติอยางมีความสุข คิด เปนรอ ยละ 94.34 ดา นการสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดา นอยางสมดุล คิดเปนรอ ยละ 91.51 และ ดา นการประเมนิ พฒั นา การตามสภาพจริงและนำผลไปพัฒนาประสบการณเด็กคิดเปนรอยละ 90.56 แผนการดำเนนิ งานเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใหส งู ขน้ึ ดานคุณภาพเด็ก พบวา โรงเรียนวางแผนการยกระดับการพัฒนาการทั้ง 4 ดานของเด็ก ดังนี้ ดานพัฒนาการดานสติปญญา คิดเปนรอยละ 97.17 ถัดมา พัฒนาการดานสังคม การชวยเหลอื ตนเอง คดิ เปน รอยละ 96.23 พัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ และการแสดงออก คดิ เปนรอ ยละ 94.34 และ พฒั นาการดา นรา งกาย คิดเปน รอยละ 94.28 ตามลำดับ ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ พบวา โรงเรยี นวางแผนการยกระดบั คุณภาพดาน การบริหารจัดการมากที่สุดคือ ดานระบบบริหารท่ีเปดโอกาสใหทุกฝายท่ีเก่ียวขอ งมีสวนรวม คิดเปน รอยละ 95.28 ถัดมาคือ ดานการพัฒนาครูใหมีความเชี่ยวชาญ คิดเปนรอยละ 94.34 ดานการ ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรูคิดเปนรอยละ 93.39 ดานการจัด สภาพแวดลอมและสือ่ การเรยี นรอู ยา งเพียงพอและปลอดภัย คดิ เปน รอ ยละ 92.45

76 ดานการจัดประสบการณท ่ีเนนเด็กเปนสำคัญ พบวา โรงเรยี นมีแผนการยกระดับคุณภาพ ดานการจัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มากที่สุดคิดเปน รอยละ 95.28 ถัดมา ดานการสรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรงเลนและปฏิบัติอยางมี ความสุข รอ ยละ 94.34 ดา นการจดั ประสบการณทสี่ งเสริมใหเ ด็กมีพฒั นาการทกุ ดานอยางสมดุลเต็ม ศักยภาพ รอยละ 91.51 ผลการจัดการศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน จำนวนสถานศึกษาในสงั กัด จำนวน 109 โรง จัดการศกึ ษาระดบั ข้นั พนื้ ฐาน โดยจดั การศกึ ษา ระดับประถมศึกษา ปที่ 1 – 6 จำนวน 87 โรง(รอยละ 79.81) และ เปนโรงเรียนขยายโอกาสจัด การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนจำนวน 22 โรง(รอยละ 16.51) ผูบริหารสถานศึกษาปฏิบัติงาน จำนวน 100 โรง (รอ ยละ 91.75) มีรกั ษาการในตำแหนงผูอำนวยการสถานศึกษาจำนวน 9 โรง (รอ ย ละ 8.25) มจี ำนวนครูตามเกณฑจำนวน 4 โรง (รอ ยละ 3.66) มจี ำนวนครูตำ่ กวา เกณฑ จำนวน 91 โรง (รอยละ 83.48 ) มจี ำนวนครเู กินเกณฑจ ำนวน 14 โรง (รอ ยละ 12.84) ผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา ในภาพรวมพบวา ระดับยอดเยีย่ ม จำนวน 14 โรง (รอยละ 12.84) ระดบั ดีเลศิ จำนวน 65 โรง (รอ ยละ 59.63) ระดบั ดจี ำนวน 30 โรง (รอยละ 27.52) เม่อื จำแนกผลการประเมนิ เปน รายมาตรฐานพบวา มาตรฐานที่ 1 ดานคณุ ภาพผเู รียนมีระดับ คุณภาพยอดเยี่ยมจำนวน 13 โรง (รอยละ 11.93) ระดับดีเลิศจำนวน 63 โรง (รอยละ 57.80) ระดับ ดีจำนวน 33 โรง (รอยละ 30.28) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอด เย่ียมจำนวน 23 โรง (รอ ยละ 21.10) ระดบั ดเี ลิศจำนวน 58 โรง (รอยละ 53.21) และระดบั ดจี ำนวน 28 โรง (รอยละ 25.69) มาตรฐานที่ 3 ดานการจัดกระบวนการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสำคัญ ระดับยอดเยี่ยมจำนวน 19 โรง (รอยละ 17.43) ระดับดีเลิศจำนวน 61 โรง (รอยละ 55.96) ระดับดี จำนวน 29 โรง (รอยละ 26.61) จุดเดน จดุ ทีค่ วรพฒั นา และแผนการดำเนนิ งานเพ่อื ยกระดับคุณภาพการศึกษา จุดเดน ดานคุณภาพผูเรียน จุดเดนที่พบมากที่สุด คือ ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามท่ี สถานศึกษากำหนดคิดเปนรอยละ 55.43 ถัดมาผูเรียนมีความสามารถในการอานการเขียน การ ส่ือสารและการคดิ คำนวณ รอยละ 22.82 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา รอยละ 21.73

77 ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเดนที่พบมากที่สุดคือ ระบบบริหารจัดการ คุณภาพของสถานศึกษา คิดเปนรอยละ 69.23 ถัดมาคือมีเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจที่ สถานศึกษากำหนดชัดเจน รอยละ 25.27 การพัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี รอยลละ 15.38 การจัดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู รอยละ 4.39 ดานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ จุดเดนที่พบมากที่สุด คือ การจัดการเรยี นรผู านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกตใ ชในชีวติ จริง รอยละ 80.68 ถัดมา ดานการใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรูที่เอตอการเรียนรู รอยละ 22.72 การแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ รอ ยละ 4.54 และ การตรวจสอบและประเมินผูเรียน อยา งเปน ระบบและ นำผลมาพัฒนาผเู รียน รอยละ 2.27 จุดท่ีควรพัฒนา ดา นคณุ ภาพผเู รยี น จดุ ควรพัฒนาทโี รงเรียนเขียนมามากท่ีสดุ คอื ดา นผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาคิดเปน รอยละ 48.31 ถดั มา ดานความสามารถในการคิดวเิ คราะห คิด วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกปญหา คิดเปนรอยละ 46.06 ดาน ความสามารถในการสรางนวตั กรรม และดา นความสามารถในการอาน การเขียน การสือ่ สารและการ คดิ คำนวณ รอ ยละ 12.35 และ ดานความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร รอ ย ละ 10.11 ตามลำดับ ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนสะทอนจุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ ดานการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการเรียนรูอยางมีคุณภาพ คิดเปนรอยละ 43.29 ถดั มาดานการมีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา รอยละ 34.02 ดา นการพัฒนาครูและ บคุ ลากรใหมีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ รอยละ 24.74 ดานกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ โรงเรียนสะทอนจุดที่ควร พัฒนามากที่สุด คือการแลกเปลี่ยนเรียนรูและการใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จดั การเรยี นรู คดิ เปนรอ ยละ 45.16 ถัดมาดา นการจัดการเรียนรผู านกระบวนการคคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยกุ ตใชไ ด รอ ยละ 35.48 ดานการใชสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง เรยี นรูที่ เอ้อื ตอ การเรยี นรู รอยละ 32.25

78 แผนการดำเนินงานเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาใหสูงขึ้น ดานคุณภาพผูเรียน ในสวนของผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน พบวาโรงเรียนสวนใหญมีระบุแนว ทางการยกระดับคุณภาพดาน ดานการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ มากที่สุดคิด เปน รอยละ 95.41 รองลงมา ดานการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ การแกปญหา รอยละ 94.49 ดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศรอยละ 93.60 และดานการสรางนวัตกรรม รอยละ 92.00 ตามลำดับ และในสวนของคุณลักษณะอันพึงประสงคพบวา โรงเรยี นสว นใหญมีแนวทางการยกระดับ คุณภาพผูเรยี นดา น คณุ ลกั ษณะและคานิยมอนั พึงประสงคมากที่สดุ คิดเปนรอยละ 87.00 ดา นการอยู รวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย รอยละ 84.40และ ดานความภาคภมู ิใจในทองถ่ินและความ เปนไทยรอยละ 84.00 ตามลำดบั ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ พบวา โรงเรียนมีแผนการยกระดับคุณภาพดาน การพัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพคิดเปนรอยละ 90.82 ดานระบบบริหาร จัดการคุณภาพของสถานศึกษา รอยละ 90.00 ดานการพัฒนาวชิ าการที่เนนคุณภาพผูเรยี นรอบดาน ตามหลักสตู ร รอยละ 88.99 ตามลำดบั ดานกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคญั พบวา โรงเรียนมีแผนการ ยกระดับคุณภาพดานการจัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกตใชใ นชีวิตได มากที่สุดคิดเปนรอ ยละ 93.57 ถัดมาดานการใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู รอยละ 89.90 ดานการแลกเปลี่ยนเรียนรูและการใหขอมูลสะทอน กลับเพือ่ พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู รอ ยละ 87.15 กิจกรรมท่ี 2 การตรวจเยย่ี มพืน้ ที่เชิงประเมนิ เพ่ือพฒั นากระบวนการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาที่สงผลตอการพัฒนาสมรรถนะสำคัญของผูเรียนและคนหาโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติท่ี เปนเลิศดานการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดดำเนินการตรวจเยี่ยม พื้นที่เชิงประเมินแบบออนไลนเนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิท-19 จำนวน 4 โรง ตามประเภทของโรงเรียนดังน้ี - โรงเรยี นขนาดเล็ก ไดแก โรงเรยี นบานปากชอ ง - โรงเรยี นขยายโอกาส ไดแ ก โรงเรยี นบา นสำนักใหม - โรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล ไดแ ก โรงเรียนวดั วังหงส - โรงเรียนในโครงการคอนเนก็ ซอีดี ไดแ ก โรงเรยี นวดั มุขธารา ผลการตรวจเยย่ี มพื้นทเ่ี ชงิ ประเมินปรากฏผลดงั ตารางท่ี 11- 13

79 ตารางที่ 11 ขอ มูลพ้นื ฐานของโรงเรียน โรงเรยี น ขนาด จำนวน จำนวน ระดบั ชนั้ ประเภทสถานศึกษา บคุ ลากร นกั เรียน บา นปากชอ ง เลก็ 8 72 ปฐมวยั -ป.6 ขนาดเล็ก วัดวังหงส กลาง 14 139 ปฐมวยั -ป.6 คุณภาพประจำตำบล บา นสำนักใหม กลาง 15 230 ปฐมวัย-ม.3 ขยายโอกาส วดั มุขธารา กลาง 25 356 ปฐมวยั -ม.3 คอนเน็กซอ ีดี จากตารางที่ 11 พบวาโรงเรียนที่ไดรับการตรวจเยี่ยมพื้นที่เชิงประเมินจำนวน 4 โรง เปน โรงเรียนขนาดเล็กจำนวน 1 โรง และเปนโรงเรยี นขนาดกลางจำนวน 3 โรง โดยเปดสอนระดบั ปฐมวัย ถึง ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 จำนวน 2 โรง และ เปด สอนระดบั ปฐมวัย ถงึ ระดับมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 จำนวน 2 โรง โดยแบงเปนประเภทสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล โรงเรียนขยายโอกาส และ โรงเรียนคอนเน็กซด ดี ี ตารางท่ี 12 ผลสรุปขอ มลู ดานกระบวนการบริหารและการจดั การของสถานศึกษาจากการ ตรวจเย่ียมพืน้ ท่เี ชิงประเมินฯ จำนวน 4 โรงเรยี น ผลการดำเนนิ งาน รายการพิจารณา ปฏบิ ตั ิ รอยละ ไมป ฏบิ ัติ รอยละ ดา นการบริหารจัดการ 1. การวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1.1 แตง ต้งั คณะทำงานและมอบหมายงานอยางชัดเจน 4 100 1.2 พิจารณาบริบทของสถานศึกษาเพ่ือกำหนดมาตรฐาน 4 100 ของสถานศึกษา 1.3 ศกึ ษาวเิ คราะหแ ละนำผลการประเมินทผี่ านมา ใชใ น 4 100 การวางแผน 1.4 กำหนดโครงการ/กจิ กรรมทส่ี อดคลอ งกับปญ หาและ 4 100 ความตอ งการพฒั นาของสถานศึกษา 1.5 กำหนดการใชง บประมาณ และทรัพยากรสอดคลอง 4 100 กบั กิจกรรมในโครงการ

80 รายการพจิ ารณา ผลการดำเนินงาน ปฏิบตั ิ รอยละ ไมป ฏบิ ตั ิ รอ ยละ 1.6 ผมู ีสว นไดส วนเสยี มสี วนรว มในการกำหนดแผนพฒั นา 4 100 คณุ ภาพการศึกษา 4 100 4 100 1.7 เสนอแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตอคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานใหค วามเห็นชอบ 4 100 4 100 1.8 กำหนดแนวทางการดำเนินงาน/ปฏิทินการนำแผนสู การปฏิบัตทิ ี่ชดั เจน 4 100 4 100 2. การนำแผนสูการปฏบิ ตั ิ 2.1 ดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารในกรอบระยะเวลาที่ 4 100 4 100 กำหนด 4 100 2.2 จดั ทำระบบขอมูลสารสนเทศที่ถูกตองและเปน ปจ จุบนั 3. การตดิ ตามผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 3.1 ใชเ ครือ่ งมือการตดิ ตามการดำเนินงานตามโครงการ/ กจิ กรรม 3.2 ตดิ ตามผลการดำเนินงานโดยการนิเทศภายในอยา ง ตอ เนอื่ ง 4. การนำผลการติดตามไปปรบั ปรุง และพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษา 4.1 สะทอนผลการติดตามใหผูมีสวนรวมกบั โครงการ/ กิจกรรม รับทราบ 4.2 นำผลการประเมนิ โครงการ/กจิ กรรมไปใชใ นการวาง แผนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในปการศึกษาตอไป 4.3 เผยแพรผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมใหผมู ีสวนได สวนเสียรบั ทราบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook