Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิวัฒนาการของเอกภพ ดาราจักร ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

วิวัฒนาการของเอกภพ ดาราจักร ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

Published by tumii1769, 2020-05-18 07:45:51

Description: วิวัฒนาการของเอกภพ ดาราจักร ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

พายสุ ุริยะและสมสรุ ยิ ะ (solar storm & solar wind) ลมสรุ ยิ ะ อนภุ าคต่างๆ ทอี่ อกมาจากดวงอาทิตย์ ซ่งึ สว่ นมากจะเปน็ อนุภาค โปรตอนและอิเลก็ ตรอน ทอ่ี ย่ภู ายในแก๊สของดวงอาทิตย์ พายสุ รุ ิยะ เกิดจากอนุภาคท่ีได้จากปรากฏการณล์ ุกจ้าบนดวงอาทิตยแ์ ละก้อน มวลจากคอโรนา ซ่ึงถกู ปลดปลอ่ ยมาจากดวงอาทิตย์ เกดิ บรเิ วณจุดมดื

ขอ้ เปรียบเทียบระหว่างพายสุ รุ ิยะและสมสรุ ิยะ ความเหมอื นกัน - อนุภาคมปี ระจไุ ฟฟา้ - ถกู ปลดปล่อยจากดวงอาทิตย์ ความแตกต่าง - พลังงาน - สาเหตุทเ่ี กดิ - ความเข้มของสนามแมเ่ หลก็ - ความรุนแรง

การสง่ ผลกระทบของพายุสุรยิ ะและสมสุรยิ ะตอ่ โลก 1. การเกิดแสงเหนอื -แสงใต้ (Aurora) 2. การเกิดไฟฟ้าแรงสงู ดับในประเทศทีอ่ ย่ใู กล้ขว้ั โลก 3. วิทยุคล่นื สนั้ ทั่วโลกจะไมส่ ามารถติดต่อได้ 4. วงจรอเิ ล็กทรอนกิ สภ์ ายในดาวเทยี มจะถกู ทาลาย 5. เครื่องมอื ทคี่ วบคมุ ความสูงดาวเทียมเสยี หาย





ดวงอาทติ ย์









กลอ้ งโทรทรรศน์ กลอ้ งโทรทรรศนเ์ ป็นอปุ กรณ์ที่ช่วยขยายภาพวัตถใุ นท้องฟ้าท่อี ยูไ่ กล ใหม้ ีขนาดใหญ่ขึ้น หลกั การของกล้องโทรทรรศน์ ใช้การรวมแสงใหม้ ากขึ้น เพือ่ ทจ่ี ะสามารถมองเหน็ วัตถุบนทอ้ งฟ้าท่ี ไม่สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า ไมใ่ ช่การขยายภาพ

ประเภทของกลอ้ งโทรทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์มีหลายชนิด ได้แก่ กลอ้ งโทรทรรศน์แบบหกั เหแสง กล้องโทรทรรศนแ์ บบสะท้อนแสง กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบผสม

กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบหักเหแสง ผู้คดิ คน้ คือ ฮานส์ ลิเพอร์ฮยี ์ (Liperhey) เมอ่ื นาเลนส์นนู สองชิน้ มาเรียงกันในระยะที่เหมาะสม จะเกดิ การขยายภาพ กาลเิ ลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) ริเริ่มการนากล้องมาใชส้ งั เกตดวงดาวเปน็ คนแรก

กล้องโทรทรรศน์แบบหกั เหแสง เลนส์ใกล้ตา (หลังจุดโฟกัส) หนา้ ที่ ใช้เลนส์ 2 ช้ิน ขยายภาพให้ผูส้ งั เกต เลนส์ใกลว้ ัตถุ (หนา้ กลอ้ ง) หนา้ ท่ี หักเหแสงมารวมกันทีจ่ ุดโฟกสั

ทางเดินแสงผา่ นระบบทัศนปู กรณ์ของกลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบหักเหแสง

กลอ้ งโทรทรรศน์แบบหักเหแสง กล้องโทรทรรศน์แบบหกั เหแสง จะมีลกั ษณะค่อนขา้ งยาว เพราะ ความยาวของกล้องเท่ากบั ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกลว้ ัตถแุ ละเลนสใ์ กล้ ตาบวกกนั ภาพท่ีได้จากกลอ้ งชนิดน้จี ะมคี วามคมชดั และสวา่ งทีส่ ดุ ในบรรดา กล้องทกุ ประเภทท่มี ขี นาดเทา่ กัน

กลอ้ งโทรทรรศน์แบบหักเหแสง กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบหกั เหแสง ท่มี ีขนาดใหญท่ ีส่ ุดในโลก มีเสน้ ผา่ น ศนู ย์กลางประมาณ 1 เมตร กลอ้ งขนาด 102 เซนตเิ มตร ณ หอดดู าวเยอร์กิส (Yerkes) กลอ้ งขนาด 91 เซนตเิ มตร ณ หอดูดาวลกิ (Lick)

กล้องโทรทรรศนแ์ บบสะท้อนแสง ผู้คิดค้น คือ เจมส์ เกรกอรี (James Gregory) เซอร์ ไอแซก นิวตนั (Sir Isaac Newton)

กล้องโทรทรรศนแ์ บบผสม เปน็ กลอ้ งโทรทรรศน์ทใี่ ชท้ ง้ั เลนส์และกระจกทางานรว่ มกนั กระจกทาหน้าทีร่ วมแสง เลนส์ปรับแกภ้ าพที่หนา้ กล้อง ชมิดท-์ แคสสิเกรน (Schmidt-Cassegrain)

กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบผสม

ฐานตงั้ กล้อง ฐานระบบขอบฟา้

ฐานระบบขอบฟ้า มีแกนหมนุ ได้ในแนวนอนโดยบอกค่าเปน็ มมุ ทศิ (azimuth) แนวตั้งโดยบอกเป็นมมุ เงย (altitude) ง่ายต่อการสร้าง ระบบควบคมุ การเคล่ือนทจ่ี ะซับซอ้ น แกนท้งั สองเปลยี่ นตาแหน่งดว้ ย อตั ราท่ไี ม่คงที่

ฐานตั้งกล้อง ฐานระบบศูนยส์ ตู ร

ฐานระบบศนู ย์สตู ร มแี กนหมนุ สองแกนตามระบบพิกดั ศนู ยส์ ตู ร หมุนกล้องเลียนแบบการขึน้ ตกของดาวจริงในแนวทศิ ตะวันออกและ ตะวันตก อีกแกนใชส้ าหรับชีต้ าแหน่งดาวในแนวทศิ เหนือใตท้ ต่ี ้องการ ไมย่ ุ่งยากในการควบคมุ การเคลอ่ื นท่ี









แอโอลิไพล์

วา่ นหู

ใชจ้ รวดขบั ดนั ลูกธนพู ุ่งเขา้ หาฝ่ายตรงขา้ ม

บ้งั ไฟ

ไชออลคอฟสกี (Tsiolkovski) เชื้อเพลิงสาหรับใช้ในเครอ่ื งยนต์จรวด การใชเ้ ชือ้ เพลงิ แข็งจะไม่มีแรงขับดันสูงพอท่จี ะนายานอวกาศพ้นจากพ้ืน โลกขึน้ สูอ่ วกาศได้ ควรใชเ้ ชื้อเพลิงเหลว ซง่ึ แยกเชื้อเพลิงและสารทชี่ ว่ ย เผาไหมอ้ อกจากกัน

รอเบริ ์ต กอดดารด์ (Robert Goddard) จรวดเชอ้ื เพลิงเหลว ใชอ้ อกซเิ จนเหลวกบั ไฮโดรเจนเหลวแยกกนั คนละถงั

หลังสงครามโลกครง้ั ที่ 2 อะพอลโล 11 จรวด 3 ทอ่ น ชื่อว่า แซทเทริ ์น 5 เปน็ จรวดเชือ้ เพลงิ เหลว โครงการเมอร์คิวรี โครงการเจมนิ ี และโครงการอะพอลโล

ยานอะพอลโล ประกอบไปด้วย 3 สว่ น ไดแ้ ก่ 1. ยานบงั คับการ (command module) 2. ยานบรกิ าร (service module) 3. ยานลงดวงจนั ทร์ (lunar module)

ยานอะพอลโล ทพี่ ามนษุ ยไ์ ปดวงจันทร์ 1. ยานอะพอลโล 11 4. ยานอะพอลโล 15 2. ยานอะพอลโล 12 5. ยานอะพอลโล 16 3. ยานอะพอลโล 14 6. ยานอะพอลโล 17

อะพอลโล 16 อะพอลโล 17

อะพอลโล 15 อะพอลโล 11

มนุษย์ไปดวงจันทร์ท้ังส้นิ 12 คน มนษุ ย์ที่โคจรรอบดวงจันทรท์ งั้ ส้ิน 6 คน มนษุ ยค์ นแรกทไ่ี ปลงบนดวงจนั ทร์ คือ นลี อาร์มสตรอง ยานอะพอลโล 11

ยานอวกาศ ฉางเอ๋อ 3 มารส์ เอ็กซพ์ ลอเรช่นั โรเจอร์ มารเิ นอร์ 9 วอยเอเจอร์ 1

มาร์ส โกบอล เซอรเ์ วเยอร์ แคสสิน-ี ฮอยแกน

ไพโอเนยี ร์ ไวก้งิ

ประเภทของจรวด แบ่งตามชนิดของเชอื้ เพลงิ 1. จรวดเชอื้ เพลงิ แขง็ 2. จรวดเชือ้ เพลงิ เหลว

1. จรวดเชือ้ เพลิงแข็ง มโี ครงสรา้ งไม่ซบั ซ้อน มีการเผาไหม้ของแทง่ เชอ้ื เพลงิ จนหมด ไมส่ ามารถหยุดหรอื ควบคุมได้ เม่ือใชเ้ ช้ือเพลงิ แขง็ หมดจะสลัดถงั เชื้อเพลงิ ท้งิ ลงทะเล

2. จรวดเช้ือเพลงิ เหลว มีโครงสรา้ งซบั ซ้อน มถี งั เกบ็ เช้อื เพลิงเหลว และถังออกซเิ จนเหลวท่ใี ชใ้ นการสันดาป มีทอ่ และปมั๊ เพือ่ ลาเลยี งเชอ้ื เพลงิ เข้าห้องเครอ่ื งยนต์ เพือ่ ทาการเผาไหม้ จรวดเช้อื เพลงิ เหลวควบคุมได้

ระบบการขนส่งอวกาศ 1. จรวดเชอ้ื เพลงิ แขง็ 2. ถังเช้อื เพลิงภายนอก 3. ยานขนส่งอวกาศ

การใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยอี วกาศ 1. ดาวเทยี มส่ือสาร 2. ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวทิ ยา 3. ดาวเทยี มสารวจทรพั ยากร 4. ดาวเทยี มสังเกตการณด์ าราศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook