สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES กองวเิ คราะห ภารกิจ วเิ คราะหวจิ ยั โรคไมติดเชอื้ และโรคติดเชื้อทีม่ คี วามสําคญั ตอ การปฏบิ ตั ิการทางทหารและความมั่นคงของชาติ การแบง สว นราชการและหนา ที่ 1. แผนกชีวเคมี มหี นา ทใี่ นการวเิ คราะหว จิ ยั ปญ หาสขุ ภาพกาํ ลงั พล สง เสรมิ สขุ ภาพกาํ ลงั พล โดยการตรวจรา งกายทวั่ ไป ตรวจเลอื ด และปสสาวะ ใหความรูเบื้องตนและขอมูลขาวสารทางการแพทย ศึกษาวิจัยดานการสรางเสริมสุขภาพกําลังพล เพ่ือใชเปน แนวทางในการปองกันและแกไขอยา งเปนรูปธรรม 2. แผนกยาเสพติด และพษิ วิทยา มีหนาที่ศึกษาวิจัย พัฒนางานวิเคราะหสารเสพติด ใหทันสมัยและทันตอเทคโนโลยีที่มีการนําสารชนิดใหมๆมาใช สนบั สนนุ การตรวจวเิ คราะหส ารเสพตดิ ใหโ ทษแกห นว ยทหารและหนว ยงานตา ง ๆ เผยแพรค วามรเู กยี่ วกบั สารเสพตดิ ใหโ ทษ ตลอดจนใหการศึกษา อบรม ดานการตรวจวิเคราะหสารเสพติดใหโทษแกหนวยทหารท่ีรองขอ เพ่ือปองกันการแพรระบาด ของสารเสพตดิ ในประเทศ 3. แผนกผลติ และควบคุมมาตรฐาน มหี นา ทใี่ นการศกึ ษา วจิ ยั และพฒั นางานวเิ คราะหส ารพษิ และปจ จยั ตา ง ๆ ในสง่ิ แวดลอ มในทต่ี ง้ั หนว ยทหาร ใหค วาม รูและขอเสนอแนะเก่ียวกับปญหามลพิษในส่ิงแวดลอมที่มีผลกระทบตอสุขภาพของกําลังพล เปนการดําเนินงานในเชิง เวชศาสตรป อ งกนั และอนามัยสงิ่ แวดลอม 4. แผนกสตั วทดลอง มีหนา ทศี่ กึ ษา วจิ ัย และพฒั นาเทคนคิ ทางหอ งปฏบิ ัติการโดยการใชส ตั วท ดลอง เพ่อื งานวิจยั ทางวทิ ยาศาสตรการ แพทย โดยมุง เนนโรคท่เี ปน ปญหาตอสุขภาพทหาร ไดแก การศกึ ษาโรคสัตวต ดิ ตอ สูค น และการทดสอบยาและวสั ดทุ างการ แพทย การศกึ ษาดา นเภสชั จลนศาสตร การเพาะเลยี้ งเช้ือเพื่อพัฒนาชดุ ตรวจวนิ จิ ฉยั โรค เปน ตน บทสรุปผูบริหาร ปงบประมาณ 2561 (Executive Summary Fiscal Year 2018) ผลการดาํ เนนิ งาน 1. แผนกชีวเคมี 1.1 โครงการบริการตรวจสุขภาพประจําปก ําลังพลกองทพั บก ณ ทต่ี ัง้ หนวยในเขต กทม.และปรมิ ณฑล แผนกชีวเคมี กองวิเคราะห สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร ไดดําเนินงานโครงการบริการตรวจสุขภาพ ประจําปกาํ ลังพลกองทัพบก ณ ท่ีต้ังหนวย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปงบประมาณ 2561 สรปุ ผลไดค อื มกี าํ ลัง พลท่เี ขารบั การตรวจสุขภาพฯ จาํ นวน 15,894 นาย แบง เปนเพศชายรอ ยละ 79.5 และเพศหญิงรอยละ 20.5 โดยมีอายตุ ้งั แต 35 ป ขึน้ ไปรอ ยละ 65.7 และมอี ายุเฉลย่ี 42.0 ป ขอมลู จากผลการตรวจรางกายท่วั ไปพบวา กําลังพลมีปญหาภาวะอวนลงพงุ (เสนรอบเอวชาย ≥ 90 ซม., หญิง ≥ 80 ซม.) รอยละ 41.1 ภาวะอว น (ดัชนมี วลกาย ≥ 25 กก./ตร.ม.) รอยละ 43.4 และความดันโลหติ สูง (≥ 140/90 มม.ปรอท) รอยละ 14.8 สาํ หรบั ผลการตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารของกาํ ลงั พลทม่ี อี ายตุ ง้ั แต 35 ปข น้ึ ไป ปญ หาทพ่ี บมากเรยี งตามลาํ ดบั ความชุก รายงานประจําป 2561 39 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES คอื ระดับไขมนั Total Cholesterol ในเลือดสงู (≥ 200 มก./ดล.) รอ ยละ 63.0 ระดับไขมนั Triglyceride ในเลอื ดสงู (≥ 150 มก./ดล.) รอ ยละ 39.4 และระดบั นา้ํ ตาลในเลอื ดสงู (≥ 126 มก./ดล.) รอ ยละ 10.2 จากผลการสาํ รวจพฤตกิ รรมเสย่ี งทางสขุ ภาพ ของกาํ ลงั พลกองทัพบกพบวา กําลังพล รอยละ 29.1 มกี ารออกกําลังกายยงั ไมถ งึ เกณฑมาตรฐาน (นอยกวา 150 นาทีตอ สัปดาห) สูบบหุ ร่ี รอยละ 26.9 และบรโิ ภคเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอลเปนประจาํ รอยละ 2.8 1.2 งานพัฒนาระบบคณุ ภาพหองปฏิบตั ิการ 1.2.1 หองปฏิบตั กิ ารตรวจวเิ คราะหจ ุลทรรศนศาสตรค ลนิ ิก แผนกชีวเคมี ไดรับการรบั รองคณุ ภาพหองปฏบิ ตั ิ การตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 และ ISO 15190:2003 จากสาํ นกั มาตรฐานหองปฏบิ ตั ิการอยา งตอเน่ืองในป 2561 1.2.2 มีการทบทวนคมู อื การเก็บและสง ตรวจตัวอยางทางหอ งปฏบิ ัติการของแผนกชีวเคมี ประกอบดวย หอ ง ปฏิบัติการเคมีคลนิ ิกหอ งปฏิบัติการโลหติ วทิ ยา และหองปฏบิ ัตกิ ารตรวจวิเคราะหจุลทรรศนศาสตรค ลนิ กิ 1.2.3 การประชมุ ชี้แจงผูรบั บริการหองปฏบิ ัตกิ ารแผนกชวี เคมปี ระจาํ ป 2561 จัดข้นึ ในวันท่ี 13 ก.ย. 2561 ณ หอ งพนิ ทโุ ยธนิ สวพท. มผี เู ขา รว มประชมุ จาํ นวนทงั้ สนิ้ 46 นาย โดยความพงึ พอใจในภาพรวมของการประชมุ อยใู นระดบั ดมี าก 1.3 โครงการวิจยั การศึกษาความสัมพันธร ะหวางเสน รอบวงคอกบั ความเสี่ยงของโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด เปน โครงการวจิ ยั รวมกบั พ.อ.รศ.นครินทร ศนั สนยทุ ธ โดยไดรบั การอนุมัติโครงการวจิ ัยจากทบ. และเร่ิมดําเนินการเก็บขอมลู ในปงบประมาณ 2561 เริม่ วนั ท่ี 1 ต.ค.60 ถึง 30 ก.ย.61 รวมระยะเวลา 1 ป ขณะนีไ้ ดดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอมูลเสรจ็ ส้ินแลว และอยูในระหวา ง ดําเนนิ การวิเคราะหข อมลู 2. แผนกผลติ และควบคมุ มาตรฐาน 2.1 โครงการเฝา ตรวจคณุ ภาพนาํ้ ในท่ีตง้ั หนวยทหาร พน้ื ท่กี องทพั ภาคที่ 2 ไดเ ขาตรวจคณุ ภาพนํา้ ในพืน้ ท่ี หนว ยทหาร และโรงพยาบาลกองทัพบกในพื้นทีก่ องทัพภาคที่ 2 จํานวนทง้ั หมด 304 ตัวอยา ง พบวา น้ําอุปโภค-น้าํ บริโภค 259 ตวั อยา ง ผานเกณฑมาตรฐาน 188 ตัวอยา ง และไมผา นเกณฑมาตรฐาน 71 ตัวอยาง สาเหตุทีไ่ มผา นเกณฑสว นใหญ เกิดจากปริมาณสารคลอรีนตกคางในน้ําประปาตํ่ากวาเกณฑมาตรฐาน สวนนํ้าเสีย-นํ้าท้ิง จํานวน 45 ตัวอยาง ผานเกณฑ มาตรฐาน 10 ตวั อยา ง และไมผ า นเกณฑม าตรฐาน 35 ตัวอยาง สาเหตสุ วนใหญเกิดจากคา BOD สูงกวา เกณฑม าตรฐาน ซึ่ง ไดด ําเนนิ การรายงานผลการตรวจ และช้แี จงสาเหตุใหกับหนวยรบั บรกิ ารเพือ่ ดําเนินการแกไ ขตอไป 2.2 งานบริการตรวจคุณภาพน้ํา ไดใหบริการตรวจคุณภาพนํ้าแกหนวยงานตาง ๆ เชน โรงเรียนเตรียมทหาร หนว ยวจิ ยั ฝา ยสหรฐั ฯ โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา ฯลฯ รวมจาํ นวนทง้ั สน้ิ 197 ตวั อยา ง แบง เปน นาํ้ อปุ โภค-นาํ้ บรโิ ภค จาํ นวน 163 ตวั อยา ง และนาํ้ เสยี -นาํ้ ทง้ิ จาํ นวน 34 ตวั อยา ง ผลการดาํ เนนิ งาน พบวา นา้ํ อปุ โภค-บรโิ ภค ผา นเกณฑม าตรฐาน จาํ นวน 92 ตวั อยาง และนา้ํ เสีย-นา้ํ ท้ิง ผา นเกณฑมาตรฐาน จาํ นวน 23 ตัวอยา ง 2.3 งานอาชวี อนามยั และความปลอดภัยภายในโรงงานอุตสาหกรรมทหาร การตรวจวัดปรมิ าณสารตะกั่วในเลือด กองพันทหารสอื่ สารซอ มบํารุงเขตหลัง (พัน.ส.ซบร.เขตหลงั ) ดําเนินการตรวจวดั ปริมาณสารตะกว่ั ในเลอื ดของกาํ ลังพล รอ ย.ส.ซบร.เขตหลงั ที่ 1 และ 2 จํานวนท้งั หมด 102 นาย ผลการตรวจวัด ปริมาณสารตะกว่ั ในเลอื ดไมเ กนิ เกณฑม าตรฐานทุกนาย 2.4. งานสนับสนนุ การตรวจดา นอาชวี อนามัย 2.4.1 ตรวจวัดความสวางของแสง หอ งผอู าํ นวยการศนู ยอ าํ นวยการแพทยพระมงกุฎเกลา (ผอ.ศพม.) และหอ งประชมุ ศนู ยอ าํ นวยการแพทยพ ระมงกฎุ เกลา (ศพม.) ผลการดาํ เนนิ งาน พบวา การตรวจวดั ความสวา งของแสง หองผูอํานวยการศูนยอํานวยการแพทยพระมงกุฎเกลา อยูในเกณฑมาตรฐานทั้งหมด แตการตรวจวัดความสวางของแสง ภายในหองประชุม ศพม. ไมอ ยูในเกณฑม าตรฐาน 2.4.2 หอ งปฏบิ ัตกิ าร สวพท. ทีอ่ ยูภายใตก ารรับรองมาตรฐานหอ งปฏิบตั กิ าร ISO 15189 ดาํ เนนิ การ ตรวจวัดคุณภาพสง่ิ แวดลอ ม 3 ดาน ไดแก ดา นกายภาพ ดานปรมิ าณกาซในอากาศ และดานสารเคมใี นอากาศ พบวา ผา น เกณฑมาตรฐานทั้งหมด รายงานประจําป 2561 40 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES 2.4.3 ตรวจคุณภาพส่งิ แวดลอมภายในสถานทท่ี าํ งาน กรมกําลังพลทหารบก เพอ่ื สง เสรมิ สขุ ลกั ษณะทเี่ หมาะสมของสงิ่ แวดลอ มในสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ านและสง เสรมิ สขุ ภาพของกาํ ลงั พลกองทพั บก ใหม สี ขุ ภาพแขง็ แรง โดยดาํ เนนิ การตรวจวดั คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ มทง้ั หมด 4 ดา น ไดแ ก ทางกายภาพ สารเคมใี นอากาศ ปรมิ าณ กาซในอากาศ และจลุ ชพี ในอากาศ ผลการดาํ เนนิ งาน พบปญ หาหลักแบงตามสิง่ แวดลอ มทั้ง 4 ดา น ดงั น้ี ดา นกายภาพ พบ ลมระบายอากาศ ความช้ืนสัมพัทธ และความสวางของแสง ไมผานเกณฑมาตรฐาน ดานปริมาณกาซในอากาศ พบกาซ คารบ อนไดออกไซดส งู กวา เกณฑม าตรฐานในหลายจดุ และดา นจลุ ชพี ในอากาศ พบแบคทเี รยี และเชอื้ ราเกนิ เกณฑม าตรฐาน 3. แผนกยาเสพติดและพิษวิทยา 3.1 โครงการเฝา ตรวจสารเสพตดิ ใหโ ทษในทหาร (Drug Abuse Surveillance) ดาํ เนนิ การตรวจหาสารเสพตดิ ใหโทษประเภท เมทแอมเฟตามนี กัญชา และมอรฟ น ในปส สาวะของทหารกองประจําการ ผลดั ท่ี 2/60 และทหารกองประจาํ การ ผลดั ท่ี 1/61 สังกัดหนว ยสว นกลางและหนวยในพน้ื ทีก่ องทพั ภาคท่ี 1 จํานวน 12 หนว ย ยอดกาํ ลังพลเขา รบั การตรวจทง้ั สิน้ 3,682 นาย พบวา มอี ตั ราการใช สารเสพตดิ ประเภทเมทแอมเฟตามีน รอ ยละ 1.5 (54 นาย) กญั ชา รอยละ 3.2 (117 นาย) และมอรฟ น รอยละ 0.03 (1 นาย) จากผลการตรวจหาสารเสพตดิ พบวา สารเสพติดประเภท เมทแอมเฟตามนี กัญชา และมอรฟน มแี นวโนม ลดลงเม่อื เทียบกบั ปกอ น 3.2. โครงการหนว ยทหารสีขาว ดาํ เนนิ การตรวจสารเสพติดประเภท เมทแอมเฟตามนี กญั ชา และมอรฟน ใน ปสสาวะของกาํ ลังพล กองทพั บกที่ตองสงสยั ไดแก ทหารประจําการ พนกั งานราชการ และลูกจาง จาํ นวน 19 หนว ย ยอด กาํ ลังพล เขารับการตรวจท้งั ส้ิน 829 นาย พบวา มีอตั ราการใชส ารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามีน รอยละ 2.1 (17 นาย) กญั ชา รอ ยละ 0.1 (1 นาย) และมอรฟ น รอ ยละ 0 (0 นาย) ผลการตรวจ พบวา สารเสพติดประเภท เมทแอมเฟตามีนและ กัญชามีแนวโนมลดลง สวนมอรฟนตรวจไมพบ จากผลการตรวจดังกลาว ทําใหมีมาตรการเนนยํ้าใหหนวยทหารและหนวย ฝก ทกุ หนว ยเฝา ระวงั พฤตกิ รรมของกาํ ลงั พลทต่ี อ งสงสยั อยา งตอ เนอ่ื งและใหม กี ารตรวจซาํ้ เพอ่ื เปน การเฝา ระวงั มใิ หม กี ารแพร ระบาดของสารเสพติดในหนว ยทหาร 3.3 งานบริการหองปฏิบัติการตรวจวิเคราะหสารเสพติด ดําเนนิ การตรวจหาสารเสพตดิ ในปส สาวะของผสู มคั ร เขาโรงเรียนนักเรยี นทหาร และหนวยงานอน่ื ๆ จาํ นวน 7 หนวย จํานวน 5,197 ตวั อยาง รายละเอียดดงั น้ี 3.3.1 ตรวจหาสารเสพติดในปสสาวะของผูสอบผานภาควิชาการ หลักสูตรนักเรียนนายสิบทหารบก จํานวน 3,763 ตวั อยา ง ตรวจพบ สารเสพตดิ ประเภทเมทแอมเฟตามีน 5 ราย คดิ เปนรอ ยละ 0.1 3.3.2 ตรวจหาสารเสพติดในปสสาวะของผูสอบผานภาควิชาการ หลักสูตรนักเรียนโรงเรียนชางฝมือทหาร จํานวน 1,145 ตัวอยาง ตรวจไมพบสารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามนี 3.3.3 ตรวจหาสารเสพตดิ ในปส สาวะของผสู อบผา นภาควชิ าการ หลกั สตู รนกั เรยี นพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาล กองทัพบก จาํ นวน 244 ตวั อยา ง ตรวจไมพบสารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามนี และมอรฟ น 3.3.4 ตรวจหาสารเสพตดิ ในปสสาวะของเจา หนาท่ีในหนวยงาน โรงพยาบาลโรงงานยาสบู องคก ารสงเคราะห ทหารผานศกึ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา และบริษัทรถไฟฟา (ประเทศไทย) จาํ กดั (มหาชน) จาํ นวน 45 ตัวอยา ง ตรวจพบ สารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามีน 1 ตวั อยาง คิดเปนรอยละ 2.2 3.4. งานพฒั นาระบบคณุ ภาพหอ งปฏบิ ตั กิ าร หอ งปฏบิ ตั กิ ารยาเสพตดิ และพษิ วทิ ยาผา นการรบั รองความสามารถตามมาตรฐาน ISO 15189: 2012 ตามขอ กาํ หนด และเงอ่ื นไขการรบั รองความสามารถหอ งปฏบิ ตั กิ ารทดสอบดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ ของสาํ นกั มาตรฐานหอ งปฏบิ ตั กิ าร ในรายการการตรวจเบอ้ื งตน ของการทดสอบสารเสพตดิ ประเภท เมทแอมเฟตามนี กญั ชา มอรฟ น และการตรวจยนื ยนั ของการ ทดสอบสารเสพติดประเภทเมทแอมเฟตามีน และ ISO 15190: 2003 ดานความปลอดภัยของหองปฏิบัติการทางการแพทย 3.5 โครงการวิจยั โครงการ การพฒั นาชดุ ทดสอบสาํ หรบั การตรวจคดั กรองยาบา ในปส สาวะโดยวธิ เี ทยี บสี โดยมี พ.อ.หญงิ ดรณุ ี อเุ ทนนาม เปน หวั หนาโครงการไดผ านการรับรองโครงรางการวจิ ยั โดยคณะอนกุ รรมการจริยธรรม กรมแพทยทหารบก เมอ่ื วันท่ี 5 ก.ย. 60 เรยี บรอยแลว ขณะนอี้ ยูระหวางการดําเนนิ การวิจัย รายงานประจําป 2561 41 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES 4. แผนกสัตวทดลอง 4.1 งานใชสัตวเ พือ่ การวิจัยทางวทิ ยาศาสตรก ารแพทย 4.1.1 การคน หาโปรตนี ชนดิ ใหมข องเชอ้ื เลปโตสไปรา สายพนั ธกุ อ โรคทจ่ี บั กบั Factor H complement regulator (fHbps) เพอื่ นํามาพัฒนาเปน วัคซนี สําหรับโรคเลปโตสไปโรซิส (ทาํ การทดลองเพ่มิ เตมิ ) เปน โครงการวจิ ยั รว มกบั คณะแพทยศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ไดร บั ทนุ วจิ ยั จากสาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง ชาติ และไดร บั อนมุ ตั กิ ารพจิ ารณาดา นจรรยาบรรณการใชส ตั ว จากคณะกรรมการกาํ กบั ดแู ลการเลย้ี งสตั วแ ละใชส ตั วเ พอ่ื งานทางวิทยาศาสตรการแพทย ของ สวพท. รหัสอนุมัตโิ ครงการ ARAC 1/60 โครงการวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพ่อื ใช fHbps ของเชื้อเลปโตสไปราสายพันธุกอโรค ไดแก LigA domain 7-13, LenA, LcpA และ Lsa23 เปนวัคซีนรูปแบบโปรตีนรวม (multiple subunit vaccine) และทดสอบประสทิ ธภิ าพในแฮมสเตอร ผลการศกึ ษาพบวาวัคซนี รูปแบบโปรตนี รวมซ่ึงประกอบ ดว ยโปรตนี LigA domain 7-13, LenA, LcpA, และ Lsa23 ท่ีใหรวมกบั LMQ adjuvant ผานทางใตผิวหนัง สามารถกระตนุ แอนติบอดที จ่ี าํ เพาะตอโปรตนี LigA และ LenA เทานัน้ เม่อื ทําการ challenge แฮมสเตอรดวยเช้อื เลปโตสไปราที่มีคุณสมบัติ กอโรค แฮมสเตอรกลมุ ท่ไี ดร ับวคั ซีนรปู แบบโปรตนี รวมรวมกบั LMQ adjuvant ผานทางใตผิวหนงั มอี ัตราการรอดชีวิตสูงถงึ รอยละ 60 อยา งไรกต็ าม ทีมวิจัยไดเขียนบทความทางวชิ าการ 1 เรื่อง เพ่อื ตพี ิมพเ ผยแพรใ นวารสารทางการวิชาการระดบั นานาชาติ (PLOS Neglected Tropical Disease) แตบทความดังกลา วถกู สง กลับมาใหแ กไ ขเพ่ิมเติมในสวนของการทดลอง ในสตั วทดลอง โดยใหเ พิม่ การศกึ ษาความสามารถของซบั ยูนติ วคั ซีนแบบเดี่ยว (LigAc, LenA, LcpA และ Lsa23) ในการกระ ตุนภูมคิ มุ กนั และปองกันการตายดว ยโรคเลปโตสไปโรซสิ ในแฮมสเตอร เพอ่ื ยืนยันผลการทดลองใหนาเชอื่ ถือมากย่ิงข้นึ ทมี วิจัยจึงขออนุมัติการทําการทดลองเพ่ิมเติม จากคณะกรรมการกํากับดูแลการเลี้ยงสัตวและใชสัตวเพื่องานทางวิทยาศาสตร การแพทย ของ สวพท. และไดรับการอนมุ ัติใหดําเนินการ รหสั อนุมัติโครการ ARAC 1/61 สําหรับผลการศกึ ษาอยูระหวา ง ดาํ เนินการ 4.1.2 การศกึ ษาอบุ ตั กิ ารณข องโรคเลปโตสไปโรสสิ ในโค กระบอื และสนุ ขั ในพนื้ ทจี่ งั หวดั ศรสี ะเกษ และ จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน โครงการวิจัยรว มกบั แผนกกฏี วิทยา หนว ยวจิ ัยฝายสหรฐั ฯ และไดร บั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการกํากบั ดแู ล การเล้ียงสัตวและใชสัตวเพ่ืองานทางวิทยาศาสตรการแพทย ของ สวพท. รหัสอนุมัติโครงการ ARAC 2/61 โครงการน้ีมี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาอัตราการติดเชื้อเลปโตสไปราและชนิดซีโรวารของเช้ือเลปโตสไปราในปศุสัตว และสัตวเล้ียงใน พน้ื ทจี่ งั หวดั ศรสี ะเกษ และจงั หวดั นครศรธี รรมราช เพอื่ นาํ ขอ มลู มาเปน แนวทางในการวางแผนปอ งกนั โรคเลปโตสไปโรสสิ ใน อนาคต เนื่องจากจังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดนครศรีธรรมราช เปนจังหวัดท่ีมีจํานวนผูปวยโรคเลปโตสไปโรสิสสูงสุดใน ประเทศไทย ทมี วิจยั ไดด ําเนนิ การเก็บตัวอยางเลอื ด และปส สาวะจากสุนัข 47 ตวั แมว 11 ตัว โค 24 ตัว และกระบือ 4 ตัว ผลการศกึ ษาพบเชอื้ เลปโตสไปรา เฉพาะในตวั อยา งเลอื ดของสนุ ขั จาํ นวน 3 ตวั อยา ง โดยพบเชอื้ Leptospira borgpetersennii 2 ตัวอยาง และ Leptospira interrogans 1 ตัวอยาง 4.1.3 การศกึ ษาโรคเลปโตสไปโรลสิ ในสง่ิ แวดลอ มในพน้ื ทท่ี ม่ี กี ารรายงานผปู ว ยยนื ยนั ดว ยโรคเลปโตส ไปโรสสิ ป 2561 เปนโครงการวิจัยรวมกับสํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคฯ สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตวฯ และ สาํ นกั งานปศสุ ตั วจงั หวดั นครศรีธรรมราช นาน และกาฬสนิ ธุ และไดรับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการกาํ กับดูแลการเลี้ยงสตั ว และใชส ตั วเ พอื่ งานทางวทิ ยาศาสตรการแพทย ของ สวพท. รหสั อนุมตั ิโครงการ ARAC 3/61 โครงการนีม้ วี ตั ถปุ ระสงคเพือ่ อธบิ ายเหตกุ ารณด า นสง่ิ แวดลอ มของโรคเลปโตสไปโรสสิ ในพนื้ ทที่ มี่ กี ารรายงานผปู ว ยยนื ยนั และศกึ ษาปจ จยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธ กบั เชอื้ เลปโตสไปราในสงิ่ แวดลอ มโดยใชห ลกั การสขุ ภาพหนงึ่ เดยี วในการเชอื่ มความสมั พนั ธ ทมี วจิ ยั ไดด าํ เนนิ การเกบ็ ตวั อยา ง เลอื ด จากหนูซงึ่ เปน สัตวพาหะนําโรค และสตั วเ ลีย้ งชนดิ ตา งๆ ไดแก สนุ ขั แมว และโค โดยเกบ็ ในพ้นื ทร่ี อบๆ บานของผูป วย ผลการศกึ ษาพบวา จังหวัดนครศรธี รรมราชพบเช้อื ในหนู 1 ใน 13 ตัวอยาง ดนิ 5 ใน 9 ตัวอยา ง และนาํ้ 6 ใน 10 ตวั อยาง จงั หวดั นา น พบเชอื้ ในหนู 3 ใน 13 ตวั อยา ง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ พบเชอ้ื ในหนู 6 ใน 6 ตวั อยา ง สนุ ขั 4 ใน 4 ตวั อยา ง ดนิ 4 ใน 5 ตัวอยา ง และ นํ้า 2 ใน 5 ตัวอยา ง จากผลการศกึ ษาดงั กลาวแสดงถึงความสัมพนั ธข องการติดเชอื้ เลปโตสไปราของผูปวย รายงานประจําป 2561 42 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES ทเ่ี กดิ จากการสมั ผสั เชอ้ื ทอ่ี ยใู นดนิ หรอื นาํ้ ซง่ึ เชอื้ เลปโตสไปรา ทป่ี นเปอ นในดนิ หรอื ในนาํ้ นนั้ นา จะมาจากการขบั ถา ยปส สาวะ ของหนู และสตั วเ ล้ยี งที่เปน สัตวรงั โรค (reservoir host) 4.2 งานสาํ รวจโรคเลปโตสไปโรสสิ 4.2.1 การสาํ รวจหาเชอ้ื เลปโตสไปราในพนื้ ทเ่ี สย่ี งรอบแปลงนาสาธติ การเกษตร รร.จปร. ผสท.กวค.สวพท. ใหความรว มมอื รพ.รร.จปร. ในการสํารวจหาเชือ้ เลปโตสไปราในพืน้ ที่เสยี่ งรอบๆ แปลงนาสาธติ การเกษตร รร.จปร. เพื่อเปน การถวายความปลอดภยั ทางการแพทยแ ด พล.อ.หญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกุมารี ซ่งึ เสด็จแปลงนาสาธติ การเกษตร รร.จปร. เพือ่ ทรงปลกู ขาว และทรงเก่ยี วขา ว ผลการดาํ เนินงาน ดกั หนไู ด 8 ตวั เกบ็ ตวั อยางน้าํ 44 ตวั อยาง เกบ็ ตัวอยางดนิ ในแปลงนา 49 ตัวอยาง นําตวั อยางท้งั หมดมาเพาะแยกเชอื้ เลปโตสไปรา พบเชอ้ื เลปโตสไปราชนิดกอโรคจากไตหนู 2 ตวั อยา ง และเช้อื เลปโตสไปราชนดิ ไมก อ โรคในตวั อยา งดิน 15 ตัวอยาง การฝกประสบการณนักศึกษา ณ กวค.สวพท. ในปง บประมาณ 2561 มนี กั ศกึ ษามาฝก ประสบการณว ชิ าชพี ทแี่ ผนกผลติ และควบคมุ มาตรฐาน จาํ นวนทงั้ สนิ้ 8 นาย ไดแ ก มหาวิทยาลัยราชภฎั เลย 2 นาย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณุ ทหารลาดกระบงั 2 นาย มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ วิทยาเขตพทั ลงุ 2 นาย และมหาวิทยาลัยราชภฎั สวนสนุ นั ทา 2 นาย โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ 5.1 นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เลย จาํ นวน 2 คน ฝกประสบการณดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยแผนกผลิตและควบคุมมาตรฐาน กวค.สวพท. ระหวางวันที่ 8 มกราคม - 30 มนี าคม 2561 5.2 นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาเทคโนโลยชี ีวภาพ คณะวทิ ยาศาสตร สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง จาํ นวน 2 คน ฝกประสบการณด านอาชวี อนามยั และความปลอดภยั โดยแผนกผลติ และควบคุมมาตรฐาน กวค.สวพท. ระหวา งวนั ที่ 1 มิถุนายน - 31 กรกฎาคม 2561 5.3 นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ วทิ ยาเขตพทั ลงุ จาํ นวน 2 คน ฝกประสบการณดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยแผนกผลิตและควบคุมมาตรฐาน กวค.สวพท. ระหวางวันที่ 4 มิถนุ ายน - 20 กรกฎาคม 2561 5.4 นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา จํานวน 2 คน ฝกประสบการณดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยแผนกผลิตและควบคุมมาตรฐาน กวค.สวพท. ระหวางวันที่ 4 มิถนุ ายน - 3 สงิ หาคม 2561 การเผยแพรผ ลงาน 1. ผลงานนําเสนอระดบั นานาชาติ 1.1 ผลงานเรอ่ื ง “Serovars survey of Leptospirosis in Royal Thai Army, Military Working Dogs” โดย พ.อ.หญงิ ดวงพร พูลสุขสมบัติ นําเสนอรูปแบบ Poster presentation ในการประชุม 1st ASEAN Military Medicine Conference (1st AMMC) ระหวา ง 18 - 21 กมุ ภาพันธ 2561 ณ สาธารณรัฐแหง สหภาพเมียนมา 1.2 ผลงานเรือ่ ง “Serovars survey of Leptospirosis in Royal Thai Army, Military Working Dogs” โดย พ.อ.หญิง ดวงพร พูลสขุ สมบตั ิ นําเสนอรูปแบบ Oral presentation ในการประชมุ Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018 ระหวา ง 17 - 21 กนั ยายน 2561 ณ เมืองซีอาน ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน 1.3 ผลงานเรอื่ ง “DNA sequence analysis, culture and identification of intermediate Leptospira spp. from water and soil samples” โดย พ.ท. นพดล แสงจันทร นาํ เสนอรปู แบบ Oral presentation ในการประชมุ Global Leptospirosis Environmental Action Network Meeting (GLEAN meeting 2017) จดั โดย WHO สาขาประจาํ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต รวมกับ กระทรวงสาธารณสุขของประเทศเนปาล ระหวาง 31 ตลุ าคม - 1 พฤศจกิ ายน 2560 ณ กรงุ กาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล รายงานประจําป 2561 43 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES 1.4 ผลงานเรอื่ ง “Immunogenicity of multicomponent subunit vaccines containing Leptospiral Factor H-binding Proteins in Hamsters” โดย พ.ท. นพดล แสงจนั ทร นาํ เสนอรปู แบบ Oral presentation ในการประชมุ Asia Pacific Military Health Exchange 2018 (APMHE2018) ระหวาง 17-21 กันยายน 2561 ณ เมืองซอี าน ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี 1.5 ผลงานเร่ือง “Improved screening tool for metabolic syndrome prevention in the Royal Thai Army” โดย ร.อ.หญิง พอฤทยั กฤติกานารา นาํ เสนอรปู แบบ Poster presentation ในการประชมุ Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018 ระหวา ง 17 - 21 กนั ยายน 2561 ณ เมืองซอี าน ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี 1.6 ผลงานเรื่อง “Drug abuse surveillance in young Thai men during 2013-2017” โดย จ.ส.อ.อาทิตย แสงสวา ง นาํ เสนอรปู แบบ Oral presentation ในการประชมุ Asia Pacific military Health Exchange (APMHE) 2018 ระหวา ง 17 - 21 กนั ยายน 2561 ณ เมอื งซีอาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี 2. ผลงานนาํ เสนอระดับประเทศ/ในประเทศ 2.1 ผลงานเร่ือง “DNA sequence analysis and modified isolation technique of Leptospira weilii from soil sample” โดย พ.ท. นพดล แสงจันทร นาํ เสนอในรูปแบบ Poster presentation ในการประชุมวชิ าการเครอื ขา ยพยาธวิ ทิ ยา คลนิ ิก ครั้งที่ 14 ในวนั ที่ 17 พฤศจกิ ายน 2560 และการประชมุ วิชาการพระมงกุฎเกลา ครงั้ ที่ 45 ในวนั ที่ 21 พฤศจกิ ายน 2560 ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กรงุ เทพฯ 2.2 ผลงานเรอื่ ง “Combination of waist circumference and BMI for identifying metabolic syndrome in Royal Thai Army Personnel” โดย ร.อ.หญงิ พอฤทยั กฤติกานารา นําเสนอรปู แบบ Poster presentation ในการประชุมวิชาการเครอื ขา ยพยาธวิ ทิ ยาคลนิ กิ ครง้ั ที่ 14 ในวนั ท่ี 17 พฤศจกิ ายน 2560 และการประชมุ วชิ าการพระมงกฎุ เกลา ครง้ั ท่ี 45 ในวนั ท่ี 21 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กรงุ เทพฯ 2.3 ผลงานเร่ือง “แผนท่ีภูมิสารสนเทศแสดงขอมูลอัตราการใชสารเสพติดในชายไทยที่ผานการตรวจเลือกเขาเปน ทหารกองประจาํ การ กองทพั บก ผลดั ที่ 1 ประจาํ ป 2560” โดย ร.อ.หญงิ สมุ าลี ผาจนั ทร นาํ เสนอรปู แบบ Poster presentation ในการประชุมวิชาการเครือขายพยาธิวิทยาคลินิก ครั้งที่ 14 ในวันท่ี 17 พฤศจิกายน 2560 และการประชุมวิชาการ พระมงกฎุ เกลา คร้งั ท่ี 45 ในวนั ท่ี 21 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กรงุ เทพฯ ผลงานท่ีไดร บั รางวลั ผลงานวจิ ยั รว มเรอื่ ง “การคน หาโปรตนี ชนดิ ใหมข องเชอ้ื เลปโตสไปราสายพนั ธกุ อ โรคทจี่ บั กบั Factor H complement regulator เพื่อนํามาพัฒนาเปนวัคซีนสําหรับโรคเลปโตสไปโรสิส” โดย พ.ท.นพดล แสงจันทร ไดรับรางวัลผลงานวิชาการ โรคเลปโตสไปโรสสิ ดเี ดน ในงานประชมุ วิชาการโรคเลปโตสไปโรสิส ประจาํ ป 2561 รายงานประจําป 2561 44 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES การตรวจวดั คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ มภายในสถานทีท่ าํ งาน กรมกาํ ลังพลทหารบก สมรรถ ปรีกลาง มนัสวี ทองศฤงคลี วิระ ทองพุม มานพ ภูยินดี ปยาภัสร ยังรอด คุณากร คณา และ ดวงพร พูลสุขสมบัติ สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร รายงานความกา วหนา ปจ จบุ นั มคี วามเจรญิ กา วหนา ทางดา นเทคโนโลยเี ปน อยา งมาก ประกอบกบั มอี ปุ กรณอ าํ นวยความสะดวกทที่ นั สมยั มาใชในสถานที่ทํางานมากข้ึน อุปกรณบางประเภทมีสวนประกอบของสารเคมี ทําใหมีโอกาสเกิดความเปนพิษตอรางกาย รวมถงึ การจดั การสภาพแวดลอ มภายในสถานทที่ าํ งานไมไ ดม าตรฐาน ซง่ึ สง่ิ เหลา นส้ี ง ผลใหผ ปู ฏบิ ตั งิ านในสถานทที่ าํ งานเกดิ การเจ็บปวยได ดังนั้นจึงควรจัดสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมแกการทํางาน เพื่อปองกันและลดภาวะเจ็บปวยจากการทํางาน แผนกผลติ และควบคมุ มาตรฐาน กองวเิ คราะห สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร จงึ ไดจ ดั ทาํ โครงการตรวจวดั คณุ ภาพ สงิ่ แวดลอ มในสถานทท่ี าํ งาน กรมกาํ ลงั พลทหารบก เพอื่ สง เสรมิ สขุ ลกั ษณะ ทเ่ี หมาะสมของสงิ่ แวดลอ มในสถานทท่ี าํ งาน และ เปน การสง เสรมิ สุขภาพของกาํ ลงั พลกองทัพบก โดยดําเนนิ การตรวจวดั คุณภาพสง่ิ แวดลอม ดังนี้ 1. สารเคมีในอากาศ ไดแ ก สารอนิ ทรยี ร ะเหยงาย (Volatile Organic Compounds: VOCs) 2. ทางกายภาพ ไดแ ก อณุ หภมู ิ ความช้นื สมั พทั ธ ความสวางของแสง ความดงั ของเสยี ง ฝุน และลมระบายอากาศ 3. ปรมิ าณกา ซในอากาศ ไดแก กาซคารบอนมอนอกไซด กาซคารบอนไดออกไซด และกา ซออกซเิ จน 4. จุลชีพในอากาศ ไดแก เช้ือรา และแบคทีเรยี การดาํ เนนิ การตรวจวดั คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ มในพนื้ ท่ี กพ.ทบ. ไดท าํ การแบง พน้ื ทอ่ี อกเปน 17 สว น ผลการดาํ เนนิ งาน แบง ตามส่ิงแวดลอ มทง้ั 4 ดา น มดี ังนี้ 1. ดา นสารเคมใี นอากาศ อยใู นเกณฑมาตรฐาน 2. ดานกายภาพ พบ ลมระบายอากาศ ความชนื้ สมั พทั ธ และความสวา งของแสงไมผานเกณฑม าตรฐาน 3. ดานปรมิ าณกา ซในอากาศ พบกา ซคารบ อนไดออกไซดสูงกวาเกณฑมาตรฐานในหลายพน้ื ที่ 4. ดา นจุลชพี ในอากาศ พบแบคทีเรียและเช้อื ราเกินเกณฑมาตรฐาน ปญหาส่ิงแวดลอมท่ีผลการตรวจวัดไมผานเกณฑมาตรฐานนั้น แผนกผลิตและควบคุมมาตรฐานไดใหขอเสนอแนะเพื่อใหได ดําเนินการแกไขตอไป รายงานประจําป 2561 47 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES การเฝา ระวังโรคทีเ่ ปน อปุ สรรคตอ การปฏบิ ตั ิการทางทหาร พ.อ.หญงิ ดรณุ ี อเุ ทนนาม ร.อ.หญงิ ขวญั อนงค ยงั พะกลู ร.อ.นฤพน คตุ ตะสงิ คี ร.ต.หญงิ มญิ ช ครา มอยู จ.ส.อ.ไชยยะ จนั ทรช ู และ จ.ส.อ.อัศราวุฒิ บุญเชียงมา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร รายงานความกา วหนา โครงการเฝาระวังโรคที่เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติการทางทหาร ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลการเจ็บปวยของ ทหารทป่ี ฏบิ ตั งิ าน ทง้ั ในทต่ี ัง้ ปกติ และตามแนวชายแดนทัง้ 4 กองทพั ภาค อยางตอ เนอ่ื ง เพื่อเปน แนวทางในการเฝา ระวัง ควบคมุ และปอ งกนั โรคในพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารทางทหาร โดยหนว ยทเ่ี ขา รว มโครงการเฝา ระวงั ฯ จะรายงานการเจบ็ ปว ยของกาํ ลงั พล ตามแบบฟอรม สง มาที่ สวพท. เปน ประจําทกุ เดอื น ผลการดําเนนิ งานในปงบประมาณ 2561 ตารางท่ี 1 จํานวนผูปวยรายงานจากหนวยในพน้ื ที่ 3 กองทัพภาค จาํ นวน 10 หนวย ระหวางปงบประมาณ 2560 - 2561 หนวย ปงบประมาณ 2560 (นาย) ปง บประมาณ 2561 (นาย) ทภ.1 - กกล.สุรสีห 30 - กกล.บรู พา 46 159 - กรม.ทพ.12 14 0 - กรม.ทพ.14 994 1,096 - ฉก.ลาดหญา 60 ทภ.2 - กกล.สรุ นารี 229 191 - ฉก.ทพ.26 767 718 ทภ.3 - ฉก.ร.17 123 125 - ช.พนั .4 163 183 - ม.พนั .15 372 346 รวม 2,738 2,818 สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน ในหว งปง บประมาณ 2561 สรปุ รายงานกาํ ลงั พลปว ย 2,818 นาย จาก 10 หนว ยในพนื้ ที่ 3 กองทพั ภาค (ตารางท่ี 1) พบวาโรคทเี่ ปน อุปสรรคตอการปฏิบัตกิ ารทางทหาร ทําใหกําลงั พลตองเขา รับการรักษา หรอื ขอยาจากหนว ยแพทยในพ้นื ที่ มีดังนคี้ ือ ไขหวัด 730 นาย ปวดกระดูกและขอ 453 นาย ไขมาลาเรีย 346 นาย ปวดศรี ษะ 245 นาย โรคกระเพาะอาหาร 209 นาย และความดนั โลหติ สงู 143 นาย (ตารางท่ี 2) พนื้ ท่ี ทภ. 1 โรคทก่ี าํ ลงั พลเจบ็ ปว ยมากทส่ี ดุ 5 ลาํ ดบั แรก คอื ไขห วดั 392 นาย รายงานประจําป 2561 48 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวทิ ยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES ปวดศรี ษะ 145 นาย ความดันโลหิตสงู 113 นาย ปวดกระดูกและขอ 108 นาย และโรคกระเพาะอาหาร 93 นาย ตามลาํ ดบั (แผนภูมิท่ี 1) พนื้ ท่ี ทภ. 2: ไขมาลาเรีย 343 นาย ปวดกระดูกและขอ 244 นาย ไขหวัด 174 นาย โรคผิวหนัง 68 นาย และ ปวดศรี ษะ 52 นาย ตามลําดบั (แผนภูมิท่ี 2) พื้นที่ ทภ. 3 คอื ไขหวัด 164 นาย ปวดกระดกู และขอ 101 นาย โรคกระเพาะ อาหาร 71 นาย ปวดศรี ษะ 48 นาย และความดนั โลหิตสงู 30 นาย ตามลําดับ (แผนภูมทิ ่ี 3) ตารางที่ 2 ขอ มลู การเจบ็ ปว ยของกาํ ลงั พล 10 หนว ย จาก 3 กองทพั ภาค (กกล.บรู พา กรม ทพ.12 กกล.สรุ สหี กรม. ทพ.14 ฉก.ลาดหญา กกล.สรุ นารี กรม.ทพ.26 ฉก.ร.17 ช.พนั 4 และ ม.2 พนั .15) ในปง บประมาณ 2561 ลําดับ โรค/อาการแสดงของโรค จํานวน (นาย) 1 ไขหวัด 730 2 ปวดกระดูกและขอ 453 3 โรคมาลาเรีย 346 4 ปวดศีรษะ 245 5 โรคกระเพาะ 209 6 ความดันโลหิตสูง 143 7 ทอ งรว งเฉียบพลนั 85 8 ผิวหนงั 84 9 ปวดฟน 74 10 แมลงสตั วกดั ตอ ย 61 11 ปวดทอง 56 12 อุบัติเหตุ 50 13 ไขไ มทราบสาเหตุ 41 14 แผลอกั เสบตดิ เช้อื 38 15 อาหารเปน พษิ 33 16 ตบั อกั เสบ 24 17 วัณโรค 19 18 รดิ สีดวง 13 19 ไสเล่อื น 5 20 โรคไต 1 รายงานประจาํ ป 2561 49 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES แผนภูมทิ ี่ 1 ขอ มลู รายงานการเจบ็ ปว ยของกําลังพลกองทพั ภาคท่ี 1 ในปงบประมาณ 2561 *โรคอนื่ ๆ คอื ขอยาเวชกรรมปอ งกัน ปวดกลา มเน้อื เครยี ด แผนภมู ทิ ่ี 2 ขอ มูลรายงานการเจบ็ ปวยของกําลงั พลกองทัพภาคท่ี 2 ในปง บประมาณ 2561 รายงานประจาํ ป 2561 50 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES *โรคอ่นื ๆ คือขอยาเวชกรรมปองกัน โรคเครยี ด แผนภมู ิท่ี 3 ขอ มูลรายงานการเจบ็ ปว ยของกาํ ลงั พลกองทพั ภาคท่ี 3 ในปงบประมาณ 2561 รายงานประจาํ ป 2561 51 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES การเฝาระวังโรคมาลาเรยี สาํ หรับทหารที่ปฏิบตั ิภารกจิ ตามแนวชายแดน พ.อ.หญงิ ดรณุ ี อุเทนนาม ร.อ.หญงิ ขวัญอนงค ยงั พะกูล ร.อ.นฤพน คตุ ตะสิงคี ร.ต.หญิง มิญช ครา มอยู จ.ส.อ.ไชยยะ จนั ทรช ู จ.ส.อ.อศั ราวฒุ ิ บญุ เชยี งมา พ.อ.วฒุ กิ รณ รอดความทกุ ข และ พ.อ.หญงิ จรยิ าณาฏ เกวี สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรการแพทยท หาร ความเปน มา โรคมาลาเรยี เปน ปญ หาสาํ คญั ดา นสาธารณสขุ และยงั คงเปน อปุ สรรคตอ การปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร ตามแนวชายแดน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร ไดดําเนินการเฝาระวังโรคมาลาเรียเชิงรุกใหกับทหารท่ีปฏิบัติภารกิจตาม แนวชายแดน ตง้ั แตป พ.ศ. 2538 เพอื่ ตดิ ตามสถานการณก ารเจบ็ ปว ย เฝา ระวงั เชงิ รกุ และควบคมุ การระบาดของโรคมาลาเรยี ในกําลังพลท่ีปฏิบัติภารกิจในพ้ืนที่ระบาดของโรคมาลาเรียตามแนวชายแดนไทย – เมียนมาร: กกล.สุรสีห กกล.นเรศวร กกล.ผาเมอื ง กกล.เทพสตรี และแนวชายแดนไทย – กมั พชู า: กกล.บรู พา (จว.ส.ก.) กกล.สรุ นารี อยา งตอ เนอ่ื งมาโดยตลอด การดําเนนิ งาน คนหากําลังพลติดเช้ือมาลาเรีย เพ่ือรักษาทันที ตัดวงจรการระบาดของโรคในพ้ืนท่ี โดยทําการเจาะเลือดปลายน้ิว กําลงั พลมาตรวจประเมนิ การตดิ เช้อื มาลาเรียภายใตกลองจลุ ทรรศน ทเี่ ปนวิธตี รวจมาตรฐานขององคก ารอนามยั โลก ทุก 2 - 3 เดือน และติดตามเก็บรวบรวมขอมูลการเจ็บปวยดวยโรคมาลาเรียของกําลังพล จากบันทึกรายงานปวยของหนวยทหาร และของหนว ยงานสาธารณสขุ ในพน้ื ที่ เพอื่ ใหไ ดข อ มลู ครอบคลมุ ทงั้ หมด รวมทง้ั ดาํ เนนิ การอบรมใหค วามรเู กยี่ วกบั โรคมาลาเรยี และการปอ งกันตนเองจากการติดเชอื้ มาลาเรีย สาํ หรบั กําลังพลท่ีจะเขา ปฏบิ ัติภารกจิ ในพืน้ ทรี่ ะบาดของโรค ผลการดําเนนิ งานในปง บประมาณ 2561 คนหากําลังพลติดเชื้อมาลาเรียเชิงรุก (Active surveillance) โดยการตรวจเลือดปลายน้ิวกําลังพล 4 กองทัพ ภาครวมทั้งส้ิน 8,301 นาย ตรวจพบกําลังพลติดเช้ือมาลาเรีย 17 นาย เปนเช้ือพลาสโมเดียมฟลชิปารัม (Plasmodium falciparum: PF) 3 นาย เชือ้ พลาสโมเดียมไวแวกซ (P. vivax: PV) 12 นาย และติดเช้อื รว มทง้ั สองชนดิ (PF+PV) 2 นาย (ตารางท่ี 1) ดําเนินการแจงหนวยตนสังกัดสงรักษาตามสายการสงกลับผูปวยเจ็บ เพื่อลดการแพรระบาดของโรคมาลาเรีย ในพ้นื ที่ ตารางท่ี 1 สรปุ ผลการปฏิบัตงิ านมาลาเรียเชงิ รุก (Active surveillance) ปง บประมาณ 2561 ลาํ ดบั หนว ย ทภ. จํานวนครงั้ ยอดเจาะเลอื ด (นาย) ตดิ เชอื้ (นาย) 1. กกล.สรุ สหี 1 1 225 0 2. กกล.บรู พา 1 1 519 0 3. กปช.จต. 11 609 2 (PV) 4. กกล.สรุ นารี 2 3 5,024 15 (PF 3, PV 10, PF+PV 2) 5. กกล.ผาเมือง 3 2 837 0 6. กกล.นเรศวร 3 1 850 0 7. กกล.เทพสตรี 4 1 237 0 รวม 9 8,301 17 (PF 3, PV 12, PF+PV 2) รายงานประจาํ ป 2561 52 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES แนวชายแดนไทย – กมั พูชา พื้นท่ีกองกําลังสุรนารี (จังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ และจังหวัดอุบลราชธานี) ดําเนินการเจาะเลือดกําลังพลคนหา ผูติดเช้ือเชิงรุก 5,024 นาย ตรวจพบกําลังพลติดเช้ือมาลาเรีย 15 นาย เปนเช้ือพลาสโมเดียมฟลชิปารัม (PF) 3 นาย เชอ้ื พลาสโมเดยี มไวแวกซ (PV) 10 นาย และตดิ เช้ือรว มสองชนดิ (PF+PV) 2 นาย จากการติดตามเก็บขอ มูลผปู วย ตัง้ แต ต.ค.60 ถงึ ก.ย.61 พบกําลงั พลปวยเปน มาลาเรยี 342 นาย เปน เชือ้ พลาสโมเดยี มฟลชปิ ารัม (PF) 32 นาย พลาสโมเดยี ม ไวแวกซ (PV) 295 นาย และติดเชอื้ รว มสองชนิด (PF+PV) 15 นาย คดิ เปน อัตราการติดเช้ือ รอยละ 7.53 เปรยี บเทียบการ ติดเชอ้ื มาลาเรียในพลเรือน พ้ืนที่จงั หวัดศรสี ะเกษ ประชาชนติดเชอ้ื มาลาเรีย 813 ราย เพิ่มขนึ้ จากป 2560 ท่มี ีผปู วยจํานวน 719 ราย ประชาชนจงั หวดั อบุ ลราชธานตี ดิ เชอ้ื มาลาเรยี 448 ราย เพมิ่ ขนึ้ จากป 2560 มผี ปู ว ย 219 ราย อตั ราการตดิ เชอ้ื มาลาเรยี ทัง้ ประเทศคดิ เปนรอ ยละ 0.01 ลดลงจากป 2560 (รอ ยละ 0.14) รายละเอียดตาม (ตารางท่ี 2) และ (แผนภมู ิที่ 1) พ้ืนทกี่ องกําลังบรู พา และกองกาํ ลังปอ งกันชายแดนจนั ทบุรีตราด (กปช.จต.) ดําเนินการเจาะเลือดกําลังพลคนหา ผูติดเช้ือเชิงรุก 519 นาย และ 609 นาย ตามลําดับ พบผูติดเช้ือมาลาเรีย 2 นาย เฉพาะในพ้ืนที่ กปช.จต. เปนเชื้อ พลาสโมเดียมไวแวกซท้ัง 2 นาย และจากการติดตามเก็บขอมูลผูปวยมาลาเรียในพ้ืนที่ กปช.จต. มีรายงานกําลังพลปวย เปนมาลาเรีย 8 นาย เปนเชอื้ พลาสโมเดยี มไวแวกซ ทงั้ หมด ตารางท่ี 2 สถติ ิผูปวยมาลาเรยี ในทหารที่ปฏิบตั งิ านตามแนวชายแดนไทย - กัมพชู า พ้ืนท่ี กกล.สุรนารี หนวย ปงบประมาณ PV PF PV+PF รวม กกล.สุรนารี ป 2558 138 43 104 285 (นาย) ป 2559 60 46 80 186 แผนภูมิท่ี 1 ขอ มูลผปู ว ยปม 2า5ล6า0เรียทหารทปี่ ฎบิ ตั ิง9า5นในพนื้ ท่ีชายแดน28พน้ื ที่ กกล.สรุ นารี (จ1ว9.บรุ ีรัมย จว.สุรนิ ทร 142 จว.ศรสี ะเกปษ 2แ5ล6ะ1จว.อบุ ลราชธาน)ี 2ป9ง5บประมาณ 25523-22561 15 342 1000 900 800 จำนวน ผูปวย (ราย) 700 600 500 400 300 200 100 0 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ปง บประมาณ PV+PF 25 44 8 8 9 31 104 80 19 15 PV 563 891 366 338 479 242 138 60 95 295 PF 211 23 70 55 82 60 43 46 28 32 ** ใชชดุ ตรวจ SD Malaria Ag P.f/Pan ทีแ่ ยกไดเฉพาะติดเชอ้ื PF สว นเชอ้ื ท่ไี มใ ช PF ผลการตรวจคลาดเคล่อื น แผนภูมิที่ 1 ขอมูลผูปวยมาลาเรียในทหารที่ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีชายแดนไทย-กัมพูชา พ้ืนท่ี กกล.สุรนารี (จว.บุรีรัมย จว.สรุ นิ ทร จว.ศรีสะเกษ และจว.อุบลราชธานี) ต้งั แตป ง บประมาณ 2552-2561 รายงานประจาํ ป 2561 53 ANNUAL REPORT 2018
() สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES 300 250 2556 200 150 100 2561 2560 50 0 .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .55 78 144 83 51 38 41 36 61 89 97 31 31 .56 59 221 265 132 63 44 45 44 47 48 29 19 .57 29 68 46 32 7 17 9 38 50 28 8 1 .58 26 65 43 17 11 19 16 9 18 20 22 19 .59 37 41 47 33 15 4 3 0 2 2 2 0 .60 4 8 5 11 5 3 2 21 38 22 18 5 .61 29 22 18 18 13 13 15 32 67 67 27 21 แผนภูมิท่ี 2 สถิติขอมูลผูปวยมาลาเรียในทหารที่ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีชายแดนไทย-กัมพูชา กกล.สุรนารี แผนรายเดอื นตง้ั แตป งบประมาณ 2555-2561 จาก (แผนภมู ทิ ี่ 2) พบผปู ว ยมาลาเรยี ในทหารทปี่ ฏบิ ตั งิ านตามแนวชายแดนไทย-กมั พชู า สงู สองชว งคอื ชว งเดอื น ต.ค.–ธ.ค. และชว งเดอื น ม.ิ ย.–ส.ค. ของทกุ ป ซงึ่ เปน ชว งหลงั จากกาํ ลงั พลผลดั ใหมเ ขา พนื้ ท่ี ซงึ่ กาํ ลงั พลใหมเ หลา นม้ี ภี มู ลิ าํ เนา อาศัยอยนู อกพืน้ ท่เี สี่ยงตอโรคมาลาเรยี แลว เขา มาในพืน้ ที่เส่ียงทม่ี กี ารแพรระบาดของโรค แนวชายแดนไทย – เมยี นมาร ในพน้ื ท่จี งั หวดั เชยี งราย จังหวดั เชยี งใหม จังหวดั แมฮ องสอน จงั หวัดตาก จังหวดั กาญจนบรุ ี จงั หวัดราชบุรี จังหวดั เพชรบรุ ี จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ จังหวดั ระนอง และจังหวัดชมุ พรดาํ เนนิ การเจาะเลอื ดกาํ ลังพลคน หาผูติดเชือ้ เชงิ รุก 2,149 นาย ตรวจไมพ บผูติดเช้อื มาลาเรยี จากการเก็บรวบรวมขอมลู พบการติดเช้ือมาลาเรยี ในกาํ ลงั พล กกล.นเรศวร 6 นาย และ กกล.สุรสหี 4 นาย (ตารางที่ 3) รายงานประจาํ ป 2561 54 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES ตารางที่ 3 สถติ ผิ ปู ว ยมาลาเรยี ในทหารทปี่ ฏิบตั ิงานตามแนวชายแดนไทย–เมียนมาร ตงั้ แตป งบประมาณ 2558-2561 หนว ย ปง บประมาณ PV PF PV+PF รวม กกล.นเรศวร ป 2558 5 2 0 7 (ราย) ป 2559 2 2 0 4 ป 2560 4 0 0 4 ป 2561 5 1 0 6 กกล.สุรสีห ป 2558 0 1 0 1 (ราย) ป 2559 0 0 0 0 ป 2560 0 0 1 1 ป 2561 3 1 0 4 สรปุ ผลการดาํ เนินงาน โรคมาลาเรียในพน้ื ทีช่ ายแดนไทย-กัมพชู า ยงั คงกอปญ หาตอปฏิบัตกิ ารทางทหาร ผลการดาํ เนนิ งานเจาะเลอื ด คน หากําลังพลตดิ เชื้อมาลาเรียเชิงรกุ ยงั พบผตู ิดเชือ้ ตลอดหว งเวลาที่เฝา ระวงั สว นแนวชายแดนไทย-เมียนมาร ไมพ บผตู ดิ เชื้อ แตก็ยังดําเนินการเฝาระวังตอไป พรอมกับดําเนินการอบรมใหความรูคําแนะนําการปองกันตนเอง และการควบคุมโรค แกห นว ยทหารในพื้นท่ี ทาํ การฝกอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร เพมิ่ ขดี ความสามารถการใชชุดตรวจมาลาเรียเรงดวน และการรกั ษา มาลาเรีย ใหกับนายสิบเสนารักษในพื้นที่หางไกลทุรกันดารเขาถึงลําบาก ที่มีการแพรระบาดของเชื้อมาลาเรียสูง พรอมท้ัง สนับสนุนชุดเจาะเลือด ชุดตรวจมาลาเรียเรงดวน ยารักษา ใหนายสิบเสนารักษสามารถทําการเจาะเลือดปลายน้ิวตรวจ การตดิ เชอ้ื มาลาเรยี และใหก ารรกั ษาไดร ะดบั หนง่ึ กอ นจะดาํ เนนิ การสง ตอ ผปู ว ยเขา รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลเพอื่ ควบคมุ โรค และลดอตั ราการสญู เสยี ของกําลงั พล รายงานประจําป 2561 55 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES การเฝา ระวงั โรคมาลาเรยี เชงิ รกุ ในพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารทางทหารบรเิ วณชายแดนไทย– เมียนมาร และ ไทย–กมั พชู า ปง บประมาณ 2560 ร.ท.นฤพน คตุ ตะสงิ คี พ.ท.หญงิ สชุ ชนา แทบประสทิ ธิ์ ร.อ.หญงิ ขวญั อนงค ยงั พะกลู จ.ส.อ.ไชยยะ จนั ทรช ู จ.ส.อ.อศั ราวุฒิ บุญเชยี งมา และ พ.อ.หญงิ นธิ ินาถ ชายทวีป แผนกระบาดวิทยา กองวิจยั สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรการแพทยทหาร บทคดั ยอ ความเปนมา: ไขมาลาเรียเปนปญหาทางดานสาธารณสุขท่ีสําคัญสําหรับทหาร ตํารวจตระเวนชายแดน และทหารพราน ทปี่ ฏบิ ตั ภิ ารกจิ บรเิ วณแนวชายแดน ท้งั ดานชายแดนไทย–เมยี นมาร และ ไทย–กัมพูชา วตั ถุประสงค: เพอื่ ติดตามสถานการณก ารเจ็บปวยดวยโรคมาลาเรยี เชิงรกุ ควบคมุ การระบาดของโรคมาลาเรียในกําลังพล ทป่ี ฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในพน้ื ทร่ี ะบาดของโรคตามแนวชายแดนไทย-เมยี นมาร และชายแดนไทย – กมั พชู า สรา งขวญั กาํ ลงั ใจกบั กาํ ลงั พลทีป่ ฏิบตั ิงานในพื้นทห่ี า งไกล และทรุ กนั ดาร การดําเนินงาน: คนหากําลังพลที่ติดเช้ือมาลาเรียเชิงรุก ทุก 3–4 เดือน โดยตรวจหาเช้ือมาลาเรียจากฟลมเลือดปลายนิ้ว แบบหนาที่ยอมดวยสียิมซาผานกลองจุลทรรศน (WHO standard microscopic method) เมื่อพบผูติดเช้ือ จะใหยารักษา มาลาเรียทนั ที เพอื่ ตัดวงจรระบาดของโรคมาลาเรียในพน้ื ท่ี ผลการดําเนินงาน: ชายแดนไทย–กัมพูชา ในพ้ืนที่ จว.สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ตรวจเลือดคนหากําลังพล ติดเชอื้ มาลาเรียเชงิ รกุ 6,465 ราย พบผตู ดิ เชอื้ 18 ราย เปน เชอื้ ฟล ซปิ ารมั 7 ราย เชอื้ ไวแวกซ 11 ราย การเกบ็ ขอ มลู รายงานผปู ว ย ในหว งปง บประมาณ 2560 พบกาํ ลงั พลปว ยเปนมาลาเรยี 142 ราย เปน เช้ือฟลซปิ ารัม 28 ราย เชือ้ ไวแวกซ 95 ราย ตดิ เชือ้ ท้ังสองชนิด 19 ราย เปรยี บเทยี บกับการติดเชื้อมาลาเรียในพลเรอื น จว.ศรีสะเกษ 719 ราย (ป 2559 มีผปู ว ย 271 ราย) และ จว.อุบลราชธานี มีผตู ดิ เชอื้ มาลาเรยี จาํ นวน 219 ราย (ป 2559 มผี ปู ว ย 699 ราย) ดา นชายแดนไทย–เมยี นมาร ในพน้ื ที่ กกล.นเรศวร กกล.สรุ สหี และ กกล.เทพสตรี ตรวจเลือดคนหากําลังพลท้ังหมด 1,572 ราย ตรวจพบการติดเช้ือมาลาเรีย รอ ยละ 0.25 สรุปผลการดําเนินงาน: โรคมาลาเรียในพ้ืนที่ชายแดนไทย–กัมพูชา ยังคงเปนปญหากับการปฏิบัติการทางทหาร จากการดาํ เนนิ การเจาะเลอื ดตรวจหาเชอื้ มาลาเรยี ยงั พบผตู ดิ เชอ้ื ตลอดหว งเวลาทเ่ี ฝา ระวงั สว นแนวชายแดนไทย–เมยี นมาร ไมพบวา มีปญ หาจากการไมพบผูตดิ เช้อื แตก็ยังดําเนนิ การเฝา ระวังตอไป คาํ สําคัญ: มาลาเรีย การเฝาระวังโรค ชายแดนไทย–เมียนมาร ชายแดนไทย–กัมพูชา นาํ เสนอโปสเตอร ในการประชมุ วชิ าการพระมงกฎุ เกลา ครง้ั ท่ี 45 กรงุ เทพมหานคร ระหวา งวนั ที่ 20 – 22 พฤศจกิ ายน 2560 รายงานประจาํ ป 2561 56 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES การสํารวจสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของกําลังพลกองทัพบกในเขต กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ประจาํ ป 2561 พอฤทยั กฤตกิ านารา ลาวลั ย เอนกฤทธ์ิ สกุ ญั ญา ลาภโต พมิ ลรตั น สนธิ สาํ เนยี ง ศรโี พธิ์ สชุ าดา พมุ ไชย กรวัฒน สีใส กลวยไม ศรวี ิไลย ชลดิ า แวงวรรณ นติ ิยา อศั วิกุล อรรถสทิ ธ์ิ ประดิษฐพ รกูล คณุ ากร คณา และ ดวงพร พูลสขุ สมบตั ิ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร รายงานความกาวหนา แผนกชีวเคมี กองวิเคราะห สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร ไดดําเนินงานโครงการบริการตรวจสุขภาพ ประจําปกําลังพลกองทัพบก ณ ที่ตั้งหนวย ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ปงบประมาณ 2561 ซึ่งมีกําลังพลท่ีเขารับ การตรวจสุขภาพประจําป จํานวน 15,894 นาย สวนใหญเปนเพศชาย (รอยละ 79.8) และมีอายุเฉล่ีย 42.0 ป โดยแบงกลุม อายุตั้งแต 35 ปข้ึนไปรอยละ 68.5 และอายุนอยกวา 35 ปรอยละ 31.5 ขอมูลจากผลการตรวจรางกายท่ัวไปพบวา กําลังพลมีปญหาภาวะอวนลงพุง (เสนรอบเอวชาย ≥ 90 ซม., หญิง ≥ 80 ซม.) รอยละ 41.1 ภาวะอวน (ดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก./ตร.ม.) รอยละ 43.4 และระดับความดันโลหิตสูง (≥ 140/90 มม.ปรอท) รอยละ 14.8 เมื่อวิเคราะหเปรียบเทียบแบงตามเพศพบวา กําลังพลชายจะพบปญหาภาวะอวนและมีระดับความ ดันโลหิตสูงมากกวาในกําลังพลหญิง (ภาพที่ 1) รอยละ ภาพท่ี 1 รอ ยละของปญหาสุขภาพจากการตรวจรางกายทั่วไปจาํ แนกตามเพศ สาํ หรบั ผลการตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารของกาํ ลงั พลทม่ี อี ายตุ ง้ั แต 35 ปข น้ึ ไป พบปญ หาทเี่ ปน ปจ จยั เสย่ี งทาํ ใหเ กดิ โรค ไมต ดิ ตอ เรอื้ รงั ทส่ี าํ คญั เชน โรคไขมนั ในเลอื ดสงู โรคเบาหวาน เปน ตน โดยปญ หาทพ่ี บมากเรยี งตามลาํ ดบั ความชกุ คอื ระดบั ไขมนั Total Cholesterol ในเลอื ดสงู (≥ 200 มก./ดล.) รอ ยละ 63.0, ระดบั ไขมนั Triglyceride ในเลอื ดสงู (≥ 150 มก./ดล.) รอ ย ละ 39.4 และระดบั นา้ํ ตาลในเลอื ดสงู (≥ 126 มก./ดล.) รอ ยละ 10.2 ซง่ึ ปญ หาดงั กลา วสว นใหญจ ะพบในกาํ ลงั พลชายมากกวา กาํ ลงั หญงิ (ภาพที่ 2) รายงานประจาํ ป 2561 57 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES ระดบั นํ้าตาลในเลอื ด >126 mg/dL ระดบั Triglyceride ในเลือด >150 mg/dL ระดบั Cholesterol ในเลือด >200 mg/dL ภาพท่ี 2 รอ ยละของระดับไขมันและนาํ้ ตาลในเลือดทีผ่ ิดปกตจิ ากการตรวจทางหองปฏิบัติการจาํ แนกตามเพศ ผลการสาํ รวจพฤตกิ รรมเสย่ี งทางสุขภาพของกําลังพลกองทัพบกช้ีใหเห็นวา กําลังพล รอ ยละ 29.1 มกี ารออกกาํ ลัง กายยงั ไมถ งึ เกณฑม าตรฐาน (นอ ยกวา 150 นาที ตอ สปั ดาห) สบู บหุ ร่ี รอ ยละ 26.9 และบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลเ ปน ประจาํ รอ ยละ 2.8 (ภาพท่ี 3) ดม่ื เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอลเ ปนประจํา สูบบุหรี่ ออกกาํ ลงั กายนอยกวา 150 นาที ตอ สัปดาห ภาพท่ี 3 รอยละพฤติกรรมเสย่ี งทางสุขภาพของกําลงั กองทพั บก จากขอมูลขางตนสรุปไดวา ปญหาสุขภาพที่สําคัญที่สุดของกําลังพลกองทัพบก คือ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ รองลงมาไดแ ก ภาวะอว นลงพงุ ภาวะอว น มคี วามดนั โลหติ สงู และเบาหวาน ตามลาํ ดบั ซง่ึ ในขน้ั ตน ไดใ หค าํ แนะนาํ สาํ หรบั การ ปฏบิ ตั ิตนเพื่อลดปจจัย/พฤติกรรมเสยี่ ง ตลอดจนวิธกี ารปอ งกนั โรคตา ง ๆ ท่มี แี นวโนมจะเกิดขนึ้ ไดใ นเอกสารการรายงานผล ตรวจสขุ ภาพประจาํ ปข องกาํ ลงั พลเปน รายบคุ คลแลว อยา งไรกต็ ามผบู งั คบั บญั ชาควรใหค วามสาํ คญั เรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพของ กาํ ลงั พล โดยการจดั กจิ กรรมสรา งเสรมิ สขุ ภาพ เชน การรณรงค ลด ละ เลกิ บหุ ร-่ี สรุ า และสง เสรมิ การออกกาํ ลงั กาย เปน ตน เพือ่ ใหกําลงั พลกองทพั บกมสี ุขภาพดีและมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ีข้ึน รายงานประจาํ ป 2561 58 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES โครงการเฝา ระวงั โรคทเ่ี ปน อปุ สรรคตอ การปฏบิ ตั กิ ารทางทหารปง บประมาณ2560 อศั ราวุธ บญุ เชียงมา นฤพน คุตตะสงิ คี ไชยยะ จนั ทรช ู สุจิตรา สขุ วทิ ย และ นิธินาถ ชายทวีป แผนกระบาดวิทยา กองวิจัย สถาบันวจิ ัยวทิ ยาศาสตรการแพทยท หาร บทคดั ยอ ความเปนมา: เมื่อเขาพ้ืนท่ีปฏิบัติการทางทหาร กําลังพลทหารตองมีสภาวะรางกายที่สมบูรณแข็งแรงพรอมปฏิบัติหนาที่ การเจ็บปวยดวยโรคท่ีไมไดเกิดจากการสูรบเปนอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจของกําลังพล ฐานขอมูลโรคท่ีเกิดกับทหารใน พน้ื ที่ปฏบิ ัตกิ ารมีความสําคญั ในการวางแผนเตรยี มการทางการแพทยไ ดอยา งเหมาะสมในแตล ะพื้นท่ี วัตถุประสงค: เพ่อื รวบรวมขอมลู โรคทีเ่ กดิ กบั ทหาร เมือ่ เขา ไปปฏบิ ตั หิ นา ที่ในพน้ื ทป่ี ฏิบตั ิการ การดําเนนิ งาน: หนว ยทหารในพ้นื ที่ บนั ทึกรายงานการเจบ็ ปว ย ในแบบรายงาน 01 ทแี่ จง จาํ นวนทหารปวยดวยโรคสําคญั 32 รายการ แบบรายงาน 02 แจงรายช่ือทหารท่ีปวยดว ยโรคตามแบบรายงาน 01 และ แบบรายงาน 03 แจงรายชอื่ เฉพาะ ทหารทป่ี ว ยดว ยโรคไขม าลาเรยี สง ขอ มลู ตามแบบรายงานทงั้ สามเปน ประจาํ ทกุ เดอื น มายงั สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทย ทหาร เพ่อื วเิ คราะหผ ล ผลการดาํ เนนิ งาน: ปงบประมาณ 2560 ในพื้นท่ีกองทพั ภาคท่ี 1 จากรายงานการเจบ็ ปว ยของกําลังพล กกล.สรุ สหี กกล. บูรพา ฉก.จงอางศกึ ฉก.ลาดหญา กรม.ทพ.12 และ กรม.ทพ.14 พบวา อาการปว ย 5 ลาํ ดับแรก คอื ไขห วดั ปวดศรีษะ ความดนั โลหิตสงู ปวดกระดกู และขอ โรคกระเพาะอาหาร ตามลําดับ ในพนื้ ทกี่ องทัพภาคท่ี 2 รายงานจาก ฉก.กรม.ทพ.26 และ กกล.สุรนารี พบวา อาการโรคท่ีพบมาก 5 ลําดับ คือ ปวดกระดูกและขอ ไขหวัด ผิวหนัง มาลาเรีย และปวดศรีษะ ตามลาํ ดับ ในพ้นื ทกี่ องทพั ภาคที่ 3 รายงานจาก ช.พัน.4 ฉก.ร.17 ม.พนั .15 และ รพ.คา ยเม็งรายมหาราช พบวา อาการโรค ที่พบมาก 5 ลําดับ คือ ไขหวัด ปวดกระดูกและขอ โรคกระเพาะอาหาร ปวดศรีษะและความดันโลหิตสูง ตามลําดับ และ ในพน้ื ท่กี องทพั ภาคที่ 4 จากรายงานของกรม ทพ.46 พบวา อาการโรคที่พบมาก 5 ลําดบั คือ ไขห วดั ปวดพัน ปวดทอง ปวดกระดกู และขอ และโรคกระเพาะอาหารตามลาํ ดับ สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน: สรปุ ขอ มลู การเจบ็ ปว ยของกาํ ลงั พลทอ่ี อกปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในพน้ื ที่ 4 กองทพั ภาคในหว งปง บประมาณ 2560 แยกได 4 กลมุ อาการโรค คอื โรคเก่ยี วกบั การติดเชอ้ื โรคเกี่ยวกบั กระดูกและขอ โรคหวั ใจและหลอดเลือด และโรคระบบ ทางเดินอาหาร แตก็ยังพบโรคติดตอรายแรง คือ วณั โรค คําสาํ คัญ: การเฝาระวังโรค อุปสรรค ปฏิบัตกิ ารทางทหาร นาํ เสนอโปสเตอร ในการประชมุ วิชาการพระมงกฎุ เกลา ครงั้ ที่ 45 กรุงเทพมหานคร ระหวา งวนั ท่ี 20 – 22 พฤศจกิ ายน 2560 รายงานประจาํ ป 2561 59 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES งานบรกิ ารตรวจวนิ จิ ฉยั โรคตดิ เชอ้ื รคิ เคท็ เซยี ดว ยวธิ ีIndirectImmunofluorescence Assay (IFA) แผนกพยาธวิ ทิ ยา กองวจิ ยั สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร พ.ท.หญิง สุชชนา แทบประสทิ ธ์ิ ร.อ.หญงิ มณรี ัตน สมศรี จ.ส.อ.วีระ บญุ โสม จ.ส.อ.เกยี รติศกั ด์ิ สมศรี ชนกนรรณ ทมิ ใหผล พ.อ.วุฒกิ รณ รอดความทุกข และ พ.อ.หญิง จรยิ าณาฏ เกวี สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร รายงานความกาวหนา แผนกพยาธิวิทยา กองวิจัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร มีภารกิจในการศึกษาวิจัยโรคติดเชื้อที่เปน อปุ สรรคตอการปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร และความมั่นคงแหง ชาติ โดยดําเนินการศึกษาวิจยั โรคตดิ เช้อื รคิ เคท็ เซยี พัฒนาเทคนคิ การตรวจวินิจฉัยโรคตดิ เชอื้ ริคเค็ทเซยี ดว ยวิธีตรวจระดับภูมติ อบสนองตอ เช้ือกอโรครคิ เค็ทเซยี ในนํา้ เหลอื ง แลว นาํ ผลงาน วิจัยพัฒนาน้ีมาใหบริการรับตรวจวินิจฉัยโรคติดเช้ือริคเค็ทเซียใหกับผูปวยโรคไขจากโรงพยาบาลทหาร หนวยงานภายนอก ทง้ั ภาครฐั และเอกชน การตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารสาํ หรบั โรคตดิ เชอื้ รคิ เคท็ เซยี มคี วามสาํ คญั ในการวนิ จิ ฉยั โรค เนอื่ งจากอาการ ของโรคจะคลา ยกบั โรคไขไ มท ราบสาเหตอุ นื่ ๆ อาทิ ไขม าลาเรยี ไขฉ ห่ี นู และไขเ ลอื ดออก เปน ตน อกี ทง้ั หนว ยงานทม่ี ขี ดี ความ สามารถในการตรวจวนิ จิ ฉยั โรคตดิ เชอื้ รคิ เคท็ เซยี ในประเทศไทยยงั มนี อ ยมาก โรคตดิ เชอ้ื รคิ เคท็ เซยี สามารถรกั ษาใหห ายขาด ไดดวยยาปฏิชีวนะกลุมเตทตราไซคลิน แตหากไมไดรับการรักษาผูติดเช้ืออาจมีอาการแทรกซอน เปนอันตรายถึงแกชีวิต การตรวจวินิจฉัยโรคที่ถูกตอง และรวดเร็วทําใหผูปวยไดรับการรักษาดวยยาปฏิชีวนะท่ีถูกตอง ทันเวลา หองปฏิบัติการ โรคตดิ เช้อื รคิ เค็ทเซยี แผนกพยาธิวทิ ยา กองวจิ ัย เปนหอ งปฏบิ ัติการน้าํ เหลืองวิทยา ใหบ ริการตรวจระดับภมู ติ อบสนองชนิด Immunoglobulin M และ Immunoglobulin G ตอ เชอื้ แบคทเี รยี กอ โรคสครบั ไทฟส (Scrub typhus) ทตี่ ดิ ตอ สคู นโดยมตี วั ไรออ น (Chiggers) เปน พาหะ (Mite–borne Rickettsiosis) โรคมิวรีนไทฟส (Murine typhus) ซ่งึ มหี มัดเปน พาหะนาํ โรค (Flea–borne Rickettsiosis) และโรคทิคไทฟส (Tick typhus) ท่เี ห็บเปนพาหะนาํ โรคมาสูคน (Tick–borne Rickettsiosis) โดยใชเ ทคนิค Indirect Immunofluorescence Assay (IFA) ทไี่ ดร ับการรบั รองมาตรฐาน ISO 15189: 2007 และISO15190: 2003 จากสาํ นัก มาตรฐานหอ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ หมายเลขทะเบยี น 4147/2557 ตง้ั แตว นั ท่ี 5 มถิ นุ ายน 2557 และผานการตรวจรับรองตออายุจนถงึ วนั ท่ี 22 สงิ หาคม 2563 ผลการดําเนินงาน ในปง บประมาณ 2561 หองปฏบิ ตั ิการโรคตดิ เชอ้ื รคิ เค็ทเซยี ไดร ับส่ิงสง ตรวจ 5,184 ตวั อยาง ตรวจพบการติดเชือ้ โรคสครบั ไทฟส รอ ยละ 4.32 (244/5,184) มวิ รีนไทฟส รอยละ 0.93 (48/5,184) แตไ มพ บการติดเชอื้ ทคิ ไทฟส (Cut-off Titer ≥ 1:400) ผูต ดิ เชอ้ื สครับไทฟสสวนใหญมภี มู ิลาํ เนากระจายอยูทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย ในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ตามลาํ ดับ รายงานประจาํ ป 2561 60 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES งานเฝา ตรวจคุณภาพนา้ํ ในที่ตงั้ หนว ยทหาร 2561 สมรรถ ปรีกลาง มนัสวี ทองศฤงคลี วิระ ทองพุม มานพ ภูยินดี ปยาภัสร ยังรอด คุณากร คณา และ ดวงพร พูลสขุ สมบตั ิ สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร รายงานความกา วหนา น้ําเปนปจจัยหนึ่งท่ีสําคัญสําหรับการดํารงชีวิต มนุษยใชน้ําท้ังการอุปโภคและบริโภค การที่มนุษยไดใชนํ้าสะอาด ปราศจากเชื้อโรค และสารพิษจึงเปนปจจัยที่ชวยสงเสริมสุขภาพใหรางกายแข็งแรง และปราศจากโรคตางๆ สถาบันวิจัย วทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร โดยแผนกผลติ และควบคมุ มาตรฐาน กองวเิ คราะหเ ลง็ เหน็ ความสาํ คญั นี้ จงึ ดาํ เนนิ งานเฝา ตรวจ คุณภาพนาํ้ ในทต่ี ้งั หนว ยทหารทกุ ป เพอ่ื ใหก ําลังพลกองทพั บก และครอบครวั ไดมนี า้ํ อปุ โภค – บรโิ ภคท่สี ะอาด ถกู สขุ อนามยั เปน การสง เสรมิ สขุ ภาพของกาํ ลงั พลใหแ ขง็ แรง นอกจากนยี้ งั ทาํ การตรวจวดั คณุ ภาพนาํ้ เสยี – นาํ้ ทงิ้ ของโรงพยาบาลทหารบก เพื่อใหนํ้าเสีย – นํ้าท้ิงหลังผานระบบบําบัดน้ําเสียของโรงพยาบาลอยูในเกณฑมาตรฐาน กอนปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ ม ในวงรอบป 2560 แผนกผลติ และควบคมุ มาตรฐานทาํ การเฝา ตรวจคณุ ภาพนาํ้ ในทต่ี ง้ั หนว ยทหาร พน้ื ทกี่ องทพั ภาคท่ี 2 โดยทาํ การสาํ รวจ และเกบ็ ตวั อยา งนาํ้ ทงั้ นาํ้ อปุ โภค – บรโิ ภค และ นาํ้ เสยี – นาํ้ ทง้ิ เพอ่ื นาํ มาตรวจวเิ คราะหค ณุ ภาพนา้ํ จาก หนวยทหาร โรงพยาบาลคา ยทหาร และหนวยทหารสว นกลางในพื้นทก่ี องทัพภาคท่ี 2 รวม 11 จงั หวดั ไดแ ก จว.รอยเอด็ จว.บรุ รี ัมย จว.ยโสธร จว.นครราชสมี า จว.ศรีสะเกษ จว.สรุ ินทร จว.อบุ ลราชธานี จว.นครพนม จว.สกลนคร จว.อดุ รธานี และ จว.ขอนแกน รวมหนวยรบั การสนบั สนนุ ตรวจวิเคราะหค ุณภาพน้าํ ทั้งส้นิ 95 หนวย จํานวนตัวอยา งนา้ํ 304 ตัวอยา ง แบง เปน นาํ้ อปุ โภค – บรโิ ภค 259 ตวั อยา ง และนา้ํ เสยี – นา้ํ ทง้ิ 45 ตวั อยา ง ผลการวเิ คราะหค ณุ ภาพนา้ํ อปุ โภค – บรโิ ภคเปรยี บเทยี บกบั คามาตรฐานของนํา้ อุปโภค บรโิ ภคและนํ้าประปาหรือน้ําบาดาลท่บี รโิ ภคได ของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม (มอก.257) และมาตรฐานคณุ ภาพนา้ํ ในแหลง นา้ํ ผวิ ดนิ ตามประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ มแหง ชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2538) สาํ หรบั ผลการวิเคราะหค ุณภาพนํ้าเสีย – น้าํ ท้ิงเปรยี บเทียบกบั คา มาตรฐานควบคมุ การระบายน้ําทง้ิ จากอาคารประเภท ก. ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม เร่อื ง กําหนดมาตรฐานควบคมุ การระบาย นา้ํ ทงิ้ จากอาคารบางประเภท และบางขนาดตามประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม 22 ตอน 125 ง หนา 4 ลงวนั ที่ 29 ธนั วาคม 2548 ผลการตรวจวิเคราะหคณุ ภาพนาํ้ พบวา นํ้าอุปโภค – บริโภค อยใู นเกณฑม าตรฐาน 188 ตัวอยา ง คิดเปน รอยละ 72.6 ไมอ ยใู นเกณฑม าตรฐาน 71 ตวั อยา ง คดิ เปน รอ ยละ 27.4 ปญ หาทพ่ี บ คอื สี และความขนุ ของนา้ํ ไมผ า นเกณฑม าตรฐาน พบโคลฟิ อรม แบคทเี รยี ในบางตวั อยา ง และคา คลอรนี อสิ ระในนา้ํ ประปาตาํ่ กวา เกณฑม าตรฐาน สว นนาํ้ ทง้ิ หลงั ผา นระบบบาํ บดั น้ําเสยี ของโรงพยาบาลคา ยฯ ผานเกณฑมาตรฐานทั้งหมด จากการสํารวจพื้นที่พบวา หนวยทหารบางหนวยไมมรี ะบบการจัดการดแู ลเครื่องกรองนา้ํ ตามวงรอบ ซึง่ อาจสงผล ใหคณุ ภาพนาํ้ ไมผานเกณฑมาตรฐาน แผนกผลิตและควบคุมมาตรฐานจึงใหค ําแนะนําในการดูแลรกั ษา และการใชงานทีถ่ ูก วธิ ขี องเครอื่ งกรองนาํ้ ในเบอื้ งตน สว นของตวั อยา งนาํ้ ทผี่ ลการตรวจวเิ คราะหไ มผ า นเกณฑม าตรฐานไดใ หข อ เสนอแนะในการ ปรบั ปรงุ แกไขแกหนวยเวชกรรมปอ งกันในพนื้ ท่ี นอกจากน้ียงั ใหก ารสนับสนุนการตรวจติดตามหลังทําการแกไขอีกดว ย รายงานประจําป 2561 61 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Active Surveillance for Vectors and Reservoirs of Rickettsiosis and Scrub Typhus in Kut Island, Gulf of Thailand Jariyanart Gaywee1, Kevin R. Maculaso2, Allan L Richards3, Maneerat Somsri1, Kamonwan Siriwatthanakul1, Chanakan Suwanbongkot2, Boonyawee Amradee1, Yuthapong Suksawas1, Veera Boonsom1, Kiatisak Somsri1, Nopadol Sangjun1 and Wuttikon Rodkvamtook1 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok 10400, Thailand 2Vector-borne Disease Laboratory, Department of Pathological Science, School of Veterinary Medicine, Louisiana State University, Baton Rouge, Louisiana, USA 3Ricketstial Diseases Department, Naval Medical Research Center, Silver Spring, Maryland, USA ABSTRACT Rickettsiosis and scrub typhus are major febrile illnesses in Thailand. To effectively control the diseases, information of their transmission is essential. An active surveillance for agents causing rickettsioses and scrub typhus was conducted on Kut Island, a popular tourist destination, as well an important military position. Twelve locations on Kut Island and the shore district were surveyed using rodent trapping and arthropod collection in February 2018. A total of 44 arthropod pools were collected from dogs and captured rodents. The collected arthropods included two species of ticks (Rhipicephalus sanguineus, and Haemaphysalis sp.), one species of flea, louse and mite (Ctenocephalides felis orientis, Heterodoxus spinigerum, Echinolaelaps echidninus). Using 17 kDa qPCR and species-specific qPCR, rickettsiae were detected in 23% (10/44) of arthropod specimens composed of four tick, five flea and a mite pools, respectively. Rickettsia asemboensis were identified in 7 of 10 Rickettsia positive tick, flea, and mite pools. Total 27 rodents were captured and using IFA and Rickettsia-Orientia duplex PCR, 16% (6/27) of rodent sera reacted to O. tsutsugamushi, and 8% (3/27) were positive for rickettsiae. No O. tsutsugamushi DNA was detected in either arthropod or rodent samples. Our preliminary findings suggest a potential risk of human exposure to agents of rickettsiosis and scrub typhus in these areas. Local administrators and health authorities were notified to establish the community specific disease prevention strategy via a fact sheet with information providing, health education to raise self-awareness, use of insect repellent and maintaining a clean household. 29th Meeting of American Society for Rickettsiology (ASR), Milwaukee, Wisconsin, USA, 16–19 June 2018, (Poster presentation) รายงานประจาํ ป 2561 62 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Coordinated Royal Thai Army-US Army and Thailand Ministry of Public Health Civilian-Military Response to a Malaria Outbreak in Northeast Thailand Sutchana Tabprasit Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Royal Thai Army, Bangkok, Thailand ABSTRACT Background/Objectives: The Armed Forces Research Institute of Medical Sciences (AFRIMS) is a unified US and Royal Thai Army Research Institute created to mitigate the threat of malaria and other militarily relevant infectious diseases. In 2017, Thailand’s Ministry of Public Health (MoPH) reported an outbreak of malaria infection in Sisaket Province, along the Thai-Cambodia border. From April - October 2017, 713 cases and six deaths were reported. Since the Thai military is especially prevalent in Sisaket province, the MoPH requested assistance from both Royal Thai Army (RTA) and US AFRIMS to coordinate a civilianmilitary efforts in the outbreak response. We report here the results of this trilateral Thai MoPH, RTA and US AFRIMS effort. Methodology: Within six weeks, the RTA-AFRIMS deployed a team to receive training and formulated a civilianmilitary response plan centering on two key efforts. First malaria transmission would be interrupted through aggressive active case detection (ACD). Second, both US and RTA AFRIMS would assist by executing a “1-3-7” approach in which malaria cases are reported within 1 day, confirmed and investigated within 3 days and successful responded to within 7 days. Results: Confirmed malaria cases were treated by directly-observed treatment and followed up to check for malaria recurrence of malaria infection. Malaria cases were followed for up to 90 days to ensure cure. Vector control measures such as the distribution of repellent and insecticide spraying and distribution of insecticide treated nets (ITNs) were executed. To our knowledge, this is the first report of a combined US-Thai Military-Thai Civilian malaria outbreak response. Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17–21 September 2018, (Oral presentation) รายงานประจําป 2561 63 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES DNA Sequence Analysis and Modified Isolation Technique of Leptospira weilii from Soil Sample Sangjun Noppadon*, Komanee Pat, Sudsavart Yuttapong, Eza Anuparp, Ruengnarong Pisit, Morakotjaratring Mana, Pooyindee Manop, Saha Anusorn, Krairojananan Panadda and Pulsuksombuti Duangporn Armed Forces Research Institute of Medical Sciences ABSTRACT Introduction: Leptospirosis is worldwide zoonotic diseases which caused by pathogenic leptospires. Humans become infected via exposure to pathogenic Leptospira spp. from contact with water or soil contaminated with urine of shedding animals. However, the isolation of leptospires from the environment was usually unsuccessful due to the overgrowth of contaminants and the slow growth of Leptospira. Then, modified leptospires isolation techniques were carried out to enhance the growth of this organism. Method: In 2014-2015, the collection of environmental samples was performed in three sites, rice field of Army veterinary school demonstration, rice field of Chulachomklao Royal Millitary Academy (CRMA) demonstration; Nakornnayok province and one Soccer field, Bangkok. The tubes containing soil samples, 30 ml of sterile water was added, followed by mixing. Both water and soil mixture samples were kept in a vertical position for 1 day to allow the sediments to settle. Then, 2 x 1.0 ml of supernatant from each sample was filtered by 0.45-μm-pore-size membrane filter, and centrifuged, discarded 0.7 ml of each supernatant , mixed the rest and inoculated to EMJH medium with 5-fluorouracil followed by incubation at 30°C. The tubes were observed daily average 5 to 14 days. The leptospire cultures were filtered by 0.2-μm-pore-size membrane filter, and the filtrates were added to new tubes containing 5.0 ml of fresh EMJH medium. The final leptospire cultures were analyzed by real-time PCR and DNA sequencing. Sequencing data of each isolates was trimmed and edited to get the clean sequence data analyzed using SequencherTM v5.0 software. The 16S ribosomal RNA sequence references of Leptospira were retrieved from NCBI and analyzed simul- taneously with sequences derived from isolates. Sequence alignment and the construction of phylogenetic trees were performed using MEGA version 5.0. Neighbor-joining trees were constructed from 16S ribosomal RNA sequences using Kimura’s two-parameter model. Result: Total of 132 samples were collected from three sites. The organism which showed thin helical structures with prominent hooked ends and characteristic motility, were found under dark- field microscopy in the cultures of 11 samples. The real-time PCR product revealed 11 non-patho- genic leptospires. Finally, the DNA sequencing showed 10 non-pathogenic and 1 intermediate leptospires. Leptospira weilii was intermediate leptospires which isolated from soil sample in Soccer field, Bangkok. Conclusion: This technique assisted to reduce contaminant and get more purified leptospies to further identified by molecular techniques. This method is powerful technique for isolation and identification of leptospires from samples collected from environment. Keywords: Leptospira weilii, DNA sequence analysis, isolation, soil 45th PMK 2017, 22-24 Nov 2017, Poster presentation รายงานประจําป 2561 64 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Drug Abuse Surveillance in Military Conscripts During FY 2011 - 2018 Darunee Utennam, Sumalee Phajan, Jirawat Muangkhompat, Arthist Sangsawang, Wankamon Thongnual, Pornkasem Raksaken, Khunakorn Kana and Duangporn Phulsuksombati Armed Forces Research Institute of Medical Sciences PROGRESS REPORT Drug abuse is a national security threat that affects the health of drug users, either physically or mentally. It also has a profound effect to the families and society. It is a cause of crime, national security undermining, economic loss as well as a hindrance to national development. As the Royal Thai Army (RTA)’s awareness to this problem increased, the RTA began to regularly issue regulations, orders and directions regarding the prevention and suppression of drug abuse in the RTA. RTA order 94/2524 items 3.10 states that “physical examination and urinalysis of any personnel and civilians living in the RTA area will be performed regularly as necessary. New recruits will have urine samples checked within a month of arrival to new installation. Those found with positive results will be transferred to the medic immediately”. The Armed Forces Research Institute of Medical Sciences has been assigned by the RTA Medical Department to be the principal unit to perform drug analysis of all types. This mission has been carried out since 1988 to survey for the spread of drug in army installations by collection of urine samples from army personnel. Samples are analyzed for methamphetamine, cannabis, and morphine and its derivatives. Graph showing percentage of narcotic drugs detected in military conscripts during FY 2011 – 2018 The urine analysis for drugs was screened by using immunochromatography from a total of 3,682 samples and confirmed by gas chromatography/mass spectrometry (GC/MS). The positive results rates were 1.5 % for methamphetamine, 3.2 % for cannabis and 0.03% for morphine and its derivatives. Drug abuse surveillance in year 2018 revealed that a trend of the use of methamphetamine cannabis and morphine were decreased as seen from the result in the year 2017. รายงานประจาํ ป 2561 65 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Enhancing Challenge and Solution in Royal Thai Army Syndromic Surveillance for Global Health Notification Detection Jariyanart Gaywee1, Tippa Wongstitwilairoong2, Saranath Lawpoolsri Niyom2, Ngamphol Soonthornworasiri2, Jaranit Kaewkungwal2 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Royal Thai Army, Thailand; 2Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University, Thailand ABSTRACT Early outbreak notification is critical for effective disease control. To monitor disease outbreak along difficult to reach border areas, the Royal Thai Army (RTA) has established a semi-realtime syndromic surveillance system named United Based Surveillance (UBS) since 2009. Medical information of both civilian and military personnel in Thai-Cambodian and Thai-Myanmar border areas has been regularly received. However, the method to effectively detect outbreak notification was challenged due to the limited baseline information in such areas. Here, we describes and compares the capabilities of various outbreak detection algorithms to generate alert notifications using 37,043 unique syndromic daily reports from UBS. The mean plus two SD of traditional epidemic detection method was compared with 5 algorithms for early notification included regression, regression/EWMA/Poisson, CDC-C1, CDC-C2 and CDC-C3. Among 12 symptom categories recorded of UBS, only the most top three reported symptoms as respiratory (11,501), fever (9,549) and gastrointestinal illnesses (4,498) were analyzed for outbreak alert. The regression/EWMA/ Poisson method demonstrated higher specificity across all 3 symptoms (94.5%, 94.7% and 95.9%, respectively), but generated lower sensitivity. The CDC-C1, CDC-C2 and CDC-C3 algorithms showed acceptable high sensitivity with easy to understand and their widely used advantage. Within the syndromic surveillance data of RTA, the CDC algorithm revealed the best chosen to enhance outbreak detection notification for UBS. This shift brings new opportunities to select notification using advanced techniques that able to capture early health threats posing a significant risk to the population Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17 –21 September 2018, (Poster presentation) รายงานประจาํ ป 2561 66 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES First Report of Rickettsia asembonensis Causing Febrile Disease in Phatthalung Province, 2017 Wuttikon Rodkvamtook, Watcharee Yokanit, Maneerat Somsri, Sutchana Tabprasit, Kiatisak Somsri, Veera Boonsom, Chanoknun Thimhaipol, Boonyawee Amradee and Jariyanart Gaywee Armed Forces Research Institute of Medical Sciences ABSTRACT Background: A cluster of febrile patients has been reported in Pattulung province, southern Thailand since 2016. Serological and realtime PCR indicated infections of rickettsiae and scrub typhus. To effectively control the outbreak, investigation of pathogen specific species as well as transmission cycle is crucial. Objective: To identify the causative agents of rickettsiosis outbreak in Patthalung province. Methodoly: Patients presenting with high fever, headache, muscle pain, myalgia and skin rashes in Patthalung province have been monitoring. Blood specimens were tested for rickettsiosis using IFA serology and Rickettsia 17 kDa PCR followed by DNA sequence analysis. Results: One hundred and forty three blood samples of febrile patients were received during 2017. Serological test showed negative antibodies against Rickettsia typhi and R. honei antigens. Rickettsia 17 kDa were detected in 10 samples (7.0%). DNA sequence analysis demonstrated flea-borne Rickettsia species were responsible for these febrile illnesses as R. asembonensis (6/10), R. typhi (3/10) and R. felis (1/10). Our investigation is the first report of R. asembonensis infections in human. Conclusion: Flea-borne rickettsiosis are transmitted through contaminated feces of flea during its biting. An effective disease control suggests disrupting transmission by elimination of flea vector. Health education, use of insect repellent and maintaining a clean household are also recommended. Keyword: Flea-borne rickettsioses, Rickettsia asembonensis, Thailand 45th Phramongkutklao Hospital conference 2018, Tough and Teach medicine, 20–22 Nov 2018, (Poster presentation) รายงานประจาํ ป 2561 67 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES GIS Mapping of Rickettsiosis Patients Diagnosed at Armed for CES Research Institute of Medical Sciences, Thailand During Fiscal Year 2008 - 2017 Kiatisak Somsri, Sutchana Tabprasit, Maneerat Somsri, Veera Boonsom, Chanoknun Thimhaipol, Wuttikon Rodkvamtook and Jariyanart Gaywee Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Royal Thai Army, Bangkok, Thailand ABSTRACT Rickettsiosis, arthropod-borne febrile illnesses remain health problem in Thailand, not only in civilian but also in military troops. Precise laboratory result is required for diagnosis and cure of disease. To response this problem, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences (AFRIMS) has established serological laboratory to diagnose rickettsial infection by Indirect Immunofluoresence Assay (IFA). Diagnosis for scrub typhus, murine typhus and tick typhus were routinely conducted using in-house produced crude cell antigens of Orientia tsutsugamushi, Rickettsia typhi and R. honei, TT118. AFRIMS rickettsial laboratory has been accredited for National ISO15189 and ISO15190 since 2014 and also served as regional reference laboratory appointed to WHO Collaborating Center. During October 2007 to September 2017, total 38,527 febrile patient sera were received to screen for rickettsial infection using IFA at 1:50 dilution and further tested for final seropositive titer with the cut-off titer ≥ 1:400. Scrub typhus infection was detected 5.46% (2,102/38,527) of febrile patient samples, while 1.92% (741/38,527) and 0.04% (17/38,527) were diagnosed murine typhus and tick typhus, respectively. Using Geographic Information System, laboratory results were analyzed with geographical locations of patient or infection foci to create GIS map of rickettsiosis cases. The data from this study demonstrated epidemic areas of rickettsiosis in Thailand. These findings are essential for health authorities to effectively strengthen area specific disease prevention and control strategy. Keyword: Rickettsiosis, IFA, Serodiagnosis, GIS map Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17 – 21 September 2018, (Oral presentation) รายงานประจําป 2561 68 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Identification of Novel Factor H Binding Proteins of Pathogenic Leptospira for Development of Leptospirosis Vaccine Kanitha Patarakul1, Tanapat Palaga1, Alain Jacquet1, Teerasit Techawiwaanaboon1, Noppadon Sangjun2, Pat Komanee2, Yuttapong Sudsavart2, Anuparb Eza2, Pisit Ruengnarong2 and Anusorn Saha2 1Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand 2Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand ABSTRACT Background: Leptospirosis, caused by a spirochete called Leptospira interrogans, is a zoonosis with worldwide distribution including Thailand. Currently available vaccines for animals are killed whole cell vaccines. Limitations of this type of vaccine are inducing short-term immunity, failure to cross – protect against heterologous serovars, and causing several adverse reactions. Leptospirosis vaccine with higher potency and less side effects is required for humans especially for high-risk group. Subunit vaccines containing leptospiral outer membrane proteins (OMPs) have been tested in animal models. However, none has shown complete protection without target organ involvement. In contrast to saprophytic leptospires, pathogenic Leptospira is able to survive in complement serum. One major mechanism of complement resistance is mediated by interaction between factor H bind- ing proteins (fHbps) on pathogenic leptospires and host factor H leading to inhibition of membrane-attack complex formation and complement killing. Previous studies identified several OMPs as fHbps. Our project aimed to use four fHbps including LigA domain 7-13, LenA, LcpA and Lsa23 of Leptospira interrogans serovar Pomona as a multiple subunit vaccine and evaluate its protective efficacy in hamsters. Materials and methods: The naïve Golden Syrian hamsters were immunized with the subunit vaccines three times at two-week intervals and the specific antibody titers were measured by ELISA. Result: We found that the multiple subunit vaccine consisting of LigA domain 7-13, LenA, LcpA, and Lsa23 in the presence of LMQ adjuvant injected via subcutaneous route was able to induce antibody production only against LigA and LenA. Hamsters immunized with the multiple subunit vaccine and LMQ adjuvant via subcutaneous injection could survive up to 60% following challenge by 20XLD50 of low-passage Leptospira serovar Pomona. However, survival of the hamsters immunized with this formulation did not further increase compared to those immunized with LigA domain 7-13 alone. In addition, no significant difference in pathology of target organs including kidney, liver, and lung between hamsters administered with four antigens and LigA alone. How- ever, LMQ adjuvant significantly enhanced antibody titer and protective effect of the multiple subunit vaccine compared to that of alum adjuvant. Conclusion: Our data suggested that although the multiple subunit vaccine containing four fHbps (LigA domain 7-13, LenA, LcpA, and Lsa23) were able to induce specific antibodies against only LigA and LenA, it conferred partial protection against Leptospira serovar Pomona in hamster model. However, the protective effect should be mainly due to LigA domain 7-13 component. Keyword: Factor H binding proteins, Hamster, Vaccine รายงานประจาํ ป 2561 69 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Immunogenicity of Multicomponent Vaccines Containing Lepto- spiral Factor H-binding Proteins in Hamsters Kanitha Patarakul1,3, Noppadon Sangjun2, Pat Komanee2, Teerasit Techawiwaanaboon1,3, Christophe Barnier-Quer4, Tanapat Palaga5, Alain Jacquet3,6, Prayoon Lae-ngee3, Wanwisa Sudsamai1,3, and Kiat Ruxrungtham3,6 1Department of Microbiology, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University 2Armed Force Research Institute of Medical Sciences (AFRIMS) 3Chula Vaccine Research Center (Chula VRC), Chulalongkorn University 4Vaccine Formulation Laboratory, Department of Biochemistry, University of Lausanne, Switzerland 5Department of Microbiology, Faculty of Science, Chulalongkorn University 6Department of Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University ABSTRACT Background: Leptospirosis vaccine with a higher potency is currently required for humans especially for high-risk population. Several factor H-binding proteins (FHBPs) responsible for complement resistance have been characterized in pathogenic leptospires. We aimed to determine the protective efficacy of multicomponent vaccines consisting of 4 FHBPs; LigA domain 7-13, LenA, LcpA, and Lsa23; in hamsters. Objective: To develop and test the efficacy of factor H-binding proteins of pathogenic Leptospira for immunization and prevention of Leptospirosis in hamsters. Methodology: Each four-week old hamster was immunized subcutaneously with combined four recombinant FHBPs using 2 different adjuvants, either LMQ or alum, for three times at 2-week intervals. Specific antibodies against each vaccine antigen at 1 week after the last immunization were measured by enzyme-linked immunosorbent assay. Results: We found that only LigA domain 7-13 and LenA were able to induce specfic antibody production. Antibody levels against LigA domain 7-3 and LenA were significantly higher in hamsters immunized with the vaccine formulation containing LMQ than in those immunized with the alum-adjuvanted vaccine. However, antibody titers against LcpA and Lsa23 were not signficantly higher than those in the adjuvant control group. Conclusion: The multicomponent vaccines composed of 4 FHBPs with either LMQ or alum induced antibody production against only two vaccine antigens, LigA domain 7-13 and LenA. Therefore, immunogenicity of LcpA and Lsa23 needs to be enhanced for use in the vaccine formulation in the future. Keyword: Leptospirosis, Vaccine, factor H-binding proteins Asia Pacific Military Health Exchange 2018 (APMHE 2018). 17–21 September 2018, Wyndham Grand Hotel, Xi’An, China. (Oral presentation) รายงานประจําป 2561 70 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Investigation on Knowledge, Awareness and Personal Protective Equipment Use of Lead Exposure Among Workers in Communica- tion Radio-Repair Plant Manasawee Thongsringklee1,2,3, Athasit Praditpornkul1, Samut Preeklang1, Vira Thongpum1, Duangporn Phulsuksombati1, Mark Robson4, and Wattasit Siriwong2,3 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Royal Thai Army Medical Department, Thailand. 2College of Public Health Sciences, Chulalongkorn University, Thailand. 3Center for Risk Analysis and Health Surveillance for Thai Population (C-RAHS), Chulalongkorn University, Thailand. 4School of Environmental and Biological Sciences, Rutgers University, United States of America ABSTRACT Background: Lead is one of the highly poisonous metals. It can be exposed into human body by eating, inhalation and skin contact. Exposure to lead can cause a variety of health problems. The communication radio – repair workers use lead for soldering in their job. Many reports showed that lack of knowledge, awareness and practice of personal protective equipment use (KAP) can cause of lead poisoning. However, there is no study of KAP of lead exposure in these workers before. Therefore, this study aimed to investigate on KAP of lead exposure among workers in Communi- cation radio-repair plant of Signal Department Royal Thai Army. Method: The cross-sectional study design including a total of 120 male workers after recruiting by inclusion and exclusion criteria was used in this research study. There were 67 communication radio-repair workers in exposed group. On the other hand, the 53 workers of low exposed group were the person who work as a clerk inside the same plant. Walk through survey and data collection by a researcher-developed questionnaire were used for this investigation. The measurement ques- tionnaire including general characteristics and KAP of lead exposure. The total scores of individual for KAP were 5, 12, and 10, respectively. The data were analyzed by using descriptive statistics, independent t-test, Mann-Whitney U test, and chi-squared tests. Result: Mean age of the exposed group was 36.8±10.1 years old and that of the low exposed group was 41.5±10.7 years old (P-value = 0.015). As for work experience, 19.4% of exposed group and 37.7% of low exposed group have worked here more than 20 years (P-value = 0.065). Regarding education level, over 50% of both groups graduated more than high school (P-value = 0.293). In terms of KAP of lead exposure, the median KAP scores (% score) of exposed group were 1 (30.75%), 8 (69.9%), and 2 (25.37%) and the median KAP scores (% score) of low exposed group were 1 (25.28%), 9 (70.13%), and 2 (19.62%). However, the results of the Mann-Whitney U test demon- strated that there were no significant difference between both groups (P-value = 0.164, 0.626, and 0.164, respectively). Conclusion and Discussion: The findings of this study revealed that KAP scores of lead exposure of both groups were not different. Although the mean awareness scores of both groups were high the mean knowledge and practice of PPE use scores were every low. Therefore, lead poisoning protection program that consists of increasing in KAP of lead exposure should be used as a guide- line especially for the communication radio-repair workers in this plant. International conference in Kyoto 2017, 2017, 6 – 7 June 2017, Kyoto, Japan (Poster presentation) รายงานประจาํ ป 2561 71 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Low Lead Exposure and Health Effects Among Workers in Communication Radio-Repair Plant Manasawee Thongsringklee1,2,3, Athasit Praditpornkul1, Samut Preeklang1, Vira Thongpum1, Duangporn Phulsuksom- bati1, Mark Robson4, and Wattasit Siriwong2,3 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Royal Thai Army Medical Department, Thailand. 2College of Public Health Sciences, Chulalongkorn University, Thailand. 3Center for Risk Analysis and Health Surveillance for Thai Population (C-RAHS), Chulalongkorn University, Thailand. 4School of Environmental and Biological Sciences, Rutgers University, United States of America ABSTRACT Background: Prolonged occupational low-lead exposure can cause many adverse health effects. Communication radio-repair workers routinely use lead for soldering. Therefore, this study aims to investigate the occupational health effects of lead exposure among workers in Communication radio-repair plant of Signal Department Royal Thai Army. Methods: A cross-sectional study design was used in this study. There were 67 repairmen in exposed group and low exposed group were 53 clerks working in the same plant building. The structured-questionnaire including general characteristics and 14 signs and symptoms of lead exposure were used for face to face interview. Blood samples were collected for measuring lead concentrations and assessing anemia, hepatic function, and kidney function. Descriptive statistics, independent t-test, chi-squared test, and logistic regression were used in this study. Results: Average age (±SD) of the exposed group was 36.81±10.04 years and another group was 41.49±10.63 years (P-value = 0.013). For working hour, the exposed group was 6 hrs/day (38.8%) and another group was 8 hrs/day (60.4%) (P-value = 0.032). Mean blood lead levels (BLLs) of the exposed group and low exposed group were 2.5±1.5 µg/dl and 1.3±1.1 µg/dl, respectively (P-value = 0.000). Five signs and symptoms including loss of appetite, nausea and vomit, excessive tiredness and weakness, nervous irritability, and muscle and joint pain were significant difference between two groups (P-value = 0.041, 0.042, 0.004, 0.004, and 0.000, respectively). And, there was the significant association between BLLs and those 5 signs and symptoms of lead exposure between two groups (P-value = 0.006, 0.045, 0.038, 0.047, and 0.035, respectively). Conclusions: The mean of age and working hour of low exposed group were higher than exposed group but the mean BLL of exposed group was higher. The findings revealed that there were exist- ing adverse effects of low lead levels on the workers working in the same plant building. ISEE/ES - AC 2018, 2018, 21–25 June 2018, Taipei, Taiwan (Oral presentation) รายงานประจาํ ป 2561 72 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Military Health Responses in Malaria Outbreak at Sisaket Province, Thailand Nithinart Chaitaveep, Sutchana Tabprasit, Jariyanart Gaywee, Thippawan Chuenchitra and Peerapol Pokpong Armed Forces Research Institute of Medical Sciences (AFRIMS) ABSTRACT Background: the Bureau of Vector Borne Disease (BVBD), Ministry of Public Health, Thailand, reported the outbreak malaria infection at Sisaket province, Northeastern Thailand, along the Thai- Cambodia border from April to October 2017. During this time, 713 malaria cases and 6 deaths were reported. Due to the urgency of the situation, an emergency response operation was quickly launched. A considerable proportion of cases appeared to originate among Royal Thai Army (RTA) personnel. The BVBD asked for cooperation from military operations in that area, where there were high risk populations and a dramatic increase in malaria cases, especially, Plasmodium vivax (Pv) cases. Methods: Research Division at Armed Forces Research Institute of Medical Sciences (AFRIMS), RTA conducted periodic malaria surveillance in RTA personnel at Suranaree Force, where malaria infections were reported within the army troops. A total of 158 cases were reported in 2016 and 142 cases in 2017. As part of malaria outbreak response team, AFRIMS RTA utilized the 1-3-7 formula. This formula is part of the malaria elimination model of RTA staff, included; improved case management, whereby medical personnel immediately notify a malaria case on the first day, directly observed medications and follow up to check for the recurrence of malaria infections. Plasmodium falciparum (Pf) cases were followed up on days 3, 7, 28, 60, and Pv cases were followed up on days 14, 28, 60 and 90. Other activities included: monitoring the quality control of diagnosis and treatment, case investigation to locate the source of infection and active case detection (ACD) among high risk populations. Vector control measures were also put in place, such as the distribution of repellent and insecticide treated nets (ITNs) for personal protection, as well as spraying of insecticide in hotspot areas. Importantly, these activities will continue until malaria infections among RTA personnel deployed in the operations area are eliminated. Conclusions: Active malaria surveillance among army troops should be continued. This will provide critical and valuable information to assist with malaria control within this population and provide an opportunity to evaluate the efficacy of the anti malarial drugs currently being used. Effective malaria surveillance and malaria control programs are essential to achieve the national goal of malaria elimination. The 5th Great Wall International Military Medicine Forum 2018, Beijing, China, 22–26 March 2018, (Oral presentation) รายงานประจําป 2561 73 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Molecular Detection of Scrub Typhus Patient From Eschar Swab Maneerat Somsri, Wuttikon Rodkvamtook, Sutchana Tabprasit, Kiatisak Somsri, Weera Boonsom, Chanoknun Thimhaipol and Jariyanart Gaywee Armed Forces Research Institute of Medical Sciences ABSTRACT Background: Scrub typhus is a disease caused by an obligate intracellular gram negative bacterium, Orientia tsutsugamushi. This disease transmitted by infected trombiculid chigger mite. The main clinical signs include high fever, skin rashes, headache, myalgia and eschar lesion at the site of chigger bite. Diagnosis of scrub typhus with symptoms only is difficult because its symptoms are similar to other acute febrile illnesses, laboratory test is required. Here, we reported laboratory diagnosis of a febrile patient admitted to Phangnga general hospital. Objective: To study various types of specimen that can use for detection of scrub typhus infection. Methodology: Specimens of a patient presenting high fever, severe headache, myalgia and lesion of insect bite similar to eschar were submitted to Rickettsial Laboratory, AFRIMS in Bangkok. EDTA whole blood was centrifuged to separate plasma and cell portion. Dry eschar lesion swab packed in sterile zip bag during shipment was unpacked and soaked in 200 µL of sterile PBS. DNAs were extracted from whole blood and supernatant of soaked eschar swab. Nested PCR was performed to detect Orientia tsutsugamushi specific gene, 56 kDa in patient’s blood and eschar swab. Plasma was tested for antibodies against O. tsutsugamushi using indirect immunofluorescence assay (IFA). Results: Using IFA, patient’s serum showed significant IgM and IgG antibodies against O. tsutsugamushi. Orientia genus specific gene, 56 kDa was detected in both blood and eschar extraction. Sequence analysis demonstrated O. tsutsugamushi strain UT196 responsible for this illness. Conclusion: This study reported different specimens can be used for diagnosis of scrub typhus. 45th Phramongkutklao Hospital conference 2018, Tough and Teach medicine, 20–22 November 2018. (Poster presentation) รายงานประจําป 2561 74 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Nationwide Seroprevalence of Leptospirosis Among Young Thai Men, 2007-2008 Siriphan Gonwong1, Thippawan Chuenchitra2, Khantapura Patchariya1, Dilara Islam1, Nattaya Ruamsap, Brett E Swierczewski1, Carl J Mason1 1Department of Enteric Diseases, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. 2Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. ABSTRACT Leptospirosis, a global neglected zoonotic disease, is an important public health problem inThailand. Nonspecific symptoms, lack of laboratory confirmation, and underreporting contribute to its neglected disease status. To better understand the distribution of leptospirosis exposure in Thailand, a retrospective leptospirosis seroprevalence study was conducted on repository serum specimens obtained from young Thai men entering the Royal Thai Army during 2007-2008. The overall nationwide leptospirosis IgG seroprevalence among these young Thai men was 28% (95% confidence interval = 26-30%) and the range by province was 10-52% confirming leptospirosis as an endemic disease throughout Thailand. Seroprevalence was highest in individuals with the lowest education from rural areas, and higher seroprevalence was found in the north and south regions contrary to current morbidity reports. Improvement in reporting and surveillance as well as better access to leptospirosis diagnostics will increase leptospirosis awareness and detection and enable more effective public health interventions. Publication: Am J Trop Med Hyg. 2017 Dec; 97(6):1682–1685 รายงานประจําป 2561 75 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Prevalence of Infectious Diseases of Military Importance Among Military Personnel Deployed in The Three Southern Provinces of Thailand Nithinart Chaitaveep1, Sutchana Tabprasit1, Narupon Kuttasingkee1, Kamonwan Siriwatthanakul1, Aussarawut Boonchiangmar1, Sayan Sawatsri2 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, 2Pharmongkutklao Hospital ABSTRACT Background: The three southern most provinces of Thailand are the conflict areas leading to difficulty access in medical services. Moreover, people and military operations are still at risk of infectious diseases in that area. These things make the medical personnel who concern its importance in health care. The major infectious diseases have allowed medical intelligence to alert individuals to prevent and control infections. Objective: To study sero-prevalence ricketsial and chikungunya and malaria infections in military operations in three most provinces, Thailand Methods: 655 blood samples were collected from soldiers of 12 military operations in three most provinces as well as answer the questionnaire. 655 samples were utilized malaria infection by real time PCR whereas sero-prevalence of ricketsial and chikungunya infections by IFA and ELISA, respectively. Results: All of the military soldiers were 21-57 years old and average 35 years of age. The most education was 52% (341/655) the upper secondary level as well as the Bachelor degree was only 12% (85/655). The majority of soldiers are domiciled in the South 62% (407/655), followed by the Northeast 17% (114/655), the North (13%) and the Central Region 7% (43/655), respectively. The soldiers have ever been infected with malaria 3.4% (7/205) in Pattani, 14.2% (29/204) in Narathiwat and 12.2% (30/245) in Yala. Malaria infection was detected in 2 soldiers of specific ranger unit 49 where located at Srisakorn temple, Narathiwat and 1 police of the Police Border Patrol 44 at Than to district, Yala. The study of risk behaviors regarded to malaria infection. The guardian base and patrol were the high risk activities against malaria infection, p-values 0.03 and 0.05, respectively and also the use of chemical bed nets can significantly prevent malaria and chikungunya infection p-value 0.02 and 0.05, respectively. Moreover, the prevalence of rickettsial immune responses showed the levels of IgG to scrub typhus 1.4% (9/655) and murine typhus 1.8% (12/655). All of rickettsial infections were only found IgG 3.2% (21/655). The vectors such as flea, tick and chigger population were significantly related to rickettsial infection in the three southern most provinces, Thailand, p-value 0.04. Moreover, chikungunya immune responses were importantly elicited the overall 34% (228/655) including the IgG 29% (189/655), IgM 3.5% (23/655) and both IgG and IgM was 2.4% (16/655). Conclusions: Surveillance of infectious diseases continues to be important information in that area for prevention and control. Interestingly, vector borne diseases are still in public health problems which show the chance of exposure leading to predictions of future outbreak. 45th Phramongkutklao Hospital conference 2018, Tough and Teach medicine, 20–22 November 2018. (Poster presentation) รายงานประจําป 2561 76 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Production of Recombinant 56-kDa Protein Antigens From Orientia tsutsugamushi Strains Spreading in Thailand Maneerat Somsri1*, Wuttikon Rodkvamtook1, Charin Thawornkuno2, Sutchana Tabprasit1, Kiatisak Somsri1 and Jariyanart Gaywee1 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Royal Thai Army, Bangkok, Thailand 2Department of Molecular Tropical Medicine and Genetics, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University, Bangkok, Thialand ABSTRACT Scrub typhus, a mite-borne febrile illness caused by Orientia tsutsugamushi remains the important health problem for Thai military. Precise laboratory diagnosis is essential to provide sufficient cure for this disease. Serological diagnostic methods currently used are limited due to the difficult production of crude bacterial cell antigen. To overcome this problem, we aimed to produce the recombinant protein antigen of O. tsutsugamushi. DNA fragments of 1731bp size encoding truncated 56 kDa, major outer membrane protein of 4 O. tsutsugamushi strains, Karp, Gilliam, TA716 and CM13 were amplified by PCR and subsequently cloned into the expression vector, pET28a. Insertion plasmids were transformed into Escherichia coli, BL21(DE3) and induced by Isopropyl-D-thiogalactopyranoside (IPTG). The expressed 56-kDa recombinant proteins showed as inclusion bodies were refolded and purified on a Ni2+ chromatography column. Western blot analysis demonstrated the newly produced recombinant 56-kDa proteins were reacted against antibodies of O. tsutsugamushi, Karp, Gilliam, TA716 and CM13 strains. The recombinant 56 kDa proteins were successfully produced available for developing a simple, rapid diagnostic tool for scrub typhus in the near future. Keywords: Scrub typhus, Orientia tsutsugamushi, Recombinant 56-kDa protein antigens Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17 – 21 September 2018, (Oral presentation) รายงานประจาํ ป 2561 77 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Rickettsia asembonensis Causing Febrile Disease in Southern Thailand, 2016-2018 Wuttikon Rodkvamtook1, Songkiat Pholpetch2, Watcharee Yokanit1, Amornphan Thongphun2, Maneerat Somsri1, Kiatisak Somsri1, Veera Boonsom1, Chanoknun Thimhaipol1, Kamonwan Siriwatthanakul1, Boonyawee Amradee1, Nathee Rathchakitprakan2 and Jariyanart Gaywee1 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok 10400, Thailand 2Bangkaew Hospital, Phatthalung Province 93140, Thailand ABSTRACT A cluster of febrile patients has been reported in Phatthalung province, southern Thailand since December 2015. Serological and real-time PCR indicated infections of rickettsiae and scrub typhus. To effectively control the outbreak, investigation of pathogen specific species as well as transmission cycle is essential. Patients presenting with high fever, headache, muscle pain, myalgia and skin rashes in Patthalung province have been monitoring. Blood specimens were tested for rickettsiosis using IFA serology and Rickettsia 17 kDa PCR followed by DNA sequence analysis. During April 2016 – February 2018, total 328 blood samples of febrile patients were received. IFA serological test revealed 7.6 % (35/328) of patients had seroconversion to Orientia tsutsugamushi. Rickettsia 17 kDa and Orientia 56 kDa were detected in 4.0% (13/328) and 12.2% (40/328) of samples, respectively. DNA sequence analysis demonstrated flea-borne Rickettsia species, R. asembonensis, R. typhi and R. felis were responsible for rickettsiosis. Survey of reservoir hosts and arthropod vectors were performed in outbreak areas to investigate for the disease transmission cycle. Leptotrombidium chiggers infested on captured scrub typhus seropositive rodents were found in patients’ villages. The presence of captured scrub typhus seropositive rodents infested with Leptotrombidium sp. Chiggers and Ctenocephalides felis orientis fleas infected with R. asembonensis in patients’ villages suggested high risk areas for infection. Health education to raise self-awareness, use of insect repellent and maintaining a clean household are also recommended in this community. 29th Meeting of American Society for Rickettsiology (ASR), Milwaukee, Wisconsin, USA, 16–19 June 2018, (Poster presentation) รายงานประจําป 2561 78 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Royal Ellagic Acid Inhibits HIV-1 Infection in Vitro: Potential Role as a Novel Microbicide Aornrutai Promsong1, Thippawan Chuenchitra2, Krongkan Saipin2, Supinya Tewtrakul2,4, Pharkphoom Panichayupakaranant3,4, Surada Satthakarn5 and Wipawee Nittayananta6 1Faculty of Medicine, Princess of Naradhiwas University, Narathiwat, Thailand. 2Research Division, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. 3Department of Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Prince of Songkla University, HatYai, Thailand. 4Excellent Research laboratory, Phytomedicine and Pharmaceutical Biotechnology Excellence Center, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Prince of Songkla University, HatYai, Thailand. 5Department of Medical Technology, School of Allied Health Sciences, University of Phayao, Phayao, Thailand. 6Faculty of Dentistry, Thammasat University, Pathumthani, Thailand. ABSTRACT Objective: To investigate the in vitro effects of ellagic acid on HIV-1 replication. Methods: Anti-HIV-1 activity of ellagic acid was determined in vitro using X4-tropic HIV-1 tropic pBaL Env-recombinant virus. Anti-HIV-1NPO3 activity of ellagic acid was investigated at a multiplicity of infection (MOI) of 0.01. Anti-HIV-1 integrase and protease activities of ellagic acid were tested using in vitro integration and proteolytic cleavage assays. Results: Ellagic acid, added before or either after HIV-1NPO3 exposure, suppressed replication of the virus in C8166 cells up to 34%. Ellagic acid showed an anti-integrase IC50 of 8.7 um. No cytotoxicity of ellagic acid at concentrations ranging from 12.5 to 100 M was observed. Conclusion: We conclude that ellagic acid can inhibit HIV-1 infection without cytotoxicity. Thus, it may be a new effective agent that has potential to be developed as a novel microbicide against HIV-1. Publication: Oral Dis. 2018 Mar; 24(1-2):249-252. รายงานประจาํ ป 2561 79 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรก ารแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Royal Thai Army Respiratory Disease Surveillance Network Along The Border Regions of Thailand: Collaborative Network for Global Health Security Thippawan Chuenchitra1, Ladaporn Bodhidatta2, Narongrid Sirisopana1, Chirapa Eamsila1, Nuanpan Khemnu2, Tippa Wongstitwilairoong3, Jariyanart Gaywee1, Ellison W Damon3, John P Maza4 and Louis R Macareo3 1Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. 2Department of Enteric Diseases, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. 3Department of Virology, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. 4Department of Epidemiology and Disease Surveillance, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand. ABSTRACT Background: The potential for pandemic respiratory diseases such as influenza to threaten the health and economy of the Asian Pacific Region is well recognized. However, impact is not limited to the region but also the world with the potential spread to other nations and regions. For this reason, Armed Forces Research Institute of Medical Sciences (AFRIMS) has collaborated with the US Department of Defense Global Emerging Infection Surveillance (GEIS) since 2007 to 2013 Surveillance along the border regions of Thailand was continued in 2017 in an effort to determine the seasonal and regional etiology of respiratory diseases, to enhance outbreak response capability, and to establish collection of clinical samples in a network of 7 hospitals located in rural areas near the Myanmar, Laos, and Cambodia. Methodology: Beginning in 2017, we enrolled patients presenting influenza like illnesses (ILI) (history of fever and cough or sore throat or rhinorrhea) are consented and enrolled. Respiratory samples are collected and sent to AFRIMS in Bangkok for influenza genotyping using singleplex real time RT-PCR and in some cases multiplex real time RT-PCR using FTDRP21 Results: From February 20147 to February 2018, 569 patients were enrolled from 7 hospitals. To date, 137 (23%) were tested positive for influenza virus. (25) A/H1pdm09, (62) A/H3N2, (48) B, and 2 Co-infected with A/H3N2 and B. Detection of other respiratory pathogens in 64 samples revealed 39 (60.9%) were positive for other viruses the most prevalent being Rhinovirus (20.3%). Conclusion: A respiratory surveillance network consisting of 7 hospitals near the Myanmar, Laos, and Cambodia borders with Thailand has been established and is operational. The network provides a comprehensive picture of the disease burden along these borders and the ability to detect and respond to emerging diseases including influenza. Our collaboration is leading to enhance public health responsiveness and greater Global health security. Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17 – 21 September 2018, (Oral presentation) รายงานประจาํ ป 2561 80 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวทิ ยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Serovars Survey of Leptospirosis in Royal Thai Army, Military Working Dogs Duangporn Phulsuksombati, Noppadon Sangjun, Yuttapong Sudsavart, Anuparb Eza, Pisit Ruengnarong, Anusorn Saha and Pat Komanee Armed Forces Research Institute of Medical Sciences, Bangkok, Thailand ABSTRACT Background: Military Working Dog (MWD) is one of the military forces in many countries which play vital roles in many critical situations. They work closely with their handlers in any battlefields. Physically, they may share some illness from particular diseases such as tick-borne diseases, rabies and even Leptospirosis. In Thailand, leptospirosis is one of the most important diseases which frequently has outbreaks throughout the year especially in rainy season. There is a lack of updated data about immunity against Leptospira spp. among Royal Thai Army, MWD. Materials and methods: Thirty four blood samples were collected from dogs deployed in Royal Thai Army, Military Dog Center and Military Dog Battalion in Nakhon Ratchasima Province, Thailand. The samples were submitted for Microscopic Agglutination Test (MAT) against 24 serovars of Leptospira spp.to determine the antibody titer. Result: The seroprevalence is 47% for Leptospira spp. titer. The most predominant prevalence of the serovar that found positive for titer is Leptospira serovar Ranarum (56.25%), the second is Leptospira serovar Shermani (43.75%), and the third are Leptospira serovar Canicola and Leptospira serovar Bratislava (27.5%) Conclusion: From the test results, the serovar of Leptospira titers with positive result do not cor- relate to the serovar being used in Leptospirosis vaccine. Basically, the RTA Military Dogs would be fully immunized by the proper canine core vaccine which include Leptospira bacterin before being deployed to the duty. The current vaccine consists of Leptospira serovars L.canicola, L.grippotyphosa, L.pamona and L.icterohemorrhagiae which may not correlate with local strains found in this study. This implies that Leptospira serovars consisted in Leptospirosis vaccine do not coverage to endemic strains and their titers are not able to protect from the disease infection. There- fore, the further study about Leptospira seroprevalence in RTA Military Dogs should be continued and vaccine measure should be considered. Keywords: Military working dogs, Leptospirosis, Survey, Serovar, Microscopic agglutination test 1st ASEAN Military Medicine Conferenc (1st AMMC). 18–21 February 2018, Melia Hotel, Yangon, Myanmar. (Poster presentation) Asia Pacific Military Health Exchange 2018(APMHE2018). 17–21 September 2018, Wyndham Grand Hotel, Xi’An, China. (Oral presntation) รายงานประจําป 2561 81 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตรการแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Thai Fever Risk Map: The Online Medical Warning Tool for Arthropod-Borne Diseases in Thailand Jariyanart Gaywee1, Wuttikon Rodkvamtook1, Kamonwan Siriwatthanakul1, Maneerat Somsri1, Narupon Kuttasingkee1, Allen L. Richards2, Tatiya Chuentragun3, Natdanai Punsin3, Wasapan Saetan3, Anond Snidvongs Na Ayuthaya3 and Mahathana Kamolslip1 1Armed Forces Research Institute of Medical Science, Bangkok, Thailand 2Naval Medical Research Center, Maryland, USA 3Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public organization),Thailand ABSTRACT Arthropod-borne diseases become important health problem throughout the world including Thailand. In response to this problem, we have conducted a surveillance program aiming to assess the distribution of 5 arthropod-borne bacteria; Rickettsia, Ehrlichia, Anaplasma, Coxiella, and Borrelia along Thai borders and outbreak areas. Total 1,346 pools of arthropod composed of 531 tick, 676 flea, 119 louse and 18 mite pools were collected from 447 survey sites. Arthropods were species identified and evaluated for the presence of 5 bacterial pathogens using Realtime PCR. Total 531 tick pools, 34.8% were positive for rickettsiae, 14.2% for E. chaffeensis, 1.0% for Coxeilla and 0.6% for Borrelia spp. Only rickettsial and Ehrichia DNA were detected in 90.1% and 48.1% of 676 flea pools, respectively. Of 119 louse pools, 46.6% and 8.5% were positive for rickettsiae and Ehrlichia. Rickettsia was detected in 5.6% of Echinolaelaps echidninus mite pools. The presence of arthropod vectors for rickettsiae, Erhlichia, Borrelia and Coxeilla suggest the potential risk areas for infections along Thai borders as well as inland areas. Findings were subsequently analyzed with geographical data using Geographical Informatic System (GIS) technology to create GIS maps of 5 arthropod-borne bacterial pathogens. Furthermore, web-based application technology was applied to create the online risk map application namely “Thai Fever Risk Map”. This newly developed application is user friendly, convenient accessible, interactive and informative with diseases and prevention strategy. It is a useful medical warning tool for public health authorities, military personnel as well as civilian and tourists. Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17–21 September 2018, (Poster presentation) รายงานประจาํ ป 2561 82 ANNUAL REPORT 2018
สถาบันวจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยทหาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Trend of Reemerging Neisseria gonorrhoeae Infections in Thai People From 2014-2017 Nithinart Chaitaveep, Maneerat Somsri, Kamolwan Siriwatthanakul, Nucharee Thongsen and John Maza Armed Forces Research Institute of Medical Sciences ABSTRACT Background: Neisseria gonorrhoeae (NG) is an ancient sexually transmitted disease. This pathogen is reemerging in our country and is a major public health concern. NG is a disease that garners international attention and resources because of the burden of increasing infections along with the high rate of usage of antimicrobials, leading to antimicrobial resistance (AMR) and treatment failures. In addition, the global problem of gonococcal AMR and severe complications is emerging as a silent epidemic. By understanding the evolution, emergence and spread of AMR in Neisseria gonorrhoeae, there is a chance to impact and reduce the burden of disease. Methods: We identified NG from urethral specimens of patients presenting for treatment at 15 Royal Thai Army (RTA) hospitals throughout Thailand from 2014 to 2017. NG isolates were identified by gram stain, CTA carbohydrate utilization, and followed by API strips. Furthermore, we performed Minimum Inhibitory Concentrations (MICs) (µg/ml) of multidrug-resistant NG with the following antibiotics utilizing; cefepime, azithromycin, tetracycline, penicillin G, spectinomycin, ceftriaxone, ciprofloxacin and cefixime. Results: 254 isolates were identified as NG. All isolates were sensitive to cefixime, spectinomycin and ceftriaxone. One sample was resistant to cefepime (in 2016).We found penicillin resistance increased significantly (P<0.0001) from 67.5% in 2014 to 91.5 % in 2017 and ciprofloxacin resistance increased significantly (P<0.0001) from 78.4% in 2014 to 96.8 % in 2017. Conclusions: This four-year study of multidrug-resistant NG shows the variability of the resistance of organism. The continued surveillance of NG AMR is very important in a region which will yield critical and valuable information necessary to protect deploying troops in an area of the world where antibiotic resistance is thought to emerge. Asia Pacific Military Health Exchange (APMHE) 2018, Xi’an, China, 17 – 21 September 2018, (Oral presentation) รายงานประจําป 2561 83 ANNUAL REPORT 2018
สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตรการแพทยท หาร ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES White Military “DRUG FREE” Operation in the Royal Thai Army Darunee Utennam, Sumalee Phajan, Jirawat Muangkhompat, Arthist Sangsawang, Pornkasem Raksaken, Khunakorn Kana and Duangporn Phulsuksombati Armed Forces Research Institute of Medical Sciences PROGRESS REPORT The Commander in Chief of the Royal Thai Army approved the “White Military Unit” project to prevent army personnel and families from narcotic drugs. On 24 November 2009, the Royal Thai Army gave an order for an establishment of the “Power of the Land Centre” to fight the narcotic drug and to integrate the solutions of narcotic drug problems according to the government’s power of the land strategy to fight against the narcotic drug. The Royal Thai Army organic units assigned their officers to execute the mission according with the Royal Thai Army’s order 34/34 dated 30 September 2011. The mission also includes treatment and rehabilitation of the addicts as well as education and activity arrangement. The project will tighten the personnel and families to be away from all kinds of drugs and make them free from drugs. Armed Forces Research Institute of Medical Sciences has proactive action by performing urine test for AFRIMS personnel and helping other army units personnel to arrange the urine test (for Amphetamine, Methamphetamine, Morphine and Cannabis) for military recruits, governmental officers and employees. The activities also comprises of dissemination of harm and danger of drugs’ information, provision of channels to report clues about drugs, distribution of poster, leaflets, videos and signs related to drugs. Other operations include set up of check points for all entering vehicles and restriction of visitors through check points. Organizing activities in “World Drug Day” on 26th June of every year has been a success. Graph showing prevalence of narcotic drugs use found in Officers, NCO, Governmental Employees and Employees during FY 2011 - 2018 In FY 2018, AFRIMS supported “White Military Unit” project to 19 Army units with 829 people. The positive urine test results for methamphetamine, cannabis and morphine were 17 from 829 (2.1%), 1 from 829 (0.1%) and 0 from 829 (0%), respectively. The results showed higher rate of methamphetamine use than others. The ‘White Military Units’ project is one of the measures to prevent drug dissemination in army personnel. รายงานประจําป 2561 84 ANNUAL REPORT 2018
U.S. ARMY MEDICAL DIRECTORATE ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Director Executive Officer สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หารAdministration Departments Science Departments Department of Administration ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCESDepartment of LogisticsDepartment of Enteric Diseases Department of Entomology รายงานประจาํ ป 2561 87 ANNUAL REPORT 2018Human ResourcesHealth Security CooperationFacility Management Department of Immunology Information Management (JUSMAG) Glassware and Medicine Department of Retrovirology Information Resources Center Laboratory Operations Material and Support Operations Language Instruction Medical Maintenance Department of Veterinary Medicine Library Biosurety Program Department of Virology Motor Pool and Transportation Medical Audio-Visual Section Safety and Radiation Protection As of 30 September 2018 Information Technology Research Support Services Occupational Health Physical Security Human Subjects Protection Quality Assurance Unit Resource Management Research Support
Director COL Robert J. O’Connell สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หารSecretary Titikul Aramboonpong ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Executive Officer Chief, Research Support Services รายงานประจาํ ป 2561 88 ANNUAL REPORT 2018LTC Matthew D. Wegner Bussara Sukpanichnant Secretary Human Subjects Protection Marina Brook Bussara Sukpanichnant Chief, Resource Management Chief, Human Resources Chief, Laboratory Operations Health Security Cooperation Officer Chief, Occupational Health Physician Research Support Mr. Ronald T. Goding Boodsaba Daechanaranon MAJ Persaud Vidhika to JUSMAGTHAI COL John P. Maza* COL John P. Maza* Technology Transfer Specialist Supervisory Financial Management Analyst Human Resources Assistant Medical Research Scientist Occupational Health Nurse Suthicha Wuwongse Budget Analyst Pasana Chuanak (Biosurety Program Manager) Yinglak Apisitsaowapa Tippawan Tephassadin na Ayuthaya Biostatistician Chadchadaporn Phueakpipatana Human Resources Assistant Somporn Krasaesub Sasiprapa Pichitphan Medical Research Scientist Financial Assistant (Inventory Control) Research Support Assistant Lantharima Ngernsiri Mail Clerk Vacant Anuch Apiradchajit Hasadee Vanasuntree Financial Assistant Safety and Radiation Research Support Administrator Sirin Limsurat CoAg Personnel - RTA Protection & Safety Officer Siriporn Janariyawong Kritika Singharaj Physical Security Specialist Geerati Sornwattana Training Coordinator Mr. Frank DeSomer Yok Rattanathan Senior Biosafety Professional Security Clerk Amorn Upakaew Quality Unit Phaiphet Longpadung Chief, Information Management Division Sr. Quality Assurance Specialist MAJ Robert L. Shaw Pornsuk Visudhiphan Grandin Information Technology Chief, Information Resources Center Quality Assurance Associate Information Resources Specialist Threechada Boonchan Oranuch Pruekwatana Admin Assistant Narumol Jongthaworn IT Specialist Computer Programmer MAVS Library Language Instruction Soukasame Inthavong Ganyakrit Kulsukthawee Art and Graphics Assistant Technical Services Librarian English Language Instructor Computer Technician Computer Management Specialist Siripan Phatisawad Pattrapan Jullasing Eakkachai Trikomol Weerasak Yeephu Chalermkiat Wilairatanaporn Audio Visual Technician Reference Librarian Thai Language Instructor System Administrator Danuphol Junkaew Saowalak Booncharoenraksa Kaewkarn Noonpakdee Vacant Photographer Total Personnel = 48 System Administrator Puwanai Sangsri Military = 6, GS = 3, FSN = 13, CoAg = 24, RTA = 1, Thosapol Laosungnoen Audio Visual Technologist NPSC = 1 Computer Technician Anuwat Chamrat As of 30 September 2018 Rattanapol Charoenpol *Dual-hatted role Computer Technician Songsak Panyawannarak
Chief, Department of Logistics MAJ Anthony T. Shiepko, Jr. NCOIC, Logistics Department SFC Justin D. Goforth Procurement Supervisor & Secretary Facility Management Assistant Wisnee Panichphol Ruedee Arunkhajohnsak Admin Assistant Facility Management Service Ranida Peeramongkolchai Narong Vitisin Logistics Support Admin Assistant Engineer Saruta Anukul Eakkapob Srichumnan Engineer Technician Perapol Thuannok สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หาร Supply & Services NCOIC Medical Maintenance NCOIC TMO NCOIC Property Book Assistant SSG See A. Yang ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCESSFC Justin D. GoforthSFC Matthew J. HowardNawaporn Chantakulkij Shipment Clerkรายงานประจาํ ป 2561 89 ANNUAL REPORT 2018Glassware TechnicianCombined Maint SupervisorTMO Supervisor Property Clerk Santi Kaewkrai Orapan Prathomwongkul Manoon Bunya Orawan Thaveesuk Suwanich Saleewan Store Keeper Usana Chuanak Medical Equipment Technician Mechanic Total Personnel = 42 Supoj Kitsanguan Tanaporn Kornkan Ratchada Thipwong Anek Piyamaporn Military = 4, FSN = 21, CA = 17 Sathaporn Boonna Surasak Thabtim Sipphaporn Sombatpiboon As of 30 September 2018 Supply Clerk Nipat Promchart Chauffeur Phinya Boonnak Thanaphon Prayoonyuang Tharanat Thanatepasansakun Receiving Clerk Biohazardous Waste Tosporn Kutchapunt Somsak Sangsri Jakkaphong Maneerat Disposal Technician Thanadej Pitakraksa Thongpian Sattayadit TMDE Coordinator Rattiya Cheejun Surapol Okpai Siriphong Amnuaysuksiri Phattanasyn Navaroljittharath Sittikorn Boonnak LN2 Nirutti Boonnak Chatree Kumhom Niphon Sawangsang
สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยท หารChief, Department of Enteric Diseases MAJ John Crawford ARMED FORCES RESEARCH INSTITUTE OF MEDICAL SCIENCES Deputy Department Chief รายงานประจาํ ป 2561 90 ANNUAL REPORT 2018 Ladaporn Bodhidatta, MD Program Management Assistant Administrative Assistant Laboratory QA Coordinator Medical Research Scientist Project Coordinator Clinical Research Coordinator Sariya Chanyart Anan Wongpinyochit Boonchai Wongstitwilairoong Dilara Islam, PhD James Jones, PhD Umaporn Suksawad Epidemiology Bacteriology Molecular Genetic Molecular Lab Sciences Immunology Research Nurse, Supervisor Medical Research Scientist, Supervisor Medical Research Scientist, Supervisor Medical Research Scientist, Supervisor Medical Research Scientist, Supervisor Siriporn Sornsakrin Oralak Serichantalergs, PhD Woradee Lurchachaiwong, PhD Paphavee Lertsethtakarn, PhD Nattaya Ruamsap Research Nurse Vacant Medical Research Technologist, Medical Research Technician Medical Research Technician Medical Research Technician Consultant Sasikorn Silapong Panida Nobthai Patchariya Khantapura Data Entry Clerk Pimmada Sakpaisal Sirigade Ruekit Siriphan Gonwong Duangjai Lumsom Apichai Srijan Vacant Vacant Vacant Patcharawalai Wassanarungroj Vacant Medical Research Technician Nuanpan Khemnu Paksathorn Puripunyakom Vacant Wilawan Oransathid Kamonporn Poramathikul Wirote Oransathid Vacant Total Personnel = 29 Military = 1, FSN = 15, CA = 11, Contract = 2 As of 30 September 2018
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171