Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คู่มือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Published by Koon Kru Ter ST, 2021-05-21 04:20:36

Description: คู่มือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Search

Read the Text Version

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พร้อม กันทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ โดยกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน เพื่อให้ทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องยึดเป็นแนวทางในการดาเนินการพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนด นอกจากน้ันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยังมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในลังคมได้อย่างมีความสุข โดยกาหนดการพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นส่วนหน่ึงของการจัดการเรียนรู้และการประเมินผู้เรียน เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตามที่ สถานศึกษากาหนดทุกระดับการศึกษา และผู้เรียนทุกระดับจะต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน ระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด จึงจะได้รับการตัดสินให้เลื่อนชั้น และจบการศึกษาแต่ละ ระดบั การศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทาแนวทางการพัฒนา การวัดและประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้สถานศึกษานาไปใชใ้ นการพัฒนาและประเมินผู้เรียนให้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามเป้าหมายของหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โรงเรียนบ้านวังปืน จึงได้จัดทาคู่มือการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เล่มน้ีขึ้น เพ่ือให้ครูผู้สอนได้นาไปดาเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน อย่างมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประสทิ ธิผล โรงเรยี นบำ้ นวงั ปนื สำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำสระแกว้ เขต ๑

สำรบญั เร่ือง หนำ้ การพัฒนา การวดั และประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑ - ความสาคญั ของคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑ - ความหมายของคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๒ ๓ การดาเนินการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔ - นยิ าม ตวั ชว้ี ดั พฤติกรรมบง่ ชี้ และเกณฑ์การให้คะแนนของคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒๒ - แนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกับการพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓๒ - แนวปฏิบัติในการพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๔๕ - การวดั และประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๐๒ - การรายงานผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

๑ กำรพัฒนำ กำรวดั และประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน ซึ่งกาหนดสิ่งท่ี ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ซึ่งจะประกอบด้วย ความรู้ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ เม่ือผู้เรียนได้รับการพัฒนาไปแล้ว นอกจากจะมีความรู้ ความสามารถ ตลอดจน คุณธรรมจรยิ ธรรมที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัดแล้ว จะนาไปสูก่ ารมีสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการอีกด้วย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่หลักสูตรกาหนดนั้น ต้องได้รับ การปลกู ฝงั และพฒั นา ผ่านการจดั การเรียนการสอน การปฏิบัติกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นในลักษณะตา่ ง ๆ จนตกผลึก เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในตัวผู้เรียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต้องใช้ข้อมูลจากการสังเกต พฤติกรรม ซ่ึงใชเ้ วลาในการเก็บข้อมูลพฤตกิ รรมเพ่อื นามาประเมินและตดั สิน ควำมสำคัญของคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ พระราชปัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กล่าวไว้ ใน มาตราท่ี ๒๓ ๒๔ และ ๒๖ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาสรุปได้ว่า ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้และคุณธรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องบรู ณาการความรู้ด้านต่างๆ เชน่ ความรเู้ กีย่ วกับตนเอง ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตอย่างมี ความสขุ โดยต้องผสมผสานสาระความรูเ้ หลา่ น้นั ให้ได้สัดส่วน สมดลุ กนั รวมท้ังปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม ท่ีดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา และให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียน โดยพิจารณา พัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกต พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ควบคู่ไป ในกระบวนการเรียนการสอน ตามความ เหมาะสมในแต่ละระคับและรูปแบบการศึกษา (สานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๕ : ๑๓-๑๕) ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ จึงมีนโยบายปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรมนาความรู้ มุ่งม่ันขยายโอกาส ทางการศกึ ษา ให้เยาวชนได้รบั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพอย่างกว้างขวางและทว่ั ถึง โดยคานึงถึงการพฒั นาผู้เรียนอย่าง รอบด้าน ครอบคลุมทั้งด้านพฤติกรรม จิตใจ และปัญญา นอกเหนือจากการยกระดับคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา นอกจากน้ียังได้ส่งเสริมและสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน มีจิตสานึกในคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ความสมานฉันท์ สันตวิ ธิ ี และวถิ ีประชาธิปไตย

๒ ควำมหมำยของคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลักษณะท่ีต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน อันเป็นคุณลักษณะท่ีสังคม ต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งใน ฐานะพลเมืองไทยและพลโลก (กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและประเมินผล สานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา, ๒๕๔๘ : ๒) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธคักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดคุณลักษณะ อันพึงประสงคไ์ ว้ ๘ ประการ ได้แก่ ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒) ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ๓) มวี นิ ัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อย่อู ยา่ งพอเพียง ๖) มุ่งมนั่ ในการทางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ

๓ กำรดำเนินกำรพัฒนำ กำรวดั และประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นส่วนหน่ึงของการจัดการเรียนรู้และการประเมินผู้เรียน เพ่ือให้ ผา่ นเกณฑต์ ามท่ีสถานศกึ ษากาหนดทุกระดับการศึกษา การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สถานศึกษาควรดาเนินการโดยคณะกรรมการพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา อาจเป็นชดุ เดียวกับคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในกรณีสถานศึกษาขนาดเล็กอาจจะให้ครูผู้สอน ครูประจาช้ัน/ ครูท่ีปรึกษาเป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนา ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดาเนินการตามขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้ ขน้ั ตอนที่ ๑ ศึกษาคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน นยิ าม ตวั ชวี้ ัด พฤติกรรมบ่งช้ี และเกณฑ์การให้คะแนน เพ่อื พิจารณาว่าตัวชว้ี ดั นั้นครอบคลมุ และสอดคล้องกับลักษณะ ธรรมชาติ ของวชิ า งาน กิจกรรมท่รี ับผดิ ชอบหรือไม่ อย่างไร ขน้ั ตอนที่ ๒ ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการท่เี กย่ี วขอ้ งกับการพฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ข้ันตอนที่ ๓ ศึกษาแนวปฏิบัติในการพัฒนาผู้เรียนว่าจะดาเนินการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดว้ ย วิธใี ดดงั ต่อไปน้ี คือ ๑. บรู ณาการในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระ ๒. จดั ในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๓. จดั โครงการเพอ่ื พฒั นาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๔. ปลกู ฝงั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์โดยสอดแทรกในกิจวตั รประจาวันของสถานศึกษา ขน้ั ตอนท่ี ๔ ศึกษาขอ้ มูลพื้นฐานของผูเ้ รียนกอ่ นการพัฒนา ขั้นตอนท่ี ๕ สร้างหรือเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม/สอดคล้องกับแนวปฏิบัติท่ีเลือกดาเนินการตามข้ันตอน ที่ ๓ ข้ันตอนท่ี ๖ ดาเนินการพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางท่ีกาหนดไว้และประเมินเป็นระยะ ๆ ผู้เรียนที่ไม่ผ่าน เกณฑใ์ หป้ รบั ปรุงพัฒนา แล้วประเมนิ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศกึ ษากาหนด ขน้ั ตอนที่ ๗ รายงานผลการพฒั นาต่อผ้ทู เ่ี กยี่ วขอ้ ง การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษาจะบรรลุผลไดน้ัน ตองอาศัยการบริหารจัดการและ การมสี วนรวมจากทุกฝาย ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครทู ป่ี รกึ ษา ครผู ูสอน ผูปกครอง และชุมชน ทต่ี องมุงขัดเกลา บมเพาะ ปลูกฝงคุณลักษณะอนั พึงประสงคใหเกิดข้นึ แกผูเรียน ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค สามารถกระทาไดโดยนาพฤติกรรมบงชี้ หรือพฤติกรรมที่ แสดงออกของคณุ ลักษณะแตละดานทีว่ ิเคราะหไว บูรณาการในการจดั กิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ตาง ๆ ในกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น โครงการพิเศษตาง ๆ ที่สถานศึกษาจัดทาขึ้น เชน โครงการวันพอ วันแมแหงชาติ โครงการลดภาวะโลกรอน วันรกั ษส่งิ แวดลอม แหเทียนพรรษา ตามรอยคนดีหรอื กิจกรรมทอ่ี งคกรในทองถ่นิ จัดขึ้น รวมทงั้ สอดแทรกในกิจวัตรประจาวนั ของสถานศึกษา เชน การเขาแถวซือ้ อาหารกลางวนั เปนตน ในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคน้ัน สถานศึกษาควรจัดใหมีการประเมินเปนระยะๆ โดยอาจ ประเมินผลเปนรายสัปดาห รายเดือน รายภาค หรือรายปี เพ่ือใหมีการส่ังสมและการพัฒนาอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะการนาไปใชในชีวิตประจาวัน และสรุปประเมินผล เม่ือจบปสุดทายของแตละระดับการศึกษา สถานศึกษาควรดาเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคอยางเปนระบบชัดเจน และสามารถ ตรวจสอบได

๔ นิยำม ตวั ชว้ี ดั พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์กำรให้คะแนน ของคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ การนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการดังกล่าว ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลน้ัน สถานศึกษาต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างชัดเจน โดยพิจารณาจาก นิยาม ตัวชวี้ ดั พฤตกิ รรมบ่งชี้ และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนของคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ซงึ่ มรี ายละเอียดดงั นี้ ขอ้ ท่ี ๑ รักซำติ ศำสน์ กษตั รยิ ์ นยิ ำม รักชำติ ศำสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ธารงไว้ ซ่ึงความ เป็นชาตไิ ทย ศรทั ธา ยึดม่นั ในศาสนา และเคารพเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ผู้ท่ีรักชำติ ศำสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มีลักษณะซ่ึงแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความ สามัคคี ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักกักดีต่อ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ตัวชว้ี ดั ๑.๑ เปน็ พลเมอื งดีของชาติ ๑.๒ ธารงไว้ซ่งึ ความเปน็ ชาติไทย ๑.๓ ศรัทธา ยดึ มั่นและปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ตัวช้ีวดั และพฤติกรรมบ่งช้ี ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ ๑-๓ ตวั ชว้ี ดั พฤติกรรมบง่ ช้ี ๑.๑ เปน็ พลเมืองดี ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติไดถ้ กู ต้อง ของชำติ ๑.๑.๒ ปฏิบัติตนตามสทิ ธแิ ละ หนา้ ที่พลเมอื งดขี องชาติ ๑.๑.๓ มคี วามสามคั คี ปรองดอง ๑.๒ ธำรงไว้ซึง่ ควำมเปน็ ชำติไทย ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรมทส่ี ร้างความสามัคคี ปรองดอง ท่ีเป็น ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม ๑.๓ ศรทั ธำ ยึดมั่นและ ปฏบิ ัตติ นตำมหลัก ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกยอ่ งความเปน็ ชาติไทย ของศำสนำ ๑.๓.๑ เข้าร่วมกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ๑.๔ เคำรพเทดิ ทูน ๑.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของศาสนาทต่ี นนับถือ สถำบนั ๑.๓.๓ เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ขี องศาสนิกชน พระมหำกษตั ริย์ ๑.๔.๑ เข้ารว่ มและมสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมทีเ่ กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตริย์ ๑.๔.๒ แสดงความสานกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณของพระมหากษตั รยิ ์ ๑.๔.๓ แสดงออกซ่ึงความจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์

๕ เกณฑก์ ำรให้คะแนน ระดบั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑-๓ ตัวชวี้ ัดท่ี ๑.๑ เป็นพลเมืองดขี องชำติ พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม(๓) ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธง ไม่ยนื ตรงเคารพ ยนื ตรงเม่ือได้ยิน ยนื ตรงเมอ่ื ได้ยินเพลง ยืนตรงเม่อื ได้ยนิ เพลงชาติ ชาติ รอ้ งเพลงชาติ และ ธงชาติ เพลงชาติ รอ้ ง อธิบายความหมาย ของ เพลงชาตไิ ด้ ชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ ร้องเพลงชาติได้ และบอก เพลงชาตไิ ด้ถูกตอ้ ง ๑.๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิ และบอกความหมาย ความหมายของเพลงชาติได้ หน้าทีพ่ ลเมืองดีของชาติ ๑.๑.๓ มคี วามสามัคคี ของเพลงชาติได้ ถกู ต้อง ปฏิบัตติ นตามสิทธิ ปรองดอง ถูกต้อง ปฏิบัติตนตาม และหน้าท่ขี องนักเรยี น สทิ ธิและหนา้ ที่ของ และให้ความร่วมมอื รว่ มใจ นกั เรยี น ในการทางานกบั สมาชกิ ใน ชัน้ เรยี น ตวั ช้ีวัดที่ ๑.๒ ธำรงไว้ซง่ึ ควำมเปน็ ชำติไทย พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ยีย่ ม(๓) ๑.๒.๑ เข้ารว่ ม สง่ เสรมิ ไมเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมที่ เขา้ รว่ มกจิ กรรม เขา้ รว่ มกิจกรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรม สนบั สนุนกจิ กรรมทส่ี ร้าง สรา้ งความสามคั คี ท่ีสรา้ งความสามคั คี ทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อ ท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ ความสามคั คี ปรองดอง ปรองดอง และเปน็ โรงเรียน และปฏบิ ตั ิ โรงเรียนและปฏิบตั ิ ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ตนเพอ่ื สร้างความ ตนเป็นตวั อยา่ งทด่ี ี ชมุ ชนและสงั คม สามัคคี ปรองดอง ในการสรา้ งความ ๑.๒.๒ หวงแหน ปกปอ้ ง ในหมู่เพอื่ น สามัคคี ปรองดอง ยกย่องความเป็นชาตไิ ทย ในหมู่เพอ่ื น ตัวช้วี ดั ที่ ๑.๓ ศรัทธำ ยดึ ม่นั และปฏิบตั ิตนตำมหลกั ของศำสนำ พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไม่ผ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม(๓) ๑.๓.๑ เข้าร่วมกจิ กรรม ไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมทาง เขา้ ร่วมกิจกรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรมทาง เข้าร่วมกจิ กรรมทาง ทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ทางศาสนาที่ตนนับ ศาสนาที่ตนนบั ถอื ศาสนาทต่ี นนับถอื ๑.๓.๒ ปฏิบตั ติ นตามหลัก ถอื และปฏบิ ัตติ น และปฏิบตั ิตนตาม ปฏบิ ัติตนตามหลกั ของ ของศาสนาทีต่ นนบั ถอื ตามหลกั ของ หลกั ของศาสนา ศาสนาอยา่ งสม่าเสมอ ๑.๓.๓ เปน็ แบบอย่างที่ดี ศาสนา ตามโอกาส อยา่ งสม่าเสมอ และเปน็ ตวั อยา่ งท่ีดี ของศาสนิกชน ของศาสนกิ ชน ตวั ชว้ี ดั ที่ ๑.๔ เคำรพเทิดทูนสถำบนั พระมหำกษัตรยิ ์ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม(๓) ๑.๔.๑ เข้ารว่ มและมีส่วนร่วมใน ไมเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ี เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่ เขา้ รว่ มกจิ กรรม และ การจดั กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบนั ที่เกีย่ วกบั สถาบัน เกีย่ วกบั สถาบนั เกีย่ วกับสถาบนั มสี ว่ นรว่ มในการจัด พระมหากษตั รยิ ์ พระมหากษตั รยิ ์ พระมหากษตั ริย์ พระมหากษตั รยิ ์ กจิ กรรมท่เี กย่ี วกับ ๑.๔.๒ แสดงความสานกึ ในพระ ตามทโ่ี รงเรียนจดั ขึน้ ตามท่ีโรงเรยี นและ สถาบนั มหากรณุ าธคิ ณุ ของ ชุมชนจัดขึน้ พระมหากษตั รยิ ์ พระมหากษตั ริย์ ตามที่โรงเรยี นและ ๑.๔.๓ แสดงออกซ่งึ ความ ชมุ ชนจดั ขึน้ จงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบัน พระมหากษตั ริย์

๖ ตวั ช้วี ดั และพฤติกรรมบ่งช้ี ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๔-๖ ตวั ชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้ ๑.๑ เป็นพลเมอื งดี ๑.๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ รอ้ งเพลงชาติ และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติได้ถกู ตอ้ ง ของชำติ ๑.๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามสิทธิและ หนา้ ทพ่ี ลเมอื งดขี องชาติ ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง ๑.๒ ธำรงไว้ซึ่งควำมเปน็ ชำติไทย ๑.๒.๑ เขา้ ร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามัคคี ปรองดอง ทเ่ี ป็น ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม ๑.๓ ศรทั ธำ ยึดมน่ั และ ปฏบิ ตั ติ นตำมหลกั ๑.๒.๒ หวงแหน ปกปอ้ ง ยกยอ่ งความเป็นชาติไทย ของศำสนำ ๑.๓.๑ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื ๑.๔ เคำรพเทิดทนู ๑.๓.๒ ปฏิบัติตนตามหลกั ของศาสนาท่ตี นนบั ถือ สถำบนั ๑.๓.๓ เป็นแบบอยา่ งทด่ี ีของศาสนกิ ชน พระมหำกษัตริย์ ๑.๔.๑ เข้าร่วมและมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมท่ีเกยี่ วกับสถาบันพระมหากษตั ริย์ ๑.๔.๒ แสดงความสานึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ของพระมหากษัตริย์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึง่ ความจงรักภักดีตอ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เกณฑ์กำรให้คะแนน ระดบั ประถมศึกษำปีท่ี ๔-๖ ตัวชี้วัดท่ี ๑.๑ เป็นพลเมอื งดขี องชำติ พฤติกรรมบง่ ช้ี ไม่ผำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม(๓) ๑.๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ ไมย่ นื ตรงเคารพ ยืนตรงเมอื่ ได้ยินเพลง ยนื ตรงเมื่อได้ยินเพลง ยืนตรงเมื่อได้ยนิ เพลง ร้องเพลงชาติ และ ธงชาติ ชาติ รอ้ งเพลงชาติได้ ชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ ชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ อธบิ ายความหมาย และบอกความหมาย และบอกความหมาย และบอกความหมาย ของเพลงชาติได้ ของเพลงชาตไิ ด้ ของเพลงชาตไิ ด้ ของเพลงชาติได้ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ปฏบิ ตั ิตน ถูกต้อง ปฏบิ ัตติ น ปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธแิ ละ ตามสทิ ธิและหนา้ ท่ี ตามสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ี หน้าทีข่ องนกั เรียน ๑.๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธิ ของนกั เรยี น ของนักเรียน และให้ และใหค้ วามรว่ มมือ หน้าท่พี ลเมืองดขี อง ความรว่ มมือ รว่ มใจ ร่วมใจในการทางานกับ ชาติ ในการทางานกับ สมาชิกในโรงเรียน สมาชิกในชน้ั เรยี น ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง ตัวชวี้ ัดที่ ๑.๒ ธำรงไวซ้ ่ึงควำมเป็นชำติไทย พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม(๓) ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม ไมเ่ ข้าร่วม เขา้ ร่วมในกิจกรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ี เป็นตวั อยา่ งทีด่ ใี นการ สนับสนนุ กิจกรรมทส่ี รา้ ง กิจกรรมท่ี ทสี่ ร้างความสามคั คี สร้างความสามคั คี เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ี ความสามคั คี ปรองดอง สร้างความ ปรองดองและเปน็ ปรองดอง และเป็น สรา้ งความสามัคคี ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น สามคั คี ประโยชน์ต่อ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ปรองดอง และเป็น ชมุ ชนและสงั คม โรงเรยี นและชมุ ชน และชมุ ชน ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน และชมุ ชน ๑.๒.๒ หวงแหน ปกปอ้ ง ยกย่อง ความเปน็ ชาติไทย

๗ ตัวชวี้ ดั ที่ ๑.๓ ศรัทธำ ยึดมน่ั และปฏิบตั ติ นตำมหลกั ของศำสนำ พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม(๓) ๑.๓.๑ เข้าร่วมกจิ กรรมทาง ไมเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรม เข้าร่วมกจิ กรรมทาง เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนา ศาสนาท่ตี นนับถอื ทีต่ นนบั ถอื ปฏบิ ตั ติ นตาม ศาสนาทตี่ นนับถอื ทางศาสนาท่ีตน ทางศาสนาทีต่ นนับ และปฏบิ ตั ติ นตาม หลักของศาสนาอย่าง หลกั ของศาสนา สมา่ เสมอ และเปน็ ๑.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหลัก นับถือ ถือ และปฏบิ ัตติ น อยา่ งสม่าเสมอ ตัวอยา่ งทด่ี ีของศาสนกิ ชน ของศาสนาที่ตนนบั ถือ ตามหลกั ของ ๑.๓.๓ เปน็ แบบอย่างที่ดี ศาสนาตามโอกาส ของศาสนกิ ชน ตัวชีว้ ดั ที่ ๑.๔ เคำรพเทดิ ทูนสถำบนั พระมหำกษตั รยิ ์ พฤติกรรมบง่ ชี้ ไมผ่ ำ่ น (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม(๓) ๑.๔.๑ เขา้ ร่วมและมสี ว่ นร่วมในการ ไม่เขา้ ร่วม เขา้ ร่วมกจิ กรรม เขา้ ร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรมและมสี ว่ นร่วมใน จดั กจิ กรรมที่เก่ยี วกับสถาบัน กจิ กรรมท่ี ท่ีเก่ยี วกับ และมสี ว่ นร่วม การจัดกิจกรรมทเ่ี ก่ียวกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เกยี่ วขอ้ งกบั สถาบัน ในการจดั พระมหากษตั รยิ ์ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ กิจกรรมท่ี ตามที่โรงเรยี นและชมุ ชนจดั ขึ้น ๑.๔.๒ แสดงความสานกึ ในพระมหา พระมหา ตามที่โรงเรียน เกย่ี วกบั สถาบัน ช่นื ชมในพระราชกรณยี กิจ กรณุ าธคิ ณุ ของพระมหากษัตริย์ กษตั ริย์ และชุมชนจดั ข้นึ พระมหากษตั รยิ ์ พระปรีชาสามารถของ ตามท่โี รงเรียน พระมหากษตั รยิ ์ และพระราชวงศ์ ๑.๔.๓ แสดงออกซง่ึ ความจงรักภกั ดี และชุมชนจดั ขึ้น ตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ข้อท่ี ๒ ซ่ือสัตยส์ จุ รติ นิยำม ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต หมายถึง คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถึงการยดึ มั่นในความถูกต้องประพฤติ ตรงตามความเป็น จริงต่อตนเองและผู้อนื่ ทัง้ ทางกาย วาจา ใจ ผู้ที่มีควำมซ่ือสัตย์สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริงท้ังทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความ จรงิ ความถูกต้องในการดาเนนิ ชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวตอ่ การกระทาผดิ ตวั ช้ีวดั ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองทงั้ ทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ต่อผู้อ่นื ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ ตัวชว้ี ัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ระดบั ประถมศึกษำปีที่ ๑-๓ ตวั ชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๒.๑ ประพฤติตรงตำม ๒.๑.๑ ใหข้ อ้ มลู ที่ถูกต้องและเปน็ จรงิ ควำมเปน็ จริงตอ่ ๒.๑.๒ ปฏบิ ัตติ นโดยคานึงถึงความถูกตอ้ งละอายและเกรงกลวั ต่อการกระทาผิด ตนเองทั้งทำงกำย วำจำ ใจ ๒.๑.๓ ปฏบิ ตั ิตามคามัน่ สญั ญา ๒.๒ ประพฤตติ รงตำม ๒.๒.๑ ไม่ถอื เอาสิ่งของหรอื ผลงานของผอู้ นื่ มาเปน็ ของตนเอง ควำมเปน็ จรงิ ตอ่ ผอู้ ื่นทงั้ ๒.๒.๒ ปฏิบตั ิตนตอ่ ผอู้ น่ื ดว้ ยความซอ่ื ตรง ทำงกำย วำจำ ใจ ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชนใ์ นทางท่ไี ม่ถกู ต้อง

๘ เกณฑ์กำรให้คะแนน ระดบั ประถมศกึ ษำ(ป.๑-ป.๓) ตวั ชว้ี ัดที่ ๒.๑ ประพฤตติ รงตำมควำมเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเองทั้งทำงกำย วำจำ ใจ พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไมผ่ ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม(๓) ๒.๑.๑ ให้ข้อมลู ท่ถี กู ตอ้ งและ ไม่ให้ขอ้ มลู ท่ี ใหข้ ้อมลู ทถี่ ูกต้องและ ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกต้องและ ให้ข้อมลู ท่ีถูกต้องและเปน็ จรงิ เปน็ จรงิ ถูกตอ้ งและเปน็ ปฏิบัตใิ นสงิ่ ทีถ่ กู ตอ้ ง ทาตาม จรงิ เป็นจริง ปฏบิ ัติในส่ิง เป็นจรงิ ปฏิบตั ิในส่ิง สัญญาท่ี ตนใหไ้ ว้กับพ่อแม่ ๒.๑.๒ ปฏิบตั ติ นโดยคานงึ ถึง หรือผปู้ กครอง และครู ความถูกต้อง ละอาย และ ทีถ่ กู ตอ้ ง ทีถ่ กู ตอ้ ง ทาตาม ละอายและเกรงกลวั ท่ีจะทา เกรงกลัวต่อการกระทาผดิ ความผดิ สัญญาที่ตนให้ไว้กบั ๒.๑.๓ ปฏิบตั ิตามคาม่ันสัญญา พอ่ แม่ หรือผู้ปกครอง ตัวช้ีวดั ที่ ๒.๒ ประพฤตติ รงตำมควำมเปน็ จรงิ ตอ่ ผอู้ นื่ ทัง้ ทำงกำย วำจำ ใจ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม(๓) ๒.๒.๑ ไมน่ าส่ิงของหรอื ผลงานของ นาสงิ่ ของของ ไมน่ าสิง่ ของของ ไม่นาสิ่งของของผ้อู น่ื มา ไม่นาส่ิงของและผลงาน ผู้อ่ืนมาเป็นของตนเอง ผ้อู ื่นมาเปน็ ผูอ้ ่นื มาเป็นของ เปน็ ของตนเองและ ของผูอ้ น่ื มาเป็นของตนเอง ของตน ตนเอง ปฏิบัติตนตอ่ ผ้อู ่ืนดว้ ย และปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผอู้ ืน่ ด้วย ๒.๒.๒ ปฏิบตั ิตนตอ่ ผู้อ่ืน ด้วยความ ความซือ่ ตรง ความซ่ือตรง ซอ่ื ตรง ๒.๒.๓ ไมห่ าประโยชน์ในทางท่ีไม่ ถูกต้อง ตัวชี้วัดและพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ระดับประถมศกึ ษำปีท่ี ๔-๖ ตัวช้ีวัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๒.๑ ประพฤตติ รงตำม ๒.๑.๑ ให้ข้อมลู ที่ถกู ตอ้ งและเป็นจรงิ ควำมเปน็ จรงิ ต่อ ๒.๑.๒ ปฏิบตั ิตนโดยคานึงถงึ ความถูกต้องละอายและเกรงกลวั 9jอการกระทาผิด ตนเองทง้ั ทำงกำย วำจำ ใจ ๒.๑.๓ ปฏบิ ัตติ ามคามั่นสญั ญา ๒.๒ ประพฤตติ รงตำม ๒.๒.๑ ไม่ถอื เอาสิ่งของหรือผลงานของผอู้ ่ืนมาเป็นของตนเอง ควำมเปน็ จรงิ ต่อผู้อ่นื ทัง้ ๒.๒.๒ ปฏิบตั ิตนตอ่ ผูอ้ น่ื ดว้ ยความซื่อตรง ทำงกำย วำจำ ใจ ๒.๒.๓ ไมห่ าประโยชนใ์ นทางทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔-๖ ตวั ชีว้ ัดท่ี ๒.๑ ประพฤติตรงตำมควำมเป็นจรงิ ต่อตนเองท้งั ทำงกำย วำจำ ใจ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผำ่ น (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม(๓) ๒.๑.๑ ใหข้ ้อมูลทีถ่ ูกต้องและ ไมใ่ ห้ขอ้ มลู ท่ี ใหข้ ้อมลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ ใหข้ ้อมลู ทถ่ี กู ต้องและ ใหข้ อ้ มลู ทีถ่ ูกตอ้ งและเป็น เปน็ จริง ถกู ต้องและเปน็ จรงิ จรงิ ปฏิบตั ใิ นสิ่งท่ี เปน็ จรงิ ปฏบิ ัติในสิ่งท่ี จรงิ ปฏิบัตใิ นสง่ิ ทีถ่ กู ตอ้ ง ๒.๑.๒ ปฏิบตั ติ นโดยคานงึ ถงึ ถูกต้อง ทาตามสญั ญา ถกู ต้อง ทาตาม ทาตามสญั ญาทตี่ นใหไ้ ว้ ความถกู ต้อง ละอาย ที่ตนให้ไวก้ ับพ่อแม่ สัญญาท่ีตนใหไ้ ว้กบั กับพ่อแม่ หรือผ้ปู กครอง และเกรงกลวั ต่อการ หรอื ผู้ปกครองและครู พ่อแม่ หรอื ผูป้ กครอง และครู ละอายและ กระทาผดิ และครู ละอายและ เกรงกลวั ทจ่ี ะทา เกรงกลัวที่จะทา ความผิด เปน็ แบบอย่าง ๒.๑.๓ ปฏบิ ตั ิตามคามนั่ สัญญา ความผิด ที่ดดี ้านความซือ่ สัตย์

๙ ตวั ชีว้ ดั ที่ ๒.๒ ประพฤตติ รงควำมเป็นจริงตอ่ ผอู้ ่ืนทั้งทำงกำย วำจำ ใจ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม(๓) ๒.๒.๑ ไมถ่ ือเอาส่ิงของ นาสิง่ ของของคนอน่ื ไมน่ าสงิ่ ของของผอู้ ืน่ มา ไม่นาสงิ่ ของ และ ไมน่ าสง่ิ ของ และ หรอื ผลงานของ มาเป็นของตน เปน็ ของตนเอง ปฏิบตั ิ ผลงานของผอู้ ืน่ มา ผลงานของผอู้ นื่ มาเป็น ผ้อู น่ื มาเป็นของ ตนตอ่ ผู้อนื่ ด้วยความ เปน็ ของตนเอง ของตนเอง ปฏิบตั ติ น ตนเอง ซอ่ื ตรง ปฏิบตั ติ นตอ่ ผู้อื่น ตอ่ ผู้อืน่ ด้วยความ ดว้ ยความซอื่ ตรง ซอ่ื ตรง และเป็น ๒.๒.๒ ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ผอู้ ่นื แบบอย่างทีด่ ีแกเ่ พอ่ื น ดว้ ยความซอ่ื ตรง ด้านความซื่อสตั ย์ ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ ในทางทีไ่ ม่ถกู ต้อง ขอ้ ที่ ๓ มวี ินยั นยิ ำม มีวนิ ัย หมำยถงึ คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงการยดึ มน่ั ในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบงั คับของ ครอบครวั โรงเรียน และสงั คม ผทู้ ม่ี ีวินัย คือ ผูท้ ปี่ ฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว โรงเรียน และ สังคมเป็นปกติวสิ ัย ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผอู้ นื่ ตัวชี้วัด ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คับของครอบครวั โรงเรยี น และสังคม ตวั ช้ีวดั และพฤติกรรมบ่งชี้ ระดับประถมศึกษำปีที่ ๑-๓ ตัวชีว้ ัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๓.๑ ปฏิบัตติ ำม ข้อตกลง ๓.๑.๑ ปฏบิ ตั ิตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั โรงเรียนและ กฎเกณฑ์ ระเบียบ สังคม ไม่ละเมดิ สทิ ธิของผู้อื่น ข้อบังคบั ของครอบครัว ๓.๑.๒ ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน และรับผดิ ชอบในการ โรงเรยี น และสังคม ทางาน เกณฑก์ ำรให้คะแนน ระดับประถมศึกษำปีท่ี ๑-๓ ตวั ชี้วัดที่ ๓.๑ ปฏบิ ตั ติ ำมข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสงั คม พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ำ่ น (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยยี่ ม(๓) ๓.๑.๑ ปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับ ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ของครอบครัว โรงเรียนและ กฎเกณฑ์ ข้อบงั คบั ของ ข้อบงั คบั ของ ขอ้ บงั คบั ของ สังคม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ อง ระเบยี บ ครอบครวั และ ครอบครัว และ ครอบครวั และ ผู้อื่น ข้อบงั คับของ โรงเรยี น โดยต้องมี โรงเรยี น โดยตอ้ งมี โรงเรยี นไดด้ ว้ ยตนเอง ครอบครวั และ การเตือน เป็นส่วน การเตือนเปน็ บางคร้งั ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิ โรงเรียน ใหญ่ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน ชีวิตประจาวนั และ รับผดิ ชอบ ในการทางาน

๑๐ ตวั ช้วี ดั และพฤตกิ รรมบ่งช้ี ระดบั ประถมศึกษำปีที่ ๔-๖ ตวั ช้วี ดั พฤตกิ รรมบ่งชี้ ๓.๑ ปฏิบัติตำม ข้อตกลง ๓.๑.๑ ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครวั โรงเรยี นและ กฎเกณฑ์ ระเบียบ สังคม ไม่ละเมดิ สทิ ธิของผอู้ นื่ ขอ้ บงั คับ ของครอบครวั ๓.๑.๒ ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจาวนั และรบั ผดิ ชอบในการ โรงเรียน และสงั คม ทางาน เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ระดับประถมศกึ ษำปีท่ี ๔-๖ ตวั ชี้วดั ที่ ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตำมขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของครอบครวั โรงเรียนและสงั คม พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไมผ่ ำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม(๓) ๓.๑.๑ ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง ไมป่ ฏิบตั ิตนตาม ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ปฏิบตั ิตามอตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว กฎเกณฑ์แล ขอ้ บงั คับของครอบครวั ขอ้ บงั คบั ของ ข้อบังคบั ของ โรงเรียน และสงั คม ระเบยี บ ขอ้ บังคบั และโรงเรยี น ตรงตอ่ ครอบครัว และ ครอบครัว และ ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผู้อื่น ของครอบครัวและ เวลา ในการปฏบิ ตั ิ โรงเรยี น ตรงต่อเวลา โรงเรยี น ตรงต่อเวลา ในการปฏิบัติกิจกรรม ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ๓.๑.๒ ตรงตอ่ เวลาในการ โรงเรียน กจิ กรรมต่าง ๆ ใน ปฏิบัติกิจกรรม ตา่ ง ๆ ชวี ติ ประจาวัน แตต่ ้องมี ต่าง ๆ ใน ต่าง ๆ ใน ในชีวิตประจาวนั และ การเตอื น เป็นสว่ นใหญ่ ชีวติ ประจาวนั ชีวิตประจาวนั รับผิดชอบในการ แต่ตอ้ งมกี ารเตือนเป็น และรับผิดชอบในการ ทางาน บางคร้ัง ทางานไดด้ ้วยตนเอง ข้อที่ ๔ ใฝเ่ รียนรู้ นยิ าม ใฝ่เรยี นรู้ หมายถึง คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จาก แหล่งเรยี นรทู้ ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น ผู้ท่ีใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ท่ีมีลักษณะซ่ึงแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ ตวั ชี้วดั ๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน ดว้ ยการเลือกใช้ สอื่ อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

๑๑ ตัวชีว้ ัดและพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ระดบั ประถมศกึ ษำปีที่ ๑-๓ ตัวชวี้ ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้ ๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยำยำม ในกำร ๔.๑.๑ ต้งั ใจเรยี น เรยี นและเข้ำรว่ มกจิ กรรมกำร ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ เรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ๔.๒ แสวงหำควำมรูจ้ ำกแหล่งเรียนรู้ ๔.๒.๑ ศึกษาคน้ คว้าหาความรู้จากหนงั สอื เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ สอ่ื เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ตำ่ ง ๆ ทง้ั ภำยในและภำยนอก แหลง่ เรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลอื กใช้ส่อื ไดอ้ ย่างเหมาะสม โรงเรยี น ด้วยกำรเลือกใช้สือ่ อยำ่ งเหมำะสม สรุปเปน็ องค์ ๔.๒.๒ บนั ทึกความรู้ วเิ คราะหต์ รวจสอบ จากสงิ่ ทีเ่ รยี นรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ควำมรู้ และสำมำรถนำไปใช้ใน ๔.๒.๓ แลกเปลย่ี นความรู้ ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ชวี ิตประจำวนั ได้ เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ระดับประถมศึกษำ(ป. ๑ – ป.๓) ตวั ช้วี ดั ที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยำยำมในกำรเรียนและเข้ำรว่ มกิจกรรม พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ ำ่ น(๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม (๓) ไมต่ ง้ั ใจเรียน ๔.๑.๑ ต้งั ใจเรียน ตงั้ ใจ และเอาใจใส่ใน ตัง้ ใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมี การเรยี น และมีความเพยี ร และมคี วามเพียร พยายามในการเรียน พยายามในการ ความเพียรพยายาม เรยี นรู้ และเข้าร่วม ในการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเขา้ ร่วม ต่าง ๆ กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ตวั ชีว้ ดั ที่ ๔.๒ แสวงหำควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้ตำ่ ง ๆ ท้ังภำยในและภำยนอกโรงเรยี น ด้วยกำรเลือก ใชส้ ื่ออย่ำงเหมำะสม สรปุ เปน็ องคค์ วำมรู้ และสำมำรถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผำ่ น (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยย่ี ม(๓) ๔.๒.๑ ศึกษาค้นควา้ หาความรู้ จาก ไม่ศกึ ษาคน้ ควา้ ศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้ ศกึ ษาคน้ ควา้ หา ศกึ ษาค้นควา้ หา หนังสอื เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ ส่อื หาความรู้ จากหนงั สอื เอกสาร ความรจู้ ากหนงั สอื ความรจู้ ากหนังสอื เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรูท้ ้ัง ส่ิงพมิ พ์ สอ่ื เทคโนโลยี เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ เอกสาร ส่งิ พิมพ์ ภายในและภายนอก โรงเรียน และ หรือจาก แหลง่ เรยี นรู้ สอื่ เทคโนโลยี สือ่ เทคโนโลยี เลือกใช้ส่ือได้อยา่ งเหมาะสม อ่ืน แหล่งเรยี นรอู้ ื่น และ แหล่งเรยี นร้อู ่ืน มี ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ มกี ารบนั ทกึ ความรู้ การบนั ทกึ ความรู้ ขอ้ มูล จากสง่ิ ทีเ่ รยี นรู้ สรุปเป็น และแลกเปลยี่ น องค์ความรู้ ความรูก้ ับผอู้ ื่น ๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ด้วยวธิ ีการ ตา่ งๆ และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

๑๒ ตวั ช้ีวัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ระดับประถมศึกษำปีท่ี ๔-๖ ตัวชวี้ ดั พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยำยำม ในกำร ๔.๑.๑ ตัง้ ใจเรยี น เรยี นและเข้ำรว่ มกจิ กรรมกำร ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมคี วามเพยี รพยายามในการเรยี นรู้ เรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ๔.๒ แสวงหำควำมรจู้ ำกแหล่งเรียนรู้ ๔.๒.๑ ศกึ ษาค้นควา้ หาความรจู้ ากหนงั สอื เอกสาร สงิ่ พิมพ์ ส่ือเทคโนโลยตี ่าง ๆ ตำ่ ง ๆ ทงั้ ภำยในและภำยนอก แหลง่ เรยี นรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น และเลอื กใช้สือ่ ได้อยา่ ง โรงเรียน ด้วยกำรเลอื กใชส้ ื่ออยำ่ ง เหมาะสม เหมำะสม สรปุ เป็นองคค์ วำมรู้ ๔.๒.๒ บนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากส่ิงทีเ่ รยี นรู้ สรุปเป็นองคค์ วามรู้ และสำมำรถนำไปใชใ้ น ๔.๒.๓ แลกเปลย่ี นความรู้ ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ชวี ติ ประจำวันได้ เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศึกษำปีท่ี ๔-๖ ตัวช้วี ัดท่ี ๔.๑ ต้งั ใจ เพียรพยำยำมในกำรเรยี นและเข้ำรว่ มกจิ กรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม(๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจเรยี น ไมต่ ้ังใจเรียน ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และ ตงั้ ใจเรยี น เอาใจใส่ และ ตงั้ ใจเรียน เอาใจใส่ และมี มคี วามเพยี รพยายามใน มีความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายามใน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมคี วาม การเรยี นรู้ และเข้ารว่ ม ในการเรยี นรู้ และเขา้ การเรยี นรู้ และเข้าร่วม กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ่างๆ ร่วมกิจกรรมการ กจิ กรรมการเรียนรตู้ า่ งๆ เพยี รพยายามใน บางคร้ัง เรียนรตู้ า่ ง ๆ บ่อยคร้ัง เป็นประจา การเรยี นรู้ ๔.๑.๓ เข้ารว่ มกจิ กรรม การเรยี นร้ตู า่ ง ๆ ตัวชี้วดั ท่ี ๔.๒ แสวงหำควำมรู้จำกแหลง่ เรยี นรู้ตำ่ ง ๆ ท้ังภำยในและภำยนอกโรงเรียน ดว้ ยกำรเลือกใชส้ ่อื อยำ่ งเหมำะสม สรุปเปน็ องค์ควำมรู้ สำมำรถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไมผ่ ำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม(๓) ๔.๒.๑ ศกึ ษาค้นคว้าหา ไมศ่ กึ ษา ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ ศึกษาค้นควา้ หาความร้จู าก ความรู้ จากหนงั สือ ค้นควา้ หา จากหนงั สอื เอกสาร จากหนังสอื เอกสาร หนงั สือ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ เอกสาร สิ่งพมิ พ์ ส่อื ความรู้ สิ่งพิมพ์ ส่อื เทคโนโลยี สิ่งพิมพ์ ส่อื เทคโนโลยี สื่อเทคโนโลยี ต่าง ๆ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ต่าง ๆ แหลง่ เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ แหลง่ เรยี นรทู้ ั้ง แหล่งเรยี นรู้ ทงั้ ภายใน แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน ทงั้ ภายในและ ภายในและภายนอก และภายนอกโรงเรยี น และภายนอกโรงเรยี น ภายนอกโรงเรยี น โรงเรยี น มกี ารบันทกึ เลือกใช้ส่อื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และเลือกใช้สอ่ื ได้ และมกี ารบนั ทึก ความรู้ สรปุ เปน็ องค์ มกี ารบนั ทึกความรู้ สรุป อยา่ งเหมาะสม ความรู้ ความรู้ นาเสนอและ เปน็ องค์ความรู้ นาเสนอ ๔.๒.๒ บนั ทึกความรู้ แลกเปลย่ี นความร้กู บั และแลกเปลยี่ นองค์ วเิ คราะห์ข้อมลู จาก ผู้อื่นได้ ความรู้ ดว้ ยวิธกี ารท่ี สิง่ ที่เรียนรู้ สรปุ เปน็ หลากหลาย องค์ความรู้ ๔.๒.๓ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ดว้ ย วิธกี ารตา่ งๆ และ นาไปใชใ้ น ชวี ติ ประจาวัน

๑๓ ข้อที่ ๕ อยู่อย่ำงพอเพยี ง นยิ ำม อยู่อย่ำงพอเพียง หมำยถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภมู คิ ้มุ กนั ในตวั ที่ดี และปรบั ตวั เพ่อื อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ผู้ท่ีอยู่อย่ำงพอเพียง คือ ผู้ท่ีดาเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับ ผู้อ่ืนด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกันความเสี่ยง และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง ตัวช้ีวดั ๕.๑ ดาเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม ๕.๒ มภี มู ิคุม้ กันในตวั ท่ีดี ปรับตัวเพอ่ื อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสขุ ตัวช้วี ัดและพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ระดบั ประถมศึกษำปีที่ ๑-๓ ตัวชีว้ ัด พฤติกรรมบง่ ช้ี ๕.๑ ดำเนนิ ชวี ติ อย่ำง ๕.๑.๑ ใชท้ รัพย์สนิ ของตนเอง เช่น เงนิ ส่งิ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ พอประมำณ รกั ษาดแู ลอย่างดี รวมทง้ั การใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม มีเหตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม ๕.๑.๒ ใชท้ รพั ยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยัด คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๑.๓ ปฏบิ ัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตผุ ล ๕.๒ มภี มู คิ ุม้ กันในตวั ที่ดี ๕.๑.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ ืน่ และไม่ทาใหผ้ ูอ้ น่ื เดือดร้อน พรอ้ มให้อภยั เมอื่ ผู้อนื่ กระทาผดิ พลาด ปรับตวั เพ่อื อยู่ใน สงั คมได้อยำ่ งมี ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ชีวิตประจาวันบนพน้ื ฐานของความรู้ ขอ้ มลู ควำมสุข ขา่ วสาร ๕.๒.๒ ร้เู ทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยอมรับและ ปรับตัวเพื่ออยู่ ร่วมกับผู้อ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข เกณฑก์ ำรให้คะแนน ระดับประถมศึกษำปีท่ี ๑-๓ ตัวชี้วัดที่ ๕.๑ ดำเนินชวี ิตอยำ่ งพอประมำณ มีเหตุผล รอบคอบ มคี ุณธรรม พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ียม(๓) ๕.๑.๑ ใชท้ รพั ยส์ ินของตนเอง เช่น ใช้เงินและของใช้ ใชเ้ งินและของใช้ ใช้เงิน ของใชส้ ่วนตัว ใช้เงิน ของใชส้ ่วนตัว สว่ นตวั อย่าง และของสว่ นรวม และของสว่ นรวมอยา่ ง เงิน ส่งิ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ ส่วนตวั อยา่ งไม่ ประหยดั อยา่ งประหยัด และ ประหยัด คุม้ คา่ เกบ็ เก็บรกั ษา ดูแล รักษาดแู ลอยา่ งดี มี อยา่ งประหยดั คุ้มคา่ และเกบ็ ประหยดั อย่างดี เหตผุ ล และไมเ่ อา เปรยี บผู้อ่นื รักษาดแู ลอยา่ งดี รวมทั้งการใช้ เวลา อย่างเหมาะสม ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอยา่ ง ประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษา ดแู ล อย่างดี ๕.๑.๓ ปฏบิ ตั ติ นและตดั สินใจดว้ ย ความรอบคอบมีเหตผุ ล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรยี บผ้อู น่ื และไม่ทาให้ ผู้อนื่ เดอื ดรอ้ นพรอ้ มให้อภยั เม่ือ ผู้อ่นื กระทาผิดพลาด

๑๔ ตวั ชี้วัดที่ ๕.๒ มภี ูมิคมุ้ กันในตวั ท่ดี ี ปรบั ตวั เพือ่ อยู่ในสงั คมได้อย่ำงมีควำมสุข พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไมผ่ ำ่ น (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม (๓) ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทางานและ ไมว่ างแผนการ ใชค้ วามรู้ ขอ้ มูล ใชค้ วามรู้ ข้อมลู ใชค้ วามรู้ ขอ้ มูล การใชช้ วี ิตประจาวนั บนพืน้ ฐาน เรยี นและการใช้ ขา่ วสารให้เป็น ขา่ วสารใหเ้ ป็น ขา่ วสารให้เปน็ ของความร้ขู ้อมูลข่าวสาร ชีวิตประจาวัน ประโยชนต์ ่อ ประโยชนต์ ่อ ประโยชนต์ อ่ การเรียน การเรยี น การเรยี นและใชใ้ น และใช้ใน ๕.๒.๒ รเู้ ท่าทนั การ เปล่ียนแปลงของ ชวี ติ ประจาวนั ชวี ติ ประจาวัน และอยู่ สังคม และ สภาพแวดล้อม รว่ มกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมี ยอมรบั และปรับตัวเพอื่ อยู่ ความสขุ ร่วมกับผอู้ นื่ ได้อยา่ งมีความสขุ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบง่ ชี้ ระดบั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔-๖ ตวั ชว้ี ดั พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ๕.๑ ดำเนินชวี ิตอยำ่ ง ๕.๑.๑ ใช้ทรพั ยส์ นิ ของตนเอง เชน่ เงนิ สงิ่ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ พอประมำณ รกั ษาดแู ลอย่างดี รวมทง้ั การใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม มเี หตผุ ล รอบคอบ มีคณุ ธรรม ๕.๑.๒ ใชท้ รพั ยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๑.๓ ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตผุ ล ๕.๒ มภี ูมคิ มุ้ กนั ในตวั ท่ดี ี ๕.๑.๔ ไมเ่ อาเปรียบผอู้ น่ื และไมท่ าใหผ้ อู้ น่ื เดอื ดร้อน พร้อมใหอ้ ภยั เมอ่ื ผู้อนื่ กระทาผดิ พลาด ปรบั ตวั เพ่อื อยู่ใน สังคมไดอ้ ย่ำงมี ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ชีวติ ประจาวันบนพ้ืนฐานของความรู้ ข้อมลู ควำมสุข ข่าวสาร ๕.๒.๒ รูเ้ ท่าทันการเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และ ปรับตัวเพ่อื อยู่ ร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้อย่างมีความสุข เกณฑก์ ำรให้คะแนน ระดับประถมศกึ ษำปีที่ ๔-๖ ตัวชี้วัดที่ ๕.๑ ดำเนนิ ชีวติ อย่ำงพอประมำณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ียม(๓) ๕.๑.๑ใชท้ รพั ยส์ ินของตนเอง เช่น ใช้เงินและของใช้ ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง ใช้ทรัพยส์ ินของตนเอง ใช้ทรพั ยส์ นิ ของตนเอง เงนิ ส่งิ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ ส่วนตวั อยา่ งไม่ และทรัพยากรของ และทรัพยากรของ และทรพั ยากรของ สว่ นรวมอย่างประหยัด อย่างประหยดั คุม้ คา่ และ ประหยัด สว่ นรวมอย่าง ส่วนรวมอย่างประหยดั คุ้มค่า รอบคอบ เก็บ เกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดีรวมทั้ง ประหยดั และ คุม้ ค่า เกบ็ รักษาดูแล รกั ษาดแู ลอยา่ งดี มี เหตผุ ล ไมเ่ อาเปรียบ การใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม คมุ้ ค่า อย่างดี มีเหตผุ ล และ ผ้อู ่นื และไม่ทาใหผ้ ูอ้ น่ื ๕.๑.๒ ใช้ทรพั ยากรของสว่ นรวมอย่าง ไมเ่ อาเปรียบผูอ้ ่นื เดือดร้อน ประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ รักษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๑.๓ ปฏิบัตติ นและตัดสนิ ใจดว้ ย ความรอบคอบ มเี หตผุ ล ๕.๑.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ น่ื และไมท่ าให้ ผู้อน่ื เดือดรอ้ น พรอ้ มให้ อภัย เมือ่ ผู้อ่ืนกระทา ผิดพลาด

๑๕ ตวั ชี้วดั ท่ี ๕.๒ มีภูมคิ ้มุ กนั ในตัวทีด่ ี ปรับตัวอยู่ในสงั คมไดอ้ ยำ่ งมคี วำมสุข พฤติกรรมบง่ ชี้ ไม่ผ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม(๓) ๕.๒.๑ วางแผนการเรียน การทางาน ไมว่ างแผนการ ใช้ความรู้ ข้อมูล ใชค้ วามรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ใช้ความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสารให้ และการใช้ชีวิตประจาวนั บน เรยี นและการ ข่าวสารให้เปน็ ให้เปน็ ประโยชนต์ ่อการ เป็นประโยชนต์ ่อการเรยี น พ้นื ฐานของ ความรู้ข้อมูล ใชช้ ีวติ ประโยชนต์ ่อการ เรยี น และการใช้ และการใชช้ ีวติ ประจาวัน ขา่ วสาร ประจาวัน เรียนและการใช้ ชวี ิตประจาวนั รับรกู้ าร รับรกู้ ารเปลย่ี นแปลงของ ในชีวิตประจาวัน เปล่ยี นแปลงของ ครอบครวั ชุมชน และ ๕.๒.๒ รเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงของ ครอบครัว ชุมชนและ สภาพแวดล้อม และอยู่ สงั คม และสภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อม รว่ มกบั ผู้อ่นื อย่างมคี วามสขุ ยอมรับ และปรบั ตวั เพอ่ื อยู่ รว่ มกบั ผ้อู ่นื ไดอ้ ยา่ งมี ความสขุ ขอ้ ที่ ๖ ม่งุ มนั่ ในกำรทำงำน นิยำม มุ่งมั่นในกำรทำงำน หมำยถึง คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความตั้งใจและรับผิดชอบในการทาหนา้ ท่ีการ งาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพ่ือใหง้ านสาเร็จตามเป้าหมาย ผู้ที่มุ่งม่ันในกำรทำงำน คือ ผทู้ ม่ี ลี กั ษณะซ่ึงแสดงออกถึงความตัง้ ใจปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ่ีได้รบั มอบหมายด้วย ความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลงั กาย กาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใหส้ าเร็จลลุ ่วง ตามเปา้ หมายที่ กาหนดดว้ ยความรับผิดชอบ และมคี วามภาคภมู ิใจในผลงาน ตัวชว้ี ดั ๖.๑ ต้ังใจและรบั ผิดชอบในหน้าท่ีการงาน ๖.๒ ทางานด้วย ความเพยี รพยายาม และ อดทนเพื่อให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ตัวชี้วดั และพฤติกรรมบง่ ช้ี ระดบั ประถมศกึ ษำปีที่ ๑-๓ ตวั ชี้วดั พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ๖.๑ ตั้งใจและรับผดิ ชอบ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั หิ นา้ ที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย ในกำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ี ๖.๑.๒ ตงั้ ใจและรับผิดชอบในการทางานใหส้ าเรจ็ กำรงำน ๖.๑.๓ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการทางานด้วยตนเอง ๖.๒ ทำงำนด้วย ควำมเพียร ๖.๒.๑ ทุ่มเททางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปญั หาและอุปสรรคในการทางาน พยำยำม และ อดทน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปญั หาและอุปสรรคในการทางานใหส้ าเรจ็ เพอ่ื ให้งำนสำเร็จตำม ๖.๒.๓ ช่นื ชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ เปำ้ หมำย เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ระดับประถมศึกษำ(ป.๑ –ป. ๓) ตัวชว้ี ัดท่ี ๖.๑ ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในกำรปฏิบัติหนำ้ ทีก่ ำรงำน พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไมผ่ ำ่ น (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดเี ย่ยี ม(๓) ๖.๑.๑ เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ตั ิ ไม่ต้งั ใจปฏบิ ตั ิ เอาใจใส่ต่อการ ตัง้ ใจและรับผิดชอบใน ตัง้ ใจและรบั ผิดชอบใน หนา้ ทที่ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย หน้าทก่ี ารงาน ปฏิบัตหิ น้าทท่ี ่ี การปฏิบัตหิ นา้ ท่ีทไ่ี ดร้ บั การปฏบิ ตั หิ น้าท่ที ไี่ ดร้ ับ ไดร้ บั มอบหมาย มอบหมายใหส้ าเรจ็ มอบหมายใหส้ าเร็จ มี ๖.๑.๒ ตั้งใจและรบั ผิดชอบในการ การปรับปรงุ การทางาน ทางานให้สาเร็จ ให้ดขี ้ึน ๖.๑.๓ ปรับปรงุ และพฒั นาการ ทางานด้วยตนเอง

๑๖ ตวั ช้ีวัดที่ ๖.๒ ทำงำนด้วย ควำมเพียรพยำยำม และ อดทนเพื่อให้งำนสำเรจ็ ตำมเปำ้ หมำย พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไม่ผ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม(๓) ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางานอดทน ไมย่ ่อ ไม่ขยัน อดทน ทางานด้วยความขยนั ทางานดว้ ยความ ทางานด้วยความขยัน ท้อต่อปญั หาและอุปสรรค ในการทางาน เพ่อื ใหง้ านเสร็จตามท่ี ขยนั และพยายาม อดทน และพยายามให้ ในการทางาน ไดร้ บั มอบหมาย ใหง้ านสาเร็จตาม งานสาเร็จตามเปา้ หมาย เป้าหมาย และชื่นชมผลงานดว้ ย ๖.๒.๒ พยายามแก้ปญั หาและ ความภาคภูมิใจ อุปสรรคในการทางานให้ สาเร็จ ๖.๒.๓ ช่ืนชมผลงานด้วยความ ภาคภูมใิ จ ตวั ช้ีวดั และพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ระดบั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔-๖ ตัวชวี้ ัด พฤติกรรมบ่งช้ี ๖.๑ ต้ังใจและรับผิดชอบ ๖.๑.๑ เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั หิ นา้ ทีท่ ่ีไดร้ บั มอบหมาย ในกำรปฏบิ ัติหนำ้ ท่ี ๖.๑.๒ ต้ังใจและรับผิดชอบในการทางานให้สาเรจ็ กำรงำน ๖.๑.๓ ปรับปรงุ และพฒั นาการทางานดว้ ยตนเอง ๖.๒ ทำงำนด้วย ควำมเพยี ร ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน อดทน ไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปญั หาและอปุ สรรคในการทางาน พยำยำม และ อดทน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางานให้สาเรจ็ เพ่อื ให้งำนสำเรจ็ ตำม ๖.๒.๓ ชืน่ ชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ เป้ำหมำย เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศึกษำ(ป.๔ –ป.๖) ตวั ช้วี ัดท่ี ๖.๑ ต้ังใจและรบั ผิดชอบในกำรปฏบิ ัตหิ นำ้ ท่ีกำรงำน พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเย่ียม(๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ตอ่ การปฏบิ ตั ิ ไม่ต้ังใจปฏบิ ตั ิ ต้ังใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผดิ ชอบใน ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบใน หนา้ ทท่ี ไี่ ดร้ ับมอบหมาย หนา้ ทกี่ ารงาน ในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี การปฏบิ ัตหิ น้าทท่ี ่ี การปฏิบตั หิ น้าที่ทีไ่ ดร้ บั ทไี่ ด้รบั มอบหมายให้ ได้รับมอบหมายให้ มอบหมายใหส้ าเร็จ ๖.๑.๒ ต้ังใจและรับผิดชอบใน สาเรจ็ สาเรจ็ มกี ารปรบั ปรุง มีการปรบั ปรุงและ การทางานใหส้ าเรจ็ การทางานใหด้ ขี นึ้ พัฒนาการทางานให้ดขี น้ึ ๖.๑.๓ ปรบั ปรุงและพฒั นาการ ทางานด้วยตนเอง ตวั ช้ีวัดท่ี ๖.๒ ทำงำนด้วย ควำมเพียรพยำยำม และ อดทนเพ่ือใหง้ ำนสำเร็จตำมเปำ้ หมำย พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม(๓) ๖.๒.๑ ท่มุ เททางาน อดทน ไม่ ไมข่ ยัน อดทน ทางานด้วยความ ทางานดว้ ยความขยัน ทางานด้วยความขยนั ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหาและ ในการทางาน อดทน และพยายามให้ อปุ สรรคในการทางาน ขยัน และพยายาม อดทน และพยายาม งานสาเร็จตามเปา้ หมาย ไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปญั หาใน ๖.๒.๒ พยายามแกป้ ัญหาและ ใหง้ านสาเร็จตาม ใหง้ านสาเรจ็ ตาม การทางาน และ ชื่นชม อปุ สรรคในการทางานให้ ผลงานดว้ ยความ สาเรจ็ เป้าหมาย เป้าหมาย และช่ืนชม ภาคภมู ิใจ ๖.๒.๓ ชน่ื ชมผลงานดว้ ยความ ผลงานด้วยความ ภาคภมู ใิ จ ภาคภมู ใิ จ

๑๗ ข้อที่ ๗ รกั ควำมเป็นไทย นิยำม รักควำมเป็นไทย หมำยถงึ คุณลกั ษณะทีแ่ สดงออกถงึ ความภาคภมู ิใจ เหน็ คณุ คา่ ร่วมอนรุ กั ษ์ สบื ทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะและวฒั นธรรม ใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้อยา่ งถูกต้อง และเหมาะสม ผู้ท่ีรักควำมเป็นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ช่ืนชม มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทย ในการสอ่ื สารอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ตัวชี้วดั ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสือ่ สารไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม ๗.๓ อนรุ กั ษ์ และสบื ทอดภมู ิปัญญาไทย ตวั ชวี้ ดั และพฤติกรรมบง่ ชี้ ระดบั ประถมศึกษำปีที่ ๑-๓ ตวั ชวี้ ัด พฤติกรรมบง่ ช้ี ๗.๑ ภำคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี ม ๗.๑.๑ แต่งกายและมมี ารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตญั ญกู ตเวที ประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย ต่อผูม้ ีพระคณุ และมคี วำมกตัญญู กตเวที ๗.๑.๒ รว่ มกิจกรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกับประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย ๗.๑.๓ ชกั ชวน แนะนาให้ผอู้ ื่นปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนยี มประเพณี ๗.๒ เหน็ คณุ คำ่ และใช้ภำษำไทย ในกำรส่อื สำรได้อยำ่ งถกู ต้อง ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย เหมำะสม ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ๗.๒.๒ ชักชวน แนะนา ใหผ้ ูอ้ ืน่ เห็นคณุ คา่ ของการใช้ภาษาไทยที่ถกู ต้อง ๗.๓ อนรุ กั ษ์ สบื ทอด ภมู ิปญั ญำไทย ๗.๓.๑ นาภมู ิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถชี ีวติ ๗.๓.๒ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับภมู ปิ ัญญาไทย ๗.๓.๓ แนะนา มีส่วนรว่ มในการสืบทอดภมู ปิ ัญญาไทย เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑-๓ ตวั ช้วี ดั ที่ ๗.๑ ภำคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีควำมกตัญญกู ตเวที พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไม่ผำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ย่ียม(๓) ๗.๑.๑ แต่งกายและมมี ารยาทงดงาม ไม่มสี มั มา ปฏบิ ัติตนเปน็ ผมู้ ี ปฏิบัตติ นเป็นผมู้ ี ปฏิบตั ิตนเปน็ ผมู้ มี ารยาท แบบไทย มสี มั มาคารวะ คารวะตอ่ มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย แบบไทย มสี ัมมาคารวะ กตญั ญกู ตเวทีตอ่ ผมู้ ีพระคณุ ผใู้ หญ่ มสี ัมมาคารวะ มสี ัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อผมู้ ี กตัญญูกตเวทีตอ่ กตัญญกู ตเวทตี อ่ ผมู้ ี พระคณุ และแต่งกาย ๗.๑.๒ รว่ มกจิ กรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับ ผมู้ ีพระคุณ พระคณุ และแต่ง แบบไทย เข้าร่วมใน ประเพณี ศลิ ปะและ กายแบบไทย กิจกรรมทเี่ กยี่ วข้องกับ วัฒนธรรมไทย ประเพณี ศลิ ปะและ วฒั นธรรมไทย ๗.๑.๓ ชกั ชวน แนะนาให้ผอู้ นื่ ปฏบิ ตั ิ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวฒั นธรรมไทย

๑๘ ตวั ชว้ี ัดท่ี ๗.๒ เห็นคุณค่ำและใชภ้ ำษำไทยในกำรสือ่ สำรได้อย่ำงถกู ตอ้ งเหมำะสม พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม(๓) ๗.๒.๑ ใชภ้ าษาไทยและเลขไทยใน ไมส่ นใจใช้ ใช้ภาษาไทย ใช้ภาษาไทย เลขไทย เปน็ แบบอย่างทีด่ ใี นการ การสอ่ื สารได้อยา่ ง ภาษาไทยอยา่ ง และเลขไทยใน ในการสอื่ สาร และ ใช้ภาษาไทย เลขไทยใน ถูกต้องเหมาะสม ถูกต้อง การสอื่ สารได้ บอกใหผ้ ้อู น่ื ใช้ การสื่อสารและบอกให้ ภาษาไทยทถ่ี ูกต้อง ผอู้ ื่นใช้ภาษาไทยที่ ๗.๒.๒ ชักชวน แนะนา ให้ผูอ้ ่ืน ถูกตอ้ ง เหน็ คุณค่าของการใช้ ภาษาไทยทถ่ี กู ตอ้ ง ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๓ อนรุ ักษ์ สบื ทอด ภูมิปัญญำไทย พฤติกรรมบง่ ช้ี ไม่ผ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยีย่ ม(๓) ๗.๓.๑ นาภมู ปิ ญั ญาไทยมาใช้ ไม่สนใจภมู ิ บอกชอื่ ภมู ิปญั ญา บอกชอ่ื ภูมปิ ญั ญาไทย บอกช่ือภมู ิปญั ญาไทยท่ใี ช้ ใหเ้ หมาะสมในวิถีชีวิต ปัญญาไทย ไทยทใ่ี ช้ในท้องถน่ิ ทใี่ ชใ้ นทอ้ งถ่นิ ของตน ในท้องถนิ่ ของตนเขา้ ร่วม ของตนได้ และเข้ารว่ มกจิ กรรม และชักชวนคนในครอบครวั ๗.๓.๒ ร่วมกิจกรรมทเ่ี กีย่ วข้อง ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับ หรือเพอื่ นเข้าร่วมกจิ กรรมท่ี กบั ภูมิปัญญาไทย ภูมปิ ญั ญาไทย เกี่ยวขอ้ งกบั ภูมิปัญญาไทย ๗.๓.๓ แนะนา มสี ่วนรว่ มใน การสบื ทอดภูมปิ ญั ญา ไทย ตวั ชว้ี ดั และพฤตกิ รรมบง่ ชี้ ระดบั ประถมศึกษำปีท่ี ๔-๖ ตัวชว้ี ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๗.๑ ภำคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ๗.๑.๑ แต่งกายและมมี ารยาทงดงามแบบไทย มสี มั มาคารวะ กตญั ญกู ตเวที ประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย ต่อผู้มพี ระคณุ และมีควำมกตญั ญู กตเวที ๗.๑.๒ ร่วมกจิ กรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกับประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย ๗.๑.๓ ชกั ชวน แนะนาใหผ้ ู้อ่นื ปฏิบัตติ ามขนบธรรมเนยี มประเพณี ๗.๒ เห็นคณุ ค่ำและใชภ้ ำษำไทย ในกำรสือ่ สำรไดอ้ ย่ำงถูกตอ้ ง ศิลปะและวัฒนธรรมไทย เหมำะสม ๗.๒.๑ ใชภ้ าษาไทยและเลขไทยในการสอ่ื สารได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ๗.๒.๒ ชกั ชวน แนะนา ให้ผู้อ่ืนเห็นคณุ ค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถกู ต้อง ๗.๓ อนุรกั ษ์ สืบทอด ภูมปิ ญั ญำไทย ๗.๓.๑ นาภมู ิปัญญาไทยมาใช้ใหเ้ หมาะสมในวถิ ชี ีวติ ๗.๓.๒ รว่ มกิจกรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ภูมปิ ญั ญาไทย ๗.๓.๓ แนะนา มสี ่วนรว่ มในการสบื ทอดภูมปิ ัญญาไทย

๑๙ เกณฑ์กำรให้คะแนน ระดบั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔-๖ ตวั ชวี้ ัดท่ี ๗.๑ ภำคภูมใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีควำมกตญั ญกู ตเวที พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม(๓) ๗.๑.๑ แต่งกายและมมี ารยาท ไมม่ สี ัมมาคารวะ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผมู้ ี ปฏิบัติตนเปน็ ผมู้ ี ปฏบิ ตั ิตนเป็นผมู้ ีมารยาท งดงามแบบไทย ตอ่ ผ้ใู หญ่ มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย แบบไทย มีสมั มาคารวะ มสี ัมมาคารวะ กตัญญู มสี มั มาคารวะ มสี มั มาคารวะ กตญั ญกู ตเวทตี ่อผมู้ ีพระคณุ กตเวทีต่อผมู้ พี ระคณุ กตัญญกู ตเวทตี อ่ กตัญญกู ตเวทตี ่อผมู้ ี และแตง่ กายแบบไทย เข้า ผมู้ ีพระคุณ พระคุณ และแต่ง ร่วมหรอื มสี ว่ นร่วมใน ๗.๑.๒ ร่วมกิจกรรมทเ่ี ก่ียวข้อง และแต่งกายแบบ กายแบบไทย เขา้ กิจกรรมท่เี กยี่ วข้องกบั กบั ประเพณี ศิลปะและ ไทย ร่วมหรือมสี ่วนร่วม ประเพณี ศลิ ปะและ วฒั นธรรมไทย ในกจิ กรรมที่ วัฒนธรรมไทย ชกั ชวน เกี่ยวขอ้ งกับ แนะนาเพอ่ื นใหป้ ฏิบัตติ าม ๗.๑.๓ ชักชวน แนะนาใหผ้ ู้อน่ื ประเพณี ศิลปะ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ปฏิบัตติ าม และวัฒนธรรมไทย ศิลปะและวฒั นธรรมไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย ตวั ชี้วัดท่ี ๗.๒ เหน็ คณุ ค่ำและใชภ้ ำษำไทยในกำรสอื่ สำรไดอ้ ย่ำงถูกตอ้ งเหมำะสม พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม(๓) ๗.๒.๑ ใชภ้ าษาไทยและเลขไทย ไมส่ นใจใช้ ใชภ้ าษาไทย เลขไทย ใช้ภาษาไทย เลขไทย ใชภ้ าษาไทย เลขไทยใน ในการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ ง ภาษาไทยอย่าง ในการสื่อสาร และ ในการส่อื สารได้ การสือ่ สารไดถ้ ูกต้อง ถกู ตอ้ งเหมาะสม ถกู ต้อง แนะนาให้ผู้อน่ื ใช้ ถูกต้องเหมาะสม เหมาะสม และแนะนา ภาษาไทยที่ถูกต้อง และแนะนาใหผ้ ้อู น่ื ใช้ ใหผ้ ้อู ื่นใช้ภาษาไทย ที่ ๗.๒.๒ แนะนาใหผ้ ู้อน่ื เห็นคณุ คา่ ภาษาไทยทถ่ี กู ตอ้ ง ถกู ต้องเปน็ ประจา เปน็ ในการใช้ภาษาไทยท่ี แบบอย่างทด่ี ีดา้ นการใช้ ถกู ตอ้ ง ภาษาไทย ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๗.๓ อนุรกั ษ์ สืบทอด ภมู ปิ ัญญำไทย พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไมผ่ ำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ย่ยี ม(๓) ๗.๓.๑ นาภมู ิปัญญาไทยมาใช้ ไมส่ นใจภมู ปิ ญั ญา บอกชื่อภูมปิ ญั ญา บอกช่อื ภมู ิปญั ญาไทย บอกช่อื ภูมิปัญญาไทย ไทย ที่ใช้ในท้องถ่นิ ท่ีใช้ในทอ้ งถ่นิ เข้า ในท้องถ่นิ เข้ารว่ ม ให้เหมาะสมในวถิ ชี วี ติ ไทย และเขา้ รว่ มกจิ กรรม รว่ ม และชกั ชวนคน และชกั ชวนคนใน ท่ีเก่ยี วข้องกบั ภูมิ ในครอบครวั หรอื ครอบครัว เพ่ือน และ ๗.๓.๒ รว่ มกิจกรรมที่เกย่ี วข้อง ปญั ญาไทย เพอื่ นเขา้ รว่ มกจิ กรรม บุคคลอนื่ ๆ เขา้ รว่ ม ท่ีเกยี่ วข้องกบั ภูมิ กจิ กรรมท่ีเกยี่ วข้องกบั กบั ภูมิปัญญาไทย ปญั ญาไทย ภมู ปิ ญั ญาไทย และใช้ ภมู ปิ ญั ญาไทยใน ๗.๓.๓ แนะนามสี ่วนรว่ มในการ ชีวติ ประจาวนั สืบทอดภมู ิปญั ญาไทย

๒๐ ขอ้ ที่ ๘ มจี ติ สำธำรณะ นยิ ำม มีจิตสำธำรณะ หมำยถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ท่ี กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ผู้อนื่ ชมุ ชน และสงั คม ด้วยความเตม็ ใจ กระตอื รือร้น โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ผู้ท่ีมีจิตสำธำรณะ คือ ผู้ท่ีมีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อทา ประโยชน์แก่ส่วนรวม เขา้ ใจ เหน็ ใจผู้ทมี่ คี วามเดือดร้อน อาสาชว่ ยเหลือสังคม อนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อม ด้วยแรงกาย สติปญั ญา ลงมอื ปฏิบตั ิเพื่อแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์ส่ิงที่ดงี ามให้เกดิ ในชุมชน โดยไมห่ วังสิง่ ตอบแทน ตัวชีว้ ดั ๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ด้วยความเต็มใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ๘.๒ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม ตัวชว้ี ดั และพฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑-๓ ตัวชวี้ ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๘.๑ ช่วยเหลือผอู้ นื่ ด้วยควำม ๘.๑.๑ ชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูทางานดว้ ยความเต็มใจ เต็มใจโดย ไมห่ วงั ๘.๑.๒ อาสาทางานให้ผู้อนื่ ดว้ ยกาลงั กาย กาลงั ใจ และกาลังสติปัญญา โดยไม่หวงั ผลตอบแทน ผลตอบแทน ๘.๑.๓ แบง่ ปันส่งิ ของ ทรัพย์สินและอน่ื ๆ และชว่ ยแก้ปัญหาหรือสร้างความสุขให้กบั ผอู้ น่ื ๘.๒ เขำ้ ร่วมกจิ กรรมท่เี ปน็ ๘.๒.๑ ดูแล รักษาสาธารณสมบตั ิและส่งิ แวดลอ้ มดว้ ยความเต็มใจ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ๘.๒.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชุมชนและสังคม ชมุ ชน และสงั คม ๘.๒.๓ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่ือแก้ปญั หาหรือรว่ มสรา้ งสง่ิ ที่ดงี ามของสว่ นรวม ตามสถานการณ์ท่ี เกดิ ข้ึนด้วยความกระตือรือร้น เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศกึ ษำปีที่ ๑ – ๓ ตวั ช้วี ดั ท่ี ๘.๑ ช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ด้วยควำมเตม็ ใจและพึงพอใจ พฤติกรรมบง่ ชี้ ไม่ผ่ำน (๐) ผำ่ น (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม(๓) ๘.๑.๑ ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู ไม่ช่วยเหลือ ชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง ช่วยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ช่วยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ทางานดว้ ยความเตม็ ใจ พอ่ แม่ และครูทางานดว้ ย และครูทางาน อาสา และครูทางาน อาสา ผปู้ กครอง ความเตม็ ใจ ทางานใหผ้ ู้อนื่ ด้วย ทางาน และแบ่งปัน ๘.๑.๒ อาสาทางานใหผ้ ู้อ่ืนดว้ ยกาลงั และครู ความเตม็ ใจ สิ่งของใหผ้ ้อู น่ื ด้วย กาย กาลังใจ และกาลัง ความเตม็ ใจ สตปิ ญั ญาด้วยความสมคั รใจ ๘.๑.๓ แบง่ ปันสิง่ ของ ทรัพย์สนิ และ อื่นๆ และชว่ ยแก้ปญั หาหรือ สรา้ งความสุขให้กบั ผู้อนื่

๒๑ ตวั ชวี้ ัดที่ ๘.๒ เขำ้ รว่ มกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไม่ผ่ำน (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ย่ยี ม(๓) ๘.๒.๑ ดูแล รกั ษา สาธารณสมบตั ิ และ ไม่สนใจดูแลรักษา ดแู ล รักษาทรพั ย์ ดูแล รักษาทรัพย์ ดูแล รักษาทรัพย์ สมบัติ และ สมบัติ และ สมบัติและสงิ่ แวดล้อม ส่ิงแวดล้อมด้วยความเต็มใจ ทรพั ย์สมบตั ิและ สิง่ แวดล้อมของ สิ่งแวดล้อมของ ของห้องเรยี น หอ้ งเรียน หอ้ งเรยี น โรงเรยี น โรงเรยี น และเขา้ รว่ ม ๘.๒.๒ เขา้ รว่ มกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ สง่ิ แวดลอ้ มของ โรงเรียน และเขา้ รว่ มกจิ กรรม กจิ กรรมของโรงเรียน ของโรงเรยี น ด้วย ความเตม็ ใจ ตอ่ โรงเรยี น ชุมชนและสงั คม โรงเรียน ๘.๒.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือแก้ปญั หา หรือรว่ มสร้างสงิ่ ทีด่ งี ามของ สว่ นรวมตามสถานการณท์ ี่ เกิดข้นึ ดว้ ยความกระตือรือร้น ตวั ชี้วดั และพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ระดบั ประถมศึกษำปีท่ี ๔-๖ ตัวชวี้ ัด พฤติกรรมบ่งช้ี ๘.๑ ช่วยเหลือผอู้ น่ื ดว้ ยควำม ๘.๑.๑ ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทางานดว้ ยความเต็มใจ เตม็ ใจโดย ไม่หวงั ๘.๑.๒ อาสาทางานใหผ้ อู้ ื่นดว้ ยกาลังกาย กาลงั ใจ และกาลังสตปิ ัญญา โดยไม่หวงั ผลตอบแทน ผลตอบแทน ๘.๑.๓ แบ่งปนั ส่ิงของ ทรัพยส์ ินและอนื่ ๆ และช่วยแก้ปัญหาหรือสร้างความสุขใหก้ บั ผ้อู ืน่ ๘.๒ เขำ้ ร่วมกจิ กรรมทีเ่ ป็น ๘.๒.๑ ดูแล รักษาสาธารณสมบัตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มด้วยความเต็มใจ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ๘.๒.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม ชมุ ชน และสงั คม ๘.๒.๓ เข้ารว่ มกจิ กรรมเพื่อแกป้ ญั หาหรือรว่ มสรา้ งสิ่งทดี่ ีงามของสว่ นรวม ตามสถานการณ์ที่ เกิดขน้ึ ด้วยความกระตอื รอื รน้ เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ระดับประถมศกึ ษำปีที่ ๔ – ๖ ตัวชว้ี ัดที่ ๘.๑ ช่วยเหลือผูอ้ ื่นด้วยควำมเต็มใจและพึงพอใจ พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม(๓) ๘.๑.๑ ชว่ ยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครทู างาน ไมช่ ว่ ยเหลอื ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง ชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง ด้วยความเต็มใจ พอ่ แม่ และครูทางาน และครูทางาน อาสา และครูทางาน อาสา ผูป้ กครอง อาสาทางานใหผ้ ูอ้ ่นื ทางาน และแบ่งปัน ทางาน ชว่ ยคดิ ชว่ ย ๘.๑.๒ อาสาทางานให้ผู้อน่ื ดว้ ยกาลังกาย และครู ดว้ ยความเตม็ ใจ สงิ่ ของใหผ้ ้อู ืน่ ดว้ ย ทา และแบ่งปนั ส่ิงของ กาลังใจ และลังสตปิ ัญญา ด้วย ความเตม็ ใจ ให้ผ้อู น่ื ดว้ ยความเต็ม ความสมคั รใจ ใจ ๘.๑.๓ แบ่งปนั สง่ิ ของ ทรพั ย์สินและอน่ื ๆ และชว่ ยแก้ปัญหาหรอื สรา้ ง ความสุขให้กบั ผอู้ ่นื ตัวชวี้ ัดที่ ๘.๒ เข้ำร่วมกิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน และสงั คม พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไม่ผำ่ น (๐) ผ่ำน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม(๓) ๘.๒.๑ ดูแล รกั ษา สาธารณสมบตั ิ และ ไม่สนใจดแู ล ดแู ล รักษาทรัพย์ ดูแล รักษาทรัพยส์ มบตั ิ ดแู ล รกั ษาทรพั ยส์ มบตั ิ สิง่ แวดล้อม ดว้ ยความเตม็ ใจ รักษาทรัพย์ สมบตั ิ ส่งิ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อมของ ส่งิ แวดลอ้ มของ หอ้ งเรียน โรงเรียน ๘.๒.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ สมบัตแิ ละ ของหอ้ งเรียน ห้องเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน และเข้ารว่ ม ต่อโรงเรยี น ชุมชนและสงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม โรงเรียน และเขา้ และเข้ารว่ มกิจกรรม กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ ของโรงเรยี น รว่ มกิจกรรมเพอื่ เพ่อื สังคมและ สาธารณประโยชนข์ อง ๘.๒.๓ เข้ารว่ มกจิ กรรมเพ่อื แกป้ ญั หา สงั คมและ สาธารณประโยชนข์ อง โรงเรียนดว้ ยความเตม็ ใจ หรอื ร่วมสร้างสิ่งทดี่ ีงามของ สาธารณประโยชน์ โรงเรียนด้วยความเตม็ ส่วนรวม ตามสถานการณ์ที่ ของโรงเรียน ใจ เกิดขนึ้ ด้วยความกระตอื รอื ร้น

๒๒ แนวคดิ ทฤษฎีเกีย่ วกบั กำรพัฒนำคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์เปน็ คุณลักษณะภายในของบุคคล ซ่งึ เกี่ยวข้องกับลังคม อารมณ์ ความรู้สึก ทีม่ ี อทิ ธิพลตอ่ การแสดงพฤติกรรมตามท่ีสงั คมต้องการ ประกอบดว้ ย คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม ซงึ่ เกดิ จากการ จัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการ/กิจกรรม อ่ืนๆ ท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน ทั้งนี้ สถานศึกษาสามารถเลือกใช้แนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาคุณลักษณะ อันพงึ ประสงคไ์ ดอ้ ยา่ งหลากหลาย ดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี ๑. ทฤษฏีพฒั นำกำรทำงกำรรกู้ ำรคดิ ของเพยี เจต์ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (๒๕๕๑ : ๑๕ – ๑๘) ได้สรุปว่า สติปัญญา หรือ ความสามารถในการรู้คิด เป็นพื้นฐานของการมคี ุณธรรม จริยธรรม เนื่องจากผู้มีคุณธรรม จริยธรรมสงู มักเป็นผ้ทู ่ี สามารถคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และสามารถคาดการณ์เก่ียวกับสาเหตุและผลของการกระทาได้ นักวิชาการ ทางจิตวิทยาท่ีศึกษาเก่ียวกับพัฒนาการทางการรู้การคิด คือ Jean Piaget ได้เสนอพัฒนาการทางการรู้การคิดไว้ ๔ ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ ๑.๑ ข้นั ระยะกำรเคล่ือนไหวสัมผัส (the sensorimotor stage) เป็นช่วงของเด็กแรกเกิดถงึ อายุ ๒ ขวบ จะมีพัฒนาการท่ีเก่ียวข้องกับความคงที่ของวัตถุ โดยจะเริ่มรับรู้ว่า วัตถุท่ีหายไปจากสายตาของตนยังคงเป็นวัตถุ เดิมและไม่ได้หายไปไหน เช่น เม่ือเอากระดาษมาค่ันของเล่นท่ีเด็กกาลังเล่นอยู่ เด็กจะปัดกระดาษเพ่ือหาของเล่น แสดงว่าเด็กมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกับการคงอยขู่ องวตั ถุ ในช่วงนี้จะเกดิ กระบวนการ ๒ ประเภท คือ ๑) กำรดูดซึม (assimilation) เป็นการรับรู้เข้าสู่โครงสร้างเดิมและเข้าสู่ระบบเดิม เป็นการปรับ สภาพแวดลอ้ มให้เข้ากับการรู้คิดของตน และปฏิเสธสิง่ ที่ไมเ่ ขา้ กบั การรูค้ ิดของตน ๒) กำรปรบั เปลี่ยน (accommodation) เปน็ การปรับความคิดหรือปรับตัวให้เขา้ กับ สภาพแวดล้อมใหม่ เกิดการยอมรับประสบการณ์ใหม่ กระบวนการท้ังสองจะทาใหบ้ คุ คลเกิดความสมดลุ (equilibration) ๑.๒ ข้ันก่อนปฏิบัติกำร (the preoperational stage) เป็นช่วงของเด็กอายุ ๒-๗ ขวบ โดยแบ่งเป็น ๒ ส่วน ๑) ส่วนแรกปรากฏในเด็กอายุ ๒-๔ ขวบ เด็กจะมีพัฒนาการทางสรีระมากข้ึน และสามารถสารวจ สภาพแวดล้อมได้มากข้ึน เรียนรู้คาและพฤติกรรมใหม่ ๆ แต่มีความคิดและพฤติกรรมที่เด่น คือ ยึดตนเองเป็น ศูนย์กลาง (egocentric) เด็กเช่ือว่าส่ิงท่ีตนเห็น ตนเข้าใจนั้น คนอ่ืน ๆ ก็จะเห็น และเข้าใจอย่างที่ตนเห็นและตน เขา้ ใจ ในชว่ งนีเ้ ดก็ จะมีการเลียนแบบผปู้ กครองมาก ไม่ว่าจะเปน็ คาพูด ท่าทาง กิรยิ ามารยาท และพฤตกิ รรม ในช่วงน้ีกระบวนการ assimilation เป็นกระบวนการที่ใช้มาก โดยเมื่อเด็กเล่น เด็กจะเข้าใจส่ิงต่าง ๆ ท่ี อยู่รอบข้างมากข้ึน รวมท้ังกระบวนการ accommodation เช่น การเลียนแบบ จะช่วยพัฒนาสติปัญญาของเด็ก จากการเรียนร้ทู างสังคม ๒) ส่วนท่ีสองปรากฏในเด็กอายุ ๔-๗ ขวบ เป็นขั้นความคิดแบบอัตสัมฤทธ์ิ (initiative thought) เด็กจะ ลดการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางลง จากการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม เด็กอาจยังแยกไม่ออกระหว่างความเพ้อฝันหรือ นทิ านกบั ความเป็นจริง ชว่ งน้ีพัฒนาการทางความคดิ เร่มิ มมี ากขึ้น ๑.๓ ขั้นปฏิบัติกำรแบบรปู ธรรม (the stage of concrete operations) ปรากฏในเด็กอายุ ๔-๑๐ ขวบ มีความคดิ ที่จัดเป็นระบบมากขนึ้ สามารถคดิ ทวนกลบั และมีสังกัปในเชิงของมวลสาร ปริมาตร และนา้ หนกั ๑.๔ ขั้นปฏิบัติกำรแบบระบบ (the stage of formal operations) เป็นความสามารถ ในการคิดแบบ สมมติและการคิดเปน็ เหตุเป็นผล โดยมลี กั ษณะระบบคิดเป็น ๓ ประการ คอื

๒๓ ๑) การสร้างการทวนกลับความคิดเก่ียวกับความจริงกับความเป็นไปได้ (thinking in possibilities) ผู้มี ความสามารถในการคิดขั้นนี้ จะสามารถคิดสลับไปมาระหว่างความจริงกับความ เป็นไปได้ ซ่ึงเป็นความคิดสมมติ ผู้ทีม่ ีพัฒนาการในข้นั น้ีจะสามารถคิดในเชิงนามธรรมได้ ๒) ความคิดแบบตั้งสมมติฐานจากหลักท่ีกว้างกว่า (hypothetical-deductive thinking) ผู้ที่คิดในเชิง นามธรรมได้จะสามารถต้ังสมมติฐานได้ แล้วตรวจสอบสมมติฐานด้วยการทาวิจัย ๓) การคิดถึงการคิด (thinking about thinking) ผู้ท่ีคิดในข้ันนามธรรมแบบระบบ ข้ันนี้จะสามารถคิดถึงความหมาย ความสาคัญ คิดวิเคราะห์ และหาเหตุผลประกอบการคดิ หรือ การจินตนาการของตนเอง ซึง่ เปน็ การสารวจความคิดและการวจิ ารณ์ตนเองได้ ๒. ทฤษฏีพฒั นำกำรทำงจริยธรรมของโคลเบิร์ก โคลเบริ ก์ ยดึ ถือทฤษฎีพัฒนาการทางการรูก้ ารคิดของเพียเจต์ (Piaget) เปน็ หลัก ในการวดั พฒั นาการทาง จรยิ ธรรม และถือวา่ พัฒนาการทางจริยธรรมเป็นผลของพัฒนาการทางปญั ญา ซงึ่ สรปุ ไดด้ ง้ น้ี (พศิ เพลิน เขียวหวาน และคณะ, ๒๕๔๖ : ๓-๕) เดก็ วัยแรกเกดิ -๒ ขวบ ปญั ญาความคิดอยู่ในขั้นต่าเกินกว่าท่ีจะเขา้ ใจความถูกผิดของการกระทา เมอื่ ย่าง เขา้ สรู่ ะยะที่ ๒ อายุ ๒-๗ ปี เริ่มท่ีจะเข้าใจเกี่ยวกับความถูกผดิ ของการกระทา เม่ือย่างเข้าสู่ระยะท่ี ๓ อายุ ๗-๑๒ ปี เด็กสามารถคิดตามหลักเหตุผลได้ แต่จากัดอยู่ในขอบเขตของส่ิงที่ เปน็ รูปธรรม เช่น จัดประเภทให้เป็นระบบได้ และเขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะต่าง ๆ ของสิง่ ที่เปน็ รูปธรรม ได้ เมอ่ื ความคิดของเด็กในระยะท่ี ๒ และ ๓ ยังจากัดอย่ใู นขอบเขตของการนกึ คิดเอาเอง และการคิดเก่ียวกับส่ิงที่ เป็นรูปธรรม ความคิดเก่ียวกับความถูก-ผิดจึงจากัดอยู่ในขอบเขตของสิ่งท่ีเป็นรูปธรรมเท่านั้น ไม่สามารถเข้าใจ กฎเกณฑข์ องสังคมอยา่ งเป็นระบบ โคลเบิรก์ จดั อยู่ในระดับท่ี ๑ คอื ระดบั กอ่ นกฎเกณฑล์ งั คม (preconventional level) ผู้ท่ีสามารถคิดในเชิงเหตุผลนามธรรมได้ เป็นผู้ท่ีมีอายุประมาณ ๑๒ ปีขึ้นไป สามารถเข้าใจบทบาทของ บุคคลและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่าง ๆ ในสังคมอย่างเป็นระบบ จะดัดสินความถูกผิดของการกระทาของ บุคคลตา่ ง ๆ ตามกฎเกณฑข์ องสังคมไทย ความเขา้ ใจเก่ียวกับความถูกผดิ ในทานองนจ้ี ัดอยูใ่ นระดับที่ ๒ คือ ระดับ กฎเกณฑส์ ังคม (conventional morality) สาหรับผทู้ ่สี ามารถคดิ เชิงตรรกไดเ้ ป็นอย่างดีอาจจะพัฒนาการรับรู้ของตนเองในระดบั ที่สงู ขนึ้ ไปอีก อยใู่ น ระดับที่ ๓ คือ ระดับสูงกว่ากฎเกณฑ์สังคม (postconventional morality) ซ่ึงสามารถดัดสินความถูกต้อง เหมาะสมตามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคม แล้วไตร่ตรองด้วยตนเองว่าถูกต้อง ผู้ท่ีสามารถดัดสินความถูกต้องของ การกระทาในระดับสูงน้ี ตอ้ งอาศยั ปัญญาความคิดระดับสูง และเปน็ ผูท้ ่ีช่างคิด ชา่ งสงั เกต ผทู้ ่ีจะวพิ ากษ์กฎเกณฑ์ ตา่ ง ๆ ได้ ตอ้ งใช้เวลาอีกหลายปี จากเร่ิมวัยรนุ่ จนกระทงั่ อายุอย่างนอ้ ย ๒๐ ปี จงึ จะทาได้ ตามทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก แบ่งระดับพัฒนาการออกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับท่ี ๑ ก่อนกฎเกณฑ์สังคม ระดับที่ ๒ กฎเกณฑ์สังคม และระดับที่ ๓ สูงกว่ากฎเกณฑ์สังคม ในแต่ละระดับ โคลเบิร์กยัง แบ่งพัฒนาการออกเปน็ ๒ ขน้ั รวมเปน็ ๖ ขัน้ เรยี งตามลาดบั ดงั น้ี ระดับที่ ๑ กอ่ นกฎเกณฑส์ งั คม (preconventional level) ขน้ั ที่ ๑ การลงโทษและการเช่ือฟงั (punishment-obedience orientation) ก. สง่ิ ที่ถกู - ต้องเช่ือฟงั ไมฝ่ า่ ฝืนกฎเกณฑท์ ่ีมีการลงโทษ - ไม่ทาความเสยี หายแก่ชวี ิตและทรัพย์สิน ข. เหตุผล - เพอื่ หลกี เลี่ยงการถูกลงโทษ

๒๔ ขน้ั ที่ ๒ เอกบคุ คลนิยม การตอบสนองความต้องการ และการชาระ แลกเปล่ียน (instrumental relativist orientation) ก. สิ่งทถ่ี กู - ทาตามกฎเกณฑ์เพ่ือเกิดประโยชนแ์ กต่ นเองในปัจจุบัน - ทกุ คนทาในสิง่ ที่ตอบสนองความต้องการของตน - ความยตุ ิธรรมในการชาระแลกเปลีย่ น ข. เหตผุ ล - การตอบสนองความตอ้ งการของตน จาเปน็ ตอ้ งคานงึ ถงึ ความตอ้ งการของผู้อืน่ ด้วย ระดับท่ี ๒ กฎเกณฑส์ งั คม (conventional morality) ข้ันท่ี ๓ ความคาดหวังทางสังคม ความสัมพันธ์ และการคล้อยตาม (good boy-nice girl orientation) ก. สง่ิ ท่ถี กู - กระทาในสิ่งทสี่ ังคมคาดหวัง - มคี วามปรารถนาดีและอาทรต่อผูอ้ นื่ - ความไวว้ างใจ ความภกั ดี ความเคารพ และความกตัญญู ข. เหตุผล - ตอ้ งการเป็นคนดใี นทรรศนะของตนและของบุคคลตา่ งๆในสังคม - ต้องการรกั ษากฎเกณฑต์ ่าง ๆ ทางสงั คม เพื่อรักษาพฤติกรรมดงี ามต่าง ๆ ใหค้ งอยู่ ขั้นที่ ๔ ระบบสังคมและมโนธรรม (law and order orientation) ก. สิ่งที่ถูก - การปฏิบตั ติ ามหน้าทีข่ องตน - กฎหมายต้องเป็นกฎหมาย ยกเวน้ ในกรณีทีฃ่ ดั กับหน้าท่ี ทางสังคมอ่นื ๆ - การบาเพญ็ ตนเป็นประโยชน์ตอ่ สงั คม กล่มุ หรอื สถาบัน ข. เหตผุ ล - เพอ่ื ให้สถาบันตา่ ง ๆ ของสังคมดารงอย่ตู ่อไป - รักษาระบบสงั คมใหค้ งอยู่ ไม่พังทลาย ระดับที่ ๓ สูงกว่ำกฎเกณฑ์สังคมหรือตำมหลักกำร (postconventional morality or principled level) ขั้นท่ี ๕ สญั ญาสังคมหรอื อรรถประโยชน์และสิทธิสว่ นบคุ คล (social contract orientation) ก. สิ่งที่ถูก - การเข้าใจวา่ บุคคลในสังคมต่างมคี า่ นยิ มและความเห็นต่างกนั - การเข้าใจกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ในสงั คมวา่ เกิดจากการตกลงกนั ของบคุ คลในสังคม - การปฏิบัตติ ามสัญญาสงั คม ข. เหตผุ ล - เพอ่ื ประโยชน์และเพ่ือพิทักษ์สิทธขิ องทุกคนในสังคม - ความร้สู ึกผูกพันต่อสญั ญาสงั คมกับบุคคลตา่ ง ๆ

๒๕ ขนั้ ที่ ๖ หลักการจรยิ ธรรมสากล (universal ethical principle orientation) ก. ส่งิ ทถ่ี ูก - ทาตามหลักการทางจริยธรรมท่ตี นเลือกเอง - กฎหมายและสญั ญาสงั คมท่ีถกู ตอ้ งควรเปน็ ไปตามหลักการเหลา่ น้ี - เมื่อกฎหมายขดั กบั หลกั การเหลา่ นีจ้ ะต้องทาตามหลักการ - หลกั การท่ีถูกตอ้ ง คือ หลกั การสากลเกี่ยวกบั ความยตุ ิธรรม ซึ่งได้แก่ ความเสมอภาค ในสทิ ธขิ องมนษุ ย์ และการเคารพ ในศกั ด์ิศรขี องมนุษย์ ข. เหตุผล - หลกั การจรยิ ธรรมสากลเป็นสง่ิ ที่ถูกตอ้ งตามหลักเหตุผล การเกิดจริยธรรมตามทรรศนะของโคลเบิร์กน้ัน จริยธรรมหรือความเข้าใจเกี่ยวกับความถูกผิด มิได้เกิด จากการเรยี นรู้ มไิ ดเ้ กดิ จากสังคมแวดล้อม แต่เกิดจากการคิดไตร่ตรองตามเหตุผลของแตล่ ะบุคคล พัฒนาการของ จริยธรรมเป็นผลของการสังเกตและการคิดไตร่ตรองของบุคคล ผู้ที่ไม่ชอบสังเกตหรือไม่ชอบท่ีจะคิดไตร่ตรอง พัฒนาการทางจริยธรรมก็ไม่เกิด แม้วา่ พฒั นาการทางปัญญาไดเ้ ข้าสู่ขนั้ สูงแลว้ ก็ตาม ซ่ึงโคลเบิร์กเชื่อว่าพฒั นาการ เกดิ เป็นข้นั ๆ จากขน้ั หน่ึงไปสู่อีกขัน้ หนึ่งตามลาดับอย่างแน่นอนตายตวั (invariant) ดังนน้ั จรยิ ธรรมจึงพัฒนาเป็น ขั้น ๆ จากขั้นต่ากว่าไปสู่ข้ันสูงกว่าทีละขั้น ไม่มีการข้ามขั้น ไม่มีการสลับข้ัน และไม่ว่าบุคคลจะเติบโตในสังคมใด หรือนับถือศาสนาใด ย่อมมีลาดับข้ันการพัฒนาของจริยธรรมที่เหมือน ๆ กัน เรียกช่ือว่าทฤษฎีพัฒนาการเชิง โครงสร้าง (structural development theory) และทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา (cognitive development theory) ๓. ทฤษฏที ำงดำ้ นจติ พิสัยของแครธโวลและคณะ แครธโวลและคณะ (Krathwohl, Bloom and Masia) ได้ลาดับการเกิดลักษณะนิลัยของบุคคลเป็น ๔ ขัน้ ดงั น้ี (กล่มุ ส่งเสรมิ การเรยี นการสอนและประเมนิ ผล, ๒๕๔๘: ๔-๖) ๓.๑ ข้ันรับรู้ (receiving) เป็นการพัฒนาขั้นแรกสุด ขั้นนี้บุคคลจะมีความรู้สึกรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระทบ ต่อประสาทสัมผัสของเขา ซงึ่ แบง่ เป็น ๓ ขน้ั ย่อย คือ ๑) ขน้ั รูต้ ัว ไดแ้ ก่ การสังเกต รบั ร้คู วามแตกต่างของส่ิงเรา้ ๒) ขัน้ ตัง้ ใจรับ ไดแ้ ก่ การมีความต้ังใจฝักใฝ่ต่อสง่ิ เร้าเฉพาะอยา่ ง เริ่มสะสมความรหู้ รอื ประสบ การณ์ในส่ิงเรา้ เฉพาะอยา่ งน้นั แลว้ จึงยอมรับ ๓) ขนั้ การเลอื กสรรส่งิ ทีร่ บั รู้ ไดแ้ ก่ การเลือกรบั เฉพาะอยา่ ง เช่น สนใจอ่านเฉพาะบางเร่ือง สนใจตอบคาถามเฉพาะบางคาถาม ๓.๒ ขั้นตอบสนอง (responding) เป็นการพัฒนาทส่ี งู ข้ึนมาอีกขนั้ หนึ่ง ในข้ันนีบ้ ุคคล ไมเ่ พยี งรบั รู้ส่ิงเร้า เท่าน้นั แตจ่ ะเริม่ มปี ฏกิ ริ ิยาตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ๓ ลักษณะ คือ ๑) ขน้ั เต็มใจตอบสนอง เป็นการยนิ ยอมปฏิบตั ติ ามหลักการหรือกฎเกณฑ์ และยอมรบั ในสง่ิ ท่ี รบั รูม้ า ๒) ขั้นตง้ั ใจตอบสนอง เป็นขนั้ ท่ีบคุ คลเร่มิ อาสาท่ีจะเข้าร่วมปฏิบัตกิ ารกับผอู้ นื่ และอาจมีการ พยายามหลีกเลี่ยง ไมป่ ฏิบตั ิในส่ิงทข่ี ัดกับสงิ่ ตนรบั รมู้ า ๓) ขั้นพอใจตอบสนอง เป็นข้นั ที่บุคคลจะเกดิ ความพึงพอใจ หรือไม่พอใจ ต่อพฤตกิ รรม หรอื การ แสดงออกของผู้อืน่ ที่สอดคลอ้ งหรือขัดแย้งกับส่งิ ท่ีรบั รู้มา เป็นการเลอื กตอบสนองต่อสง่ิ เรา้

๒๖ ๓.๓ ขน้ั เหน็ คณุ คำ่ (valuing) เป็นขั้นท่บี คุ คลเริม่ เหน็ คุณประโยชนข์ องส่ิงที่รับรู้ และส่ิงทตี่ อบสนองแล้ว เขาเริ่มยอมรับส่ิงท่ีได้รับรู้มาว่าส่ิงใดมีความหมายต่อเขาและสิ่งใดไม่มีค่า ไม่มีความหมายต่อเขา เขาจะแสดงออก ด้วยพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ตามข้ันตอนการพฒั นายอ่ ย คือ ๑) การยอมรบั คา่ นิยม ไดแ้ ก่ พยายามเพิ่มพูนประสบการณในสง่ิ เร้าน้ัน ๆ พยายามปฏิบัตติ าม บ่อยครั้งเขา้ ๒) การแสดงความนยิ มในคา่ นยิ ม ได้แก่ การเขา้ ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ รว่ มมือ ในกจิ กรรมท่ี ส่งเสริมสง่ิ ที่เหน็ ด้วย ๓) การเข้ารว่ มงาน ไดแ้ ก่ การเข้าไปร่วมเป็นส่วนหนงึ่ ของกลุม่ ทเ่ี ขาเห็นคณุ ค่า และปฏเิ สธ คดั ค้าน โต้แย้งหรอื ขัดขวางการปฏิบัตหิ รอื พฤตกิ รรมทเ่ี ขาไมเ่ หน็ คุณคา่ ๓.๔ ขนั้ จัดระบบ (organization) เมอื่ บคุ คลพฒั นาคุณลักษณะมาถึงข้ันน้ี เขาจะพยายามปรับตัวเองให้ เข้ากับคุณลักษณะหรือพฤติกรรมที่เขายอมรับ และจะพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม (value) ที่เขาเห็น คุณค่าหลาย ๆ อย่างพร้อม ๆ กัน พยายามจัดลาตับค่านิยมเหล่าน้ัน และปรับตัวให้เข้ากับสิ่งต่าง ๆ ท่ีเขายอมรับ นน้ั ข้ันนีป้ ระกอบดว้ ยขั้นยอ่ ย ๒ ข้ัน คอื ๑) ขัน้ สร้างความเขา้ ใจในค่านิยม เขาจะแสดงออกโดยการเข้าร่วมกลุ่มอภปิ ราย ร่วมสร้าง แนวคิด เปรยี บเทียบพฤติกรรมท่ีเกย่ี วข้องกับพฤตกิ รรมนัน้ ๆ ๒) ขน้ั สร้างระบบค่านิยม เขาจะพยายามช่ังน้าหนักคา่ นิยมต่าง ๆ ทเ่ี ขายอมรับ จดั ลาคับคา่ นยิ ม เหล่าน้ัน สร้างแผน สร้างกฎเกณฑ์ ให้สอดคล้องกับส่ิงทีเ่ ขายอมรับและระบบที่เขาสร้างข้ึน แล้วนาไปใช้กับตวั เอง หรอื พยายามชักชวนใหผ้ ้อู ื่นยอมรับกับระบบน้ัน ๓.๕ ขั้นเกิดกิจนิสัย (characterization) เป็นพัฒนาการท่ีต่อจากข้ันจัดระบบ ซ่ึงเป็นการเริ่มต้นของ การวางตวั หรอื การยอมรบั สิง่ ท่ีบุคคลเหน็ คุณคา่ มาเป็นลักษณะเฉพาะตัว กล่าวคอื เมอ่ื การจดั ระบบสาหรบั ตัวเอง เข้ารูปเข้ารอยแล้ว บุคคลก็จะยึดถือระบบที่จัดน้ันเป็นของตนเอง แล้วปฏิบัติหรือยึดถือต่อไปจนเกิดเป็นการ แสดงออกโดยอัตโนมัติ หมายความว่า เม่ือใดก็ตามท่ีเขา อยู่ในสถานการณ์ที่ต้องตอบสนองต่อส่ิงเร้า เขาก็จะ ตอบสนองในรูปแบบที่คงเส้นคงวา จนจัดได้ว่า เป็นลักษณะประจาตัวของเขาในที่สุด ขั้นเกิดกิจนิสัยสามารถ แบ่งเป็นขน้ั ยอ่ ย ๒ ขน้ั คือ ๑) ขั้นสร้างข้อสรปุ ได้แก่ การพยายามปรับปรุงระบบจนอยู่ในขน้ั สมบรู ณ์ในตวั ตามแนวหรอื ระบบท่ตี นเองต้องการ ๒) ขนั้ กจิ นิสยั ไดแ้ ก่ การแสดงออกอย่างสม่าเสมอ จนได้รบั การยอมรับจากวงการหรือหมคู่ ณะ ว่าเป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ของเขา ซึง่ เป็นเครอ่ื งแสดงถึงการเกิดคุณลกั ษณะเฉพาะน้ัน ๆ ของบคุ คลแลว้ ๔. ทฤษฏีต้นไม้จริยธรรม ทฤษฏีต้นไม้จริยธรรม เป็นทฤษฎีท่ีเสนอจติ ลักษณะ ๙ ประการ ท่ีอาจเป็นสาเหตุของพฤติกรรมของคนดี คนเก่ง และมีสุขของคนไทย (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, ๒๕๓๖ อ้างถึงใน ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิง คุณธรรม, ๒๕๕๑: ๑๙-๒๐) ซง่ึ แบง่ เป็น ๓ ส่วน ไดแ้ ก่ ราก ลาตน้ และสว่ นท่ีเปน็ ดอกและผลของตน้ ไม้ ส่วนแรก คือ รำก แทนจิตลกั ษณะพนื้ ฐานสาคญั ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. สขุ ภาพจิต หมายถงึ ความวติ ก กังวล ต่ืนเตน้ ไม่สบายใจของบคุ คลอยา่ งเหมาะสมกบั เหตุการณ์ ๒. ความเฉลียวฉลาดหรือสติปัญญา หมายถึง การรู้การคิดในข้ันรูปธรรมหลายด้าน และการคิดในขั้น นามธรรม ซ่ึงมพี น้ื ฐานมาจากทฤษฎพี ัฒนาการทางการรกู้ ารคดิ ของ Piaget ๓. ประสบการณ์ทางสังคม หมายถึง การรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ความเอ้ืออาทร เห็นอกเห็นใจ และ สามารถคาดการณห์ รือทานายความรสู้ กึ ของคนอ่นื

๒๗ สว่ นทสี่ อง คอื ลำต้น เปน็ ผลจากจิตลักษณะพืน้ ฐานที่ราก ประกอบดว้ ยจติ ลกั ษณะ ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ทศั นคติ คา่ นิยม และคุณธรรม ทศั นคติ หมายถงึ การเห็นประโยชน์-โทษของส่งิ ใดสง่ิ หนงึ่ คา่ นิยม หมายถงึ สง่ิ ท่คี นสว่ นใหญเ่ ห็นว่าสาคัญ คุณธรรม หมายถงึ สิ่งที่คนส่วนใหญเ่ หน็ วา่ ดีงาม ส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับหลักทางศาสนา เช่น ความกตัญญู ความเสียสละ ความซื่อสัตย์ ความพอใจ ไมพ่ อใจ ต่อส่ิงนนั้ และพร้อมที่จะมีพฤติกรรมต่อสงิ่ นน้ั ๒. เหตุผลเชิงจริยธรรม เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึง เจตนาของการกระทาที่ทาเพ่ือสว่ นรวมมากกว่า ส่วนตัวหรือพวกพ้อง ซึ่งมี พ้นื ฐานมาจากทฤษฎที างเหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlberg ๓. ลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน ลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน หมายถึง ความสามารถในการคาดการณ์ไกลว่าสงิ่ ที่กระทาลงไปในปัจจุบัน จะสง่ ผลอยา่ งไร ในปริมาณเท่าใด ต่อใคร ตลอดจนความสามารถในการอดไต้ รอไต้ สามารถอดเปรี้ยวไว้กินหวาน ไต้ ๔. ความเชือ่ อานาจในตน ความเช่ืออานาจในตน หมายถึง ความเชอ่ื ว่าผลที่ตนกาลังได้รับอยเู่ กดิ จากการกระทาของตนเอง มิใช่เกิด จากโชค เคราะห์ ความบังเอิญ หรอื การควบคุมของคนอนื่ เปน็ ความรสู้ กึ ในการทานายได้ ควบคมุ ไดข้ องบุคคล ซงึ่ มพี น้ื ฐานมาจากทฤษฎี Locus of Control ของ Rotter (๑๙๖๖) ๕. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ หมายถึง ความมานะพยายามฝ่าฟันอุปสรรคในการทาส่งิ ใดส่ิงหน่ึง โดยไม่ย่อท้อ ซ่ึงมี พน้ื ฐานมาจากทฤษฎีแรงจูงใจของ McClelland (๑๙๖๓) ส่วนท่ีสำม คือ ส่วนของดอกและผล เป็นส่วนของพฤติกรรมของคนดีและเก่ง ซ่ึงแสดงพฤติกรรมการทา ความดี ละเว้นความชั่ว ซ่ึงเป็นพฤติกรรมของคนดี และพฤติกรรมการทางานอย่างขยันขันแข็งเพ่ือส่วนรวมอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ สามารถแบ่งเปน็ ๒ ส่วนด้วยกัน (ดวงเดอื น พันธมุ นาวิน, ๒๕๔๘ ก อ้างถึงในศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นา พลงั แผน่ ดนิ เชิงคุณธรรม, ๒๕๕๑ : ๒๐-๒๑) คือ ๑. พฤตกิ รรมของคนดี ประกอบด้วย ๒ พฤตกิ รรมหลัก ได้แก่ ๑.๑ พฤตกิ รรมไม่เบียดเบยี นตนเอง เปน็ พฤตกิ รรมของบุคคลทีไ่ มท่ ารา้ ยหรือทาลายตนเอง เช่น การดูแลสุขภาพของตนเอง การบริโภคส่ิงท่ีมีประโยชน์ ไม่ด่ืมเหล้า ไม่สูบบุหร่ี ไม่ติดยาเสพติด ไม่เล่นการพนัน เปน็ ต้น ๑.๒ พฤติกรรมไม่เบียดเบียนผู้อื่น เป็นพฤตกิ รรมทีไ่ ม่ทารา้ ย ทาลายหรอื ทาให้ผอู้ ืน่ เดือดร้อน เช่น พฤตกิ รรมสภุ าพบุรุษ ไม่กา้ วร้าว ขบั ขี่รถอย่างมมี ารยาท ชอ่ื สัตย์ เปน็ ต้น ๒. พฤติกรรมของคนดีและเก่ง ประกอบด้วย ๒ พฤตกิ รรมหลัก ได้แก่ ๒.๑ พฤติกรรมรบั ผิดชอบ เช่น พฤติกรรมการเรยี น การทางาน พฤติกรรม การปกครองของ หัวหน้า และเคารพกฎหมาย เปน็ ต้น ๒.๒ พฤตกิ รรมพัฒนา เปน็ การพัฒนาตนเอง ผู้อื่น และสังคม เชน่ ใฝ่รู้ รักการอ่าน เปน็ กัลยาณมติ ร การอาสาชว่ ยเหลือกจิ กรรมต่าง ๆ ของสังคม เปน็ ต้น

๒๘ ทฤษฎตี น้ ไม้จรยิ ธรรม ระบุจติ ลกั ษณะ ๘ ประการ ตัวอย่ำง แนวคิดและทฤษฎีท่ีนาเสนอดังกล่าว สามารถ ทีเ่ ปน็ สาเหตขุ องพฤตกิ รรมของคนไทย นามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน สาหรับผู้ที่ (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, ๒๕๒๖; ๒๕๔๔) สนใจจะสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัด คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ควรศึกษาให้เขา้ ใจก่อนการพัฒนาผเู้ รยี น ดังน้ันเพอื่ ใหก้ ารพัฒนาและการประเมนิ คุณลักษณะอัน พึงประสงค์เป็นไปตามนโยบาย ดังกลา่ ว และสอดรับกับ วิสยั ทศั น์ หลกั การ และจดุ หมายของหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่มี งุ่ พฒั นาผูเ้ รยี น ให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก ยึดนนั้ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข สถานศกึ ษา จึงจาเป็นต้องมี การพัฒนาและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผ้เู รยี น เพ่ือเป็นข้อมูลในการประเมินการเล่อื นขัน้ เรยี นและจบ การศกึ ษาระดบั ต่าง ๆ โดยยึดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามทหี่ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดไว้ดังน้ี (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑ ; ๕) ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒, ซือ่ สัตย์สุจรติ ๓. มีวนิ ยั ๙, ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖, มุง่ นน้ั ในการทางาน ๗, รกั ความเปน็ ไทย ๙, มีจิตสาธารณะ ๕. พฒั นำกำรดำ้ นจติ พิสยั และเครอื่ งมือวดั การพฒั นามนษุ ยท์ ่สี มบรู ณ์ต้องพัฒนาทงั้ ในส่วนท่ีเกีย่ วกบั ความคดิ ความร้สู ึก และการกระทา โดยนาท้ัง ๓ ด้านมารวมเป็นกระแสเดียวกัน มีการประสานสัมพันธ์กัน ซึ่งจะได้ภาพของการพัฒนา ดังท่ีโกวิท ประวาลพฤกษ์ (๒๕๔๐) เสนอไวด้ งั น้ี

๒๙ มนษุ ยเ์ ร่มิ รับรู้ดว้ ยการปฏสิ มั พันธ์กับขอ้ มูลและสิง่ แวดลอ้ มต่าง ๆ แลว้ นาส่ิงทรี่ ับมานเ้ี ก็บไว้ ใน สมอง ๒ รูปแบบด้วยกัน คือ ถ้าเป็นข้อมูลต่าง ๆ จะเก็บในรูปแบบของความรู้ความจา อีกรูปแบบหน่ึง เป็น ตัวอย่างของการกระทา เป็นท่าทาง ข้ันตอนของการลงมือทา เม่ือสะสมความรู้ความจาไว้มากแล้ว ก็นามา แสดงออกในด้านการคิดคือ ตอบคาถามเก่ียวกับปัญหาตา่ ง ๆ ได้ ด้านการกระทาคือ ทาตามคาถาม ทาตามคา สิ่งได้ สภาวะจติ ใจของมนษุ ย์เริ่มต้นดว้ ยการทาตามส่ิงหรือถูกบังคับให้ทา เมอ่ื ทาแล้วเกดิ ผล คอื ตอบถูกหรือทา ถูก สภาวะจิตใจก็จะค่อย ๆ เปลี่ยนไป เป็นเต็มใจตอบ อยากตอบ และในท่ีสุดก็อาสา ที่จะตอบ มีการทางาน เพิ่มเติม ทาเกินท่ีส่ิงหรือทาโดยไม่ต้องส่ิง สภาวะจิตใจน้ีจะข้ึนอยู่กับความสามารถ ในการคิดการทา ถ้าคิดถูก ทาถกู จงึ จะทาให้สภาวะจิตใจเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ี ตังน้นั การออกแบบ กจิ กรรมการเรียนจึงมีความสาคัญ สิ่งท่ีให้ผู้เรียนทาและสิ่งท่ีใหผ้ ู้เรียนคิด ต้องไม่ห่างจากความสามารถเดิม ของเขามากนัก หากยากเกินไปเขาจะ ทาไม่ได้ และเกิดความรู้สึกไม่ดีต่อการเรียน การเรียนการสอน ทางด้านความคิดและการกระทาจึงต้องสร้าง ความรู้สึกที่ดีเสมอ การลงมือปฏิบัติจริงคิดจริงเป็นกิจกรรม ท่ีทาให้เกิดการเรียนรู้ แต่สิ่งท่ีสาคัญท่ีจะทาให้ ผู้เรียนลงมือคิดลงมือปฏิบัติจริง คือ ความเต็มใจ ความยินดี ความพึงพอใจ ความภาคภูมิใจในการลงมือคิดลง มือทา ซ่งึ เปน็ กุญแจสาคัญท่ีชว่ ยให้การเรียนรู้ มีประสทิ ธิภาพสูง การพัฒนาค่านิยมและจริยธรรม เป็นตัวอย่างของการผสมผสานระหว่างความรู้ความคิด ความรู้สึก และการกระทา ซ่ึงเร่ิมต้นด้วยการพัฒนาเหตุผลเชงิ จริยธรรม ทาไปทาไม ทาแล้วมีผลดีผลเสีย ต่อใคร ใครเป็น ตัวประกอบสาคัญของการตัดสินใจว่าจะทาหรือไม่ทา ฝึกให้ผู้เรียนพัฒนาเหตุผลโดยให้ ผู้เรียนประเมินปัญหา เชิงจริยธรรม พัฒนาจากการกระทาเพ่ือตนเองเป็นการกระทาเพื่อกลุ่มเพ่ือคนอ่ืน จนถึงทาเพื่อสังคมโดย ส่วนรวม เมือ่ ผู้เรียนพฒั นาเหตุผลไปแลว้ ก็พฒั นาดา้ นการกระทา ใหก้ ารกระทานั้น ๆ มีผลตอบสนองในทางท่ีดี ท้ังจากเพ่ือน จากครู และจากสังคม เป็นการแสดงค่านิยมและเหตุผลเชิงจริยธรรมให้ประจักษ์ต่อผู้เรียนเอง กลุ่มจึงมีบทบาทในการพัฒนาค่านิยม เมื่อผู้เรียนปฏิบัติได้แล้วก็ลดการบังคับลง เพ่ือให้ผู้เรียนได้ใช้เหตุผลของ ตนเอง เป็นการดูดกลืนค่านิยมจากการบังคับภายนอก ไปเป็นตัวบังคับภายในด้วยวินัยของเขาเอง จุดนี้คือการ สรา้ งวนิ ยั ในตนเอง เมอ่ื ผู้เรยี นได้ปฏิบัตดิ ้วยตนเอง แล้วกเ็ สริมดว้ ยการให้ประเมนิ ตนเองอยู่ตลอดเวลา โดยการ ถามคาถามต่าง ๆ และกระตุ้นให้ยอมรับตนเอง ให้เห็นว่าตนเองมีข้อจากัด มีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร และต้อง เลือกปฏิบัติตามจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง ไม่ใช่ทาตามเกณฑ์ของผู้อ่ืน ต้องใช้เกณฑ์ของตนเองสร้างความพึง พอใจให้กบั ความสาเรจ็ ของตนเอง อนั เปน็ การให้รางวัลดว้ ยตนเอง จิตพิสัยเป็นลักษณะที่เกี่ยวกับความรู้สึกของบุคคล จึงมิใช่เรื่องที่จะบอกได้ว่าถูกหรือผิด ไม่สามารถ จาแนกออกมาเป็นความรู้สึกท่ีถูกต้องหรือไม่ถูกต้องอย่างเด็ดขาดได้ความรู้สึกจึงมีความหลากหลายในด้าน ระดับและความเข้มข้น ระดับความเข้มข้นของความรู้สึกนี้เองท่ีเรานามาใช้ในการจาแนกระดับความรู้สึกของ

๓๐ บุคคลตอ่ สงิ่ หนงึ่ สิ่งใด เร่อื งหน่งึ เรอื่ งใด ปริมาณเกี่ยวกับความรู้สกึ จึงไม่เป็นไปตามกฎมหี รือไม่มี แตจ่ ะอย่ใู นรูป ของมีมากมีน้อยเป็นระดับต่าง ๆ กันไป ความรู้สึกต่าง ๆ เหล่านั้นนอกจากมีระดับแล้ว ยังมีทิศทางที่เป็นทั้ง บวกและลบ เชน่ ซือ่ สัตย์เปน็ ทางบวก คดโกง เป็นทางลบ เป็นตน้ คุณสมบัติอีกอย่างหน่ึงของจิตพิสัย คือ เปลี่ยนแปลงได้ง่าย ข้ึนอยู่กับสถานการณ์ องค์ประกอบอื่น ๆ การที่จะลงสรุปวา่ บคุ คลมีความรู้สกึ อย่างไร จงึ ตอ้ งมีการตรวจสอบหลาย ๆ ครง้ั หลาย ๆ สถานการณ์ หลาย ๆ เวลา แล้วนาผลการสอบวัดน้ันมาดวู ่าเขาแสดงความรู้สกึ ในระคับใด มากท่สี ุด ความรู้สึกทั้งหลายจาเป็นต้องแสดงต่อเป้าหรือสิ่งรองรับบางอย่าง เช่น ความรู้สึกต่อคนที่ขยัน คนที่ ซื่อสัตย์ การกระทาที่แสดงถึงความรักชาติ สัญลักษณ์ของคุณงามความดีต่าง ๆ ถ้าไม่มีเป้ารองรับ ความรู้สึก ของบุคคลกจ็ ะเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไมเ่ ปน็ ระบบ ๑. พฤตกิ รรมช้ีบง่ การท่ีจะรู้ว่าบุคคลมีความรู้สึกอย่างไรก็ต้องดูจากพฤติกรรมท่ีเขาแสดงออก ซึ่งมี ๒ ทาง ท่ีจะให้ ตรวจสอบได้ คือ ทางวาจา และทางการกระทาหรือทางกาย พฤติกรรมช้ีบ่งทางด้านความรู้สึก จึงอยู่ในรูปของ วาจา หน้าตา ท่าทางเป็นสาคัญ Krathwohl และคณะ ได้จาแนกระดับความรู้สึกออกเป็น ๕ ขั้น คือ การรับ การตอบสนอง การเหน็ คุณค่า การมีระเบียบ และการมีคณุ ลกั ษณะ แตล่ ะข้ันมีพฤติกรรมชี้บง่ ทางวาจาและทาง กายของระดับจิตพิสยั ซึง่ ชว่ ยให้การสอบวดั ทาได้ดแี ละชดั เจนข้นึ ดงั น้ี ตารางท่ี ๑ พฤตกิ รรมชีบ้ ่งทางวาจาและทางกายของระดับจิตพสิ ัย ระดบั ของจิตพสิ ัย พฤตกิ รรมชี้บ่งทำงวำจำ พฤติกรรมชบ้ี ง่ ทำงกำย ๑. กำรรับ บอกไดว้ า่ ต่างออกไปเปลย่ี นแปลงไป หยดุ พฤตกิ รรมอ่ืนที่กาลงั ทาอยู่เดมิ ๑.๑ การรบั แตไ่ มส่ ามารถบอกไดว้ ่าอะไรตา่ งไปจากเดิม การ ตรวจสอบข้อมลู ที่มี จอ้ งมอง ๑.๒ ตงั้ ใจรบั ถามหาข้อมูลเพิม่ เตมิ มองตาม ๑.๓ ตดิ ตามรบั ๒. กำรตอบสนอง ถามหาคาส่งั คาชแี้ จง กฎ ระเบยี บ ประเพณี ทาเม่ือมีคาส่ัง คาชแ้ี จง การช้ีนา ๒.๑ ตอบตามสั่ง การช่วยเหลือ ทาเอง ไม่ต้องขึ้นอยู่กบั ความชว่ ยเหลือ ๒.๒ อาสาทา รองขอทจี่ ะทา เสนอทจ่ี ะทา การช้นี า ยมิ้ แย้ม พอใจทไี่ ด้ทา แสดงการทาอยา่ ง ๒.๓ พอใจทา พูดดีใจที่ได้ทา คุยใหค้ นอ่นื ฟังว่าไดท้ า ม่นั ใจ ๓. กำรเหน็ คุณค่ำ ยอมรบั ชมเชย และเสนอให้ทามากข้นึ ทามากขึ้น ปรับปรุง'ให้ดีขน้ึ ๓.๑ เหน็ คา่ ชี้ชวน ริเร่ิมใหม้ กี ารกระทา สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารทา ทานาให้เป็นควั อย่าง ช่วยเหลือผอู้ นื่ ใหท้ า ๓.๒ นิยม ปกปอ้ ง แก้ตา่ ง บุคคล และการกระทา ทาอยา่ งมั่นคง ไมม่ ผี ลจากการเปลย่ี นแปลง ๓.๓ ม่งุ มน ภายนอก มพี ฤติกรรมที่ไมเ่ กีย่ วข้องนอ้ ยลง ๔. กำรมรี ะเบยี บ อ้างองิ เปา้ หมาย ยึดผลของการกระทา ม่งุ ผลงาน ยึดมาตรฐานของงาน เลอื กมากกวา่ อย่างอนื่ ชว้ี า่ สาคญั กว่าสง่ิ อนื่ เน้นขน้ั ตอนสาคญั ๆ ยึดลาดับความสาคญั ๔.๑ มสี งั กปั เลือกทามากกวา่ อย่างอ่นื ๔.๒ มรี ะบบ

๓๑ ระดับของจติ พิสัย พฤตกิ รรมช้บี ่งทำงวำจำ พฤติกรรมชี้บ่งทำงกำย ๕. กำรมคี ณุ ลกั ษณะ ชบี้ ง่ การทาไปอยา่ งกว้างขวาง ทาอย่างสร้างสรรค์ ๕.๑ ขยาย ๕.๒ เปน็ นสิ ัย ระบุว่าทาเปน็ ประจา ไดร้ บั การยกยอ่ งปรากฏในสงั คม มีลกั ษณะเฉพาะในผลงานทส่ี งั คมระบไุ ด้ ตำรำงที่ ๒ พฤตกิ รรมช้ีบง่ ทำงวำจำและทำงกำยของด้ำนควำมรกั ในกำรอ่ำน ระดบั ของจติ พสิ ยั พฤติกรรมชี้บง่ ทำงวำจำ พฤติกรรมชบี้ ่งทำงกำย ๑. การรับ บอกไดว้ า่ ครสู ัง่ ให้อา่ นหนงั สอื เพม่ิ เติม หยุดฟงั คาสั่งของครเู ก่ียวกับการให้ อา่ น ๒. การตอบสนอง หนงั สือเพิ่มเตมิ ๓. การเห็นคุณคา่ ถามหาชือ่ หนังสือ ช่อื ผ้แู ตง่ หรอื แหล่ง หาหนงั สอื ทคี่ รสู ัง่ ให้อ่านในหอ้ งสมดุ ๔. การมรี ะเบยี บ ๕. การมคี ณุ ลักษณะ ที่จะไปดน้ ควา้ พูดคุยกับเพอื่ นถงึ ประโยชนใ์ นการอ่าน และ เม่ือมเี วลาวา่ ง จะอ่านหนังสือท่ตี นสนใจ ชักชวนหรือใหเ้ พอ่ื นยมื หนงั สือของตน ไปอ่าน วจิ ารณส์ าระในสงิ่ ที่ได้อ่านอยา่ งมีเหตผุ ล เสอื กอา่ นหนังสอื ท่ีมีคณุ ค่า ได้รับการยกยอ่ งจากเพือ่ น ๆ และครู ว่า อา่ นหนังสอื ท่ีมีคณุ ค่าอยา่ งสมาเสมอ เปน็ และนาส่ิงท่ีไดจ้ ากการอา่ นไปใชป้ ระโยชน์ นกั อ่าน และมีความรอบรู้ดี ได้มากมาย ทงั้ ดา้ นการเรียน การปรับปรุง ตนเอง และคดิ คน้ สงิ่ ใหม่ ๆ จิตพิสัยที่คุ้นเคยกันอยู่ในวงการศึกษา ได้แก่ ความสนใจ ความซาบซึ้ง และเจตคติ ซึ่งสามารถ นามา สัมพันธ์กับระดับพัฒนาการด้านจิตใจท่ีกล่าวมาแล้ว คือ ความสนใจจะเร่ิมพัฒนาต้ังแต่ข้ันการรับรู้ (๑.๑) จนถึง สนใจอยา่ งมุง่ มัน่ (๓.๓) โดยทค่ี วามสนใจน้นั ตอ้ งมีทงั้ การกระทา (สนใจตอบสนอง) เพราะ ความรสู้ ึก (ความมงุ่ มั่น) ถา้ จัดระดบั การสนใจทาเปน็ พอใจทาแลว้ ทง้ั สองระดบั กจ็ ะอยใู่ นจิตพสิ ัยเชน่ เดยี วกัน ความซาบซึ้งมชี ่วงแคบกว่าความสนใจ ข้ันต้นของความซาบซึง้ เร่มิ จากตดิ ตามรบั (๑.๓) จนถงึ ขัน้ นิยม ยกย่อง (๓.๒) เจตคติเรมิ่ จากระดบั อาสาทา (๒.๒) จนถงึ คานึงถึงผลงานชื่นชมในผลงานของการกระทา (๔.๑) พฤติกรรมชี้บ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการประเมินและการวัดจิตพิสัยในระดับต่าง ๆ โดยนาพฤติกรรมช้ีบ่ง ทางวาจาและทางกายไปใช้จดั ทาเปน็ เครื่องมือวดั เซน่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบสมั ภาษณ์ แบบทดสอบ เป็นต้น

๓๒ แนวปฏิบตั ใิ นกำรพัฒนำผูเ้ รยี นให้มีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ แนวปฏิบัตใิ นการพัฒนาผู้เรียนวา่ จะดาเนนิ การพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ด้วยวธิ ใี ดดงั ต่อไปนี้ คือ ๑. บรู ณาการในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระ ๒. จดั ในกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๓. จดั โครงการเพอ่ื พฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๔. ปลกู ฝงั คุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยสอดแทรกในกิจวัตรประจาวนั ของสถานศึกษา แนวปฏิบัติในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน สามารถพัฒนาได้โดยการนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัวชี้วัด และพฤติกรรมบ่งชี้ท่ีวิเคราะห์ไว้ไปบูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น โครงการต่าง ๆ และกจิ วตั รประจาวันของผู้เรยี น ดังน้ี ๑. รักชำติ ศำสน์ กษตั ริย์ วธิ กี ำรพัฒนำ ตวั ชวี้ ดั พฤติกรรมบ่งช้ี กล่มุ กิจกรรม โครงกำร กิจวตั ร สำระ พฒั นำ ประจำวนั ผูเ้ รียน ๑.๑ เปน็ พลเมืองดี ๑.๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ รอ้ งเพลง ชาติ ของชาติ และอธบิ ายความหมายของเพลงชาตไิ ด้ ถูกต้อง   ๑.๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามสทิ ธิ หน้าท่ีพลเมอื งดีของ ชาติ   ๑.๑.๓ มีความสามคั คี ปรองดอง    ๑.๒ ธารงไว้ซึง่ ความเปน็ ๑.๒.๑ เขา้ ร่วม ส่งเสริม สนบั สนนุ กิจกรรมท่ี ชาติไทย สรา้ งความสามคั คี ปรองดอง ทเ่ี ป็น ประโยชน์ ต่อโรงเรียน ชุมชนและสงั คม     ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกยอ่ ง ความเป็นชาติ ไทย     ๑.๓ ศรทั ธา ยดึ มัน่ และ ๑.๓.๑ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถอื     ปฏบิ ัติตนตามหลัก ๑.๓.๒ ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนาทต่ี นนบั ถอื     ของศาสนา ๑.๓.๓ เปน็ แบบอย่างท่ดี ีของศาสนกิ ชน    ๑.๔ เคารพเทิดทนู สถาบัน ๑.๔.๑ มสี ่วนร่วมหรือจัดกจิ กรรมท่ีเกี่ยวกบั พระมหากษตั ริย์ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์    ๑.๔.๒ แสดงความสานึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ของพระมหากษตั ริย์    ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์   

๓๓ ๒. ซือ่ สตั ย์สุจริต วิธีกำรพฒั นำ ตัวชีว้ ดั พฤติกรรมบ่งชี้ กล่มุ กจิ กรรม โครงกำร กจิ วัตร สำระ พฒั นำ ประจำวัน ผเู้ รยี น ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความ ๒.๑.๑ ให้ข้อมลู ท่ีถูกตอ้ งและเปน็ จรงิ ปราศจากความ เป็นจริงตอ่ ตนเองท้ัง ลาเอียง    ทางกาย วาจา ใจ ๒.๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนโดยคานงึ ถงึ ความถกู ตอ้ ง ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทาผดิ    ๒.๑.๓ ปฏบิ ตั ิตามคามั่นสัญญา   ๒.๒ ประพฤตติ รงตามความ ๒.๒.๑ ไมน่ าส่งิ ของหรือผลงานของผอู้ ่นื มาเป็น เปน็ จรงิ ตอ่ ผู้อ่ืนท้ัง ของตนเอง    ทางกาย วาจา ใจ ๒.๒.๒ ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ผอู้ ืน่ ดว้ ยความซือ่ ตรง   ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชนใ์ นทางท่ไี มถ่ ูกตอ้ ง   ๓. มวี นิ ัย วิธีกำรพฒั นำ ตวั ชว้ี ดั พฤตกิ รรมบ่งชี้ กลุ่ม กิจกรร กจิ วัตร สำระ ม โครงกำร ประจำ ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง ๓.๑.๑ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บของ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ครอบครวั โรงเรียน และสังคม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธิของ พัฒนำ วนั ขอ้ บังคบั ของ ผู้อน่ื ผู้เรียน ครอบครวั โรงเรียน และสงั คม ๓.๑.๒ ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ ง ๆ    ในชวี ิตประจาวัน และรบั ผดิ ชอบในการทางาน    ๔. ใฝเ่ รียนรู้ วิธีกำรพัฒนำ ตัวช้ีวัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี กลุม่ กจิ กรรม กจิ วัตร สำระ พัฒนำ โครงกำร ประจำวั ผ้เู รยี น น ๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยายามใน ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน   การเรยี นและ เขา้ ร่วม กจิ กรรม ๔.๑.๒ เอาใจใสแ่ ละมคี วามเพยี ร พยายาม   ใน การเรยี นรู้   ๔.๑.๓ มสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้ และ เขา้ รว่ ม กจิ กรรมตา่ ง ๆ

๓๔ ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ ๔.๒.๑ ศกึ ษำคน้ คว้ำหำควำมร้จู ำกหนงั สือ    เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ทง้ั เอกสำร ส่งิ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยตี ำ่ ง ภายในและภายนอก ๆ    โรงเรียนดว้ ยการ แหลง่ เรียนรทู้ ั้งภำยในและภำยนอก    เลือกใช้ส่อื อย่าง โรงเรยี น และเลือกใชส้ อ่ื ได้อยำ่ ง เหมาะสม บนั ทกึ เหมำะสม ความรู้ วเิ คราะห์ สรุป เปน็ องคค์ วามรู้ ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ขอ้ มูล จากส่งิ สามารถนาไปใชใ้ น ทเ่ี รียนรู้ สรุปเปน็ องค์ความรู้ ชีวิตประจาวันได้ ๔.๒.๓ แลกเปลยี่ นความรดู้ ้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เพื่อนาไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ๕. อย่อู ย่ำงพอเพียง ตัวช้วี ดั พฤตกิ รรมบง่ ช้ี กล่มุ วธิ ีกำรพฒั นำ กิจวัตร กิจกรรม ประจำ สำระ พฒั นำ โครงกำร ผู้เรียน วัน ๕.๑ ดาเนนิ ชวี ิตอย่าง ๕.๑.๑ ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เชน่ เงิน   พอประมาณ มี สง่ิ ของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่าง    เหตผุ ล รอบคอบ ประหยดั คมุ้ ค่าและเก็บรักษา    มคี ุณธรรม ดูแลอยา่ งดี รวมทงั้ การใชเ้ วลา   อยา่ งเหมาะสม   ๕.๑.๒ ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวม  อย่างประหยดั ค้มุ คา่ และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี  ๕.๑.๓ ปฏบิ ัตติ นและตัดสนิ ใจดว้ ยความ รอบคอบมีเหตุผล  ๕.๑.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่ืนและไม่ทาให้ ผ้อู ื่นเดือดร้อน พรอ้ มใหอ้ ภัยเมอ่ื ผ้อู น่ื กระทาผิดพลาด  ๕.๒ มภี มู ิคมุ้ กันในตัวทด่ี ี ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทางาน ปรบั ตัวเพอื่ อย่ใู น และการใชช้ วี ิตประจาวนั บน สังคมได้อยา่ งมี พื้นฐาน  ความสุข ของขอ้ มลู ความรู้ ข่าวสาร ๕.๒.๒ รเู้ ทา่ ทันการเปลีย่ นแปลงของ สงั คมและสภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตัวเพ่อื อยู่ ร่วมกับผู้อน่ื ได้อย่างมคี วามสุข 

๓๕ ๖. มุง่ มนั่ ในกำรทำงำน วิธีกำรพัฒนำ ตัวชว้ี ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้ กล่มุ กิจกรรม โครงกำร กิจวัตร สำระ พัฒนำ พิเศษ ประจำวัน ผู้เรียน ๖.๑ ต้ังใจและ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ ท่ีได้รับ รับผิดชอบ มอบหมาย    ในหน้าทีก่ ารงาน ๖.๑.๒ ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในการทางานให้ สาเรจ็     ๖.๑.๓ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการทางานด้วย ตนเอง     ๖.๒ ทางานดว้ ยความ ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ เพียร พยายาม ปญั หาและอุปสรรคในการทางาน และ อดทนเพื่อให้    งานสาเรจ็ ตาม ๖.๒.๒ พยายามแกป้ ัญหาและอุปสรรคใน    การ เปา้ หมาย ทางานให้สาเร็จ ๖.๒.๓ ชน่ื ชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ    ๗. รักควำมเปน็ ไทย วธิ ีกำรพัฒนำ ตวั ชว้ี ดั พฤติกรรมบง่ ช้ี กลุ่ม กิจกรรม กิจวตั ร สำระ พฒั นำ โครงกำร ประจำ ผเู้ รยี น วัน ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ๗.๑.๑ มีมารยาทงดงามแบบไทย มสี ัมมา ประเพณี ศลิ ปะและ คารวะ กตญั ญูกตเวที ต่อผมู้ ี วัฒนธรรมไทย และมี พระคุณ แต่งกายแบบไทย   ความกตญั ญกู ตเวที ๗.๑.๒ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับประเพณี ศิลปะ และวฒั นธรรมไทย   ๗.๑.๓ เชิญชวนให้ผ้อู ืน่ ปฏบิ ัตติ าม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ และวฒั นธรรมไทย   ๗.๒ เห็นคณุ คา่ และ ใช้ ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการ สอื่ สารได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม     ภาษาไทยในการส่อื สารได้ อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม ๗.๒.๒ ชกั ชวน แนะนา ให้ผูอ้ ื่นเหน็ คณุ คา่ ของการใช้ภาษาไทยทถ่ี กู ต้อง  

๓๖ ๘. มีจิตสำธำรณะ วิธกี ำรพฒั นำ ตัวชว้ี ดั พฤตกิ รรมบ่งช้ี กลมุ่ กจิ กรร กิจวตั ร สำระ ม โครงกำร ประจำ พัฒนำ วนั ผู้เรยี น ๘.๑ ชว่ ยเหลือผู้อ่นื ด้วย ๘.๑.๑ ชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครูทางานด้วยความ ความเตม็ ใจและพงึ เต็มใจ    พอใจ ๘.๑.๒ อาสาทางานให้ผู้อืน่ ด้วยกาลังกาย กาลงั ใจ และกาลังสตปิ ญั ญา ดว้ ยความสมัครใจ    ๘.๑.๓ แบง่ ปันส่งิ ของ ทรพั ย์สนิ และอนื่ ๆ และชว่ ย แกป้ ัญหาหรอื สร้างความสขุ ให้กบั ผ้อู ื่น    ๘.๒ เข้ารว่ มกิจกรรมที่ ๘.๒.๑ ดูแล รกั ษาสาธารณสมบตั ิและส่งิ แวดล้อม เปน็ ดว้ ยความเตม็ ใจ    ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ๘.๒.๒ เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อ ชุมชน และสงั คม โรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม   ๘.๒.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพอ่ื แก้ปญั หาหรือร่วม สรา้ งสง่ิ ท่ดี ีงามของส่วนรวมตาม สถานการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ ดว้ ยความกระตือรอื รน้  

๓๗ ตวั อยำ่ งกำรเขียนแผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ีสอดคล้องกบั กำรประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หน่วยกำรเรียนร้ทู ่ี ๑๔ กำรบวก ลบระคน วิชาคณติ ศาสตร์ ค๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ แผนกำรเรยี นรู้ที่ ๕ โจทยป์ ญั หำกำรบวก ลบระคน เวลา ๒ ช่วั โมง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. มำตรฐำนตวั ชวี้ ดั ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลท่ีเกดิ ข้นึ จากการดาเนนิ การของจานวน และความสัมพันธ์ ระหว่างการดาเนินการตา่ ง ๆ และสามารถใช้การดาเนนิ การในการแกป้ ญั หา ตัวชีว้ ัด ค ๑.๒ ป๑/๒ วเิ คราะหแ์ ละหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาและโจทยป์ ัญหาระคนของ จานวนนบั ไม่เกินหนึง่ ร้อยและศูนย์ พร้อมท้งั ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคาตอบ ตัวชวี้ ัด ค ๖.๑ ป๑-๓/๒ ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแก้ปญั หา ในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒. สำระแกนกลำง ๒.๑ โจทย์ปญั หาการบวก การลบ ๒.๒ โจทยป์ ญั หาการบวก ลบระคน ๒.๓ การสร้างโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๓. สำระสำคัญ การแก้โจทย์ปัญหาเป็นกระบวนการคิดที่ผู้เรียนต้องอ่านโจทย์แล้ววิเคราะห์ แยกแยะปัญหา และเชื่อมโยงความสัมพันธเ์ พ่ือตอบโจทยป์ ัญหาอยา่ งสมเหตสุ มผล ซึง่ ผเู้ รียนนาความรแู้ ละทักษะทางคณติ ศาสตร์ ในเร่อื งนีไ้ ปใชใ้ นการแก้ปญั หา/สถานการณ์ตา่ ง ๆ ชีวติ ประจาวันได้อย่างเหมาะสม ๔. สำระกำรเรียนรู้ ๔.๑ ควำมรู้ -โจทย์ปญั หาการบวก การลบ -โจทย์ปญั หาการบวก ลบระคน ๔.๒ ทกั ษะกระบวนกำร การแกป้ ัญหา ๔.๓. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ ๖ มุง่ ม่นั ในกำรทำงำน ตวั ชวี้ ัด ๖.๑ ตัง้ ใจและรับผิดชอบในหนำ้ ทกี่ ำรงำน พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๖.๑.๑ เอำใจใสต่ อ่ กำรปฏิบตั ิหนำ้ ทที่ ไ่ี ด้รับมอบหมำย ๖.๑.๒ ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในกำรทำงำนดว้ ยตนเอง ๕. จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ๕.๑ จับใจความสาคญั ของโจทย์ปญั หาได้ ๕.๒ วิเคราะห์และแสดงวธิ ีหาคาตอบจากโจทย์ปญั หาได้ ๕.๓ ปฏิบัติงานโดยใชก้ ระบวนการกล่มุ ได้ ๖. ภำระงำน กาหนดภาระงาน “ สถานการณ์ ปัญหาในชีวิตประจาวัน” ท่ีต้องใช้วิธีการบวก ลบระคนในการ แกป้ ญั หาโจทย์

๓๘ สถำนกำรณ์ท่ี ๑ หนนู ิดเล้ยี งไกไ่ ว้ ๕ ตวั ไกแ่ ต่ละตวั ไข่วนั ละ ๑ ฟอง ถ้าหนูนิดเก็บไข่ได้ ๔ วัน แลว้ นาไข่ไปฝากคณุ ตาจานวน ๑๒ ฟอง ท่ีเหลอื เกบ็ ไว้รับประทานในครอบครัว ถา้ นกั เรียนเปน็ หนนู ิด จะหาจานวนไขท่ ่เี หลอื ไดโ้ ดยวิธีใด ใหแ้ สดงวธิ ีหาคาตอบ สถำนกำรณ์ที่ ๒ ถ้านักเรยี นและเพอ่ื น ๆ ไดร้ บั มอบหมายจากครูประจาชั้นให้จัดเก้าอีส้ าหรับประชมุ ผูป้ กครอง พบว่าในหอ้ งประชุมมีเกา้ อ้ีอยจู่ านวน ๑๒ ตวั แต่ในการประชมุ คร้ังนีจ้ ะมผี ้ปู กครอง เข้าร่วมประชมุ ๑๕ คนและครูอกี ๓ คน ดังน้ันนักเรยี นจะต้องยกเก้าอ้จี ากห้องเรียนมาเพมิ่ อีก กี่ตัว จงึ จะมที นี่ งั่ ครบพอดี จะแสดงวิธีหาคาตอบอย่างไร ? ๗. กำรประเมินผล ประเมินผลภาระงาน “ สถานการณ์ ปัญหาในชีวิตประจาวัน” ที่ต้องใช้วิธีการบวก ลบระคนในการ แก้ปัญหาโจทย์ ดงั นี้ ๗.๑ ประเมนิ ขั้นตอนวธิ ีการแกป้ ัญหาในสถานการณโ์ จทย์ที่กาหนด ๗.๒ สงั เกตพฤติกรรมระหว่างการปฏิบตั งิ าน เกณฑ์กำรประเมนิ ภำระงำน “ สถานการณ์ ปัญหาในชวี ติ ประจาวัน” ประเด็นกำรประเมิน ๐ (ปรับปรุง) คะแนน ๑ (พอใช)้ ๒ (ด)ี ๓ (ดมี ำก) ๑. ความรู้ ทักษะใน ไมส่ ามารถจบั จับใจความจาก จับใจความจาก จบั ใจความจาก การแกโ้ จทยป์ ญั หา/ ใจความจากโจทย์ โจทย์ปัญหา โดย โจทย์ โจทยป์ ัญหา โดย สถานการณ์โดยใชก้ าร ปัญหา โดยบอกสิ่ง บอกสง่ิ ทีโ่ จทย์ ปญั หา โดยบอกสงิ่ บอกส่ิงทโ่ี จทย์ บวก ลบระคน ที่โจทยก์ าหนดให้ กาหนดใหไ้ ด้ ท่ีโจทยก์ าหนดให้ กาหนดให้ได้ (ประเมนิ ผลการ ได้ และเขยี นประโยค ได้ และ เขยี น เขยี นประโยค แก้ปญั หาใน -เขยี นประโยค สัญลักษณ์แสดง ประโยคสญั ลักษณ์ สัญลกั ษณแ์ สดง สถานการณ์แตล่ ะขอ้ ) สญั ลักษณ์ไม่ ความสัมพนั ธ์ จาก แสดงความสมั พันธ์ ความสัมพนั ธ์ จาก ถูกต้องแสดง สง่ิ ที่โจทย์ จากสงิ่ ท่ีโจทย์ สิ่งท่โี จทย์ ความสมั พันธ์ จาก กาหนดให้ได้ กาหนดให้ได้ กาหนดให้ได้ สงิ่ ทโ่ี จทย์ ถกู ต้องบางส่วน และหาคาตอบได้ กาหนดให้ ถูกต้อง

๓๙ ๒, ควำมมุ่งมน่ั ตั้งใจ ไมเ่ อาใจใส่ต่อการ เอาใจใสต่ ่อการ ต้ังใจและ ต้ังใจและ และรับผิดชอบในกำร ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมท่ี ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมที่ รับผิดชอบในการ รับผิดชอบในการ ทำงำน ไดร้ บั มอบหมาย ได้รับมอบหมาย ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ี ปฏิบัตกิ ิจกรรมท่ี และไม่สาเรจ็ แตไ่ มส่ าเร็จ ไดร้ ับมอบหมาย ได้รับมอบหมาย จนสาเร็จแตม่ ี จนสาเรจ็ และ ขอ้ บกพร่อง ถูกต้องสมบรู ณ์ บางสว่ น ระดบั คณุ ภาพ คะแนน ๘ – ๙ ระดบั คุณภาพ ดีเยย่ี ม คะแนน ๖ – ๗ ระดบั คณุ ภาพ ดี คะแนน ๔ – ๕ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ คะแนน ๐ – ๓ ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ ๘. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ขั้นนำ ๑) ครูทกั ทายนักเรยี นดว้ ยเพลง “ อยไู่ หน ”เพ่อื เตรียมความพร้อม ๒) ครูทบทวนการบวก ลบ จานวนท่ีมีผลลัพธไ์ ม่เกิน ๑๐๐ และการบวก ลบระคน โดย กาหนดโจทย์บนกระดานหน้าชน้ั ใหน้ กั เรยี นแสดงวธิ หี าคาตอบ ขนั้ สอน ๓) ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาที่ต้องใช้การบวก ลบระคน ๒ ข้อ ให้นักเรียนช่วยกันอ่านจับ ใจความจากโจทย์ และเขียนแยกแยะส่ิงท่ีโจทย์กาหนดลงบนกระดานดา แล้วเขียนแสดงความสัมพันธ์เป็น ประโยคสัญลักษณแ์ ละหาคาตอบ และให้เพ่อื น ๆ ตรวจความถกู ต้องของคาตอบ ๔) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ข้นั ตอนการแก้โจทยป์ ญั หาท่ตี อ้ งใช้การบวก ลบระคน ๕) ครูแจกบัตรโจทย์ปัญหาบวก ลบระคน กลุ่มละ ๒ ข้อ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ ๓ – ๔ คน ร่วมกันวเิ คราะหแ์ กโ้ จทย์ปญั หาตามลาดบั ดังนี้ - อา่ นโจทย์ปญั หาและจับใจความ - เขียนส่งิ ทก่ี าหนดใหเ้ ป็นประโยค - แลว้ เชือ่ มโยงความสมั พันธ์เขียนเปน็ ประโยคสัญลกั ษณ์ - เขียนแสดงวธิ ีหาคาตอบ ๖) ใหต้ วั แทนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงวิธแี กโ้ จทย์ปัญหา ครแู ละเพ่ือน ๆ รว่ มกนั ตรวจสอบความ ถูกต้อง แลกเปล่ยี นระหว่างกลุ่มตรวจชิ้นงาน ครชู มเชยกลุ่มนกั เรียนท่ีทาได้ถูกต้องสมบูรณ์ และอธบิ ายเพ่ิมเติม แก้ไขขอ้ ผดิ พลาดให้ถูกต้อง ชั่วโมงที่ ๒ ข้นั สรุป ๗) ครูทบทวนโจทย์ปัญหาท่ีนักเรียนสร้างข้ึน ร่วมกับวิเคราะห์โจทย์ โดยครูเขียนลงบน กระดานใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาแต่ละขัน้ ตอน ๘) ครูทดสอบนักเรียนโดยแจกใบกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนวิเคราะห์โจทย์ปัญหา พร้อมทั้ง แสดงวิธีทา โดยครูกาหนดสถานการณ์ เปน็ โจทย์ปญั หาการบวก ลบ ระคน ๙. สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้

๔๐ ๘.๑ เพลง “ เธออยไู่ หน ” ๘.๒ แบบทดสอบสถานการณ์ ๘.๓ เกณฑป์ ระเมินภาระงาน แบบบนั ทกึ คะแนนจากการประเมนิ การจดั การเรยี นรู้ แผนการเรยี นรู้ที่ ๕ (คะแนนเต็ม ๙ คะแนน) ความรู้-ทักษะกระบวนการ ช่อื -สกลุ สถานการณ์ท่ี ๑ สถานการณ์ ีท่ ๒ รวมความรู้ ัทกษะ คุณ ัลกษณะฯ ๖.๒ รวมคะแนน แผน ีท่ ๕ ระ ัดบคุณภาพ ๓๓๖ ๓ ๙ นำไปบันทกึ รวมกบั คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ในแผน/หน่วยอ่ืน ๆ

๔๑ ตวั อย่ำงกำรพฒั นำผู้เรียนให้มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยจัดในกจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน กิจกรรม ร่วมด้วยช่วยกนั สรำ้ งสรรคค์ วำมดี ๑. จุดประสงค์ ๑. เพื่อสร้างนิสัยความรบั ผิดชอบการทางานของกล่มุ ๒. เพอ่ื ให้เห็นคณุ คา่ ของการรกั ษาสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น ๒. เป้ำหมำย นักเรียนปฏิบัติหน้าที่และทางานกลุ่มในการรักษาสภาพแวดล้อมในโรงเรียน โดยเน้น คุณลกั ษณะ ดังน้ี ๑. มวี ินัย ตัวชว้ี ดั ขอ้ ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครัว โรงเรยี นและสงั คม ๒. มีความมุ่งมนั่ ในการทางาน ตัวช้วี ดั ข้อ ๖.๑ ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ี การงาน และ ขอ้ ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพยี ร พยายาม และอดทนเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ๓. มีจิตสาธารณะ ตวั ช้วี ัด ข้อ ๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผอู้ ืน่ ด้วยความเตม็ ใจและพึงพอใจ และขอ้ ๘.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมที่เป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม ๓. ขั้นตอนกิจกรรม ๑. สร้างความเขา้ ใจในเร่อื งการทางานรว่ มกนั การเห็นคุณคา่ ของการรักษาสภาพส่งิ แวดลอ้ ม ๒. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการเลอื กเขตการรับผิดชอบ หรือครูจัดแบ่งกลุ่มให้ตามความเหมาะสม ๓. นกั เรียนแบ่งหนา้ ทต่ี ามความรบั ผิดชอบหรอื ครแู นะนา ๔. นกั เรียนปฏิบัติตามหน้าที่ ๕. นกั เรยี นประเมินการปฏบิ ัติงานของตนเองและปรบั ปรงุ ๖. นักเรียนสรุปผลการปฏิบัตงิ าน และนาเสนอผลการปฏบิ ัติงานต่อผอู้ น่ื ๔. ตวั ชี้วัดทีแ่ สดงถงึ ควำมสำเร็จ ๑. นักเรียนปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บข้อบงั คับของโรงเรยี น ๒. นักเรยี นตัง้ ใจและรับผดิ ชอบในหน้าท่กี ารงาน ๓. นกั เรียนทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทน เพอื่ ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ๔. นกั เรียนช่วยเหลือผอู้ นื่ ด้วยความเตม็ ใจและพึงพอใจ ๕. นกั เรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ๕. กำรประเมินผล ๑. ผ้เู รียนประเมินตนเอง ๒. กลมุ่ ประเมนิ ๓. เพ่ือนประเมิน ๔. ครูอน่ื ๆ ร่วมประเมิน

๔๒ ตวั อย่ำงกำรพัฒนำผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจดั ทำโครงกำรเพ่ือพัฒนำ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. ชื่อโครงกำร ส่งเสรมิ คุณธรรมสร้างระเบียบวินัยภายในห้องเรยี น ๒. ระดบั ชนั้ ป.๑ – ป.๖ ๓. หลกั กำรและเหตุผล การปรับปรุงแก้ไขหรือการพัฒนาตนเองของนักเรียนท่ีเกิดจากความคิด ความตระหนักของตัว นักเรยี นเองจะส่งเสรมิ ให้เกิดการปฏิบตั ิอยา่ งแทจ้ รงิ และเกดิ การพัฒนาอย่างยัง่ ยนื ๔. วัตถปุ ระสงค์ ๔.๑ เพ่ือใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บข้อบังคับของโรงเรียน และสงั คมได้ ๔.๒ เพื่อใหน้ ักเรียนตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ๔.๓ เพื่อใหน้ กั เรียนใช้ทรพั ยากรของสว่ นกลางอยา่ งประหยดั ค้มุ ค่าและเก็บรักษาดแู ลอย่างดี ๕. กล่มุ เป้ำหมำย นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๖ ๖. วิธกี ำรดำเนินกำร ๖.๑ แต่งตงั้ นกั เรยี นเพ่อื รับผิดชอบภาระงานท่ีกาหนด ๖.๒ กาหนดเกณฑ์การประเมิน เชน่ - ความสะอาดเรียบร้อยของหอ้ งเรยี น - ความสะอาดเรยี บร้อยของโต๊ะเรียน - ความสะอาดเรยี บร้อยของกระดานดา - ความรับผดิ ชอบในการปดิ ไฟฟา้ , ปดิ พดั ลม ๖.๓ แต่งคณะกรรมการประเมนิ ตามเกณฑ์ (ไมผ่ า่ น, ผ่าน, ด,ี ดเี ย่ียม) ๖.๔ สรุปผลและรายงานผลการดาเนนิ งานเป็นรายภาคเรยี น ๗. สอ่ื อปุ กรณ์ อุปกรณใ์ นการทาความสะอาด ๘. กำรวัดและประเมนิ ผล ๘.๑ การสังเกต ๙. ตวั ชวี้ ดั ที่แสดงถึงควำมสำเร็จ ๙.๑ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ประเมนิ ขนั้ ดีตัง้ แตร่ อ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป

๔๓ ตวั อยำ่ งกำรพัฒนำผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยสอดแทรกในกิจวัตรประจำวนั คุณลกั ษณะสรำ้ งได้ดว้ ยวนิ ัยเชิงบวก โรงเรียนวนิ ัยวทิ ยาคม เปน็ โรงเรยี นที่เปิดสอนตง้ั แต่ระดับชน้ั อนุบาล จนถงึ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ทกุ ๆ เช้าเวลา ๘.๐๐ น. นกั เรียนทุกคนจะต้องมาเขา้ แถวเคารพธงชาติ สวดมนตไ์ หว้พระ ทาสมาธิ และ รายงานผลการตรวจสอบการทางานของนักเรยี นแตล่ ะช่วงช้ันตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายใหท้ างาน เรยี กวา่ “งานกล่มุ สี” และทสี่ าคญั มีการรายงานความสะอาดของห้องเรียนซึ่งดาเนินการโดย “สภานักเรียน” เสียงประกาศของสภานกั เรยี นแทบทกุ เชา้ ตลอดระยะเวลา ๑ สปั ดาหท์ ผ่ี ่านมาคือ “ห้องเรยี นที่ไม่ สะอาด ไม่เป็นระเบยี บ ต้องปรับปรงุ ได้แก่ ห้องเรยี นช้ัน ม.๒ และ ชัน้ ม.๓” จนเดก็ นักเรยี นชัน้ อน่ื ๆ สง่ เสียง ฮอื ...ฮา...โห.่ ... เม่ือเสียงประกาศจบลง สร้างความหงดุ หงิด คับข้องใจ ให้กับคณะครูผู้สอนชั้น ม.๒ และ ม.๓ เปน็ อย่างยง่ิ “ไม้อ่อนดัดง่าย....ไมแ้ ก่ดัดยาก” “เดก็ ถูกละเลยมานาน...พอมาถึงเรากส็ ายเกินแก้” “เราตอ้ งหามาตรการลงโทษทีละคน ทลี ะกลุ่มให้อยหู่ มดั ” “อับอายขายขี้หนา้ ทาไงกท็ าเถอะ” “ครูแนะแนว ชว่ ยแนะแนวใหม้ วี ินัยหน่อยสิ” “พไี่ ม่อยากเปน็ ครปู ระจาชน้ั เลย เหนอ่ื ย” เสยี งของครผู สู้ อนในสายชั้นมัธยมศึกษาต่างระเบง็ เซง็ แซ่ด้วยความกังวล เบื่อหนา่ ย ท้อแท้ ครูปา้ อุบลก็ มีสีหน้ากงั วล แตแ่ ววตาครุ่นคิด “เด็กก็คือเด็ก ไมใ่ ช่ผใู้ หญต่ ัวเล็กเสียเม่อื ไหร่ การอบรม บ่มนิสัย ปรับเปลย่ี น พฤติกรรมเป็นหนา้ ท่ีของ “ครู” เราต้องทาได้ ครปู ้าอบุ ล ครแู นะแนว เขา้ มาพบนักเรียนในหอ้ งดว้ ยท่าทางปกติ พูดทกั ทายอยา่ งเป็นกลั ยาณมติ ร และเร่ิมใชว้ นิ ัยเชิงบวกกับนักเรยี นดังน้ี ๑. สรำ้ งสัมพนั ธ์ดว้ ยกำรเปิดเผยตนเอง “นกั เรยี นคะ นกั เรียนไมต่ ้องเสียใจนะ ท่ีถกู ประเมินเร่ืองห้องเรียนไมส่ ะอาด สมยั ก่อนครกู โ็ ดนแบบน้ี รนุ่ พีข่ องนกั เรยี นก็โดนแบบน้ี แตค่ รเู ปน็ ห่วงความร้สู กึ ของพวกเรานะ ถ้าถูกประเมินแบบน้ี ประกาศว่าเราต้อง ปรับปรงุ ไปเรอื่ ย ๆ.....เราจะรสู้ กึ อย่างไร” ๒. ใช้คำถำมกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเปิดเผยตนเอง “แลว้ พวกเราคดิ เหน็ อย่างไรกับเร่อื งนี้” เด็กตอบว่า “เขาไม่ชว่ ยกนั ทาความสะอาด” “เขาเล่นกนั ในห้อง ใสร่ องเท้ามาในห้อง” “เวรไม่ทาความสะอาด” “เขาเอาขนมมากนิ ในหอ้ ง” “เขาเสยี งดัง พบั กระดาษขว้างกนั แลว้ ไม่เกบ็ ” ฯลฯ

๔๔ ๓. ข้ันตรวจสอบควำมตระหนกั “แลว้ เราจะทาอย่างไรหอ้ งเรียนเราจงึ จะสะอาด สวยงามและเป็นระเบยี บ” เด็ก ๆ ตอบว่า “ลงโทษ ตเี ลย ปรับเลยครบั ” “แบง่ กลุ่มรับผดิ ชอบใหม่” “ต้องชว่ ยกันจริง ๆ” “มีคนทาไม่ดี ไม่กี่คน บอกก็ไม่ฟัง” “หวั หน้าบอกเขาก็ไมท่ า” ฯลฯ “ถ้าอย่างนน้ั เรามากาหนดกติกาการทาห้องเรียนใหน้ า่ อยู่ร่วมกนั ดีไหม” ๔. ขั้นสรำ้ งควำมคำดหวัง “เอาละทีน้ีครูอยากร้วู ่าพวกเราต้องการใหห้ ้องเรียนของเราเป็นอย่างไร” เดก็ ๆ ตอบวา่ ๑. สะอาด ให้พ้ืนห้องนง่ั นอนเลน่ ได้ ๒. ไม่เลน่ กนั เสยี งดัง ๓. เอาขยะไปทงิ้ ทุกวัน ๔. จัดโต๊ะเก้าอ้ใี หเ้ ปน็ ระเบียบ ๕. มีความรู้ มหี นงั สือให้อ่าน ๖. จัดปา้ ยนิทรรศการใหส้ วยงาม ๗. ปดิ พดั ลม ปดิ ไฟ ก่อนออกจากหอ้ ง ๘. หาไม้กวาด ไมถ้ ูพนื้ มาเพ่ิมเตมิ ๙. ทุกคนตอ้ งเช่ือฟงั หัวหนา้ ด้วย ฯลฯ ๕. ขน้ั จัดระบบและเสริมแรง “ยอดเยี่ยมมากเลย ถ้าอย่างนนั้ เรามาหาคนรบั ผิดชอบกันไหมว่าใครจะทาอะไรบา้ ง” กลุม่ ท่ี ๑ เอาขยะไปทง้ิ ทุกวัน และปิดพดั ลม ปิดไฟ กลมุ่ ท่ี ๒ กวาด ถพู น้ื ห้อง กลุ่มท่ี ๓ จัดโตะ๊ เกา้ อี้ ที่วางหนังสอื ใหเ้ รยี บร้อย กล่มุ ท่ี ๔ จัดบอรด์ เปล่ียนบอร์ดความรู้ กลุ่มท่ี ๕ หาหนังสอื มาไว้ในหอ้ งใหเ้ พ่ือน ๆ อา่ น ๖. ข้ันตรวจสอบ “แล้วจะรูไ้ ด้อย่างไรวา่ ใครทาหรือไม่ทาตามกติกาข้อตกลง” “แล้วถา้ พวกเรา กลมุ่ หรือคนใดคนหนึ่งไม่ทาตามกตกิ าข้อตกลงล่ะ จะทาอย่างไร นักเรยี นดแู ลกนั เอง นะคะ” หลงั จากน้นั มีการปรบั ปรงุ ห้องเรยี นกันอยา่ งจริงจงั และสนุกสนาน มีเสยี งหยอกล้อกันระหว่างทางาน และมคี วามม่งุ ม่นั ในการทางานเพ่อื การเปลย่ี นแปลง มกี ารประเมนิ และตรวจสอบโดยหวั หน้ากลุม่ และกล่มุ อน่ื ๆ ก็ประเมนิ และบนั ทกึ ไวด้ ้วย เดก็ ๆ ควบคมุ ดูแลกนั เอง ตกั เตอื นกันเอง ซึ่งเด็กใช้คาว่า “รักเพ่ือนต้องเตอื นเพ่ือน”

๔๕ ๗. ขัน้ ตดิ ตำมผล หลังจากนัน้ ครูนักเรยี น และหัวหน้ากลุม่ กน็ าผลการประเมินมาสรุปสัปดาหล์ ะ ๑ คร้งั เพื่อดูการ เปล่ียนแปลง ๘. ขนั้ ชน่ื ชม ภำคภมู ิใจ สัปดาห์ต่อมา ผลการตรวจความเป็นระเบียบของห้องโดยคณะกรรมการสภานักเรียนท่ีประกาศหน้าเสา ธงตอนเช้าดเู หมือนวา่ เปน็ เสยี งทไ่ี พเราะชัดเจนท่ีสุดในรอบปีวา่ “ห้องเรยี นทส่ี ะอาด เป็นระเบยี บเรยี บร้อย ยอดเยย่ี ม ได้แก่หอ้ งเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ และปีที่ ๓” พอส้ินเสียงประกาศนักเรียนมัธยมทุกคนตา่ งปรบมือเสยี งดังกกึ ก้องต่อเน่ืองยาวนาน.. เดก็ ๆ มธั ยมปที ี่ ๒ และ ๓ ทกุ คนหวั ใจพองโต ใบหนา้ สหี นา้ ท่าทางย้ิมแย้ม แจ่มใส เดินแถวกลับห้องเรียนอย่างสง่า ผา่ เผย ภาคภูมใิ จ ในความสาเรจ็ และเปน็ พ่ีของนอ้ ง ๆ อยา่ งมนั่ ใจ

๔๖ กำรวัดและประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. รูปแบบกำรวดั และประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ การดาเนินการวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลุผลได้น้ันจะต้องอาศัยการบริหาร จัดการและการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ดาเนินการพัฒนาท้ังในและนอกห้องเรียน โดยมอบหมายภารกิจในการ พัฒนาและประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นห้องเรยี น ใหค้ รูผ้สู อน แตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรเู้ ป็นผู้รบั ผดิ ชอบ โดยสอดแทรกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในชั่วโมงการเรียนการสอน/กิจกรรมโครงการ หรือในโอกาส อื่น ๆ ซ่ึงมีแนวทางการดาเนินการหลายรูปแบบ สถานศึกษาสามารถเลือกนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสม ดังต่อไปน้ี เปน็ รปู แบบทเ่ี หมาะสาหรับสถานศึกษาท่ีมีความพร้อมในด้านทรัพยากรตา่ ง ๆ คอ่ นข้างสูง ถึงสูงมาก และเหมาะสาหรับสถานศึกษาที่ต้องการเน้นด้านการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สู่ ความเปน็ เลศิ โดยมนี โยบายที่จะให้บคุ ลากรและครทู ุกคนได้มีสว่ นรว่ มในการพฒั นานักเรียนใหม้ ีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ทุกข้อตามท่ีสถานศึกษากาหนด โดยจะมีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา เป็นองค์คณะบุคคลในสถานศึกษาที่คอยช่วยเหลือคณะครู ในกรณีที่พบว่านักเรียนบางคนมี ปัญหาที่ซับซ้อนและไม่สามารถจะพัฒนาด้วยกระบวนการธรรมดาได้ มีความจาเป็นต้องทากรณีศึกษา คณะกรรมการชุดนจ้ี ะทางานร่วมกับครปู ระจาชั้น หรือครทู ่ีปรึกษา หรือครคู นอนื่ ที่สนใจจะทากรณีศึกษาร่วมกัน นอกจากนี้อาจนาสภานักเรียนเข้ามามสี ่วนร่วมในการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงคด์ ้วย โดยสถานศึกษารับฟัง ความคดิ เหน็ ของสภานักเรียน ถงึ วิธีการท่ีเหมาะสมกับวยั ของผู้เรียน ด้วยกจิ กรรมเสรมิ ซง่ึ จะเนน้ การพัฒนาและ ตรวจสอบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกประการตลอดเวลา ทั้งนี้สถานศึกษาอาจมีเป้าหมายว่า นักเรียนร้อยละ ๙๐ ขึ้นไปจะต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับ “ดี” เป็นอย่างน้อย การประเมินรูปแบบน้ีดาเนินการ ดงั นี้ ๑. คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาทาความเข้าใจกับคณะ ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ครูท่ีปรึกษา ครูผู้ดูแลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ร่วมกันพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รียนทกุ คุณลักษณะ และรว่ มกาหนดตัวชว้ี ัดหรอื พฤติกรรมบง่ ชี้ หรือพฤตกิ รรมที่ แสดงออกของแต่ละคุณลักษณะตามท่ีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษาเพ่มิ เติม ใหเ้ หมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องวยั และวฒุ ิภาวะของนกั เรยี น ๒. กาหนดวิธีการประเมิน เกณฑ์และเครื่องมือ คาอธิบายคุณลักษณะท่ีสถานศึกษาเพ่ิมเติม ให้ สอดคล้องกบั เกณฑ์การประเมินที่หลักสตู รแกนกลางกาหนด ๓. กาหนดระดับของพฤติกรรมที่บ่งชี้ว่า พฤติกรรมนักเรียนอยู่ในระดับ “เสี่ยง” กล่าวคือ การพัฒนา คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียนด้วยวธิ ีปกติอาจจะไมส่ ามารถทาให้ผเู้ รียนบรรลุตามเกณฑ์ได้ มีความจาเป็น ท่ีครูที่ปรึกษา หรือครูผู้สอนร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันประสงค์ของสถานศึกษาตอ้ ง ใช้กระบวนการอ่นื เข้ามาชว่ ยในการแกป้ ญั หาโดยทากรณีศึกษา ๔. เม่ือสิ้นภาคเรียน/ส้ินปี ครูผู้สอนส่งผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนทุกคนที่ รบั ผดิ ชอบใหค้ ณะกรรมการของสถานศกึ ษา ซึ่งมีครวู ัดผลเปน็ เลขานุการ ๕. ครวู ัดผลดาเนินการประมวลผลตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด ๖. นาเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพอื่ พิจารณาอนุมตั ิ

๔๗ เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับโรงเรยี นท่ีมีความพร้อมปานกลาง กล่าวคือ มีจานวนบุคลากร ครูท่ีครบชั้นเรียน มีครูพิเศษบ้างแต่ไม่มากนัก ครูคนหน่ึงอาจต้องเป็นท้ังผู้สอนและทางานส่งเสริม รวมท้ัง รับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอื่น ๆ ด้วย สถานศึกษาประเภทดังกล่าวสามารถเลือกใช้รูปแบบการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์รูปแบบนี้ โดยการเลือกคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉพาะข้อที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกับ มาตรฐานหรือตัวช้ีวัดในกลุ่มสาระน้ันๆ ท่ีครูแต่ละคนรับผิดชอบ เพ่ือบูรณาการจัดทาแผนการเรียนรู้ และ แผนการพฒั นาคุณลกั ษณะพึงประสงค์ในข้อน้นั ๆ ดว้ ยในคราวเดียวกัน การประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ก็ ดาเนินการประเมินร่วมกับตัวช้ีวัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาคาดหวังว่าเมื่อได้ดาเนินการใน ภาพรวมแล้ว การพฒั นาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์จะครบทกุ ขอ้ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด โดยดาเนนิ การดังน้ี ๑. คณะกรรมการการพัฒนาและประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศึกษาร่วมกับผู้สอน ร่วมกันวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดเนื้อหาในกลุ่มสาระวิชา และพิจารณาเลือกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ว่ามีข้อ ใดบ้างทส่ี อดคล้องกับธรรมชาติวิชาที่ครูแตล่ ะคนรับผิดชอบ รวมทัง้ สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรมพัฒนา ผ้เู รยี นด้วย ๒. ครูผู้สอนนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีคัดเลือกไว้ไปบูรณาการกับตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ ดาเนินการพัฒนาและประเมนิ รว่ มกัน ๓. ครูผู้สอนส่งผลการประเมินให้ครูวัดผลเพ่ือสรุปผลการประเมิน และนาเสนอผู้บริหารเพ่ือพิจารณา อนมุ ัติต่อไป เป็นรูปแบบที่เหมาะสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีครูไม่ครบชั้น หรือครบชั้นพอดี แต่ครู คนหน่ึงต้องทาหลายหน้าที่ อีกทั้งความพร้อมของทรัพยากรด้านอื่นๆ มีน้อย ดังน้ันการดาเนินการพัฒนาและ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนควรเปิดโอกาสให้ชุมชน อันได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ปราชญช์ าวบ้าน เขา้ มามีส่วนรว่ มในการประเมนิ ดว้ ย ซึง่ จะทาใหผ้ ลการประเมนิ มีความเท่ียงตรงมากขน้ึ การพัฒนาและการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามรูปแบบน้ี ครปู ระจาช้ันและหรือครูประจาวิชา ร่วมกันพฒั นาและประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรยี นทุกคน ทุกประการ โดยดาเนนิ การดังน้ี ๑. ครูประจาชั้นและหรือครูประจาวิชาซ่ึงรับผิดชอบการสอนมากกว่าหนึ่งช้ันหรือหนึ่งกลุ่มสาระ ใช้ การบูรณาการทุกกลุ่มสาระและคุณลักษณะอันพึงประสงค์เข้าด้วยกัน ร่วมกันพัฒนาและประเมิน โดยอาจใชก้ าร สังเกตพฤติกรรมตามสภาพจริง เปิดโอกาสให้ชุมชน ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้านร่วม ประเมินด้วย ทัง้ นี้ กรณีท่มี นี กั เรียนบางคนไม่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ข้อใด ครรู ว่ มกับชุมชน ดาเนินการพัฒนาจนกระทั่งทั้งสองฝ่าย มีความเห็นตรงกันว่านักเรียนมีคุณสมบัติตามเกณฑ์แล้วจึงให้ผ่านการ ประเมนิ ๒. ครปู ระจาชน้ั และหรือครูประจาวชิ ารว่ มกันสรปุ ผลการประเมิน และนาเสนอผ้บู ริหารสถานศกึ ษาเพ่ือ อนุมัติตอ่ ไป ๒. แนวปฏิบตั ิในกำรวดั และประเมนิ ผลคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนน้ัน สถานศึกษาสามารถนาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๘ ประการท่หี ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดขึ้น รวมทง้ั คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ท่ีสถานศึกษาอาจกาหนดขึ้นเพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา สภาพปัญหา ความตอ้ งการหรือความจาเปน็ ของชุมชน มาพัฒนาผู้เรียนตลอดปีการศึกษา ทั้งน้ี ครูผู้สอนสามารถดาเนนิ การวัด และประเมนิ ผลคุณลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นชัน้ เรยี นได้ ดงั นี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook