Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิวัฒนาการของเอกภพ ดาราจักร ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

วิวัฒนาการของเอกภพ ดาราจักร ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

Published by tumii1769, 2020-05-18 07:45:51

Description: วิวัฒนาการของเอกภพ ดาราจักร ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

กาแล็กซชี นิดกงั หันหรอื ก้นหอย (Spiral galaxy) เป็นกาแล็กซีท่ีมีใจกลางสว่างเพราะมีดาวจานวนมาก และมี แขนซ่ึงมีดาวจานวนน้อยกว่า แขนหลักมี 2 แขนคล้ายใบพัดของ กังหัน ตรงกลางที่มีดาวฤกษ์หนาแน่นเรียกว่าใจกลางกาแล็กซี ใช้ รหัสว่า S โดยส่วนใหญก่ าแลก็ ซจี ะมีโครงสร้างคลา้ ยคานตรงกลางท่ี ย่นื ออกมาจากใจกลาง เรียกวา่ กาแลก็ ซกี ังหนั แบบมีคาน (SB)

กาแลก็ ซีชนิดกังหันหรือกน้ หอย (Spiral galaxy) ต่อ กาแลก็ ซีกงั หนั ชนดิ มคี าน เช่น กาแลก็ ซีทางช้างเผอื ก (SBb) กาแล็กซเี อ็นจีซี 1073 (SBc)

กาแลก็ ซีลูกสะบ้าหรือกาแลก็ ซีเลนส์ (Lenticular galaxy) เป็นกาแล็กซีที่มีรูปร่างคล้ายเลนส์อยู่ระหว่างกาแล็กซีรีและ กาแล็กซีชนิดกังหัน ใช้รหัสว่า S0 มีใจกลางสว่าง ล้อมรอบด้วย โครงสร้างคล้ายแผ่นจานเช่นเดียวกับกาแล็กซีชนิดกังหัน แต่ท่ี แตกต่าง คือ แผ่นจานไมม่ ีโครงสร้างของแขนกงั หันที่มองเห็นด้วย ตาเปล่า เชน่ กาแลก็ ซีเอน็ จซี ี 1201

กาแลก็ ซีทางชา้ งเผอื ก เราสามารถสังเกตทางชา้ งเผือกได้ในเงื่อนไขดังนี้ ทอ้ งฟ้าปลอดโปรง่ แจ่มใส ไมม่ แี สงจันทรส์ วา่ งและแสงไฟรบกวน

ลกั ษณะของกาแล็กซที างช้างเผอื กทเี่ ราสามารถสังเกตเหน็ ได้ เป็นแนวฝ้าขาวจางๆ ขนาดกว้าง 15 องศา พาดผ่านเป็นทางยาวรอบท้องฟา้ ในทิศทางของ กลมุ่ ดาว แมงป่อง กลมุ่ ดาวคนยิงธนู กลมุ่ ดาวนกอนิ ทรี กลุ่มดาวหงส์

ภาพจากกลอ้ งโทรทรรศน์แสดงใหเ้ หน็ ทางชา้ งเผอื ก ประกอบไปด้วยดาวฤกษจ์ านวนมากมายกระจายอยู่ ดาวฤกษ์ท่ีพบในกล้องโทรทรรศน์คือดาวฤกษท์ ่อี ยู่ บรเิ วณแขนหรอื บรเิ วณแกนกลางของกาแลก็ ซที างช้างเผือก ลกั ษณะของกาแลก็ ซที างช้างเผือกท่เี ราเหน็ จะเป็น ดา้ นขา้ งผา่ นไปยังส่วนทเี่ ป็นแขนของกาแลก็ ซี หรอื ใจกลาง

ระบบสุริยะของเราอยู่หา่ งจากศนู ยก์ ลางของกาแลก็ ซี ประมาณ 30,000 ปีแสงทางด้านกลมุ่ ดาวนายพราน

ปแี สงคืออะไร หนว่ ยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ ใช้เพอื่ วัด ระยะทางระหวา่ งดาราจักร และไม่ใชห่ นว่ ยวดั เวลา 1 ปแี สง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี 1 ปีแสง = 9.4607×1012 กโิ ลเมตร = 0.30660 พาร์เซก

ดาวฤกษบ์ รเิ วณทางช้างเผอื กด้านเหนอื

สว่างสุด มกี ระจกุ ดาวลกู ไก่เปน็ สมาชิกในกลมุ่ ดาวววั กลุ่มดาวแคสสิโอเปยี หรอื กล่มุ ดาวคา้ งคาว

กาแลก็ ซีทางช้างเผอื ก เปน็ กาแลก็ ซีแบบกงั หันมคี าน (barred spiral galaxy) มเี สน้ ผ่านศูนย์กลาง 100,000 ปีแสง มีความหนา 1,000 ปแี สง มมี วล 5.8 แสนลา้ นเทา่ ของมวลดวงอาทติ ย์ ดาวฤกษ์ 1-4 แสนล้านดวง

กาแลก็ ซีเพอ่ื นบ้าน กาแลก็ ซีแอนโดรเมดา กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก กาแลก็ ซีแมกเจลแลนใหญ่

กาแลก็ ซีแมกเจลแลนใหญ่ เปน็ กาแลก็ ซแี บบไมม่ ีรูปรา่ ง กาแลก็ ซแี อนโดรเมดา > กาแล็กซที างช้างเผอื ก เป็นกาแลก็ ซแี บบกังหัน

เนบวิ ลา Nebula

เนบวิ ลา เป็นกลุ่มฝุ่นแก๊สท่แี ผ่กระจายเต็มบริเวณซ่งึ มี ขนาดใหญโ่ ตมาก ไม่ใชด่ าวฤกษ์

ตน้ กาเนดิ เนบิวลา ตน้ กาเนดิ ของเนบวิ ลา คือสสารด้งั เดิม หลังบิกแบงและซากท่ีเหลือจากการระเบิด ของดาวฤกษ์

ประเภทของเนบวิ ลา 1. เนบิวลาสว่าง 2. เนบิวลามดื

เนบวิ ลาสวา่ ง เปนเนบิวลาท่มี องเหน็ เปนฝาขาวจางๆ สวางกวาบริเวณใกลเคยี ง เนบวิ ลาสวางท่ีอยใู กลดาวฤกษท่ีใหพลงั งานสูงและถกู กระตุนทาให กลุมแกสเกิดการเรืองแสงสวางขึ้น เชน เนบวิ ลาสวางใหญในกลมุ ดาว นายพราน เนบิวลารปู ปูในกลมุ ดาววัว เนบิวลาสวางบางแหงอาจเกดิ จากการสะทอนแสงจากดาวฤกษ ท่อี ยูใกลเคียง เชน เนบิวลาในกระจุกดาวลกู ไก่

เนบวิ ลาดอกกหุ ลาบ

เนบวิ ลาสามแฉก

เนบวิ ลานกอนิ ทรี

เนบวิ ลาผ้าคลมุ ไหล่

เนบวิ ลาปู เนบวิ ลาวงแหวน

เนบวิ ลามืด เปนเนบวิ ลาทีม่ องเหน็ เปนรอยดามืด เนอ่ื งจากเนบิวลา ประเภทนบ้ี งั และดึงดูดแสงจากดาวฤกษไว เชน เนบวิ ลามืดรูป หวั มา

เนบวิ ลาหวั มา้

เนบวิ ลาถงุ ถา่ น

ดาวฤกษ์ Star

คณุ สมบัตขิ องดาวฤกษ์ 1. มพี ลงั งานและแสงสวา่ งในตวั เอง 2. เปน็ แหล่งกาเนดิ ธาตตุ า่ งๆ

ววิ ฒั นาการของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ในกาแล็กซถี อื กาเนดิ จากเนบวิ ลาท่ยี บุ ตวั รวมกนั เน่ืองจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง ความดนั สงู และอุณหภูมสิ ูงตามธรรมชาตขิ องแกส๊ ในทุกสถานท่ี

ววิ ฒั นาการของดาวฤกษ์ ตรงบริเวณตรงกลางของเนบิวลาที่ยุบตัวลงจะมีอณุ หภมู ิ สงู กว่าขอบนอก เมอื่ อุณหภูมิสงู มากขึ้นเรอื่ ยๆ เปน็ หลายแสนเคลวิน จะเรียกวา่ “ดาวฤกษก์ อ่ นเกดิ ”

ววิ ฒั นาการของดาวฤกษ์ เม่ือแรงโนม้ ถ่วงดงึ ให้แก๊สยุบตวั ลงอีก ความดนั และ อุณหภูมิจะสูงขึ้นเป็น 15 ลา้ นเคลวนิ การเกิดปฏกิ ริ ิยาเทอร์โมนวิ เคลียร์ (Thermonuclear Reaction)

ววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ หลอมนวิ เคลยี ส H เป็นนิวเคลียส He ณ จุดสมดุลระหวา่ งแรงโน้มถ่วงและแรงดันของแก๊สรอ้ นเหลา่ น้ี จะกลายสภาพเป็น “ดาวฤกษ”์

ววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ ดาวฤกษท์ ี่เกิดขึ้นจะมีมวลที่แตกต่างกนั ดาวฤกษ์มวลมาก/ดาวฤกษม์ วลนอ้ ย

ววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ การทด่ี าวฤกษจ์ ะมมี วลมากหรอื นอ้ ยขึ้นอย่กู บั มวลของเนบิวลาตน้ กาเนดิ ที่แตกตา่ งกัน ดาวฤกษม์ วลน้อยจะกลายเปน็ ดาวยักษ์แดง ดาวฤกษม์ วลมากจะกลายเป็นดาวยักษใ์ หญแ่ ดง

ดาวฤกษม์ วลน้อย ดาวฤกษม์ วลน้อย (Less massive stars) คอื ดาวฤกษท์ ม่ี วลของดาวฤกษ์ก่อนเกิดมีค่า ต้งั แต่ 0.08 - < 9 เทา่ ของมวลดวงอาทติ ย์

ดาวฤกษ์มวลมาก ดาวฤกษ์มวลมาก (massive stars) คือ ดาวฤกษ์ท่มี วลของดาวฤกษก์ อ่ นเกดิ มคี ่า ≥ 9 เทา่ ของมวลดวงอาทิตย์





ความส่องสว่าง และโชติมาตรของดาวฤกษ์ - ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีความส่องสว่างแตกต่างกัน - ความสอ่ งสว่างของดาวฤกษข์ ึ้นอยู่กบั ขนาดและอุณหภูมิ ดาวปเี ทลจุส อณุ หภมู ติ า่ แต่ขนาดใหญ่ ดาวไรเจล อุณหภูมิสงู ขนาดเล็กกว่าดาวปีเทลจสุ

Do you know ? โชตมิ าตร อนั ดบั ความสวา่ ง Magnitude

อนั ดบั ความสวา่ ง แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ 1. อนั ดับความสว่างปรากฏ เปน็ อนั ดับความสวา่ งของดาวฤกษ์ท่ี สงั เกตได้จากโลกทม่ี องเห็นดว้ ย ตาเปล่า แตไ่ ม่สามารถ เปรียบเทยี บความสว่างจริงของดาวแต่ละดวงได้ เนอื่ งจากระยะทาง ระหว่างโลกและดวงดาวมีผลตอ่ การมองเห็นความสว่าง ดาวท่ีมี ความสว่างเท่ากันแตอ่ ย่หู า่ งจากโลกต่างกนั คนบนโลกจะมองเหน็ ดาวที่อย่ใู กลส้ วา่ งกวา่ ดาวทีอ่ ยู่ไกล

2. อนั ดบั ความสวา่ งที่แทจ้ รงิ เปน็ ความสวา่ งจริงของดวงดาว การบอกอนั ดับความสวา่ งทแ่ี ทจ้ ริงของดวงดาวจงึ เป็นค่า ความสว่างปรากฏของดาวในตาแหนง่ ทีด่ าวดวงน้นั อยู่ห่าง จากโลกเทา่ กนั คือ กาหนดระยะทาง เปน็ 10 พารเ์ ซก หรอื 32.61 ปแี สง เพอ่ื ใหส้ ามารถเปรยี บเทียบความสวา่ ง จริงของดาวได้

คา่ โชตมิ าตรปรากฏของดาวฤกษ์ ความสว่างของดาวฤกษ์ทเี่ ราสังเกตจากโลก ไม่มีหนว่ ย เปน็ เพียงตวั เลขท่กี าหนดขน้ึ

หลกั การกาหนดคา่ โชติมาตรปรากฏของดาวฤกษ์ ดาวฤกษร์ ิบหรที่ สี่ ุดมองเหน็ ดว้ ยตาเปลา่ มีอนั ดบั ความสวา่ ง 6 ดาวฤกษ์ท่ีสวา่ งทส่ี ุดมอี นั ดบั ความสวา่ ง 1 ดาวฤกษ์ทม่ี อี ันดบั ความสว่างตา่ งกนั 1 จะสว่างต่างกนั ประมาณ 2.5 เทา่





สแี ละอณุ หภมู ิของดาวฤกษ์ สีของดาวฤกษจ์ ะสมั พนั ธก์ บั อณุ หภมู ิผิว สีของดาวฤกษส์ มั พนั ธก์ ับอายดุ ้วย อายนุ อ้ ย สขี าว สีน้าเงนิ อายมุ าก สีแดง สสี ้ม อณุ หภมู สิ ูง อณุ หภูมติ า่






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook