Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารกรรมการคณะ ครั้งที่ 4-2565

เอกสารกรรมการคณะ ครั้งที่ 4-2565

Published by nipaporn.ka, 2022-04-18 09:12:35

Description: เอกสารกรรมการคณะ ครั้งที่ 4-2565

Search

Read the Text Version

สถติ ผิ ูเ้ ข้าใชบ้ รกิ ารคอมพิวเตอร์ • สถิตกิ ารจองห้องเรยี นคอมพิวเตอร์ จานวน 5 ครง้ั /ปี จานวนผู้ใชบ้ ริการ 520 คน/ปี • สถติ กิ ารจองห้องเรียนสมาสคาสรมู 1 จานวน 10 ครัง้ /ปี จานวนผู้ใชบ้ รกิ าร 400 คน/ปี • สถิตกิ ารจองหอ้ งเรียนสมาสคาสรูม 2 จานวน 12 ครั้ง/ปี จานวนผใู้ ช้บรกิ าร 480 คน/ปี • รายวิชาท่ใี ชใ้ นการเรียนการสอนในห้องปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ หอ้ งสมาสคาสรูม 1 และ 2 มีจานวน 5 รายวิชา/ปี • จานวนนสิ ติ ทมี่ าใชบ้ รกิ ารคอมพิวเตอรใ์ นหอ้ งปฏิบัตกิ าร 300 คน/ปี นโยบาย • สนบั สนุนใหบ้ ริการความร้ดู า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศกบั นิสติ และบุคลากรในคณะฯ • สง่ เสรมิ และเพ่มิ ศักยภาพของบุคลากรในการบรกิ ารวชิ าการและเผยแพรค่ วามรดู้ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • พัฒนาและปรบั ปรุงระบบสารสนเทศและโครงสร้างพ้นื ฐาน ICT เพอื่ ให้ครอบคลุมทุกหนว่ ยงาน • สนบั สนนุ การให้บรกิ ารหอ้ งเรยี นคอมพิวเตอรก์ บั คณะ ภาควิชา หน่วยงาน โดยรองรบั การเรียนการสอนในรูปแบบตา่ ง ๆ ให้มศี กั ยภาพ • พัฒนาระบบสารสนเทศบรกิ ารการศกึ ษาทีท่ นั สมัย • สนบั สนุนการใหบ้ รกิ ารหอ้ งคอมพวิ เตอร์ ห้องฝกึ อบรม ให้กบั นสิ ติ และบุคลากร • สนับสนุนและพฒั นาหอ้ งสมาสคาสรมู ให้มคี วามพร้อมและมีศักยภาพรองรับการใชง้ าน การดาเนินงาน • เปดิ ให้บริการหอ้ งเรียนสมารท์ คลาสรมู 1 และ 2 และห้องคอมพิวเตอร์ ให้บรกิ ารงานการเรยี นการสอนและฝกึ อบรม • สารวจจดุ WiFi เพม่ิ เตมิ เฟส 4 เพอื่ ดาเนนิ การตดิ ต้งั ตอ่ ไป • ดาเนนิ การติดตงั้ WiFi เฟส4 • จัดหาอุปกรณ์เพม่ิ เตมิ เพอื่ ใชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ หอ้ งสมาร์ทคลาสรมู 1 และ 2 • ปรับปรุงหอ้ งคอมพิวเตอรแ์ ละอินเตอรเ์ น็ตใหท้ นั สมัยและพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องเรียนสมาร์ทคลาสรูม 1 ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ รายงานประจาปี 2564 ห้องเรยี นสมาร์ทคลาสรูม 2 19

กิจกรรมและผลการดาเนินงานทส่ี าคัญในปี 2564 สถิติเข้าใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ จานวน 15,154 คน สถติ ิเข้าใช้บริการห้องสมดุ (บุคคลภายนอก) จานวน 89 คน สถติ ิผู้ขอใชห้ อ้ งประชมุ ของหอ้ งสมุดฯ จานวน 1,110 คน บรกิ ารของห้องสมุด 2,493 เล่ม 200 เลม่ บริการยมื -คนื หนงั สือ 428 รายการ บริการยมื -คนื วารสาร 595 รายการ บรกิ ารคน้ คว้าบทความจากวารสาร 125 ครง้ั บรกิ ารสืบค้นสารสนเทศจากฐานขอ้ มูลออนไลน์ 150 ครงั้ บริการการใชห้ ้องประชมุ 250 ครง้ั บรกิ ารตรวจความซ้าซ้อนของวิทยานิพนธ์ บรกิ าร Book delivery และ Book return ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมดุ และศนู ย์เอกสารการสัตว์ หนังสือภาษาไทย 17,783 เลม่ วารสารไทยแลกเปล่ียน 100 รายการ 170 รายการ หนังสือภาษาองั กฤษ 19,150 เลม่ วารสารต่างประเทศ 11,853 รายการ 2,670 รายการ วิทยานพิ นธ์ 1,370 เลม่ วารสารตา่ งประเทศ-เย็บเลม่ วารสารไทยออนไลน์ 29 รายการ วารสารไทย-เยบ็ เลม่ ฐานข้อมลู 6,009 ระเบียน 985 ระเบยี น - ฐานขอ้ มูลงานวจิ ัยและเอกสารทางวชิ าการของคณาจารย์ 5,395 ระเบียน 1,209 ระเบยี น และบคุ ลากร คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ (CUVBIB) 1,008 ระเบียน - ฐานขอ้ มูลภาคนพิ นธข์ องนสิ ติ ปีท่ี 6 คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ (CUVCLI) 1,249 ระเบียน - ฐานขอ้ มูลงานวจิ ัยด้านสัตวแพทยศาสตร์ในประเทศไทย (ThaiVetRES) 403 ระเบียน - ฐานข้อมูลงานวจิ ยั กงุ้ ในประเทศไทย (ThaiShrimp ) 50 ระเบยี น - ฐานข้อมลู งานวิจยั สตั วป์ ีกในประเทศไทย (ThaiPoultry) 802 ระเบยี น - ฐานขอ้ มูลงานวจิ ัยสกุ รในประเทศไทย (ThaiSwine) 4,502 ระเบียน - ฐานข้อมูลงานวิจยั โคในประเทศไทย (ThaiCow) - ฐานขอ้ มูลชา้ งในประเทศไทย (ThaiElephant) - ฐานขอ้ มลู สถานพยาบาลสตั วใ์ นประเทศไทย (Animal Hospital) - ฐานขอ้ มลู รายช่ือนสิ ติ เกา่ สตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ (CUValumni) รายงานประจาปี 2564 20

เอกสารเผยแพร่ เอกสาร “ขา่ วห้องสมดุ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ” ประชาสมั พนั ธ์ หนังสือและวารสารใหม่ ผา่ นทาง Web site ห้องสมดุ และ Facebook 1. กจิ กรรมและผลการดาเนินงานอน่ื ๆ ทสี่ าคัญในปีทผ่ี า่ นมา - จดั ซ้อื หนังสือ ภาษาอังกฤษ 20 เล่ม - จดั ซอื้ วารสารต่างประเทศ จานวน 39 รายการ (แบบ Print 5 รายการ, Online 30 รายการ และแบบ Print + Online 3 รายการ) - จัดซอ้ื วัสด/ุ ครุภณั ฑ์ - เกบ็ รวมรวมบทความวจิ ยั ดา้ นการสัตวแ์ ละเรอื่ งทเ่ี กยี่ วข้องเตรยี มป้อนเข้าฐานข้อมูล - โครงการจดั ทาระบบเผยแพรข่ า่ วสารผา่ นประชาสมั พันธอ์ ัจฉรยิ ะ - บริการ Bookdelivery และ Bookreturn - พบตวั แทนจาหนา่ ยหนงั สอื วารสารและฐานขอ้ มูลออนไลน์ - กองบรรณาธกิ ารฝ่ายการจดั การเวชชสารสตั วแพทย์ - อานวยความสะดวกด้านสถานท่ี ในการจัดประชมุ ทง้ั ระดบั ชาติ และนานาชาติ - ชว่ ยจดั ทารปู เลม่ และประชาสมั พนั ธก์ ารประชุมวิชาการของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั - ช่วยงานการจดั อบรม/สมั มนา และประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของศนู ยก์ ารศึกษาตอ่ เนอ่ื ง คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั - รวบรวมผลงานวิจัยของอาจารย์ บุคลากร ในคณะฯ สง่ ให้ฝา่ ยประกนั คุณภาพการศกึ ษา และฝ่ายนโยบายและแผน - การปรับภูมิทศั น์ภายในหอ้ งสมดุ ฯ ใหม้ บี รรยากาศโล่ง ปลอดโปร่ง สวยงาม ในการเขา้ มาใชบ้ รกิ าร และอานวยความ สะดวกในการใช้สถานทจี่ ดั การประชมุ ท้ังระดับชาติ และระดบั นานาชาติ - สารวจความพงึ พอใจการใชห้ ้องสมดุ ฯ - ขอความอนุเคราะห์อาจารย์ภาควชิ าตา่ ง ๆ ในคณะฯ รวมนาเสนอรายชอื่ หนงั สอื – วารสารตามปงี บประมาณ - ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมหอ้ งประชมุ / ครุภณั ฑ์ เครอื่ งปรบั อากาศ 2. แนวทางการพฒั นาหนว่ ยงานต่อไปในอนาคต แนวทางในการพฒั นาห้องสมุดและศนู ย์เอกสารการสตั ว์ ตามโครงการต่าง ๆ ได้แก่ - โครงการปรบั ปรงุ และพฒั นาฐานข้อมลู งานวจิ ัยและเอกสารทางวิชาการของ คณาจารยแ์ ละบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั - โครงการจดั ทาระบบเผยแพร่ข่าวสารผา่ นประชาสัมพนั ธอ์ จั ฉริยะ - โครงการปรบั ปรงุ เวบ็ ไซตห์ ้องสมุดและศนู ยเ์ อกสารการสตั ว์ - โครงการปรับปรุงหอ้ งปฏบิ ตั งิ านบคุ ลากร - ติดตง้ั ระบบตรวจสอบการเขา้ ใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ระบบอัจฉรยิ ะ - โครงการปรับปรุงเครอื่ งปรับอากาศ - โครงการสารวจ “ขอความอนุเคราะหร์ ่วมเสนอรายชือ่ และวารสารทีค่ วรจดั ซื้อ” - โครงการปรับปรงุ ห้องสมุดใหม้ คี วามพรอ้ มทุกด้าน - โครงการ “Library Learning Spaces” รายงานประจาปี 2564 21

เปา้ ประสงค์ : เป็นสถาบนั การศึกษาทางสตั วแพทย์ท่ไี ด้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรบั ในระดบั นานาชาติ กจิ กรรมของฝา่ ยวิชาการ วิรัชกจิ และกิจการนสิ ติ • โครงการหนังสอื อนสุ รณ์ “จฬุ าฯ ฟา้ หมน่ 2562” ปกี ารศกึ ษา 2563 วนั ที่ 2 ตุลาคม 2563 จัดทาหนงั สือเพือ่ มอบแก่ นิสิตคณะสตั วแพทยศาสตร์ รุ่นท่ี 78 โดยภายในมีรูปภาพ และข้อมูลของนิสิตและคณาจารย์ ในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั รวมถงึ เหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขน้ึ ภายในรอบปีการศกึ ษา • โครงการนิสิตสัตวแพทย์ จุฬาฯ เพื่อสวัสดิภาพสัตว์ ปีการศึกษา 2563 วันท่ี 1 ตุลาคม 2563 – 30 สิงหาคม 2564 เพอื่ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตั ว์ ใหไ้ ด้รบั การดูแลอย่างถูกตอ้ ง และแก้ปญั หาเก่ยี วกับสัตว์ท่ีส่งผลกระทบต่อ สังคม เพ่ือให้นิสิตภายในคณะสตั วแพทยศาสตร์ตระหนักถึงสภาพความเป็นอยู่ และร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวติ ของสัตว์ ในบริเวณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพ่ือให้นิสิตคณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้พัฒนาและใช้ความรทู้ างวิชาชีพสัตวแพทยใ์ ห้ เกดิ ประโยชนแ์ กส่ ังคม • กิจกรรมปฐมนเิ ทศนสิ ติ ใหม่ CU-VET85 และพบผปู้ กครองออนไลน์ ปีการศกึ ษา 2564 วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564 ผา่ น ระบบออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม ZOOM Meeting • กิจกรรมนิสิตใหม่พบอาจารย์ท่ีปรึกษา ปีการศึกษา 2564 วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2564 เวลา 14.00 น. ผ่านระบบ ออนไลน์ด้วยโปรแกรม ZOOM Meeting เม่ือวันศุกร์ท่ี 9 กรกฎาคม 2564 ฝ่ายวิชาการ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย จัดการประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม ซ่ึงในกิจกรรมนี้ ได้รับความสนใจจากนิสติ ใหม่ CUVET 85 จานวน 174 คน รายงานประจาปี 2564 22

• โครงงานรับปริญญา ประจาปีการศึกษา 2563 วันท่ี 2 ตุลาคม 2563 เพ่ือร่วมแสดงความยินดี และสร้างความ ประทับใจให้แก่บัณฑิตใหม่ ประจาปีการศึกษา 2562 เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างบัณฑิตใหม่ อาจารย์ นิสิต และบุคลากรภายในคณะ • โครงงานพิธีรับเสอื้ กาวน์ ปกี ารศึกษา 2563 วันท่ี 2 เมษายน 2564 เพอ่ื ร่วมแสดงความยนิ ดีและสรา้ งขวญั และกาลงั ใจ ให้แก่นิสิตช้ันปีที่ 4 ในการศึกษาต่อ เพื่อให้นิสิตช้ันปีที่4 ได้ตระหนักถึงการก้าวเข้าสู่การเป็นสัตวแพทย์ที่ดีมีความ รับผิดชอบในวิชาชีพ และเพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิตปัจจุบัน อาจารย์ บุคลากรภายในคณะและสมาคม นสิ ติ เก่าฯ เนอ่ื งจากสถานการณ์ COVID-19 จงึ มกี ารจัดเปน็ รปู แบบ new normal โดยจะเปน็ การจดั งานแบบปิด • โครงการบายศรีสู่ขวัญนิสิตชั้นปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 วันที่ 4 มิถุนายน 2564 เพื่อเชิญขวัญที่หนีหายไปเป็นการ สรา้ งขวญั และกาลังใจชว่ ยใหม้ ีพลังและเกิดความเขม้ แขง็ เพือ่ ความเป็นสริ ิมงคลแก่ตัวนสิ ิตคณะสัตวแพทยศาสตร์ช้นั ปีที่ 6 ก่อนสาเร็จการศึกษา โดยกิจกรรมที่จัดข้ึนในพื้นที่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 • โครงการส่งเสรมิ สุนทรียศาสตร์ทางดนตรีไทย ปกี ารศกึ ษา 2564 วนั ท่ี 2 สงิ หาคม 2564 - 14 พฤษภาคม 2565 เพอ่ื เรียนรู้และพัฒนาทกั ษะการเล่นดนตรไี ทยของนิสติ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย รวมถึงอนรุ ักษแ์ ละ สบื สานศิลปะการแสดงดนตรขี องไทยใหค้ งอยู่สบื ไป • โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านดนตรีสากล ปีการศึกษา 2564 วันท่ี 31 สิงหาคม 2564 - 30 เมษายน 2565 เพื่อให้นิสิตคณะสัตวแพทยศาสตร์ได้เรียนรู้พร้อมกับพัฒนาทักษะเพ่ิมเติมทางด้านดนตรีสากล และได้นา ความสามารถไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ทางท่สี ร้างสรรค์ รายงานประจาปี 2564 23

• โครงการครุวันทาสตั ววทิ ยวจิ ักษ์ ปีการศึกษา 2564 วนั ที่ 26 สงิ หาคม 2564 เพ่อื แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีของนิสติ ท่ีมีต่อคณาจารย์และสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยโดยผ่านช่องทางออนไลน์ผ่าน Facebook page สโมสร นิสติ คณะสัตวแพทยศาสตรแ์ ละแอปพลิเคชั่น LINE • โครงการ Homeroom 805 ปีการศึกษา 2564 วันที่ 1 สิงหาคม – 30 กันยายน 2564 เพ่ือให้นิสิตใหม่ชั้นปีที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564 ไดท้ าความรู้จกั สานสมั พันธร์ ะหว่างนิสติ ช้นั ปเี ดียวกันและนสิ ติ ชนั้ ปอี ืน่ ๆ ไดร้ ูจ้ กั การปรับตัวและเรียนรู้ การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย โดยจัดกิจกรรมออนไลน์ผ่านช่องทางโปรแกรมออนไลน์ ได้แก่ YouTube, Instagram, Discord และ ZOOM cloud meetings รายสัปดาห์โดยประกอบด้วยกิจกรรมเช่ือมความสัมพันธ์และการปรับตัวและ เรียนรู้การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย เช่น กิจกรรมแนะแนว Questions and Answers, กิจกรรมแนะนาแอปพลิเคชัน/ เว็บไซตท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกบั การเรียนการสอน และกจิ กรรมสายรหสั เปน็ ต้น • โครงการงานเปิดโลกกิจกรรม ปีการศึกษา 2564 วันที่ 31 กรกฎาคม 2564 เพื่อให้นิสิตใหม่ ่ได้ทราบถึงกิจกรรมใน โครงการ และชมรมต่าง ๆ ที่ทางสโมสรนิสิตคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไดด้ าเนนิ การอยู่ เพ่ือเปน็ การเชิญชวนใหน้ สิ ติ ใหม่ทสี่ นใจในกิจกรรมไดใ้ ชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเองและผู้อน่ื ผา่ นรปู แบบออนไลน์ รายงานประจาปี 2564 24

• โครงการพ่ีพบน้อง (น้องพบใคร) ปีการศึกษา 2564 วันท่ี 16 กรกฎาคม 2564 เพื่อให้นิสิตผู้ได้รับการคัดเลือกเข้า ศึกษาในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจาปีการศกึ ษา 2564 ได้รู้จักการปรับตัว และเรียนรู้การ ใชช้ วี ิตในมหาวทิ ยาลยั พรอ้ มทงั้ เปน็ การสรา้ งความสัมพนั ธอ์ ันดีระหวา่ งนสิ ิตใหม่กบั ร่นุ พี่ และทาใหน้ ิสติ ใหมเ่ ข้าใจข้อมลู เกี่ยวกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ เกิดความประทับใจ และความภาคภูมิใจในคณะ ผ่านช่องทางออนไลน์ผ่าน ZOOM Cloud Meeting • โครงการนิสิตสัตวแพทย์ จุฬาฯ เพื่อสวัสดิภาพสัตว์ ปีการศึกษา 2563 วันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 สงิ หาคม 2564 เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตของ สัตว์ ให้ได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง และแก้ปัญหา เกี่ยวกบั สตั ว์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อสังคม เพ่อื ให้นสิ ิตภายใน คณะสัตวแพทยศาสตร์ตระหนักถึงสภาพความเป็นอยู่ และร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของสัตว์ในบริเวณ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝ่ายวิรชั กจิ ประเทศ เดือน/ปี • การหารอื ความร่วมมอื ทางวชิ าการ UK มี.ค. 2564 มหาวทิ ยาลัย/หน่วยงานในตา่ งประเทศ China ม.ี ค. 2564 Japan ม.ี ค. 2564 Royal Veterinary College (RVC), University of London Korea มี.ค. 2564 Shanghai Ocean University Turkey พ.ค. 2564 Tokyo University of Marine Science and Technology Korea Maritime and Ocean University Afyon Kocatepe University • การลงนามในสัญญาความร่วมมอื ทางวชิ าการ (MOU) ในประเทศ หน่วยงาน เดือน/ปี 1. บริษัท ซีพี-เมจิ จากัด มีนาคม 2564 2. บรษิ ัท ไทยฟู้ดส์ กรปุ๊ จากดั (มหาชน) สิงหาคม 2564 • การลงนามในสญั ญาความร่วมมอื ทางวิชาการ (MOU) กับตา่ งประเทศ ประเทศ เดอื น/ปี 1. MOU ระดบั มหาวิทยาลยั (5 ฉบบั ) Singapore พ.ย. 2563 สถาบัน/หน่วยงาน 1. James Cook University Australia and James Cook University PTE LTD หมายเหตุ - MOU ระหว่างมหาวิทยาลยั หมายถึง MOU ทคี่ ณะสตั วแพทยศาสตร์เป็นหนว่ ยงานหลักในการประสานงาน หรอื กอ่ ให้เกิด ความร่วมมือทางวิชาการขน้ึ - MOU ระหวา่ งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยกบั Rakuno Gakuen University ประเทศญ่ปี ุน่ มีลกั ษณะเป็น auto-renewal โดยมี การลงนามตั้งแต่ปี 2557 จงึ ไมไ่ ดร้ วมไวใ้ นรอบปจั จบุ นั 2. MOU ระดบั คณะ (11 ฉบับ) ประเทศ เดอื น/ปี สถาบนั /หนว่ ยงาน Denmark ก.พ. 2564 1. Technical University of Denmark, DTU รายงานประจาปี 2564 25

• การแลกเปล่ยี นนิสิต/ บุคลากร การฝึกงาน/ ดูงาน/ ความรว่ มมืออ่นื ๆ 1. คณาจารย/์ นกั วิจยั /นกั ศึกษาจากมหาวิทยาลัยในต่างประเทศท่มี าทาวิจยั ฝึกงาน และ/หรอื ดูงานที่คณะสตั ว แพทยศาสตร์ จุฬาฯ (Inbound) สถาบัน/หนว่ ยงาน ประเทศ ปีงบประมาณ 64 New Zealand International Graduate Students 57 คน Massey University 1 คน จานวน Inbound รวมทงั้ หมด 58 คน 2. นสิ ิต/บคุ ลากรของคณะฯ ทีไ่ ปฝกึ ดา้ นวิชาการ/ปฏิบัติงานในตา่ งประเทศ (Outbound) สถาบัน/หนว่ ยงาน ประเทศ ปงี บประมาณ 64 Hokkaido University Japan 16 คน จานวน Inbound รวมท้ังหมด 16 คน *หมายเหตุ เนอื่ งจากสถานการณโ์ ควิด-19 (ช่วง ต.ค. 2563 – ก.ย. 2564 ในตาราง) ทาให้นสิ ติ /บคุ ลากร ไมส่ ามารถเดนิ ทางไปแลกเปล่ียน แบบ onsite ได้ จงึ มกี ารปรับกิจกรรมให้อยูใ่ นรปู แบบ virtual meeting แทน โดยในวนั ที่ 18 ม.ี ค. 2564 มีการจดั กิจกรรมการแลกเปลี่ยน International Veterinary Exchange Program (IVEP) 2021 กับ Hokkaido University ขึ้น ซ่ึงมีนิสิต คณาจารย์และบุคลากรของท้ัง 2 สถาบันเขา้ ร่วมทั้งหมด 16 คน • อาจารย์ลาศึกษาตอ่ ในตา่ งประเทศ ท่ี ช่อื -สกลุ ระดับ สาขาวชิ า สถาบนั /ประเทศ ระยะเวลา แหล่งทุน 1 อ.สพ.ญ.วรญาณี เอก สาขา Fish Ludwig-Maximilians 12 ส.ค. 64 - ทุนมลู นิธิ ธรรมธร diseases and Universitat Munchen 31 ธ.ค. 64 อานันทมหิดล Fisheries สหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี 2 อ.สพ.ญ.ปญุ ญมณี biology แหยมเกตุ Texas A&M College of 1 ต.ค. 62 - ทนุ มูลนธิ ิ เอก สาขา Veterinary Medicine and 30 ก.ย. 67 อานันทมหดิ ล Biomedical Biomedical Sciences, Sciences Texas A&M University สหรัฐอเมริกา ฝ่ายกิจการนิสิต กิจกรรมและผลการดาเนนิ งานทส่ี าคญั ในปที ่ผี า่ นมา • สนับสนนุ งานด้านทุนการศกึ ษา การสนับสนุนด้านทนุ ศึกษาให้แก่นิสิตท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยสรุปข้อมูลทุนการศึกษาในปีการศึกษา 2563 รวมทงั้ สิ้น 249 ทุน เป็นเงิน 4,380,500 บาท รายงานประจาปี 2564 26

• โครงการจ้างนสิ ิตทางานพิเศษ เป็นโครงการท่ีมหาวิทยาลัยจัดทาข้ึน เพ่ือต้องการช่วยเหลือนิสิตให้มีรายได้เสริมเป็นค่าใช้จ่ายใน การศึกษา และเพื่อเป็นการเสริมสร้างประการณใ์ นการทางาน ให้นิสิตได้มีทัศนคติที่ดีในการช่วยเหลือตนเอง โดยนิสิตจะทางานให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในคณะ ในปีการศึกษา 2563 จานวน 50 คน เป็นจานวนเงิน 150,000 บาท • งานด้านกิจกรรมของนิสิต จานวนโครงการ จานวนนิสติ กิจกรรม ปีการศกึ ษา 2563 2 360 - - ด้านความรู้วิชาการ 2 249 ดา้ นพฒั นาสงั คม จิตอาสา และอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ - - ดา้ นศิลปวัฒนธรรม - - ดา้ นกีฬา ด้านนันทนาการ • การจดั ทาและเผยแพรข่ อ้ มลู ฝ่ายกิจการนิสิตมีการพัฒนาในด้านการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ไปยังนิสิต และบุคลากรท่ัวไปของ คณะให้ได้รับข่าวสารท่ีรวดเร็วทันสมัย พร้อมท้ังยังมีข่าวสารท่ีให้ประโยชน์ทางด้านสุขภาพ ที่เผยแพร่ไปยัง หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในคณะ เช่น มกี ารประชาสมั พันธ์เผยแพรข่ อ้ มูลดังนี้ การจดั ทาข้อมูลตา่ ง ๆ ของฝา่ ย เพอ่ื เผยแพร่ในคณะและนสิ ิต เผยแพร่ทาง Facebook สโมสรนิสติ เผยแพรท่ าง Facebook ฝ่ายกิจการนสิ ติ การจดั ทาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ของนสิ ิต 27 - ขอ้ มูลดา้ นกิจกรรม กรอกกจิ กรรมนสิ ิตซง่ึ เปน็ ข้อมูล การเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนสิ ติ แต่ละคน ในระบบ SAT2 - สาหรบั นิสติ ท่ีได้รับรางวลั ระดบั ประเทศ และ นานาชาติ ข้อมลู ในระบบ CUSTAR รายงานประจาปี 2564

เปา้ ประสงค์ : การใหบ้ ริการทางวิชาการ/สตั วแพทย์ (Academic Services) รวมถึงสง่ เสริม Life-long learning activities โรงพยาบาลสัตวเ์ ลก็ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เป็นแหล่งพัฒนาความรู้ และสนับสนุนการเรยี นการสอน และการวิจัยทางคลินกิ ปฏิบัติ ท้ังนิสิตในระดบั ปริญญาตรีสัตว แพทยศาสตรบัณฑิต นสิ ติ บัณฑติ ศกึ ษา และนิสิตประกาศนียบัตรบัณฑติ ทางด้านอายรุ กรรม ศลั ยกรรม สูตกิ รรม และพยาธวิ ิทยา ให้บริการดูแลรกั ษาสัตว์และให้คาปรึกษาแก่ประชาชนทั่วไป และเป็นแหลง่ อา้ งอิงความรเู้ ก่ียวกับการรักษาสัตว์ของประเทศ และ สนับสนุนการผลติ บัณฑติ สตั วแพทยท์ ่ีมคี วามรู้ มีคณุ ธรรม และจรยิ ธรรมใหก้ ับสังคมไทย กิจกรรมและผลการดาเนินงานท่ีสาคัญ 1. สรา้ งความเปน็ เลศิ ดา้ นบริการสังคม • ใหบ้ รกิ ารตรวจรักษาสัตวเ์ ลยี้ งแก่ประชาชนทั่วไป ในปีงบประมาณ 2564 จานวน 144,271 ตวั • แผนกธนาคารเลอื ดออกออกหน่วยนอกสถานท่ี เพอ่ื รับบริจาคเลือดสนุ ัข จานวน 47 ครั้ง • ร่วมกิจกรรม ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เนื่องในวัน World rabies day 2021 กับ มหาวทิ ยาลัยมหิดล ในวนั ท่ี 28 กนั ยายน 2564 ณ อาคารสตั ววิทยวิจกั ษ์ ช้ัน 2 โรงพยาบาลสัตวเ์ ลก็ คณะสตั ว แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั จานวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 77 ราย • รว่ มจาหนา่ ยวัคซีน เพอ่ื สมทบทนุ งานกาชาด 2563 งบประมาณปี 2564 ในระหว่าง วันที่ 4 พฤศจกิ ายน 2563 ถึง วันที่ 31 ธนั วาคม 2563 เป็นเงินจานวนทั้งสิ้น 25,640 บาท 2. บริการของโรงพยาบาลสตั ว์เล็ก • หน่วยเวชศาสตร์ฉุกเฉินและหออภบิ าลสัตว์ป่วยวิกฤต มีบทบาทในด้านการกู้ชีพสัตว์ป่วยในภาวะฉกุ เฉินให้ การวนิ จิ ฉัยและรกั ษาเบือ้ งต้น และประสานงานร่วมกบั หนว่ ยงานอน่ื ภายในโรงพยาบาลเพื่อใหก้ ารวินจิ ฉัยและ รักษาสตั ว์ป่วยมปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ และให้บรกิ ารดแู ลสัตว์ปว่ ยตลอด 24 ชัว่ โมง • หน่วยธนาคารเลอื ด ให้บรกิ ารเก่ียวกับการจัดหา ผลติ และจัดสง่ ผลติ ภณั ฑ์เลอื ดสนุ ขั และแมว ใหแ้ กห่ นว่ ยงาน ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงพยาบาล ให้บรกิ ารจดั หา ผลิต และจดั ส่งผลิตภณั ฑเ์ ลือดสนุ ขั และแมว • หน่วยอายุรกรรมทั่วไปและเวชศาสตร์ป้องกัน เป็นหน่วยงานแรกของโรงพยาบาลที่ทาหน้าท่ีคัดกรองสัตว์ ป่วย ตรวจรักษาโรคทั่วไปที่ไม่ซับซ้อน ให้การป้องกันโรคและให้คาแนะนาด้านสุขภาพ ฉีดวัคซีน และให้ยา ป้องกันเห็บหมัด และพยาธหิ ัวใจเพ่ือให้สตั วเ์ ล้ียงมีสุขภาพนามยั ท่ีดี รายงานประจาปี 2564 28

• แผนกคลินิกเฉพาะทาง ประกอบด้วย คลินิกโรคไตและโรคระบบทางเดินปัสสวะ คลินิกโรคหัวใจ คลินิก โรคเบาหวาน คลินิกโรคแมว คลินิกเวชศาสตร์ทางเลือก หน่วยจักษุ คลินิกโรคผิวหนัง คลินิกสัตว์เล้ียงพิเศษ คลนิ กิ ระบบประสาท คลนิ กิ โรคมะเรง็ คลินิกพฤติกรรมสุนขั และแมว • แผนกศัลยกรรม ประกอบด้วย หน่วยช่องปาก หน่วยศัลยกรรมกระดูก หน่วยศัลยกรรมเน้ือเย่ืออ่อน หน่วย เวชศาสตร์ฟ้นื ฟู • หน่วยภาพวินิจฉัย ให้บริการตรวจวินิจฉัยสัตว์ป่วย ด้วยอุปกรณ์ทางรังสี คลื่นความถี่สูงอัลตร้าซาวน์ และ คอมพิวเตอร์สแกนบรกิ าร ดาเนนิ โครงการบรกิ ารวิชาการ • จัดโครงการอบรมเพ่ิมพูนความรู้สาหรับสัตวแพทย์ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ เรื่อง Common diseases and problems in companion animals; all vets should know: season 3 เพื่อให้สัตวแพทย์ผู้เข้ารับการอบรม มี ความรู้ และความเข้าใจในเรื่องการวินิจฉัย การรักษาและการจัดการโรคท่ีพบได้บ่อยในสัตว์เลี้ยง ทั้งในสุนัข แมวและ สตั ว์เล้ียงพเิ ศษ โครงการตามแผนยทุ ธศาสตร์ พัฒนาบุคลากร • มอบทนุ การศึกษาจานวน ท่านละ 100,000 บาท ใหก้ บั สตั วแพทย์ ที่จะศกึ ษาตอ่ ในระดบั อว. ได้แก่ o นายสัตวแพทย์นวัต แสนนามวงษ์ o สตั วแพทยห์ ญงิ ธิติดา ภักดีเสน่หา o สตั วแพทย์หญงิ ฐติ ิพร ทองสิมา • ดาเนินการฝึกนักศึกษาในโครงการจัดการอาชีวะศึกษาระบบทวิภาคี ระดับ ปริญญาตรี จานวน 16 คน จากวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยรี าชบุรี รายงานประจาปี 2564 29

โรงพยาบาลสตั ว์ ศูนยฝ์ ึกนสิ ติ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จงั หวดั นครปฐม โรงพยาบาลปศสุ ตั ว์-ศนู ยฝ์ ึกนิสิตคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ จังหวดั นครปฐม มหี นา้ ท่ีหลกั ในการให้การสนับสนุนด้าน การเรียนการสอนแก่นิสิตสัตวแพทย์ในการฝึกปฏิบัติงานด้านปศุสัตว์ อีกทั้งยังให้การสนับสนุนงานวิจัยของคณาจารย์ ตลอดจน ให้บริการรักษาและชันสูตรโรคสัตว์แก่เกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์ท่ัวไปเพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในพ้ืนที่เลี้ยงสัตว์เพื่อส่งเสริมความรู้ ด้าน สัตวแพทย์ให้เกิดความเข้มแข็งข้ึนในหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิตทุกระดับของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั กจิ กรรมและผลการดาเนนิ งาน • สนบั สนนุ การเรยี นการสอน 1. จัดสถานท่ีการเรียนการสอน สาหรับนิสติ ช้ันปีท่ี 3 ปีท่ี 4 ปีที่ 5 และปีท่ี 6 ในรายวิชาการบรรยายและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ของภาควิชาตา่ ง ๆ 2. สาหรับการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นหลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ ทางวิทยาศาสตรก์ ารสัตวแพทยร์ ่วมกับโครงการเพิม่ พนู ทักษะ ทางสัตวแพทย์ด้านคลินิกสัตว์เล็ก (Diploma-Internship Matching Program) แขนงท่ัวไป ณ โรงพยาบาลปศุสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั จังหวดั นครปฐม 3. ดาเนนิ โครงการกจิ กรรมนอกหลักสูตรสาหรบั นสิ ติ ทกุ ช้นั ปีทมี่ าพักคา้ งอยทู่ ี่ศูนย์ฝกึ นิสติ ฯ จงั หวัดนครปฐม 4. ใช้เปน็ สถานที่ฝึกปฏบิ ตั ิโครงการสัตวแพทยจ์ ฬุ าฯ อาสาเพ่อื พฒั นาชนบท 5. ข้อตกลงความร่วมมือ“โครงการการจัดการศึกษาด้านสัตวรักษ์ในระบบทวิภาคี” ระหว่างศูนย์ฝึกนิสิตคณะสัตว แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นครปฐม ร่วมกับ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีราชบุรีรับนักศึกษาระบบทวิ ภาคีฝกึ งานอาชีพในสถานประกอบการ • สนับสนนุ งานบรกิ ารวิชาการ การสนับสนุนงานบริการวิชาการท่ีโรงพยาบาลปศุสัตว์-ศนู ย์ฝึกนิสิตฯ จงั หวัดนครปฐม สามารถแบ่งการบริการ วชิ าการออกเปน็ 2 ประเภท 1. การบริการรกั ษาและชนั สตู รโรคสัตว์ในโรงพยาบาลปศุสัตว์ ในปีงบประมาณ 2564 1.1 การบริการตรวจรักษาสัตว์ สัตว์เคี้ยวเอ้ือง สัตว์ปีก สัตว์เล้ียง และสัตว์อ่ืน รวมจานวน 8,543 ตัว การ ให้บริการชันสูตรโรคสัตว์ ประกอบด้วย งานชันสูตรซากสัตว์จานวน 455 ตัว การตรวจวินิจฉัยทาง ห้องปฏบิ ัติการจานวน 15,605 ตวั อยา่ ง 1.2 การดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการให้บริการตรวจรักษาและชันสูตรวินิจฉัยโรคสัตว์เพ่ือรองรับมาตรฐาน โรงพยาบาลสัตวแ์ ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ต้งั แต่เดอื นเมษายน พ.ศ.2564 ถึงเดอื นมีนาคม พ.ศ.2565 2. การดาเนินโครงการบรกิ ารวิชาการ ในปีงบประมาณ 2564 2.1 โครงการการจัดตง้ั ศนู ย์วจิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยเี พอ่ื การพัฒนาการเลีย้ งโคนมในเขตร้อนชน้ื 2.2 ศูนยค์ วามเป็นเลศิ เฉพาะดา้ นนวัตกรรมการผลติ โคนมและผลิตภณั ฑ์นม สนับสนุนโครงการวจิ ัย ศูนย์ฝึกนิสิตฯ ให้การสนับสนุนการวิจัยสาหรับคณาจารย์ภาควิชาต่าง ๆ ด้านสถานท่ีพัก สถานท่ีเลี้ยงสัตว์ ห้องปฏบิ ัตกิ าร รวมถงึ การสนบั สนนุ บคุ ลากรผชู้ ่วยทางานวจิ ยั ในปงี บประมาณ 2564 จานวน 12 โครงการ ดังน้ี - โครงการวจิ ัยเร่ือง “การศึกษาการตอบสนองทางภูมคิ ุ้มกนั แบบจาเพาะตอ่ การตดิ เช้ือไวรสั ดกั เทมบูซใู นเปด็ ” - สพ.ญ.ดมิศรา ชูติกาญจน์ นิสิตระดับปริญญาโทเพ่ือปฏิบัติงานวิจัย ระหว่างเดือนสิงหาคม - เดือนธันวาคม 2563 - นายธนวิทย์ สีหอาไพ นสิ ิตหลักสตู วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเภสัชวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ ขอใช้ อาคารทีพ่ กั เพอื่ เก็บตัวอย่างงานวจิ ยั ระหวา่ งวันท่ี 14 – 16 ตุลาคม 2563 และระหวา่ งวันท่ี 21 – 23 ตลุ าคม 2563 รายงานประจาปี 2564 30

- โครงการวิจัยเรอ่ื ง “ชุดตรวจเช้ือแอกติโนบาซิลัส พลูโรนิวโมเนอี แบบแลเทอรัลโฟลว์ ท่ีไม่ทาให้สุกรเจบ็ หรอื เครยี ดและสามารถให้ผลท่ีรวดเรว็ ทห่ี นา้ ฟาร์ม” ระหวา่ งเดือนตลุ าคม 2563 ถึงเดอื นกันยายน 2565 - นางสาวปิณฑิรา เทีย่ งเธยี รธรรม นสิ ติ ระดับปริญญาเอก สาขาวิทยาการสืบพันธุส์ ตั ว์ ขอใชอ้ าคารทพ่ี กั เพ่อื เก็บ ตัวอย่างงานวจิ ัย ระหว่างวนั ท่ี 28 ตุลาคม 2563 – วันท่ี 2 พฤศจิกายน 2563, 21 – 23 เมษายน 2564, 6-8 มิถุนายน 2564 - โครงการวิจัยเร่ือง “การควบคุมและป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสพีอีดีในสุกรโดยใช้นวัตกรรมออโตจีนัสวัคซีน ระหวา่ งเดือนพฤศจิกายน 2563 – เมษายน 2564 - Ms. Aprilia Rizky Riadini นิสิตระดับปริญญาโท หลักสูต ร International Veterinary Science and Technology ระหวา่ งวนั ที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ถงึ 3 ธนั วาคม 2563 - โครงการวจิ ัยเกี่ยวกบั การตรวจหาเชอื้ canine circovirus ในสุนขั - โครงการวจิ ยั เร่อื ง “ลักษณะฟโี นไทป์และอณชู ีววิทยาของเชื้อเสตรปโตคอกคสั อะกาแลคติเอ้ ท่ีเปน็ สาเหตโุ รค เต้านมอักเสบโคนมไทยในพ้ืนทภ่ี าคกลางของประเทศไทย” - โครงการวิจยั เร่ือง “การตรวจหาจโู นและอิซูโมโนในแมวบา้ น - โครงการวิจัยเร่ือง “การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้ระยะเวลาของหัวใจจากการวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจและ เสยี งหัวใจในการประเมินการทางานของหวั ใจในสนุ ัขปกติและสนุ ัขท่ีเปน็ โรคลนิ้ หวั ใจไมทรลั ร่วั - โครงการวิจยั เร่อื ง “เช้อื เสตรปโตคอกคสั อะกาแลคติเอ้ ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดโรคเตา้ นมอักเสบในโคนม” • สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมอนื่ กจิ กรรมกรรมเสรมิ หลักสตู รของนสิ ิต กจิ กรรมของนกั ศกึ ษาตา่ งคณะ ต่างสถาบนั และนักศกึ ษาจากตา่ งประเทศ โรงพยาบาลปศุสัตว์-ศูนย์ฝึกนิสิตฯ ให้การสนับสนุนกิจกรรมของอาจารย์ และนักศึกษาต่างสถาบัน และต่างประเทศ ดา้ นสถานที่พกั และการศกึ ษาดงู านด้านการเรยี นการสอน และการฝึกงาน ในปงี บประมาณ 2564 ดังน้ี - สานักห้องเรยี นวิศว์-วิทย์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี (มจธ.) ขอความอนุเคราะห์นกั เรียนเข้า ฝกึ ปฏบิ ตั คิ ลินกิ สตั วเ์ ล็ก ระหวา่ งวันท่ี 18 ตลุ าคม – 1 พฤศจกิ ายน 2563 - โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย ขอความอนุเคราะห์นักเรียนเข้าฝึกปฏิบัติงานคลินิกสัตว์เล็กและงานชันสูตร ระหวา่ งวันท่ี 26 กนั ยายน – 27 ธนั วาคม 2563 - สานักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอใช้สถานที่ในการจัดกิจกรรมค่ายอบรมผู้นา เยาวชน ภาวะผู้นาและกิจกรรมสร้างสรรค์ ระหว่างวันที่ 26 -28 มีนาคม 2563 ณ โรงพยาบาลปศุสตั ว์-ศนู ย์ ฝึกนิสิตฯ จังหวดั นครปฐม - สานักงานปศุสัตว์จังหวัดนครปฐม ขอความอนุเคราะห์เข้าศึกษาดูงานโรงพยาบาลปศุสัตว์ ในวันที่ 7 เมษายน 2564 โครงการตามแผนยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนาคุณภาพบริการ 1.1 พัฒนาระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการบรหิ ารโรงพยาบาลสตั ว์ 1.2 พฒั นา sevice flow ของหนว่ ยชันสูตรโรคสตั ว์ นครปฐม 1.3 จดั ทามาตรฐานหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ISO 17025 1.4 สร้างสอื่ ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตผา่ น social media 1.5 พื้นทสี่ ่วนกลาง สาหรบั บุคลากร และนิสติ เพือ่ การเรยี นร้รู ว่ มกันอย่างสร้างสรรค์ 2. พัฒนาปรับสิ่งแวดล้อม/ภูมิทัศน์เพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการบรกิ าร 2.1 ปรับปรงุ ระบบนา้ ประปาของศูนย์ฝกึ นิสิตฯ นครปฐม 2.2 เปลย่ี นเคร่ืองปรบั อากาศ รายงานประจาปี 2564 31

2.3 การจัดซื้อครุภัณฑ์เพื่องานบริการในส่วนคลินิกและชันสูตร และเพื่อการเรียนการสอน smart class room 2.4 ปรบั ปรุงฝ้าเพดานอาคารโรงพยาบาลปศุสัตว์และอาคารหอพกั 2.5 จดั ซอ้ื ครภุ ณั ฑเ์ พือ่ กิจกรรมของนสิ ิต และพัฒนาคุณภาพชีวิตนสิ ิต 2.6 ปรบั ปรุงซ่อมแซมถนนชารดุ และกาแพง 3. พัฒนางานฝึกอบรม 3.1 จดั ประชุมบุคลากรเพื่อปรบั ปรุงการทางานร่วมกนั และงานการใหบ้ รกิ าร 3.2 พัฒนาบุคลากร อบรม/สมั มนา/ดูงานในส่วนงานที่เกยี่ วขอ้ ง 3.3 อบรม การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการโรงพยาบาลขนาดกลางและเล็กด้วยระบบฐานขอ้ มลู 4. วางแผนยทุ ธศาสตรศ์ ูนย์ฝกึ นิสติ ฯ นครปฐม 4.1 การเรยี นการสอนดา้ นคลนิ ิกปฏิบัตใิ นมาตรฐาน EU 4.2 โครงสร้างการบริหารงานของศูนยฝ์ กึ นสิ ติ ฯ 4.3 โครงสร้างบคุ ลากร (อตั รากาลงั ) กิจกรรมเด่น หรอื ความภาคภูมิใจของหนว่ ยงาน ในภาพรวม โรงพยาบาลปศุสัตว์-ศูนย์ฝึกนสิ ิตฯ จงั หวัดนครปฐม สามารถให้การสนบั สนนุ งานการเรียนการสอน การวิจยั ของคณะฯ และการบริการวิชาการสู่สงั คม ไดด้ ้วยศักยภาพทางด้านอาคารสถานทท่ี ี่พร้อมและเหมาะสมสาหรบั การใหบ้ รกิ ารหลาย ด้าน ทั้งห้องบรรยาย และอาคารที่พัก ห้องปฏิบัติการวินิจฉัย ห้องเล้ียงสัตว์ รวมถึงความพร้อมของบุคลากรด้านต่าง ๆ เอื้อให้ ศูนย์ฝึกนิสิตฯ สามารถเป็นแหล่งผลิตงานบริการวิชาชีพสู่สังคมได้มากและตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ และด้วยความ แข็งแกร่งของบุคลากรทางด้านวิชาการในความเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วยสร้างโอกาสความสนใจจากผู้รับบริการ หลากหลายสาขา อาทิ สถาบันการศึกษาสัตวแพทย์อื่น สมาคมผู้ประกอบการทางสัตวแพทย์ และบริษัทผู้ประกอบการเอกชนใน สายงานสตั วแพทย์ แนวทางพัฒนาหนว่ ยงานในอนาคต 1) ขยายงานบรกิ ารทางด้านสัตว์เลีย้ ง 2) ปรับปรุงงานบรกิ ารชนั สูตรเพ่ือเข้าสู่การรับรองมาตรฐานห้องปฏบิ ตั กิ าร และขยายงานบรกิ ารชนั สูตรโรคสัตว์ 3) ปรับปรุงซ่อมแซมอาคาร-สถานที่ และส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาการเรียนการสอนที่ ศนู ย์ฝกึ นสิ ิตฯ จงั หวดั นครปฐม 4) ขยายความรว่ มมอื กับหน่วยงานตา่ ง ๆ ในท้องถิ่นเพื่อใหเ้ กิดการบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย และการ บรกิ ารเพ่ือเสริมสร้างประโยชนแ์ กช่ มุ ชนอยา่ งยั่งยืน และนาไปสู่การเป็นโรงพยาบาลสตั ว์ของชุมชน หนว่ ยชนั สตู รโรคสตั ว์กลาง หน่วยชันสูตรโรคสัตว์กลางจัดเป็นหน่วยงานที่ให้บริการตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์ ทั้งสัตว์เล้ียงและปศุสัตว์โดยวิธีการทาง ห้องปฏิบัติการท่ีมีมาตรฐาน ทันสมัย เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคท่ีถูกต้องของสัตวแพทย์ และสามารถให้คาแนะนาในการนาผล การตรวจวเิ คราะหไ์ ปใชใ้ นการป้องกนั และแก้ไขปญั หาสขุ ภาพสตั ว์ใหแ้ ก่เจา้ ของสัตวห์ รอื เกษตรกรผเู้ ล้ยี งสัตว์ และมีพันธกจิ ในการ ให้ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับโรคสัตว์และการตรวจวินิจฉัยโรคแก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงการเป็นแหล่ง อา้ งอิงในการชนั สูตรโรคสัตวท์ ่สี าคัญ นอกจากนีย้ งั มีพนั ธกจิ ในการสนับสนุนการเรียนการสอนและการวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้องกับโรคสัตว์ ที่สาคัญของคณะสัตวแพทยศาสตร์ กิจกรรมและผลการดาเนินงานที่สาคญั ในปีท่ผี า่ นมา • งานบริการตรวจวิเคราะห์ทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารของหน่วยชนั สูตรโรคสัตว์กลาง ปีงบประมาณ 2564 - งานโลหติ วิทยามจี านวน 203,599 ตวั อย่าง - งานซรี ัมวทิ ยามีจานวน 4,085 ตัวอยา่ ง - งานไวรสั วทิ ยามีจานวน 1,218 ตวั อย่าง - งานอณูชวี วิทยามีจานวน 735 ตวั อย่าง - งานแบคทเี รยี มจี านวน 5,114 ตวั อยา่ ง รายงานประจาปี 2564 32

ดาเนนิ โครงการบรกิ ารวิชาการ • หน่วยชันสูตรโรคสตั ว์กลางรว่ มกับภาควิชาจลุ ชีววิทยา จัดโครงการบริการวิชาการ ประจาปงี บประมาณ 2564 ชื่อ โครงการ “การบริการตรวจวินิจฉัยชนิดจุลชีพและทดสอบความไวรับต่อยาต้านจุลชีพด้วยเทคนิคอัตโนมัติ” เป็น ระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแตเ่ ดอื นธันวาคม 2563 – กันยายน 2564 • รับเป็นสถานทฝ่ี กึ ปฏบิ ัตแิ ก่นิสิต นกั ศึกษา จากทัง้ ในคณะสัตวแพทยศาสตร์ ภายในและภายนอกจฬุ าฯ โครงการตามแผนยทุ ธศาสตร์ 1. เตรียมความพร้อมของห้องปฏิบัติการและการบริหารงานภายในหน่วยฯ เพ่ือพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานของ ห้องปฏบิ ตั กิ ารหนว่ ยชันสูตรโรคสัตว์กลาง (ISO 17025) 1.1 การจัดเตรยี มเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง เช่น Standard Operating Procedure (SOP) ของการทางานในด้านต่าง ๆ ใหค้ รบถ้วนและเปน็ ปัจจุบัน 1.2 ปรับปรุงและจดั การหอ้ งปฏบิ ตั ิการ รวมถึงอปุ กรณว์ ทิ ยาศาตรใ์ หเ้ หมาะสมตามหลกั ปฏบิ ัตขิ องทางมหาวิทยาลยั รวมถึงเข้าร่วมในระบบความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ของศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย เพือ่ ยกระดบั การทางานให้มีมาตรฐานยงิ่ ข้ึน 2. โครงการจัดทาระบบบริหารข้อมูลห้องปฏิบัติการ (Laboratory Information Management System) เพ่ือใช้ใน การบริหารข้อมูลในการตรวจวินิจฉัยของหน่วย โดยเริ่มใช้งานต้ังแต่เดือนกันยายน 2562 ถึงปัจจุบัน และยังคง ปรับปรงุ และพฒั นาใหม้ ีการใช้งานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุดมาอยา่ งต่อเน่อื ง 3. โครงการธนาคารจลุ ชีพทางสัตวแพทย์ ภายใต้โครงการ “สร้างเสริมพลงั จุฬาฯ ก้าวสู่ศตวรรษท่ี 2” โดยผลผลิตของ โครงการสามารถนามาสกู่ ารพัฒนาดา้ นต่าง ๆ ของหน่วยชนั สูตรโรคสัตวก์ ลาง ดังนี้ 3.1 เพิ่มศักยภาพของหอ้ งปฏิบตั กิ ารโดยพัฒนางานตรวจวนิ จิ ฉยั ใหม่ เช่น การเพาะเชื้อจากเลือดโดยใชเ้ คร่อื งเพาะ เช้ืออตั โนมัติจากเลอื ด 3.2 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและคุณภาพการตรวจวนิ จิ ฉัยโรค เช่น การตรวจวนิ ิจฉยั ชนดิ จลุ ชพี และทดสอบความไวรบั ตอ่ ยาต้านจลุ ชีพด้วยเทคนคิ อตั โนมัติ ซง่ึ มคี วามแมน่ ยาและสามารถตอบผลได้รวดเรว็ มายิง่ ข้นึ 4. พัฒนาคณุ ภาพการตรวจวินิจฉยั โดยเข้าร่วม Proficiency test program 4.1 โ ป ร แ ก ร ม กา ร ท ด ส อ บ PRRS virus (PCR) in porcine serum (freeze dried serum) (บ ริ ษั ท ศู น ย์ วิทยาศาสตร์ เบทาโกร จากดั ) 4.2 โปรแกรมทดสอบ Asia Pacific Regional Proficiency Testing 2020; SWINE Diseases PCR Panel โดย AUSTRALIAN ANIMAL HEALTH LABORATORY (AAHL) 4.3 โปรแกรมการทดสอบฝีมือทางห้องปฏิบัติการ การตรวจกาฬโรคแอฟริกาในม้าทางห้องปฏิบัติการ ประจาปี 2564 (สถาบันสุขภาพสัตวแ์ ห่งชาต)ิ 4.4 โครงการ Interlaboratory comparison ของการตรวจแอนติบอดีต่อเช้ือไวรัสโลหิตจางติดเชื้อในม้า โดยวิธี Agar Gel Immunodiffusion test (AGID) (สถาบนั สขุ ภาพสตั ว์แห่งชาติ) 4.5 โปรแกรม Brucellosis Proficiency Test 2021 (สถาบนั สุขภาพสตั วแ์ ห่งชาติ) 5. พัฒนาการตรวจวินิจฉยั โรคนาไปสู่การเปิดให้บรกิ ารงานตรวจวินจิ ฉัยใหม่ 5.1 งานโลหิตวทิ ยา ได้แก่ การตรวจ Coagulation profile ด้วยเครือ่ งอัตโนมัติ 5.2 งานแบคทเี รยี ไดแ้ ก่ การเพาะเชือ้ จากเลอื ดโดยใช้เครอื่ งเพาะเช้ืออัตโนมัติจากเลอื ด 5.3 งานอณูชีววทิ ยา ได้แก่ การตรวจวนิ ิจฉัยโรคดว้ ยเทคนคิ Real time PCR และ Quantitative Real time PCR 3.4 งานซีรัมวิทยา ได้แก่ การตรวจ Direct Antiglobulin Test (DAT) โดยใช้ Flow cytometric assay ในสุนัข และแมว รายงานประจาปี 2564 33

โครงการบริการวิชาการทตี่ อบปญั หาสงั คม สิง่ แวดล้อม และตอบปญั หาให้ประเทศ ภาควชิ ากายวิภาคศาสตร์ • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง การใหบ้ ริการทาสไลดท์ างจลุ กายวิภาคศาสตร์ เพ่อื ใหบ้ รกิ ารทาสไลด์แกว้ แกห่ น่วยงาน ต่าง ๆ และเพ่ือให้บริการเทคนิคทางจุลกายวิภาคศาสตร์อ่ืน ๆ แก่บุคลากรในและนอกคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ระยะเวลาการดาเนนิ โครงการ วันท่ี 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 จานวนผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ 16 คน • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง การให้บริการสแกนสไลด์และวิเคราะห์ภาพทางจุลกายวิภาคศาสตร์ เพ่ือให้บริการ สแกนสไลด์แกว้ แก่หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้บริการตรวจวิเคราะห์ภาพระดบั จุลกายวิภาควิทยาแก่บคุ คลากรภายในและ ภายนอกคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ 20 คน • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง การให้บริการทาสตัฟฟ์สัตว์ ครั้งท่ี 2 เพื่อให้บริการทาสตัฟฟ์สัตว์แก่หน่วยงาน และ บุคคลทั่วไป เพื่อให้บริการเทคนิคการเก็บรักษาสภาพสัตว์จริงด้วยวิธีการทาสตัฟฟ์สัตว์ ระยะเวลาการดาเนินโครงการ ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 จานวนผู้เข้ารว่ มโครงการ 3 คน หนว่ ยชีวเคมี • โครงการบริการวิชาการ เรื่อง ชุดทดสอบคุณภาพน้า เพ่ือนาผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการทสอบคุณภาพน้า มา ให้บริการแก่เกษตรกรหรือตามความต้องการของสังคม ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันที่ 1 ตุลาคม 256 3 – 30 กันยายน 2564 จานวนทีใ่ หบ้ รกิ ารตัวอย่าง 6,132 ตวั อยา่ ง • โครงการบรกิ ารวิชาการ เรื่อง การแยกเพศและตรวจโรคนกสวยงามด้วยวิธี PCR เพอื่ ตรวจแยกเพศของสตั ว์ปกี ดว้ ย วิธี PCR และเพ่ือตรวจ Psittacine beak and feather disease virus และ Avian polyoma virus ด้วยวิธี PCR ระยะเวลาการดาเนนิ โครงการ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2563 - 30 กนั ยายน 2564 จานวนทใี่ หบ้ ริการตัวอย่าง 182 ตวั อย่าง ภาควิชาพยาธวิ ทิ ยา • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม: Biosafety and Biocontainment เพือ่ เปน็ การส่งเสริมความเขา้ ใจแกบ่ ุคลากรทเี่ กี่ยวข้อง และเป็นการยกระดับมาตรฐานหอ้ งปฏิบตั ิการใหม้ ีความปลอดภยั ตามแผนพัฒนาระบบการจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการดาเนิน โครงการ วันที่ 28 ตุลาคม 2563 จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ 52 คน • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง การให้บริการทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์กาจัดเห็บ ครั้งที่ 5 เพ่ือให้บริการ ทดสอบประสทิ ธิภาพของผลติ ภณั ฑ์กาจัดเห็บในห้องปฏิบัตกิ าร ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 - 31 มนี าคม 2564 จานวนท่ใี ห้บริการตวั อยา่ ง 10 ตวั อย่าง รายงานประจาปี 2564 34

ภาควชิ าจุลชีววทิ ยา • โครงการบริการวิชาการ เรื่อง การบริการตรวจวินิจฉัยชนิดจุลชีพและทดสอบความไวรับต่อยาต้านจุลชีพด้วย เทคนิคอัตโนมัติ เพ่ือเป็นงานด้านบริการวิชาการในตรวจระบุชนิดของแบคทีเรียและจุลชีพเพื่อการวินิจฉัยโรคและการ วิจัย แก่ทั้งหน่วยงานในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอก อีกท้ังเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ความก้าวหน้าทางวิทยาการในการวินิจฉัยโรคในทางสัตวแพทย์ และนาองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ในทาง ปฏบิ ัติ ระยะเวลาดาเนนิ โครงการวนั ที่ 29 ตุลาคม 2563 จานวนท่ีให้บรกิ ารตวั อย่าง 1,606 ตวั อยา่ ง ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ • โครงการบริการวิชาการ เรื่อง การให้บริการอาจารย์ใหญ่ร่างนิ่ม เพ่ือการเรียนการสอนและการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือผลิตร่างนิ่มของสุนัขแมว สัตว์ชนิดอื่น ๆ ตามความต้องการ ให้แก่ภาควิชาและหน่วยงานต่าง ๆ ภายในคณะสัตว แพทยศาสตร์ เพื่อสนับสนุนการเรยี นการสอนปฏบิ ตั กิ ารในระดบั ปริญญาบณั ฑิตและบณั ฑิตศึกษา ระยะเวลาการดาเนิน โครงการ วันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 จานวนทีใ่ ห้บริการตัวอยา่ ง 43 ตวั อยา่ ง • โครงการบริการวชิ าการ เร่ือง การวินิจฉัยความผิดปกติของสัตว์เลย้ี งในทางคลินิกด้วยอลั ตร้าซาวด์ รุ่นที่ 6 ช่วยให้ สัตวแพทยเ์ กดิ ความเข้าใจ รวมท้งั มคี วามสามารถในการบนั ทกึ ภาพ และแปลผลความผดิ ปกตขิ องอวัยวะต่าง ๆ จะสง่ ผล ใหก้ ารตรวจวนิ ิจฉยั การวางแผนและประเมินการรักษา รวมทง้ั การพยากรณโ์ รคสาหรบั สัตว์ปว่ ยในสถานพยาบาลสัตว์มี ประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันท่ี 5 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 จานวนผู้เข้าร่วม โครงการ 48 คน • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง กลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจในสุนัขพันธห์ น้าส้ัน ครั้งที่ 1 เพื่อให้สัตวแพทย์ผู้เข้า รบั การอบรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ การจัดการปัญหากลุ่มอาการระบบทางเดนิ หายใจในสนุ ขั พันธห์ุ นา้ สัน้ ระยะเวลาการ ดาเนนิ โครงการ วันท่ี 9 และ 27 เมษายน 2564 จานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการ 70 คน • โครงการบรกิ ารวิชาการ เรอื่ ง พืน้ ฐานจดั การและการผา่ ตัดกระดูกเบือ้ งต้น ครัง้ ที่ 1 เพือ่ สตั วแพทยผ์ ู้ผา่ นการอบรม มี ความรู้ ความเขา้ ใจโรคทางออรโ์ ธปดิ ิกสแ์ ละภาวะกระดกู หักพบไดบ้ ่อยในสนุ ขั และแมว และสามารถนาความร้ทู ่ีไดร้ บั ไป ใช้ในการทางานทางด้านนี้ได้ต่อไป ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันที่ 1 สิงหาคม 2564 - 31 ธันวาคม 2564 จานวน ผ้เู ข้าร่วมโครงการ 30 คน รายงานประจาปี 2564 35

ภาควชิ าอายุรศาสตร์ • โครงการบริการวชิ าการ เรอื่ ง Catch Up on Feline Infectious Diseases เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจแก่สตั วแพทย์ นิสิต นักศึกษา ได้ทราบถึงโรคติดเชื้อที่สาคัญในแมว การรักษา การดูแล และการพยากรณ์โรคที่เกี่ยวข้องกับแมวใน ปัจจบุ ัน ระยะเวลาการดาเนินโครงการ วันท่ี 17-18 พฤศจกิ ายน 2563 จานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการ 60 คน • โครงการบริการวิชาการ เรื่อง การส่งเสริมการตรวจสุขภาพพื้นฐานของแมวให้เหมาะสมกับช่วงอายุ เพื่อส่งเสริม แนวคิดใหม่ให้เจ้าของแมวสนใจการเฝ้าระวังก่อนเกิดโรคในแมวแต่ละช่วงอายุ เพื่อให้บริการตรวจสุขภาพพ้ืนฐานท่ี เหมาะสมกับช่วงอายุของแมว ระยะเวลาการดาเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 จานวนผู้เข้าร่วม โครงการ 30 คน ศนู ย์การศึกษาตอ่ เน่อื ง • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง ประชุมวิชาการ CUVC 2021 live เพ่ือเผยแพร่ความก้าวหน้าด้านวิทยาการทาง สัตวแพทย์ เป็นแนวทางไปสู่การเพ่ิมผลผลติ ประสทิ ธิภาพใน การรักษา และความปลอดภัยของคนในสังคมในรูปแบบ ออนไลน์ เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการวิจัย และเปิดโอกาส ให้มีการแลกเปลี่ยนผลงานและข้อมูลการวิจัยระหว่างนิสิต คณาจารย์ สาขาสัตวแพทย์ ระหว่างมหาวิทยาลัย และ องคก์ รเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ในรปู แบบออนไลน์ ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ วันที่ 29 - 30 เมษายน 2564 จานวนผู้เข้าร่วม โครงการ 944 คน • โครงการบรกิ ารวิชาการ เร่อื ง การทดสอบการสลายตวั ของแผน่ ก้ันคอลลาเจนหลงั การฝงั ลงบนกะโหลกศีรษะในหนู แรท ครั้งท่ี 1 ทราบถึงความสามารถของแผน่ ก้นั คอลลาเจนและ BMP-2 สาหรบั การเหน่ยี วนาให้เกิดการสรา้ งกระดูกใน หนูแรท ซึ่งสามารถต่อยอดไปใช้ในงานคลินิกทางสัตวแพทย์ หรือทางการแพทย์ได้ ระยะเวลาดาเนินโครงการ วันท่ี 30 เมษายน 2563 - 31 มีนาคม 2564 จานวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ 7 คน • โครงการบรกิ ารวิชาการ เร่ือง การทดสอบการสลายตัวของแผน่ กั้นคอลลาเจนหลงั การฝงั ลงบนกะโหลกศีรษะในหนู แรท ครงั้ ที่ 2 ทราบถึงความสามารถของแผน่ กน้ั คอลลาเจนและ BMP-2 สาหรบั การเหนีย่ วนาใหเ้ กดิ การสรา้ งกระดกู ใน หนูแรท ซ่ึงสามารถต่อยอดไปใช้ในงานคลินิกทางสัตวแพทย์ หรือทางการแพทย์ได้ ระยะเวลาดาเนินโครงการ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2563 - 31 มนี าคม 2565 จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ จานวน 9 คน ศนู ยต์ ดิ ตามการด้อื ยา • โครงการบริการวิชาการ เรื่อง AMR capacity building in animal sector in Lao PDR เพื่อแสดงถึงระบบนิเวศ นวตั กรรมทรี่ องรบั การพัฒนาทางวิชาการและพัฒนาประเทศ เพ่อื ตอบสนองต่อประเด็นปญั หาสงั คมอย่างมปี ัญญาพร้อม ตอบรับทุกภาคส่วนอย่างท่ัวถึงพร้อมเคียงคู่สังคมไทย ระยะเวลาดาเนินโครงการวันที่ 31 เมษายน 2564 - 28 กมุ ภาพันธ์ 2565 จานวนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ 99 คน รายงานประจาปี 2564 36

• โครงการบริการวิชาการ เรื่อง Strengthening external quality assurance for AMR in Asia (EQASIA) เพ่ือ แสดงถึงระบบนิเวศนวัตกรรมท่ีรองรับการพัฒนาทางวิชาการและพัฒนาประเทศ เพ่ือสร้างเสริมบริการวิชาการสรู่ ะดับ นานาชาติ ระยะเวลาดาเนินโครงการวันท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2563 - 31 มนี าคม 2565 จานวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ 125 คน ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาเทคโนโลยกี ารผลิตปศุสัตว์ • โครงการบริการวิชาการ เร่ือง การให้บริการสารเสริมฮอร์โมนและตรวจวัดปริมาณฮอร์โมน เพื่อเป็นการบริการ วชิ าการแก่หน่วยงานในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และหน่วยงานภายนอกคณะสตั วแพทยศาสตร์ เพ่ือส่งเสรมิ ให้งานวิจัย สามารถนาประโยชน์สชู่ ุมชนและลงสูพ่ ื้นท่ีปฏิบตั ิจรงิ ให้เกิดประโยชน์แก่วงการปศุสัตว์ย่งิ ๆ ขึ้น ไป ระยะเวลาดาเนินโครงการวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กนั ยายน 2564 จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการ 10 คน รายงานประจาปี 2564 37

เป้าประสงค์ เป็นศูนยก์ ลางในการใหบ้ ริการด้านการศึกษา วจิ ัย บริการวชิ าการ และนวตั กรรมด้านสัตวแพทย์ ท่ี เปน็ ทยี่ อมรบั ในระดับภมู ปิ ระเทศและภูมภิ าค ➢ โครงการวิจยั จานวนโครงการ จานวนงบประมาณ (บาท) โครงการวิจยั 42 58,337,313 16 6,689,035 แหล่งทุนภายนอก 20 2,150,000 แหล่งทุนภายใน 4 80,000 เงินทุนคณะฯ Research to Routine ➢ ทนุ โครงการสร้างเสรมิ พลงั จฬุ าฯ กา้ วสู่ศตวรรษท่ี 2 (C2F) • นิสิตปรญิ ญาเอกศกั ยภาพสูง ประกอบดว้ ย - นสิ ิตปรญิ ญาเอกศักยภาพสูง (หลกั สูตรปกติ 3 ป)ี จานวน 21 คน - นิสิตปรญิ ญาเอกศกั ยภาพสงู (หลกั สตู รตอ่ เนอ่ื ง 5 ป)ี จานวน 21 คน - นักวจิ ยั หลังปรญิ ญาเอก จานวน 24 คน รวมทั้งสนิ้ จานวน 66 คน ➢ ผลงานที่ไดร้ ับการสนับสนนุ การตีพิมพใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาติ ข้อมลู ณ มิถนุ ายน 2564 • Quartile 1 จานวน 99 บทความ ➢ The Thai Journal of Veterinary Medicine (เวชสารสตั วแพทย์) • จานวนบทความท่ีลงในเวชสารสตั วแพทย์ ท้ังสน้ิ 71 บทความ • การขอใช้สตั วท์ ดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ทงั้ การวิจยั และการเรียนการสอน (IACUC) ข้อมลู ณ มิ.ย.64 - การยน่ื ขอใชส้ ัตว์ทดลองเพื่องานทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน 59 คร้ัง - ออกใบอนญุ าต จานวน 59 ฉบับ • การขอใช้เชื้อ และสารเคมอี ันตราย (IBC) ข้อมูล ณ มิ.ย.64 - มีการประชุมเพอ่ื พจิ ารณาการขอใช้เชอ้ื และสารเคมอี ันตราย จานวน 30 ครัง้ - ออกใบอนญุ าต จานวน 64 ฉบับ ➢ กจิ กรรมสง่ เสริมงานวจิ ัย มี 1 โครงการ • โครงการประชมุ วิชาการนานาชาติ ประจาปี 2564 Chulalongkorn University Veterinary Conference 2021 Live (CUVC 2021 Live) วันที่ 29-30 เมษายน 2564 รายงานประจาปี 2564 38

กิจกรรมประชาสมั พนั ธง์ านนวตั กรรมของคณะฯ • การนาเสนอผลงานนวัตกรรมของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2021 Live ฝ่ายจัดแสดงนวัตกรรมในงาน CUVC 2021 Live โดยมี ผศ.สพ.ญ. ภาวนา เช้ือศิริ ประธานฝ่ายจัดแสดง นวัตกรรม ได้มีการรวบรวมผลงานนวัตกรรมเพื่อนาเสนอในงานประชุมในรูปแบบ virtual conference วันที่ 29-30 เมษายน 2564 โดยรวบรวมผลงานส่ิงประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมท่คี ดิ ค้นโดยบุคลากรคณะฯ ต้ังแตใ่ นช่วงปี 2562 -2563 ท่ี ได้รับรางวัลจากการประกวดในงานแสดงส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมระดับนานาชาติ อีกทั้งเป็นการแสดงศักยภาพของ ทางคณะฯ ทางดา้ นนวตั กรรมทางสตั วแพทย์ออกสู่สงั คม ทุนส่งเสรมิ โครงการนวตั กรรม • โครงการสร้างคุณค่างานประจาสู่การวจิ ัยและนวัตกรรม คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาและแหล่งอ้างอิงความรู้ทางด้านสัตว แพทย์ และให้บรกิ ารทางวิชาการ ซึ่งทาให้เกิดผลผลติ ทมี่ คี ุณคา่ อนั เกิดการจากการดาเนินงานประจาท่เี ปน็ ประโยชน์แก่ สงั คม อกี ท้งั การดาเนนิ งานประจาของบคุ ลากรได้มีการสร้างข้อมลู ท่ีมปี ระโยชนแ์ ละคุณคา่ ในปจั จุบันการรวบรวมขอ้ มลู และการนาข้อมูลมาวเิ คราะหเ์ พ่อื พฒั นาองคก์ รจัดเปน็ กลยทุ ธห์ นึง่ ทีม่ คี วามสาคญั ในการพฒั นาองค์กร บุคลากร และการ เจรญิ เติบโตทางธรุ กิจ การนาผลลัพธจ์ ากงานประจามาศกึ ษาวเิ คราะห์ด้วยแนวคิดทางการวิจัยตามแนวทาง routine to research (R2R) เป็นแนวทางหนึ่งท่ีเป็นการสร้างคุณค่าจากงานท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งข้ึน และสามารถนา กลับมาพัฒนางานประจาให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้นด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในก าร ดาเนนิ งานของบคุ ลากรและหนว่ ยงาน ทาให้เกิดมาตรฐานใหม่ กระบวนการใหม่ ท่เี หมาะสมกับการปฏบิ ัตงิ านของแตล่ ะ หน่วยงาน ปัจจุบันคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เป็นสถาบันที่บ่มเพาะสัตวแพทย์สายคลินิกปฏิบัติมีการจัดโปรแกรม การเรียนการสอนทั้ง internship และ residency program ท่ีผู้ปฏิบัติงานจะได้เรียนรู้และได้รับประสบการณ์จาก กระบวนการในทางปฏิบัติ และจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพื่อเป็น สัตวแพทย์ทม่ี ศี กั ยภาพและความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง การนางานประจามาประยุกตใ์ หเ้ กิดประโยชน์ด้วยแนวคดิ ทางการ วิจัย จะช่วยให้การเรยี นรู้ของสตั วแพทย์เป็นไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึ้น อีกทั้งยังเป็นการสรา้ งโอกาส ความท้า ทายในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายปฏิบัติการ อันทาให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เกิดค่านิยมใหม่ ลดช่องว่าง และความเช่ือมโยงระหว่างผู้ปฏิบัติงานประจากับนักวิจัย ทาให้เกิดการสร้างนักวิจัยใหม่ องค์ความรู้ใหม่ในสาย ปฏิบัติการ ที่สามารถและมีโอกาสนามาใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจาวันได้มากขึ้น อันเป็นการสร้างคุณค่าและ นามาใช้ตรงตามแนวคิดเชิงนวัตกรรม โครงการสร้างคุณค่างานประจาสู่การวิจัยและนวัตกรรมเป็นไปตามเป้าประสงค์ และนโยบาย Research and teaching integration มีผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย กลุ่มหลัก รายงานประจาปี 2564 39

สัตวแพทย์ (สัตวแพทย์ประจา, internship และ resident) และกลุ่มรอง คณาจารย์ท่ีมีการเรียนการสอนทางคลินิก และบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย โดยมีการสนับสนนุ โครงการละ 20,000 บาท วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสนับสนนุ ใหม้ ีการพฒั นางานประจาสู่งานวิจัยทนี่ าไปใช้ประโยชนจ์ รงิ เชิงปฏิบัติ 2. เพมิ่ จานวนงานวจิ ัยจากนกั วิจยั ใหมใ่ นสายปฏิบัติการ ในปงี บประมาณ 2564 ได้ดาเนินโครงการ จานวน 4 โครงการ ได้แก่ ลาดับที่ โครงการ 1 การรบั รคู้ ุณภาพการบรกิ ารทส่ี ่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการโรงพยาบาลสตั ว์เล็กของคณะสตั ว แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2 การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการใช้ Bouin’s solution และฟอร์มัลดีไฮด์มาใช้ในกระบวนการรักษา สภาพของเน้อื เย่ือเพ่ือใช้ในการเรยี นการสอนกายวภิ าคศาสตร์ระบบทางเดินอาหาร 3 ความเป็นไปไดใ้ นการประยุกต์ใช้เทคนิคการผสมเทียมในมดลูกด้วยกลอ้ งเอนโดสโคปผา่ นช่องคลอดหรือ ช่องผสมเทียมแบบสแกนดิเนเวียนในสุนขั เพื่อใชใ้ นการผสมเทียมในแพะ 4 สเปรย์สมุนไพรนาโนสูตรเยน็ บรรเทาอาการปวดเมอ่ื ย ปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปญั หา ในปีงบประมาณ 2564 มีจานวนโครงการย่ืนขอทุนจานวนน้อยลง เน่ืองจากอาจเป็นไปได้ว่ามีการเปิดรับ ขอ้ เสนอโครงการในชว่ งเวลาเดียวกบั ทนุ วิจยั คณะฯ และด้วยจานวนเงินสนบั สนุนทนี่ อ้ ยกว่า อาจทาใหผ้ วู้ ิจัยย่นื โครงการ ขอทุนวิจัยคณะฯ จึงมีข้อเสนอแนะให้ทุน R2R ได้มีการเปิดรบั ข้อเสนอโครงการไดต้ ลอดปี เพ่ือเปิดโอกาสให้นักวิจยั ทม่ี ี แนวคิดและโครงการวิจัยท่ีริเร่ิมจากงานประจาทป่ี ฏบิ ตั ติ ลอดปีได้ส่งขอ้ เสนอได้โดยไมม่ ชี ่วงระยะเวลาจากัด • การก่อต้งั หน่วยงานประกอบการเชิงพาณชิ ย์ บรษิ ัท ซยี ู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จากัด การก่อต้ังหน่วยงานประกอบการเชิงพาณิชย์ บริษัท ซียู เว็ท เอ็นเทอร์ไพรส์ จากัด ด้วยจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายในการสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมจากส่ิงประดิษฐ์และงานวิจัยของบุคลกรให้นาไปใช้ ประโยชนไ์ ดจ้ ริง และออกสตู่ ลาดในเชิงพาณิชย์ ผ่านผูป้ ระกอบการและหน่วยงานเอกชน จึงไดม้ ีการจัดตงั้ บริษทั ซียูเอน็ เทอร์ไพรส์ จากดั (CU enterprise Co., Ltd) โดยผ่านความเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมคร้ังที่ 818 วัน พฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการสร้างนวัตกร นวัตกรรม ผู้ประกอบการและธุรกิจ โดยสร้างระบบนิเวศนวตั กรรมให้มคี วามสมบรู ณ์ ทาหนา้ ท่ีเชื่อมโยงอยา่ งใกลช้ ิดระหว่างจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยกบั ภาค ธุรกิจและอุตสาหกรรม และสามารถผลักดันให้นักวิจัย นวัตกรและนวัตกรรมท่ีมีศักยภาพได้เจริญเติบโตต่อยอดและ สร้างประโยชน์แก่สังคม อีกท้ังยังมีบทบาทในการลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามเกณฑ์ท่ีได้รับอนุมัติ จากกรรมการบริษัท จัดตั้งหรือร่วมกับหน่วยงานในการจัดต้ังหน่วยธุรกิจ (business unit) เพ่ือการลงทุนหรือ ประกอบการในเชงิ พาณชิ ย์ เพ่อื ผลักดนั ให้งานนวัตกรรมทีเ่ กิดจากหนว่ ยงานในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ออกสู่สงั คม อกี ทั้งสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่เช่ือมโยงกับหน่วยงานอื่น ๆ โดยมีข้อบังคับเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทั้งนค้ี ณะสัตวแพทยศาสตร์ เปน็ หน่วยงาน ทีม่ ีการดาเนนิ การตามระเบียบของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนั มขี อ้ จากัดท่ี เกีย่ วข้องกบั การบริหารงานบคุ คล การเงนิ การจัดซอื้ จดั จา้ ง ทีข่ ัดการขับเคลอ่ื นนโยบายการนางานวจิ ัยองคค์ วามรู้ไปใช้ ประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ อาทิเช่น การจ้างบุคลากรในกรอบตาแหน่งทีม่ ีจากดั การจัดซือ้ จัดจ้างพัสดทุ ี่มีระเบียบขั้นตอน ทางราชการท่ีเข้มงวด และไม่จูงใจบุคลากรที่มีคุณภาพสูงในการเข้ามาร่วมพัฒนางานได้ ด้วยบริบทของสั งคมท่ี เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ จาเป็นต้องก้าวไปข้างหน้าและคงเป็นผู้นาทางด้านสัตว แพทยศาสตร์ในประเทศไทย จึงต้องมีการปรับตัวและการจัดการภายใต้ระเบียบและแนวทางใหม่ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้สามารถนางานวิจัย องค์ความรู้ ส่ิงประดิษฐ์ท่ีสร้างสรรค์โดยบุคลากรในคณะฯ ออกสู่สังคม เป็นท่ีต้องการของ ตลาด ทาให้เกิดประโยชนต์ อ่ ทงั้ ผู้ใชง้ าน นกั วิจัย คณะฯ มหาวิทยาลยั และหน่วยงานเอกชนทมี่ ีความสนใจมสี ่วนร่วมได้ รายงานประจาปี 2564 40

อย่างคลอ่ งตวั รวมถึงส่งเสริมและจูงใจใหเ้ กิดการแรงกระตุน้ ในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ท่ีสร้างคุณค่าและมลู คา่ ตาม นโยบายของคณะฯ ได้ และการผลักดันให้เกิด spin-off ของนักวิจัย จึงได้มีการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ซียู เวท เอ็น เทอร์ไพรส์ จากัด (CU VET Enterprise Co., Ltd) ทะเบียนเลขท่ี 0105563050971 กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าสาเรจ็ เมอื่ วนั ท่ี 20 มีนาคม 2563 ในระหว่างปีงบประมาณ 2563-2564 บริษัทฯ ได้ประสานงานกับนักวิจัยและสนับสนุนให้เกิดการ spin-off ของนักวจิ ยั ออกมาจดทะเบยี นบริษัทเพ่ือดาเนินการในรูปแบบ startup หรอื ขอสทิ ธิการใชผ้ ลงานวิจยั หรอื ทรัพยส์ ินทาง ปญั ญากบั มามหาวทิ ยาลัยนามาขยายผลใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน ทง้ั หมด 3 บริษทั ไดแ้ ก่ 1. บรษิ ทั นาอีฟ อินโนวา จากดั โดย อ.ดร. ธรี พงศ์ ยะทา 2. บริษทั อะควา อินโนแวค จากัด โดย รศ.น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคา 3. บรษิ ทั ไบโอ อิงค์ จากัด โดย ผศ.น.สพ.ดร. เจนภพ สว่างเมฆ ฝา่ ยนวัตกรรม และเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กร ผลการดาเนินงาน ฝา่ ยนวัตกรรม และเสรมิ สรา้ งภาพลักษณอ์ งคก์ ร ดังน้ี ➢ ผลงานท่ีได้รับการจดสทิ ธบิ ตั ร 2 ผลงาน ที่ ช่อื งานประดษิ ฐ์ ประเภท เลขทีค่ าขอ เลขที่รบั ผ้ปู ระดิษฐ์ วนั ทย่ี นื่ คา วนั ทไ่ี ดร้ บั ขอ จดทะเบยี น จดทะเบียน (หนว่ ยงาน) 23 พ.ย. 64 11 ก.พ. 63 1 ปะการังเทียมถอดประกอบ อนุ 2003000260 16948 ศ.สพ.ญ.ดร.นันทรกิ า 26 ม.ี ค. 64 11 ก.พ. 63 ชิ้นสว่ น สทิ ธิบตั ร ชันซือ่ 2 ชุดหุ่นจาลองสามมติ ขิ องเยอื่ อนุ 2003000261 17532 ผศ.สพ.ญ.ภาวนา หุ้มสมองและโครงหลอด สิทธบิ ัตร เชื้อศิริ เลอื ดของสมองสุนัข ➢ รางวัลผลงานวจิ ัย และนวตั กรรม (ปีงบประมาณ 2564) ท่ี ชือ่ ผไู้ ด้รับรางวลั ชอ่ื รางวัล ชื่อผลงาน หน่วยงานทีใ่ ห้รางวัล Innovation Week Africa, IWA 1 ผศ.สพ.ญ.ภาวนา เช้ือศริ ิ เหรียญทอง ชดุ หนุ่ จาลองกายวภิ าคตาสนุ ัขแบบ 2020”, Rabat, Morocco) (Online) OFEED Morocco Supported by สามมิติเพอ่ื การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง 3D International Federation of Inventors’ Associations (IFIA) / Dog Eye Anatomy Model for The Patent Invention Magazine / Oxford Business Group Self-learning สานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2 ศ.สพ.ญ.ดร.อจั ฉริยา รางวัลสภาวจิ ัย นวัตกรรมอุปกรณ์ระบบของไหล งาน 2021 Shanghai International ไศละสูต และคณะ แหง่ ชาต:ิ รางวลั จลุ ภาคเพอื่ ประยกุ ต์ใชศ้ กึ ษาด้าน Invention&Innovation Expo ณ ผลงานวิจยั วิศวกรรมชีวภาพในทางสตั วแพทย์ นครเซีย่ งไฮ้ สาธารณรฐั ประชาชนจีน 3 อ.ดร.ธรี พงศ์ ยะทา ประจาปี 2564 เป็นรูปแบบการศกึ ษา ระดับดมี าก ผลงานนวตั กรรม สเปรย์แก้ปวด เหรยี ญทองแดง เมอ่ื ย คลายเครยี ดจากสารสกัด (Bronze Medal) พฤกษานาโน “An Innovative PhytoNano-MyoSpray : A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts รายงานประจาปี 2564 41

ที่ ช่อื ผู้ได้รบั รางวัล ชือ่ รางวลั ชื่อผลงาน หน่วยงานทใี่ หร้ างวลั 4 ผศ.สพ.ญ.ดร.ศริ กานต์ เหรียญทอง ผลงานนวัตกรรม “Protein and งาน 2021 Shanghai International (Gold Medal) Amino Acid Test Kit Invention&Innovation Expo ณ ฐติ วัฒน์ รางวลั เหรยี ญเงนิ นครเซ่ียงไฮ้ สาธารณรฐั ประชาชนจนี 5 รศ.น.สพ.ดร.นพดล ระดับนานาชาติ เอควาพีซ : ผลิตภัณฑน์ วัตกรรมเพอื่ Salon International Des เหรียญทองแดง สวสั ดภิ าพสัตวใ์ นการเพาะเลี้ยงสตั ว์ Inventions GENEVE (Geneva พฬิ ารตั น์ และคณะ (Bronze Medal) น้า 2021) 6 อ.ดร.ธรี พงศ์ ยะทา ผลงานนวัตกรรม \"An Innovative 2021 Shanghai International Gold Madel PhytoNano-MyoSpray: A Pain Invention&Innovation Expo ณ และคณะ Relief Spray from นครเซย่ี งไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจนี Gold Madel Nanostructured Lipid Carriers 7 อ.ดร.ธรี พงศ์ ยะทา carrying Herbal Extracts 2021 Japan Design, Idea and Gold Madel นวตั กรรมนาโนเจลสตู รนา้ สาหรับ Invention Expo” (JDIE 2021) 8 อ.ดร.ธรี พงศ์ ยะทา ทดแทนการอาบนา้ สาหรับสตั วเ์ ล้ยี ง ณ เมืองเกยี วโต ประเทศญป่ี นุ่ Grand Prize ปว่ ย หลงั ทาวคั ซีน หรอื มบี าดแผลซง่ึ 9 อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา ห้ามโดนน้า (An Innovative Bath- 2021 Japan Design, Idea and และคณะ substituting HydroNanogel for Invention Expo” (JDIE 2021) Ill, Vaccinated or Wounded Pet ณ เมืองเกยี วโต ประเทศญีป่ นุ่ 10 ผศ.น.สพ.ดร.ธรี วัฒน์ Animals) สว่างจันทรอ์ ทุ ยั นวัตกรรม โบทนิ า่ แอคเมลลา นาโน 2021 Japan Design, Idea and เอนแคปซูเลท เฟเชียล สลพี พิง้ Invention Expo” (JDIE 2021) มาสก์ (Acmella ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุน่ NanoEncapsulated Particle Facial Sleeping Mask) งานประชมุ ระดบั นานาชาติ IWA นวัตกรรม สเปรยส์ มุนไพรนาโนสูตร 2021 Online Competition เย็นบรรเทาอาการปวดเมอ่ื ย (An ณ ประเทศโมร็อคโก Innovative PhytoNano- MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carriers carrying Herbal Extracts) อปุ กรณ์ตรวจวนิ จิ ฉัยภาวะเยอ่ื บุ มดลกู อกั เสบในโค (Metrisure) ของ คณะผูว้ จิ ยั ศนู ยว์ ิจัยและถา่ ยทอด เทคโนโลยเี พ่อื พฒั นาการเลีย้ งโคนม ในเขตรอ้ นช้ืน (Tropical Dairy Research Center: TDRC) รายงานประจาปี 2564 42

ฝา่ ยสตั วแพทยศาสตรศ์ กึ ษาและรับรองหลักสูตร EAEVE 2020-2021 Summary and Updates โดยการนาของ ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สว่างเมฆ และการสนับสนุนโดยฝ่ายวิชาการ/ คณะทางานในส่วนต่าง ๆ ได้ ดาเนินการเตรียมความพรอ้ มเพือ่ การรับประเมนิ จาก European Association of Establishments for Veterinary Education (EAEVE) หรือ EAEVE Full Visit โดยยึดจากผลการประเมิน Consultative Visitation เป็นแนวทางในการ OKRs เพ่ือการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบการจดั การการเรยี นการสอนในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย โดยแบง่ การดาเนนิ งาน ออกเปน็ 5 working groups และ 2 focused area (Isolation units in Small and Farm Animal Hospitals) ดังต่อไปน้ี 5 Working Groups: 1. E-logbook 2. Skill Lab 3. OSCE 4. MCQ 5. E-Exam 2 Focused Area (Isolation units in Small and Farm Animal Hospitals): A. Small Animal Hospital B. Farm Animal Hospital NOTE for updates from EAEVE: Most up-date-date EAEVE’s documents for reference: 1. SOP 2019 2. ESEVT indicators (updated July 2020) 3. Day One Competency 4. Exceptional Rules for ESEVT Visitations planned in 2021, approved by ExCom and the 33rd EAEVE GA EAEVE GA meeting Points (3 Dec 2020): • Acknowledgement on Associate Membership Status – CU, BKK, Thailand = Associate Member approved by Ex-com during 1 June 2019 – 1 December 2020 • President re-election = Dr. Stéphane Martinot, Director de Cabinet, University of Lyon • Membership fees 2021 remain the same as 2019 for all membership categories • ENQA’s main recommendation for EAEVE – the CV rebranding to be PV • Result from Permanent SOP WG: Proposal List for Amendment of SOP to be circulated for members’ final consideration in the beginning of 2021, approved in next GA meeting in Turin, and expectedly implemented in 2023 • Amendment of SOP 2019: 1. Temporary amendment due to exceptional situation caused by COVID-19 2. Replacement of Consultative Visitation by Preliminary Visitation Process of visitation to be done in 2021 will be based either solely option Plan in Exceptional Rules) using SOP 2019 + exceptional circumstance approved December 2020 (VEE in consultation with EAEVE) การดาเนนิ งานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวขอ้ งในเชงิ เพิ่ม recognition และ visibility ในระดบั ประเทศและนานาชาติ 1. ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สว่างเมฆ ได้รับเชิญจาก ASEAN Veterinary Statutory Body Network (AVSBN) และสัตว แพทยสภาแห่งประเทศไทยเพื่อเป็นวิทยากรในหัวข้อ “From D1C to VCT: how can VEES be rewarded for progress to higher standards?” ใ น ง า น Virtual Meeting: The OIE-VSB Twinning Program, AVBC-VCT: The AVSBN virtual workshop on VEE Accreditation Standards เม่อื วนั ที่ 9 ธันวาคม 2563 รายงานประจาปี 2564 43

2. ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สวา่ งเมฆ ได้รับเชิญจาก Asian Association of Veterinary Schools (AAVS) เพ่อื เป็นวทิ ยากรใน หัวข้อ “Host-pathogen interaction and arise of neglected tropical diseases due to global change” ใน ง า น Webinar: 1st Congratulations on hosting the International Conferences of Advanced Veterinary Sciences and Technology for Sustainable Development เม่ือวนั ที่ 28 มนี าคม 2564 สรปุ การดาเนินงานโดยยอ่ 1.E-logbook: E-logbook Working group นาโดย อ.สพ.ญ.ดร. ศิรินันท์ พิสมัย (ประธาน Working Group) ผศ.น.สพ.ดร. นัทธี อ่าอินทร์ และ อ.สพ.ญ.ดร. ชุติมน ธนบูรณ์นิพัทธ์ (โดย ศ.สพ.ญ.ดร.เกวลี ฉัตรดรงค์ เป็นท่ีปรึกษา หลัก) ได้ดาเนินการสร้างและพัฒนาระบบ E-logbook โดยความร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย (โดยมี รศ.ดร.อตวิ งศ์ สชุ าโต เป็นท่ีปรึกษาหลัก) และ บริษัท โกลบชิ อคาเดเมยี (ไทยแลนด์) จากัด (นาโดย ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยีและผู้ร่วมก่อต้ัง) ได้นาระบบ SmartSchool ซ่ึงเป็นหน่ึงในระบบนิเวศน์มาย คอร์สวิลล์ (myCourseVille Ecosystem) มาเป็นต้นแบบประยุกต์ใช้สาหรับ E-logbook ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และใช้ช่ือว่า CUVET SmartSchool ซึ่งมีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการจัดการ เรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีในระบบนิเวศน์มายคอร์สวิลล์ ระหว่างทั้ง 3 หน่วยงาน (ผู้ลงนาม: คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยีและผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท โกลบิชอคาเดเมีย (ไทยแลนด์) จากัด เม่ือวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 ณ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน ได้ดาเนินการทดลองปรบั ใช้ระบบ E-logbook หรือ CUVET SmartSchool กับการบันทึกการฝึก ปฎบิ ตั ิการทางคลนิ กิ ของนิสติ ชั้นปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 เทอมต้น และมีแผนเรม่ิ ใชใ้ นการบนั ทกึ การฝึกปฎบิ ัตกิ ารทาง คลินิกของนิสิตช้ันปีที่ 5 ในปีการศึกษา 2563 เทอมปลาย โดยมีแผนการประชุมกับอาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชาเรือ่ ง การใช้ระบบและการ map ทักษะของแต่ละรายวิชาตาม EAEVE Day One Competency เพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่ ตรงกันตั้งแต่แรก และเร่มิ มีการประสานกับฝา่ ยวิชาการในเข้ามาสร้างข้อมูลรายวิชาและการนาเขา้ รายชื่อนิสติ ในระบบ มากขึ้น ความคืบหน้า ณ ปัจจุบัน ได้มีการจัดทา CUVET Day One Competency List และ Curricular Mapping นาโดย อ.สพ.ญ.ดร. ศิรริ ัตน์ นนั ทวิสยั และ สพ.ญ. จุฑามาศ จตั ุชยั ภายใตค้ าชีแ้ นะจากฝา่ ยวิชาการ โดยการใช้ EAEVE Day One Competency เป็นหลัก และเพ่ิมเติมส่วนของ Day One Competency List ของสัตวแพทยสภาแห่ง ประเทศไทยและ OIE ทั้งนี้ ได้มีการนาส่งเอกสารที่จัดทาแล้วดังกล่าวให้แก่ทาง E-logbook Working Group ในการ ดาเนินการออกแบบ CUVET SmartSchool ให้สอดคล้องกบั competency list ดังกลา่ ว 2. Skill Lab: โดยการนาของ อ.น.สพ.ดร.ธรี วัฒน์ สวา่ งจนั ทร์อุทัย รองประธาน WG ได้จกั ารประชมุ ตวั แทนภาควิชา ทงั้ หมด 3 ครง้ั โดยได้ข้อสรปุ เปน็ Items List จากทกุ ภาควชิ า และแผนการจัดซือ้ สาหรบั ห้อง Skill Lab สาหรับ ปงี บประมาณ 2564 และปงี บประมาณปี 2565 ในปจั จุบัน หอ้ ง Skill Lab ต้ังอยู่ ห้อง 837 อาคาร 60 ปีฯ โดยไดร้ ับการปรบั ปรงุ ให้มคี วามพร้อมขนั้ พืน้ ฐาน เช่น การติดต้งั Wi-Fi router/ CCTVs และการกญุ แจล็อคห้องชว่ั คราว โดย สพศ. ไดม้ ีแผนการเตรียมความพร้อมสาหรับ หอ้ ง Skill Lab อยา่ งต่อเนื่อง ดังน้ี รายงานประจาปี 2564 44

1. OKRs การเตรียมความพร้อมและบริหารจดั การหอ้ ง Skill Lab (การเคลอ่ื นยา้ ยอปุ กรณ์, Skill Lab’s website, ระบบการจอง ฯลฯ) ซ่งึ คาดการณ์วา่ จะมีความพรอ้ มในการเปิดใชง้ านในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ปี 2564 (โดยผดู้ ูแลหลัก คือ นางสาวกนกวรรณ เกิดมที รพั ย์ และ นายอนสุ รณ์ คนงึ ทอง) Planned Website URL: www.vetskilllab.vet.chula.ac.th Email Address: [email protected] 2. การจัดซ้อื ปีงบประมาณ 2564 และจดั งบประมาณสาหรับปี 2565 3. OSCE: โดยการนาของ อ.สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดงั งา รองประธาน WG มีแผนการดาเนนิ งานและช่วงระยะเวลาโดย สรุป (จากการประชมุ WG รวม) ดงั น้ี 1. วางรูปแบบการสอบ OSCE (ก.ค. - ก.ย. 2563): • กาหนดตวั แทน OSCE group (คณะกรรมการ OSCE และคณะกรรมการพจิ ารณาขอ้ สอบ) • กาหนด OSCE Content • ออกแบบวงสอบ • เลอื กสถานท่ี • Guideline สาหรบั การสอบและการคมุ สอบ • ประมวล OSCE items หรอื ขอ้ สอบ (จดั อบรม OSCE items) • ประชาสมั พันธ์ให้นิสิตทราบ 2. ดาเนนิ การทา Pilot Run OSCE เทอมปลาย 2563 (นิสิตชน้ั ปี 5) (ก.ย. 2563 - พ.ค. 2564): • ฝึกหตั ถการใหก้ บั นสิ ติ • เตรยี มสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ • Orientation สาหรบั อาจารย:์ การคุมสอบและการตรวจขอ้ สอบ • Orientation สาหรับนสิ ิต: คุมสอบและประเมนิ ผล 4. E-Exam and MCQ: ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ทาให้คณะฯ และมหาวิทยาลัยได้มีการใช้ online platform ท้ัง ในการสอนและการสอบซ่ึงสามารถผ่านไปได้ด้วยดี ดังนัน้ ถ้าหากไมม่ ี Exam-based application ท่เี ฉพาะเจาะจงหรือ รายงานประจาปี 2564 45

แบบที่อนุญาตใหใ้ ชฟ้ รใี นการสอบ (ตามการประชมุ Focus group รว่ มกบั นิสิตชน้ั ปี 1-4 และ 5-6 ในเดือนพฤษภาคมท่ี ผ่านมา) ทางคณะฯ มแี นวโนม้ ที่จะใช้ Blackboard เป็น platform ต่อไปท้ังในสถานการณ์ COVID-19 และสถานการณ์ ปกติ ส่งผลให้อาจจะไม่มีแผนการซ้ือ ExamSoft ท้ังน้ี คาดว่าการสอบในคณะฯในอนาคต จะมีลักษณะเป็นแบบไม่ใช้ กระดาษ (paperless) และมุ่งเน้นการให้อาจารย์และบุคลากรที่เก่ียวข้องใช้ Blackboard เพื่อเป็น platform ในการ เรยี นการสอนและการสอบ online มากข้นึ การดาเนินการของ E-Exam และ MCQ WGs ในปี 2563 คือ การร่วมมือกันในเร่ืองการวางแผนการใช้ Blackboard เพ่ือพัฒนาเป็น online exam platform ท่ีสามารถออกข้อสอบและวิเคราะห์ข้อสอบได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยทางานร่วมกับฝ่ายวิชาการ ในการจัดอบรมการใช้ Blackboard ให้แก่คณาจารย์และบุคลากร ผ้เู ก่ียวขอ้ ง คือ 1. การอบรมเรื่องการใช้ Blackboard เบื้องต้น โดย ผศ.น.สพ. กอ้ งเกยี รติ ศรสี วุ ฒั นาสกลุ (เมือ่ วนั พธุ ที่ 29 กรกฎาคม 2563 เวลา 10.00-12.00 น.) 2. การใช้ Blackboard เพอื่ การออกขอ้ สอบและการวิเคราะหข์ ้อสอบ โดยมีวิทยาการหลักคือ อ.น.สพ.ดร.วชิรา หุ่นประสิทธิ์, อ.สพ.ญ.ดร. อารยา รัตนกถิกานนท์ และ อ.น.สพ.ดร. เกษม รัตนภญิ โญพทิ กั ษ์ (เมื่อวนั พฤหัสบดีท่ี 30 กรกฎาคม 2563 เวลา 10.00-12.00 น.) 5. Small Animal Hospital (SAH): โดยการนาของ ผศ.น.สพ. สริ พิ งศ์ เกยี รติกิตติคุณ โดยมงุ่ เปา้ ท่ี Isolation Facilities ซงึ่ มีส่วนประกอบหลัก ดงั ต่อไปน้ี 1) Isolation unit 2) Infectious ward 3) SOP มีการประชมุ ร่วมกบั สตั ว แพทยสภา ทงั้ หมด 7 ครง้ั และมกี ารดาเนนิ การดังตอ่ ไปนี้ สัตวแพทย์ interns เริ่มทดลองใช้ SOP ติดเชื้อและการปฏิบัติงาน ณ จุดคัดกรองโดยเร่ิมทดลองระบบ ในวันที่ 21 กนั ยายน 2563 1. สัตวแพทย์ interns ให้เจ้าของกรอกในแบบฟอร์ม Rubrics ด้วยตัวเอง และทาการตรวจสอบผลการทาแบบฟอร์ม เพ่ือยืนยันและคัดกรองสัตว์ป่วยติดเช้ือ ไปยังห้องเบอร์ 6 แผนกอายุรกรรม โดยระบุเลขห้องหน้าแฟ้มประวัติให้ ชดั เจน (ถา้ สามารถใส่ขอ้ มูลใน HIS ได้กค็ วรทา) ถ้าเปน็ ไปไดค้ วรมกี ารโทรแจง้ ที่อายุรกรรมกอ่ นมกี ารส่งเคสไป 2. สตั วป์ ่วยตดิ เชือ้ ทไ่ี ปหนว่ ยฉุกเฉนิ (ER) ฝ่าย ER จะทาการแยกพนื้ ที่ของสัตวป์ ่วยตดิ เช้ือภายใน ER เอง 3. สัตวแพทย์ interns สามารถปรึกษา อัพเดทข้อมูล และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการคัดกรองในแง่มุมต่าง ๆ ได้ ตลอด สรปุ สาระสาคญั ความคืบหนา้ ณ ปัจจุบนั 1. ผลจากการปฏิบัติการของสัตวแพทย์ interns ณ จุดคัดกรองเป็นเวลา 1 เดือน (กันยายน - ตุลาคม 2563) (case log) พบว่า มีสัตว์ป่วยติดเชื้อประมาณ 10% ของสัตว์ท่ีเข้ามารับการรักษา ณ จุดคัดกรอง และตัดสินใจให้สัตว แพทย์ interns ทางาน ณ จุดคัดกรองต่อไป แต่อาจมีความไม่สมา่ เสมอในด้านความแม่นยาและรอยต่อในช่วงการ เปลยี่ นกลุ่ม interns โดยช่วงวนั เสาร์-อาทิตย์ใหห้ มอจาก IPD และ หมอ part-time มาชว่ ยทาในส่วนคัดกรองแทน interns 2. มีการหารือเก่ียวกับ backup plan ในการเตรียมบุคลากรประจาจุดคัดกรอง เพื่อปฎิบัติการแยกสัตว์ป่วยติดเช้ือ อย่างถาวร เพื่อให้เกิดความแม่นยาและย่ังยืน โดยถ้าสามารถจัดจ้างและฝึกนักเทคนิคการสัตวแพทย์มาทางาน ดังกล่าวได้ จะถือว่าเป็นทางออกที่ดีท่ีสุด หรือถ้าไม่สามารถจัดจ้างเพ่ิมได้ การฝึกเจ้าหน้าที่เวชระเบียนถือเป็น ตัวเลือกรองลงมา 3. ผศ.น.สพ.ดร. เจนภพ สว่างเมฆ ให้ความกรุณาติดตามเรื่องห้องกับผู้อานวยการโรงพยาบาลสัตว์เล็กฯพบว่าห้อง ตรวจโรคแมวเกา่ ไดร้ บั การปรบั ปรงุ และมีความเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะใช้ได้ภายในเดอื นธันวาคม 2563 4. ยังคงต้องมีการหารือและติดตามเร่ืองสถานท่ี การจัดการทรัพยากรบุคคลและอุปกรณ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบ ปญั หาและหาทางออกท่ีเป็นไปไดใ้ นทางปฏิบตั เิ ท่าท่สี ามารถดาเนินการได้ในปจั จบุ ัน 6. Farm Animal Hospital (FAH): ได้มีการหารือกับทางโรงพยาบาลสัตว์ใหญ่เพ่ือให้เข้าใจตรงกัน โดยทาง โรงพยาบาลได้วางแผนและระบุพื้นท่ีในการทา Isolation Unit แล้ว โดยอาจจะมีการขอคาช้ีแนะจากทาง Vet North Japan (Obihiro University) เร่ือง Isolation facilities และ SOP ในอนาคต รายงานประจาปี 2564 46

การดาเนินงานในเชิงเพิ่ม recognition และ visibility ในการประชมุ ระดับประเทศและนานาชาติ 1. CUVET – EAEVE’s Associate Member: คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าได้รับการรับรองใน ฐานะสมาชิกสมทบของ EAEVE ตัง้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2563 2. The OIE-VSB Twinning Program, AVBC-VCT: The AVSBN virtual workshop on VEE Accreditation Standards ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สว่างเมฆ ไดร้ บั เชญิ จาก ASEAN Veterinary Statutory Body Network (AVSBN) และ สัตวแพทยสภาแห่งประเทศไทยเพ่ือเป็นวิทยากรในหัวข้อ “From D1C to VCT: how can VEES be rewarded for progress to higher standards?” ในงาน Virtual Meeting: The OIE-VSB Twinning Program, AVBC-VCT: The AVSBN virtual workshop on VEE Accreditation Standards ในวันท่ี 9 ธันวาคม 2563 3. AAVS International Conference: ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สว่างเมฆ ได้รับเชิญจาก Asian Association of Veterinary Schools (AAVS) เพ่ือเปน็ วิทยากรในหัวขอ้ “Stem cells in vet: from science to future hold to make a better world” ใ น ง า น Webinar: 1st Congratulations on hosting the International Conferences of Advanced Veterinary Sciences and Technology for Sustainable Development ในวนั ที่ 28 มนี าคม 2564 4. The 33rd EAEVE General Assembly: ทีม สพศ. เข้าร่วมประชุม the 33rd EAEVE General Assembly วันท่ี 3 ธันวาคม 2564 (เวลา 09:00-14:00 CET) ผ่าน ZOOM Meeting 5. AAVS Virtual Meeting on Veterinary Education in the time of COVID-19 : ทีม สพศ. เขา้ ร่วมงานประชมุ AAVS Virtual Meeting on Veterinary Education in the time of COVID-19 วันท่ี 26 มกราคม 2564 ผ่านทาง ZOOM Meeting ฝ่ายประชาสมั พันธ์ และเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กร • การจดั ทา CUVET BRANDING • New CUVET Logo (JPEG, PNG, AI) • ZOOM Background Formats • Facebook Post Formats • โครงการคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เพ่อื สวัสดิภาพสตั วใ์ นร้วั จุฬาฯ มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้ 1. สารวจและทาข้อมูลทะเบียนประวตั สิ ุนขั และแมวจรจัดสาหรบั ชมุ ชนในรัว้ จุฬาฯ 2. เพิม่ สวัสดิภาพสัตวใ์ หก้ ับสนุ ขั และแมวจรจัดในรว้ั จุฬาฯ 3. ลดอัตราการเพมิ่ ของประชากร สุนขั และแมวจรจดั ในร้วั จฬุ าฯ 4. ป้องกันและลดการระบาดของโรคพษิ สนุ ัขบ้าในชุมชนในร้ัวจฬุ าฯ 5. สร้างความมน่ั ใจ และยกระดับคุณภาพชีวิตใหก้ ับประชาชนในรวั้ จุฬาฯ ใหป้ ลอดภัยจากโรคพิษสนุ ัขบา้ 6. เผยแพร่ และถ่ายทอดองค์ความรู้ บรกิ ารวิชาการ ความรู้เกีย่ วกบั ดา้ นการป้องกันโรคพิษสนุ ขั บา้ และการ ดแู ลสัตว์ 7. เพ่ือประชาสัมพันธ์และส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่ี ให้บรกิ ารเพ่อื สังคม ชุมชน และสาธารณะ รายงานประจาปี 2564 47

8. ให้นสิ ติ ได้ตระหนักถงึ บทบาทหน้าที่ของวิชาชีพท่ีมตี ่อสงั คม ตลอดจนเรียนร้วู ิธีการดแู ลสขุ ภาพและสวัสดิ ภาพของสุนขั และแมว ภายใต้การดแู ลของคณาจารย์และทมี สตั วแพทย์อยา่ งใกลช้ ดิ 9. ร่วมกับประชาคมในรว้ั จฬุ าฯ ในการแก้โจทยป์ ัญหาสตั วจ์ รจดั ให้ลดลง โครงการสตั วแพทยจ์ ุฬาฯ เพอ่ื สวสั ดิภาพสตั ว์ในรัว้ จุฬาฯ ปี 2 รูปแบบออนไลน์ คร้ังท่ี 1 โดย นสิ ติ กลุ่มชมรมสวสั ดภิ าพสตั ว์ฯ เพจ JohnJud ร่วมกบั ฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์ และโรงพยาบาลสตั ว์เล็ก คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ วันจันทรท์ ี่ 30 สิงหาคม 2564 รบั ชมทีช่ ่องทาง เพจ Facebook : JohnJud • โครงการคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ ตดิ ปีก มวี ตั ถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพอ่ื ลดอัตราการเพิ่มของประชากรสนุ ัขและแมวจรจัด ของชมุ ชน 2. ป้องกันและลดการระบาดของโรคพิษสนุ ัขบ้าในแหล่งชุมชน และสร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยวและ ประชาชนในท้องถ่ินเก่ยี วกับโรคพษิ สุนัขบ้า 3. เพ่ือเป็นการถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ ๆ สู่สังคม พร้อมท้ังให้ข้อมูลทางวิชาการที่ถูกต้องดา้ น สขุ ภาพสัตว์เลยี้ ง การจัดการ และพฒั นาวชิ าชพี ด้านสตั วแพทย์ 4. เพ่ือเสรมิ สร้างความร่วมมอื ทางดา้ นวิชาการ ระหวา่ งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย กบั หนว่ ยงาน 5. นิสิตได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าท่ีของวิชาชีพ ตลอดจนเรียนรู้วิธีการทาหมันสุนัขและแมว รวมถึงเรียนรู้ ทกั ษะการฉดี วัคซนี แกส่ ุนัขภายใตก้ ารดแู ลของคณาจารยแ์ ละทีมสัตวแพทยอ์ ยา่ งใกล้ชิด 6. เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพชวี ิตให้ดขี ้นึ ลดความเส่ียงและเสรมิ ภูมคิ ุ้มกันใหแ้ ก่ชุมชน โครงการสตั วแพทย์ จฬุ าฯ ติดปกี ประจาปีงบประมาณ 2564 วันท่ี 2 – 3 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 ณ หมู่ที่ 4 บา้ นเกาะเสมด็ ตาบลเพ อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง รายงานประจาปี 2564 48

สรุปงานที่รบั ผดิ ชอบของฝา่ ยประชาสัมพันธ์ - ผลิตส่ือประชาสัมพันธ์ เพื่อลงข่าวแสดงความยินดีบุคลากรท่ีได้รบั ตาแหน่งวิชาการสูงขึ้น, รับรางวัลระดับชาตแิ ละ นานาชาติ, ขา้ ราชการดีเด่น รางวัลอืน่ ๆ วช., อวยพรเน่อื งในวนั สาคัญต่าง ๆ และเผยแพรข่ า่ วสารอื่น ๆ ท่เี ก่ยี วกบั คณะฯ - ทาปฏิทนิ กิจกรรมรายเดือน CUVET NEWS 12 ผลงาน ต่อ ปี - รายการวทิ ยุ 2 รายการ ▪ รายการสตั วแพทยส์ นทนา 52 ตอน/ ปี ▪ รายการ Pet Care on Air 52 ตอน/ ปี - หนังสอื พมิ พแ์ นวหน้า Pet Care ดแู ลสตั ว์เลยี้ ง 52 ตอน/ ปี - หนังสอื พมิ พเ์ ดลินวิ ส์ 1-2 ข่าว ต่อเดือน - รายการทีวี โซเชยี ล, @Health by CU 6 ตอน, รายการ ผ้พู ทิ ักษ์รักโฮ่งเหมยี ว ไทยพบี เี อส 24 ตอน - Facebook คนตาม จาก 3,000 คน เปน็ 13,555 คน บางข่าวทเี่ ป็นประเดน็ ดังมากถึง 21,195 คน - Website คณะฯ ภาษาไทย / องั กฤษ ยอดใชง้ าน 143,302 คร้งั - CUVETPR YouTube channel 399 subscribe - Instagram: cuvet.pr มากกว่า 14 คน - Twitter @cuvet1 3 คน - แจง้ ขา่ วสารคณะฯ ในไลนก์ ลุ่ม CUVET EAEVE วันละ มากกว่า 1 ขา่ ว - ผลิต Infographic ความร้เู ร่ือง ประเด็นขา่ วต่าง ๆ 10 เรื่อง ลงในเพจคณะ และไลน์คณะ - ผลติ VDO สัมภาษณ์วทิ ยากรโดยอาจารย์และนสิ ติ ประเด็นขา่ วดังตา่ ง ๆ 16 ขา่ ว - จัดเก็บ KPI ข่าวประชาสมั พันธค์ ณะฯ ออกโดยสือ่ มวลชน - ออกแบบทาสติกเกอร์ลฟิ ต์ ตึกตา่ ง ๆ คณะฯ - ประสานงานในการตดิ ต่อสัมภาษณ์ อาจารย์ บุคลากร ออกส่ือวิทยุ โทรทศั น์ ประสานจัดหาวิทยากรใหส้ อ่ื ออนไลน์ หนังสือพมิ พ์ รายการชัวร์ก่อนแชร์ รายการทุบโตะ๊ ข่าว - จัดทาโครงการบริการวิชาการ โครงการสตั วแพทย์ จฬุ าฯ ตดิ ปกี ปลี ะ 1 ครั้ง - จัดทาโครงการกจิ กรรมวนั เดก็ แห่งชาติ - จัดทาโครงการสัตวแพทย์ จุฬาฯ เพอื่ สวสั ดภ์ิ าพสตั ว์ในรว้ั จฬุ าฯ - โครงการราษฎรจ์ ฬุ ารว่ มใจขจดั ภยั พิษสนุ ขั บ้าปที ี่ 3 - โครงการทาสีกาแพง paint for friends รายงานประจาปี 2564 49

เปา้ ประสงค์ : บุคลากร และนสิ ติ ไดร้ บั การสนับสนุนปจั จัยพืน้ ฐานที่เอ้ือตอ่ การพฒั นาศกั ภาพดา้ นวชิ าการ ยุทธศาสตร์ด้านการปรับปรุงบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากร คณาจารย์ บุคคลากรและนิสิตได้รับการสนับสนุน ปัจจัยพืน้ ฐานทเี่ อือ้ ตอ่ การพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการและบุคคล กิจกรรมฝา่ ยบรหิ าร • โครงการอบรม เร่ืองความปลอดภัยอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม: WHO Laboratory Biosafety Manual 4th edition and the OIE guidance on biosafety and biosecurity: Similarities and Differences วนั พฤหัสบดี ท่ี 15 กรกฎาคม 2564 ได้เรยี นเชญิ Prof.Dr. Stuart Blacksell จาก Mahidol Oxford Tropical Medicine Research Unit (MORU), Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University มาบรรยายผ่านโปรแกรมออนไลน์ ZOOM เพ่อื ผลักดันให้ห้องปฏบิ ัติการของคณะฯ สามารถปฏิบัติได้และสอดคล้องกับประกาศจฬุ าฯ เรื่องแนวปฏิบัติเพื่อการบริหาร จดั การความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม จานวนผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม 92 คน • โครงการฝึกอบรมบุคลากร เร่ืองเทคนิคการเขียนผลงานเพื่อการขอตาแหน่งที่สูงขึ้นในอนาคต วันพุธท่ี 10 มีนาคม 2564 ผ่านโปรแกรม ZOOM Meeting โดย คุณชินพันธุ ฤกษ์จานง นักทรัพยากรบุคคลเชี่ยวชาญ สานักงาน คณะกรรมการขาราชการพลเรอื น เพ่ือใหผู้เขารับการอบรมมีความรูพื้นฐานเพียงพอตอการเขียนผลงานเพ่ือขอกาหนด ตาแหนงเช่ียวชาญระดบั ตน เชี่ยวชาญระดบั กลาง และเช่ียวชาญระดบั สงู เพื่อใหผู้เข้ารับการอบรมมีความรูในเร่อื งของ ข้ันตอนการขอกาหนดตาแหนงเชย่ี วชาญระดบั ตน จานวนผู้เข้ารว่ มกิจกรรม 83 คน รายงานประจาปี 2564 50

• โครงการฝึกอบรมบุคลากร เร่ือง สอนการใชโปรแกรมประชุมออนไลน์ ได้แก่ ZOOM, Microsoft Teams และ Google Meet วันจันทรท่ี 15 มีนาคม 2564 ผ่านโปรแกรมการประชุม ZOOM โดย คุณศราวุธ ลม้ายกุล เจ้าหน้าท่ี วิเคราะห์ (ระบบคอมพิวเตอร์) สังกัด กลุ่มภารกิจกายภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใหบุคลากรของคณะสัตว แพทยศาสตรมีความรูในเร่ืองรายละเอียดการใชงานโปรแกรม ZOOM, Microsoft Teams และ Google Meet ได้ อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ จานวนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม 73 คน • โครงการฝึกอบรมบุคลากร เรื่อง อัพเดทความรูเร่ืองสิทธิประโยชนประกันชีวิตแบบกลุ่มและประกันสังคมท่ี ผู้ประกันตนควรทราบ วันศุกร์ที่ 9 เมษายน 2564 โดยคุณสุรีย มณฑา ขาราชการบานาญนักวิชาการประกันสังคม บรรยายในเรื่องสิทธิประโยชนประกันสังคมของผู้ประกันตน และ เจ้าหน้าที่จาก บริษัท อาคเนยประกันชีวิตจากัด (มหาชน) บรรยายในเรอื่ งสิทธปิ ระโยชนประกันชีวิตแบบกลุ่ม จานวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 86 คน • โครงการปันน้าใจช่วยเหลือพ่ีน้องบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ สู้ภัยโควิด -19 ของฝ่ายบริหาร และ กรรมการศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมพิเศษ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพ่ือเป็นศูนย์กลาง ประสานงาน และแบ่งปันความช่วยเหลือ โดยจัดหาสงิ่ ของทีจ่ าเปน็ ในการดารงชีวิตประจาวัน และช่วยบรรเทาเบื้องตน้ ให้กับบุคลากรทุกระดับท่ีต้องพักรักษาตัวอยู่ท่ีบ้าน (Home isolation) เพื่อให้บุคลากรมีกาลังใจ และหายเป็นปกติใน เร็ววนั รายงานประจาปี 2564 51

กจิ กรรมด้านศลิ ปวฒั นธรรมและกิจกรรมพเิ ศษ • กิจกรรมครบรอบ 86 ปี แห่งการสถาปนา คณะสัตวแพทยศาสตร์ วันอังคารที่ 20 เมษายน 2564 โดย ศ.น.สพ.ดร.รงุ่ โรจน์ ธนาวงษ์นเุ วช คณบดี นาทีมผูบ้ รหิ าร รองคณบดี ผู้ช่วยคณบดี ผู้อานวยการฝ่ายบรหิ าร ผูอ้ านวยการ ฝ่ายวชิ ากร และหัวหนา้ กลมุ่ ภารกจิ ร่วมพิธไี หวส้ กั การะศาลพระภมู ิเจา้ ท่ี และสกั การะรปู ปน้ั ศ.พันโทหลวงชัยอัศวรักษ์ คณบดที ่านแรก เนือ่ งในโอกาสการสถาปนา 86 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั • กิจกรรมงานทอดกฐิน และผ้าป่าสามัคคีประจาปี 2564 วันเสาร์ท่ี 13 พฤศจิกายน 2564 ในรูปแบบ New normal ณ วัดแคสูง ตาบลดงพลับ อาเภอบ้านหม่ี จังหวัดลพบุรี จัดโดยคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สมาคมนสิ ิตเกา่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ยอดกฐนิ 257,263.50 บาท รายงานประจาปี 2564 52

• กิจกรรมงานเกษียณอายุราชการ ประจาปี 2564 วันศุกร์ท่ี 8 ตุลาคม 2564 เวลา 9.00 น. ณ ห้องประชุม ช้ัน 10 อาคารสตั ววทิ ยวิจกั ษ์ หรือทาง ZOOM Meeting จานวนผเู้ กษียณอายรุ าชการจานวนทงั้ สน้ิ 9 ทา่ น ดังนี้ 1. ศ.สพ.ญ.ดร.ชลลดา บรู ณกาล 2. รศ.สพ.ญ.ดร.มีนา สารกิ ะภูติ 3. รศ.สพ.ญ.ดร.รสมา ภ่สู ุนทรธรรม 4. รศ.สพ.ญ.ดร.นันทรกิ า ชนั ซ่อื 5. รศ.น.สพ.ดร.คณิศักดิ์ อรวรี ะกลุ 6. นางจงกล แสงวิรณุ 7. นางสาววาสนา แสงวารนิ ทร์ 8. นายสุชาติ ทองลม่ิ 9. นายวิเชยี ร อนุชนาด • โครงการกิจกรรม รณรงคใ์ ห้อาจารย์ บคุ ลากร สวมผา้ ไทยทุกวันศุกร์ของสปั ดาห์ เร่มิ วนั ศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564 • โครงการปฏบิ ตั ิธรรมรกั ษาศีล เจริญจติ ภาวนา จิตอาสากวาดลานธรรม ปี 2564 กจิ กรรมหน่วยสารบรรณ • โครงการพีส่ อนนอ้ งเครือขา่ ยสารบรรณ ปีที่ 5 1. กิจกรรมโครงการพ่ีสอนน้องแต่งต้ังคณะอนุกรรมการฯ และประชุมคณะอนุกรรมการเครือข่ายสารบรรณ กาหนด แผนงานการพฒั นาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ less paper และคูม่ ือการใช้งาน มกี ารประชมุ ปรึกษาหารอื เดอื นละ 1 ครง้ั 2. การจัดการระบบการเกบ็ ขอ้ มูลผลผลิตของอาจารย์ และบุคลากร Doc system รายงานประจาปี 2564 53

การพัฒนาต่อยอดข้อมูล OKR KPI และข้อมูลผลิตอาจารย์ และบุคลากร จากระบบ less paper กลุ่มสาร บรรณได้เรียนรู้ กาหนดหัวข้อ กาหนดผลผลิต และทดลองทาเว็บไซต์ การจัดการข้อมูล ให้เป็นศูนย์รวมข้อมูล KPI OKR ข้อมูลผลผลิตอาจารย์ และบุคลากรสาหรับการประเมินประจาปี เช่นข้อมูล อาจารย์พิเศษ วิทยากร สัมมนา ฝกึ อบรม ประชมุ เสนอผลงาน ประชมุ วชิ าการ ประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ การบริการวชิ าการ โครงการวิจยั จากแหลง่ ทุนต่าง ๆ โดยมีหน่วยงานที่ได้รับประโยชน์ท่ีจะนา ส่งข้อมูลผลผลิต ข้อมูลการเป็นอาจารย์พิเศษ วิทยากร ประชุม วิชาการ สัมมนา ฝึกอบรม คณะกรรมการภายใน และภายนอก รางวัลต่าง ๆ กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและ กิจกรรมพิเศษ โครงการวิจัยฯ การเข้าร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ ขออาจารย์ และบุคลากร ส่งต่อข้อมูลให้ฝ่ายนโยบายและ แผน ฝา่ ยบคุ คล ฝา่ ยวิจยั และนวัตกรรม และส่งขอ้ มลู การบริการวชิ าการใหส้ ายพัฒนาบคุ ลากรทุกไตรมาส (ไตรมาส 1- 4 ทุกปีงบประมาณ) โดยเจา้ หนา้ ทีห่ นว่ ยสารบรรณ เป็นผนู้ าข้อมลู KPI OKR และขอ้ มลู ผลผลติ อาจารย์ และบคุ ลากร เข้าระบบ Documents System คิดเป็น 90% ส่วนเจ้าหน้าที่ภาควิชา หน่วยงาน นาเข้า 10% สืบค้นหาข้อมูลและ เรียกดูข้อมลู จากท่ีไหนก็ไดผ้ ู้บรหิ ารสามารถเข้ามาดขู ้อมลู ได้เอง เหมาะสาหรบั ชว่ ง work from home ในสถานการณ์ โรคระบาดโควดิ -19 ชื่อ เว็บไซต์ http://www.docs.vetsaraban.vet.chula.ac.th สาหรับกรอกข้อมูลส่วนผลผลิตส่วนบุคคล ด้านบริการวิชาการ อาจารย์พิเศษ วิทยากร ประชุมสัมมนา ฝึกอบรม ประชุมวิชาการ คณะกรรมการภายใน และ ต่างประเทศ โครงการวิจัย รางวัล ต่าง ๆ หน่วยสารบรรณป้อนข้อมูลท่ีผ่านเข้ามาทางระบบ Less paper ส่วน เจ้าหน้าท่ีภาควิชา ป้อนข้อมูลที่ส่งตรงถึงภาควิชา หน่วยงาน ปัจจุบันเปิดใช้งานได้ 100 % พัฒนาเป็นผลงาน ปงี บประมาณ 2564 กิจกรรม Doc system เปิดอบรมเจ้าหน้าที่ภาควิชา หน่วยงาน ในการเข้าใช้ และการป้อมข้อมลู ระบบการจัดการฐานข้อมูลผลผลิต อาจารย์ และบุคลากร ( Doc sys) รุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2 เม่ือวันที่ 1 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ และเปิดใช้งานต้งั แต่วนั ท่ี 1 มีนาคม 2564 ถงึ ปจั จบุ ัน 3. เว็บไซตข์ องหน่วยสารบรรณ www.vetsaraban.vet.chula.ac.th เปน็ แหล่งรวบรวมข้อมูล และการใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ ของหน่วยสารบรรณ ทกุ ทา่ นสามารถเขา้ ใช้งานได้ง่ายในชว่ งระบาดของเชอื้ โรคโควดิ – 19 และการทางานที่บ้าน work from home พฒั นาผลงานปงี บประมาณ 2564 • ผลงานเกิดจากการพฒั นา และภาคภูมใิ จ 1. แนะนาเวบ็ ไซต์ในช่อง YouTube ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ และหน่วยสารบรรณคณะฯ สัมภาษณผ์ า่ นระบบออนไลน์ ZOOM เมอ่ื วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน 2564 แนะนาการเช้าใช้งาน งานด้านบริการตา่ ง ๆ ของ หน่วยสารบรรณ สามารถติดตามได้ในชอ่ ง YouTube และ Facebook ของคณะฯ และหน่วยสารบรรณ 2. วทิ ยากรบรรยายระบบ less paper การใช้งานให้ผู้บริหาร อาจารย์ และบคุ ลากรของคณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาฯ ในโครงการ “บ้านนี้มีสุขนิเทศอาสา คณะนิเทศศาสตร์” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการนาเสนอระบบการจัดการ ฐานข้อมูล Document system (Doc sys) 3. แนะนาระบบการจดั การฐานข้อมลู Document system (Doc sys) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ กิจกรรมฝา่ ยนโยบายและแผน • โครงการพัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ัน เพื่อสร้างระบบการทางานแนวใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในยุค New Normal to Next Normal คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจาปีงบประมาณ 2564 ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2564 - กนั ยายน 2564 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ชั้น 8 อาคาร 60 ปีสตั วแพทยศาสตร์ และแบบ online โดยมีวตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือให้บุคลากรนาเทคโนโลยีปรับใช้ในการทางานบริหารจัดการ การวางแผน และติดตามผลการปฏิบัติงาน 2) เพื่อ เป็นการเสริมสร้างสมรรถะในการปฏิบัติงานของบุคลากรให้พร้อมก้าวสู่ New Normal 3) เพ่ือพัฒนาการใช้งานระบบ บนั ทึกจดั เก็บฐานข้อมูลตา่ ง ๆ ผา่ นเวบ็ บราวเซอร์ (Google chrome Firefox, Internet Explorer) ซงึ่ โครงการดงั กล่าว สอดคล้องกับยุทธศาสตรค์ ณะฯ และมหาวทิ ยาลัย ภายใตย้ ทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับปรงุ บริหารจัดการและพฒั นาบุคลากร รายงานประจาปี 2564 54

และสอดคล้องกับเป้าหมายที่ 4.2 บุคลากรมีโอกาสเรียนรู้เสริมประสบการณ์กับบุคคลหรือองค์กรภายนอกทั้งใน และ ตา่ งประเทศ โดยมีคณะทีป่ รึกษา คณะทางานของโครงการ และกลุ่มเป้าหมายผูเ้ ขา้ อบรม จานวน 50 คน o วันที่ 16 มีนาคม 2564 ทีมคณะทางาน และผู้เช่ียวชาญจากบริษัท ได้ทาการประชุมร่วมกันพิจารณา รายละเอียดข้อมูลตวั ช้ีวดั และระบบการจดั เก็บข้อมูลตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 5 เป้าร่วม และ ตัวชี้วัด SDA ที่ผ่าน มา ในการสรา้ งระบบและรปู แบบการทางานทีต่ ้องมีการปรบั เปลี่ยนใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ และมองเห็น ปัญหาร่วมกันในภาพรวมของหน่วยงานที่ต้องประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในคณะฯ ที่ปฏิบัติงาน เก่ยี วข้องกับผลการดาเนินงานตามข้อตกลงตวั ช้ีวดั ที่ผบู้ รหิ ารจัดทาขอ้ ตกลงแตล่ ะปตี อ่ สภามหาวทิ ยาลยั o วันท่ี 2 มีนาคม 2564 ผศ.น.สพ.ดร.ประพฤติดี ปิยะวิริยะกุล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายนโยบาย และประกันคุณภาพ องค์กร กล่าวเปิดการประชุม อบรมเรื่อง การใช้ งานในระบบฐานข้อมูลบนเว็บไซด์ CUVET- SIDMS ให้แก่หัวหน้ากลุ่มภารกิจ และเจ้าหน้าที่ ภาควิชา/หน่วยงาน ผ่านระบบ ZOOM ให้แก่ผู้ เข้าอบรม ประกอบด้วย ผอ.ฝ่ายบริหาร หัวหน้า กลุ่มภารกิจ เจ้าหน้าท่ีภาควิชาและหน่วยงาน เพ่ือชี้แจงกิจกรรมภายใต้โครงการ ได้มีการ นาเสนอรูปแบบของโปรแกรมท่ีสามารถเปิดใช้ งานโดยผ่านเว็บไซด์ www.it.chula.ac.th o วันที่ 25 มีนาคม 2564 ศ.สพ.ญ.ดร.สันนิภา สุรทัตต์ รองคณบดีนโยบายและแผน กล่าวเปิดการอบรมเชิง ปฏิบัติการ “การเข้าระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลด้านยุทธศาสตร์” (CUVET-SIDMS) จัดโดยฝ่ายนโยบาย และแผน ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ อาคาร 60 ปีสัตวแพทยศาสตร์ เพ่ือช้ีแจงและทาความเข้าใจให้บุคลากรสาย ปฏิบัติการ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ เจ้าหน้าท่ีภาควิชา และหน่วยงานส่วนต่าง ๆ ของคณะฯ ได้ทราบวิธีการลง ข้อมูลในการเข้าระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลด้านยุทธศาสตร์ และเป็นการบันทึกข้อมูลเช่ือมโยง ระหว่าง ตวั ชว้ี ดั SDA OKR และKPI มกี ารเก็บข้อมลู บนั ทึกอยา่ งเป็นระบบสามารถหาข้อมูลไดร้ วดเร็ว และรูปแบบการ อบรมจะแบง่ เปน็ บรรยายและทดสอบการใชง้ านในระบบฐานข้อมลู o วันที่ 24 มถิ ุนายน 2564 ฝา่ ยนโยบายและแผน คณะสัตวแพทยศาสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ได้จัดประชุม เรื่องการกรอกรายงานผลการดาเนินงานตัวช้ีวัดยทุ ธศาสตร์ SDA และ OKR ปีงบประมาณ 2564 ไตรมาส 1, 2 และ 3 ผ่านระบบ ZOOM เพ่ือชี้แจงการรายงานผลการดาเนินงานโครงการบริการวิชาการ (CE) และวิจัย ตามแบบฟอร์ม และแสดงไฟล์แนบ เพ่ือเตรียมความพร้อมสาหรับการกรอกข้อมูลในระบบ CUVET-SIDMS และสรา้ งความเข้าใจในการกรอกข้อมูลเพ่ือให้ไดข้ อ้ มูลท่ถี ูกต้อง รายงานประจาปี 2564 55

o วันท่ี 5 กรกฎาคม 2564 ผศ.น.สพ.ดร.ประพฤตดิ ี ปิยะวิรยิ ะกุล ผูช้ ่วยคณบดฝี า่ ยนโยบาย และประกนั คุณภาพ องค์กร กล่าวเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรมระบบบริหารจัดการข้อมูลด้านยุทธศาสตร์ คณะ สัตวแพทยศาสตร์ (CUVET-SIDMS) ครั้งท่ี 1 ให้แก่ผู้เข้าอบรมกลุ่ม USER ภาควิชา/หน่วยงาน (วิจัยและ บริการวิชาการ) โดยมีวิทยากร คุณดิชพงศ์ บุตตะมะ จากบริษัท เอดีแอล ดิจิซอฟต์ จากัด เพ่ือช้ีแจงความรู้ เบ้ืองต้นการใช้งานระบบฐานข้อมูลด้านยุทธศาสตร์ การบันทึกข้อมูลแผนตัวชี้วัด SDA และ OKR ด้าน ยุทธศาสตร์ การบันทึกรายงานผลตวั ชี้วดั SDA และ OKR ด้านยุทธศาสตร์ และรายงานผลการดาเนินงานไตร มาสประจาปี • โครงการพิเศษที่ได้รบั การสนับสนนุ ภายใต้แผนพัฒนาวิชาการ จฬุ าฯ 200 ปี โครงการ “สรา้ งเสรมิ พลงั จฬุ าฯ ก้าวสู่ศตวรรษท่ี 2” คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้รับอนุมตั ิโครงการและงบประมาณภายใต้โครงการ “สร้างเสรมิ พลังจุฬาฯ ก้าวสู่ศตวรรษที่ 2 ชว่ งท่ี 2” จากเงนิ รายได้จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และรายได้คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ เพ่อื ดาเนนิ โครงการ โดยทั้ง 3 โครงการน้ี ฝา่ ยนโยบายและแผน ใหก้ ารสนับสนุน ตัง้ แต่การเสนอของบประมาณจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั และ สนับสนุนงบประมาณเงินรายไดค้ ณะฯ จานวน 3 โครงการ ดงั นี้ 1. โครงการธนาคารจุลชพี ทางสตั วแพทย์ โดยมี ผศ.น.สพ.ดร.คมกฤช เทยี นคา เป็นหัวหน้าโครงการ รวมระยะเวลา 3 ปี งบประมาณรวมทง้ั ส้ิน 40,202,000 บาท 2. โครงการรา่ งนิม่ และนวตั กรรมเพื่อฝึกทกั ษะคลนิ ิกทางสัตวแพทย์ โดยมี ผศ.สพ.ญ.ดร.ชาลิกา หวงั ดี เป็นหวั หน้าโครงการ รวมระยะเวลา 3 ปี งบประมาณรวม 63,618,600 บาท 3. โครงการการจดั ตั้งศูนยว์ จิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยเี พอื่ การพฒั นาการเล้ยี งโคนมในเขตรอ้ นชนื้ โดยมี รศ.น.สพ.ดร.กติ ติศักด์ิ อัจฉริยะขจร เปน็ หัวหนา้ โครงการ รวมระยะเวลา 5 ปี งบประมาณรวม 45,537,280 บาท รายงานประจาปี 2564 56

สรปุ ผลการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายในของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จากการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจาปี การศึกษา 2563 ผลการดาเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ 5 องค์ประกอบ มีคะแนนเฉล่ีย 4.97 คะแนน ผลการประเมิน คุณภาพอยใู่ นระดับ “ดีมาก” ทกุ องคป์ ระกอบ ซ่งึ เปน็ ไปตามผลการประเมินตนเองของคณะสัตวแพทยศาสตร์ องคป์ ระกอบ การประเมนิ ตนเอง ระดับคุณภาพ ผลการตรวจประเมนิ ระดับ ของ คุณภาพการศกึ ษาภายใน คุณภาพ คณะสัตวแพทยศาสตร์ 1. การผลิตบัณฑิต 4.92 ดมี าก 4.92 ดีมาก 2. การวิจัย 5.00 ดีมาก 5.00 ดมี าก 3. การบรกิ ารวชิ าการ 5.00 ดีมาก 5.00 ดีมาก 4. การทานุบารุงศลิ ปะ 5.00 ดมี าก 5.00 ดีมาก และวฒั นธรรม 5. การบรหิ ารจดั การ 5.00 ดมี าก 5.00 ดมี าก ภาพรวม 4.97 ดีมาก 4.97 ดมี าก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองในหลาย ๆ ด้าน โดยคณะได้มีการเปิด หลักสูตรประกาศนียบัตรช้ันสูง เน้นสร้างบัณฑิตในด้านความเช่ียวชาญเฉพาะทางด้านคลินิก ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกของคณะสัตว แพทยศาสตร์ในประเทศไทย และเป็นศูนย์กลางภูมิภาคเอเชีย ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการปรับปรุงห้องเรียนให้มีความ ทันสมัยเพ่ือรองรับการเรียนการสอนแบบ Smart Classroom นอกจากนี้ได้มีการเตรียมความพร้อมการตรวจรับรองหลักสูตร มาตรฐานระดับนานาชาติจาก The European System of Evaluation of Veterinary Training (ESEVT) ในส่วนของงานวิจัย และบริการวิชาการ มีประสิทธิภาพ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ รวมถึงได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากทั้งภายใน และภายนอกเป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตาม คณะฯ ควรมีการวิเคราะหร์ ายไดจ้ ากการบรกิ ารวิชาการ ที่สามารถสร้างรายได้ให้คณะฯ และกาหนดแผนบรหิ ารความเส่ยี งเพื่อใหส้ อดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของรายไดใ้ นอนาคต รายงานประจาปี 2564 57

ระดับชาติ • คณะสัตวแพทยศาสตร์ รางวัลส่วนงานด้านความปลอดภัยดีเด่น โครงการ ประกวดบุคลากรด้านความปลอดภัยโดดเด่น ประจาปี 2564 จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จากศูนย์ความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสง่ิ แวดล้อม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (ศปอส.) • ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ชวนช่ืน ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติปอมท. ประจาปี พ.ศ.2564 “ยืดหยุ่นอุดมศึกษาไทยในห้วงเวลาท่ีพลิกผัน (Resilient Thai Higher Education in Time of Disruption)” ในการประชุมวชิ าการระดับชาติ ปอ มท. ประจาปี 2564 • ศ.สพ.ญ.ดร.อัจฉริยา ไศละสูต รางวัลสภาวิจัยแหง่ ชาติ:รางวัลผลงานวิจัย ประจาปี 2564 ระดับดีมาก จากสานักงาน การวิจยั แหง่ ชาติ (วช.) ผลงานเรื่อง “นวัตกรรมอุปกรณ์ระบบของไหลจุลภาคเพ่อื ประยกุ ตใ์ ช้ศึกษาด้านวศิ วกรรมชวี ภาพ ในทางสัตวแพทย์เป็นรูปแบบการศึกษา” (สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์) • ส่วนจัดแสดงกายวิภาคทางสัตวแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับรางวัลชมเชย การคัดเลือกรางวัลพิพิธภัณฑ์ และแหลง่ เรียนร้ดู ีเด่น ประจาปี 2564 (Museum Thailand Awards 2021) • ผศ.สพ.ญ.ดร.มรกต นันทไพฑูรย์ รางวัลเพ่ือส่งเสริมความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานด้านการเรียนการสอน สาหรับ อาจารยร์ นุ่ ใหม่ กองทุนกาญจนาภเิ ษกเฉลมิ พระเกียรติ ประจาปี 2563 • ผศ.สพ.ญ.ดร.แนน ช้อยสุนริ ชร รางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติอาจารยด์ ้านการเรยี นการสอน ระดับดมี าก กองทุนกาญจนา ภเิ ษกเฉลมิ พระเกียรติ ประจาปี 2563 • นางสาววารี นิยมธรรม รางวัลบุคลากรด้านความปลอดภัยโดดเด่น โครงการประกวดบุคลากรด้านความปลอดภัยโดดเด่น ประจาปี 2564 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากศูนย์ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สงิ่ แวดล้อม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (ศปอส.) รายงานประจาปี 2564 58

รางวัลคนดี ศรีจุฬาฯ • นางสาวสุพิชญา ตรีบุญเมือง กลมุ่ ปฏิบัติการและวชิ าชพี ระดบั ปริญญาตรีขนึ้ ไป รางวัลคนดีศรจี ฬุ าฯ ปี 2564 • นางสาวนิภาพร เกษมสขุ กลมุ่ ปฏิบตั ิการและวชิ าชพี ระดับตา่ กว่าปรญิ ญาตรี รางวลั คนดศี รีจฬุ าฯ ปี 2564 • ผศ.น.สพ.ดร.วรพันธุ์ ณ สงขลา, นางศิวนันท์ กรีอักษร, นางสาวกรณิศ พัฒนชัย, นางสาวราตรี จินตนา, นางสาวนิภาพร เกษมสุข กลุ่มบุคลากรยอดเย่ยี มขนาดเลก็ หน่วยสารบรรณ ฝ่ายบริหาร รางวัลคนดีศรีจุฬาฯ ปี 2564 . รางวลั ฟา้ หม่นคนดี • รศ.น.สพ.ดร.กิตติศักด์ิ อัจฉริยะขจร รางวัล “CEVA Best Teaching Award” รางวัลด้านการสอนดเี ด่น สายวชิ าการ • นางสุกุมา สามงามน่ิม รางวัล “CEVA Best Teaching Award” รางวัลด้านการ สอนดเี ดน่ สายปฏบิ ัตกิ าร • รศ.น.สพ.ดร.นพดล พิฬารัตน์ รางวัล “ELANCO Best Research Award” รางวัล นักวจิ ัยดเี ด่น สายวิชาการ • นางสาวจิตราภา ยินดี รางวัล “ELANCO Best Research Award” รางวัลนักวิจัย ดีเดน่ สายปฏบิ ัติการ • นางสาวณิชาภัทร ยุรญาติ รางวัล “ELANCO Best Research Award” รางวัล นักวิจยั ดีเด่น นสิ ติ บัณฑติ ศึกษา • ผศ.สพ.ญ.ภาวนา เชื้อศิริ รางวัล “BOEHRINGER INGELHEIM Best Innovations for Society Award” รางวลั ผู้มผี ลงานด้านนวัตกรรมดีเด่นเพ่ือสงั คม สายวชิ าการ • นางจันทิมา อินทรปัญญา รางวัล “BOEHRINGER INGELHEIM Best Innovations for Society Award” รางวลั ผ้มู ีผลงานดา้ นนวัตกรรมดีเด่นเพอ่ื สงั คม สายปฏบิ ัตกิ าร รายงานประจาปี 2564 59

• นายสัตวแพทย์เชดิ พงษ์ ภูพลผนั รางวัล “VIRBAC Best Service Award” รางวัลการ ใหบ้ รกิ ารดีเดน่ กลุ่มงานโรงพยาบาลสัตว์ • นางเชอลี่ จันทร์แก้ว รางวัล “VIRBAC Best Service Award” รางวัลการให้บริการ ดเี ดน่ กล่มุ งานโรงพยาบาลสตั ว์ • นางสมศรี สิงห์ลอ รางวัล “VIRBAC Best Service Award” รางวัลการให้บริการดีเดน่ กลุม่ งานโรงพยาบาลสตั ว์ • นางอรุณี ทันตศภุ ารักษ์ รางวลั “VIRBAC Best Service Award” รางวัลการให้บรกิ ารดเี ดน่ กลุ่มงานบริหารและธรุ การ • นางสาวศิระสา สุขพิศาล รางวัล “VIRBAC Best Service Award” รางวัลการให้บริการดีเด่น กลุ่มงานบริหารและ ธุรการ • นางอภิญญา บินซัน รางวลั “VIRBAC Best Service Award” รางวลั การใหบ้ ริการดีเด่น กลุ่มงานบรหิ ารและธรุ การ ระดับนานาชาติ • รศ.น.สพ.ดร. นพดล พฬิ ารตั น์, อาจารย์ ดร. ธรี พงศ์ ยะทา ผลงาน เอควาพีซ: ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมเพ่ือสวัสดิภาพสัตว์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (Aqua Peace: The Innovative Product for Animal Welfare in Aquaculture) รางวลั เหรยี ญเงินระดับนานาชาติ Geneva 2021 • รศ.สพ.ญ.ดร.มีนา สาริกะภูติ รางวัลเหรียญทอง จาก 2021 China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo สาธารณรัฐประชาชนจนี Protein and Amino Acid Test Kit รายงานประจาปี 2564 60

• อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา, ผศ.สพ.ญ. ศริยา อัศวกาญจน์, นางสาว วราภรณ์ โชติสวัสด์ิ, นางอภิญญา บินซัน รางวัลเหรียญทองแด ง ผลงาน “An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carrying Herbal Extracts” จาก 2021 China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo สาธารณรัฐประชาชนจีน • อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา, ผศ.สพ.ญ.ศรยิ า อศั วกาญจน์, นางสาว วราภรณ์ โชตสิ วัสดิ์, นางอภิญญา บนิ ซนั รางวัล Gold Medal ผ ล ง า น “ An Innovative PhytoNano-MyoSpray: A Pain Relief Spray from Nanostructured Lipid Carrying Herbal Extracts” ในงาน 2021 Japan Design, Idea and Invention Expo” (JDIE 2021) ณ เมอื งเกียวโต ประเทศญีป่ ่นุ • อ.ดร.ธีรพงศ์ ยะทา Gold Medal นวัตกรรมนาโนเจลสูตรน้าสาหรับทดแทนการอาบน้าสาหรับสัตว์เล้ียงป่วย หลังทา วัคซีน หรือมีบาดแผลซ่ึงห้ามโดนน้า (An Innovative Bath-substituting HydroNanogel for ill, Vaccinated or Wounded Pet Animals) จาก 2021 Japan Design, Idea and Invention Expo” (JDIE 2021) ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปนุ่ • อ.ดร.ธรี พงศ์ ยะทา Gold Medal นวัตกรรม โบทินา่ แอคเมลลา นาโนเอนแคปซเู ลท เฟเชยี ล สลีพพิง้ มาส์ก (Acmella NanoEncapsulated Particle Facial Sleeping Mask) จาก 2021 Japan Design, Idea and Invention Expo” (JDIE 2021) ณ เมืองเกยี วโต ประเทศญีป่ ุ่น รายงานประจาปี 2564 61

• ผศ.น.สพ.ดร.ธีรวัฒน์ สว่างจนั ทร์อุทัย, ผศ.น.สพ.ดร.ศิรวิ ฒั น์ ทรวดทรง, ผศ.สพ.ญ.ศริยา อัศวกาญจน์ Grand Prize อุปกรณ์ตรวจวินิจฉัยภาวะเย่ือบุมดลูกอักเสบในโค (Metrisure) ของคณะผู้วิจัยศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาการเลี้ยงโคนมในเขตร้อนชื้น (Tropical Dairy Research Center: TDRC) งานประชุมระดับนานาชาติ IWA 2021 Online Competition ณ ประเทศโมร็อกโก • ผศ.สพ.ญ.ภาวนา เชื้อศิริ, รศ.น.สพ.ดร.เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์ และนางจันทิมา อินทรปัญญา ผลงานนวัตกรรม ชุดหุ่นจาลองกายวิภาคตาสุนัขแบบสามมิติ ได้รับรางวัล เหรียญทอง IWA 2020, Gold Award (Medal and Award Certificate), Rabat, Morocco รายงานประจาปี 2564 62

คณะท่ปี รกึ ษา คณบดคี ณะสตั วแพทยศาสตร์ ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษน์ ุเวช รองคณบดนี โยบายและแผน ศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.สันนิภา สรุ ทัตต์ ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายวางแผน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.ประพฤติดี ปิยะวิรยิ ะกุล จัดทาโดย งานนโยบายและแผน หนว่ ยประชาสัมพันธ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ถนนอังรดี นู งั ต์ ปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์ 022189774 โทรสาร 022553910 รายงานประจาปี 2564 63

CAPTION UNITY VISION EXCELLENCE TRUST








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook