Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาเหตุความขัดเเย้ง

สาเหตุความขัดเเย้ง

Published by kirati093, 2017-07-03 21:42:02

Description: สาเหตุความขัดเเย้ง

Keywords: สาเหตุความขัดเเย้ง

Search

Read the Text Version

ความขดั แย้ง• สนั ติภาพ ความรุนแรงและความขดั แยง้• นิยามความขดั แยง้• มุมมองความขดั แยง้• ทฤษฎีความขดั แยง้• องคป์ ระกอบความขดั แยง้•ระดบั ความขดั แยง้

สันตภิ าพ ความรุนแรงและความขดั แย้ง• ความขดั แย้งอยรู่ ะหวา่ งความรุนแรงและสนั ติภาพ: ความรุนแรง มีเหตุมาแต่ขอ้ ขดั แยง้ ท่ีแกไ้ ม่ตก สนั ติภาพหมายถึงการแปลง เปล่ียนความขดั แยง้ ใหถ้ อยห่างจากความรุนแรง• เหตุปัจจยั ทางวตั ถุท่ีอาจขบั เคล่ือนความขดั แยง้ สู่ความรุนแรงคือ การมีอาวธุ และคนท่ีถนดั ใชอ้ าวธุ (กองทพั ผรู้ ้าย ฯลฯ)

สันตภิ าพ ความรุนแรงและความขดั แย้ง• เหตุปัจจยั ทางวตั ถุท่ีอาจช่วยขบั เคล่ือนความขดั แยง้ สู่สนั ติภาพ คือ การมีบุคลากรที่รักสันติและถนดั ใชส้ นั ติวธิ ี (นกั สนั ติวธิ ี สนั ติเสนา ฯลฯ)• เหตุปัจจยั ทางความคิดท่ีอาจขบั เคล่ือนความขดั แยง้ สู่ความ รุนแรง คือ การเชื่อวา่ ตนมีความชอบธรรม การมีกติกาการใช้ ความรุนแรง มีวฒั นธรรมแบ่งขา้ งเป็นเทพ-มาร และตอ้ งแตกหกั ถึงที่สุด การมีโครงสร้างแนวต้งั

• เหตุปัจจยั ทางความคิดท่ีอาจช่วยขบั เคลื่อนความขดั แยง้ สู่ สนั ติภาพ คือการเชื่อในการอยรี ่วมกนั การมีกติกาไกล่เกลี่ยและ คืนดี การมีสนั ติวฒั นธรรม การมีโครงสร้างแนวนอน• เหตุจูงใจเชิงเป้ าหมายท่ีอาจขบั เคล่ือนความขดั แยง้ สู่ความ รุนแรง คือชยั ชนะ• เหตุจูงใจเชิงเป้ าหมายที่อาจช่วยขบั เคลื่อนความขดั แยง้ สู่ สนั ติภาพ คือการรังสรรคส์ นั ติภาพโดยกา้ วพน้ ความขดั แยง้ (ชนะดว้ ยกนั )

ความขัดแย้ง มีอยทู่ กุ แหง่ หน ป้ องกันมใิ ห้เกดิ ได้หรือไม่ ทาํ อยา่ งไรความขดั แยง้ จึงไม่เป็นการใชค้ วามรุนแรง 5

ความขดั แย้งเมอื่ ได้ยนิ คาํ ว่า‘ควสามุภขาษดั แิตยร้งูป’ ภทา่าพนคสดิ ญั ถลงึ กัอษะณไร์ ฯเชล่นฯ สี คาํ พดู

นิยามความขดั แย้ง• ความขดั แยง้ หมายถึง การโตเ้ ถียง การแข่งขนั ววิ าทะ การต่อสู้ อารยะขดั ขืน การสูร้ บ สงคราม ฯลฯ• การประทุษร้ายดว้ ยวาจา เทียบไดก้ ารประทุษร้ายทางร่างกาย หรือไม่• บา้ งเช่ือวา่ ความขดั แยง้ เป็นเร่ืองอตั วสิ ยั เนน้ ความสาํ คญั ของ ปัจเจก บา้ งเช่ือวา่ เป็นเร่ืองวตั ถุวสิ ยั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ภายนอก

ความขดั แย้งเกิดขนึ ้ เมื่อ มีเป้ าหมายต่างกนั 8

ความขดั แย้งเกิดขนึ ้ เมื่อ เห็นอีกฝ่ ายเป็นอุปสรรคต่อการ บรรลุเป้ าหมายของตน 9

มุมมองความขดั แย้ง• ผทู้ ่ีเชื่อวา่ ความขดั แยง้ มีบทบาทหนา้ ท่ีทางสงั คม จะต้งั คาํ ถามวา่ ทาํ ไมจึงเกิดความขดั แยง้ ความขดั แยง้ สนองประโยชนอ์ ะไร• ผทู้ ่ีเช่ือวา่ สถานการณ์ทาํ ใหเ้ กิดความขดั แยง้ จะต้งั คาํ ถามวา่ ความขดั แยง้ เกิดข้ึนเม่ือไร สถานการณ์แวดลอ้ มเป็นอยา่ งไร• ผทู้ ี่เชื่อวา่ ความขดั แยง้ เป็นเร่ืองปฏิสมั พนั ธ์ จะต้งั คาํ ถามวา่ ความขดั แยง้ เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร ความขดั แยง้ แสดงออกโดยอาศยั วธิ ีการหรือกลไกใด

แนวคดิ ทหี่ น่ึง/แนวคดิ ทส่ี อง• ความขดั แยง้ หลีกเลี่ยงได/้ หลีกเล่ียงไม่ได้• เกิดข้ึนเพราะมีคนทาํ ใหเ้ กิด/เกิดข้ึนเพราะ โครงสร้าง การแข่งขนั ความลม้ เหลวในการ สื่อสาร ระบบค่านิยม ฯลฯ 11

แนวคดิ ทห่ี น่ึง/แนวคดิ ทส่ี อง•ความขดั แยง้ เป็นอนั ตรายต่อความสาํ เร็จ/ เป็นส่วนผสมผสานของความสาํ เร็จ•ความขดั แยง้ เป็นสิ่งที่เลวร้าย/เป็นเรื่องปกติ ที่ตอ้ งจดั การใหด้ ี 12

กระบวนการเกดิ ขนึ้ ของความขดั แย้ง (Kriesberg, L.(1998))1) อัตตา โดยทวั่ ไปอตั ตาหรือความเป็ นตวั ตนไม่ก่อให้เกิดความขดั แยง้ แต่หากอตั ตาบวกอคติ และการใชอ้ าํ นาจเหนือ จะทาํ ใหเ้ กิดการกดทบั อตั ตาผอู้ ื่น และเกิดการแบ่งแยก ความเป็นอื่น ความเป็ นศตั รู2) ความรู้สึกขุ่นข้องหมองใจ รู้สึกวา่ ไม่ไดร้ ับความเป็นธรรม และรู้สึกไม่พอใจกบั สิ่งท่ีเกิดข้ึน เพราะส่ิงน้ีไม่ควรจะเกิดข้ึนแก่ตนหรือกลุ่มของตน

กระบวนการเกดิ ขนึ้ ของความขดั แย้ง3) การต้ังเป้ าหมายในการเปลีย่ นแปลงสิ่งท(Kี่ไมrie่พsbึงeปrgร,าLร.(ถ19น9า8))เช่นต้องการเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล ต้องการเปลี่ยนกระบวนการ โครงสร้าง หรือประเด็นความขดั แยง้ เพือ่ ลดความข่นุ ขอ้ งใจ4) การเช่ือว่าความเปลยี่ นแปลงน้ันเป็ นไปได้ จึงพร้อมที่จะแสดงตวั วา่ มีความขดั แยง้ (เปลี่ยนจากความขดั แยง้ แฝงเป็นความขดั แยง้ ปรากฏ)

ปรากฎ – คู่กรณีแสดงตวั ทุกฝ่ายรับรู้วา่ มีความขดั แยง้ปรากฎชดั เจน – คูก่ รณีเขา้ มาจดั การความขดั แยง้ ความขดั แย้งปรากฏ Emerging/Manifest conflict ความขดั แย้งแฝง Latent conflict เป็นระยะท่ีความขดั แยง้ ไดเ้ กิดข้ึนแลว้ แต่ไม่ ปรากฏตวั ออกมาจนเป็นที่สงั เกต โดยที่คู่กรณี อาจยงั ไม่ตระหนกั วา่ มีความขดั แยง้ เกิดข้ึน

ทฤษฎคี วามขดั แย้ง

การวเิ คราะห์เชิงทฤษฎี - ยอร์จ ซิมเมล• ความขดั แยง้ เป็นการแข่งกนั ระหวา่ งแรงทวลิ กั ษณ์ เช่น รักและ ชงั การผสมกลมกลืนและการไม่ถูกกนั การร่วมสมาคมและการ แข่งขนั แนวโนม้ ท่ีเอ้ืออาํ นวยและแนวโนม้ ไม่ช่วยเหลือ• ความขดั แยง้ จบลงไดส้ ามทางคือ - ฝ่ ายหน่ึงไดร้ ับชยั ชนะเหนืออีกฝ่ าย - การประนีประนอม - การทาํ ใจได้ (แมว้ า่ เหตุทางวตั ถุวสิ ยั ของความขดั แยง้ ยงั ดาํ รง อย)ู่

การวเิ คราะห์เชิงทฤษฎี - ลอู สิ โคเซอร์• ความขดั แยง้ มีบทบาทหนา้ ท่ีสาํ คญั ทางสงั คม• ความขดั แยง้ อาจช่วยระบายความรู้สึกกา้ วร้าวและเป็นปฏิปักษ์• ความขดั แยง้ ในสถานท่ีทาํ งานอาจนาํ ไปสู่วธิ ีการทาํ งานแบบ ใหม่ที่ดีกวา่• ความขดั แยง้ มีท้งั ท่ีมีบทบาทหนา้ ที่ในทางดีและในทางลบ• ถา้ มีบทบาทหนา้ ที่ในทางไม่ดีกค็ วรพยายามแกไ้ ข• นกั จดั การความขดั แยง้ จึงตอ้ งศึกษาใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหนา้ ที่ก่อน

การวเิ คราะห์เชิงทฤษฎี – เคอร์ต เลวนิ• ความเขา้ ใจปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลกบั ภาวะแวดลอ้ มทาง จิตวทิ ยา ช่วยใหค้ าดคะเนพฤติกรรมของบุคคลน้นั• การไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของบุคคล ทาํ ใหเ้ กิด คระวดามบั ตคึงวเาคมรตียึงดเคแรตีย่คดวแาลมะขบดั รแรยยง้ าจกะาเกศิดทขาง้ึนสหงั รคือมไภมา่นย้ในั นขก้ึนลอุ่มยกู่ บั• จกเสพะาถิม่รเาคตเนสลอกร่ือบีาภนรสาไณพนห์ทอทวง่ีเี่จใปคะน็นวเพปาขมลนื้ีดต่ียทจนอ้าํที่ กงพากดัง้นื าใจทรนติ ข่ีทกว้ึนาาทิ งอรยจเยคาิตกู่ ลวกบั ่ือทิาครนยวเาไคาหลมห่ืวอสรดนาืองมัไอกาหอลรวกถ่าเวจชขา่นอกงนบ้ีชุค่วคยลท่ี

การวเิ คราะห์เชิงทฤษฎี – มอร์ตนั เดอตช์• ความขดั แยง้ มกั เป็นเร่ืองอตั วสิ ยั• ความขดั แยง้ แบ่งเป็นความขดั แยง้ ที่ทาํ ลายและท่ีสร้างสรรค์ ความ แขกดั ไ้แขยง้ มีลกั ษณะสร้างสรรคเ์ ม่ือค่กู รณีเห็นเป็นปัญหาท่ีตอ้ งร่วมกนั• iปคnวัจcาจoมmยั แทpต่ีทaกtาํiตbใiห่าlงiค้tเyดว)่นา–มชปขดั ดัรขะแ้ึนโยยง้–ปชกนะาท์ทรเุข่ีไข้ึดนา้ จ้กคานือั กไ–คมวก่ไาาดมรท้ขม่ีรดัาับสแรยมั ู้เง้ผอทสัา่ีรเกอับนังรทู(้เอpี่ทeงาrํ cใeหiv้ ed• แกการไ้ แขกกไ้าขรครับวารมู้เอขงดั (แpยeงr้ cขe้ึนptอioยnกู่ )บั ใทหกั เ้ ปษ็นะเกชา่นรรคับวราู้เมอสงทามี่แามร่นถตในรงการ ตลอดจน ความสามารถในการสื่อสารระหวา่ งคู่กรณี ฯลฯ

การวเิ คราะห์เชิงทฤษฎี – จอห์น เบอร์ตนั• การสนองความตอ้ งการ – ซ่ึงเป็นท่ีมาของพฤติกรรม - ข้ึนอยกู่ บั บริบททางสังคม• มนุษยม์ ีพฤติกรรมเชิงซอ้ น - มกั สร้างความขดั แยง้ เม่ือพยายาม ตอบสนองความตอ้ งการพ้ืนฐาน• เวลากล่าวถึงประเดน็ ใด แทนท่ีจะกล่าวถึงความตอ้ งการที่เป็น พ้ืนฐาน เราชอบกล่าวถึงผลประโยชน์ท่ีผวิ เผนิ มากกวา่• เม่ือเกิดความขดั แยง้ ตอ้ งพยายามวเิ คราะห์วา่ อะไรคือความ ตอ้ งการพ้ืนฐานท่ีไม่ไดร้ ับการตอบสนอง

การวเิ คราะห์เชิงทฤษฎี – จอห์น เบอร์ตนั • ความตอ้ งการพ้ืนฐานไดแ้ ก่ - การไดร้ ับคาํ ตอบท่ีคงเส้นคงวา - การไดร้ ับแรงกระตุน้ - ความมนั่ คง - การเป็นที่ยอมรับ - ความยตุ ิธรรมในเชิงแจกจ่าย (distributive justice) - การดูมีเหตุมีผล – การมีความหมาย - การควบคุม - การปกป้ องบทบาท (ท่ีเอ้ือต่อการตอบสนอง ความตอ้ งการ)

ทฤษฎี – อดมั เคอร์ล• ความสมดุลแห่งอาํ นาจเปิ ดโอกาสการเจรจา สัมพนั ธ์ ไม่สนั ติ ไม่สนั ติ สนั ติอาํ นาจ 3. เจรจา 4. พฒั นาอยา่ งสันติ สมดุล สนั ตวิ ธิ ี/รุนแรง 2. เผชิญหนา้ไม่สมดุล 1. สร้างจิตสาํ นึก ขดั แยง้ แฝง ขดั แยง้ ปรากฏ ขดั แยง้ แปลงเปลี่ยน 23

องค์ประกอบความขดั แย้ง• ABC ของความขดั แย้งได้แก่ - ทศั นคติ (attitude) - พฤตกิ รรม (behaviour) - ข้อขดั แย้งหรือสาเหตคุ วามขดั แย้ง (contradiction)

A: ทศั นคติ• หมายถึง - ความรู้สึก/การรับรู้ต่อความขดั แยง้ ของคูก่ รณีและเรา - ความรู้สึก/การรับรู้ของคูก่ รณีต่อเรา - ความรู้สึก/การรับรู้ของเราต่อค่กู รณี

ตวั ตนกบั ความขัดแย้ง ความจริงท่ีรับรู้ Perceived self Perceived reality selfการรับรู้ของ คณุ ก. Self-concept การรับรู้ของ คณุ ข. reality การรับรู้ของ คณุ ง. 26การรับรู้ของ คณุ ค.

ความรู้สึก / วธิ ีคดิเอาตนเป็ นศูนย์กลาง (คดิ เอาชนะ ต้องการแก้แค้น ปกป้ องตนเอง) โกรธ เร่ิมจากฝ่ ายหน่ึงผดิขาดสติ ต่างตอบโต้ลืมตวั พดู ด้วยอารมณ์ ต้องการแก้แค้น กระทาํ แพ้ทงั้ คู่ ผิดทงั้ คู่ทาํ ร้ายตนเอง - ผู้อ่นืคลปิ  วฎั จกั รความรุนแรงต่างตอบโต้เอาคืนความรุนแรงเพ่มิ ขนึ้ทะเลาะ  ววิ าท ลงมือ ปาดหน้า  ขับชน ลงมายงิ

ความรู้สึกการรับรู้ ตวั ตน ปฏสิ ัมพนั ธ์ อคติ

เกดิ อคติความรู้สกึ ลบ อคตเิ พ่มิ ขึน้ ปฏสิ ัมพนั ธ์รุนแรงความรู้สกึ ลบ อคตเิ พ่มิ ขึน้ เกดิ อคติ

ความรู้สึก ท่เี ป็ นกุศลการรับรู้ สต-ิ ปัญญา-เมตตา ปฏสิ ัมพนั ธ์ ท่สี ร้างสรรค์ตรงตามความ เป็ นจริง วางใจ เป็ นกลาง

ทฤษฎีการระบุสาเหตุ เหตุการณ์ “เป็ นเร่ืองปกตทิ ่ีเม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ขนึ ้ สถานการณ์ คนจะพยายามหาสาเหตขุ องเหตกุ ารณ์นนั้ และการหาเหตนุ ีส้ ง่ ผลตอ่ ระดบั ความไว้วางใจ สถานการณ์ เป็ นสาเหตุ กบั ผ้ทู ี่มปี ฏิสมั พนั ธ์ด้วย” เหตุ – สถานการณ์ อุปนิสัย-บุคลกิ ภาพ ความรู้สกึ – ดี - ไม่เป็ นไร เป็ นสาเหตุ เจตนาความไว้วางใจลดลง เหตุ – อุปนิสัย ธรรมชาตขิ องอีกฝ่ าย ความรู้สกึ – ดี -ไม่เป็ นไร - ลบ เป็ นสาเหตุ เหตุ – เจตนาท่จี ะทาํ ร้าย - ปี ศาจร้าย ความรู้สกึ – ลบ - เป็ นศัตรู - เจบ็ ปวด ง

การกาํ หนดเหตุ (attribution)เมื่อเกิดเหตุการณ์หน่ึงที่ไม่ดีซ่ึงจะเรียกว่าเหตุการณ์ก่อเรื่อง(triggering event) ถา้ เราเกี่ยวขอ้ งหรือเป็นผกู้ ่อเหตุการณ์น้นัเรามกั จะกาํ หนดเหตุ (attribute) ใหก้ บั สถานการณ์ที่อยเู่ หนือความควบคุมของเรา กล่าวอีกนยั หน่ึงคือ เรามกั กาํ หนดให้ตนเองเป็ นผูม้ ีเจตนาดีและโทษสถานการณ์ภายนอก ท้ังน้ีเพอื่ ลดความรับผดิ 32

การกาํ หนดเหตุแต่ถ้าเหตุการณ์น้ันมีผู้อื่นเกี่ยวข้องหรื อเป็ นผู้ก่อ เรามีแนวโน้มที่จะมองขา้ มเหตุอนั เนื่องมาแต่สถานการณ์บงั คบัและกาํ หนดเหตุให้กบั เน้ือหาของเหตุการณ์หรืออุปนิสัยของผเู้ กี่ยวขอ้ ง (intrinsic attribution) หรือกาํ หนดวา่ เหตุน้นั มาจากเจตนาท่ีไม่ดี (intentional attribution) 33

การกาํ หนดเหตุเหตุการณ์ก่อเรื่องมีผลต่อความไวว้ างใจไม่เหมือนกนั ข้ึนอยู่กบั การกาํ หนดเหตุให้เหตุการณ์น้ัน ถา้ กาํ หนดเหตุว่าเป็ นเรื่องของสถานการณ์ เราจะไม่กล่าวโทษและคงความไว้วางใจในระดับสูง ถ้ากําหนดเหตุให้กับเน้ือหาของเหตุการณ์หรืออุปนิสัยของผเู้ กี่ยวขอ้ ง เราจะกล่าวโทษนอ้ ยและคงความไวใ้ จอยบู่ า้ ง 34

การกาํ หนดเหตุแต่ถ้าเรากาํ หนดเหตุว่าเป็ นเรื่องความจงใจหรือความเป็ นปฏิปักษ์ เราจะกล่าวโทษเต็มที่และความไวว้ างใจจะหมดไปการกล่าวโทษเจตนามาคู่กับความไม่ไวว้ างใจ กล่าวอีกนัยหน่ึง ในการสร้างความไว้วางใจ เราต้องหลีกเลี่ยงการกล่าวโทษเจตนา 35

ววั ไล่ขวดิ ?• ระหวา่ งพกั สมั มนา ผมไปเดินในสวน มีววั ฝงู หน่ึงเลม็ หญา้ อยู่ สองตวั อยรู่ ิมแม่น้าํ ทนั ใดน้นั ววั ตวั หน่ึงวงิ่ เขา้ ใส่ผม ทาํ อยา่ งไรดี?• อยกู่ บั ท่ี ววั หลบเอง – วง่ิ เขา้ หาววั ทาํ ใหม้ นั กลวั – วงิ่ หนีววั มนั คงไล่ไม่ทนั – วงิ่ ไปอีกทาง เช่นไปหลบหลงั ตน้ ไม้• ระหวา่ งววั กบั ผม คุณเห็นใจใคร?

B: พฤตกิ รรม• หมายถึง - ปฏิสมั พนั ธ์/การกระทาํ เม่ือเผชิญหนา้ กบั ความขดั แยง้ - ปฏิสมั พนั ธ์เม่ือเผชิญหนา้ กบั คูก่ รณี/การกระทาํ ต่อคกู่ รณี ท้งั ทางกายและวาจา - ปฏิสมั พนั ธ์/การกระทาํ ท่ีเป็นปรปักษเ์ พอ่ื เอาชนะ - ปฏิสมั พนั ธ์/การกระทาํ ที่ไม่เป็นปรปักษเ์ พ่อื หลีกเลี่ยง หรือร่วมมือ

C: ข้อขดั แย้ง/สาเหตุความขดั แย้ง • ความจาํ เป็น/สิทธิพ้ืนฐาน (ต่อรองไม่ได)้ • ความสมั พนั ธ์/อาํ นาจ (ต่อรองไดย้ าก) • สิทธิอื่นๆ (ตอ่ รองไดบ้ า้ ง) • ผลประโยชน์ (ต่อรองได)้ • ค่านิยม (ปรับเปลี่ยนไดช้ า้ ๆ)

องค์ประกอบของความขดั แย้ง A: Attitude ความรู้สึก-การรับรู้ ต่อความขดั แยง้ทศั นคติ - คู่กรณี ของคูก่ รณีและตนเองB : Behavior C: Contradictionปฏสิ ัมพนั ธ์/พฤตกิ รรม - ไคมวา่ไมดขจ)้ ้อาํ เปข็นัด/สแิทยธิพ้ง้ืน/สฐาานเ(หต่อตรอุ งปฏิสมั พนั ธเ์ มื่อเผชิญหนา้ กบั - ความสมั พนั ธ์/อาํ นาจ (ต่อรองไดย้ าก)ความขดั แยง้ และคูก่ รณี - สิทธิอ่ืนๆ (ตอ่ รองไดบ้ า้ ง)เช่น เอาชนะ เป็นศตั รู ร่วมมือหลีกเลี่ยง หาพวก ฯลฯ - ผลประโยชน์ (ต่อรองได)้ - คุณคา่ (ปรับเปล่ียนไดช้ า้ ๆ)

A: Attitude ความรู้สึก-การรับรู้ ต่อความขดั แยง้ ทศั นคติ - คู่กรณี ของค่กู รณีและตนเองสันตวิ ธิ ี ความเข้าใจ-การส่ือสารB : Behavior C: Contradiction ข้อข- ัด(คตว่อแารมอยจงาํ ไ้เงปม็น/่ไส/ดส)้ ิทาธเิพห้นื ฐตานุปฏสิ ัมพนั ธ์ - พฤตกิ รรม - ผลประโยชน์ (ต่อรองได)้ ปฏิสัมพนั ธ์เมื่อเผชิญหนา้ กบั - ความสมั พนั ธ์/อาํ นาจ ความคดิความขดั แยง้ และคกู่ รณี - สิทธิอ่ืนๆ เช่น เอาชนะ เป็นศตั รู ร่วมมือ สร้ างสรรค์หลีกเล่ียง หาพวก ฯลฯ

ระดบั ความขดั แย้ง• ระดบั ย่อย ไดแ้ ก่ความขดั แยง้ ภายในตวั บุคคล (สองจิตสองใจ วา้ วนุ่ ขาดสนั ติภายใน) ระหวา่ งตวั บุคคล ภายในกลุ่ม• ระดบั กลาง ไดแ้ ก่ความขดั แยง้ ระหวา่ งกลุ่ม ภายในสงั คม• ระดบั ใหญ่ ไดแ้ ก่ความขดั แยง้ ระหวา่ งสงั คม ระหวา่ งประเทศ ภายในภมู ิภาค• ระดบั มโหฬาร ไดแ้ ก่ความขดั แยง้ ระหวา่ งภูมิภาค ระดบั โลก

ความขดั แย้งในตนเอง• ในตวั เรามีหลายบุคลิกภาพ (persona) ซ่ึงส่วนใหญ่มาจาก อารมณ์ความรู้สึก และการอบรมส่งั สอนในวยั 0-3 ขวบ• ขดั แยง้ แบบรักพ่ีเสียดายนอ้ ง (approach-approach conflict) พอใจสองอยา่ งแต่เลือกไดอ้ ยา่ งเดียว• ขดั แยง้ แบบหนีเสือปะจระเข้ (avoidance-avoidance conflict) ไม่ ปรารถนาท้งั สองอยา่ งแต่จาํ ตอ้ งเลือก• ขดั แยง้ แบบเกลียดตวั กินไข่ (approach-avoidance conflict) จาํ เป็นตอ้ งอยกู่ บั สิ่งท่ีพอใจและไม่พอใจในเวลาเดียวกนั 42

ความขดั แย้งในตนเอง• ขจในวาตบกวอั เารรามมณีหล์คาวยามบรคุ ู้สลกึ กิ ภแาลพะก(pาeรrอsoบnรaม)สซงั่งึ่ สสอว่ นนใในหวญยั ่ม0า-3• รอักยพา่ งี่เสแียตดเ่ ลาือยกนไ้อดง้อ(ยaา่pงpเrดoaียcวh-approach conflict) พอใจสอง• ปหนราีเสรถอื นปาะทจงัร้ สะเอขง้ อ(aยvา่oงidแaตnจ่ cําe-ตa้อvงoเiลdaอื nกce conflict) ไม่• เจกําลเปีย็นดตต้อวั กงอินยไขกู่ ่บั (aสpง่ิ pทro่ีพaอchใจ-aแvลoะidไaมnพ่ ceอใcจonในflเiวctล)าเดียวกนั 43

ความขดั แย้งระหว่างบุคคล• ภูมิหลงั : วฒั นธรรม การศึกษา ค่านิยม ความเช่ือ ฯลฯ• บุคลิกภาพ: จิตใจ อารมณ์ วธิ ีพดู จา ภาวะผนู้ าํ ฯลฯ• การคิดไปเอง การตีความหมายเจตนารมณ์ การคิดเขา้ ตวั ฯลฯ 44

ความขดั แย้งระหว่างบุคคล• เกิดความรู้สึกขดั แยง้ รู้สึกกลวั เกลียด ไม่ไวใ้ จ ฯลฯ• สื่อคนละความหมาย แสดงออกผดิ กาลเทศะ วางตวั ไม่ถกู มีหลายบุคลิกภาพท่ีแสดงบทไขวก้ นั ฯลฯ 45

ความขดั แย้งระหว่างสามภี รรยา• ภรรยาทาํ งานและตอ้ งการใหส้ ามีช่วยแบ่งเบาภาระงาน บา้ นและช่วยดูแลลกู โดยถือวา่ ความเสมอภาคทางเพศ สภาพเป็นคุณค่าหลกั ของเธอ• สามีคิดวา่ เขามีหนา้ ท่ีหลกั ในหาเล้ียงครอบครัวส่วน ภรรยา ส่วนภรรยาตอ้ งดูแลบา้ นและลกู เป็นหลกั การ ทาํ งานบา้ นและเล้ียงลกู ไม่สอดคลอ้ งกบั ภาพพจนข์ องตน ในเร่ืองชายชาตรี

ความขดั แย้งระหว่างสามภี รรยา• หแจฟดุดลว้ังาทยยวก้ คนืนาัคงวดแวอางัลามอกมะชกลขเข่วร่าดั ่ยวาว้ ขใเมทหจอ้ กาํคลงในั ใืวอหจไาขเ้ดทมสอ้รี่มียงู้สคีตผึกวใ่อู้ หขาจมอุดค้ รงยาํ ู้สอปนื ึกีกรขึนฝกอ่ าษอ้งยอยาเลีกสมงฝาื่อ่ ามจเยรึงีภิ่กมเรรล็เิร่มขดยคา้ ลาใิดคงจู่นก้ีนเั ร่ิม• พวกเขาตกลงจา้ งคนมาช่วยทาํ งานบา้ นและดูแลลกู แมไ้ ม่ ตรงตามที่ตอ้ งการท้งั หมด แต่กย็ อมรับกนั ได้

เดก็ แย่งกนั รดนํา้ ต้นไม้• เดก็ อายุ หา้ ขวบสองคนเป็นเพอ่ื นกนั แต่ตอนน้ีกาํ ลงั แยง่ กนั รดน้าํ แปลงตน้ ไม้ แต่ละฝ่ ายอยากเป็นคนรดก่อน• วธิ ีแกป้ ัญหาเชิงแข่งขนั คือการชกั กะเยอ่ คนชนะแยง่ ท่ีฉีด น้าํ ได้ คนแพอ้ าจร้องไหห้ รือเขา้ ทุบตีผชู้ นะ• วธิ ีแกป้ ัญหาเชิงร่วมมือคือ

เดก็ แย่งกนั รดนํา้ ต้นไม้• เดก็ คนหน่ึงเสนอวา่ เรามาเป่ าหยนิ ฉุบกนั คนชนะไดร้ ดน้าํ ตน้ ไมก้ ่อน• อีกคนถามวา่ แลว้ คนแพล้ ่ะ• คุยกนั พกั หน่ึงกต็ กลงกนั ไดว้ า่ จะใหค้ นแพเ้ ลือกแปลงที่ ตนจะอยากจะรด คนชนะตอ้ งไปรดอีกแปลงหน่ึง• ท้งั สองฝ่ ายพอใจ (ชนะท้งั คู่)

มรดกนาฬิกาโบราณ• แม่ยกนาฬิกาโบราณเรือนหน่ึงใหล้ ูกสองคนเป็นมรดก และสงั่ ไม่ใหข้ าย ลูกขดั แยง้ กนั เพราะต่างอยากไดน้ าฬิกา• ทางออกหน่ึงคือแบ่งกนั ใชน้ าฬิกาปี ละหกเดือน• ทางออกหน่ึงคือการประมูลแข่งกนั แบบเปิ ด หรือประมลู แบบปิ ดคือเสนอราคาสุดทา้ ยคร้ังเดียว คนท่ีประมูลไดจ้ ะ ไดน้ าฬิกาไป และจ่ายเงินใหอ้ ีกคนเท่ากบั คร่ึงหน่ึงของ ราคาประมลู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook