Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรรณไม้นานาชนิด ของอนุสรณ์สถานแห่งชาติ

พรรณไม้นานาชนิด ของอนุสรณ์สถานแห่งชาติ

Published by NaraSci, 2022-01-21 02:22:22

Description: พรรณไม้นานาชนิด ของอนุสรณ์สถานแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

๕๐ ตะแบก Lagerstroemia calyculata Kurz. LYTHRACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ตะแบกหนงั ตะแบกใหญ่ กะแบก เปลือย เปลอื ยขาว เปลือยคาง ช่อื วงศ์ เปลือยนา้ ช่ืออืน่ ตะแบกเป็นต้นไม้ประจาจังหวัดสระบุรี เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่เกิดตามธรรมชาติ ในปาุ เบญจพรรณและปาุ โปรง่ ทัว่ ไป ตะแบกเป็นไม้ทมี่ รี ปู ลกั ษณภ์ ายนอกคลา้ ยคลงึ กับ อนิ ทนิล อนิ ทนิลน้า และเสลาเป็นอยา่ งมาก หากสงั เกตใหด้ จี ะมคี วามแตกต่างท่ี ใบ เปลอื กต้น ดอก และผล ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๑๐ - ๒๕ เมตร เปลือกตน้ เป็นเปลอื กเกลย้ี งหลดุ ร่อนเม่อื แก่ เนอื้ ไมส้ ีน้าตาลอ่อน เปน็ ไม้เน้ือแข็ง ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้างประมาณ ๔ - ๖ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๖ - ๘ เซนติเมตร ผวิ ใบเรยี บเนอื้ ใบหนา ดอก เป็นดอกช่อ กลีบดอกสีม่วงแกมขาว เกสรสีเหลือง ออกดอกประมาณเดือน ธันวาคม - กุมภาพนั ธ์ ผล เป็นผลแหง้ ทรงกลม แตกเป็น ๖ ช้นิ ภายในมเี มล็ดจานวนมาก การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เนือ่ งจากเป็นไม้เนอื้ แข็งและละเอยี ด จึงนยิ มใช้ประโยชน์จาก เน้ือไม้ เพ่ือการก่อสร้างท่ีอยู่อาศัย สิ่งของเคร่อื งใช้ต่าง ๆ นอกจากนปี้ จั จบุ นั ยังนิยมนามาปลกู เปน็ ไมด้ อกไม้ประดบั กนั อย่างแพรห่ ลาย เปลอื กตน้ รสฝาดเปน็ ยาแกบ้ ดิ มูกเลอื ด แก้ลงแดง

๕๑ ททบั บั ททมิ ิม Pomegranate Punica granatum Linn. ช่อื สามญั PUNICACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ พลิ า พิลาขาว มะกอ่ งแก้ว มะเกา๊ ะ ชือ่ วงศ์ ชอื่ อ่นื ทับทิม เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ซ่ึงถือได้ว่าเป็นไม้พื้นเมืองของไทยมานาน นิยมปลูกกันเพ่ือ รับประทานเป็นผลไม้ ในปจั จุบันได้มีการพฒั นาพนั ธใ์ุ หม้ ีคุณภาพดีขน้ึ และมีรสชาติน่ารับประทานมากขึ้น จนสามารถปลกู เปน็ พชื เศรษฐกจิ อีกชนิดหนึ่งของไทย

๕๒ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๒ - ๕ เมตร เปลือกต้นสนี ้าตาลเขม้ เน้ือไม้สีนา้ ตาลออ่ น ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมขอบขนาน กว้างประมาณ ๑ - ๒ เซนติเมตร ยาว ประมาณ ๔ - ๖ เซนติเมตร ใบอ่อนเป็นสแี ดง ดอก เป็นดอกเด่ยี ว ออกที่ซอกใบและปลายก่ิง กลบี ดอก รังไขแ่ ละกลบี เลี้ยงเปน็ สสี ม้ ผล เป็นผลสดรูปทรงกลมที่พัฒนามาจากรังไข่ ผิวมันสีเขียว เม่ือแก่เป็นสีเหลืองอมส้ม ภายใน มเี มลด็ จานวนมาก เนอ้ื ท่ีรบั ประทานไดน้ น้ั เป็นส่วนทีห่ ้มุ เมลด็ ซง่ึ มีลกั ษณะใส ๆ สีแดง รสหวานอมเปรีย้ ว การขยายพันธ์ุ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ โดยทวั่ ไปคนไทยปลูกทับทิมไว้เป็นผลไม้พ้ืนบ้าน ใบใช้ในพิธีกรรมความเช่ือ โดยเฉพาะคนจีนใน ประเทศไทย จะใช้ใบทบั ทิมจมุ่ นา้ มนต์ปะพรมแก่ผู้ร่วมงานในงานมงคลต่าง ๆ หรือปะพรมให้กับผู้ที่กลับ จากไปรว่ มงานศพ เพือ่ ปอู งกนั สิง่ ทีไ่ มด่ ีทต่ี ิดตวั มา ผลสุก ใชร้ บั ประทานเปน็ ผลไม้ ใบ รสฝาด แก้ทอ้ งรว่ ง แก้บิดมูกเลือด สมานแผล ดอก รสฝาดหวาน ต้มด่มื แก้หูชนั้ ในอักเสบ บดโรยแผล เนือ้ หมุ้ เมลด็ รสหวานอมเปรยี้ ว เป็นยาระบายอ่อน ๆ บารงุ หัวใจ เปลือกผล รสฝาด รกั ษาอาการทอ้ งร่วง ซงึ่ ควรใชใ้ นปรมิ าณที่พอเหมาะ หากมากเกินไปอาจเป็น อันตรายได้ นอกจากนี้ยงั นามาฝนกบั นา้ ทาแกน้ า้ กัดเทา้ ได้ เปลอื กตน้ /ราก รสเมาเบ่อื ถา่ ยพยาธิ ราก รสเมาเบื่อ เปน็ ยาฆา่ พยาธติ ัวตืด

๕๓ ทองกวาว Flame of forest, Bastart Teak, Bengal kinotree, Kino Tree Butea monosperma Kuntze ช่อื สามัญ LEGUMINOSAE. ช่ือทางพฤกษศาสตร์ กวาว จอมทอง ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น ชอ่ื วงศ์ ชอ่ื อ่ืน ทองกวาว เป็นไมย้ ืนตน้ ผลัดใบ ขนาดกลาง พบมากในทลี่ มุ่ ปาุ ผลดั ใบ หรอื ปาุ ละเมาะในภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้นไม้และดอกไม้ประจาจังหวัดเชียงใหม่ เป็นดอกไม้ประจา จงั หวดั อดุ รธานีและจังหวดั อานาจเจรญิ

๕๔ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๘ - ๒๐ เมตร เปลือกตน้ สีเทาเขม้ แตกเปน็ รอ่ งต้ืน ๆ เนือ้ ไมส้ ขี าวเป็นไมเ้ นือ้ แขง็ ใบ เปน็ ใบประกอบแบบนิ้วมอื เรยี งสลบั มใี บยอ่ ย ๓ ใบรูปไขก่ ลบั หลังใบเรียบ ท้องใบสาก กว้าง ประมาณ ๗ - ๑๐ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามกิ่งและปลายก่ิง ดอกย่อยเป็นรูปดอกถ่ัว กลีบดอกสีแสดมี ๕ กลีบ ออกดอกประมาณ เดือนธันวาคม - มีนาคม ผล เปน็ ฝกั แบน ยาวประมาณ ๑๕ เซนติเมตร กว้างประมาณ ๓.๕ เซนติเมตร มีเมล็ดประมาณ ๑ - ๒ เมลด็ การขยายพันธ์ุ ขยายพันธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ นิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ เน้ือไม้ ทาประโยชน์ได้หลายอย่าง ใบ มีขนาดใหญ่ใช้ห่อของได้ เปลือกตน้ ทาเชือกและกระดาษได้ ดอก ใชท้ าสยี ้อมผ้า ใบ รสเมา แกท้ อ้ งข้ึน ขับพยาธิ แกร้ ิดสีดวง ตาพอกสิว ดบั พิษฝี แก้ปวด ดอก รสฝาดขม ถอนพษิ ไข้ ขบั ปัสสาวะ แกต้ าเจ็บ ตาฟาง เมล็ด รสเมารอ้ น ต้มน้าด่มื ขับพยาธิไสเ้ ดือน ตาผสมนา้ มะนาวทาแกผ้ วิ อกั เสบ แสบร้อน ผ่นื คัน ราก รสเมาร้อน แกท้ อ้ งขนึ้ อืดเฟูอ ขับพยาธิ แกร้ ดิ สีดวงทวาร รากสด ต้มดม่ื แกโ้ รคประสาท และ บารงุ ธาตุ

๕๕ ไทรย้อย Weeping Fig, Golden Fig Ficus benjamina Linn. ชอ่ื สามญั MORACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ ไทรใบแหลม ไทรกระเบอื้ ง ไฮ ชื่อวงศ์ ช่ืออ่ืน เป็นไม้ยืนตน้ ขนาดกลางมีถนิ่ กาเนดิ จากประเทศอนิ เดียและมาเลเซีย พบไดท้ ั่วไปตามปุาธรรมชาติ ของประเทศไทย เปน็ ตน้ ไม้ประจาจงั หวัดกรุงเทพมหานคร ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร มกี ง่ิ กา้ นสาขามาก เปลอื กลาต้นเรียบสีน้าตาลอ่อน เนื้อไม้สีขาว อมเทาเป็นไม้เนื้ออ่อน ตามกิ่งก้านมีรากอากาศขนาดเล็กจานวนมาก เมื่อย้อยลงถึงดินก็จะพัฒนาเป็น ตน้ ใหม่ทค่ี ้ายนั กิ่งก้าน ทาใหเ้ กิดกล่มุ ต้นไทรขน้ึ จากต้นแม่เพียงต้นเดียว ที่เห็นได้ชัดเจน คือ กลุ่มไทรย้อย ที่อาเภอพิมาย จงั หวัดนครราชสมี า ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงสลับ รูปหอกหรือรูปไข่แกมวงรี ผิวใบเรียบเป็นมัน กว้างประมาณ ๒ - ๓ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓ - ๕ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ เกดิ ภายในฐานรองดอก ทม่ี ีรูปทรงกลมคล้ายผล ออกเป็นค่ตู ามซอกใบ แยกเพศ อย่ใู นช่อเดียวกนั ผล เปน็ ผลสด รปู ไข่ หรือไข่กลบั เม่ือสุกเปน็ สเี หลืองสม้ หรือแดง การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธุ์ ด้วยการเพาะเมลด็ ตอนก่งิ หรอื แยกต้น ประโยชน์ ปจั จบุ ันนิยมปลกู เป็นไมป้ ระดบั เพื่ออาศัยร่มเงา หรือตกแตง่ ใหเ้ ป็นรปู ทรงตา่ ง ๆ ตามท่ตี อ้ งการ ราก รสฝาด เป็นยาแก้ขัดเบา ขับปสั สาวะ แกน้ วิ่ แก้กษยั ไตพิการ บารงุ นา้ นม เปน็ ยาสมานลาไส้

๕๖ ไทรอินโด Banyan Tree Ficus annulata ชอื่ สามัญ MORACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ ชือ่ วงศ์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ลาต้นมีความสูงประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร ลาต้นตรงแตกก่ิงก้านเป็นพุ่มทึบ บางชนิดก็เป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามก่ิงก้านและลาต้น ผวิ เปลอื กเรยี บสขี าวปนเทา ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากก่ิง และสว่ นยอดของลาต้น ออกเป็นคู่สลับกัน ลักษณะและขนาดใบ จะมีสีสรรแตกต่างกันตามพนั ธุ์ ฝัก/ผล แบบมะเดื่อ ๑.๘ - ๓ เซนติเมตร ออกเป็นคู่ในซอกใบรูปไข่สีเหลืองอมส้มหรือ เหลอื งอมชมพู มกั จะมจี ดุ สคี รีม กา้ นผล ๑ - ๑.๕ เซนติเมตร อ้วนสั้น ด้านบนมีวงแหวนนูน ด้านล่างและ กาบใบรปู สามเหลยี่ มแคบขนาด ๔ - ๗ มิลลิเมตร ๓ กาบ ทย่ี อดผล ชอบดินรว่ นซยุ่ อยไู่ ด้ในแดดอ่อนถึงกลางแจง้ ตอ้ งการนา้ ปานกลางถึงมาก การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธโุ์ ดยการ ปกั ชา ตอน และการใชเ้ มลด็ ประโยชน์ นยิ มนามาทาเปน็ รว้ั

๕๗ นนทรยี ์ Yellow Flamboyant Peltophorum pterocarpum (DC.) Back.ex K.Heyne ชื่อสามัญ LEGUMINOSAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ กระถินปา่ กระถนิ แดง สารเงิน ชื่อวงศ์ ชอื่ อนื่ เปน็ ไม้ยนื ตน้ ผลัดใบ ขนาดกลางถึงใหญ่ เกิดเองตามธรรมชาตใิ นปุาเบญจพรรณและปุาโปร่งท่ัวไป เปน็ ตน้ ไม้และดอกไม้ประจาจงั หวัดนนทบุรี เปน็ ดอกไมป้ ระจาจังหวดั พิษณโุ ลกและจงั หวดั ฉะชงิ เทรา

๕๘ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๒๕ - ๔๐ เมตร เปลือกตน้ สนี า้ ตาล เนอ้ื ไม้สีน้าตาลอ่อน แตกเปน็ สะเก็ด เนื้อไม้สี ขาวอมน้าตาล เปน็ ไมเ้ นื้อแข็ง แตกกิ่งกา้ นเปน็ ทรงพุ่ม ก่งิ ออ่ นมีขนอ่อนสนี า้ ตาล ใบ เป็นใบประกอบสองชั้นแบบขนนก ใบย่อยรูปไข่แกมขอบขนาน ก้านใบสีน้าตาล กว้าง ประมาณ ๐.๕ - ๐.๗ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๑.๒ - ๑.๘ เซนตเิ มตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายกิ่ง ช่อดอกตั้ง ยาวประมาณ ๒๐ - ๒๐ เซนติเมตร กลีบดอก ๕ กลบี สีเหลอื ง มกี ลน่ิ หอม ออกดอกระหว่างเดอื น มนี าคม - มถิ นุ ายน ผล เป็นฝักแบนกว้างประมาณ ๒ - ๒.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ - ๑๒ เซนติเมตร สีเขียว เมือ่ แกส่ ีน้าตาล และแตกออกเป็น ๒ ซีก มีเมลด็ ประมาณ ๑ - ๔ เมล็ด การขยายพนั ธ์ุ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ เปน็ ไม้ดอกไม้ประดับ เนื้อไม้ นามาใช้ประโยชนใ์ นการทาส่งิ ของเครอ่ื งใชไ้ ด้ เปลือกตน้ รสฝาด แก้ท้องรว่ ง ปิดธาตุ ขบั โลหิตพกิ าร ขบั ลม

๕๙ ความแตกระหว่าง”นนทรีย์”และ”อะราง” ตน้ นนทรีย์ ตน้ อะราง ผลนนทรีย์ ผลอะราง ดอกนนทรยี ์ ดอกอะราง ออกดอกในช่วงเดือน มีนาคม - มถิ นุ ายน ออกดอกในช่วงเดอื น มกราคม - มนี าคม

๖๐ นนมมแแมมวว Rauwenhoffia siamensis Cyathostemma micranthum (A.DC.) J.Sinclair ชื่อสามัญ ANNONACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ น้าเตา้ อ้อย พญามีฤทธ์ิ ชอ่ื วงศ์ ชื่ออน่ื นมแมว เป็นไม้พุ่มท่ีเกิดเองตามธรรมชาติในปุาเบญจพรรณและชายปุาชื้นพบมากในภาคกลาง ภาคใต้ของไทย รวมทง้ั มาเลเซียและอินโดนิเชยี ด้วย ไมม่ คี วามผูกพันกบั ชวี ติ ประจาวันของชาวบ้านมากนัก จึงถูกแผว้ ถางทาลายไปเป็นจานวนมาก ชาวชนบทส่วนใหญร่ ู้จกั นมแมวเพียงแค่เป็นไม้ปุาท่ีผลสุกสามารถ รับประทานได้เพ่ือยังชีพเท่าน้ันไม่มีค่าในเชิงเศรษฐกิจ ทั้งต้นและผล อย่างไรก็ตามนมแมวก็เป็นท่ีรู้จัก ของคนไทยมานาน

๖๑ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ไม่เกนิ ๕ เมตร เปลอื กตน้ สีนา้ ตาลเข้ม กง่ิ ออ่ นมขี นสนี ้าตาล ใบ เป็นใบเด่ียวเรียงสลับ รูปขอบขนานแกมใบหอก กว้างประมาณ ๒ - ๓.๕ เซนติเมตร ยาว ประมาณ ๖ - ๑๔ เซนติเมตร ดอก เปน็ ดอกช่อ ออกตามซอกใบทป่ี ลายก่ิง หอ้ ยคว่าลงพื้น มีกลีบวงนอก ๓ กลีบและกลีบวงใน ๓ กลีบ ขนาด ๑.๕ เซนติเมตร สเี หลืองแกมเขียว กลีบดา้ นนอกมขี นออ่ นละเอยี ด ผล เป็นกลุ่มผล รูปทรงกลม ขนาด ๐.๕ - ๑ เซนตเิ มตร ผลดบิ สีเขียว เมื่อสุกเป็นสีเหลือง เนื้อใน สีขาว มรี สหวาน รับประทานได้ มีเมลด็ อยู่ภายใน การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ หรือตอนกง่ิ ประโยชน์ นยิ มปลกู เป็นไม้ประดับ ผลสุก เปน็ ผลไม้ปาุ รบั ประทานเปน็ อาหารยังชีพ ราก รสฝาดเฝ่ือน ฝนกับน้าทาแก้พษิ แมลงสตั ว์กดั ต่อย เนอ้ื ไม้ รสฝาดเฝอื่ น แกไ้ ข้หวดั ไข้ทับระดู ไข้กลับ

๖๒ บบวั ัวหหลลวง East Indian Lotus, Sacred Lotus Nelumbo nucifera Gaeth. ช่อื สามญั NELUMBONACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ โกกระณต บุณฑรกิ บงั ปกั กงิ่ ปทุม ปัทมา ปณุ ฑริก สัตตบงกช ชื่อวงศ์ สัตตบษุ ย์ ชอื่ อ่นื เป็นไมท้ ่ีมถี ิน่ กาเนิดตามแหล่งนา้ จืด ในประเทศอินเดยี ซึ่งมีสว่ นเกี่ยวข้องกับพุทธประวัติมากมาย นับต้ังแต่ประสูติ การแสดงธรรมที่เปรียบคนเราเหมอื นบวั ๔ เหล่า คือ อคุ คติตญั ญบู ุคคล วปิ ัจจิตญั ญูบุคคล เนยยบุคคล และปทปรมบคุ คล นอกจากนหี้ ัวใจคนเรายงั มีรปู ร่างคล้ายกับดอกบัว จงึ ทาใหน้ สิ ัยใจคอคนเรา แตกต่างกันไป เหมือนดังบัว ๔ เหล่า ดังกล่าว เป็นดอกไม้ประจาจังหวัดพิจิตร สุโขทัย หนองบัวลาภู อุบลราชธานี และปทมุ ธานี

๖๓ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาต้น เปน็ เหง้าและไหลอยู่ใตด้ นิ ใตน้ ้า ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปเกือบกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๒๐ - ๕๐ เซนติเมตร กา้ นใบแข็งชใู ห้แผ่นใบอยเู่ หนอื น้า ผวิ ใบเรียบไมเ่ ปยี กนา้ ดอก เป็นดอกเดี่ยว แทงข้ึนจากเหง้า ก้านแข็งชูดอกขึ้นเหนือน้า กลีบดอก จานวนมากซ้อนกัน หลายชน้ั สีขาวหรือสีชมพู มกี ลิน่ หอม บานเตม็ ที่มีขนาด ๑๕ - ๒๕ เซนตเิ มตร มีเกสรตวั ผจู้ านวนมาก ออก ดอกตลอดท้งั ปี ผล เป็นฝักทรงถ้วย มเี มลด็ ทรงกลมจานวนมาก การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมลด็ หรอื แยกเหงา้ ประโยชน์ ปลกู เป็นไมด้ อกไม้ประดับ ดอก ใช้สาหรับบูชาพระ ไหลบวั นามาประกอบอาหารไดท้ ้งั อาหารคาวและหวาน เช่น แกงไหลบัว ไหลบวั เช่อื ม เมล็ด เมล็ดอ่อนรับประทานสด หรือประกอบอาหารหวานอ่ืน ๆ เช่น เต้าส่วนเมล็ดบัว ฯลฯ เมลด็ แหง้ จะใหน้ า้ มนั นามาประกอบอาหารได้ ใบ ใช้หอ่ ของ หรือนามาเปน็ ส่วนหนง่ึ ในการปรงุ อาหาร เช่น ขา้ วอบใบบัว ดีบัว (ตน้ อ่อนในเมล็ดบัว) มีฤทธข์ิ ยายหลอดเลือดในหวั ใจ กลบี ดอก เปน็ ยาสมาน เกสร จดั อยู่เกสร ท้งั ๕ ทงั้ ๗ และทงั้ ๙ ใช้ปรุงยาหอมบารุงหวั ใจ

๖๔ บวั สวรรค์ Gustavia gracillima Miers. LECYTHIDACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ บัวฝรง่ั ช่ือวงศ์ ชอ่ื อ่ืน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๑ - ๓ เมตร เปลอื กตน้ เรยี บสีน้าตาล เปน็ ไม้พมุ่ ขนาดกลาง ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปไข่กลับ ปลายเรียวแหลม โคนใบเรียวยาวถึงต้น ใบกว้างประมาณ ๕ - ๑๐ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๒๐ - ๔๐ เซนตเิ มตร ผิวใบเรียบเปน็ มัน ดอก เป็นดอกเด่ียว ออกตามซอกใบปลายก่ิง กลีบดอกสีชมพูอ่อน เม่ือบานเห็นเกสรได้ชัดเจน ซึ่งจะงองมุ้ เข้าหาศนู ย์กลาง มีกล่นิ หอมเลก็ น้อย ผล เปน็ ผลแหง้ ทรงกรวย เม่ือแหง้ แตกไดม้ ีเมลด็ จานวนมาก การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ ปลกู เปน็ ไมด้ อกไม้ประดับ

๖๕ ปาล์มเปชาอลร์มร่ีเชอร์ร่ี Cherry Palm Hyophorbe ' Cherry' ชื่อสามญั ชือ่ ทางพฤกษศาสตร์ เป็นปาล์มลูกผสมระหว่าง ปาล์มแชมเปญกับปาล์มสามเหลี่ยมเหลือง จึงมีลักษณะอยู่ระหว่าง ปาล์มสองชนิดน้ี เหมาะสาหรับปลูกโชว์ลาต้นเป็นกลุ่มในท่ีกว้าง ๆ พบท่ัวไปบริเวณสวนสาธารณะ หนองปรือ ตาบลเกาะเปียะ อาเภอยา่ นตาขาว จงั หวดั ตรัง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาต้น เปน็ ทรงกระบอกคลา้ ยกับปาลม์ สามเหลย่ี มเหลือง แต่มีขนาดต้นใหญ่กว่าปาล์มแชมเปญ ใบ เป็นใบทม่ี ีกา้ นใบเปน็ สีมว่ งแดง ก้านใบยาวทิ้งหอ้ ยลงมาอยา่ งนุม่ นวล ดอก เปน็ ช่อดอก แผก่ ระจายยาวประมาณ ๔๕ - ๕๐ เซนติเมตร การขยายพนั ธุ์ เนื่องจากปาล์มต้นน้ีเป็นหมันไม่ติดเมล็ด การขยายพันธ์ุต้องนาเมล็ดที่ได้จากการผสมเกสร ของปาล์มแชมเปญและปาล์มสามเหล่ียมมาเพาะเทา่ นน้ั ประโยชน์ ปลกู เปน็ ไม้ประดบั

๖๖ ปีบ Indian Cork Tree Millingtonia hortensis Linn.f. ชอ่ื สามัญ BIGNONIACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ กากี กาซะลอง กาดสะลอง กนั ของ ช่อื วงศ์ ชื่ออ่ืน ปีบ เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง ที่พบทั่วไปในปุาเบญจพรรณของภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นไม้ท่ีขยายพันธุ์ได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นต้นไม้ประจาจังหวัดพิษณุโลก และเปน็ ดอกไม้ประจาจังหวดั ปราจนี บุรี

๖๗ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๕ - ๒๕ เมตร เปลือกต้นมีสีน้าตาลเข้ม เปลือกแตกเป็นร่องลึก เน้ือไม้สีขาว เป็นไมเ้ นือ้ ออ่ น เรือนยอดเป็นพ่มุ ทึบ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ๒ - ๓ ช้ัน เรียงตรงข้าม ใบย่อยเป็นรูปไข่แกมใบหอก กว้างประมาณ ๑.๕ - ๒.๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ดอก เปน็ ชอ่ ขนาดใหญอ่ อกท่ปี ลายก่งิ ดอกมลี กั ษณะเปน็ หลอดยาวประมาณ ๑๐ - ๔๐ เซนตเิ มตร ปลายหลอดเป็นกลีบดอก ๕ กลีบ สีขาว มีกล่ินหอมในตอนเย็น ทยอยออกเรื่อย ๆ จนหมดช่อประมาณ ๑ เดือน ออกดอกประมาณ กันยายน - พฤศจกิ ายน ผล เป็นฝักแบนกว้างประมาณ ๑ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ภายในมี เมลด็ แบนปลวิ ลมได้ จานวนมาก การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ แยกตน้ ที่เกิดจากราก ประโยชน์ เป็นไม้ประดับท่ีนิยมปลูกกันทั่วไปท้ังในบ้านท่ีอยู่อาศัยเน่ืองจากดอกมีกลิ่นหอมหรือปลูกตาม สถานประกอบการ เนอ้ื ไม้ นามาใช้ประโยชนใ์ นการทาสงิ่ ของเครอ่ื งใชห้ รอื เครื่องเรือน ดอกแห้ง รสหวานขมหอม บารุงน้าดี บารุงโลหิต บารุงกาลัง แก้ลม แพทย์แผนโบราณใช้มวน เป็นบุหรี่สูบแก้โรคหดื ในดอกพบว่ามีสาร Hispidolin ซึง่ ระเหยไดม้ ีฤทธ์ขิ ยายหลอดลมได้ดี ราก รสเฝือ่ น เปน็ ยาบารุงปอด แกไ้ อเหน่ือยหอบ แก้วณั โรค

๖๘ ปปรระะดด่แู ่แู ดดงง Monky Flower Tree Phyllocarpus septentrionalis Donn.Smith ชื่อสามญั LEGUMINOSAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ วาสุเทพ ช่อื วงศ์ ช่ืออน่ื ประดแู่ ดง เป็นที่มีถนิ่ กาเนดิ ในประเทศกวั เตมาลา เปน็ ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่

๖๙ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๐ - ๒๐ เมตร เรือนยอดแผ่กวา้ ง ปลายกงิ่ ลูล่ งดิน เปลอื กตน้ สนี ้าตาลเข้ม เนอ้ื ไม้ สขี าว เป็นไม้เนอ้ื แขง็ ใบ เปน็ ใบประกอบ แบบขนนก เรยี งสลับ มใี บย่อย ๓ - ๕ ใบ รูปรีหรือรูปใบหอก กว้างประมาณ ๒ - ๒.๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๕ - ๖ เซนติเมตร ดอก เปน็ ดอกชอ่ ออกเปน็ กระจกุ ตามกงิ่ จุดละประมาณ ๓ - ๕ ช่อ ดอกยอ่ ยสีแดงเขม้ มี กลีบใหญ่ ๕ กลีบ กลบี เลก็ ๒ กลบี ออกดอกห้วง เดือนมกราคม - กุมภาพนั ธ์ ผล เป็นฝักแบน กว้างประมาณ ๑ - ๓ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕ - ๘ เซนติเมตร ภายในมี ๑ - ๒ เมล็ด การขยายพันธ์ุ ขยายพนั ธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ นยิ มปลูกเปน็ ไมด้ อกไมป้ ระดบั และไมใ้ หร้ ม่ เงา

๗๐ ประดบู่ า้ น Angsana Pterocarpus indicus Willd. ชอื่ สามญั LEGUMINOSAE ช่ือทางพฤกษศาสตร์ ประดอู่ ินเดีย สะโน ประดกู่ ่ิงอ่อน ชอ่ื วงศ์ ชื่ออ่ืน โดยทั่วไปแล้วจะแยกไม่ค่อยออกว่าประดู่ ประดู่ปุา ประดู่บ้าน แตกต่างกันอย่างไร หากดูจาก ลักษณะท่ัวไปแล้วจะเห็นว่าไม่ค่อยแตกต่างกัน ประดู่บ้านเป็นไม้ท่ีมีถิ่นกาเนิดในประเทศมาเลเชียและ บริเวณใกล้เคียง รวมท้ังประเทศไทยด้วย ซ่ึงพบมากตามปุาดงดิบ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป จัดให้เป็น ตน้ ไม้ประจาจังหวัดภเู ก็ต เปน็ ดอกไมป้ ระจาจงั หวัดอุตรดติ ถ์ รอ้ ยเอ็ด และระยอง

๗๑ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๒๕ เมตร เปลือกต้นสีน้าตาลเข้ม แตกเป็นสะเก็ด เนื้อไม้ส่วนที่กะพ้ีเป็นสีขาว สว่ นที่เปน็ แกน่ สนี ้าตาลแดง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มใี บยอ่ ย ๒ - ๓ คู่ เหมือนกับประดปู่ าุ แตใ่ บยาวเรียวกว่า ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามปลายก่งิ กลีบดอกสเี หลืองเขม้ และมักจะบานพร้อมกันทง้ั ต้น ออกดอก ประมาณ เดือนมนี าคม - เมษายน ผล เป็นผลแห้งไม่แตก แตล่ ะผลมีเพียง ๑ เมล็ด เหมอื นประดู่ปุา การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ปัจจุบันนิยมปลูกเป็นไม้ประดับและไม้อาศัยร่มเงา และปลูกเป็นสวนปุาเพ่ือใช้ประโยชน์จาก เนือ้ ไม้ ในงานก่อสรา้ ง งานเคร่อื งใช้หรือเคร่ืองเรอื น ใบอ่อน รสฝาด ตาพอกฝี แกผ้ ดผ่ืนคัน เปลือกต้น รสฝาด สมานแผล แกท้ อ้ งเสยี แกบ้ ดิ เน้อื ไม้ รสฝาดขม ต้มน้าดม่ื แกเ้ สมหะ

๗๒ ประดู่ป่า Bermese Ebony Pterocarpus macrocarpus Kurz ชอ่ื สามญั LEGUMINOSAE (FABACEAE)/ PAPILIONOIDEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ประดู่ ประดู่เสน ฉะนอง ดู่ ดปู่ า่ ช่อื วงศ์ ชือ่ อ่นื ประดู่ปาุ เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นเองตามปุาธรรมชาติในปุาเบญจพรรณชื้นและ ปุาดิบแล้ง พบมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ เป็นต้นไม้และดอกไม้ประจาจังหวัด ชลบรุ ี เป็นตน้ ไมป้ ระจาจงั หวดั ภูเกต็ นอกจากนี้ยังเป็นไม้สัญลักษณ์ของทหารเรือไทยด้วย ประดู่เป็นไม้ท่ี สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเน้ือไม้ซ่ึงเป็นไม้เน้ือแข็งซ่ึงเป็นท่ีนิยม นามาใชใ้ นงานก่อสรา้ ง งานทาสง่ิ ของเครื่องใช้ตา่ ง ๆ จนทาให้ปริมาณไมใ้ นปาุ ธรรมชาตลิ ดนอ้ ยลง จากการ เพาะและขยายพนั ธทุ์ าใหป้ ระดู่ปุากลบั เปน็ ทรี่ ูจ้ กั ของคนไทยอีกครั้งหน่งึ และนิยมปลูกกันทั้งในสวนปาุ และ พื้นทชี่ มุ ชนตา่ ง ๆ

๗๓ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๑๕ - ๒๕ เมตร เปลอื กต้นหนา สีน้าตาลเข้ม และมียางสีชมพู เนื้อไม้ส่วนที่เป็น กระพีเ้ ปน็ สีขาว สว่ นท่เี ป็นแกน่ สีแดง เปน็ ไมเ้ นื้อแขง็ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ช้ันเดียว เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปไข่แกมขอบขนาน กวา้ งประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๖ - ๙ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกที่ซอกใบ รูปดอกถั่ว กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ขนาด ๑ - ๑.๕ เซนติเมตร กลิน่ หอม ประดจู่ ะบานพรอ้ มกันท้ังตน้ และร่วงในวันเดยี วกนั ออกดอกประมาณเดอื น มีนาคม - เมษายน ผล เป็นฝักแบน มีปีกบาง ๆ เป็นรูปวงกลม มีเมล็ดอยู่ตรงกลาง สีเขียวอ่อน เม่ือแก่เป็น สนี า้ ตาลเขม้ การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ในอดีตไมป้ ระดผู่ ูกพันกบั ชีวติ ประจาวันของชาวชนบทเป็นอย่างมาก โดยได้ เนื้อไม้ มาใช้ทาเป็น ท่ีอยู่อาศัย เครื่องมือ เครื่องใช้ คือ ทาเป็นไม้ก่อสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย เป็นยานพาหนะ เช่น เกวียน สาหรบั บรรทกุ ข้าวของ เปน็ เครื่องใช้ เชน่ คนั ไถ คราด โต๊ะ เกา้ อ้ี มา้ น่ัง ปมุ ประดู่ มีลวดลายสวยงามนามา ทาเครอื่ งใช้หรือเครื่องเรือนราคาแพง นอกจากนี้ เปลือกและแก่น ไม้ยังให้สีแดงคล้าใชย้ อ้ มผา้ ใบ รสฝาด ชงกับน้าสระผม ตาพอกฝี และบาดแผล แกผ้ ดผน่ื คัน เปลอื กต้น รสฝาดจัด เป็นยาสมานแผล ต้มด่ืมแกท้ ้องอดื แก่น รสขมฝาดรอ้ น เปน็ ยาบารุงโลหิต บารุงกาลัง แก้กษยั แก้คุดทะราด แกไ้ ข้ ปมุ่ ประดู่ เผาเอาควันรมริดสีดวงให้ฝุอ ตม้ ดมื่ บารงุ โลหติ

๗๔ ประยงค์ Chinese Rice Flower Aglaia odorata Lour. ชอ่ื สามญั MELIACEAE ชอื่ ทางพฤกษศาสตร์ ขะยง ขะยม พะยงค์ ยม หอมไกล ดอกไขป่ ลา ชอ่ื วงศ์ ช่อื อื่น ประยงค์เป็นไมท้ มี่ ีถ่ินกาเนิดในแถบเอเชียตะวันออก คนไทยรู้จักในฐานะเป็นไม้ดอกหอม ท่ีนิยม ปลูกกันในบริเวณบา้ นพักอาศัย เพื่อแสวงประโยชน์เป็นไม้ดอกไมป้ ระดบั ทีด่ อกมกี ลน่ิ หอม

๗๕ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๓ - ๕ เมตร ลาต้นมขี นาดเลก็ เปลือกตน้ สีนา้ ตาล เนือ้ ไม้สีขาว ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยมี ๕ ใบ รูปไข่กลับ กว้างประมาณ ๑ - ๒ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๒ - ๔ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกท่ีปลายกิ่ง เป็นช่อโปร่ง ดอกย่อยมีขนาดเล็กเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๒ เซนตเิ มตร กลีบดอกสเี หลือง มกี ล่นิ หอมแรง ออกดอกในห้วง สงิ หาคม - ธันวาคม ผล เป็นผลสด ทรงกลม เมอื่ สกุ เปน็ สแี ดง มี ๑ - ๒ เมลด็ การขยายพันธุ์ ขยายพันธุ์ ด้วยเมล็ด การตอนก่งิ ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ดอกไมป้ ระดบั ดอก ใชแ้ ต่งกลิน่ ชา เรียกวา่ “ชากลนิ่ ” ใบ/กา้ น รสเฝอ่ื น ตาพอกแก้ฟกชา้ แผลฝีหนอง ดอก รสขมเฝือ่ น แก้วิงเวียนศรี ษะ ลดอาการอดึ อัดแน่นหนา้ อก ดบั ร้อน แกก้ ระหายนา้ ราก รสเยน็ เฝือ่ น เป็นยาทาให้อาเจยี น ถอนพษิ เบือ่ เมา

๗๖ ปาล์มสบิ สองปนั นา ชื่อสามัญ Pygmy Date Palm ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ Phoenix roebelenii ชอื่ วงศ์ PALMAE ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ปาล์มสิบสองปันนามีถ่ินกาเนิดอยู่ทางภาคเหนือของไทยและประเทศในแถบอินโดจีน เป็น พรรณไม้ตระกลู ปาลม์ ต้น มลี าต้นเดย่ี ว สงู ประมาณ ๑.๕ - ๒ เมตร ส่วนยอดของลาต้นมีกาบใบแตกออกมา ใบ มีสีเขียวเข้ม มีลักษณะเป็นรูปขนนกแผ่โค้งออกรอบต้น ทาให้ดูสวยงาม โดยเมื่อปลูกเดี่ยว ปลอ่ ยให้มีพื้นทีว่ า่ งรอบ ๆ ต้น ปาล์มสิบสองปันนาจะแผ่กงิ่ กา้ นใบออกอยา่ งเสรดี ูสวยและสงา่ งาม ปาล์มสิบสองปันนาเป็นไม้กลางแจ้งที่ทนต่อแสงแดดได้ตลอดวัน ต้องการน้าและความชื้น ในระดับปานกลาง แต่ก็สามารถเจริญเติบโตได้แม้มีแสงแดดน้อยและน้าน้อย จึงสามารถนามาปลูก เปน็ ไม้ประดับภายในอาคารได้ การขยายพันธ์ุ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ต้องการแสงแดด ต้องการน้าและความช้ืนในระดับปานกลาง ดินที่ปลูกควรมีการระบายน้าท่ีดี ทนต่อแมลงได้ดี ชอบดินร่วนซุยที่มีอินทรีวัตถุ ใช้ดิน ๑ ส่วน ทราย ๒ ส่วน ปยุ๋ หมักและปยุ๋ คอก ๑ สว่ น เศษใบไม้ผุ ๑ ส่วน ประโยชน์ ปาล์มสิบสองปันนาเหมือนกับปาล์มชนิดอื่น ๆ ที่มีคุณสมบัติในการดูดสารพิษในอากาศ ภายในอาคารได้ดีเย่ียม โดยเฉพาะสารไซรีน (xylene) และมีการคายความช้ืนท่ีดี จึงเหมาะอย่างย่ิง ทจี่ ะนามาปลูกเป็นไมป้ ระดบั ภายในอาคารสานักงาน

๗๗ พกิ ลุ Bullet Wood Mimusops elengi Linn. ช่อื สามญั SAPOTACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ กลุ แก้ว ซางดง พกิ ลุ ปา่ ชอ่ื วงศ์ ชื่ออนื่ พิกลุ มีถนิ่ กาเนดิ ในประเทศอนิ เดียและพม่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางท่ีพบได้ทั่วไปตามปุาดิบช้ืน ของประเทศในเขตร้อน ได้รบั การจัดให้เป็นตน้ ไม้และดอกไมป้ ระจาจังหวัดลพบรุ ี เป็นดอกไมป้ ระจาจงั หวดั กาแพงเพชร ในอดีตคนไทยจะพบเห็นต้นพิกุลเฉพาะในวัดเท่านั้น คนไทยมีความเช่ือบางอย่างจึงไม่นิยม ปลูกพกิ ุลไว้ในบ้าน

๗๘ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๐ - ๑๕ เมตร เปลือกต้นสีน้าตาลเข้ม เน้ือไม้สีน้าตาลอ่อน เป็นไม้เน้ือแข็ง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทบึ ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงสลับ รูปวงรี กว้างประมาณ ๓ - ๖ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕ - ๑๒ เซนติเมตร ขอบใบเป็นคลนื่ ดอก เปน็ ดอกเดี่ยวท่ีออกเปน็ กลุ่มที่ซอกใบ กลบี ดอกสีขาวนวล กลนิ่ หอม ออกดอกตลอดทั้งปี ผล เป็นผลสด รปู ไขส่ เี ขียว เมอ่ื แก่เปน็ สีสม้ เนอ้ื เป็นสนี า้ ตาล มีเมลด็ การขยายพันธ์ุ ขยายพันธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ ปัจจบุ ันคนไทยได้คลายความเชื่อในอดตี ลงบา้ งแล้ว จึงทาให้มีคนนาพิกุลไปปลูกในสถานท่ีต่าง ๆ มากขึน้ แมแ้ ตใ่ นบา้ นพักอาศัย ใบ รสเบือ่ ฝาด แก้หืด ดอก รสหอมสุขุม จัดอยู่ในเกสรทั้งเจ็ด ปรุงเป็นยาหอม บารุงหัวใจ แก้เจ็บคอ แก้ปวดเหมื่อย ตามกล้ามเนอื้ เมลด็ รสเฝอื่ น ขับปสั สาวะ เปลือกตน้ รสฝาด ต้มนา้ อมหรอื กล้ัวคอแกโ้ รคเหงอื กอักเสบ เนอ้ื ไม้ รสเมาเบื่อ แก้เกลอ้ื น แก่น รสขมเฝอื่ น แกไ้ ข้ บารุงโลหติ เนอ้ื ไม้ ทรี่ าลงมีสนี า้ ตาลเขม้ ประขาว มีกล่นิ หอม เรียกว่า ขอนดอก ใช้เปน็ ยาบารุงตับ ปอด หัวใจ และเป็นยาบารุงครรภ์

๗๙ พญาสตั บรรณ Blackboard Tree/Devil Tree Alstonia scholaris (L.) R. Br. ชอ่ื สามัญ APOYNACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ สัตตบรรณ ตนี เป็ด ตนี เปด็ ขาว ยางขาว หัสบรรณ ชื่อวงศ์ ชือ่ อน่ื พญาสัตบรรณเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่มีถิ่นกาเนิดจากประเทศมาเลเชียและหมู่เกาะโซโลมอน ในประเทศไทยน้ันพบได้ทั่วไปตามปุาดงดิบทางภาคใต้ เปน็ ตน้ ไม้ประจาจังหวัดสมทุ รสาคร

๘๐ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๓๐ เมตร โคนต้นเปน็ พพู อน เปลอื กต้นสีเทา มยี างสขี าว ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงรอบข้อ แต่ละข้อมีประมาณ ๖ - ๙ ใบ ลักษณะยาวรีคล้ายใบหอก กว้างประมาณ ๒ - ๖ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๕ - ๑๘ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกท่ีปลายกิ่ง กลีบดอกมีสีขาวแกมเหลือง โคนกลีบเช่ือมติดเป็นกรวย ปลายกลบี แยกเปน็ ๕ กลบี ออกดอกประมาณ เดอื นตลุ าคม - พฤศจิกายน ผล เป็นฝักยาวเหมือนฝักถั่วขนาดเล็ก กว้างประมาณ ๐.๒ - ๐.๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ออกเปน็ คู่เมือ่ แกแ่ ตกเป็น ๒ ซกี มเี มลด็ ลักษณะแบน ๆ จานวนมาก การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ หรอื ปกั ชากิ่ง/ราก ประโยชน์ นยิ มปลูกเป็นไม้ประดับและไมใ้ ห้ร่มเงาตามสถานท่ีต่าง ๆ เน้ือไม้ เป็นไม้เน้ืออ่อนใช้ประโยชน์ได้ โดยท่ัวไป ใบ รสเฝื่อน แกไ้ ขห้ วดั แกโ้ รคผวิ หนัง ดอก รสเฝื่อน แกร้ ดิ สดี วงทวาร เมล็ด รสเฝื่อนเมา แก้หิด แก้ผมหงอก ใช้เบอื่ ปลา เปลือกต้น รสจืดเฝื่อน เป็นยาแก้บิด สมานลาไส้ แก้หวัด แก้หลอดลมอักเสบ มีการทดลองนา สารสกัดจากเปลือกไปใชก้ ับสตั ว์พบว่าสามารถลดน้าตาลในเลือดและต้านเชอ้ื แบคทีเรียบางชนิดได้ กระพี้ รสเฝื่อน แกเ้ กลือ้ น แกน่ รสเฝื่อน กระจายลม ราก รสเฝ่ือน ขบั เสมหะ ยางและใบ รสเฝอื่ นร้อน เปน็ ยาถ่าย ทาให้อาเจียน นา้ มนั จากเมล็ด รสเฝื่อนร้อน ทาแกห้ วัด แก้หดิ

๘๑ พดุ จบี Clavel De La India, East Indian Rosebay, Crape Jasmine Tabernaemontana divaricata (Linn.) R.Br. ชอ่ื สามัญ APOCYNACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ พุดสวน พุดสา พดุ ปา่ ชอื่ วงศ์ ชอ่ื อนื่ เป็นไม้ทม่ี ถี ิน่ กาเนดิ ในประเทศอนิ เดีย ในประเทศไทยพบตามปุาดบิ ทางภาคเหนอื ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑ - ๓ เมตร ลาต้นขนาดเลก็ เปลอื กสีน้าตาลออ่ น มยี างสีขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้างประมาณ ๓ - ๔ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ - ๑๒ เซนติเมตร ปลายใบแหลม ผวิ ใบเรยี บเปน็ มนั ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายก่ิง กลีบดอกสีขาว โคนกลีบดอกติดกันเป็นกรวย ปลายกลีบแยกเป็น ๕ - ๑๐ แฉก ซ้อนกัน ๒ ช้ัน มีกล่ินหอม บานเต็มท่ีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ออกดอกตลอดทงั้ ปี ผล เปน็ ฝัก ยาวประมาณ ๒ - ๕ เซนติเมตร การขยายพนั ธุ์ ขยายพันธ์ุ ดว้ ยการเพาะเมล็ด หรอื ตอนก่ิง ประโยชน์ นิยมปลกู เปน็ ไมด้ อกไมป้ ระดบั ยางจากตน้ เปน็ ยาขับพยาธิ ใบ รสเฝื่อน ตากบั น้าตาล ชงนา้ ดืม่ แกไ้ อ ดอก รสเฝ่ือน คนั้ เอาแต่นา้ ทาแกโ้ รคผวิ หนงั เน้ือไม้ รสเฝอ่ื น เป็นยาลดไข้ ต้น รสเฝ่ือน ค้นั เอาน้าดื่มเป็นยาขบั พยาธิ ราก รสเฝอ่ื น บารุงรา่ งกาย ระงบั ปวด แก้ปวดฟนั ขบั พยาธิ

๘๒ พะยงู Siamese Rose - Wood Dalbergia cochinchinensis Pierre. ชอ่ื สามัญ LEGUMINOSAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ พะยงุ กะยง กระยงู ขะยงู แดงจนี ประดลู่ าย ประดู่เสน ชอ่ื วงศ์ ชื่ออน่ื เป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดกลาง เกิดตามเบญจพรรณและปุาดิบแล้งทั่วไปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก เปน็ ต้นไม้ประจาจังหวดั หนองบัวลาภู

๘๓ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๕ - ๒๕ เมตร เปลือกต้นสีน้าตาลผิวเรียบ เป็นไม้เนื้อแข็งเน้ือละเอียด กระพี้ เป็นสีขาวนวล แกน่ เป็นสแี ดงเขม้ หากท้ิงไว้ถกู อากาศนาน ๆ จะเปลยี่ นเปน็ สีแดงอมดา ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้นเรียงสลับ ใบย่อยกว้างประมาณ ๑ - ๒ เซนติเมตร ยาว ประมาณ ๒ - ๓ เซนตเิ มตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายก่ิง กลีบดอกมีขนาดเล็กสีขาว มีกล่ินหอม ออกดอก ประมาณ เดอื นพฤษภาคม - กรกฎาคม ผล เป็นฝักแบนกว้างประมาณ ๑ - ๒ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๔ - ๖ เซนติเมตร มีเมล็ดสี นา้ ตาลเขม้ ประมาณ ๑ - ๔ เมลด็ การขยายพันธุ์ ขยายพันธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เน้ือไม้ พะยงู คนไทยถอื ว่าเปน็ ไมช้ ั้นสงู แม้วา่ เน้ือไม้จะเปน็ ไม้ที่มีคุณภาพที่นามาทาส่ิงของเครื่องใช้ ไดห้ ลายอย่าง คนไทยจึงนิยมนามาทาเคร่ืองใช้ที่เป็นมงคล เช่น โต๊ะหมู่บูชา โต๊ะทางาน โต๊ะรับประทาน อาหาร แจกัน ฯลฯ ไม่นิยมนามาทา เตียงนอน เก้าอี้ บันได หรือส่ิงของเคร่ื องใช้ที่อยู่ต่า ๆ หรือใช้ เทา้ เหยียบ จะเป็นอัปมงคลแก่ผ้ใู ช้ เปลอื กต้น รสฝาดขม ตม้ นา้ อมแก้ปากเป่อื ย ปากแตก เนือ้ ไมแ้ ละแกน่ รสฝาดขมรอ้ น บารุงโลหิต แก้เลอื ดลมซา่ น ขับลมเสียดแทง ยางสด รสฝาด ทาแก้ปากเปื่อย

๘๔ พะยอม Shorea Shorea roxburghii G.Don., S.talura Roxb. ชอื่ สามญั DIPTEROCARPACEAE ชือ่ ทางพฤกษศาสตร์ กะยอม ขะยอมดง แคน พะยอมดง พะยอมทอง ยางหยวก ชอ่ื วงศ์ ช่ืออื่น พะยอม เป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดกลางถงึ ใหญท่ ี่เกิดเองตามธรรมชาตติ ามปุาเบญจพรรณท่ัวไป พบมาก ในพนื้ ทีภ่ าคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทยแต่จัดให้เป็นต้นไม้และดอกไม้ ประจาจังหวัดพัทลุง เป็นดอกไม้ประจาจังหวัดกาฬสินธ์ุ ชาวชนบทได้แสวงประโยชน์จากพะยอม อยา่ งกว้างขวางทาใหพ้ ะยอมสญู หายไปจากปุาอย่างรวดเร็ว ทั้ง ๆ ที่พะยอม น้ันมีดอกหอมเป็นที่ชื่นชอบ ของคนท่วั ไป แต่ปัจจุบันสว่ นราชการท่เี กีย่ วข้องไดท้ าการขยายพนั ธุ์และเผยแพร่ใหเ้ ป็นที่รจู้ กั ของคนไทยอีกครั้ง จงึ มีผ้นู ิยมปลกู เปน็ ไม้ดอก ไมป้ ระดับในบา้ นและสถานประกอบการต่าง ๆ

๘๕ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สูงประมาณ ๑๕ - ๓๐ เมตร เปลือกต้นสีน้าตาล มีรอยแตกเป็นร่อง เนื้อไม้สีขาวอมเหลือง เป็นไมเ้ น้อื แขง็ ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้างประมาณ ๓ - ๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๘ - ๑๒ เซนตเิ มตร ขอบใบเป็นคล่ืน เนื้อใบเหนียวและหนา ดอก เปน็ ช่อดอก ออกบรเิ วณปลายกิ่งกอ่ นถึงยอด ห้วงเวลาหลังผลัดใบและผลิใบอ่อน กลีบดอก ๕ กลีบ ขนาดประมาณ ๒ เซนติเมตร สีขาวอมเหลืองเล็กน้อย มีกลิ่นหอม ออกดอกประมาณเดือน ธนั วาคม - กุมภาพนั ธ์ ผล เป็นผลแห้ง รปู กระสวย มีปกี ๕ ปกี เป็นปีกยาว ๓ ปกี สน้ั ๒ ปกี การขยายพนั ธ์ุ ขยายพันธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เนอ่ื งจากพะยอมเปน็ ไม้ปุาท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และชาวชนบทได้ใช้ประโยชน์จากพะยอม อยา่ งกว้างขวาง ทเี่ ห็นได้ชัด คือ การนา เปลือก ราก มาเป็นส่วนผสมกับหมากพลูสาหรับผู้ท่ีเคี้ยวหมาก หรือกินหมาก นอกจากนี้ เนื้อไม้และเปลือก เกษตรกรได้นาไปใส่ในกระบอกน้าตาลสดเพ่ือปูองกัน น้าตาลบดู ก่อนที่จะนามาเค่ียวเป็นนา้ ตาลปกึ เนอ้ื ไม้ กส็ ามารถนาไปทาส่ิงก่อสร้างหรือเครื่องใช้ไม้สอยได้ จึงทาให้พะยอมมีปริมาณลดน้อยลงมาก เปลือกต้น รสฝาด เป็นยาสมานแก้ท้องเสีย และบารุงลาไส้ โดยต้มกับน้าดื่ม เปลือกต้นยังใช้ เป็นสารกนั บดู ได้ด้วย ดอก รสหอมสขุ ุม เป็นส่วนผสมของยาหอม บารงุ หัวใจ ลดไข้

๘๖ เฟ่ืองฟ้า Bougainvillea Bougainvillea spp. ชือ่ สามญั NYCTAGINACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวงศ์ เฟื่องฟูาถูกค้นพบครั้งแรกในประเทศบราซิลโดยนั กพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสราว ค.ศ.๑๗๖๖ - ๑๗๖๙ และได้ถกู นาไปปลูกยังส่วนต่าง ๆ ของโลก เร่ิมจากยุโรป อเมริกาเหนือ และเอเชีย สาหรบั ในประเทศไทย มีการนาพันธเุ์ ฟอ่ื งฟูาเขา้ มาจากสงิ คโปรค์ ร้งั แรกราว พ.ศ.๒๔๒๓ ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ พันธ์ุเฟื่องฟูาในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่าต่างประเทศ เนื่องจากเฟื่องฟูาเจริญเติบโตได้ดีในประเทศไทย และกลายพันธุ์เกิดเป็นพนั ธ์ุใหมข่ นึ้ มากมาย ความเป็นมงคลของตน้ เฟ่อื งฟูา เนื่องจากคนไทยโบราณเชอ่ื ว่า บ้านใดปลกู ตน้ เฟ่อื งฟาู ไว้ประจาบา้ น สามารถสร้างคุณค่าของชีวิตให้สูงข้ึน เฟ่ืองฟูาเป็นพรรณไม้ ท่ีได้รับสมญาว่าเป็นราชินีแห่งไม้ประดับ เนื่องจากสามารถนาเฟื่องฟูาไปใช้ประโยชน์ในด้านสุนทรียภาพเพื่อประดับสวน อาคาร บ้านเรือน และ สถานท่ีสาคัญต่าง ๆ นอกจากน้ีคนไทยโบราณยังมีความเชื่ออีกว่า เฟื่องฟูาเป็นไม้มงคลที่สาคัญของ เทศกาลตรุษจนี เพราะต้นเฟอ่ื งฟูาสามารถออกดอกสะพรัง่ ในช่วงเทศกาลตรุษจีนจึงทาให้บางคนเรียกต้น เฟ่ืองฟูาว่า ต้นตรุษจีน ดังนั้นบางคนเชื่อว่า เม่ือช่วงดอกเฟ่ืองฟูาบานแสดงถึง ความเบิกบาน สว่างไสว ความรุ่งเรอื ง ท่ีก้าวไกลแห่งชีวิต

๘๗ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ เป็นพุ่มกึง่ เลอื้ ย สามารถเลอ้ื ยไปไดไ้ กลถงึ ๑๐ เมตร ลาต้นมีลักษณะกลมใหญ่ เนอื้ แข็ง ผิวสเี ทา หรือนา้ ตาล มีหนามขนึ้ ตามลาตัน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับคล้ายรูปไข่หรือรูปหัวใจ มีหลายสี ขนาดกว้างประมาณ ๒ - ๓ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๓ - ๖ เซนตเิ มตร ดอก เป็นกระจุกตามง่ามใบและปลายกิ่ง ในหนึ่งดอกจะมีใบดอก ๓ ใบเชื่อมติดกัน ใบดอก กวา้ งประมาณ ๒ - ๔ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร มีเกสรตัวผรู้ ปู ทรงกระบอกสีเขยี ว ผล มีขนาดเล็ก ลักษณะเป็นสัน ๕ เหล่ียม เปลือกแขง็ และมเี มลด็ ตดิ กบั เปลอื ก การขยายพันธุ์ ขยายพันธ์ุด้วยการปักชากิ่ง ตอนก่ิง เสียบยอด ต้องการแสงแดดจัดในสภาพกลางแจ้ง ได้รับแสงแดดตลอดวัน ถ้าได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ จะทาให้สีของใบไม่เข้ม ออกดอกน้อย ต้องการ อณุ หภูมิปานกลางหรือร้อนชน้ื เมอื่ โตข้นึ ตอ้ งการนา้ ปานกลางถึงค่อนข้างตา่ ถา้ รดน้ามากเกนิ ไปจะไม่ออก ดอก ประโยชน์ ปลกู เป็นไมด้ อกไมป้ ระดับ ดอก มสี รรพคุณชว่ ยบารุงหัวใจและระบบขับถ่าย ดอก (สายพันธ์ุ Bougainvillea glabra Choisy.) มีรสขมฝาด เป็นยาสขุ มุ ออกฤทธิ์ต่อตับ ใช้เป็น ยาแกป้ ระจาเดือนมาไม่เปน็ ปกติ ทาให้เลอื ดไหลเวยี นได้ดี รกั ษาสตรีท่ีประจาเดอื นไมม่ า หรอื มุตกิดตกขาว ของสตรี ด้วยการใชด้ อกทเ่ี ปน็ ยาแหง้ ครงั้ ละ ๑๐ - ๑๕ กรมั นามาตม้ กับน้ารบั ประทาน หรือจะใช้ร่วมกับ ตวั ยาอืน่ ๆ ในตารบั ยาตามที่ตอ้ งการ ดอกขาว (สายพันธุ์ Bougainvillea spectabilis Willd.) ในประเทศจีนจะไม่นิยมนามาใช้ทายา แตใ่ นประเทศไทยจะมกี ารนารากมาใช้เป็นยาแกพ้ ษิ ต่าง ๆ

๘๘ มกิ กเิ้ มาส์ Miky Mouse Ochna kirkii Oliv. ชื่อสามญั OCHNACEAE ชอ่ื ทางพฤกษศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ เป็นไม้ที่มถี นิ่ กาเนิดในทวปี อเมริกา ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๑ - ๑.๕ เมตร ลาต้นขนาดเลก็ เปลือกต้นสนี า้ ตาลเข้ม ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้างประมาณ ๒ - ๒.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๔ - ๗ เซนตเิ มตร ปลายใบแหลม ผิวใบเรียบเปน็ มนั ดอก เป็นดอกเด่ียวออกเป็นกระจุกตามซอกใบปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง ๕ กลีบสีเขียว เมื่อแก่เป็น สีแดงเข้ม ทาใหด้ คู ล้ายกลบี ดอก กลีบดอกสีเหลือง ๕ กลีบ เม่อื บานแล้วรว่ งงา่ ย เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางประมาณ ๒.๕ เซนตเิ มตร ออกดอกตลอดท้งั ปี ผล เปน็ ผลสด ทรงกลม ติดอยูก่ บั ฐานดอก มสี เี ขียว เมือ่ สุกเปน็ สีดา การขยายพันธุ์ ขยายพนั ธุ์ ด้วยการเพาะเมลด็ หรือตอนก่งิ ประโยชน์ ปลกู เป็นไมด้ อกไม้ประดบั

๘๙ มะกอกน้า Elaeocarpus hygrophilus Kurtz. ELAEOCARPACEAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ สารภนี า้ สมอพิพา่ ย ช่อื วงศ์ ช่ืออน่ื เป็นไมย้ นื ต้นขนาดกลาง เจริญเตบิ โตไดด้ ีในทล่ี ุ่มหรือทที่ ่มี แี หลง่ น้าอดุ มสมบูรณ์

๙๐ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๓ - ๑๐ เมตร เปลอื กต้นสีน้าตาล เนอ้ื ไม้สขี าว เป็นไมเ้ น้อื แข็ง ใบ เปน็ ใบเดีย่ วรูปไขก่ ลับ โคนใบเรียวแหลมลงไปตดิ ก้านใบ เส้นใบสีขาว กา้ นใบสีแดง ผวิ ใบเรยี บ เปน็ มันสเี ขยี ว กวา้ งประมาณ ๒ - ๒.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร ดอก เปน็ ดอกชอ่ ออกตามซอกใบปลายก่งิ กลีบดอกสขี าว ผล เป็นรูปทรงกลมรี สีเขียวออ่ น มีเมล็ดขนาดใหญ่ผลละ ๑ เมล็ด เนอื้ ในละเอยี ดสีขาวอมเขยี ว การขยายพนั ธ์ุ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ และการตอนก่ิง ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดบั และบงั รม่ เงา ผล นาไปแปรรูปเป็นอาหารว่างได้หลายอย่าง เช่น มะกอกดอง มะกอกเชื่อมน้าตาล มะกอก แช่อม่ิ ฯลฯ มรี สฝาดเปรย้ี วหวาน รับประทานแกก้ ระหายนา้ ทาให้ชมุ่ คอ เปลือกตน้ รสเฝ่ือน ชงน้ารอ้ นดื่มเปน็ ยาฟอกโลหิต

๙๑ มะขวดิ Elephant’s Apple / wood Apple / Kavath / Gelingga Feronia limonia Swingle. ชื่อสามญั RUTACEAE ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ มะฟิด ชื่อวงศ์ ชื่ออ่ืน มะขวดิ เป็นไมย้ นื ตน้ ขนาดกลาง คนไทยในอดตี รู้จกั เป็นอยา่ งดีในฐานะผลไมพ้ ้นื เมืองที่นิยมปลูกไว้ ตามหวั ไรป่ ลายนา เพ่ือรับประทานผลสุก แต่ปัจจุบันไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของคนรุ่นใหม่ และมีผู้นาผลผลิต ออกมาขายน้อยมาก จะมีเฉพาะบางท้องถิ่นเท่าน้ัน ทั้งนี้เน่ืองมาจากรสชาติของมะขวิดไม่โดดเด่น เหมอื นกับผลไม้อ่นื

๙๒ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สงู ประมาณ ๖ - ๒๐ เมตร เปลือกตน้ สีเทา แตกเปน็ สะเกด็ เนอื้ ไม้สีเทาอ่อน เปน็ ไม้เนอ้ื แขง็ ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยมี ๕ - ๗ ใบ รูปขอบขนานแกมไข่กลับ กวา้ งประมาณ ๐.๕ - ๑ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๑.๕ - ๓.๕ เซนติเมตร เนื้อใบมีตอ่ มนา้ มนั อยทู่ ่ัวใบ ดอก เป็นดอกช่อ ออกท่ีซอกใบและท่ีปลายกิ่ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศในดอกเดียวกัน กลีบดอก สขี าวอมเขยี ว ออกดอกประมาณเดอื น มกราคม - มีนาคม ผล เปน็ ผลสด รปู ทรงกลมเปลือกแขง็ สีขาวอมเขียว เนอื้ ในสขี าวมีเมลด็ จานวนมาก เม่ือแก่และสุก ผลจะล่นจากตน้ และเนอื้ ในจะเปล่ยี นจากสขี าวเป็นสนี า้ ตาลเข้ม รสหวานเลก็ นอ้ ย การขยายพันธ์ุ ขยายพนั ธุ์ ดว้ ยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เนอ้ื ไม้ สีเหลอื งออ่ น เนอ้ื เหนียวละเอียด นิยมนามาทาเปน็ เครื่องมือเคร่ืองใช้ ผลสุก เนือ้ ในสีน้าตาลเขม้ รบั ประทานเปน็ ผลไม้ ใบ รสฝาดปร่า แก้ทอ้ งเสีย แกต้ กเลอื ด และหา้ มระดู ตาพอกหรือทาบรรเทาอาการบวม รักษาฝี และโรคผิวหนงั บางชนิดได้

๙๓ มะขาม Tamarind Tamarindus indica Linn. ชือ่ สามัญ LEGUMINOSAE ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ชือ่ วงศ์ เปน็ ไมย้ ืนตน้ ทพ่ี บเห็นได้ท่ัวไปทุกภาคของประเทศไทย จากในอดีตท่ีมะขามเป็นเพียงไม้ปุาหรือ ไม้พื้นบ้านที่แสวงประโยชน์จากผลและเนื้อไม้เพื่อดารงชีพประจาวันเท่านั้น แต่ในปัจจุบันได้มีการ พัฒนาพนั ธใ์ุ ห้มะขามสุกมรี สหวานได้เช่นเดียวกับผลไม้อ่ืน ๆ นัยว่ามีสายพันธ์ุด้ังเดิมอยู่จังหวัดเพชรบูรณ์ ซ่งึ ยังมตี น้ เดิมใหเ้ หน็ อยู่ แตบ่ างคนก็ยนื ยันวา่ ตน้ พนั ธุ์เดมิ ของมะขามหวานอยู่ที่ จงั หวัดเลย ซ่ึงน่าจะเป็นไป ได้ท้ังสองแหง่ จงึ ทาให้มะขามหวานเปน็ ผลไม้เศรษฐกจิ ของจงั หวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดเลย ส่วนมะขาม เปร้ียวน้ันก็มีการพัฒนาพันธ์ุให้ผลมีขนาดใหญ่ขึ้น และมีผลดกเพ่ือจาหน่ายเป็นมะขามเปียก ใช้ปรุงรส อาหาร และแปรรูปเป็นอาหารอ่ืน ๆ มะขามได้รบั การจดั ให้เปน็ ต้นไม้ประจาจังหวัดเพชรบรู ณ์

๙๔ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตน้ สูงประมาณ ๑๕ - ๓๐ เมตร เปลอื กตน้ สนี า้ ตาลเข้มแตกเปน็ ร่อง เนอ้ื ไม้สีขาวแก่นสีน้าตาลดา เปน็ ไม้เน้อื แขง็ มที รงพมุ่ กิง่ ก้านหนาแนน่ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้างประมาณ ๕ - ๘ มิลลิเมตร ยาวประมาณ ๑ - ๑.๕ เซนติเมตร ดอก เป็นดอกช่อ ออกตามซอกใบปลายก่งิ ดอกย่อยมีกลบี ดอกสเี หลือง หรอื แดง ผล เปน็ ฝกั กลมยาว แบนเลก็ น้อย เปลอื กสีน้าตาล เนือ้ ในเปน็ สีขาวอมเขียว เมื่อสุกเนื้อจะหดตัว ห้มุ เมล็ดและมสี ีนา้ ตาล รบั ประทานได้ มีรสหวาน หวานอมเปร้ียว หรือเปรี้ยวจัดแล้วแต่สายพันธ์ุ รวมท้ัง ขนาดของฝกั ด้วย การขยายพันธ์ุ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ ตอนกิง่ หรอื ทาบกง่ิ ประโยชน์ เน้ือไม้ นามาใช้ทาเคร่ืองใช้ได้หลายอย่างเนื่องจากเป็นเน้ือแข็งและมีความเหนียว เช่น ทาด้าม ขวาน ด้ามจอบ และท่ีนยิ มมากทีส่ ุด คอื นามาทาเขียงทใี่ ชง้ านได้ทนทานกว่าไม้อ่ืน นอกจากนี้ ยังปลูกเป็น ไม้ใหร้ ม่ เงาไดด้ ้วย เนอ้ื มะขาม ปัจจบุ นั ได้มผี ู้นามาเป็นส่วนผสมในเครื่องสาอาง หรอื สบู่ เพอ่ื บารงุ ผวิ ยอดอ่อน มีรสเปรี้ยว นามาปรุงรสอาหารคาวได้ เช่น ต้มยา ต้มโคล้ง ปลาสลิดต้มกะทิ ฝักอ่อน มีรสเปรี้ยว นามาทาน้าพริกได้หลายอย่าง เช่น น้าพริกกะปิ น้าพริกมะขาม หรือจะนาไปปรุง รสอาหาร เช่นเดียวกับยอดอ่อนก็ได้ เน้ือมะขาม ฝักมะขามดิบ ที่ยังไม่สุก สามารถแปรรูปเป็นมะขามดอง มะขาม แช่อม่ิ หรืออบแหง้ เปน็ อาหารขบเคยี้ วได้ สาหรับ เน้ือมะขามห่าม ๆ ท่ยี ังไมส่ ุกเต็มที่เนือ้ ในไม่หดตัวไม่ติด กับเปลือก แต่ยังมีสีขาวอมเขียวอยู่ยังไม่เปล่ียนเป็นน้าตาล หากเป็นพันธุ์มะขามหวานแล้วจะอร่อย น่ารบั ประทานมาก เนือ้ มะขามท่ีสกุ แลว้ ก็สามารถนามารับประทานไดใ้ นหลายรูปแบบ คือ มะขามหวาน ก็สามารถรบั ประทานเปน็ ผลไม้ไดเ้ ลย แตม่ ะขามเปร้ียวหากจะรบั ประทานตอ้ งนามาแปรรปู หรอื ปรงุ รสกอ่ น เช่น มะขามแก้ว มะขามคลุก น้ามะขาม ไวน์มะขาม ฯลฯ หรืออาจเก็บไว้เป็นมะขามเปียกเพื่อปรุงรส อาหารคาวได้ เมล็ดแก่ คัว่ ใหส้ กุ แล้วนาไปแชน่ ้าใหเ้ ปลอื กนม่ิ และหลดุ ออกเหลือเน้ือในสามารถรับประทานได้ เปน็ อาหารว่างของเดก็ บา้ นนอกสมัยกอ่ น เมลด็ มะขามค่ัวจนสุกและไหม้นามาผสมกับ เมล็ดกาแฟคั่ว เพ่ือ ลดต้นทุนของกาแฟผงไดแ้ ตก่ ็ทาใหร้ สชาตขิ องกาแฟเปลีย่ นแปลงไปบา้ ง

๙๕ ใบออ่ น มีรสเปรย้ี ว ใชใ้ นการอาบอบสมนุ ไพร ใบแก่ รสเปรย้ี วฝาด ใชข้ ับเสมหะในลาไส้ ฟอกโลหติ ขับเลือดและลมในลาไส้ แก้บิด แก้ไอ ต้มน้า อาบโกรกศีรษะเด็กแกห้ วดั คัดจมูก มะขามเปียก มรี สเปรี้ยว เป็นยาถ่าย กัดเสมหะ ค้ันกับน้าปูนใสดื่มขับเลือดลมในสตรีหลังคลอด คั้นกบั เกลอื และน้าดมื่ ขบั รก รากมะขาม รสฝาดแกท้ ้องเสีย เปลือกเมล็ด รสฝาด แก้ท้องร่วง แก้อาเจียน สมานแผล บดเป็นผงละลายน้าปิดแผลในผู้ปุวย เบาหวาน เปลือกตน้ มรี สฝาดร้อน เปน็ ยาคมุ ธาตุ แกเ้ หงอื กบวม ฆ่าพยาธิผวิ หนัง ตม้ กบั น้าปนู ใสใชล้ ้างแผล เนอื้ ในเมลด็ รสมัน เป็นยาฆ่าพยาธิไส้เดอื น แกน่ รสฝาดเมา กัดเสมหะและโลหติ

๙๖ มะขามป้อม Emblic Myrobaran, Malccea Tree Phyllnthus emblica Linn. ชอ่ื สามัญ EUPHORBIACEAE ช่ือทางพฤกษศาสตร์ กาหวด กนั โตด ม่งั ลู่ ชอื่ วงศ์ ช่ืออืน่ มะขามปูอมเปน็ ไม้ยนื ตน้ ขนาดกลาง ท่ขี ้ึนเองตามธรรมชาติในปุาเต็งรัง ปุาเบญจพรรณแล้งและ ปุาแดงทั่วไปของประเทศไทย พบมากในพ้ืนท่ีภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวชนบทแสวงประโยชน์จากไมช้ นดิ นม้ี านานจนถึงปจั จบุ นั เปน็ ตน้ ไม้ประจาจังหวัดสระแก้ว

๙๗ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๘ - ๒๐ เมตร เปลือกต้นสเี ทา เนือ้ ไมส้ ีน้าตาล เปน็ ไมเ้ นือ้ แขง็ ใบ เป็นใบเด่ียว เรียงสลับรูปขอบขนาน กว้างประมาณ ๐.๒๕ - ๐.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๐.๘ - ๑.๒ เซนติเมตร ดอก เป็นช่อดอก ออกที่ซอกใบ แยกเพศอยู่ต้นเดียวกัน กลีบดอกสีขาวนวล ออกดอกประมาณ เดอื น มกราคม - เมษายน ผล ทรงกลม ผิวเรียบสีเขียว เมื่อแก่เป็นสีเขียวอ่อน มีเส้นจากข้ัวถึงก้น ๖ เส้น แต่ละผลมีเพียง เมลด็ เดยี ว สเี ขียว การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการเพาะเมลด็ ประโยชน์ เนอื้ ไม้ ใช้ทาประโยชนใ์ นงานก่อสรา้ ง และทาเครอ่ื งใช้ ผลแก่ นาส่วนท่ีเป็นเนื้อรสเปร้ียวอมฝาด มารับประทานแก้กระหายน้า ทาให้ชุ่มคอ พรานหรือ นักเดินปุานิยมนาติดตัวระหว่างเดินทาง นอกจากน้ียังสามารถนาไปแปรรูปเป็นมะขามปูอมดอง หรือ มะขามปูอมแชอ่ ิม่ ไดด้ ้วย ใบ รสฝาดขม ใชต้ ม้ นา้ อาบเพอื่ ลดไข้ ดอก รสหอมเย็น เขา้ ยาเยน็ เป็นยาระบายทอ้ ง ผลออ่ น รสเปร้ยี วหวานฝาด กัดเสมหะในลาคอ บารงุ เนื้อหนงั ใหส้ มบูรณ์ แก้พยาธิ ผลแหง้ หรือผลสด รสเปร้ียวหวานฝาด เป็นยาขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ ผลแห้งต้มน้ารับประทาน แก้ไข้ ผลสดคั้นน้ารับประทานแกท้ ้องเสยี ขบั ปสั สาวะ แกโ้ รคเลือดออกตามไรฟนั ยางจากผล รสเปรีย้ วฝาดขม รับประทานเป็นยาช่วยย่อยอาหาร ขบั ปสั สาวะ เปลอื กต้น รสฝาดขม เป็นยาสมานแผล ราก รสฝาดขม ตม้ ดื่มแกไ้ ข้ แกพ้ ิษโลหิต ทาให้เส้นยดื แก้มะเร็งกรามชา้ ง

๙๘ มะคา่ แมตะ้ คา่ แต้ Sindora siamensis Teijsm.ex Miq var.siamensis LEGUMINOSAE (FABACEAE) ช่อื ทางพฤกษศาสตร์ แต้ มะค่าลงิ มะค่าหนาม มะค่าเลก็ มะค่าหยมุ ช่อื วงศ์ ชอ่ื อืน่ มะค่าแต้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ที่พบตามปุาเต็งรังและปุาเบญจพรรณท่ัวไปของประเทศไทย เป็นต้นไม้ประจาจังหวัดสุรินทร์ มะค่าแต้เป็นไม้เน้ือแข็งมาก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นแก่น ทนทานต่อการ ผุกร่อน ทาให้เป็นที่นิยมนามาทาเป็นเสาบ้าน หรือเคร่ืองใช้ที่ต้องการความแข็งแรงท นทาน จึงทาให้ มะคา่ แตห้ มดไปจากปุาอย่างรวดเรว็ ย่ิงไปกว่าน้ันมะค่าแต้ยังเป็นไม้ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้า จึงทาให้ ปลูกทดแทนไดช้ ้าด้วยเชน่ กนั และอีกอยา่ งหน่ึงในปัจจุบันก็เป็นไม้ที่ตลาดต้องการน้อยเพราะหายากและ ราคาแพง

๙๙ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น สงู ประมาณ ๑๕ เมตร เปลือกต้นหนาสีน้าตาลถึงดา กิ่งอ่อนมีขน เป็นไม้เน้ือแข็งมาก กระพ้ี สีขาว แกน่ สนี ้าตาลเข้ม เมอื่ ท้ิงไวน้ านจะเป็นสดี า ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ มีใบย่อยประมาณ ๓ - ๔ คู่ รูปไข่มนหนาคล้ายหนัง ผวิ เกลย้ี งมัน ขอบเรียบ กว้างประมาณ ๓ - ๘ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๖ - ๑๕ เซนตเิ มตร ดอก เปน็ ดอกช่อ ออกท่ซี อกใบหรอื ปลายกิ่ง กลบี เลี้ยงสเี ขยี วอ่อน ๔ กลบี มกี ลีบดอกสีเหลืองแดง เพียง ๑ ดอก ออกดอกประมาณเดือน มีนาคม - พฤษภาคม ผล เปน็ รปู กลมแบน มหี นามแหลม สีเขยี วออ่ น เม่ือแก่เปน็ สนี ้าตาล ภายในมีเมลด็ สดี า ๑ - ๓ เมลด็ การขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธ์ุ ด้วยการเพาะเมล็ด ประโยชน์ เปน็ ไมเ้ นอื้ แขง็ มาก สามารถนาเนื้อไม้ มาใช้ประโยชนใ์ นงานก่อสรา้ ง และทาเคร่ืองใช้สอย ฝักอ่อน นามาเผาไฟให้สุกรับประทานเมลด็ เปน็ อาหารยังชพี ในปาุ ได้ เปลือกต้น แกโ้ รคซาง (โรคในเดก็ ทีม่ ีอาการเบ่ืออาหาร ปากเปอื่ ย ลน้ิ เป็นฝูา) เปลือกต้น ผสมกับเปลือกต้นมะกอกเหล่ียม เปลือกต้นยางนา เปลือกต้นหนามมัน และราก ถว่ั แปบช้าง ต้มน้าด่มื แก้อีสุกอใี ส ปุ่มมะค่าแต้ รสเมาเบอ่ื ต้มดม่ื แกพ้ ยาธิ แก้โรคผิวหนัง ตม้ รมใหร้ ดิ สีดวงทวารฝอุ เมล็ด รสเมาเบ่อื สขุ มุ แก้โรคผิวหนงั ทาใหร้ ดิ สีดวงทวารแหง้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook