Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรรณไม้นานาชนิด ของอนุสรณ์สถานแห่งชาติ

พรรณไม้นานาชนิด ของอนุสรณ์สถานแห่งชาติ

Published by NaraSci, 2022-01-21 02:22:22

Description: พรรณไม้นานาชนิด ของอนุสรณ์สถานแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

๑๐๐ มะคา่ โมง Afzelia zylocarpa (Kurz) Craib LEGUMINOSAE (FABACEAE) CAESALPINIOIDEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ มะคา่ ใหญ่ มะค่าหลวง มะค่าหวั ดา ช่อื วงศ์ ชื่ออนื่ มะค่าโมง เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่พบได้ทั่วไปในปุาเบญจพรรณและปุาดิบแล้งเกือบทุกภาค ของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ เป็นต้นไม้ประจาหวังหวัดสุโขทัย เนื่องจากเป็นไม้เนื้อแข็งและมีลายไม้ ที่สวยงามจึงเป็นที่นิยมนาไปใช้ในงานก่อสร้างท่ัวไป ทาให้มีการลักลอบตัดโค่นเป็นจานวนมากจากปุา ธรรมชาติ ดังนั้นหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งขยายพันธ์ุและส่งเสริมให้มีการปลูกกันอย่างแพร่หลาย ท้งั ทปี่ ลกู เพือ่ ความสวยงามตามสถานทปี่ ระกอบการต่าง ๆ และปลกู ทดแทนในปุาธรรมชาติ

๑๐๑ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๓๐ เมตร เปลอื กตน้ สีน้าตาล เนอ้ื ไม้ กระพี้สขี าว แกน่ สแี ดง เปน็ ไมเ้ น้ือแขง็ ใบ ประกอบเรียงสลับ มีใบย่อยติดตรงข้ามกันเป็นคู่ ๓ - ๕ คู่ แผ่นรูปไข่แกมขอบขนาน กวา้ งประมาณ ๔ - ๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๕ - ๙ เซนติเมตร ดอก เป็นช่อดอก ออกท่ีปลายก่ิง กลีบเล้ียงสีเขียวอ่อน ๔ กลีบ มีกลีบดอกเพียง ๑ กลีบสีชมพู ออกดอกประมาณเดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม ผล เป็นฝักรูปร่างแบน เปลือกแข็งสีเขียว เม่ือแก่เป็นสีน้าตาล กว้างประมาณ ๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ เซนติเมตร เมลด็ สีดาประมาณ ๔ - ๑๐ เมลด็ การขยายพันธ์ุ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ส่วนใหญค่ นไทยรจู้ ักมะคา่ โมง ในการนา เน้ือไม้ มาใช้ในงานก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนเกิน ท่ปี ูดโปนออกมาจากลาต้นหรอื ท่เี รียกว่า ปุมมะค่า นัน้ มีราคาแพงมากเนอ่ื งจากมลี วดลายในเน้อื ไมส้ วยงาม จึงนยิ มนามาทาเป็นเฟอร์นเิ จอร์ เน้อื ในเมล็ดออ่ น รับประทานเป็นอาหารยังชพี เปลือกตน้ มีนา้ ฝาดใช้ฟอกหนงั ปุม่ มะค่า รสเมาเบ่ือ มฤี ทธท์ิ าให้เบอ่ื เมา จึงนามาเปน็ ยาถา่ ยพยาธิ และยารักษาโรคผิวหนัง เปลือกต้น ผสมกับเปลือกมะคา่ แต้ อยา่ งละเทา่ กนั ทาเปน็ ยาประคบแก้ฟกชา้ ปวดบวม เปลือกต้น ผสมกบั รากพงั คี อย่างละเทา่ กนั เป็นยาสมานแผล

๑๐๒ มะดนั Garcinia schomburgkiana Pierre GUTTIFERAE (CLUSIACEAE) ชือ่ ทางพฤกษศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ มะดัน เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กที่ใช้ประโยชน์จากผลเพ่ือปรุงรสอาหารในครัวเรือน คนไทยนิยม ปลูกกนั ไวต้ ามขอบไร่ปลายนาและตามบ้านเรอื น ต่อมาได้มีการแปรรูปและถนอมอาหารจากผลมะดันขึ้น ทาให้เกษตรกรบางกลุ่มปลกู มะดนั เปน็ พชื เศรษฐกจิ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๓ - ๗ เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล เน้อื ไมส้ ีน้าตาลอ่อน เป็นไม้เนือ้ อ่อน ใบ เป็นใบเดีย่ ว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน รูปใบหอกหรือรูปไข่แกมขอบขนาน กว้างประมาณ ๒ - ๓ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕ - ๘ เซนติเมตร ดอก เปน็ ดอกชอ่ ออกเป็นกระจกุ ท่ีซอกใบ แยกเพศในต้นเดียวกัน กลีบดอก ๔ กลีบสีเหลืองส้ม เกสรสขี าว ผล เป็นผลสด รูปรา่ งคล้ายกระสวย ยาวประมาณ ๓ - ๗ เซนติเมตร ผิวเรียบสีเขียว เนื้อในสีขาว รสเปรีย้ วจดั เมล็ด รปู ทรงยาว การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง ประโยชน์ ผล เป็นเครื่องปรุงรสในอาหารคาว เช่น ต้มกะทิสายบัวกับปลาทู น้าพริกมะดัน ส่วนประกอบ ของข้าวคลกุ กะปิ ฯลฯ นอกจากนี้ยงั สามารถแปรรูปเป็นอาหารว่างหรือของหวาน เช่น มะดันดอง มะดัน แชอ่ ่มิ ฯลฯ ใบและราก รสเปรี้ยว แก้กษัย กัดเสมหะ ขับฟอกโลหิต ระบายท้อง ผล รสเปร้ยี ว ขบั เสมหะ ระบายท้อง ฟอกโลหติ ดองน้าเกลอื รับประทานเป็นยาแกน้ ้าลายเหนียว เปน็ เมือกในลาคอ

๑๐๓ มมะะนนาาวว Lime/Lemon Citrus aurantifolia (Christm.et Panz.) ชอ่ื สามญั RUTACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ ส้มมะนาว ชือ่ วงศ์ ชื่ออื่น มะนาวเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กท่ีมีความผูกพันกับคนไทยมายาวนาน โดยได้นาผลมะนาวมา เป็นเคร่ืองปรุงรสอาหารและทาเป็นเคร่ืองด่ืม มะนาวสามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย และ ปัจจุบนั เปน็ พชื เศรษฐกจิ ทส่ี ร้างรายได้ใหเ้ กษตรกรอกี ชนดิ หนึ่ง

๑๐๔ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๑ - ๕ เมตร เปลือกต้นเรยี บสเี ทา เน้อื ไมส้ ีขาว เป็นไมเ้ น้ือแข็ง ก่งิ มีหนามแหลมคม ใบ เป็นใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบเดียว เรียงสลับใบ เป็นรูปวงรี กวา้ งประมาณ ๓ - ๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓ - ๘ เซนติเมตร เนอื้ ใบมตี มุ่ นา้ มันท่ัวท้งั ใบ ดอก เปน็ ดอกเดยี่ ว ออกทซ่ี อกใบและปลายก่งิ กลีบดอกสขี าวมี ๔ กลีบ เกสรสีเหลอื ง มีกลน่ิ หอม ผล เป็นผลสดรูปทรงกลมสีเขียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๒ - ๕ เซนติเมตร เมื่อแก่ มีสเี หลือง เนอื้ ในประกอบด้วยยวงขนาดเล็ก บรรจุน้าท่ีมีรสเปรี้ยวจัด มีเมล็ดขนาดเล็กแทรกอยู่ระหว่าง ยวงตดิ กบั แกนกลาง การขยายพนั ธ์ุ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการ เพาะเมลด็ ตอนก่งิ ติดตา ตอ่ กิง่ ซ่ึงการต่อกงิ่ นี้ชาวสวนมะนาวบางราย ได้ต่อ กง่ิ มะนาวจากตอมะขวิดหรอื ตอมะสัง ซ่งึ มีระบบรากแขง็ แรง ทาใหไ้ ด้มะนาวที่มคี วามทนทานต่อสภาพแหง้ แล้งได้ดี ประโยชน์ ส่วนท่ีนามาเป็นอาหารหรือเครื่องปรุงรสอาหารน้ัน คือ ผล โดยน้ามะนาวสดนามาปรุงอาหาร ทาเป็นเครอ่ื งดื่ม เช่น น้ามะนาว ถนอมอาหารโดยทาเป็นมะนาวดอง มะนาวอบแห้ง ฯลฯ ใบ รสปรา่ ต้มดื่มกัดเสมหะ ฟอกโลหติ น้ามะนาว รสเปร้ียว เป็นกระสายยา สาหรับสมุนไพรท่ีใช้ขับเสมหะ เช่น ดีปลี จิบแก้ไอ รบั ประทานแก้เลอื ดออกตามไรฟัน ล้างเสมหะในคอ น้ามะนาวและผลดองตากแห้ง เป็นยาขับเสมหะ แก้ไอ แก้โรคเลือดออกตามไรฟัน เนื่องจาก ในมะนาวมวี ิตามนิ ซีสูง เมล็ด รสขมหอม ค่ัว บดเป็นผงหรอื ต้ม ด่ืมแก้ซาง ขบั เสมหะ แก้พษิ ไข้ร้อน บารุงนา้ ดี ราก รสจืดเย็น แก้ไข้ ถอนพิษ แก้ไขก้ ลบั ถอนพษิ ผดิ สาแดง ฝนกับสรุ าทาแกป้ วดฝี แก้พษิ อักเสบ

๑๐๕ มะมว่ ง Mango Tree Mangifera indica ชือ่ สามญั Anacardiaceae ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ช่อื วงศ์ เป็นพืชที่มีถ่ินกาเนิดในอินเดีย เพราะการท่ีภูมิภาคน้ันมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและ ร่องรอยฟอสซิลที่หลากหลาย นับย้อนไปได้ถึง ๒๕ - ๓๐ ล้านปีก่อน มะม่วงมีความแตกต่างประมาณ ๔๙ สายพันธ์ุ กระจายอยู่ตามประเทศในเขตร้อน ตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ จากนั้นจึงแพร่หลาย ไปทั่วโลก เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบโต ยาว ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบอ่อนสีแดง ออกดอกเป็นช่อ ตามปลายก่งิ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ผลออ่ นสีเขยี ว ผล แก่ สเี หลอื ง เมลด็ แบน เปลอื กหุ้มเมล็ดแข็ง เป็นผลไมป้ ระจาชาติของอนิ เดยี ปากสี ถาน ฟลิ ิปปินส์ และบงั กลาเทศ มะม่วงเป็นผลไม้เศรษฐกิจ ปลูกเป็นพืชสวน ประเทศไทยส่งออกมะม่วงเป็นอันดับ ๓ รองจาก ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และเม็กซิโก

๑๐๖ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ มะม่วงเปน็ ไม้ยืนตน้ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงประมาณ ๑๐ - ๓๐ เมตร ใบ เป็นใบเด่ียวสเี ขียว ขอบใบเรยี บ ฐานใบมน ปลายใบแหลม ดอก เป็นช่อ กลีบดอกมี ๕ กลีบ เกสรสีแดงเร่ือ ๆ ดอกออกช่วงเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ ชว่ งฤดรู อ้ นจะตดิ ผล ผล ยาวประมาณ ๕ - ๒๐ ซม. กว้าง ๔ - ๘ ซม. ลูกดิบสีเขียว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หรือ เหลืองส้ม มีเมล็ดภายใน ๑ เมล็ด การขยายพันธุ์ มะมว่ งควรปลกู ในหนา้ ฝนเจริญเติบโตได้ดีในดินอุดมสมบูรณ์ปลูกกลางแจ้ง การขยายพันธ์ุทาได้ โดยการเพาะเมลด็ และการตอนกิง่ ประโยชน์ ผลสดแก่ รบั ประทานแกค้ ลื่นไสอ้ าเจียน วิงเวียน กระหายนา้ ผลสกุ หลังรับประทานแลว้ ล้างเมล็ดตากแหง้ ตม้ เอานา้ ดม่ื หรือบดเปน็ ผงรบั ประทานแกท้ ้องอืดแนน่ ขับพยาธิ ใบสด ๑๕ - ๓๐ กรัม ต้มเอาน้าดื่ม แก้ลาไส้อักเสบเร้ือรัง ท้องอืดแน่น เอาน้าต้มล้างบาดแผล ภายนอกได้ เปลอื กตน้ ต้มเอานา้ ดืม่ แกไ้ ขต้ วั ร้อน เปลือกผลดิบ คั่วรับประทานร่วมกับน้าตาล แก้อาการปวดเม่ือยเม่ือมีประจาเดือน แก้ปวด ประจาเดือน

๑๐๗ มะยม Star Gooseberry Phyllanthus acidus (L.) Skeels ช่อื สามญั EUPHORBIACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ มะยมแดง มะยมหวาน หมักยม หมากยม ยม ชื่อวงศ์ ช่อื อ่ืน เมอื่ กลา่ วถงึ มะยม หลายคนคงน้าลายสอ เน่ืองจากเคยสมั ผสั กบั รสเปรย้ี วจดั ของผลมะยม แสดงให้ เห็นว่าคนไทยน้นั ผูกพันกบั มะยมมานาน

๑๐๘ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๒ - ๑๐ เมตร เปลือกต้นสีน้าตาล ผิวขรุขระ เน้ือไม้สีขาว เป็นไม้เนื้ออ่อน และเปราะ ใบ เป็นใบเดีย่ ว เรยี งสลบั รปู ไข่เบยี้ ว หรือรูปไขแ่ กมขอบขนาน กว้างประมาณ ๒ - ๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓ - ๘ เซนตเิ มตร ดอก เป็นดอกชอ่ ออกตามลาตน้ ก่ิง ก้าน และซอกใบ แยกเพศในตน้ เดียวกนั กลบี ดอกสีแดง ผล เปน็ ผลสดสเี ขยี ว ทรงกลมแปนู มี ๖ - ๘ พู เมอื่ แกส่ เี หลอื งอ่อน เนื้อมรี สเปรี้ยว การขยายพันธ์ุ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ ใบอ่อน เปน็ ผกั สดนยิ มรับประทานเป็นผกั เคียงกบั สม้ ตาหรอื เม่ยี ง ผล รับประทานสด แปรรูปหรือถนอมอาหารได้หลายอย่าง เช่น มะยมดอง มะยมแช่ อ่ิม มะยมเช่อื ม มะยมกวน นา้ มะยมหมกั เปน็ สุราผลไม้ ฯลฯ ใบ รสจืด ปรุงเป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ แก้ตัวร้อน ต้มน้าอาบ แก้อาการคัน แก้ไข้เหือด หัด อสี ุกอใี ส ผ่ืนคัน ใบยงั ใช้เปน็ สว่ นผสมยาเขยี ว แก้ไข้ ใบผสมกับใบมะเฟือง ใบหมากผู้หมากเมีย ต้มน้าอาบ แก้ไข้คันจากพษิ ไขห้ ัว (มอี าการไข้ผิวหนังเป็นผนื่ หรอื ตมุ่ ) ผล รสเปรีย้ วสขุ มุ แกไ้ อ กดั เสมหะ บารงุ โลหิต ระบายท้อง เปลอื กตน้ รสจืด ตม้ ด่มื แกไ้ ข้ ใชอ้ าบแกเ้ มด็ ผดผ่ืนคนั ราก รสจืด ปรุงยารับประทานแก้โรคผวิ หนัง เม็ดผดผ่ืนคัน ประดง แกน้ า้ เหลืองเสีย

๑๐๙ มะยมฝร่ัง Surinum Cherry, Cayenne Cherry, Pitanga Eugenia uniflora Linn’ ช่อื สามัญ MYTACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ มะยมหวาน มะยมแดง เชอร่ีสเปน ชื่อวงศ์ ชื่ออื่น เปน็ ไมท้ มี่ ถี น่ิ กาเนดิ ในประเทศบราซลิ เจริญเติบโตไดด้ ใี นทโี่ ลง่ แจ้งมแี สงแดด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๓ - ๘ เมตร เปลอื กต้นสีนา้ ตาลเขม้ แตกกง่ิ ก้านมาก เปน็ ทรงพมุ่ กลม ใบ เป็นใบเดย่ี ว เรยี งตรงข้าม รูปไข่แกมใบหอก กว้างประมาณ ๒ - ๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓ - ๖ เซนติเมตร ปลายใบแหลม ผวิ ใบเรยี บเปน็ มนั ดอก เปน็ ดอกเดย่ี ว ออกตามซอกใบปลายก่งิ กลีบดอก ๔ กลีบ สีขาวอมชมพู มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกปีละ ๒ คร้งั ผล เป็นผลสด ทรงกลมแปูน มี ๗ - ๘ พู คล้ายผลมะยม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑.๕ - ๒.๕ เซนติเมตร ผลมีสเี ขียว เม่อื สกุ เปน็ สีสม้ หรือแดงเขม้ รสเปรี้ยวรับประทานได้ การขยายพันธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด หรอื ตอนกงิ่ ประโยชน์ ปลูกเป็นไมป้ ระดับ ผลสุก รสเปรยี้ วรบั ประทานได้

๑๑๐ มะฮอกกานีใบใหญ่ ชื่อสามญั Broad Leaf Mahogany, False Mahogany, Hondurus Mahogany ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ Swietenia macrophylla King. ชอื่ วงศ์ MELIACEAE เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีถ่ินกาเนิดในประเทศเม็กซิโกตอนใต้ แต่ได้นาเข้าปลูกในประเทศไทย นานแล้ว

๑๑๑ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๕ - ๒๕ เมตร เปลอื กตน้ สีน้าตาลเขม้ เป็นไมเ้ น้อื แข็ง เน้อื ไมส้ ีแดง ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนก รูปรีเรียว มีใบย่อยประมาณ ๓ - ๘ คู่ กว้างประมาณ ๒.๕ - ๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนตเิ มตร ปลายและโคนใบแหลม ผวิ ใบหนาเรียบเปน็ มัน ดอก เป็นดอกช่อ ชนิดใบใหญ่ยาวประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ออกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสเี ขียวอ่อน มีกลิน่ หอม ออกดอกในหว้ ง เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ผล เป็นผลแห้งทรงกลมรี ชนิดใบใหญ่ ผลกว้างประมาณ ๗.๕ - ๑๒ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๑ - ๑๕ เซนตเิ มตร แตกได้เป็น ๕ พู เมลด็ แบนมีปีกบาง ๆ สีนา้ ตาล สว่ นชนิดใบเลก็ ผลจะเลก็ กวา่ การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เนอื่ งจากมะฮอกกานีเปน็ ไม้เนื้อแขง็ และมีลวดลายของเนื้อไม้สวย จึงนิยมนามาทาเป็นเคร่ืองใช้ ตา่ ง ๆ เปลอื กตน้ รสฝาด ฝนทาแผลเป็นยาสมานแผล ตม้ ด่ืมแกไ้ ข้ เจรญิ อาหาร เมล็ด รสขมจดั นึ่งให้สุกบดละเอยี ด รบั ประทานแกไ้ ข้ แก้ไขจ้ ับสั่น

๑๑๒ มะเด่อื อทุ มุ พร Cluster Fig Ficus racemosa Linn., F.glomerata Roxb. ชอ่ื สามญั MORACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ เดอื่ เกล้ยี ง เด่ือน้า มะเดือ่ มะเด่อื ชุมพร ช่ือวงศ์ ชอ่ื อืน่ มะเดื่ออุทุมพร เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่มีถ่ินกาเนิดจากประเทศศรีลังกา และประเทศในแถบ เอเชียใตแ้ ละตะวันออกเฉยี งใต้ ในประเทศไทยพบในท่ัวทุกภาคของประเทศตามปุาดิบเขา ปุาดิบชื้น เป็น ตน้ ไม้ประจาจงั หวัดชุมพร มะเด่ืออทุ ุมพร มสี ่วนทเี่ ก่ียวข้องกับชีวิตประจาวันของคนน้อยมาก ชาวบ้านจึง ขาดความสนใจและไม่มีการอนุรกั ษแ์ ละขยายพนั ธเ์ุ ท่าท่ีควร

๑๑๓ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๓๐ เมตร เปลือกต้นสีขาวอมเขียวมียาง เม่ือแก่แตกเป็นสะเก็ด เนื้อไม้สีขาว เป็นไมเ้ นอื้ อ่อน ใบ เป็นใบเด่ียวเรียงสลับ รูปวงรี รูปไข่ รูปขอบใบขนาน หรือรูปใบหอก กว้างประมาณ ๓ - ๘ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๖ - ๙ เซนติเมตร ดอก เปน็ ดอกช่อเกิดภายในฐานดอกทมี่ ีลกั ษณะคล้ายผล ออกตามลาต้นและก่ิงก้าน ก้านช่อยาว ประมาณ ๒ - ๗ เซนตเิ มตร ออกดอกระหวา่ งเดือน มถิ ุนายน - สิงหาคม ผล เป็นผลสดสีเขียว ทรงกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๑ - ๓ เซนติเมตร เมื่อสุกเป็นสีแดง อมชมพู การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปกั ชาก่งิ ประโยชน์ ตามปุาธรรมชาติ ผล เป็นแหล่งอาหารของสัตว์ปุา แต่ปัจจุบันนิยมปลูกเป็นไม้ประดับหรือ ไมใ้ หร้ ่มเงา บางท้องถิ่นนิยมนา ผลสด มาเป็นผักสดรับประทานกับปลาร้าสับหรือน้าพริก ผลสุกรสฝาด อมหวาน รับประทานเป็นอาหารยังชพี ได้ ราก รสฝาดเยน็ แกไ้ ขพ้ ิษ ไข้กาฬ แกร้ อ้ นใน แกท้ ้องร่วง เปลอื กตน้ มีรสฝาดเยน็ ใชแ้ กอ้ าการท้องเสีย แก้อาเจียน ห้ามเลือด ล้างแผล แกป้ ระดงผื่นคัน ต้น ผสมกับต้นเล็บแมว ต้นตับเต่าโคก ต้นมะดูก ต้นเปล้าใหญ่/เปล้าน้อย ต้นกาจาย ตน้ กาแพงเจ็ดช้นั ตน้ กระเจียนและรากส้มลม ต้มนา้ ดมื่ แก้ปวดเม่อื ย ผล รสฝาดเยน็ เปน็ ยาแก้ท้องรว่ ง และยาสมานแผล

๑๑๔ มะเมา่ Antidesma velutinum Tulas. EUPHORBIACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ มะเม่าควาย มะเม่าดง ช่อื วงศ์ ชอื่ อนื่ มะเม่าเป็นไม้ปุาที่ชาวชนบทของไทยรู้จักกันดี เป็นไม้ท่ีมีให้เห็นโดยทั่วไป และใช้ประโยชน์จาก ผลมะเม่ามาโดยตลอด จนกระท่ังต้นมะเม่าได้ถูกทาลายไปพร้อมกับการทาลายปุา จนเหลือเพียง จานวนนอ้ ย แต่จานวนทีเ่ หลอื นั้นได้มีการแปรรูปผลมะเม่าให้มีคุณค่าขึ้นในปัจจุบัน จนกลายเป็นสินค้าที่ คนท้ังประเทศรู้จักจึงมีการปลูกมะเม่าในเชิงเศรษฐกิจมากข้ึน มะเม่าเป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อมท่ีเกิดเอง ตามธรรมชาติ ในปุาเบญจพรรณและปาุ โปร่งท่ัวไป

๑๑๕ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๓ - ๗ เมตร มกี งิ่ ก้านสาขามาก เปลอื กต้นสเี ทา เน้อื ไมส้ ีขาว เปน็ ไมเ้ นอื้ แขง็ ใบ เป็นใบเด่ยี ว เรียงสลบั กวา้ งประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๔ - ๖ เซนตเิ มตร ผิวใบ เรียบเปน็ มัน ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบทป่ี ลายกิ่ง กลบี ดอกสีขาว ผล เป็นผลสดมีขนาดเล็ก ขนาดเมล็ดพริกไทย มีสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีแดงอมม่วง มีรสหวานอม เปรีย้ ว การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ ผลดิบและผลสกุ ชาวชนบทใชเ้ ป็นอาหารยังชพี สามารถรับประทานสดได้เลยหรือนาไปตาส้มก็ได้ แตป่ ัจจบุ นั ไดม้ ีการคดิ นาผลมะเมา่ มาแปรรูปเปน็ สรุ าผลไม้ (ไวน์) ทีใ่ ห้รสชาติน่าดื่มไม่แพ้ไวน์ท่ีทาจากองุ่น และกาลงั เปน็ ท่ีนิยมในตลาดนักด่มื ในขณะนี้ ต้นและราก รสจืด เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กษัย บารุงไต แก้ตกขาว แก้ปวดเม่ือยตามร่างกาย ขบั โลหติ และนา้ คาวปลา

๑๑๖ โโมมกกบบ้า้านน Wrightia religiosa Benth. APOCYNACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ โมก โมกซอ้ น หลักปา่ ปดิ จงวา ชื่อวงศ์ ช่ืออืน่ ไม้ยนื ตน้ ขนาดย่อม ที่เกิดเองตามธรรมชาติ เปน็ ไม้ท่ีคนไทยรู้จกั กันมานาน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๓ - ๕ เมตร เปลอื กตน้ เรยี บสเี ทา เนอื้ ไม้ละเอยี ดสขี าวนวล ใบ เปน็ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั รปู หอก กวา้ งประมาณ ๒ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓ - ๔ เซนติเมตร ใบเรียบมขี นละเอียด ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายก่ิง ก้านดอกยาวห้อยลงใต้กิ่ง กลีบดอกสีขาว ๕ กลีบ มที ัง้ ชนิดดอกชัน้ เดียวและดอกกลบี ซ้อน ขนาด ๑ - ๑.๒ เซนตเิ มตร มกี ลนิ่ หอม ออกดอกตลอดทงั้ ปี ผล เป็นฝักกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๐.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕ - ๕ เซนติเมตร ในหน่งึ กา้ นปกติจะมี ๒ ฝัก ภายในมีเมล็ดจานวนมาก แตล่ ะเมลด็ มีปยุ สขี าวน้าหนกั เบาติดอยู่ ทาให้ปลิวลม ได้ง่ายเมอื่ ฝักแตกออก การขยายพันธุ์ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมล็ด ตอนก่ิง ประโยชน์ ปัจจุบันนิยมปลูกโมกไว้เป็นไม้ดอกไม้ประดับ เนื่องจากดอกมีกลิ่นหอม เนื้อไม้ สีขาวละเอียด ยังสามารถนามาใช้ประโยชน์ทาเครื่องมอื เครอ่ื งใชไ้ ดห้ ลายอยา่ ง ราก รสเมามัน แก้โรคผิวหนงั เร้อื น คดุ ทะราด

๑๑๗ ยางพารา Para rubber Hevea brasiliensis ชอ่ื สามัญ EUPHORBIACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ ช่ือวงศ์ การปลกู ยางในประเทศไทยไม่มีการบันทึกเป็นหลักฐานท่ีแน่นอน แต่คาดว่าน่าจะเริ่มมีการปลูก ในช่วงประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๒ - ๒๔๔๔ ซึ่งพระยารัษฏานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เจา้ เมืองตรงั ในขณะน้ัน ได้นาเมล็ดยางพารามาปลูกที่อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป็นคร้ังแรก ซ่ึงชาวบ้าน เรยี กต้นยางชุดแรกนว้ี ่า \"ต้นยางเทศา\" และต่อมาได้มีการขยายพันธ์ยางมาปลูกในบริเวณจังหวัดตรังและ นราธิวาส ในปี พ.ศ.๒๔๕๔ ได้มีการนาพันธ์ุยางมาปลูกในจังหวัดจันทบุรีซึ่งอยู่ทางภาคตะวันออก ของประเทศไทย โดยหลวงราชไมตรี (ปมู ปุณศร)ี เป็นผู้นาพันธ์ุยางมาปลูก และนับจากน้ันเป็นต้นมาได้มี การขยายพนั ธุ์ปลูกยางพาราไปทวั่ ทั้ง ๑๔ จังหวัดในภาคใต้ และ ๓ จังหวัดในภาคตะวันออก นอกจากนย้ี ังมี การขยายพันธ์ุยางมาปลูกในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เปน็ ต้นมา ยางพาราก็กลายเป็นพชื เศรษฐกจิ ทส่ี าคญั ของประเทศไทย และมกี ารผลติ เปน็ อนั ดับหน่ึงของโลก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น ขนาดโตเต็มท่ีสูงกว่า ๕๐ เมตร ลาต้นตรงสูงใหญ่ เปลือกต้นสีน้าตาล เน้ือไม้มีสีน้าตาลแดง เปน็ ไมเ้ นือ้ ออ่ น

๑๑๘ ใบ เป็นใบเด่ียวรูปไข่ เรียงสลับ กว้างประมาณ ๘ - ๑๒ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๒๐ - ๓๕ เซนตเิ มตร ยอดมกี าบหุ้มสนี า้ ตาลมขี น ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายก่ิง กลีบดอกสีชมพู ๕ กลีบ ออกดอกระหว่างเดือน มนี าคม - พฤษภาคม ผล เป็นผลแหง้ ไมแ่ ตกทรงกลม กลีบเลย้ี งซึ่งพฒั นาเป็นปกี ยาว ๒ ปกี และส้ัน ๓ ปกี การขยายพันธ์ุ ขยายพันธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ น้ายาง จากเปลือกไม้ นามาผลติ ยางรถยนต์ ลูกบอล รองเท้า (ดูรองเท้าแตะฟองน้า) ยางรัดของ ยางลบ ถงุ มือยาง ถงุ ยาง การกรีดยาง การกรีดยางเพ่ือให้สะดวกต่อการกรีด และยังคงรักษาความสะอาดของถ้วยรองรับน้ายางน้ัน ควรคานึงถึงระดบั ความเอยี งของรอยกรดี และความคมของมีดท่ใี ชก้ รีดซงึ่ ตอ้ งคมอยูเ่ สมอ ชว่ งเวลาที่เหมาะสมในการกรดี ยางมากทีส่ ุดคอื ชว่ ง ๐๖.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. เนื่องจากเป็นช่วงเวลา ท่ีสามารถมองเห็นต้นยางได้อย่างชัดเจนและได้ปริมาณน้ายางใกล้เคียงกับการกรีดยางในตอนเช้ามืด แต่การกรีดยางในช่วงเวลา ๐๑.๐๐ - ๐๔.๐๐ น. จะให้ปริมาณยางมากกว่าการกรีดยางในตอนเช้า อยู่ร้อยละ ๔ - ๕ ซึ่งเป็นช่วงที่ได้ปริมาณน้ายางมากท่ีสุดด้วย แต่การกรีดยางในตอนเช้ามืดมีข้อเสีย คือ ง่ายต่อการกรีดบาดเย่ือเจริญส่งผลให้เกิดโรคหน้ายางทั้งยังเป็นการส้ินเปลืองและไม่มีความปลอดภัย จากสัตวร์ ้ายหรอื โจรผูร้ า้ ย ในฤดูแล้ง ใบไม้ผลัดใบหรือฤดูท่ีมีการผลิใบใหม่ จะหยุดพักการกรีดยางเนื่องจากมีผลต่อ การเจรญิ เติบโตของใบและต้นยาง การกรีดยางในขณะที่ต้นยางเปียก จะทาให้เกิดโรคเส้นดาหรือเปลือก เน่าได้ การเพ่ิมจานวนกรีด สามารถเพ่ิมจานวนวันกรีดได้โดย การเพ่ิมวันกรีด คือ กรีดในช่วงผลัดใบ แต่จะได้น้ายางในปริมาณน้อย ไม่ควรเร่งน้ายางโดยใช้สารเคมีควรกรีดเท่าท่ีจาเป็นและในช่วงฤดูผลิใบ ต้องไม่มกี ารกรีดอีก การกรีดยางชดเชยวันกรีดที่เสียไปในฤดูฝนสามารถกรีดทดแทนได้แต่ไม่ควรเกินกว่า ๒ วัน ในรอยกรีดแปลงเดิม และสามารถกรีดสายในช่วงเวลา ๐๖.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. หากเกดิ ฝนตกทงั้ คนื เม่อื ต้นยางเปยี กหรอื เกดิ ฝนตกสามารถกรดี หลังเวลาปกตโิ ดยการกรดี สายซ่ึงจะกรีดในชว่ งเช้าหรอื เยน็ แตใ่ นช่วงอากาศรอ้ นจดั ไมค่ วรทาการกรีด

๑๑๙ ยางนา Yang, Gurjan, Garjan Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don ชื่อสามัญ Dipterocarpaceae ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ยางนา, ยางขาว, ยางหยวก, ยางแม่นา้ , กาตลี ชอ่ื วงศ์ ชอ่ื อน่ื ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมต้ ้นขนาดใหญ่ สูงถึง ๔๐ - ๕๐ เมตร ลาตน้ ตรงสูงโปร่ง เปลือกหนาเรียบ สีเทาหรือเทาปน ขาว โคนตน้ มักเป็นพสู งู ขึน้ มาเลก็ น้อย ขนาดเสน้ รอบวงเพียงอกของต้นที่มีอายุมาก ระหว่าง ๔ - ๗ เมตร หรอื มากกวา่ ยอดและกงิ่ ออ่ นมีขนทวั่ ไป และมรี อยแผลใบปรากฏชัดตามกงิ่ รปู ทรง (เรอื นยอด) เรือนยอด เปน็ พุ่มกลมแนน่ ทึบ ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงเวียนสลบั รปู รี รปู รีหรือรูปไข่ ใบอ่อนมีขนสีเทาประปราย ใบแก่เกลี้ยงหรือ เกือบเกลี้ยง มีขนประปราย ดอก ออกเปน็ ช่อส้ัน ๆ ไม่แตกแขนงตามงา่ มใบหรือตอนปลายก่งิ แต่ละชอ่ มี ๓ - ๘ ดอก สีขาวอม ชมพู ออกดอก ระหว่างเดือน มีนาคม - พฤษภาคม ผล เป็นแบบผลแหง้ ตัวผลกลมหรือรูปไข่ ยาว ๒.๕ - ๓.๕ เซนติเมตร มีครีบยาว ๕ ครีบ ด้านบน มีปกี ๒ ปกี ปลายมน มีเสน้ ตามยาว ๓ เสน้ ปกี อีก ๓ ปีก มีลกั ษณะส้ันมากคลา้ ยหูหนู ผลแก่ ระหว่างเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน พบขึ้นในที่ลุ่มต่าริมห้วย ลาธาร และตามหุบเขาท่ัวทุกภาคของประเทศไทย ในระดับความสูงของน้าทะเลเฉลี่ยคือ ๓๕๐ เมตรในต่างประเทศพบท่ีบังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา เวยี ดนามใต้ และมาเลเซยี การขยายพนั ธ์ุ ขยายพนั ธ์ุโดยการเพาะเมล็ด เปน็ ไม้กลางแจง้ เจรญิ เตบิ โตได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนดิ

๑๒๐ ประโยชน์ เนื้อไม้ เน่ืองจากยางเป็นไม้ขนาดใหญ่ จึงมีปริมาณเนื้อไม้มากในแต่ละต้น สามารถนามา เป็นส่ิงก่อสร้างได้อย่างกว้างขวาง แม้ว่าจะถูกจัดไว้เป็นไม้เน้ืออ่อนก็ตาม แต่ข้อเท็จจริงแล้วเนื้อไม้ มีความแข็งแรงเหมาะสาหรับงานก่อสร้างทั่วไป อีกส่วนหนึ่งท่ีนามาใช้งานได้คือ น้ามันยาง จากต้นยาง ได้มาโดยการขุดต้นใหเ้ ป็นโพรงขนาดประมาณ ๓๐ - ๕๐ เซนติเมตร แล้วสุมไฟในโพรงดังกล่าว หลังจาก ไฟดับแล้ว นา้ มันยางสีนา้ ตาลข้นเหนียวจะไหลจากเน้ือไม้มาขงั อยู่ในโพรง แล้วจึงตักไปใช้งานไดห้ ลายอย่าง เช่น นาไปทาเครื่องจักสาน เช่น ทาตะกร้าให้สามารถบรรจุน้าได้ ผสมกับชัน ใช้ยาเรือตามแนวต่อของไม้ หรือยาเครือ่ งมือเครอื่ งใช้อืน่ ๆ เพอ่ื กันน้า ใบ รสฝาดรอ้ น ต้มกับเกลอื อมแกป้ วดฟัน ฟนั โยกคลอน ใบและยาง รสฝาดขมร้อน เปน็ ยาขับเลอื ด เปลอื กตน้ รสฝาดเฝอื่ นขม ตม้ ดม่ื แกต้ ับอักเสบ บารุงร่างกาย ฟอกโลหติ แกป้ วดตามขอ้ น้ามนั ยาง รสรอ้ นเมาขืน่ ทารักษาแผลเน่าเปอ่ื ย แผลมีหนอง แผลโรคเรอ้ื น ใชผ้ สมกับแอลกอฮอล์ ๒ ส่วน น้ามันยาง ๑ ส่วน รับประทานเป็นยาขับปัสสาวะ รักษาทางเดินปัสสาวะ ผสมกับเมล็ดกุยช่าย ค่ัวให้เกรยี มบดอดุ ฟันแก้ฟนั ผุ นา้ มนั ยางดบิ รสรอ้ นเมาขน่ื เป็นยาถา่ ยพยาธิลาไส้

๑๒๑ รราางงจจืดืด Babbler’s Bill Leaf Thunbergia laurifolia Linn. ชอ่ื สามญั THUNBERGIACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ยาเขียว เครอื เขาเขยี ว กาลงั ช้างเผือก รางเย็น ดเุ หว่า ทดิ พุด ช่อื วงศ์ ชอื่ อ่ืน เป็นไม้เลื้อยทม่ี ีถิ่นกาเนิดในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ พบท่ัวไปตามปุาละเมาะ และชายปุาดิบเขา ท่ัวไป ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ เป็นไมเ้ ถาเน้อื แขง็ ขนาดกลาง ตน้ ออ่ นสีเขยี ว แกเ่ ปน็ สีน้าตาล เลือ้ ยพันไปกบั ไม้อน่ื ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนานหรือรูปไข่ กว้างประมาณ ๔ - ๗ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ - ๑๔ เซนตเิ มตร ปลายใบแหลม ขอบใบเวา้ เลก็ น้อย ผวิ ใบเรยี บเป็นมนั ดอก เป็นดอกช่อ ออกท่ีซอกใบ ปลายก่ิง ช่อดอกห้อยลง ใบประดับสีเขียวประสีน้าตาลแดง กลบี ดอกสีม่วงแกมนา้ เงนิ ทรงปากแตรมี ๕ กลีบ ออกดอกในหว้ งเดือน พฤศจิกายน - มกราคม ผล เป็นฝกั กลม ยาวประมาณ ๒ - ๓ เซนติเมตร เมือ่ แหง้ แตกได้ การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการเพาะเมล็ด หรอื ปักชา ประโยชน์ ใบ เถา ราก รสจืดเย็น ตาคน้ั เอานา้ หรือรากฝนกับนา้ หรือตม้ นา้ ดืม่ ถอนพษิ เบื่อเมา แกไ้ ข้ แก้รอ้ น ในกระหายน้า แกป้ ระจาเดอื นไมป่ กติ แกป้ วดหู ตาพอก แกป้ วดบวม ราก รสจืดเยน็ แกอ้ กั เสบ แกป้ วดบวม ทั้งต้น รสจืดเยน็ ปรงุ เปน็ ยาแก้มะเรง็

๑๒๒ ราชพฤกษ์ Golden Shower Tree/Purging Cassia Cassia fistula Linn. ชือ่ สามญั LEGUMINOSAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ คนู ลมแลง้ ชยั พฤกษ์ ชอ่ื วงศ์ ชื่ออ่ืน ราชพฤกษ์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง พบโดยท่ัวไปในปุาเบญจพรรณแล้งของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคอีสาน ขึ้นเองตามธรรมชาติ ซ่ึงชาวชนบทได้แสวงประโยชน์จาก ราชพฤกษ์อยา่ งกวา้ งขวาง เปน็ ดอกไมป้ ระจาจงั หวดั ชยั นาท นครศรธี รรมราช และขอนแก่น

๑๒๓ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๕ - ๑๕ เมตร แตกกิ่งก้านเป็นทรงพุ่ม เปลือกต้นเป็นสีขาวอมเขียว เนื้อไม้เป็น ไม้เนื้อแขง็ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบย่อยรูปวงรี กว้างประมาณ ๔ - ๘ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๗ - ๑๒ เซนตเิ มตร ดอก เป็นช่อยาวห้อยเปน็ โคมระยา้ ออกทีป่ ลายก่ิง กลบี ดอกมีสีเหลืองสด ผล เป็นฝักกลมยาวประมาณ ๓๐ - ๔๐ เซนติเมตร สีเขียว เม่ือแก่เต็มที่เป็นสีดาเปลือกแข็ง ภายในฝกั ถกู แบ่งเปน็ ห้อง ๆ ในแตล่ ะหอ้ งมีเมลด็ บรรจุอยู่ ๑ เมลด็ ซงึ่ หมุ้ ด้วยเนือ้ สดี าเหนียว ๆ มีรสหวาน การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ดอกไมป้ ระดับ คนโบราณใช้เปลือก แก่นและราก มาเป็นส่วนผสมหรือส่วนหน่ึงของ การกนิ กับหมาก ใบ รสเมา ระบายท้อง ฆา่ พยาธิผวิ หนัง พอกแก้ปวดข้อ แก้อัมพาต ต้มรับประทาน แก้เส้นพิการ แก้โรคเกยี่ วกับสมอง แกไ้ ขร้ ูมาตคิ เนื้อไม้ ส่วนทเี่ ป็นแก่นใช้เปน็ ยาขับพยาธิไส้เดอื น ดอก รสขมเปรย้ี ว ตม้ ด่ืมแก้ไข้ เป็นยาระบาย แก้แผลเรอ้ื รงั รักษาโรคกระเพาะอาหาร เนอื้ สว่ นที่หมุ้ เมล็ด รสหวานเอียน เป็นยาแก้ท้องผูก ขบั เสมหะ ซึ่งพบวา่ มสี ารกลุ่มแอนทราควิโนน ทมี่ ีสรรพคณุ เป็นยาระบาย โดยใช้เนื้อส่วนท่ีหุ้มเมล็ด ประมาณ ๔ กรัม (ก้อนกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๑.๕ เซนตเิ มตร) ต้มกบั น้าใสเ่ กลือเล็กนอ้ ย ดม่ื ก่อนนอน เปลือกฝัก รสเฝอื่ นเมา ทาใหอ้ าเจียน ทาใหแ้ ทง้ ลูก เมล็ด ทาใหอ้ าเจียน เปลอื กต้น รสฝาดเมา แกท้ อ้ งร่วง เปลือกราก รสฝาด ตม้ ดม่ื ระบายพษิ ไข้ แกไ้ ขม้ าลาเรีย

๑๒๔ ลกั กะจ่นั Dracaena loureiri Gagnep. AGAVACEAE (LILIACEAE) ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ จันทน์แดง จนั ทนผ์ า ลกั กะจันทน์ ชื่อวงศ์ ช่อื อ่ืน ลักกะจ่นั ช่อื นคี้ นไทยมักไม่รจู้ ักมากนัก แต่จะคนุ้ เคยกับช่อื จันทนผ์ า มากกว่า ไม้ชนิดน้ีเป็นไม้ปุา เกิดเองตามธรรมชาติ มกั เกิดในปุาเขาหินปนู ดนิ ลกู รงั เนอื่ งจากมีใบและลาต้นที่สวยงามจงึ มีการขยายพนั ธุ์ เป็นไมป้ ระดบั ที่นยิ มปลูกกันตามบ้านและสถานประกอบการทัว่ ไป ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๔ เมตร ลาตน้ ตรงมขี อ้ ถี่เปลอื กสเี ทา เนื้อไม้เป็นเสน้ ใย ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปดาบ กว้างประมาณ ๕ - ๗ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕๐ - ๗๐ เซนตเิ มตร ใบจะออกเป็นกลุม่ ทบี่ รเิ วณยอด เน้อื ใบคอ่ นข้างแข็ง ดอก เป็นดอกช่อขนาดใหญ่ ออกที่ซอกใบปลายยอด ห้อยย้อยลงมา ดอกยอ่ ยมกี ลีบสีขาวนวล ผล เปน็ ผลสด รูปทรงกลม เม่ือสุกมสี ีแดงเข้ม การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยการปักชากิง่ หรือเพาะเมล็ด ประโยชน์ ปลกู เป็นไม้ดอกไม้ประดับ แก่น ส่วนทมี่ สี ีแดงมีกล่ินหอมนามาสกัดเอาน้ามันหอมเพ่ือประโยชน์ ในการทาเครอื่ งหอมตา่ ง ๆ เนื้อไม้ ท่ีเป็นสีแดง รสขมเย็น เป็นยาเย็น แก้ไข้ แก้เหง่ือตก กระสับกระส่าย แก้เลือดออก ตามไรฟนั แก้บาดแผล

๑๒๕ ลลลี ลี าาววดดี ี (ดอกขาว) ช่อื สามัญ Temple Tree, Pagoda Tree, Frangipani ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ Plumeria acuminata Ait., P.acntifolia Poi ชอื่ วงศ์ APOCYNACEAE ชือ่ อน่ื ล่นั ทม ลลีลั่นาทวมดี (ดอกแดง) ช่ือสามัญ West Indian Red Jasmine ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ P.rubra Linn. ชื่อวงศ์ APOCYNACEAE ชอ่ื อื่น จาปาลาว จาปา จาปาขอม ลลี าวดี หรือ ล่ันทม เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางที่พบเห็นได้ท่ัวไปในปุาดิบแล้ง และปุาเต็งรังท่ัวไป มีดอกสวยงามเป็นไม้ประดับได้ แต่คนไทยสมัยโบราณไม่นิยมปลูกในบริเวณบ้าน เน่ืองจากชื่อท่ีเช่ือว่า ไม่เป็นมงคล จึงนิยมปลูกเฉพาะในวัด หรือสถานท่ีราชการเท่าน้ัน แต่ต่อมาได้เปลี่ยนช่ือเป็น ลีลาวดี เพ่ือเบยี่ งเบนความเชือ่ ดงั กล่าว ทาให้มีผู้นิยมปลูกในบริเวณบ้านมากขึ้น พร้อมกับได้มีการพัฒนาพันธุ์ให้ ดอกมสี ีหลากหลายขน้ึ ล่นั ทมดอกขาวจดั ให้เป็นดอกไมป้ ระจาจงั หวัดมหาสารคาม

๑๒๖ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๕ - ๑๕ เมตร แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกต้นสีน้าตาลอมเขียว เปลือกมียาง สขี าว เน้อื ไมส้ ีขาว มีไสก้ ลวง เป็นไมเ้ นอ้ื ออ่ น ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปใบพายปลายแหลม กว้างประมาณ ๕ - ๖ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๒๐ - ๓๐ เซนตเิ มตร ผิวใบเรียบเปน็ มนั ดอก เปน็ ดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายกงิ่ ก้านช่อดอกยาว กลบี ดอกหนามี ๕ กลบี สีขาวหรือแดง ตามชนิด ผล เปน็ ฝักกลมรูปกระสวย มเี มลด็ จานวนมาก แตกออกเม่อื แก่ การขยายพันธ์ุ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด การปักชา หรือการเสียบกิง่ ประโยชน์ ปลูกเปน็ ไม้ดอกไมป้ ระดับ ปัจจุบันมีผู้นา กลีบดอกลน่ั ทมสีขาว มาประกอบอาหาร เช่น ชบุ แปูงทอด หรอื ยาดอกล่ันทม ลน่ั ทมดอกสีขาว สามารถนาใบมาลนไฟ พอกแก้ปวดบวม ชงน้าร้อนดมื่ แกห้ ืด ดอก รสขม ผสมกับใบพลรู บั ประทานแกไ้ ขม้ าลาเรีย เมล็ด รสเมา เป็นยาระบาย ขบั นา้ เหลือง แก้งสู วดั เปลือกตน้ รสเมา เป็นยาถ่าย ตม้ ดื่มแก้โรคหนองใน แกไ้ ข้ ผสมกับนา้ มะพรา้ ว น้ามันเนยและข้าว รบั ประทานแกท้ อ้ งเดิน เนอื้ ไม้ รสขมเมา ต้มดื่มแกไ้ อ ถ่ายพยาธิ ยางจากต้น รสขมเมา เป็นยาถา่ ย แกโ้ รคไขข้ อ้ อักเสบ แก้ปวดฟนั ทาแก้งูสวัด แก้หดิ เปลือกราก รสขมเมา แกโ้ รคหนองใน แก้ไขข้ออักเสบ

๑๒๗ ลลาาดดววนน Melodorum fruticosum Lour. ANONACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ หอมหวน หอมนวล ชอ่ื วงศ์ ชื่ออื่น ลาดวน เปน็ ไมย้ นื ต้นขนาดกลางที่มีถิ่นกาเนิดตามปุาธรรมชาติ บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปน็ ตน้ ไม้และดอกไมป้ ระจาจงั หวัดศรีสะเกษ และทสี่ วนสมเด็จพระศรีนครินทร์จังหวัดศรีสะเกษนั้น เป็น สวนปาุ ทปี่ ลูกเฉพาะลาดวนเพยี งอยา่ งเดยี ว ปัจจบุ ันมผี นู้ ิยมปลูกกนั อย่างกว้างขวาง ท้งั ในบริเวณบา้ นพกั อาศัยและสถานที่ประกอบการ ทาให้ มกี ารขยายพันธุ์และพฒั นาพนั ธ์ุกันอยา่ งต่อเน่ือง แลว้ นามาปลกู เป็นไม้ประดบั ทว่ั ไป

๑๒๘ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๘ - ๒๐ เมตร เปลอื กต้นเรียบ มีสนี า้ ตาลเข้ม ลาต้นตรง ทรงพุ่มรูปกรวย เน้ือไม้ สีขาว เปลือกบริเวณยอดเปน็ สีเขยี ว ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกแกมขอบขนาน กว้างประมาณ ๒ - ๓ เซนติเมตร ยาว ประมาณ ๗ - ๑๕ เซนตเิ มตร ผวิ ใบด้านบนมีสีเขยี วเข้ม ทอ้ งใบมีสเี ขยี วนวล ดอก เป็นดอกเด่ียว ออกท่ีซอกใบ กลีบวงนอก ๓ กลีบ และกลีบวงใน ๓ กลีบหนา เมื่อบาน จะเผยอออกเลก็ น้อย สีเหลอื งนวล มกี ลนิ่ หอมเย็นตลอดท้ังวัน ออกดอกประมาณเดือน มนี าคม - เมษายน ปัจจบุ นั ได้มีการพฒั นาพนั ธใุ์ ห้สามารถออกดอกเปน็ สีเหลืองแกมแดง ผล เป็นรูปทรงกลมสีเขียวอ่อน กว้างประมาณ ๑.๒๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑.๒๕ - ๒.๕ เซนตเิ มตร มเี มลด็ ประมาณ ๑ - ๒ เมล็ด การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ตอนก่งิ ทาบก่งิ หรือแยกตน้ ทเี่ กิดจากราก ประโยชน์ ปัจจุบันคนไทยรู้จักลาดวนในฐานะของไม้ประดับที่มีการแพร่และขยายพันธ์ุกันอย่างกว้างขวาง นา้ มันหอมจากดอกใช้แต่งกลิ่น ดอกแห้ง รสหอมเยน็ จดั อยู่ในเกสรท้ังเก้า เป็นยาบารงุ กาลงั บารงุ หัวใจ บารุงโลหติ แกล้ ม แกไ้ ข้

๑๒๙ เเลลบ็ บ็ คครุฑ Polyscias balfouriana Bailey เล็บครุฑนก เลบ็ ครุฑหงอนไก่ เลบ็ ครฑุ ใบมะตูม ชื่อทางพฤกษศาสตร์ Polyscias filicifolia Bailey เล็บครุฑอแี ปะ Polyscias fruticosa Harms เลบ็ ครุฑทอดมัน เล็บครฑุ ใบเทศ ชื่อวงศ์ เล็บครฑุ ผักชี เลล็ ครฑุ ฝอย Polyscias guilfoylei Bailey เล็บครุฑใหญ่ เลบ็ ครฑุ ใบใหญ่ Polyscias pinnata Forst เล็บครุฑทองคา ARALIACEAE เลบ็ ครุฑฝอย (Polyscias fruticosa Harms) เลบ็ ครฑุ ใบใหญ่ (Polyscias guilfoylei Bailey) เล็บครฑุ แคระ (Polyscias sp.) เลบ็ ครุฑทองคา (Polyscias pinnata Forst) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพุ่มขนาดเล็ก ต้น สงู ประมาณ ๑ - ๒ เมตร เปลอื กต้นเปน็ สีน้าตาล เนอื้ ไม้สีขาว ใบ เป็นใบประกอบ เรยี งสลบั ๕ - ๗ ใบ ขนาด รูปรา่ งและสีของใบจะแตกต่างกนั ตามสายพันธุ์ ดอก เป็นดอกช่อ ออกทีซ่ อกใบปลายกง่ิ ดอกยอ่ ยมขี นาดเลก็

๑๓๐ การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ด้วยการตอนก่ิง ประโยชน์ เป็นไม้ประดบั ที่สามารถปลกู ได้ทั้งในกระถางและลงดนิ ให้ความสวยงามท่ใี บและสสี นั ของใบ สรรพคณุ ทางยา เลบ็ ครฑุ ทุกชนิดมสี รรพคุณเหมอื นกนั คอื ใบ รสหอมร้อน ตาแลว้ พอกแก้ปวดบวมอกั เสบ ทง้ั ตน้ รสฝาดหอม สมานแผล แกไ้ ข้ ราก รสหอมร้อน ตม้ ด่มื ขับปสั สาวะ ระงับประสาท แกป้ วดขอ้ สดู ดมขบั เหงอื่ สรรพคณุ ทางโภชนาการ ใบและยอดอ่อน บางชนิดสามารถรบั ประทานเป็นผกั สดแกล้มลาบ หลู้ ก้อย ชุบแปูงทอดให้กรอบ เปน็ ผักจ้ิมน้าพรกิ ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ เล็บครุฑ เป็นสกุลของพรรณไม้ยืนต้น ในสกุล Polyscias มีทั้งหมด ๑๑๔ ชนิด ซ่ึงแต่ละชนิด มลี ักษณะทแี่ ตกต่างกนั เลบ็ ครฑุ บางชนิดสามารถนามาปรงุ เปน็ อาหารได้ เชน่ นามาทอดเป็นทอดมัน หรือ นามาทาเป็นผกั จมิ้ กินกับน้าพริกต่าง ๆ แต่บางชนิดไม่สามารถรับประทานได้ ซึ่งต้องหาข้อมูลให้ชัดเจน หรอื สอบถามผรู้ ู้ก่อนรับประทาน มิเช่นนั้นอาจทาใหเ้ กิดอันตรายกับรา่ งกายได้ อยา่ งไรก็ตาม ตน้ เลบ็ ครฑุ ชนดิ ทีป่ ลูกภายในอนุสรณ์สถานแหง่ ชาติ สามารถรบั ประทานได้

๑๓๑ เล็บมอื นาง Rangoon Creeper Quisqualis indica Linn. ช่อื สามญั COMBRETACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวงศ์ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมเ้ ถาเนอื้ แขง็ พบได้ท่วั ไปในประเทศไทย ต้น เปน็ เถาเนือ้ แข็ง เปลือกตน้ สนี ้าตาล ก่ิงออ่ นมขี นนุ่ม ใบ เปน็ ใบเดย่ี ว ออกตรงข้าม รปู รีหรือแกมขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบกลม กว้างประมาณ ๒.๕ - ๖ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕ - ๑๕ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อย โคนกลีบเป็นหลอดสีเหลือง ยาว ประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ปลายกลีบแยกเป็น ๕ กลบี เมือ่ แรกบานเป็นสขี าว และเปลี่ยนเป็นสีชมพูและ สีแดง มกี ลิ่นหอม ออกดอกตลอดท้งั ปี ผล เปน็ ผลแหง้ รูปกระสวย มเี ปลือกแขง็ เม่ือแหง้ เปน็ สนี า้ ตาลเขม้ มสี ันตามยาว ๕ เส้น การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ด้วยการปกั ชา หรอื ตอนกิง่ ประโยชน์ ปลูกเป็นไมด้ อกไม้ประดบั และไม้ใหร้ ่มเงา ใบ รสเอยี นเบื่อ แกป้ วดศีรษะ แก้ท้องอดื ตาพอกหรอื ทาแกฝ้ หี นอง เน้อื ในเมล็ด รสเมาเบ่อื เป็นยาขับพยาธิไส้เดอื น โดยบดเปน็ ผงผสมน้าผง้ึ รับประทาน หรือต้มนา้ ดื่ม ตาแลว้ แชใ่ นนา้ มนั ทาแกโ้ รคผวิ หนงั แผล ฝี ราก รสเมาเบื่อสขุ มุ ตม้ นา้ ดมื่ ขบั พยาธติ า่ ง ๆ ทง้ั ต้น รสเมาเบอ่ื สขุ มุ ตม้ น้าดมื่ แกไ้ อ ขับพยาธิ แก้ตานซาง

๑๓๒ วว่า่านนหหออยยแแครง Oyster Plant Rhoeo discolor (L‘Herit.) Hance. ชื่อสามญั COMMELINACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ ว่านกาบหอย วา่ นแสงอาทติ ย์ อัง้ เตก้ ชอ่ื วงศ์ ช่ืออ่ืน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไมล้ ้มลุก ท่ีมถี ิน่ กาเนดิ ในอเมรกิ ากลาง ต้น ขนาดเล็กอวบน้า ทั้งต้นและใบ สูงประมาณ ๒๐ - ๓๐ เซนติเมตร มักแตกหน่อหรือ ไหลขึน้ เปน็ กลุม่ หรอื เปน็ กอ ใบ เป็นใบเดีย่ วรปู หอก กว้างประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๑๕ - ๒๕ เซนติเมตร ปลายใบแหลม หลงั ใบเปน็ สเี ขยี ว ทอ้ งใบเป็นสมี ว่ ง ดอก เป็นดอกช่อ ออกท่ีซอกใบ ใบประดับหรือกลีบเล้ียงเป็นสีม่วงคล้ายกาบหอยแครง กลบี ดอกสีขาว ๓ กลบี ออกดอกตลอดทั้งปี ผล เป็นผลแหง้ รูปกระสวย แตกได้ การขยายพันธ์ุ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการ แยกหนอ่ ประโยชน์ เป็นไม้ประดับ ปลกู เปน็ ไม้คลมุ ดินท่สี ามารถปลกู ได้ท้งั กลางแจง้ และใต้ร่มเงาของไมอ้ ื่น ใบสด รสเย็น ตม้ ใส่น้าตาลกรวดรับประทานแกไ้ อ แก้รอ้ นในกระหายนา้ แกอ้ าเจยี น แก้ช้าใน

๑๓๓ สกั Teak Tectona grandis Linn. ชอ่ื สามัญ VERBENACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ ไม้สักเป็นที่รู้จักของคนไทยเป็นอย่างดี รวมท้ังเป็นสินค้าส่งออกท่ีชาวต่างประเทศต้องการ เปน็ ต้นไมป้ ระจาจงั หวัดอุตรดิตถ์ ไม้สักเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ท่ีเกิดเองตามธรรมชาติในปุาเบญจพรรณ ทางภาคเหนอื แตใ่ นปัจจบุ นั สามารถปลกู และเจริญเติบโตไดด้ ีในทกุ ภาคของประเทศ

๑๓๔ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ตั้งแต่ ๑๐ เมตร ขึ้นไปตามอายุ เปลอื กต้นเป็นสนี า้ ตาลอ่อน เนื้อไม้สีน้าตาลอ่อนอมเหลือง มลี วดลายสวยงาม เปน็ ไมเ้ นอื้ ออ่ น ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปวงรีกว้าง กว้างประมาณ ๑๐ - ๒๐ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๕ - ๓๐ เซนตเิ มตร ผิวใบมีขน ดอก เปน็ ดอกช่อ เปน็ ช่อขนาดใหญอ่ อกทป่ี ลายก่งิ และซอกใบปลายกิง่ กลบี ดอกสขี าว เช่ือมตดิ กัน เปน็ หลอดสั้น ผล เป็นผลสด ทรงกลมสเี ขยี ว มกี ลบี เลีย้ งหมุ้ ปดิ เมอ่ื แกเ่ ปน็ สนี ้าตาล การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เนอื้ ไม้ เปน็ ไม้ที่มคี ุณภาพ นยิ มนามาปลกู สร้างท่ีอยอู่ าศัย อีกทง้ั ยังนามาผลติ เครอื่ งเรือน เครือ่ งมือ เครอื่ งใช้ ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ได้หลายอย่าง จงึ เป็นไมเ้ ศรษฐกิจของไทยด้วย ใบ รสฝาดเฝือ่ น แก้โรคเบาหวาน แก้พิษเสมหะ แกร้ ะดูไมป่ กติ ตม้ นา้ อมแก้เจบ็ คอ ดอก รสจืด เปน็ ยาขับปสั สาวะ เปลอื ก รสฝาดเฝ่อื น เปน็ ยาสมานแผล เน้ือไม้ รสขมเมารอ้ น เป็นยาขบั พยาธิ บารงุ โลหิต แก้ไอ ขับลม ขับปัสสาวะ แกบ้ วม แก้อ่อนเพลีย

๑๓๕ สมอไทย Myrobalan Tree,Ink Nut Tree Terminalia chebula Retz. ชื่อสามญั COMBRETACEAE ชือ่ ทางพฤกษศาสตร์ สมออพั ยา มา่ แน่ หมากแน่ ชื่อวงศ์ ชอ่ื อื่น สมอ เปน็ ไมย้ นื ตน้ ขนาดใหญท่ ีม่ ีถ่นิ กาเนิดในเอเชยี ตอนใต้บริเวณปุาดิบแล้ง ปุาเบญจพรรณ และ ข้นึ กระจัดกระจายตามปาุ สัก ในพื้นที่ท่ีสูงจากระดับน้าทะเล ไม่เกิน ๑,๐๐๐ เมตร สมอ เป็นที่คุ้นเคยกับ คนไทยทวั่ ทุกภาคมานาน โดยนยิ มนาผลดิบมาเป็นผกั รบั ประทานกับนา้ พรกิ ปลาร้าสับ หรอื เคร่ืองจ้ิมอ่ืน ๆ ทค่ี นในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ นยิ ม เมือ่ มมี ากก็สามารถดองไว้รับประทานเป็นอาหารว่าง ปัจจุบันสมอหายากทาให้ คนไทยยุคใหม่ไมค่ ่อยรูจ้ ักสมอเทา่ ใดนกั

๑๓๖ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๒๐ - ๓๕ เมตร เป็นไม้เน้ืออ่อน เปลือกต้นสีน้าตาล มีรอยแตกเป็นร่อง เนื้อไม้มี สนี ้าตาลออ่ น ใบ เป็นใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม หรอื เกือบตรงข้าม รูปวงรี กว้าง ๖ - ๑๐ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ - ๑๕ เซนติเมตร ใบอ่อนและยอดอ่อนมีขนสนี ้าตาล ดอก เปน็ ดอกชอ่ ออกที่ซอกใบหรือปลายยอด เป็นดอกสมบรู ณเ์ พศ ดอกสีเหลืองอมเขียว มีกลีบ เล้ยี ง ๕ กลบี ไม่มกี ลีบดอก ผล เป็นผลสด รูปทรงกลมรี สเี ขยี วผิวมัน มีเส้นจากขวั้ ถึงกน้ ผล ๕ เส้น เมอ่ื แก่เป็นสเี หลอื ง การขยายพันธ์ุ ขยายพนั ธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ปัจจุบันนิยมปลูกเป็นไม้ประดับและไม้ให้ร่มเงาตามสถานที่ที่มีบริเวณกว้าง และใช้ประโยชน์ จาก เน้ือไม้ เพื่อก่อสร้างอาคารบ้านเรอื นและทาเครอื่ งประดับ ผลและเปลอื ก ให้สารสีดาใชใ้ นการย้อมผ้า ผลดิบ เปน็ ผกั รบั ประทานกับน้าพริก หรือถนอมอาหารด้วยการดองเค็มหรือแช่อ่ิม รับประทาน เปน็ อาหารขบเค้ยี ว ดอก รสฝาด ตม้ นา้ ดื่มแกบ้ ิด ผลแก่ รสฝาดเปรี้ยวขม แก้ไข้ แก้น้าดี แก้ลมจุกเสียด ขับน้าเหลืองเสีย แก้เสมหะเป็นพิษ แก้อาเจยี น บารุงรา่ งกาย บดเปน็ ผงโรยรกั ษาแผลเรอื้ รงั เน้ือผล รสฝาดเปร้ียว แก้บิด แก้ท้องผูก แก้ท้องอืดเฟูอ แก้โรคเก่ียวกับน้าดี แก้ตับม้ามโต แก้อาเจยี น แก้ท้องร่วงเรือ้ รงั ผลอ่อน รสเปรยี้ ว แก้นา้ ดี แก้เสมหะ เปลือกตน้ รสฝาดเมา ต้มนา้ ด่ืมบารุงหัวใจ ขับนา้ เหลืองเสีย ขบั ปัสสาวะ

๑๓๗ สารภี Mammea siamensis Kosterm, Ochrocapus saimensis T.And. ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ GUTTIFERAE สร้อยภี สารภีแนน ทรี ชือ่ วงศ์ ช่อื อนื่ สารภี เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางท่ีมีถ่ินกาเนิดในประเทศไทย พบตามปุาเบญจพรรณและปุาดิบ ท่ัวไป เปน็ ต้นไม้และดอกไมป้ ระจาจังหวัดพะเยา

๑๓๘ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เมตร เปลอื กต้นสีน้าตาล แตกล่อนเป็นสะเก็ด เปลือกมียางสีขาวและ เปลีย่ นเปน็ สเี หลืองเม่อื แหง้ เนือ้ ไม้มีสีนา้ ตาล ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่กลับ แกมขอบขนาน กว้างประมาณ ๓ - ๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนตเิ มตร เนือ้ ใบหนา เหนียว ผิวใบเรยี บเปน็ มัน ดอก เป็นดอกเด่ียวหรือดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง กลีบดอกสีขาว ขนาดประมาณ ๑.๒ – ๒ เซนติเมตร กลบี ดอก ๔ กลบี เมอื่ บานจะมว้ นออก เกสรตวั ผู้มสี ีเหลอื ง กลิน่ หอม ร่วงง่าย เกสรตัว เกสรตวั เมยี มีสเี หลืองอมสม้ ออกดอกประมาณ เดอื นมกราคม - มนี าคม ผล ขณะผลสด ทรงกลมรปู ไข่ ขนาดประมาณ ๒.๕ - ๓ เซนติเมตร ผวิ เรียบสเี ขียวออ่ น มยี างสขี าว เม่ือสกุ จะเปลี่ยนเปน็ สีเหลืองอมส้ม เน้ือมีรสหวาน การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธ์ุ ด้วยการเพาะเมล็ด หรือตอนก่ิง ประโยชน์ เนื่องจากเป็นไม้ยืนตน้ ดอกมกี ล่ินหอม จงึ นิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับและไม้ให้ร่มเงา เน้ือไม้ ใชป้ ระโยชนใ์ นงานกอ่ สรา้ งหรอื ทาเคร่ืองเรือนได้ ดอก รสขม หอมเยน็ แกโ้ ลหิตพกิ าร แกไ้ ขม้ พี ิษร้อน เจริญอาหาร บารงุ หวั ใจ เปน็ ยาชกู าลัง จัดอยู่ ในเกสรท้งั ๕ ใชป้ รุงยาหอม เกสร รสหอมเย็น บารุงครรภ์ แกไ้ ข้

๑๓๙ สาละลังกา Cannon Ball Tree Couroupita guianenss Aubl. ช่ือสามญั LECYTHIDACEAE ชอื่ ทางพฤกษศาสตร์ ลกู ปนื ใหญ่ ชือ่ วงศ์ ชื่ออน่ื เปน็ ไมท้ ม่ี ถี ิ่นกาเนดิ ในทวปี อเมรกิ าใต้ เป็นไมย้ นื ตน้ ผลดั ใบ ในประเทศไทยพบเหน็ มากตามวัดตา่ ง ๆ โดยบางคนมคี วามเชอื่ วา่ เปน็ ไม้ท่ีมคี วามเก่ยี วข้องกับพระพุทธเจ้า อาจจะเน่ืองมาจากชาวฮอลันดา ได้นา ต้นพันธ์ุเข้ามาท่ีเกาะลังกา เมื่อปี ค.ศ.๑๘๘๑ และขยายพันธุ์จนแพร่หลาย ต่อมามีภิกษุชาวลังกานิยม นาดอกสาละนี้มาบูชาพระตามวิหารและองค์พระปฏิมากรต่าง ๆ จึงมีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคลสาหรับ พระพุทธเจา้ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๑๕ - ๒๕ เมตร ลาต้นมีเปลือกสีน้าตาล แตกเปน็ รอ่ งและเปน็ สะเกด็ ใบ เป็นใบเด่ียว ออกเวียนเรียงสลับ เป็นรูปหอกกลับ กว้างประมาณ ๕ - ๘ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๕ - ๓๐ เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักตน้ื ๆ ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามลาต้น กลีบดอกหนาแข็ง สีแดงอมเหลือง เมื่อบานเต็มที่ มีขนาด เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ๕ - ๘ เซนติเมตร มกี ล่นิ หอมแรง ออกดอกตลอดท้งั ปี ผล เป็นผลสด ทรงกลม เปลือกสนี ้าตาล ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลางประมาณ ๑๐ - ๒๐ เซนตเิ มตร การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ปลูกเป็นไมป้ ระดบั

๑๔๐ โสกพวง Rose of Venezuela Brownia ariza Benth. ชื่อสามญั LEGUMINOSAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ บวั ตนั อโศกพวง ชอื่ วงศ์ ช่อื อืน่ เป็นไม้ที่มีถิ่นกาเนิดในประเทศเวเนซูเอลา ในประเทศไทยนิยมปลูกกันในวัดและสถานที่ ประกอบการต่าง ๆ คนไทยบางกลุม่ ยงั มีความเช่ือว่าหากปลูกในบา้ นแลว้ จะไมเ่ ป็นมงคลอันเน่ืองมาจากชื่อ พอ้ งกับคาว่าโศก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๕ - ๑๐ เมตร เปลอื กต้นสีนา้ ตาลเข้ม เนื้อไม้สีขาว แตกกิ่งก้านมากมาย ทรงพุ่ม ใบหนาทึบ ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนก เรยี งสลบั มีใบย่อย ๗ - ๘ คู่ รปู ใบหอกแกมขอบขนาน โคนใบมน ปลายใบแหลม กว้างประมาณ ๘ - ๑๐ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๐ - ๑๒ เซนติเมตร ใบอ่อนสีน้าตาล อมม่วง หอ้ ยเปน็ พวงท่ปี ลายกิ่ง ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายก่ิง กลีบดอกสีแดง ออกดอกในห้วง เดือน กรกฎาคม - กันยายน ผล เปน็ ฝกั แบน เมื่อแก่แตกได้ ภายในมเี มลด็ ๑ - ๑๐ เมล็ด การขยายพันธ์ุ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง ประโยชน์ ปลูกเปน็ ไมด้ อกไมป้ ระดบั และไม้ใหร้ ม่ เงา

๑๔๑ หญ้าปักก่ิง Murdannia loriformis (Hassk.) R.S.Roa et Kammathy COMMELINACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ หญา้ ปักกงิ่ เลง้ จือเช่า หญา้ เทวดา ชื่อวงศ์ ชอ่ื อน่ื หญา้ ปกั กิง่ มถี น่ิ กาเนิดอยู่ท่ีประเทศจีนตอนใต้ แถบสิบสองปันนา ชาวจีนได้ใช้หญ้าปักก่ิงเป็นยา รักษาอาการเจ็บคอ และรักษาโรคมะเร็ง เพ่ิงเป็นท่ีรู้จักในหมู่คนไทยไม่นานมานี้เอง แต่ในกลุ่มคนจีน ทอี่ าศัยในกรุงเทพมหานครได้เริม่ นาพชื ชนิดนี้มาเป็นสมนุ ไพรและแพร่หลายออกไปตามจงั หวัดต่าง ๆ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น ลาต้นอวบน้าสเี ขียว เป็นข้อ ๆ สงู ประมาณ ๑๐ เซนตเิ มตร ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลบั กว้างประมาณ ๑.๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๑๐ เซนตเิ มตร ดอก เป็นดอกช่อออกทีป่ ลายยอด รวมกันเปน็ กระจกุ แนน่ กลบี ดอกสฟี าู ออ่ น หรือม่วงอ่อน รว่ งง่าย ผล เป็นผลแหง้ แตกได้ การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธ์ุ ดว้ ยการแยกหนอ่ ปกั ชา ประโยชน์ ปลกู เปน็ ไม้ประดบั ใบอ่อน รบั ประทานเป็นผักกับนา้ พรกิ ต้นและใบ รสจืดเย็น นามาป่ันหรือตาให้ละเอียด เติมน้าแล้วกรองเอาแต่น้า ดื่มแก้โรคมะเร็ง ไดห้ ลายชนดิ เชน่ มะเรง็ ในลาคอ ตับ มดลูก ลาไส้ ผิวหนัง เมด็ เลอื ด ฯลฯ

๑๔๒ หมากผู้หมากเมีย Dracaena Palm Cordyline fruticosa Linn. ช่ือสามัญ AGAVACEAE (LILIACEAE) ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวงศ์ เปน็ ไม้พมุ่ ขนาดยอ่ ม ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๒ - ๔ เมตร ลาต้นกลมเรียว แตกกิ่งกา้ นน้อย ใบ เป็นใบเดีย่ ว เรียงสลับ รูปใบหอกหรือรูปดาบ ก้านใบเล็กอวบยาว หนาแน่นบริเวณปลายก่ิง มหี ลายสี อาทิเช่น สีเขียว สีเขียวขอบแดง สีเขียวแถบเหลือง หรอื สแี ดงล้วน ดอก เป็นดอกช่อ ออกทซ่ี อกใบปลายก่งิ กลบี ดอกสขี าวแกมเหลอื งเจือม่วงหรอื มว่ งลว้ น ผล เปน็ ผลสด ทรงกลม เม่ือสุกจะมีสีแดง การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการเพาะเมล็ด หรอื ปักชา ประโยชน์ เนือ่ งจากลักษณะภายนอกมหี ลายสจี งึ นยิ มปลกู เปน็ ไมป้ ระดับ ใบ รสจืดมนั เย็น แก้พิษกาฬ แกไ้ ข้หวัด แก้ตัวร้อน แก้ร้อนในกระหายน้า ต้มน้าอาบแก้ผดผื่นคัน ตามผิวหนงั ใบ ดอก ราก รสจดื เย็น แกไ้ ข้ แกร้ ้อนในกระหายน้า แกอ้ ักเสบบวม แกบ้ ดิ แก้รดิ สีดวงทวาร ราก รสฝาดเย็น แก้พิษไข้รอ้ น สมานแผลในลาไส้

๑๔๓ หหววา้ ้า Black Plum, Jambolan Syzygium cumini (L.) Skeels, ช่อื สามญั Eugenia cumini (L.) Druce, E.saimensis Craib. ชื่อทางพฤกษศาสตร์ MYRTACEAE หว้าขีแ้ พะ ห้าข้ีแพะ มะห้า ชื่อวงศ์ ช่อื สามญั หว้าเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่พบได้ท่ัวไปในประเทศไทย ข้ึนเองตามธรรมชาติ เป็นต้นไม้ ประจาจังหวัดเพชรบุรี คนไทยท่ัวไปรู้จักต้นหว้าเป็นอย่างดี เน่ืองจากนาผลมารับประทานเป็นผลไม้ แตป่ ัจจบุ ันมกี ารปลูกตน้ หว้าในเชงิ พาณชิ ย์บา้ งแลว้ แตย่ ังไม่เป็นทแี่ พรห่ ลายมากนัก

๑๔๔ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๑๐ - ๓๐ เมตร เปลือกต้นสีน้าตาล แตกล่อนเป็นแผ่น เน้ือไม้เป็นสีขาว เป็นไม้ เนื้อแขง็ แตกกง่ิ ก้านสาขาเป็นทรงพุ่ม ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงตรงข้าม รูปวงรี กว้างประมาณ ๕ - ๙ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๗ - ๑๕ เซนติเมตร ดอก เป็นช่อดอก ออกทซ่ี อกใบ กลบี ดอกสขี าว ออกดอกระหวา่ งเดอื น มนี าคม - เมษายน ผล เปน็ ผลสด รปู ทรงกลมยาวสเี ขียว มีขนาดต่างกนั ตามสายพันธุ์ ตั้งแตเ่ สน้ ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ ๑ – ๒ เซนตเิ มตร ผลสุกมีสีมว่ งอมแดง แตล่ ะผลมเี พียงเมล็ดเดยี ว เน้ือมีรสหวานปนฝาด การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เป็นไม้ท่ใี ห้รม่ เงา และใชป้ ระโยชน์จาก เนือ้ ไม้ ในงานก่อสรา้ งและการทาเครอ่ื งมือเคร่อื งใช้ คนไทยรู้จักรับประทาน ผลสุก มาช้านาน จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาพันธุ์และปลูกในเชิง พาณชิ ย์บ้างแลว้ เปลอื กต้น รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง ตม้ นา้ อมแก้ปากเปอื่ ย คอเป่อื ย ชาระบาดแผล ใบ รสฝาด แก้โรคบดิ ตาทาแกโ้ รคผวิ หนงั ตม้ ชาระแผล ผล รสหวานฝาด แกโ้ รคทอ้ งรว่ ง บิด และ ถอนพษิ เมลด็ รสฝาด ต้มหรือบดรบั ประทานแก้โรคเบาหวาน แก้บิด แกท้ ้องร่วง แก้อหวิ าตกโรค

๑๔๕ หหาางงนนกกยยูงูงฝรั่ง Flamboyant,Flame Tree,Peacock Flower,Royal Poinciaca Delonix regia (Boj. ex Hook.) Raf. ช่ือสามัญ LEGUMINOSAE (CAESALPINIACEAE) ชื่อทางพฤกษศาสตร์ นกยงู ฝรง่ั อินทรี นกยูงฝร่ัง สม้ พอหลวง หงอนยงู ช่ือวงศ์ ชอ่ื อน่ื เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางท่มี ีถ่ินกาเนดิ มาจากเกาะมาดากสั การ์ ทวีปแอฟริกาใต้ ต่อมาได้แพร่พันธุ์ ไปอยา่ งกว้างขวางในพ้ืนท่ีเขตร้อน รวมทัง้ ประเทศไทยด้วย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๕ - ๒๐ เมตร เปลอื กต้นเรียบ สนี า้ ตาล เน้อื ไมส้ ขี าวอมเหลือง เป็นไม้เนอื้ อ่อน ใบ เป็นในประกอบแบบขนนกสองช้ัน รูปขอบขนาน โคนใบเบี้ยว ปลายใบมน กว้างประมาณ ๐.๒ - ๐.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑ - ๑.๒ เซนตเิ มตร ดอก เปน็ ดอกช่อ ออกตามก่ิงและปลายกิง่ แต่ละช่อมีดอกย่อยประมาณ ๖ - ๑๕ ดอก กลีบดอก ๕ กลีบ ขอบหยกั เป็นสีส้ม สีแดง หรอื สแี สด ออกดอกในชว่ ง เดอื นเมษายน - มถิ นุ ายน ผล เป็นฝักแบน กว้างประมาณ ๔ - ๖ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๒๐ - ๓๐ เซนติเมตร มีเมล็ด ทรงกระสวยจานวนมาก การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธุ์ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ปลกู เป็นไม้ดอกไม้ประดับ

๑๔๖ หูกระจง Terminalia ivoriensis A. Chev. Combretaceae ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ แผ่บารมี หกู วางแคระ ช่อื วงศ์ ช่อื อ่นื หูกระจง มีถิ่นกาเนิดในปุาแอฟริกาตะวันตก แถบเส้นศูนย์สูตร ต้ังแต่ประเทศกีนี ไปจนถึง ประเทศแคเมอรูน เป็นพืชเศรษฐกิจ มกี ารปลกู เพ่ือใชเ้ นือ้ ไม้ในแถบถ่นิ กาเนดิ เป็นไม้ที่มีการเจริญเตบิ โตเร็ว และมีอายุยนื ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น เป็นไมท้ ี่มีทรงพุม่ สวยงามแตกก่ิงเปน็ ชน้ั ๆ แต่ละช้ันห่างกันประมาณ ๕๐ - ๑๐๐ เซนติเมตร แมห้ กู ระจงเปน็ ไม้ผลัดใบแต่จะผลัดใบน้อยกว่าหูกวาง โดยปกติเป็นไม้ท่ีชอบน้าเม่ือนาไปปลูกในกระถาง หรือลงดินแลว้ รดน้าใหช้ ุม่ และสม่าเสมอใบแทบจะไมร่ ว่ งเลย ใบ ทต่ี ง้ั ชอ่ื วา่ หูกระจงเปน็ เพราะลกั ษณะใบคลา้ ยกับหูกวาง แต่ใบหกู ระจงจะมขี นาดเล็กกวา่ ดอก มสี ีขาวคลา้ ยดอกกระถนิ ณรงค์ เมล็ด เมลด็ หูกระจงจะคล้ายกับเมลด็ พุทรา การขยายพันธ์ุ ขยายพันธโุ์ ดยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ปลกู เปน็ ไมป้ ระดับและให้รม่ เงา

๑๔๗ เหลอื งปรีดยี าธร Silver trumpet tree, Tree of gold, Paraguayan silver trumpet tree ชื่อสามญั Tabebuia argentea Britt. BIGNONIACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ เป็นไมย้ ืนตน้ ท่ีมีถ่นิ กาเนิดมาจากประเทศในแถบอเมริกาใต้ เช่น เปรู ปารากวัย ต้นสูงประมาณ ๓ - ๘ เมตร เปน็ ต้นไมท้ ีท่ นแล้งไดด้ ี ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น เปน็ ไมเ้ น้ือแขง็ เปลือกต้นสีนา้ ตาลออ่ น มีทรงพุ่มโปร่ง ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ กว้างประมาณ ๑.๕ - ๒.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๔.๕ - ๘ เซนติเมตร ปลายและโคนใบมน ขอบใบเรียบ ดอก เป็นดอกช่อ ออกเป็นกระจุกที่ปลายก่ิง ช่อละประมาณ ๕ - ๑๐ ดอก กลีบดอกสีเหลือง ทรงกรวย ตอนปลายแยกออกเปน็ ๕ แฉก เนอื้ กลีบบาง ออกดอกตลอดท้ังปี และจะออกมากในฤดูหนาว และฤดแู ล้ง ผล เป็นผลแห้ง เป็นฝักทรงกระบอก ยาวประมาณ ๘ - ๑๐ เซนติเมตร สีน้าตาล มีเมล็ด จานวนมาก ซึง่ แตล่ ะเมล็ดมีปีกบาง ๆ สขี าว การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ ปลูกเปน็ ไมด้ อกไมป้ ระดับ

๑๔๘ อินทนิลน้า Queen’s Flower Lagerstroemia spciosa (L.) Pers. ช่ือสามญั LYTHRACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ อินทนลิ ตะแบกดา ตะแบกอนิ เดีย ช่ือวงศ์ ชอื่ อื่น อินทนิลน้าเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางที่เกิดข้ึนตามปุาเบญจพรรณช้ื นและปุาดิบชื้นทั่วไป ในประเทศไทยพบเกือบทั่วทุกภาค เปน็ ต้นไมแ้ ละดอกไมป้ ระจาจงั หวัดสกลนคร เน่อื งจากอินทนิลนา้ มีดอก สีมว่ งสวยงาม จึงมกี ารขยายพนั ธุแ์ ละนามาปลูกเปน็ ไมป้ ระดับ

๑๔๙ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๐ - ๑๕ เมตร เปลอื กต้นสีเทาอมขาว เน้ือไมส้ ีขาว เปน็ ไม้เนอ้ื แขง็ ใบ เปน็ ใบเด่ียว เรียงตรงขา้ มรปู วงรหี รอื รูปวงรีแกมขอบขนาน กวา้ งประมาณ ๖ - ๑๒ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๒ - ๒๔ เซนตเิ มตร ดอก เปน็ ช่อดอก ออกท่ีปลายกิ่ง ดอกย่อยมี ๖ กลีบ สีม่วงอมชมพู เกสรสีเหลือง กลีบดอกบาง ขอบย้วย เม่ือบานเต็มที่ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๕ - ๗ เซนติเมตร ออกดอกในห้วงเดือน มีนาคม - มถิ ุนายน ผล เปน็ ผลแหง้ แตกได้ รูปทรงกลมสีเขียว มกี ลีบเลยี้ งตดิ อยทู่ ่ีขั้ว เม่ือแก่เป็นสีดาแตกออกมีเมล็ด จานวนมากอย่ภู ายใน การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ ปัจจบุ นั อินทนลิ ได้นามาปลกู เปน็ ไมป้ ระดับ เนอ้ื ไม้ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในการกอ่ สรา้ งได้ ใบ รสจืดขม ฝาดเย็น ต้มกับน้ารับประทานแก้โรคเบาหวาน แก้ปัสสาวะพิการในคน แต่ในสัตวท์ ดลองพบว่าไม่สามารถลดปรมิ าณน้าตาลในเลือดได้ เมล็ด รสขม แก้โรคเบาหวาน แก้นอนไมห่ ลับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook