Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโครงการประกัน64

รายงานโครงการประกัน64

Published by tooktook719, 2021-12-27 07:44:50

Description: รายงานโครงการประกัน64

Search

Read the Text Version

คำนำ การประกันคุณภาพการศึกษา เปนกระบวนการดำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อสราง ความมั่นใจใหกับนักเรียน ผูปกครอง ชุมชนและสังคมโดยรวมวาการดำเนินงานของสถานศึกษาจะมี ประสิทธิภาพและทำใหผูเรียนมีคุณภาพ หรือคุณลักษณะพึงประสงคตามมาตรฐานการศึกษาที่ไดกำหนดไว เพื่อใหสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ไดรับการพัฒนา ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาอยา งเต็มศกั ยภาพ ผรู บั ผดิ ชอบกลุมงานประกันคุณภาพการศึกษา กลุมนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดจัดทำโครงการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสงั กัดและไดด ำเนนิ การตามแผนการดำเนินงานของโครงการเพื่อ สงเสริม สนับสนุน และติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหสามารถดำเนินการระบบ ประกันคุณภาพอยา งเปน ระบบ ตอ เนอ่ื ง นา เชอื่ ถือ และสามารถนำผลไปพัฒนายกระดับคุณภาพการศกึ ษาและ เชอ่ื มโยงตอการประเมินคุณภาพภายนอกไดอยา งมีประสิทธภิ าพ ขอขอบคณุ คณะทำงานทุกทา นที่มีสว นรว มในการสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ในครั้งนี้ จนประสบความสำเร็จบรรลุตามวัตถุประสงคและสามารถนำไปใชใหเกิด ประโยชนแ กสถานศกึ ษาตอไป ปรียา สงคป ระเสรฐิ ผรู ับผดิ ชอบโครงการ

สารบญั บทท่ี หนา คำนำ 1 สารบญั 1 2 บทที่ 1 บทนำ 3 ความเปนมา 3 วัตถปุ ระสงคของการรายงาน 3 ขอบเขตของการรายงานผล 4 เปาหมาย 5 ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน 5 ประโยชนท คี่ าดวาจะไดร ับ 17 24 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวของ 36 บริบทของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 42 รายละเอียดโครงการ 42 เอกสารเก่ียวกับการประกนั คุณภาพการศึกษา 42 งานวิจัยที่เกย่ี วของ 42 บทท่ี 3 กระบวนการดำเนินงาน ข้นั ตอนการดำเนินงาน 44 ระยะท่ี 1 การสรา งความรูความเขาใจเก่ียวกบั การประกันคุณภาพการศึกษา 45 ระยะท่ี 2 การนิเทศตดิ ตามการดำเนินงานระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 46 ของสถานศึกษาในสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราชเขต 1 ระยะท่ี 3 การสังเคราะหขอ มลู และการประเมนิ ผลการพัฒนา ระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เครื่องมือที่ใชใ นการเกบ็ รวบรวมขอมลู แผนการดำเนนิ งานตามโครงการ

บทที่ หนา บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 49 ผลการดำเนนิ งานระยะท่1ี การสรางความรูความเขา ใจเกย่ี วกบั การประกนั คุณภาพ 49 การศึกษาของโรงเรียนในสงั กดั 67 ผลการดำเนินงานระยะท่ี 2 การนิเทศตดิ ตามการดำเนนิ งานระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 73 78 ประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 78 82 ผลการดำเนนิ งานระยะท่ี 3 การสังเคราะหขอมูลและการประเมนิ ผลการพฒั นา 84 ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 86 บทท่ี 5 สรปุ ผล และขอเสนอแนะ สรุปผลการนิเทศตดิ ตาม ขอ เสนอแนะเพอื่ พัฒนาการนิเทศ บรรณานุกรม ภาคผนวก

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามทีต่ งั้ และเครือขาย 11 2 จำนวนนกั เรยี น จำนวนหองเรยี น จำแนกตามชนั้ เรยี นและเพศ 11 3 จำนวนบุคลากร 12 4 รายชื่อโรงเรยี นตามเครือขา ยโรงเรยี นจำนวน 7 เครอื ขา ย 13 5 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามขนาดจำนวนนกั เรียน ปการศกึ ษา 2563 15 6 ผลการสังเคราะหรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปก ารศึกษา 2562 15 7 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 4 ระยะท่ี 1 ระดบั ปฐมวัย 16 8 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบท่ี 4 ระยะท่ี 1 ระดบั ข้ันพื้นฐาน 16 9 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบที่ 4 ปงบประมาณ 2564 ระดบั ปฐมวยั 17 10 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบที่ 4 ปงบประมาณ 2564 ระดับข้นั พ้นื ฐาน 17 11 ผลการศึกษาสภาพปจจบุ นั การดำเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของ 50 สถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา 51 นครศรธี รรมราชเขต 1 ขน้ั การวางแผน 12 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบนั การดำเนินงานระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของ 52 สถานศกึ ษาในสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 ขนั้ ดำเนนิ การ 53 13 ผลการศกึ ษาสภาพปจจบุ ันการดำเนนิ งานระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา 54 นครศรธี รรมราชเขต 1 ข้นั การตรวจสอบ 14 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบันการดำเนนิ งานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของ 55 สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 ขัน้ ประเมนิ และใหขอ มลู ยอ นกลบั 15 ผลการศึกษาสภาพปจ จุบนั การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษาในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 16 ผลการประเมินความพึงพอใจของผเู ขารวมประชมุ ทางไกลผานระบบ MS TEAM

ตารางที่ หนา 17 ผลนเิ ทศออนไลนเ พ่อื การตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายใน 57 สถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 61 นครศรธี รรมราช เขต 1 แบบออนไลน 64 18 ผลการนเิ ทศตดิ ตามเพอ่ื ตรวจสอบกระบวนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 19 ผลนิเทศติดตามเพื่อการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) เพื่อเตรียมความพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับปฐมวยั 20 ผลการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพื่อ 65 เตรียมความพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 ระดบั ข้ันพื้นฐาน 73 73 21 ขอ มูลพ้ืนฐานของโรงเรียน 75 22 ผลสรุปขอมลู ดานกระบวนการบรหิ ารและการจดั การของสถานศกึ ษาจากการ ตรวจเยี่ยมพน้ื ท่ีเชิงประเมินฯ จำนวน 4 โรงเรยี น 23 ผลการเก็บขอ มลู แบบเก็บรวบรวมขอ มูลดา นกระบวนการจัดการเรียนรู

บทสรุปผูบรหิ าร ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ประจำ ปงบประมาณ 2564 สรปุ ไดด งั น้ี 1. ผลการสรางความรูความเขาใจ และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ โรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 1.1 ผลการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 พบวา สภาพปจจบุ นั การดำเนินงานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 ในภาพรวมมีการปฏิบตั ิอยูใ นระดับมาก และเมื่อพิจารณา รายดานพบวาขั้นประเมินและใหขอมูลยอนกลับมีการปฏิบัติ อยูในระดับมากที่สุด สวน ขั้นการวางแผน ขนั้ ดำเนนิ การ และขนั้ ตรวจสอบ มกี ารปฏบิ ัตอิ ยูในระดับมาก สภาพปจ จุบนั การดำเนนิ งานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดสำนักงานเขต พ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 1 ในข้ันวางแผนพบวา ในภาพรวม อยูใ นระดบั มาก และเมื่อ พิจารณารายดานพบวาประเด็นที่มีการดำเนินการมากที่สุดไดแก การใหความรูแกบุคลากรซึ่งมีระดับการ ปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด สวนประเด็นที่ยังมีการปฏิบัตินอยไดแกประเด็นการแตงตั้งคณะกรรมการ ดำเนนิ งานซึง่ มรี ะดับการปฏิบัติอยูใ นระดับปานกลาง สภาพปจ จบุ นั การดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นดำเนินการ ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยูในระดับมาก และเมื่อพจิ ารณารายขอ พบวา ประเดน็ ที่มกี ารปฏบิ ัติสูงสดุ ไดแก การกำหนด มาตรฐานการศึกษาตามประกาศ สพฐ. และ ประกาศมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายใหผูเกี่ยวของทราบ มีการปฏิบัติอยู ในระดับมากที่สุด ประเด็นรองลงมาไดแก สงเสริมสนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการ ดำเนินงานตามแผนมีการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด และประเด็นที่มีการปฏิบัตินอยที่สุดไดแกกำหนด มาตรฐานการศึกษาเพมิ่ เติมตามบริบท โดยมรี ะดบั การปฏบิ ตั อิ ยใู นระดบั นอ ยท่สี ดุ สภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นตรวจสอบ ในภาพรวม มกี ารปฏบิ ัติอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายขอพบวาประเด็นที่มีการปฏิบัติสูงสุดไดแกนิเทศ ติดตาม ดูแล ใหคำปรึกษาในการ ดำเนินงานตามแผนพัฒนา มีการปฏิบัตอิ ยูในระดบั มากทีส่ ดุ และประเด็นที่มีการปฏิบัตินอยไดแ ก ดำเนินการ ประเมนิ คณุ ภาพภาคเรยี นละ 1 ครงั้ มรี ะดับการปฏบิ ัติระดับปานกลาง สภาพปจจุบันการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ขั้นใหขอมูลยอนกลับ ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยูในระดับ มากที่สุด และเมื่อพิจารณารายขอพบวาประเด็นที่มีการปฏิบัติสูงสุดไดแก การจัดทำรายงานการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา และ การเขียนรายงานการประเมินตนเองเสนอ ตอตนสังกัด มีการปฏิบัติอยูในระดับ

มากที่สุด และประเด็นที่มีการปฏิบัตินอยไดแก ปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมาย มีระดับการ ปฏบิ ตั ริ ะดับปานกลาง 1.2 ผลการสรางคลังความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่ออำนวยความสะดวกแก สถานศึกษามีดงั น้ี 1) กลุมไลนช ื่อ “ประกนั คุณภาพ NST1” มีสมาชกิ 134 คน 2) เว็บไซต ชื่อ“หองนิเทศออนไลน ศน.ปรียา สงคประเสริฐ” เขาถึงโดย https://sites.google.com/esdc.go.th/svnst1/ 3) เพจสาระนารู by ศน.Dr.tooktook มผี ูต ิดตาม 507 คนผถู กู ใจ 486 คน 4) เอกสารใหความรดู านการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ไดแก - เอกสารประกอบการประชุม MS TEAM ไฟลน ำเสนอ การขบั เคล่ือนการดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา, การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา,การเตรียมความพรอมของ โรงเรยี นเพ่ือเขา รบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก - คูมือการเขยี นรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 1.3 การประชุมเพื่อสื่อสารสรางความเขาใจดานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แก ผูบริหาร และครูผูรับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดไดดำเนินการ ประชุมทางไกล แบบออนไลนด วยระบบ MS TEAM ผลการดำเนินงานดังน้ี 1) กลมุ เปา หมายเขา รว มประชุม 109 โรง พบวามีผเู ขา รวมประชุมครบ 109โรง คิดเปนรอยละ 100 2) ผลการประเมินความความพงึ พอใจของผูเขา ประชมุ ทางไกลเพอ่ื สราง ความเขาใจการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาโดยการประชุมทางไกลผานระบบ MS TEAM อยูใน ระดบั มากทีส่ ดุ 2. ผลการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราชเขต 1 2.1 ผลการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ทุกโรง เพื่อตรวจสอบกระบวนการ ดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาพบวาโรงเรียนทุกโรงมกี ารปฏิบัติครบทุกข้ันตอนทุกประเดน็ คิด เปน รอยละ 100 2.2 ผลการนเิ ทศติดตามการดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและเตรยี มความ พรอ มรบั การประเมินคุณภาพภายนอก จำนวน 50 โรง พบวา

1) ผลการตรวจสอบการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) เพ่ือเตรยี มความพรอมรบั การประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับปฐมวัย ทุกโรงมีการดำเนินการครบทุกประเด็นทุก มาตรฐานคิดเปนรอ ยละ 100 2) ผลการตรวจสอบการจดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) เพ่อื เตรียมความพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกโรงมีการดำเนินการครบทุก ประเด็นทกุ มาตรฐานคดิ เปนรอ ยละ 100 3. ผลการสงั เคราะหข อมูลและการประเมินผลการพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 3.1 การสงั เคราะหร ายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 ของ โรงเรยี นในสังกัดปรากฏผลดงั นี้ 1) โรงเรียนในสังกัดทุกโรงมีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับ ปฐมวยั อยใู นระดับดีข้นึ ไปทกุ มาตรฐานทุกโรง 2) โรงเรียนในสังกัดทุกโรงมีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพน้ื ฐานอยใู นระดับดีขน้ึ ไปทุกมาตรฐานทกุ โรง โดยมรี ายลเอยี ดผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในดงั น้ี ผลการจดั การศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาโดยมีผลการประเมินในภาพรวมระดับยอดเยี่ยมจำนวน 25 โรง คิดเปน รอยละ 23.58 ระดับดีเลิศจำนวน 60 โรง คดิ เปนรอ ยละ 56.60 ระดับดี จำนวน 21 โรง คิดเปน รอยละ 19.81 นอกจากนี้ผลการประเมินแยกเปนรายมาตรฐานดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก มีระดับ คุณภาพยอดเยี่ยมจำนวน 33 โรง คิดเปนรอยละ 31.13 ระดับดีเลิศ จำนวน 57 โรง คิดเปนรอยละ 53.77 ระดบั ดี 16 โรง คิดเปน รอ ยละ 15.09 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยใู นระดับยอดเย่ียม จำนวน 24 โรง คดิ เปน รอยละ 22.64 ระดับดีเลศิ จำนวน 57 โรง คิดเปน รอยละ 53.77 และระดบั ดจี ำนวน 25 โรง คดิ เปนรอ ยละ 23.58 มาตรฐานท่ี 3 ดานการจดั ประสบการณที่เนน เดก็ เปน สำคญั ระดับยอดเยีย่ มจำนวน 29 โรง คิดเปนรอยละ 27.36 ระดับดีเลิศ จำนวน 51 โรง คิดเปนรอยละ 48.11 และระดับดีจำนวน 26 โรง คดิ เปน รอยละ 24.53 ผลการจัดการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ในภาพรวมพบวา ระดับยอดเยี่ยม จำนวน 14 โรง (รอ ยละ 12.84) ระดบั ดเี ลศิ จำนวน 65 โรง (รอ ยละ 59.63) ระดบั ดีจำนวน 30 โรง (รอยละ 27.52) เมื่อ จำแนกผลการประเมินเปนรายมาตรฐานพบวา มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพผูเรียนมีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม จำนวน 13 โรง (รอยละ 11.93) ระดับดีเลิศจำนวน 63 โรง (รอยละ 57.80) ระดับดีจำนวน 33 โรง (รอยละ 30.28) มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับยอดเยี่ยมจำนวน 23 โรง (รอยละ 21.10)

ระดับดเี ลศิ จำนวน 58 โรง (รอ ยละ 53.21) และระดบั ดีจำนวน 28 โรง (รอยละ 25.69) มาตรฐานที่ 3 ดานการ จัดกระบวนการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสำคัญ ระดับยอดเยี่ยมจำนวน 19 โรง (รอยละ 17.43) ระดับดีเลิศ จำนวน 61 โรง (รอยละ 55.96) ระดับดี จำนวน 29 โรง (รอยละ 26.61) 3.2 ผลการคัดเลือกโรงเรียนท่ีมีผลการปฏิบัติทีเ่ ปนเลิศและมีความโดดเดนในดานการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาตามประเภทของโรงเรียนไดแก - โรงเรียนขนาดเลก็ ไดแก โรงเรยี นบานปากชอ ง - โรงเรียนขยายโอกาส ไดแก โรงเรียนบานสำนกั ใหม - โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล ไดแ ก โรงเรยี นวัดวังหงส - โรงเรียนในโครงการคอนเนก็ ซอีดี ไดแก โรงเรียนวัดมขุ ธารา 3.3 ผลการตรวจเยีย่ มพนื้ ทเ่ี ชิงประเมินเพ่ือพฒั นากระบวนการประกนั คณุ ภาพ ภายในสถานศกึ ษาทีส่ ง ผลตอการพัฒนาสมรรถนะสำคญั ของผูเรียนจากโรงเรยี นทีม่ ผี ลการปฏิบัตทิ ่ีเปนเลิศดาน การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาจำนวน 4 โรง พบวา 1) โรงเรียนมีผลการปฏบิ ตั ดิ า นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ดานการนำแผนไปสูการปฏิบัติ ดานการติดตามผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และดานการนำผลการ ตดิ ตามไปปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษาครบทุกดานทกุ โรงเรยี นคิดเปน รอยละ 100 2) โรงเรียนมผี ลการปฏิบตั ิดา นการวางแผนการจัดการเรียนรู ดานการจัดการเรียนรู ดานการติดตามตรวจสอบการจัดการเรียนรูและดานปรับปรุงแกไขการจัดการเรียนรู ครบทุกดานทุกโรงเรียน คิดเปน รอยละ 100 3.3 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 ประจำปง บประมาณ 2564 จำนวน 50 โรง พบวา ระดับปฐมวัย จำนวน 49 โรงมีผลการประเมินในระดับดีขึ้นไปทุกโรงทุกมาตรฐาน คดิ เปน รอยละรอ ย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 50 โรงมีผลการประเมินระดับดีขึ้นไปทุก มาตรฐานทุกโรงจำนวน 49 โรง คิดเปนรอยละ 98 และมีผลการประเมินระดับพอใช 1 มาตรฐาน จำนวน 1 โรง คดิ เปนรอ ยละ 2

1 บทท่ี 1 บทนำ ความเปนมา การจัดการศึกษาตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมุงจัดการศึกษา ตามหลักสำคัญ 3 ประการ ไดแก 1) หลักการกระจายอำนาจ 2) หลักแหงความมีเอกภาพดาน นโยบาย แตหลากหลายในทางปฏิบัติ และ 3) หลักแหงการมีสวนรวมของประชาชนโดย พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ (2542:14) พ.ศ. 2542 และท่แี กไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9(3) ไดกำหนดใหก ารจัดระบบ โครงสรา งและกระบวนการจัดการศึกษาใหย ึดหลักที่สำคัญขอ หนึ่ง คือมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา โดยมาตรา 31 ใหกระทรวงมีอำนาจหนาที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุก ประเภท กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา และมาตราที่ 47 ไดกำหนดใหมีระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวยระบบ การประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก โดยระบบหลักเกณฑและวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษาใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยใหหนวยงานตนสังกัดและ สถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพ ภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดำเนินการอยาง ตอเนื่อง และมีการ จัดทำรายงานประจำปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เก่ียวขอ งและเปดเผยตอสารธารณชน เพ่อื นำไปสกู ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพอื่ รองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกตอไป กระทรวงศึกษาธิการจึงไดออกกฎกระทรวง วา ดา ยการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ 2561 ไดกำหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา โดย มีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อใหเกิด การพัฒนาและสรางความเชื่อมั่นใหแกผูมีสว นเกีย่ วของและสาธารณชนวาสถานศึกษานั้นสามารถจัด การศึกษาไดอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเปาประสงคของหนวยงานตนสังกัด เพือ่ ใหส อดคลอ งกบั กฎกระทรวงดังกลา วกระทรวงศึกษาธิการจึงไดออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนยการศึกษาพิเศษ เพื่อเปนหลักในการเทียบเคียงในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของหนวยงาน ตนสังกัด สถานศึกษาหนวยงานตนสังกัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ในการพัฒนาสงเสริม สนับสนุน กำกับดูแล ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และ รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

2 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 4 (พ.ศ.2559-2563) มีจุดเปลี่ยนสำคัญหลาย ประการโดยมีแนวคิดหลักในการประเมินคือ การประเมินคุณภาพภายนอกเชื่อมโยงกบั ระบบประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัด และชวยกระตุนหนวยงานที่เกี่ยวของใหเกิด การสงเสริมยกระดับคุณภาพการศึกษา และจุดเปลี่ยนที่สำคัญในการประเมินคุณภาพภายนอก รอบที่ 4 ไดแก การประเมินคุณภาพภายนอกจะเปนการประเมินเชิงคุณภาพ เนนขอมูลเชิงประจกั ษ (Evidence Based) ที่สะทอนผลลัพธการดำเนินงาน โดยใชการตัดสินใจของผูเชี่ยวชาญ (Expert Judgment) และการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review) ใหครอบคลุมองคประกอบทั้งระบบแบบองครวม (Holistic Approach) เนนการลดภาระ ดานเอกสารและนำเทคโนโลยีมาใชในการประเมินและการตัดสินผลจะเปนการยืนยันคุณภาพไมใช การตัดสินผลผานหรือไมผานเหมือนที่ผานมา (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา,2562:22) เพื่อเปนการสนับสนุน สงเสริม และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ใหมีความ เขมแข็ง เปนระบบ ตอเนื่อง เชื่อถือได และสามารถเชื่อมโยงขอมูลสูการประเมินคุณภาพภายนอกได อยางถูกตอง กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษาจึงไดจัดทำโครงการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ขึ้นเพื่อใหโรงเรียนมีแนวทางในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพสงผลตอการพัฒนาคณุ ภาพจัดการศึกษาตอไป วตั ถปุ ระสงคข องการรายงาน 1. เพื่อรายงานกระบวนการในการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ปง บประมาณ 2564 2. เพื่อรายงานผลที่เกิดจากการดำเนินโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ปงบประมาณ 2564 ดังนี้ 2.1 ผลการพฒั นาความรคู วามเขา ใจและการพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 2.2 ผลการนเิ ทศตดิ ตามการดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาของ สถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1

3 2.3 ผลการสังเคราะหข อ มูลรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและการ ประเมินผลการพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ขอบเขตของการรายงานผล 1. ดานเนื้อหาสาระ การรายงานครั้งนี้เปนการรายงานกระบวนการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 ปงบประมาณ 2564 โดยมีกิจกรรมดำเนินการทง้ั สิน้ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 การสรางความรคู วามเขาใจ และพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ระยะที่ 2 การนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 ระยะที่ 3 การสังเคราะหขอมูลรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและการ ประเมินผลการพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เปา หมาย เชงิ ปรมิ าณ 1. ผรู ับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนละ 1 คน 2. ผบู รหิ ารโรงเรยี นจำนวน 109 คน เขา รว มประชุมและแลกเปล่ียนเรียนรู 3. โรงเรียนในสังกัดทุกโรงไดรับการนิเทศตดิ ตามดานการประกนั คุณภาพการศึกษา เชงิ คณุ ภาพ 1. ผรู ับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาไดร ับความรูความเขา ใจการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 2. โรงเรยี นมแี นวทางการพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาท่ีชัดเจน 3. โรงเรียนไดร บั การชี้แนะ สงเสรมิ สนบั สนุนการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน ระยะเวลาในการดำเนินงาน วนั ที่ 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563. ถงึ วนั ท่ี 30 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2564

4 ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดรับ 1. เปนขอมูลสำหรับผูบริหาร ครู หรือผูที่มีสวนเกี่ยวของในการพัฒนาระบบประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 2. เปนขอมูลเพื่อนำเสนอและเผยแพรใหแกโรงเรียน หนวยงานตนสังกัดและผูมีสวนได สว นเสียในการประกนั คุณภาพการศกึ ษา 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสามารถนำขอมูลมาใชในการปรับปรุงพัฒนาการ ดำเนนิ งานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสังกัดตอ ไป

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กยี่ วขอ ง การจัดดำเนนิ งานโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 มีเอกสารและสารสนเทศท่ี เกย่ี วขอ งดังน้ี 1. บริบทของสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2. รายละเอียดโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา 3. เอกสารเกยี่ วกับการประกันคณุ ภาพการศึกษา 4. งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ ง 1. บริบทบรบิ ทของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ที่ตั้ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตั้งอยูที่138 หมู 8 ถนนศรีธรรมราช ตำบลโพธิ์เสด็จ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท 075-356151 โทรสาร 075 -347356 เว็บไซต www.nst1.go.th e-mail : pnst1 @outlook.co.th และ nst1 [email protected] อาณาเขตตดิ ตอ ทศิ เหนือ ติดตอกับอำเภอทาศาลา ทิศใต ติดตอกับอำเภอพระพรหม ทศิ ตะวันออก ติดตอ กบั อำเภอปากพนงั อำเภอเฉลิมพระเกยี รติ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอกับอำเภอชางกลาง

6 สภาพทวั่ ไป สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 เปนสว นราชการ สวนกลาง กอตั้งเมื่อวันที่19 สิงหาคม 2553 โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของสภาการศึกษา เมื่อคราวประชุม ครั้งที่ 2/2553 วันที่ 17 สงิ หาคม 2553 ไดกำหนดและแกไขเปลยี่ นแปลงสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเดมิ เปน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา และสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาอยูในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบการ บริหาร จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแตระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน (โรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา) ใหแ กป ระชากรวัยเรียนใน 4 อำเภอของจงั หวัดนครศรีธรรมราช ไดแก อำเภอเมอื ง นครศรีธรรมราช อำเภอพระพรหม อำเภอลานสกา และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ โดยมีบทบาทหนาที่ตาม ประกาศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 เรื่อง การแบงสว นราชการ ภายในสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต1 พ.ศ.2561 ดงั นี้ อนุสนธิประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ไดดำเนินการแบงสวนราชการ ภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใหเปนไปดวยความเหมาะสมกับภารกิจ ปริมาณ และคุณภาพการ จดั การศึกษาในแตล ะเขตพ้ืนที่การศึกษา อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 37 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2561 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 จึงออกประกาศไว ดงั ตอไปน้ี ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 เรื่อง การแบงสวนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 พ.ศ. 2561” ขอ 3 ในประกาศฉบับนี้ “สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา” หมายความวา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ขอ 4 ใหสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหนาท่ีดำเนินการใหเ ปนไปตามอำนาจหนาท่ีของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมี อำนาจหนา ท่ี ดงั ตอ ไปนี้

7 1) จัดทำนโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศกึ ษาของเขตพ้นื ที่การศึกษาใหสอดคลอง กบั นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และความตองการ ของทอ งถิ่น 2) วิเคราะหการจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหนวยงานในเขต พื้นที่การศึกษา และแจงการจัดสรรงบประมาณที่ไดรับใหหนวยงานขางตนรับทราบ รวมทั้งกำกับ ตรวจสอบ ติดตามการใชจ า ยงบประมาณของหนว ยงานดงั กลา ว 3) ประสาน สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรรวมกับสถานศึกษาในเขตพื้นท่ี การศกึ ษา 4) กำกบั ดแู ล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศึกษาข้นั พื้นฐานและในเขตพื้นทก่ี ารศึกษา 5) ศึกษา วิเคราะห วิจัย และรวบรวมขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาในเขตพื้นที่ การศึกษา 6) ประสานการระดมทรพั ยากรดานตาง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อสงเสริม สนับสนุน การจัดและพฒั นาการศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา 7) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 8) ประสาน สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคกรปกครอง สวน ทองถิ่น รวมทั้งบุคคล องคกรชุมชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบนั อน่ื ทจ่ี ัดการศกึ ษารูปแบบท่หี ลากหลายในเขตพนื้ ที่การศกึ ษา 9) ดำเนินการและประสาน สงเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นท่ี การศกึ ษา 10) ประสาน สงเสริมการดำเนินงานของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และ คณะทำงาน ดานการศึกษา 11) ประสานการปฏบิ ตั ริ าชการทั่วไปกับองคกรหรือหนวยงานตาง ๆ ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทอ งถิน่ 12) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับ มอบหมาย

8 ภารกจิ และปรมิ าณงานในความรับผดิ ชอบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ไดกำหนดโครงสรางการบริหาร สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาตามโครงสรางที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ประกอบดวย 9 กลุม 1 หนวย ปจจุบันมีบุคลากรรวมทุกกลุม/ หนวย จำนวน 71 คน (ขอมูล ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ 2564 ) ไดแ ก 1) ผบู ริหาร จำนวน 5 คน 2) กลุมอำนวยการ จำนวน 17 คน 3) กลมุ นโยบายและแผน จำนวน 6 คน 4) กลุมสง เสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศฯ จำนวน 2 คน 5) กลมุ บริหารงานการเงินและสินทรพั ย จำนวน 6 คน 6) กลุม บรหิ ารงานบคุ คล จำนวน 7 คน 7) กลมุ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน 1 คน 8) กลุมนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา จำนวน 12 คน 9) กลมุ สง เสริมการจัดการศกึ ษา จำนวน 8 คน 10) หนว ยตรวจสอบภายใย จำนวน 2 คน 11) กลุมกฎหมายและคดี จำนวน 1 คน สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 มภี ารกจิ สำคัญในการ บรหิ าร จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใหประชากรวัยเรียนที่มีอายุอยูในเกณฑการศึกษาภาคบังคับในเขตบริการได เขาเรียนอยางทั่วถึงทุกคนและไดรับการพัฒนาตามศักยภาพตามกระบวนการเรียนรูที่หลักสูตร กำหนด โดยมีโรงเรยี นในสงั กดั และดูแลรับผิดชอบ ดังตารางที่ 1-4

9 นโยบายสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 ประจำปง บประมาณ พ.ศ.2564 วสิ ัยทศั น เนน คุณภาพ มาตรฐาน บรหิ ารจดั การแบบมสี ว นรว ม (Vision) พนั ธกจิ ที่ 1 จดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สรา งความมัน่ คงของสถาบนั หลักของชาติและ พนั ธกิจ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข (Mission) พันธกจิ ที่ 2 พัฒนาผเู รียนใหมคี วามสามารถความเปน เลิศทางวชิ าการเพ่ือสราง ขีดความสามารถในการแขงขัน คำขวญั พันธกิจท่ี 3 พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผเู รียนใหมสี มรรถนะตามหลกั สตู รและ (Motto) คุณลกั ษณะ ศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 4 สรางโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำใหผูเรียนทุกคนไดร ับ บริการทางการศึกษาอยางทว่ั ถึงและเทา เทียม พันธกิจที่ 5 พัฒนาผูบ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ ปน มอื อาชพี พันธกิจท่ี 6 จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน มิตรกบั สิ่งแวดลอม ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเปา หมายโลกเพื่อการพฒั นาท่ยี ่ังยืน (Sustainable Development Goals:SDGs) พันธกจิ ที่ 7 ปรบั สมดุลและพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาทุกระดับ และ จัดการศกึ ษาโดยใชเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) เพ่ือพฒั นามุงสู Thailand 4.0 องคกรดี มีมาตรฐาน บริการประทบั ใจ

เปา หมาย 10 นโยบาย 1) ผูเรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข มีทัศนคตทิ ถ่ี ูกตองตอบา นเมือง มีหลักคิดทีถ่ ูกตอ งและเปน พลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมท่ีพงึ ประสงค มีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น ซื่อสัตย สุจริต มัธยัสถ อด ออม โอบออ มอารี มวี นิ ยั รกั ษาศีลธรรม 2) ผเู รียนทมี่ คี วามสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและ อื่น ๆ ไดรับการพัฒนาอยางเต็มตามศักยภาพ สรางความสามารถใน การแขง ขัน 3) ผูเรียนเปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดริเริ่มและสรางสรรคนวัตกรรม มีความรู มี ทักษะ มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะของผูเ รยี นในศตวรรษที่ 21 มีสุข ภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและการเปน พลเมือง พลโลกทดี่ ี (Global Citizen) พรอ มกาวสู สากล นำไปสกู ารสรางความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 4) ผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเปนบุคคลแหง การเรียนรู มีความรูและ จรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชีพ 5) ผูเรยี นทม่ี ีความตองการจำเปนพิเศษ (ผพู ิการ) กลมุ ชาตพิ นั ธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุม ที่อยูในพื้นที่หางไกลทรุ กนั ดารไดรับการศึกษาอยางทัว่ ถึง เทาเทียมและ มคี ุณภาพ 6) สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development Goals:SDGs) และสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปน มติ รกับส่ิงแวดลอ มตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 7) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีสมดุลในการบริหารจัดการเชิง บูรณาการ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบขอมูลสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพและการรายงานผลอยางเปนระบบ ใชงานวิจัย เทคโนโลยีและ นวตั กรรมในการขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการศึกษา นโยบายท่ี 1 ดา นการจดั การศกึ ษาเพ่อื ความม่นั คงของมนุษยและของชาติ นโยบายท่ี 2 ดา นการจดั การศกึ ษาเพอื่ เพิ่มความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ นโยบายท่ี 3 ดา นการพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย นโยบายที่ 4 ดานการสรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มี มาตรฐาน และลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศกึ ษา นโยบายท่ี 5 ดานการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ ทเี่ ปนมิตรกับส่งิ แวดลอ ม นโยบายที่ 6 ดานการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา

11 ตารางท่ี 1 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามทต่ี ั้ง และเครือขาย อำเภอ เครือขายสถานศึกษา จำนวนสถานศึกษา เมอื งนครศรธี รรมราช (58) เครอื ขา ย 1 อำเภอเมือง 14 เครือขา ย 2 อำเภอเมือง 18 เครือขา ย 3 อำเภอเมือง 12 เครอื ขา ย 4 อำเภอเมือง 14 อำเภอลานสกา (20) เครอื ขาย 5 อำเภอลานสกา 20 อำเภอพระพรหม (16) เครือขาย 6 อำเภอพระพรหม 16 อำเภอเฉลมิ พระเกียรติ (15) เครือขา ย 7 อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ 15 รวม 109 ทม่ี า : กลมุ สง เสรมิ การศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร 18 ก.ค. 2563 ตารางที่ 2 จำนวนนักเรยี น จำนวนหองเรยี น จำแนกตามช้ันเรยี นและเพศ ชัน้ จำนวนหองเรียน จำนวนนกั เรียน ชาย หญงิ รวม อนุบาล 1 61 309 279 588 อนุบาล 2 110 663 564 1,227 อนุบาล 3 116 783 715 1,498 รวมระดับกอนประถมศกึ ษา 287 1,755 1,558 3,313 ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 136 1,246 1,186 2,432 ประถมศึกษาปท่ี 2 135 1305 1,229 2,534 ประถมศกึ ษาปท่ี 3 135 1,278 1,197 2,475 ประถมศึกษาปท่ี 4 130 1,263 1,088 2,351 ประถมศึกษาปที่ 5 129 1,266 1,119 2,385 ประถมศึกษาปท ี่ 6 130 1,255 1,150 2,405 รวมระดับประถมศึกษา 795 7,613 6,969 14,582 ทม่ี า : กลมุ สง เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร 18 ก.ค. 2563

12 ตารางที่ 2 (ตอ) จำนวนหองเรยี น จำนวนนักเรียน ชัน้ ชาย หญิง รวม 296 223 519 มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 24 260 203 463 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 23 287 212 499 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 24 843 638 1,481 รวมมธั ยมศึกษาตอนตน 71 10,211 9,165 19,376 1,153 รวมทัง้ สน้ิ จำนวน (คน) 103/14 ตารางท่ี 3 จำนวนบคุ ลากร 1,028 ประเภท 5 12 ผูบ ริหารสถานศึกษา/รองผบู รหิ ารสถานศึกษา 10 ครู 109 ครูอัตราจา งขนั้ วิกฤต 43 พนกั งานราชการ 4 ป (ครู) 24 บุคลากรวิทย – คณติ 21 ธรุ การโรงเรยี น 37 นกั การภารโรงคนื ครูใหโรงเรยี น 1,415 นกั การภารโรงงบดำเนินงาน ครผู ทู รงคณุ คาแหง แผน ดิน พีเ่ ลีย้ งเด็กพิการ รวม ทมี่ า : กลมุ บรหิ ารงานบุคคล 18 ก.ค. 2563

13 ตารางที่ 4 รายชือ่ โรงเรียนตามเครอื ขายโรงเรียนจำนวน 7 เครือขาย เครอื ขาย ชื่อเครือขา ย จำนวน ชอื่ โรงเรยี น ที่ โรงเรียน 1 มหาธาตุสามคั คี 14 1.วดั พระมหาธาตุ 2. อนุบาลนครศรีธรรมราช“ณ นครอุทิศ” 3. วดั ทานคร 4.วัดมุขธารา 5. วัดนางพระยา 6.บานคนั ธง 7. บา นบางหลวง 8. บา นบางกระบือ 9. วัดราษฎรเจรญิ 10. วัดนำ้ รอบ 11.วัดทุงแย 12. วดั หนองบวั 13. วดั มะมวงสองตน 14. วดั นารีประดษิ ฐ 2 ปญ จภาคี 18 1. วดั โพธเิ์ สดจ็ 2. วัดโพธท์ิ อง 3.วดั วนาราม 4. วดั หวั อฐิ 5. บานทวดทอง 6. วดั ดอนยาง 7. วดั หญา 8. บานนาเคียน 9.บานคลองดนิ 10. บา นทวดเหนือ 11. วดั พระมงกฎุ 12. วัดมหาชยั วนาราม 13.วดั ทา งาม 14.วัดเทพธิดาราม 15. วัดชัน 16. บานยา นซอ่ื 17.วัดสวนพล 18.วดั บา นตาล 3 ทาเรอื บางจาก 12 1. วดั บางใหญ 2. วัดสระแกว 3. ราชประชานุเคราะห 5 4. วัดบางตะพาน 5. บา นเนิน 6. บา นบางเตย 7. ชมุ ชนวดั หมน 8. วดั สวางอารมณ 9.วัดจังหนู 10. วัดพงั สงิ ห 11. บา นหนองหนอน 12. วัดโดน 4 วรี ไทย 14 1. บา นชะเอยี น 2. วดั ทา แพ 3. ราชประชานเุ คราะห 4 4. วัดวิสุทธยิ าราม 5. วดั ไพศาลสถิต 6. วดั ศรีมงคล 7. บา นหว ยไทร 8. บานปากนำ้ เกา 9. วดั ทามว ง 10. วดั โบสถ 11. วัดมะมว งทอง 12. บา นปากพญา 13. บา นปากนำ้ ปากพญา 14. วดั นาวง

14 เครอื ขา ย ช่ือเครอื ขาย จำนวน ชื่อโรงเรียน ท่ี โรงเรยี น 5 ลานสกา 1. บานคดศอก 2. บา นสำนกั ใหม 3. ราษฎรบ ำรงุ 20 6 พระพรหม 4. วดั ใหมทอน 5. วัดสอ 6. ไทยรฐั วทิ ยา 74 16 7 เฉลมิ พระเกยี รติ 7. วัดจนั ทร 8. วัดโคกโพธ์สิ ถิตย 9. วดั สมอ 15 10. บา นสนั ยงู 11. ชมุ ชนลานสกา 12.วัดดนิ ดอน 13. บานมะมวงทอง 14. วดั วังหงส 15. วัดเจดยี  16. วัดคีรกี นั ทร 17. บา นตลาด 18. วดั ไทรงาม 19. วัดนำ้ รอบ 20. บานรอ น 1. วัดแพร 2. วดั ไสมะนาว 3. บา นหว ยยงู 4. วดั พระเพรง 5. วัดหนองแตน 6. วดั มะมวงตลอด 7. วดั กัด 8. วดั คันนาราม 9. วดั พระพรหม 10. วดั หว ยพระ 11. บา นหว ยระยา 12. วดั ทา ชาง 13. วดั ทา ยสำเภา 14. วัดเชิงแตระ 15. บา นไสใหญ 16. วัดราษฎรเ จรญิ วราราม 1. บานบางนกวัก 2. วดั ทงุ เฟอ 3. บานบางไทร 4. วัดพังยอม 5. วดั ทางพนู 6. วัดสระเพลง 7. ราษฎรบำรุง 8. บานปากชอง 9. วัดปา หวาย 10.บา นปลายคลอง 11.วัดโคกกะถนิ 12.วดั สระไคร 14. วดั ดอนตรอ 15. บา นอาวตะเคยี น 16.วัดบางหวา

15 ตารางที่ 5 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามขนาดจำนวนนกั เรียน ปก ารศึกษา 2563 ขนาด สพฐ. (โรง) ขนาดที่ 1 จำนวนนักเรยี น 0 - 120 คน 66 (นักเรยี น 0 - 20 คน) 3 (นกั เรยี น 21 - 40 คน) 11 (นกั เรียน 41 - 60 คน) 15 (นักเรยี น 61 - 80 คน) 18 (นกั เรียน 81 - 100 คน) 11 (นกั เรียน 101 - 120 คน) 8 ขนาดที่ 2 (นกั เรยี น 121 -200 คน) 22 ขนาดท่ี 3 (นกั เรียน 201 -300 คน) 12 ขนาดที่ 4 (นักเรียน 301 – 499 คน) 7 ขนาดที่ 5 (นักเรยี น 500 – 1,499 คน) 0 ขนาดท่ี 6 (นักเรียน 1,500 – 2,499 คน) 2 ขนาดท่ี 7 (นักเรียน >2,500 คน) 1 110 รวมท้ังสน้ิ ตารางที่ 6 ผลการสงั เคราะหร ายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปการศึกษา 2562 ระดับ จำนวน/ ระดับปฐมวยั ภาพรวม ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ภาพรวม คณุ ภาพ รอยละ มฐ. มฐ. มฐ. มฐ. มฐ. มฐ. ที่ 1 ท่ี 2 ที่ 3 ที่ 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ยอดเย่ียม จำนวน 28 21 27 25 13 19 14 13 รอยละ 26.92 20.19 25.96 24.04 11.93 17.43 12.84 11.93 ดเี ลศิ จำนวน 48 52 46 49 47 63 52 57 รอยละ 46.15 50.00 44.23 47.12 43.12 57.80 47.71 52.29 ดี จำนวน 28 31 31 30 45 27 42 39 รอ ยละ 26.92 29.81 29.81 28.85 41.28 24.77 38.53 35.78 ปานกลาง จำนวน - - - - 4 - 1 - รอ ยละ - - - - 3.67 - 0.92 -

16 สรุปผลการเมินคณุ ภาพภายนอกรอบที่ 4 ของโรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ระยะที่ 1 ตารางที่ 7 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบที่ 4 ระยะท่ี 1 ระดับปฐมวยั ระดับ จำนวน ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก คุณภาพ โรงเรยี นทเี่ ขา รบั มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3 การประเมนิ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ โรงเรยี น โรงเรยี น โรงเรียน ดีเยีย่ ม 16 1 6.25 3 18.75 0 ดมี าก 16 7 43.75 7 43.75 8 50 ดี 16 8 50 6 50 8 50 พอใช 16 0 - 0 - 0- ปรับปรงุ 16 0 - 0 - 0- ตารางที่ 8 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบที่ 4 ระยะท่ี 1 ระดับข้นั พืน้ ฐาน ระดบั จำนวน ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก คุณภาพ โรงเรยี นท่เี ขา รบั มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานท่ี 3 การประเมนิ จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ โรงเรยี น โรงเรียน โรงเรยี น ดเี ยย่ี ม 17 1 5.88 3 17.64 1 5.88 ดีมาก 17 11 64.70 10 58.82 10 58.82 ดี 17 5 29.41 4 23.52 6 35.29 พอใช 17 0 00 ปรบั ปรุง 17 0 00

17 สรปุ ผลการเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใตสถานการณ COVID -19 สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ตารางท่ี 9 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบท่ี 4 ปง บประมาณ 2564 ระดับปฐมวัย ระดบั จำนวน ผลการประเมินคุณภาพภายนอก คุณภาพ โรงเรยี นที่เขารบั มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3 การประเมิน จำนวน รอ ยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ โรงเรยี น โรงเรียน โรงเรยี น ดี 49 49 100 49 100 49 100 พอใช - - - - - -- ปรบั ปรงุ - - - - - -- ตารางที่ 10 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบท่ี 4 ปงบประมาณ 2564 ระดับข้ันพื้นฐาน ระดบั จำนวน ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก คุณภาพ โรงเรยี นท่ีเขารบั มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 การประเมิน จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอยละ โรงเรียน โรงเรยี น โรงเรียน ดี 50 49 98 50 100 50 100 พอใช - 1 2 - - -- ปรับปรงุ - - - - - -- 2. รายละเอยี ดโครงการพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา โครงการ พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาของสถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงาน เขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 แผนงาน แผนงานพืน้ ฐานดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย สนองนโยบาย/ยทุ ธศาสตร สพฐ./สพท. ขอที่ 4.ดานการสรางโอกาสในการเขาถงึ บรกิ ารการศึกษาท่ี มคี ุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลอ่ื มล้ำทางการศึกษา ตัวช้ีวดั ที่ 4.2 สถานศึกษาไดรบั การ พฒั นาใหมีมาตรฐานอยา งเหมาะสมตามบริบทดานประเภท ขนาดและพื้นท่ี สนองยุทธศาสตรแ ผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัดนครศรีธรรมราช ขอท่ี 5 การพัฒนาระบบบรหิ าร จดั การและสง เสริมใหทกุ ภาคสว นมสี วนรวมในการจดั การศึกษา ผูรบั ผดิ ชอบ/เบอรโ ทรศพั ท นางปรียา สงคประเสริฐ เบอรโทรศัพท 095-4199757

18 หลักการและเหตผุ ล พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9(3) ไดก ำหนดใหก ารจัดระบบ โครงสรางและกระบวนการจดั การศึกษาใหย ึดหลักที่สำคัญขอ หนึ่ง คือมีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา โดยมาตรา 31 ใหกระทรวงมีอำนาจหนาที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุก ประเภท กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา และมาตราที่ 47 ไดกำหนดใหมีระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวยระบบ การประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก โดยระบบหลักเกณฑและวิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษาใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยใหหนวยงานตนสังกัดและ สถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพ ภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดำเนินการอยาง ตอเนื่อง และมีการ จัดทำรายงานประจำปเ สนอตอหนว ยงานตน สังกัด หนวยงานที่เก่ียวของและเปดเผยตอสารธารณชน เพ่ือนำไปสกู ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพ่อื รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกตอ ไป เพื่อเปนการสนับสนุน สงเสริม และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ใหมีความ เขมแข็ง เปนระบบ ตอเนื่อง เชื่อถือได และสามารถเชือ่ มโยงขอ มูลสูการประเมินคุณภาพภายนอกได อยางถูกตอง กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษาจึงไดจัดทำโครงการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ขึ้นเพื่อใหโรงเรียนมีแนวทางในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพสง ผลตอการพัฒนาคุณภาพจดั การศึกษาตอไป วตั ถปุ ระสงค 1. เพือ่ พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรยี นในสังกัดสำนักงานเขต พ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2. เพอื่ ประชุมและแลกเปลีย่ นเรยี นรถู อดประสบการณก ารพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพ ภายในสูการประเมินคณุ ภาพภายนอกของผเู ก่ียวของกบั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 3. เพ่อื ประกวดโรงเรียนที่มผี ลการการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน เลิศ (Best Practice) ดา นระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 4. เพือ่ นิเทศตดิ ตามการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรยี นในสังกัด สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1

19 เปา หมาย เชงิ ปริมาณ 1. ผูรับผิดชอบงานประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาโรงเรียนละ 1 คน เขารว มประชมุ และ แลกเปลยี่ นเรยี นรู 2. ผบู ริหารโรงเรียนจำนวน 109 คน เขารว มประชุมและแลกเปลี่ยนเรยี นรู 3. โรงเรยี นเขา รว มประกวด best practice เครอื ขา ยละอยางนอย 1 โรง 4. โรงเรียนในสงั กดั ทุกโรงไดรบั การนเิ ทศติดตามดานการประกันคุณภาพการศึกษา เชิงคณุ ภาพ 1. ผรู บั ผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาไดรับความรคู วามเขา ใจการพัฒนา ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 2. โรงเรยี นมีแนวทางการพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีชดั เจน 3. โรงเรียนไดร บั การช้ีแนะ สงเสริม สนับสนนุ การดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน ผลผลติ ผลลัพธ 1. ผลผลติ (Output) 1) ครูผรู ับผิดชอบงานประกนั คุณภาพการศกึ ษาเขาประชมุ /แลกเปลยี่ นเรียนรรู อ ย ละ 80 2) ผูบรหิ ารโรงเรียนเขาประชุมและรวมแลกเปลยี่ นเรยี นรรู อ ยละ 80 3) โรงเรียนเขา รว มประกวด best practice รอ ยละ 50 4) โรงเรยี นในสงั กัดไดร บั การนเิ ทศติดตามครบทุกโรง 2. ผลลัพธ (Outcome) 1) กลมุ เปา หมายมคี วามรูความเขาใจดานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่มิ ข้ึน 2) โรงเรยี นมีแนวทางการพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในชัดเจนขน้ึ 3) โรงเรยี นมคี วามพึงพอใจตอกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูการประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศึกษาในระดบั มาก 4) โรงเรยี นมคี วามพงึ พอใจตอการนิเทศตดิ ตามการดำเนนิ งานประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษาในระดบั มาก

20 ดชั นชี ีว้ ัดความสำเร็จ (KPIs) เชงิ ปริมาณ 1) จำนวนครผู ูรับผดิ ชอบงานประกันคุณภาพฯท่ีเขา รวมแลกเปลย่ี นเรียนรู 2) จำนวนผูบรหิ ารท่เี ขารวมแลกเปลยี่ นเรียนรู 3) จำนวนโรงเรยี นท่ไี ดรบั การนเิ ทศตดิ ตาม เชิงคณุ ภาพ 1) ความรูความเขาจากการแลกเปลย่ี นเรียนรู 2) การนำความรจู ากการแลกเปลยี่ นเรียนรแู ละถอดประสบการณไ ปปรับปรุงระบบ ประกันคุณภาพภายในสภานศกึ ษา 3) การนำผลจากการแนะนำและนเิ ทศตดิ ตามไปปรบั ปรุงระบบประกนั คุณภาพ ภายใน กลมุ เปาหมายผูไดรับผลประโยชน 1. โรงเรียน 2. สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา 3. นักเรียน ครู ผบู รหิ าร 4. ผูป กครอง และผมู สี วนไดสวนเสยี วิธีดำเนนิ การ/ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลา หมายเหตุ ที่ กิจกรรมหลกั ม.ค.- พ.ค. 1 พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา -แลกเปลยี่ นเรยี นรกู ารดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ส.ค -พฒั นาคูมือการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ม.ค.-ส.ค 2 ประกวด นวตั กรรม ดา นการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ก.ค 3 นเิ ทศ ตดิ ตาม การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ส.ค 4 สังเคราะหร ายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 5 สรุป รายงานผล ระยะเวลาและสถานท่ดี ำเนินการ วันท่ี..1..... เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2563. ถงึ วนั ที่ ..30.... เดอื น.กนั ยายน.... พ.ศ..2564

21 สถานทดี่ ำเนนิ การ 1. สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราชเขต 1 2. สถานทเี่ อกชนในจงั หวดั นครศรธี รรมราช งบประมาณ จำนวน .. 25,500..... บาท โดยถัวจา ยทกุ รายการ รายละเอียดดังนี้ กจิ กรรมและรายละเอยี ด งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจาย งบประมาณ ทใ่ี ช ในการใชง บประมาณ คาตอบแทน คา ใชส อย คา วสั ดุ 450 กจิ กรรมท่ี 1 พฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายใน 1,800 สถานศกึ ษา 1. ประชมุ คณะทำงาน จำนวน 15 คน -คา อาหารวางและเคร่อื งดื่ม จำนวน 15 คน 450 1 ม้ือๆ ละ 30 บาท (15 คน x 1 ม้ือ x 30 บาท) 2. ประชมุ การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรยี นในสงั กัด 109 โรง แบบออนไลนดวยระบบ MS TEAM จำนวน 3 วัน -คา อาหารวางและเคร่ืองดื่ม จำนวน 10 คน 2 ม้อื ๆ ละ 30 บาท เวลา 3 วัน 1,800 (10 คน x 2 ม้ือ x 30 บาทX3 วนั ) 3. ประชมุ พัฒนาคมู ือการประกันคุณภาพภายใน 3,600 1,440 1,440 สถานศกึ ษาโดยคณะทำงานจำนวน 12 คน เวลา 2 วัน 2,880 2,880 -คาอาหารวางและเครอื่ งดื่ม 1,520 (จำนวน 12 คน x 2 มื้อ x 30 บาทX2 วนั ) 3,600 1,520 -คา อาหารกลางวนั 12 คน มอ้ื ละ 120 บาท (12 คน x 120บาท x 2 วัน) - คา ตอบแทนวทิ ยากร 6 ชั่วโมง (6x600) - คาพาหนะ(เบกิ ตามทจ่ี ายจรงิ )

22 กจิ กรรมและรายละเอยี ด งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจาย งบประมาณ ในการใชง บประมาณ คาตอบแทน คาใชสอย คา วัสดุ ที่ใช กิจกรรมท่ี 2 ประกวด นวตั กรรม ดา นการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาคณะกรรมการ 5 คน 3,000 3,000 คณะทำงานจำนวน 7 คน รวม 12 คน 2,000 2,000 - คาตอบแทนคณะกรรมการตัดสินจำนวน 5 คน 2,000 (5 คน X 600 บาท) 2,000 720 - โลรางวัล /เกียรตบิ ตั ร/ 720 1,440 - เงินรางวัล 1,440 1,000 - คาอาหารวา งและเครื่องดืม่ สำหรบั คณะกรรมการ 1,000 และคณะทำงาน จำนวน 12 คน 2 มือ้ ๆ ละ 30 บาท (12 คน x 2 มื้อ x30บาท) - คาอาหารกลางวัน 12 คน 1 มือ้ ๆ ละ 120 บาท (12 คน x 120 บาท) -คา พาหนะคณะทำงานและกรรมการ (เบิกตามทีจ่ า ยจริง) กิจกรรมท่ี 3 นเิ ทศ ติดตาม การพัฒนาระบบประกัน คณุ ภาพการศกึ ษา กิจกรรมท่ี 4 สงั เคราะหรายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา - คาอาหารวางและเคร่ืองด่ืมสำหรับคณะกรรมการ 900 900 และคณะทำงาน จำนวน 15 คน 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท (15 คน x 2 มื้อ x30บาท) - คาอาหารกลางวัน 15 คน 1 มือ้ ๆ ละ 120 บาท 1,800 1,800 (15 คน x 120 บาท) - คาวสั ดุ 950 950 กิจกรรมที่ 5 สรุปรายงานผล -- รวมงบประมาณ 8,600 13,950 2,950 25,500

23 แผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ า ยเงนิ งบประมาณ วงเงนิ งบประมาณท่ดี ำเนินการ ……25,500….บาท แผนการปฏบิ ัตงิ าน แผนการใชจ ายเงินงบประมาณ รวม (กจิ กรรม) ไตรมาสท่ี ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสท่ี 1/2564 2/2564 3/2564 4/2564 11,690 1. พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ป ร ะ กั น 10,160 11,690 คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 10,160 2. ประกวดนวัตกรรมดานการ ประกันคุณภาพการศกึ ษา 3. นเิ ทศตดิ ตาม 4.ส ั ง เ ค ร า ะ ห  ร า ย ง า น ก า ร 3,650 3,650 ประเมินตนเองของ สถานศึกษา 5. สรุป รายงานผล รวม 15,340 10,160 25,500 การวเิ คราะหค วามเสย่ี งของโครงการ ปจจยั ความเส่ียง. -การแพรร ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา แนวทางการบริหารความเสยี่ ง -ปรบั เปลี่ยนกจิ กรรมใหเหมาะสมกบั สถานการณ การติดตามและประเมินผล วธิ ีการวัด/ เคร่อื งมือที่ใช ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ ประเมินผล บัญชลี งเวลา เชิงปรมิ าณ ตรวจสอบจำนวน บัญชลี งเวลา 1) จำนวนครผู รู ับผิดชอบงานประกนั คุณภาพฯที่เขา รวม บญั ชลี งเวลา ประชุมและแลกเปล่ยี นเรียนรู ตรวจสอบจำนวน 2) จำนวนผบู รหิ ารทเี่ ขา รว มประชุม/แลกเปลยี่ นเรียนรู ตรวจสอบจำนวน 3) จำนวนโรงเรียนท่ีเขารวมประกวด Best practice

24 ตวั ชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวดั / เคร่อื งมอื ที่ใช 4) จำนวนโรงเรียนทไี่ ดรบั การนิเทศติดตาม ประเมนิ ผล แบบบันทึกการนเิ ทศ ตรวจสอบจำนวน เชิงคุณภาพ สอบถาม แบบสอบถาม 1) ความรูความเขาจากการแลกเปลย่ี นเรยี นรู สมั ภาษณ/สังเกต แบบสังเกต 2) การนำความรจู ากการแลกเปล่ียนเรยี นรแู ละถอด ประสบการณไปปรบั ปรงุ ระบบประกันคุณภาพภายใน นเิ ทศติดตาม/ แบบบันทกึ การนเิ ทศ สภานศึกษา สมั ภาษณ แบบสัมภาษณ 3) การนำผลจากการแนะนำและนิเทศตดิ ตามไป ปรบั ปรงุ ระบบประกันคุณภาพภายใน ผลท่ีคาดวา จะไดร บั 1. โรงเรยี นไดร บั ความรคู วามเขา ใจและสามารถนำความรูดา นการประกนั คุณภาพภายใน สถานศึกษาไปปรับใชใ หเ หมาะสมกบั บริบทของโรงเรยี น 2. โรงเรยี นมรี ะบบประกันคุณภาพภายในทเ่ี ขมแขง็ สามารถเช่ือมโยงสกู ารประกนั คุณภาพ ภายนอกไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ 3. เอกสารเกี่ยวกับการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 3.1 ความหมายการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา การประกันคุณภาพการศึกษานั้นจัดเปนการบริหารจัดการ และการดำเนินกิจกรรมตาม ภารกิจปกติของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอยางตอเนื่อง ซึ่งจะเปนการสรางความ มั่นใจใหกับผูบริหารทางการศึกษา ซึ่งไดแก ผูเรียน ผูปกครอง และผูรับบริการทางออม ไดแก สถาน ประกอบการ, ประชาชน, และสังคมโดยรวมการประกันคุณภาพการศึกษาจึงนับวาเปนกลไกที่สำคัญ ในการพัฒนาผูเรียนใหสามารถดาเนินไปสูเปาหมาย และมาตรฐานทางการศึกษาได เพราะการ ประกันคณุ ภาพการศึกษานี้เปนระบบที่จะบง บอกถึงความพรอม และมาตรฐานในการจัดการศึกษาใน สถาบนั การศึกษา ซง่ึ จะสรา งความม่ันใจในตัวผรู บั บริการ ผปู กครอง และผมู ีสว นไดสวนเสียในผลผลติ ที่สถานศึกษาจะผลิตออกมาไดอยางมีคุณภาพ และสามารถทำใหผูสำเร็จการศึกษามีลักษณะที่ตรง ตามความตองการของสงั คม ไดม นี ักวิชาการศึกษาไดก ลาวถงึ การประกนั คุณภาพการศึกษาไว ดงั น้ี

25 อุทุมพร จามรมาน (2544: 1) ไดใหค วามหมาย การประกันคณุ ภาพการศึกษา หมายถงึ การ ใหหลักฐาน ขอมูลแกประชาชนวาบุคคลในโรงเรียนทำงานอยางเต็มความสามารถ เพื่อใหผูปกครอง นักเรยี น และสาธารณชน มคี วามม่ันใจในคุณภาพของนกั เรยี น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2543: 7) ไดใหความหมาย การประกัน คุณภาพการศึกษา หมายถึง การบริหารจัดการและการดำเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติของ สถานศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพของผเู รียนอยางตอเน่ือง ซึง่ จะเปนการสรา งความมนั่ ใจใหผูรับการทาง การศึกษาทั้งผูรับบริการโดยตรง ไดแก ผูเรียนและผูปกครอง และผูรับบริการทางออม ไดแก สถาน ประกอบการประชาชน และสงั คม โดยรวมวาการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาจะมีประสิทธภิ าพ และ ทำใหผูเรียนมีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่พึงประสงคตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด การ ประกันคุณภาพมีแนวคิดอยูบนพื้นฐานของการ “ปองกัน” ไมใหเกิดการทำงานที่ไมมีประสิทธิภาพ และผลผลติ ไมมคี ณุ ภาพ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคกรมหาชน) (2543: 7) (Educational Quality Assurance) ไดใหความหมาย การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การ สรางมาตรฐานของการบริหารจัดการและดำเนินกิจกรรมตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อพัฒนา คุณภาพของผูเรียนอยางตอเนื่อง สรางความมั่นใจใหผูรับการบริการทางการศึกษา ทั้งผูรับบริการ โดยตรง ไดแก ผูเรียน ผูปกครอง และผูรับบริการทางออม ไดแก สถานประกอบการ ประชาชน และ สงั คมโดยรวม จากแนวคิดของนักวิชาการศึกษาแสดงใหเ ห็นวา การประกนั คุณภาพการศึกษาเปนการสราง ความเชื่อมั่นใหกับผูมีสวนไดสวนเสียเกี่ยวกับการจัดการศึกษา โดยการวางแผนอยางเปนระบบ การดำเนินงานตามแผน และการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อนำขอ มูลไปปรับปรุง และพฒั นาการศึกษาตอไป 3.2 ประเภทของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาแบง เปน การประกันคุณภาพภายในและการประกนั คุณภาพภายนอกดงั ท่ีมีนักวิชาการหลายทา นไดก ลาวไวด ังน้ี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2554: 43) ไดแบงประเภทของการประกัน คุณภาพการศึกษาไวด งั น้ี 1) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน (Internal Quality Assurance) หมายถงึ การ ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาจาก ภายใน โดยวงจร PDCA (Plan - Do - Check - Act) เปนการปฏิบัตโิ ดยบคุ ลากรของสถาบนั การศึกษา หรือโดยหนว ยงานตนสงั กัด ท่มี หี นาที่กำกบั ดแู ลสถาบันการศึกษานัน้ ๆ

26 2) การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายนอก (External Quality Assurance) หมายถงึ การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาจาก ภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) หรือบุคคล หรือ หนวยงานภายนอกสำนักงานดังกลาวรับรอง เพื่อเปนการประกันคุณภาพและเปนการพัฒนาใหมี คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของสถาบนั การศกึ ษา นั้นๆ อุทมุ พร จามรมาน (2554: 1) ไดก ลาวถงึ ประเภทของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาไวว า ประกันภายใน หมายถึง การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา จากภายในโดยบคุ ลากรของสถานศกึ ษานั่นเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัด ที่มีหนาทีก่ ำกับดแู ลสถานศึกษานั้น ประกันภายนอก หมายถึง การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษาจากภายนอกโดยสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา หรือบุคคล หรือหนวยงานภายนอกที่สำนักงานดังกลาวรับรองเพื่อเปนการประกันคุณภาพและใหมี การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยางเปนระบบ โดยอาศัยบุคลากร ทรัพยากร กฎเกณฑ มาตรการ แนวปฏิบัติ และปจจัยตางๆ เปนกลไกใหการดำเนินงานบรรลุ เปา หมาย โดยสรุปแลวการประกันคุณภาพการศึกษาแบงเปน 2 ระดับ ไดแกการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาซึ่งเปนการติดตาม ตรวจสอบของสถานศึกษาเพื่อตรวจสอบการดำเนินงานของ สถานศึกษาเองโดยการดูแลจากตนสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอกซึ่งเปนการติดตามและ ตรวจสอบจากหนวยงานประเมินภายนอก 3.3 กฎหมายเกี่ยวกบั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 1.3.1 พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 (ฉบับแกไ ขเพม่ิ เตมิ ) พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 (ฉบับแกไขเพมิ่ เตมิ ) (2542: 3) มีเนื้อหาสาระทีเ่ กี่ยวขอ งกับการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ดังน้ี มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั นิ ้ี “การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรยี นรเู พ่ือความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรค จรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรแู ละปจ จยั เก้ือหนุนใหบ ุคคลเรยี นรอู ยางตอ เนอ่ื งตลอดชวี ติ

27 “การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน” หมายความวา การศกึ ษากอนระดบั อุดมศกึ ษา “การศึกษาตลอดชวี ิต” หมายความวา การศกึ ษาท่เี กดิ จากการผสมผสานระหวา ง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ไดอยางตอ เน่ืองตลอดชวี ิต “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย โรงเรยี น ศนู ยก ารเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มี อำนาจหนา ท่ีหรือมีวตั ถุประสงคในการจัดการศกึ ษา “สถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน” หมายความวา สถานศกึ ษาท่จี ัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน “มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกำหนดเกยี่ วกบั คณุ ลกั ษณะ คุณภาพ ทพ่ี งึ ประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการ เทยี บเคียงสำหรับการสง เสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมนิ ผล และการประกันคุณภาพ ทางการศึกษา “การประกนั คุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผลและการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา น้นั เอง หรอื โดยหนวยงานตนสังกดั ทมี่ ีหนาที่กำกับดแู ลสถานศึกษานน้ั “การประกันคณุ ภาพภายนอก” หมายความวา การประเมนิ ผลและการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สำนักงานดังกลาว รับรอง เพื่อเปนการประกันคุณภาพและใหมีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา หมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มาตรา 47 ใหม รี ะบบการประกนั คุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกัน คุณภาพภายนอกระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ใหเปนไปตามที่กำหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 48 ใหห นวยงานตนสงั กัดและสถานศึกษาจัดใหมรี ะบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศึกษาที่ตองดำเนินการอยา งตอเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของและเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนำไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา และเพอ่ื รองรบั การประกนั คณุ ภาพภายนอก

28 มาตรา 49 ใหมีสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา มฐี านะ เปนองคการมหาชนทำหนาที่พัฒนาเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผล การจัดการศึกษาเพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความมุงหมายและ หลักการและแนวการจดั การศึกษาในแตละระดับตามที่กำหนดไวในพระราชบัญญตั ินใ้ี หมีการประเมิน คุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแหงอยางนอยหนึ่งครั้งในทุกหาปนับตั้งแตการประเมินครั้ง สุดทาย และเสนอผลการประเมนิ ตอ หนว ยงานที่เกีย่ วของและสาธารณชน มาตรา 50 ใหสถานศึกษาใหความรวมมือในการจัดเตรยี มเอกสารหลกั ฐานตาง ๆ ที่ มีขอมูลเกี่ยวของกับสถานศึกษา ตลอดจนใหบุคลากร คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมทั้ง ผูปกครองและผูที่มีสวนเกี่ยวของกับสถานศึกษาใหขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่พิจารณาเห็นวา เกี่ยวของ กับการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษา ตามคำรองขอของสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมิน คุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สำนักงานดังกลาวรับรอง ที่ทำการประเมิน คณุ ภาพภายนอกของสถานศกึ ษาน้นั มาตรา 51 ในกรณีทีผ่ ลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไมไดตามมาตรฐาน ที่กำหนด ใหสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทำขอเสนอแนะ การปรับปรุงแกไขตอหนวยงานตนสังกดั เพื่อใหสถานศึกษาปรบั ปรุงแกไ ขภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด หากมิไดดำเนินการดังกลาว ใหสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานตอ คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรอื คณะกรรมการการอุดมศึกษา เพ่ือดำเนินการใหม ีการปรบั ปรงุ แกไ ข 1.3.2 กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561(2561: 83) อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึง่ แหงพระราชบัญญตั ิการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ มาตรา 47 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 รัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว ดังตอ ไปนี้ ขอ 1 ใหยกเลกิ กฎกระทรวงวา ดว ยระบบ หลกั เกณฑ และวิธกี ารประกันคุณภาพ การศกึ ษา พ.ศ. 2553 ขอ 2 ในกฎกระทรวงน้ี “การประกันคุณภาพการศกึ ษา” หมายความวา การประเมนิ ผลและการตดิ ตาม ตรวจสอบ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแตละระดบั และประเภทการศึกษา โดยมี กลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบรหิ ารคุณภาพการศึกษาทีส่ ถานศึกษาจดั ขึน้ เพอ่ื ใหเกิดการ

29 พัฒนาและสรางความเชื่อมั่น ใหแกผูมีสวนเกี่ยวของและสาธารณชนวาสถานศึกษานั้นสามารถจัด การศึกษาไดอยางมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเปาประสงคของหนวยงานตนสังกัด หรอื หนวยงานทีก่ ำกับดแู ล “สำนักงาน” หมายความวา สำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพ การศกึ ษา (องคก ารมหาชน) ขอ 3 ใหส ถานศกึ ษาแตละแหง จดั ใหม รี ะบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน สถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษา แตละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พรอมทั้ง จัดทำแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว จัดใหมี การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดสงรายงานผลการประเมินตนเอง ใหแกหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กำกับดูแล สถานศกึ ษาเปน ประจำทกุ ปเ พื่อใหการดำเนินการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาตามวรรคหน่งึ เปน ไปอยาง มีประสิทธิภาพ ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามีหนาที่ในการให คำปรึกษา ชวยเหลือ และแนะนำสถานศึกษา เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา พฒั นาอยา งตอเนอื่ ง ขอ 4 เม่ือไดร บั รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาตามขอ 3 แลว ให หนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาจัดสงรายงานดังกลาวพรอมกับประเด็น ตา ง ๆ ท่ีตอ งการใหมีการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมไดจากหนวยงานที่เก่ียวของ หรือจากผมู สี ว นไดสวนเสียกบั สถานศึกษาแหงนั้นใหแกสำนักงานเพื่อใชเ ปนขอมลู และแนวทางในการ ประเมินคุณภาพภายนอกใหสำนักงานดำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาและจัดสงรายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบ ดังกลาว พรอมขอเสนอแนะใหแกสถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กำกับดูแล สถานศึกษานั้น ๆ เพื่อใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตอ ไป 3.4 มาตรฐานการศกึ ษา 1.4.1 ความหมายและความสำคญั ของมาตรฐานการศึกษา “มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการ เทียบเคยี งสำหรับการสงเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพ ทางการศึกษา (สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ: 2542)

30 สำนักทดสอบทางการศึกษา (2561: 1)ไดกลาววา การกำหนดมาตรฐานการศึกษานั้นมี ความสำคัญและความจำเปนเนื่องจาก มาตรฐานการศึกษาเปนขอกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และ คุณภาพที่พึงประสงคที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง มาตรฐานถูกกำหนดขึ้นเพื่อใชเปน หลักเทียบเคียงสำหรับการสงเสริม และกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกัน คุณภาพการศึกษา มาตรฐานในบริบทนี้จึงเปนมาตรฐานที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดย องครวมการกำหนดใหมีมาตรฐานการศึกษาทำใหเกิดโอกาสที่เทาเทียมกัน ในการพัฒนาคุณภาพ เพราะสถานศกึ ษาทุกแหงรูวาเปา หมายการพัฒนาที่แทจรงิ อยทู ใ่ี ดการกำหนดใหมีมาตรฐานการศึกษา จึงเปน การใหค วามสำคญั กบั การจดั การศึกษา 2 ประการไดแ ก 1) สถานศึกษาทกุ แหง มเี กณฑ เปรยี บเทียบกับมาตรฐานซ่ึงเปน มาตรฐานเดยี วกนั 2) มาตรฐานทำใหส ถานศึกษาเขา ใจวา จะพฒั นาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด นอกจากนี้การกำหนดมาตรฐานยังเปนการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนใหกับครู ผูบริหาร พอแม ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษา ซึ่งเปน แนวทางหนึ่งในการรวมมือรวมพลัง เพื่อใหเกิดคุณภาพการศึกษาตามเปาหมายที่กำหนด มาตรฐาน การศึกษาจึงเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาทุนมนุษยและเปนเปาหมายสำคัญที่สุดที่ผูมีสวนเกี่ยวของ ทุกฝาย ทุกคนตองรับรูและปฏิบัติงานในหนาที่ที่รับผิดชอบใหบรรลุถึงเปาหมายตามมาตรฐาน การศึกษาท่ีกำหนดและรวมรับผดิ ชอบตอ ผลการจดั การศกึ ษาที่เกิดขึน้ (accountability) มาตรฐานการศกึ ษามีประโยชนต อ บุคคลทเี่ กย่ี วของ ดังน้ี 1. ผูเรียนทำใหเกิดการปรับปรุงและพัฒนาตนเองตามความคาดหวังของสังคมและ ประเทศชาติวาตองการคนที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงคอยางไรจะทำอยางไรจึงจะเปนผูมีคุณสมบัติ ตามทมี่ าตรฐานการศึกษากำหนด 2. ครู ใชมาตรฐานเปนกรอบแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน สำคัญ และเปนแนวทางในการพัฒนาตนเองตามคุณลักษณะและคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนด เพ่ือใหผูเรียนมคี ณุ ภาพตามท่ีมาตรฐานกำหนดไว 3. ทองถิ่นและสถานศึกษา ใชมาตรฐานเปนแนวทางรวมมือกันในการจัดการศึกษาให บรรลเุ ปา หมายตามทีต่ ง้ั ไว 4. พอแมผูปกครอง ประชาชนและผูนำชุมชน ใชมาตรฐานเปนเครื่องมือสื่อสารให ประชาชนไดร ับทราบกระบวนการจัดการศกึ ษาการจัดการเรียนการสอนท่ีจะทำ ใหคนไทยในทองถนิ่ เขาใจและเขา มามีสว นรว ม เพื่อใหการจัดการศกึ ษาชว ยยกระดับคณุ ภาพผูเ รียนใหไดตามมาตรฐานท่ี กำหนด 5. ประเทศชาติ ใชม าตรฐานเปน เคร่ืองมอื ทีท่ ำ ใหท กุ องคกรประกอบของระบบการศึกษา ขบั เคล่อื นไปพรอม ๆ กัน สเู ปาหมายเดยี วกนั และทำ ใหเกิดภาพการจัดการศกึ ษาทมี่ คี วามหมาย

31 1.4.2 มาตรฐานการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2561 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ไดประกาศใหใช มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศนู ยการศกึ ษาพิเศษดงั น้ี 1) มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561 มีจำนวน 3 มาตรฐาน โดยมี รายละเอยี ดดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเดก็ 1.1 มีพัฒนาการดานรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัย ของตนเองได 1.2 มีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ ด 1.3 มีพัฒนาการดานสังคม ชวยเหลือตนเองและเปน สมาชิกท่ีดขี องสังคม 1.4 มีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสดง หาความรูไ ด มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดาน สอดคลองกับบริบทของ ทองถนิ่ 2.2 จดั ครใู หเ พียงพอกบั ชัน้ เรียน 2.3 สงเสริมใหครมู ีความเช่ยี วชาญดา นการจัดประสบการณ 2.4 จดั สภาพแวดลอ มและสอื่ เพ่อื การเรยี นรอู ยา งปลอดภยั และเพียงพอ 2.5 ใหบริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรียนรูเพื่อสนับสนุนการ จัดประสบการณ 2.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเ่ี ปด โอกาสใหผูเกย่ี วของทุกฝา ยมีสวนรวม มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนนเดก็ เปน สำคญั 3.1 จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดานอยางสมดุลเต็ม ศักยภาพ 3.2 สรา งโอกาสใหเดก็ ไดร ับประสบการณตรง เลน และปฏบิ ตั ิอยางมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ การเรียนรู ใชส ่อื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั วยั 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการ เด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณและพัฒนาเดก็

32 2) มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรยี น 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู รยี น 1) มคี วามสามารถในการอา น การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแกปญหา 3) มีความสามารถในการสรา งนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 6) มีความรู ทกั ษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ดี่ ีตองานอาชพี 1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคของผูเรยี น 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและคานิยมท่ดี ตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด 2) ความภมู ิใจในทองถิ่นและความเปน ไทย 3) การยอมรบั ท่ีจะอยูรว มกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรางกายและจติ สังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มีเปาหมายวิสยั ทัศนและพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตร สถานศกึ ษา และทกุ กลุมเปาหมาย 2.4 พัฒนาครูและบคุ ลาการใหม ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี 2.5 จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือตอการจัดการเรียนรูอยาง มีคณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นนผเู รียนเปน สำคญั 3.1 จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไป ประยกุ ตใ ชใ นชีวิตได 3.2 ใชส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรยี นรูท เ่ี ออ้ื ตอการเรยี นรู 3.3 มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยา งเปนระบบและนำผลมาพัฒนาผเู รยี น

33 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู และใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรยี นรู 3) มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ศนู ยการศึกษาพเิ ศษ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู รยี น 1.1 ผลการพัฒนาผูเรยี น 1) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคลที่แสดงออกถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไวในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือแผนการใหบริการ ชว ยเหลอื เฉพาะครอบครวั 2) มีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเชื่อมตอหรือการสงตอเขาสู การศกึ ษาในระดบั ทีส่ ูงขนึ้ หรือการอาชพี หรอื การดำเนินชีวิตในสงั คมไดตามศกั ยภาพของแตละบคุ คล 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคของผเู รียน 1) มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงคต ามท่ีสถานศึกษากำหนด 2) มีความภูมิใจในทองถิ่น และความเปนไทยตามศักยภาพของผูเรียน แตล ะบุคคล มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 มีเปาหมาย วสิ ยั ทัศน และพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 2.2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตร สถานศกึ ษาและทุกกลุมเปา หมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ 2.5 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูอยางมี คณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปนสำคญั 3.1 จดั การเรียนรูผ า นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใช ในชวี ิตได 3.2 ใชส ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลงเรยี นรูท เี่ อือ้ ตอการเรยี นรู 3.3 มีกาบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รียนอยางเปนระบบและนำผลมาพัฒนาผเู รียน

34 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จดั การเรียนรู มาตรฐานการศึกษาในแตละระดับ กำหนดเกณฑการตัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ คอื ระดบั กำลังพฒั นา ระดับปานกลางระดบั ดรี ะดบั ดีเลศิ และระดับยอดเย่ยี ม สถานศึกษาสามารถนำมาตรฐานการศึกษาตามที่สำนักงานคณะกรรมการศึกษาข้ัน พื้นฐานกำหนดไวเปนมาตรฐานกลางและสามารถนำมาเทียบเคียงหรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและ เพ่มิ เตมิ มาตรฐานใหเหมาะสมกับบรบิ ทและจุดเนน ของสถานศกึ ษาได 1.4.3 แนวคดิ ในการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สำนักทดสอบทางการศึกษา(2561: 7) ไดกลาวถึงแนวคิดในการกำหนดมาตรฐาน การศกึ ษาไวด ังน้ี 1). แนวคิดในการกำหนดมาตรฐานดานคุณภาพของผูเ รียน คุณภาพผูเรียนที่สังคมตองการ ไดระบุไวอยางชัดเจนในพระราชบัญญัติการศึกษา แหง ชาติพ.ศ. 2542 และทแี่ กไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 ท่วี า “การจดั การศึกษาตอง เปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ (หมายถึงสุขกาย สุขใจ) สติปญญา ความรู(หมายถึง เปนคนเกง) และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำ รงชีวิตสามารถอยู รวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข (หมายถึง เปนคนดีของคนรอบขางและสังคม)” และในมาตรา 7 ที่วา “ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสำ นึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขรูจักรักษาและสงเสริม สิทธิหนาท่ีเสรภี าพ เคารพ กฎหมายความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมีความภูมิใจในความเปนไทยรูจักรักษา ผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติรวมทั้ง สงเสริมศาสนาศิลปวัฒนธรรมของชาติการกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสรางสรรคใฝรู และเรยี นรูดว ยตนเองอยางตอเน่ือง” นอกจากนี้ เพ่ือใหก าวทันกระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคท่ีความรู และเทคโนโลยีเจริญขึ้นอยางรวดเร็วกระทรวงศึกษาธิการในยุคของการปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552-2561) ไดป ระกาศวสิ ยั ทศั นเกีย่ วกับคนไทยยคุ ใหมวา คนไทยยุคใหมตองไดเ รียนรูตลอด ชีวิต มีสติรูทัน มีปญญารูคิด มีสมรรถนะและมีคุณธรรม รับผิดชอบตอครอบครัว ประเทศชาติและ เปนพลเมืองที่ดีของโลก ซึ่งสอดรับกับจุดมุงหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ไดมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ ดังนั้น ในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดาน คุณภาพของผูเรียน จึงมุงเนนที่การพัฒนาผูเรียนใหเปนมนุษยที่สมบูรณ โดยไดกำหนดมาตรฐาน การศึกษายอยจำนวน 2 ดาน ไดแก 1) ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 2) ดานคุณลักษณะที่พึง

35 ประสงคของผูเรียน ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มุงเนนคุณภาพมาตรฐานขั้นตน ในระดับ “ปานกลาง” ที่การมีความสามารถในการอานการเขียน การสื่อสารและการคิด คำนวณรวมทั้งการมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา สวนคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง ไดแก ระดับ “ดี” “ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม” จะมุงเนนไปที่คุณภาพมาตรฐานในระดับที่แตกตางกันในเรื่อง การมี ความสามารถในการคิดวิเคราะหคิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดและการ แกปญหาการมีความสามารถในการสรางนวัตกรรม การมีความสามารถในการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และการมีความรูทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีตองานอาชีพ สำ หรับดาน คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคของผูเรียน มุงเนน คุณภาพมาตรฐานขั้นพื้นฐานในระดับ “ปานกลาง” ที่การ มีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และการมีสุขภาวะทางรางกายและจิตสังคม สวนคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง ไดแก ระดับ “ดี”“ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม” จะมุงเนนไปที่คุณภาพ มาตรฐานในระดับท่ีแตกตางกันในเร่ือง ความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย รวมทั้งการยอมรบั ที่ จะอยรู วมกันบนความแตกตางและหลากหลาย 2) แนวคิดในการกำหนดมาตรฐานดานกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ การจัดการศึกษาของสถานศึกษามีองคประกอบที่สำคัญ 4 ดาน ไดแก ดานการ บริหารคุณภาพของสถานศึกษา ดานการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาดานการ พัฒนาครูและบุคลากรและดานการจัดสภาพแวดลอมและการบริการ ดานการบริหารคุณภาพของ สถานศึกษา เนนที่การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม โดยใหความสำคัญกับการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจของสถานศึกษารวมทั้งระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดานการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาหลักสูตร สถานศึกษาจะเปนตัวสะทอนคุณภาพของผูสำเรจ็ การศึกษาไดเ ปนอยางดีมีหลักสูตรสถานศึกษาจะมี การกำหนดจุดมงุ หมายแนวทางวิธีการและเน้ือหาสาระทเี่ รียน ตลอดจนวธิ ีการวดั และประเมินผลการ เรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งจะสะทอนวาผูเรยี นมคี วามรูความสามารถเจตคตแิ ละพฤติกรรมตาม มาตรฐานการศึกษาทส่ี ถานศึกษากำหนดไวห รือไม หลักสตู รที่ดคี วรคำนึงถึงบริบทของผูเรยี น ทองถิ่น และชุมชนมีการบูรณาการสาระการเรียนรูหรือจัดทำรายวิชาเพิ่มเติมที่สอดคลองกับความถนัด ความสามารถและความสนใจของผูเรียนและจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่สงเสริมศักยภาพของผูเรียน ตามขีดความสามารถทำ ใหผูเรียนมีความสมบูรณและสมดุลทั้งทางรางกาย สังคม อารมณจิตใจและ สตปิ ญญา ดานการพฒั นาครูและบุคลากร ครูและบุคลากรเปนปจจัยสำคัญทช่ี วยใหการจัดการศึกษา เกดิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดการพฒั นาครูและบุคลากร เนนไปที่ความเช่ียวชาญทาง วชิ าชพี ซึง่ ตองมีการพัฒนาท่ีตรงตามความตองการจำ เปน อยางตอ เนื่อง ทัง้ ในสว นของบุคคลและการ แลกเปลี่ยนเรียนรใู นรูปแบบของการสรา งชุมชนการเรยี นรูทางวชิ าชีพ ดา นการจดั สภาพแวดลอมและ การบริการ สภาพแวดลอ มและการบริการท่ีดีเปน ปจจยั สำคญั ตอการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา

36 สถานศึกษาที่มีหองเรียน หองปฏิบัติการ อาคารเรียนที่มั่นคง สะอาดมีแหลงเรียนรูที่เพียงพอ มีการ จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอการจัดการเรียนรูตลอดจนมกี ารจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรูท่ีมีคุณภาพทำ ใหผ ูเรียนดำเนินชีวิต อยูในสถานศึกษาไดอยางมีความสุข ปลอดภยั มคี ุณภาพชวี ิตท่ีดีซง่ึ จะสงผลถึงความสำเร็จในการเรียน ของผูเรียนดวยมาตรฐานดานกระบวนการบริหารและการจัดการ มุงเนนคุณภาพมาตรฐานขั้นตน ในระดับ “ปานกลาง” ที่เปาหมายวสิ ัยทัศนและพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดและระบบบริหารจัดการ คณุ ภาพสถานศึกษาสวนคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง ไดแกร ะดบั “ดี”“ดีเลศิ ”และ“ยอดเย่ียม”จะมุงเนน ไปทค่ี ุณภาพมาตรฐานในระดับที่แตกตา งกันในเรอื่ งการดำเนินการพฒั นาวชิ าการ การพฒั นาครแู ละ บุคลากร การจัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คม รวมทัง้ การจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ สถานศึกษา 3) แนวคดิ ในการกำหนดมาตรฐานดา นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญการจัดการเรียนการสอนเปนกลไกสำคัญ ในการพฒั นาคุณภาพผูเรยี นซ่ึงจะบงบอกถงึ คุณภาพการจัดการศึกษา ในปจจุบนั การจัดการเรียนการ สอนที่ยอมรับกนั วาสงเสริมใหผ ูเรยี นเกิดการเรียนรูไดอยางแทจริงเปนการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสำคัญซึ่งเนนที่การปฏิบัต(ิ active learning) เพื่อใหผูเรียนเรียนรูผานกระบวนการคิดและ การปฏบิ ตั ิท่นี ำ ไปสกู ารเรียนรูทลี่ ึกซ้ึงและคงทน มาตรฐานดานการจัดการเรยี นการสอนที่เนนผูเรียน เปน สำคญั มงุ เนน คณุ ภาพมาตรฐานข้นั ตน ในระดบั “ปานกลาง” ท่ีการจัดการเรียนรผู า นกระบวนการ คิด และปฏิบัติจริง รวมทั้งความสามารถในการนำ ไปประยุกตใชในชีวิต การใชสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรูตลอดจนการตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปน ระบบและการนำผลมาพัฒนาผูเรียน สวนคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง ไดแก ระดับ “ดี” “ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม” จะมุงเนนไปที่คุณภาพมาตรฐานในระดับที่แตกตางกันในเรื่อง การบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรยี น 4. งานวจิ ัยท่ีเก่ียวของ Bugg (2013) ไดทำวิจัยเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาและการวางแผนพัฒนาโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายในมลรัฐอิลลินอยซวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของ คณะกรรมการการศึกษาของรัฐในโครงการประกันคุณภาพการศึกษา และพัฒนาแผนทีใชเปน ตัวกระตุนการพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงอยางเปนระบบในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ของรัฐ การศึกษาครั้งนี้เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับขอบเขตที่โรงเรียนสองแหงใชการประกันคุณภาพ การศกึ ษาเปน เคร่ืองมือในการปรบั ปรงุ กระบวนการอยา งตอเน่ือง ผลการวจิ ัยพบวากอนที่จะมีการนำ

37 การประกันคุณภาพ และแผนพัฒนามาใชโรงเรียนทั้งสองแหงยังไมไดใชระเบียบโครงสรางในการ ปรับปรุงโรงเรียน โรงเรียนในชนบทสามารถใชกระบวนการประกันคุณภาพเพื่อเปนการกระตุนการ พัฒนาโครงสรางการจัดระเบียบของโรงเรียนในขณะท่ีโรงเรียนในเมืองไมส ามารถทำตามกระบวนการ ไดสำเรจ็ การประกนั คณุ ภาพมีผลดีตอแผนการสอนในโรงเรียนทัง้ สองแหงการประกันคุณภาพประสบ ความสำเร็จในเรื่องเกี่ยวกับการปรับปรงุ โครงรางของการประกันคุณภาพสามารถชวยโรงเรียนในการ พฒั นาวัฒนธรรม การปรับปรงุ โรงเรียนอยางตอ เน่อื ง Acher(1995:192-197) ไดวิจัยเกี่ยวกับบริบทที่เกี่ยวของกับระบบคุณภาพการศึกษา ซึ่ง เปนแนวทางใหโรงเรียนสามารถนำไปเปลี่ยนแปลงการพัฒนาดานตางๆ ที่มีอยูใหดีขึ้น ผลการวิจัย พบวา ระบบคณุ ภาพการศึกษา (The Education Quality System : EQS) ซง่ึ มีลกั ษณะคือ รูปแบบ ระบบประกันคุณภาพและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบประกันคุณภาพจะตองปรับเปลี่ยนลักษณะสังคม 3 ประการ คือ ความรอบรู การปรับเปลยี่ นและการปฏริ ูป จึงจะทำใหองคการมีการพฒั นา ท้ังในดาน เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพการศึกษามีความสมบูรณชัดเจนสอดคลองและเปนแนวทางสำคัญตอ องคกรและการเปลี่ยนแปลงของนกั วิชาการไดกรอบแนวคดิ ของการเปลยี่ นแปลงระบบงาน นราวัลย สุรังคสุริยกุล (2555:75) ทำวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวมใน สถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ นำเสนอรูปแบบ การจดั การคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 6 โดย ใชเทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) เครื่องมือในการวิจัยประกอบดวย แบบสัมภาษณแบบ ปลายเปด แบบสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง และแบบสอบถามความเปนไปได ผลการวิจัยพบวา ได รปู แบบการจัดการคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 6 ซึ่งมอี งคป ระกอบท้ังหมด 6 ดาน และเพมิ่ เติมอีก 1 ดานตามขอเสนอแนะทีน่ อกเหนือจากขอบเขต ที่กำหนดไว คือ ดานการจัดการศึกษาสูความเปนสากล ดังนั้นรูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวม จึงมี 7 ดาน ไดแก 1) ดานการมีสวนรวมของทีมงาน ประกอบดวย 12 ตัวชี้วัด 2) ดานการปรับปรุง อยางตอเนื่อง ประกอบดวย 13 ตัวชี้วัด 3) ดานการพัฒนาบุคลากร ประกอบดวย 17 ตัวชี้วัด 4) ดานการสรางความพึงพอใจแกผูรับบริการ ประกอบดวย 13 ตัวชี้วัด 5) ดานนวัตกรรมและ เทคโนโลยี ประกอบดวย 14 ตัวชี้วัด 6) ดานการวางแผนกลยุทธ ประกอบดวย 13 ตัวชี้วัด และ 7) ดา นการจัดการศกึ ษาสูความเปนสากล ประกอบดวย 6 ตวั ชีว้ ัด อนันต เตยี วตอ ย (2551: 202) ศึกษาวจิ ยั เร่ือง รูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบด็ เสร็จ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อทราบถึงองคประกอบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและเพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล โดยการสัมภาษณ สรางเครื่องมือ และตรวจสอบรูปแบบการ บริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุมตัวอยางในการวิจัย

38 ประกอบดว ยอธิการบดี รองอธกิ ารบดี ผูชวยอธิการบดี คณบดี รองคณบดี ผอู ำนวยการวิทยาลยั และ รองผูอำนวยการวิทยาลัย จำนวน 205 คน ผลการวิจัยพบวา 1) องคประกอบการบริหารคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มี 7 องคประกอบ คือ 1.1) การใหความสำคัญ กับผูรับบริการ ผูมีสวนไดเสียและพนักงาน 1.2) ผูบริหารมีภาวะผูนำในการนำองคการ 1.3) เทคนิค และเครอ่ื งมอื การบริหารคุณภาพ 1.4) ธรรมาภบิ าลของผบู รหิ าร 1.5) การใชอ งคก ารเปน คูเทียบเคียง 1.6) การสรางชีวิตบุคลากร และ 1.7) การบริหารงานอยางตอเนื่อง 2) รูปแบบการบริหารคุณภาพ แบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ไดแก องคป ระกอบและกระบวนการ ประกอบดวย 7 องคประกอบ คือ 1.1) การใหความสำคัญกับผูรับบริการ ผูมีสวนไดเสีย และพนักงาน 1.2) ผูบริหารมีภาวะผูนาในการนาองคการ 1.3) เทคนิคและเครื่องมือการบริหารคุณภาพ 1.4) ธรรมาภิบาลของผูบรหิ าร 1.5) การใชอ งคการเปนคูเทียบเคียง 1.6) การสรางชีวิตบุคลากร และ 1.7) การบริหารงานอยางตอเนื่อง และนอกจากนี้ยังมีอีก 8 กระบวนการ คือ 2.1) การริเริ่มจาก ผูบริหารระดับสูง 2.2) การจัดโครงสรางองคการและทีมงาน 2.3) การจัดระบบเครื่องมือคุณภาพ 2.4) การประกาศใชและใหความรูแกบุคลากร 2.5) การกากับติดตามและประเมินผล 2.6) การทบทวนการดำเนินงาน 2.7) การใหรางวัล ผูประสบผลสำเร็จในการบริหารคุณภาพ และ 2.8) การเทียบเคียงกับหนวยงานที่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งรูปแบบดังกลาวไดรับการยืนยันจาก ผเู ชี่ยวชาญใหส ามารถนำไปใชไ ด เจียร ทองนุน (2553:234) ไดศึกษาวิจัย เรื่อง รูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง ผลการวิจัยพบวา รูปแบบการบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ขนาดเล็ก ประกอบดวย 1) แนวคิดและหลักการของการบริหาร ไดแก วัตถุประสงคของการบริหาร เพื่อใหครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยการ ระดมทรัพยากรและประสานความรวมมือกับผูที่เกี่ยวของกับการศึกษา และดานหลักการของการ บริหาร ประกอบดวย 1.1) การใหความสำคัญกับความตองการของนักเรียน ผูปกครอง และชุมชน 1.2) การปรับปรุงกระบวนการทำงานอยางตอเนื่อง 1.3) การใหทุกคนไดตระหนักและมีสวนรวมใน การปฏิบัติงาน และ 1.4) การบริหารโรงเรียนใหเปนระบบ 2) องคประกอบของการบริหาร ประกอบดวยดานตาง ๆ ท่สี ำคัญ คอื 2.1) องคประกอบดา นปจ จัยนำเขา ไดแ ก โครงสรา งการทำงาน ภาวะผูนำของผบู รหิ าร ขอ มลู และสารสนเทศ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณและเครอ่ื งมือ และเทคนิค ในการบริหาร 2.2) องคประกอบดานกระบวนการบริหาร ไดแก การวางแผนการบริหาร การ ติดตอสื่อสาร การใหความรูและการฝกอบรม การทำงานเปนทีม และการวัดและประเมินผลการ บรหิ าร และ2.3) องคประกอบดานผลผลิต ไดแ ก รางวลั และความชอบ และการรายงานผลการศึกษา 3) ขั้นตอนการบริหาร ซึ่งไดแบงขั้นตอนของการบริหารดังน้ี 3.1) การสรางแนวคิดพื้นฐาน

39 3.2) การตั้งคณะทำงาน3.3) การศึกษาความตองการของนักเรียน ผูปกครอง และชุมชน 3.4) การกำหนดวิสัยทัศน 3.5) การกำหนดนโยบาย และวัตถุประสงค 3.6) การวางแผนและการ จัดทำแผน 3.7) การลงมอื ปฏิบัติ และ 3.8) การรายงานผล พระมหากิตติศักดิ์ สริ วิ ฑฺฒโก (หนูสรุ า) (2561:135) ไดศ ึกษาวจิ ยั การพฒั นากระบวนการ การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา การวิจัยพบวา 1.สภาพปญหาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา แบงออกเปน 2 ดาน 4 มาตรฐาน คือ 1) ดานความเหมาะสม โดย ภาพรวมเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนมาตรฐาน พบวา มาตรฐานที่ 4 ระบบประกัน คุณภาพภายในที่มีประสิทธผิ ล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหาร และการจัดการของผูบริหารสถานศึกษา และ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน ผูเรียนเปนสำคัญ ตามลำดับ 2. พัฒนากระบวนการการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ซึ่งแบงออกเปน 4 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียนตองมีรางกายแข็งแรง นักเรียนมีความสามารถในการคิด วิเคราะห ความคิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกปญหา มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐานที่ 2 กำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรใหมี ความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ การวางแผนและดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน คณุ ภาพของผูเรียนรอบ ดาน ทกุ กลุมเปาหมายและดำเนนิ การอยางเปน รูปธรรม มาตรฐานที่ 3 มกี ระบวนการเรียนการสอนที่ สรางโอกาสใหผูเรียนทุกคนมีสวนรวม มาตรฐานที่ 4 มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษามุงเนนคุณภาพตามมาตรฐาน 3. เสนอกระบวนการการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษา ประกอบดวย 1) การควบคุมคุณภาพ 2) การตรวจสอบ 3) การประเมิน คุณภาพ 4) การใหการรับรองคณุ ภาพการศึกษาแกส ถานศกึ ษาน้ันๆ ผานวงจรควบคมุ คุณภาพ ไดแก กำหนดโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม และกำหนดวัตถุประสงค ปฏิบัติหนาที่ตามแผนที่กำหนดไวใหมี ประสิทธิผล ควบคุม และการทบทวนกระบวนการปฏิบัติงาน พระสุรชัย สุรชโย (หงษตระกูล) (2561: 417) ไดศึกษาวิจัยการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผลการวิจัยพบวา 1. องคประกอบ ของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาประกอบไปดวย 1) ปณิธาน วัตถุประสงค เอกลักษณ และอตั ลักษณ 2) ผนู ำและการบรหิ ารจัดการ 3) กลยุทธ 4) ลกู คา/ผเู รียน 5) บุคลากร 6) ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง 7) ขอกำหนดของหลักสูตร 8) โครงสรางและเนอื้ หาของหลกั สตู ร 9)กิจกรรม พัฒนาบุคลากร 10) การสนับสนุนผูเรียน 11) สิ่งสนับสนุนและอำนวยความสะดวก 12) การประกัน

40 คณุ ภาพกระบวนการการเรียนและการสอน 13) ขอ มลู ปอ นกลบั จากผมู สี วนไดส วนเสีย การทำนุบำรุง ศิลปะและวัฒนธรรมและความสัมพันธกับชุมชน/สังคม 14) ผลผลิต/ผลลัพธ ความคิดเห็นของ ผูบริหารและอาจารยที่มีตอองคประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษา ทั้ง 14 ดาน พบวา โดยภาพรวม อยูในระดับมาก คือ สิ่งสนับสนุนและอำนวยความ สะดวก ผูนำและการบริหารจัดการ ขอมูลปอนกลับจากผูมีสวนไดสวนเสีย การทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรมและความสมั พันธกับชุมชน/สังคม ในสว นของส่ิงสนับสนนุ และอำนวยความสะดวก กลยุทธ และ ผลผลิต/ผลลัพธตามลำดับ 2.พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การวิเคราะหระบบ ประกอบดวย องคประกอบของระบบการประกัน คุณภาพการศึกษา ทั้ง 5 ดาน ไดแก 1) ดานการผลิตบัณฑิต 2) ดานการวิจัย 3) ดานการบริการ วิชาการ 4) ดานการ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5) ดานการบริหารจัดการ ออกแบบระบบ ประกอบดวย 1) ขั้นตอนการพัฒนาระบบ 2) กระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษา 3) โครงการ/กิจกรรมการพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพ การนาระบบไปใช ประกอบดว ย 1) การเตรียมการดำเนินงาน 2) การดาเนินงาน 3) การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน การประเมนิ ผลการ ดาเนินงานประกอบดวย ปรับเปลี่ยนตามเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาระดับสถาบันของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และปรับเปลี่ยนตามเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษา ภายนอกระดับสถาบันของสำนักงาน สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)3. ผลการตรวจสอบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานจากมากไปหานอย พบวา ดานความถูกตอง ดานความเหมาะสม ดานความเปนประโยชน และดานความเปนไปได ผูตอบ แบบสอบถามมีความคิดเห็นเหมือนกันซึ่งอยูในระดับมากซึ่งตองมีความรูจากผลการวิจัย คือ ตอง พัฒนาคุณภาพการศึกษาดวยระบบประกันคุณภาพการศึกษาใหสอดคลองกับการจัดการศึกษา ระดบั ประเทศและระดบั โลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook