Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารกรรมการคณะ ครั้งที่ 4-2565

เอกสารกรรมการคณะ ครั้งที่ 4-2565

Published by nipaporn.ka, 2022-04-18 09:12:35

Description: เอกสารกรรมการคณะ ครั้งที่ 4-2565

Search

Read the Text Version

ระเบยี บวาระและมตทิ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารคณะสัตวแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 4/2565 วันพธุ ที่ 20 เมษายน 2565 ...................................................... เริ่มประชมุ เวลา 13.00 น. วาระท่ี 1 เรือ่ งรบั รองรายงานการประชุมและการเงนิ 1.1 รบั รองรายงานการประชุมฯ สาระสำคัญ รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารคณะสัตวแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 3/2565 วันพุธที่ 30 มีนาคม 2565 จำนวน 13 หนา้ (เอกสารหมายเลข 1.1) ประเด็นทเ่ี สนอ เพ่อื พจิ ารณารบั รองและอนุมัติ มตทิ ่ปี ระชุม 1.2 รับรองการเงิน 1.2.1 ขออนุมัตถิ อนเงินฝากประจำ สาระสำคัญ หน่วยบัญชี งานคลังและพัสดุ ขออนุมัติถอนเงินฝากประจำที่จะครบกำหนดในเดือนพฤษภาคม 2565 (เอกสารหมายเลข 1.2.1) ประเดน็ ทเ่ี สนอ เพ่ือพจิ ารณารบั รองและอนุมตั ิ มตทิ ป่ี ระชมุ 1.2.2 ขออนุมัติขายกองทุนส่วนบุคคลเพ่อื ไปลงทุน สาระสำคญั หน่วยบัญชี งานคลังและพัสดุ ขออนุมัตขิ ายกองทุนสว่ นบุคคล บลจ.ทิสโก้ เพอ่ื ไปลงทุนในหนุ้ กู้ บริษัท บี ทีเอส กรุป๊ โฮลด้ิงส์ จำกัด (มหาชน) (BTS) จำนวน 5,000,000.- บาท (เอกสารหมายเลข 1.2.2) ประเด็นท่ีเสนอ เพอื่ พิจารณารับรองและอนมุ ัติ มติทปี่ ระชุม วาระที่ 2 เร่อื งแจง้ เพอื่ ทราบ 2.1 ฝา่ ยบริหาร (ไมม่ )ี 2.2 ฝา่ ยนโยบาย แผน และบริการวิชาการ 2.2.1 สง่ รายงานประจำปี 2564 ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ สาระสำคัญ ฝ่ายนโยบาย แผน และบริการวิชาการ ขอส่งรายงานประจำปี 2564 ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ (เอกสารหมายเลข 2.2.1) ประเด็นทเ่ี สนอ เพ่อื ทราบและเหน็ ชอบ มติทีป่ ระชมุ 2.3 ฝ่ายวชิ าการ วิรัชกิจ และกจิ การนสิ ิต 2.3.1 ขออนุมตั โิ ครงร่างวทิ ยานิพนธ์ สาระสำคญั หนว่ ยบณั ฑติ ศกึ ษา ขออนมุ ตั ิโครงร่างวิทยานิพนธ์ จำนวน 5 ราย (เอกสารหมายเลข 2.3.1.1-2.3.1.5) 1

หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2.3.1.1 Mr. Thanh Nguyen Che เลขประจำตัว 637 88020 31 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางการ สัตวแพทย์และเทคโนโลยี 2.3.1.2 นางสาวเฟื่องฟ้า ดำจำนงค์ เลขประจำตัว 637 00070 31 สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตว แพทย์ หลักสตู รวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ 2.3.1.3 นายณัฐภทั ร รจุ จนเวท เลขประจำตัว 627 10180 31 สาขาวชิ าสรีรวทิ ยาการสตั ว์ 2.3.1.4 นางสาวเฟื่องรัตน์ ทัศนะบรรจง เลขประจำตัว 617 55218 31 สาขาวิชาชีวศาสตร์ทางสัตว แพทย์ 2.3.1.5 นางสาวลริณธรณ์ อดุ มธนัยสิทธิ์ เลขประจำตวั 627 30030 31 สาขาวชิ าวิทยาการสืบพันธุส์ ตั ว์ ประเดน็ ทีเ่ สนอ เพื่อทราบและเห็นชอบ มติที่ประชมุ 2.3.2 รายงานการสอบวิทยานิพนธ์ สาระสำคัญ หน่วยบัณฑิตศึกษา ขอรายงานการสอบวิทยานิพนธ์ แบบ บ.12 ข. จำนวน 1 ราย ได้แก่ นายกฤษฎา บุญอร่ามเรือง เลขประจำตัว 587 55154 31 หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาอายุรศาสตร์สัตวแพทย์ (ผลการสอบด)ี (เอกสารหมายเลข 2.3.2) ประเด็นทเ่ี สนอ เพือ่ ทราบและเห็นชอบ มติทป่ี ระชุม 2.3.3 รายชื่อผู้ผ่านการสอบคัดเลอื กเข้าศึกษา สาระสำคัญ หน่วยบัณฑิตศึกษา ขอรายงานรายชื่อผู้ผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา ประจำภาคการศึกษาต้น ปี การศกึ ษา 2565 จำนวน 5 ราย ได้แก่ (เอกสารหมายเลข 2.3.3) หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ 1. นางสาวปาณิสรา วงศ์สริ ิฉตั รชยั สาขาวชิ าศลั ยศาสตรท์ างสตั วแพทย์ 2. นายศักดส์ิ ทิ ธิ์ วงศอ์ ภวิ ฒั นะกุล สาขาวิชาศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ 3. นายสพุ ฒั น์ เซยี วรตั นพันธ์ สาขาวิชาศัลยศาสตรท์ างสัตวแพทย์ หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต 4. นายจักรวรรดิ รว่ มพัฒนา สาขาวิชาวทิ ยาการสบื พันธุ์สัตว์ 5. นายธนวฒั น์ อมั พรพงศ์ สาขาวิชาวิทยาการสบื พันธุส์ ตั ว์ ประเดน็ ทเ่ี สนอ เพ่อื ทราบและเห็นชอบ มติทปี่ ระชมุ 2.4 ฝา่ ยวิจยั นวัตกรรม และสือ่ สารองคก์ ร 2.4.1 ปฏทิ ินกจิ กรรมประจำเดือนพฤษภาคม 2565 สาระสำคญั ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์และภาพลักษณ์องค์กร ขอสง่ ปฏทิ ินกิจกรรมประจำเดือนพฤษภาคม 2565 (เอกสาร หมายเลข 2.4.1) ประเดน็ ท่ีเสนอ เพือ่ ทราบและเห็นชอบ มตทิ ีป่ ระชมุ 2

วาระท่ี 3 เร่อื งเสนอเพ่อื พิจารณา 3.1 ฝ่ายบริหาร 3.1.1 ขออนุมตั เิ ปดิ รับสมัครบคุ คลและแตง่ ตง้ั กรรมการคดั เลือกพนกั งานมหาวิทยาลัย สาระสำคัญ หน่วยการเจ้าหน้าที่ ขออนุมัติเปิดรับสมัครบุคคลและแต่งตั้งกรรมการคัดเลือกพนักงานมหาวิทยาลัย 5 ตำแหนง่ (เอกสารหมายเลข 3.1.1.1-3.1.1.5) หมวดเงินอุดหนุน 3.1.1.1 ตำแหนง่ สตั วแพทย์ P7 อัตราเลขท่ี FF003346 สงั กัด โรงพยาบาลปศสุ ตั ว์-ศนู ย์ฝกึ ฯ 3.1.1.2 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน (ธุรการ) P8 อัตราเลขท่ี FF002325 สังกัด โรงพยาบาลปศุสัตว์- ศนู ยฝ์ ึกฯ หมวดเงนิ รายได้ 3.1.1.3 ตำแหน่ง สัตวแพทย์ P7 อัตราเลขท่ี HH012061 สังกดั โรงพยาบาลปศสุ ัตว์-ศูนยฝ์ กึ ฯ 3.1.1.4 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน (ธุรการ) P8 อัตราเลขท่ี HH012020 สังกัด โรงพยาบาลปศุสัตว์- ศนู ยฝ์ กึ ฯ 3.1.1.5 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์) P7 อัตราเลขที่ HH012107 สังกัด โรงพยาบาลสตั ว์เล็ก 3.1.2 ขออนุมัติจ้างพนักงาน สาระสำคัญ หน่วยการเจ้าหนา้ ท่ี ขออนุมัติจ้างพนักงาน ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2565 จำนวน 2 ราย (เอกสารหมายเลข 3.1.2.1-3.1.2.2) หมวดเงนิ รายได้ 3.1.2.1 สพ.ญ.หทัยชนก์ โอวาทธรรมะ ตำแหน่ง สัตวแพทย์ P7 อัตราเลขท่ี HH012003 สังกัด โรงพยาบาลสตั ว์เล็ก พนกั งานวสิ ามัญ 3.1.2.2 สพ.ญ.กนตวรรณ จรัญศิริไพศาล ตำแหน่ง สัตวแพทย์ อัตราเลขท่ี JJ31051 สังกัดโรงพยาบาล สตั วเ์ ล็ก ประเด็นท่เี สนอ เพอ่ื พิจารณาอนมุ ัติ มตทิ ่ปี ระชมุ 3.1.3 ขออนมุ ตั ิผลการประเมนิ การปฏบิ ัตงิ าน สาระสำคัญ หน่วยการเจ้าหน้าท่ี ขออนุมตั ผิ ลการประเมินการปฏบิ ตั งิ าน จำนวน 9 ราย (เอกสารหมายเลข 3.1.3.1- 3.1.3.3) 3.1.3.1 ทดลองปฏบิ ัติงาน ครัง้ ที่ 1 1. น.ส.พลอยวรรณ คมภักดี ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน (การเงิน) P7 อัตราเลขท่ี FF000600 สังกัด โรงพยาบาลสตั ว์เล็ก 3.1.3.2 ทดลองปฏิบตั ิงาน ครั้งท่ี 2 2. อาจารย์ น.สพ.ดร.ธีรพล ชินกงั สดาร ตำแหน่ง อาจารย์ A-5 อตั ราเลขท่ี FF005713 ภาควิชาศลั ยศาสตร์ 3.1.3.3 ต่อสัญญาการปฏบิ ตั งิ าน สิ้นสุดสญั ญาจา้ ง 30 มิถุนายน 2565 3

3. น.ส.บุษยารัตน์ ราชบรรดิษฐ์ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน (บริหารงานทั่วไป) P4 ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร อตั ราเลขท่ี FF004892 สังกัดฝ่ายบรหิ าร 4. นางดวงจันทร์ กลิ่นศรีสุข ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สำนักงาน (บริหารงานทั่วไป) P7 อัตราเลขท่ี FF004894 ภาควชิ าพยาธิวทิ ยา 5. สพ.ญ.วลยั พร เรอื งชัยปราการ ตำแหน่ง สัตวแพทย์ P7 อัตราเลขที่ HH012060 สงั กัดโรงพยาบาลสัตว์เล็ก 6. น.ส.นิชา มิ่งสุข ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ P7 อัตราเลขที่ HH012138 สังกัดโรงพยาบาล สตั ว์เล็ก สิน้ สดุ สัญญาจ้าง 31 กรกฎาคม 2565 7. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.ดำริ ดาราวิโรจน์ ตำแหนง่ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ A-4 อัตราเลขที่ FF003448 ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ 8. อาจารย์ สพ.ญ.ดร.อรพรรณ จาตุรกาญจน์ ตำแหน่ง อาจารย์ A-5 อัตราเลขท่ี FF002309 ภาควิชา ศลั ยศาสตร์ 9. อาจารย์ น.สพ.ดร.สิรวิทย์ ภักดีพาณิชย์กิจ ตำแหน่ง อาจารย์ A-5 อัตราเลขที่ FF002298 ภาควิชาสัตว แพทยสาธารณสุข ประเดน็ ทเ่ี สนอ เพื่อพิจารณาอนมุ ตั ิ มติทปี่ ระชุม 3.1.4 ขอแต่งตง้ั คณะกรรมการสรรหาหัวหนา้ ภาควชิ า สาระสำคัญ หน่วยการเจ้าหน้าที่ ขอแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาหัวหน้าภาควิชาสูติศาสตร์ เธนุเวชวิทยาและ วิทยาการสืบพันธุ์ แทนผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.ศุภวิวัธน์ พงษ์เลาหพันธุ์ สิ้นสุดวาระในวันท่ี 30 กันยายน 2565 (เอกสารหมายเลข 3.1.4) ประเดน็ ทีเ่ สนอ เพอื่ พิจารณาอนุมัติ มตทิ ี่ประชุม 3.1.5 ขออนมุ ตั ิโครงการทีจ่ ัดฝึกอบรมภายในเดือนพฤษภาคม 2565 สาระสำคัญ หน่วยการเจ้าหน้าที่ ขออนุมัติโครงการที่จัดฝึกอบรมโครงการฝึกอบรมบุคลากร คณะสัตวแพทยศาสตร์ หลักสูตร “การพัฒนาทักษะการเป็นผู้ให้บริการคุณภาพด้วยหัวใจบริการ Service Mind” ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2565 ณ หอ้ งสาธิต อาคาร 60 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ (เอกสารหมายเลข 3.1.5) ประเดน็ ทเ่ี สนอ เพื่อพจิ ารณาอนุมัติ มตทิ ปี่ ระชุม 3.1.6 ขออนมุ ตั โิ ครงการท่ีจดั ฝกึ อบรมภายในเดอื นมิถนุ ายน 2565 สาระสำคัญ กลุ่มภารกิจกายภาพฯ ขออนุมัติโครงการความปลอดภัยในการทำงาน ประจำปี 2565 เรื่อง “การ จัดการของเสียสารเคมี ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย” ในวันที่ 30 มิถุนายน 2565 ณ ห้องสาธิต อาคาร 60 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ (เอกสารหมายเลข 3.1.6) ประเด็นทเ่ี สนอ เพ่อื พจิ ารณาอนมุ ตั ิ มตทิ ่ปี ระชมุ 4

3.2 ฝา่ ยนโยบาย แผนและบริการวชิ าการ 3.2.1. ขออนุมัติรายงานความคบื หน้าในการดำเนินงานบริหารความเส่ยี งและวางระบบควบคมุ ภายใน สาระสำคัญ ฝ่ายประกันคุณภาพ ขออนุมัติรายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงฯ และวางระบบ ควบคุมภายใน ปงี บประมาณ 2565 (รอบ 6 เดือน ณ มีนาคม 2565) (เอกสารหมายเลข 3.2.1) ประเดน็ ทเ่ี สนอ เพ่ือพิจารณาอนุมัติ มตทิ ีป่ ระชุม 3.3 ฝา่ ยวิชาการ วิรัชกิจ และกจิ การนิสิต หนว่ ยบณั ฑติ ศึกษา 3.3.1 ขออนุมัติรบั ทุนสนับสนนุ การไปเสนอผลงานวิชาการในต่างประเทศ สาระสำคัญ หนว่ ยบัณฑิตศึกษา ขออนมุ ัตริ บั ทนุ สนับสนุนการไปเสนอผลงานวชิ าการในต่างประเทศของ นายภาคภูมิ นาวานุเคราะห์ เลขประจำตัว 627 10065 31 หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการสบื พนั ธุ์สัตว์ ณ เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ระหวา่ งวันที่ 30 มิถุนายน ถงึ วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2565 (เอกสารหมายเลข 3.3.1) ประเด็นทเี่ สนอ เพ่อื พิจารณาอนุมตั ิ มตทิ ่ปี ระชุม 3.3.2 ขออนุมัตเิ ปลย่ี นแผนการศึกษา สาระสำคัญ หน่วยบัณฑิตศึกษา ขออนุมัติเปลี่ยนแผนการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา วทิ ยาศาสตรท์ างการสัตวแพทยแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน 2 ราย (เอกสารหมายเลข 3.3.2) 1. Ms. Thao Thu Mai เลขประจำตวั 627 83031 31 จากเดิม 1.1 เปลีย่ นเป็น 2.1 2. นางสาวกติ ตภิ สั ทรัพย์ชูกลุ เลขประจำตวั 647 83107 31 จากเดมิ 2.1 เปลี่ยนเป็น 2.2 ประเด็นท่เี สนอ เพอื่ พิจารณาอนุมัติ มตทิ ีป่ ระชุม 3.4 ฝา่ ยวิจัย นวัตกรรมและส่อื สารองคก์ ร 3.4.1 ขออนุมัตโิ ครงการวจิ ยั จากแหลง่ ทนุ ภายนอก สาระสำคัญ ฝ่ายวิจัย ขออนุมัติโครงการวิจยั จากแหล่งทุนภายนอก จำนวน 3 โครงการ (เอกสารหมายเลข 3.4.1.1- 3.4.1.3) 3. 4. 1. 1 โ ครงการว ิจัยเรื่อง “Development of robust clinical laboratory tests for canine hemangiosarcoma using liquid biopsy sample” ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนกั งานปลดั กระทรวงอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม และสำนักงานการวจิ ัยแห่งชาติ เป็นเงินจำนวน 600,000.-บาท (หกแสนบาทถ้วน) มีกำหนดระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่วันท่ี 31 มกราคม 2565 ถงึ วนั ท่ี 30 มกราคม 2567 โดยมี อาจารย์ สพ.ญ.ดร.อารยา รตั นกถกิ านนท์ เป็น หวั หน้าโครงการ 3.4.1.2 โครงการวจิ ยั เรื่อง “บทบาทของไมโครนีดเดิล้ ในการนำสง่ ยาผ่านทางผิวหนังสุนัขปกติและผิวหนังที่ เกราะป้องกันผิวเสียหาย” ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ เป็นเงินจำนวน 600,000.-บาท (หกแสนบาทถ้วน) มีกำหนดระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่วันท่ี 31 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2567 โดยมี อาจารย์ สพ.ญ.ดร.เบญจพร ล้มิ เจรญิ เปน็ หวั หน้าโครงการ 5

3.4.1.3 โครงการวิจยั เรอื่ ง “Comparative Study of the Efficacy of Different Inactivated Newcastle Disease Vaccines in SPF Chickens” ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก Phibro Animal Health (Thailand) Co., Ltd. เป็นเงินจำนวน 1,000,000.-บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน) มีกำหนด ระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2565 ถึงวันท่ี 28 เมษายน 2567 โดยมี ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.ณทยา เจริญวศิ าล เป็นหัวหน้าโครงการ ประเดน็ ท่เี สนอ เพ่ือพิจารณาอนมุ ตั ิ มตทิ ่ปี ระชมุ 3.4.2 ขออนมุ ัติขยายระยะเวลาโครงการวจิ ยั จากแหล่งทนุ ภายนอก สาระสำคัญ ฝ่ายวิจัย ขออนุมัติขยายระยะเวลาโครงการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก จำนวน 2 โครงการ (เอกสาร หมายเลข 3.4.2.1-3.4.2.2) 3.4.2.1 โครงการวิจัยเรื่อง “Melanosis coli in finisher pig: slaughter investigation” ได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจาก บริษัท อีแลนโค (ประเทศไทย) จำกัด เป็นเงินจำนวน 227,500.-บาท (สองแสนสองหมื่นเจ็ดพันห้าร้อยบาทถ้วน) มีกำหนดระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2565 นั้น เนื่องจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 และโรคระบาดในสุกรคงมีความต่อเนื่อง ส่งผลให้ประสบปัญหาในการติดต่อประสานงานและเข้า เก็บตัวอย่าง จึงขอขยายระยะเวลาคร้ังที่ 2 ออกไป 3 เดือน จะสิ้นสุดในวนั ท่ี 30 มิถุนายน 2565 โดยมี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.สวา่ ง เกษแดงสกลวุฒิ เปน็ หัวหน้าโครงการ 3.4.2.2 โครงการวิจัยเรื่อง “Efficacy of PCV3 vaccine in gilts and nursery pigs: field trial in a PCV3-affected farm” ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากบริษัท อินเตอร์เว็ท (ประเทศไทย) จำกัด เป็นเงนิ จำนวน 2,028,000.-บาท (สองลา้ นสองหมื่นแปดพันบาทถ้วน) มีกำหนดระยะเวลา ดำเนนิ งานต้ังแตว่ ันท่ี 1 มกราคม 2563 ถึงวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2565 นัน้ เนื่องจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 และโรคระบาดในสุกรคงมีความต่อเนื่องส่งผลให้ประสบปัญหา ในการติดต่อประสานงานและเข้าเกบ็ ตัวอย่าง จึงขอขยายเวลาครัง้ ท่ี 2 ออกไป 17 เดือน จะสิ้นสดุ ในวันที่ 1 สิงหาคม 2566 โดยมี ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.รุ่งโรจน์ ธนาวงษ์นุเวช เป็นหัวหน้า โครงการ 3.4.3 ขออนมุ ัตจิ ดั โครงการบริการทางวิชาการ สาระสำคัญ ศูนย์การศึกษาตอ่ เนื่อง ขออนุมัตจิ ดั โครงการบรกิ ารทางวิชาการ โครงการเร่อื ง “87 ปี การสถาปนาคณะ สัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย CUVET 87 ปี ผนู้ ำความรูแ้ ละนวัตกรรมเพื่อสังคม” ได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากบริษทั เอกชน เปน็ เงินจำนวน 300,000.-บาท (สามแสนบาทถ้วน) จดั ขนึ้ ในระหว่างเดือนพฤษภาคม 2565 ถึงเดอื นกนั ยายน 2566 ณ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผา่ นระบบออนไลน์ โดยมี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.มรกต นันทไพฑูรย์ เป็นหัวหนา้ โครงการ (เอกสารหมายเลข 3.4.3) ประเดน็ ที่เสนอ เพือ่ พจิ ารณาอนมุ ตั ิ มติทป่ี ระชมุ วาระท่ี 4 เร่ืองสืบเนอื่ งและเร่ืองอนื่ ๆ (ถ้ามี) ปดิ ประชุมเวลา น. 6











































คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ANNUAL REPORT 2020 รายงานประจำปี 2564 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย





วสิ ยั ทัศน์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย สถาบนั ศึกษาช้ันนาด้านสัตวแพทย์เปน็ ท่ี ยอมรบั ในระดบั ภมู ิภาคและนานาชาติ ปรชั ญา เป็นสถาบนั ชนั้ นาในการจัดการศึกษาทางสตั วแพทยศาสตร์ เพอื่ ใหไ้ ดบ้ ัณฑิตทม่ี คี วามรู้คุณธรรม และรับใช้สังคมอยา่ งมีคุณภาพ ปณิธาน ผลิตสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณภ าพ คุณธรรม และ จรรยาบรรณ เป็นที่ยอมรับและตรงกับความต้องการของสังคม ท้ังในระดับประเทศ และ นานาชาติ สร้างความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสัตวแพทยศาสตร์ โดยพัฒนา บุกเบิก ค้นคว้า ทางการวิจัย ตลอดจนประยุกต์วิชาความรู้ท่ีได้รับเพื่อการบริการแก่สังคมและเพ่ือให้เกิดการ พัฒนาวิชาการและวิชาชีพ ท่ีตอบสนองนโยบายของประเทศ และเช่ือมโยงองค์ความรู้กับนานา ประเทศได้ พนั ธกิจ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ มีพนั ธกจิ 4 ด้าน ประกอบดว้ ย 1.การผลติ บัณฑิต (หลักสูตรและการเรียนการสอน) 2.การวิจัยและงานสร้างสรรค์ 3.การบริการวชิ าการ/วิชาชีพสูส่ ังคม 4.การทานุบารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม รายงานประจาปี 2564 1

สืบเน่ืองจากความต้องการของทางราชการทั้งฝ่ายพล พลจัตวา หลวง สนน่ั รักษส์ ัตว์ พนั เอก หลวงสนทิ รักษส์ ตั ว์ และ เรือน และฝ่ายทหารด้านความจาเป็นในการป้องกันและ พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ โดยแรกเริ่มได้จัดตั้งแผนกสัตว ปราบปรามโรคระบาดของสัตว์ ทาให้มีการพัฒนาการจัด แพทยศาสตร์ ตามพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การศกึ ษาสัตวแพทยศาสตร์โดยลาดับดงั ต่อไปน้ี พ.ศ. 2477 ตราไว้ ณ วันท่ี 16 เมษายน พ.ศ. 2478 เป็น ฝา่ ยพลเรือน หลักสูตร 4 ปี ประกอบด้วยการศึกษาวิชาเตรียมสัตว แพทยศาสตร์ 2 ปี และการศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ 2 ปี พ.ศ.2447-2449 เจ้าพระยาเวศร์วงศ์วิวัฒน์ เปิดรับสมัครนิสิตรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2478 ซ่ึงรับสมัครนักเรียน เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการขณะนั้นได้จัดให้ นายเอช จบประโยคมัธยมบริบูรณ์ (มัธยม 8) แผนกวิทยาศาสตร์ เพื่อ เอส เลียวนาร์ด นายสัตวแพทย์ชาวยุโรปทาการอบรมวิชา สอบคัดเลือกเข้าเป็นนิสิตเตรียมสัตวแพทยศาสตร์ แผนกสัตว สัตวแพทย์แก่พนักงานกรมช่างไหม (ต่อมาเป็นกรม แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัย เพาะปลกู กระทรวงเกษตราธกิ าร) มอบหมายให้ ศาสตราจารย์หลวงพรตพิทยพยัต คณบดีคณะ อักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ช่วยจัดการศึกษา ท้ังนี้ นิสิต พ.ศ.2457 พระเจ้าพ่ียาเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรก เตรียมสัตวแพทยศาสตรป์ ีที่ 1 และปีท่ี 2 เรียนวิชา ฟิสิกส์ เคมี ฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการขณะน้ันได้จัดให้ นายยี ชีววิทยา และภาษาต่างประเทศร่วมกับนิสิตเตรียม เจ ฮาวี นายสัตวแพทย์ชาวอังกฤษทาการอบรมวิชาสัตว แพทยศาสตร์ ปีท่ี 3 เรียนร่วมกับนิสิตเตรียมเภสชั ศาสตรบ์ าง แพทย์อย่างจริงจังอีกครั้ง โดยเปล่ียนเป็นนายเอช เอส แอล วิชา และวิชาท่ีสอนในปี พ.ศ.2480 ของหลักสูตร 4 ปี มีดังนี้ วดู ส์ ในปี พ.ศ. 2465 และได้วา่ จา้ ง ดร.โรเบริ ์ท เพอรซ์ ี โยนส์ วิชากายวิภาคศาสตร์ วิชาเอมบริโอวิทยา วิชาฮิสโตวิทยา วิชา เปน็ ผ้อู านวยการอบรมฝ่ายทหาร สรีรวิทยา วิชาเภสัชวทิ ยา วิชาพยาธิวทิ ยา วิชาแบคทีเรียวทิ ยา และวชิ าการเล้ยี งสตั ว์ พ.ศ.2452 กรมทหารม้า มีนายสัตวรักษ์แผน โบราณทาหนา้ ที่ดูแลม้า พ.ศ . 2482 จุ ฬ า ล งกร ณ์ ม หา วิทย าลัย ได้เพิ่ม ระยะเวลาศึกษาเปน็ หลักสูตร 5 ปี โดยการเรยี นวชิ าเตรียมสตั ว พ.ศ.2453 พลตรี หมอ่ มเจ้าทองทฆี ายุ ทรงพระยศ แพทยศาสตร์ 2 ปีแรกยังคงเป็นเช่นเดิม แต่มีการเพ่ิมรายวิชา ร้อยโททหารม้าในขณะนั้น ดาริให้ใช้นายสัตวแพทย์แผน เช่น วิชาหลักอายุรศาสตร์ วิชาอายุรศาสตร์ วิชาศัลยศาสตร์ ปัจจุบันเช่นเดียวกับในต่างประเทศ จึงทรงเสนอต่อ พลเอก และวชิ าการเลยี้ งบารุงสัตว์ ต่อมาเกดิ สงครามมหาเอเชยี บรู พา กรมหลวงพษิ ณุโลกประชานารถ กรมจเรทหารมา้ ดาเนนิ การ ญี่ปุ่นได้ยึดตึกสัตวแพทยศาสตร์เป็นที่พัก ด้วยความเอ้ืออารี ขออนุมัติให้กองทัพบกจัดต้ังโรงเรียนนายสัตวรักษ์ข้ึน ใช้ช่ือ ของคณะเภสชั ศาสตร์ แผนกสัตวแพทยศาสตรจ์ ึงได้ยา้ ยไปเปิด ว่า โรงเรียนอัศวแพทย์ทหารบก ในปี พ.ศ. 2454 โดยมี พล การเรียนการสอนทคี่ ณะเภสัชศาสตร์ ตรี หม่อมเจ้าทองทีฆายุทรงดารงตาแหน่งผู้อานวยการ โรงเรียนอัศวแพทย์ฯ นี้ และมี พันตรีเฮนวิลเฮมสปาเตอร์ 2 (ยศกองทัพบกไทย) นายสตั วแพทยจ์ ากเยอรมนั ทาหน้าที่ช่วย สอน แนวคิดการจัดการศกึ ษาสตั วแพทยศาสตร์ในระดับ ปริญญา พบหลักฐานเป็นเอกสารการประชุ ม ข อง คณะกรรมการ ดาริรูปการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซ่ึง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงโปรดให้แต่งตงั้ ข้ึน คณะกรรมการฯ ดังกล่าวมีพระเจ้าพี่ยาเธอกรมขุนชัยนาท นเรนทรเป็นประธาน โดยในเบ้ืองต้น ให้กรมตรวจกสิกรรม ร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพ่ือให้มีการสอนวิชา ก สิ ก ร ร ม แ ล ะ สั ต ว แ พ ท ย์ ข้ึ น เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ประกาศนียบัตรสาหรบั นักเรียนกสิกรรมและสัตวแพทย์ จ า ก ด า ริ ท่ี จ ะ ใ ห้ มี ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น สั ต ว แพทยศาสตร์ในระดับมหาวิทยาลัยที่ทัดเทียมกับต่างประเทศ การศึกษาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ขั้นปริญญาจึงได้ถือกาเนิดขึ้น ด้วยความร่วมมือระหว่าง พลตรี หม่อมเจ้าทองฑฆี ายุ ทองใหญ่ รายงานประจาปี 2564

พ.ศ.2485 แผนกสัตวแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ตามพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2510 ตราไว้ ณ วันท่ี 15 มหาวิทยาลัย ได้เล่ือนฐานะขึ้นเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ ตุลาคม พ.ศ. 2510 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม สังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (ตามพระ 4 ตอนท่ี 102 ลงวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2510 ท้ังนี้ ยังคงมี ราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการ กรมมหาวิทยาลัย นิสิตส่วนหนึ่ง ศึกษาต่อในคณะสัตวแ พทย ศ า ส ต ร์ แพทยศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2485 ตราไว้ ณ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2485) มรี อ้ ยเอกหลวงชยั อัศวรักษ์เป็น คณบดีคนแรก พ.ศ.2511 ขณะน้ัน พลเอกประภาส จารุเสถียร ดารงตาแหน่งอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยท่าน พ.ศ.2490 คณะสัตวแพทยศาสตร์ได้รับมอบตึก คณบดี ศาสตราจารย์เตยี ง ตันสงวน คณะสัตวแพทยศาสตร์ เรียนคืน จึงย้ายกลับมาเปิดการเรียนการสอนท่ีสถานศึกษา ไดร้ ับมอบทีด่ ิน 79 ไร่ ในเขต ต.บ่อพลบั อ.เมือง จ.นครปฐม เดมิ (บริเวณใกล้กบั โรงพยาบาลหญิง ในปัจจุบนั ) เพ่ือจัดเป็นไร่ฝึกสาหรับนิสิตใช้ฝึกปฏิบัติวิชาสัตวบาล และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอใช้ชื่อว่า “ไร่ฝึกนิสิตจารุ พ.ศ.2494 ด้วยความเอ้ืออารีของ พันเอก หลวง เสถียร” ปัจจุบัน คือ ศูนย์ฝึกนิสิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ วาจวทิ ยาวฒั น์ คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ ไดแ้ บง่ พื้นที่ให้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลปศุสัตว์ จ. คณะสตั วแพทยศาสตรจ์ ดั ตั้งสถานศึกษาและโรงพยาบาลสตั ว์ นครปฐม ข้ึนที่ถนนสนามม้า จุฬาลงกรณ์ ซอย 12 (ถนนอังรีดูนังต์ จุฬาลงกรณ์ ซอย 12 ในปัจจุบัน) คณะสัตวแพทยศาสตร์ได้ พ.ศ.2514 ตามหนังสือสานัก ก.พ. ลงวันที่ ย้ายมาอย่สู ถานทีใ่ หมใ่ นปี พ.ศ.2495 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 ได้อนุมัติและรับรองปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาสัตวศาสตร์) แก่นิสิตท่ีเรียนจบ พ .ศ .2497 ด้ ว ย ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร พั ฒ น า ด้ า น ช้นั ปที ่ี 4 ของหลกั สูตร 6 ปี คณะสตั วแพทยศาสตร์ การเกษตรของประเทศ รัฐบาลสมัยนน้ั เรง่ ปรับปรงุ การศึกษา ด้านการเกษตรและได้ขยายมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็น พ.ศ.2514 เวชชสารสัตวแพทย์ถือกาเนิดข้ึน โดย เหตุให้คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถูก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ หม่อมหลวงอัคนี ย้ายเข้าไปเป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นวรตั น์ และเป็นบรรณาธกิ ารคนแรก ก ร ะ ท ร ว ง เ ก ษ ต ร ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2497 ตราไว้ ณ พ.ศ.2515 มหาวิทยาลัยต่า ง ๆ รวมทั้ง วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2497 โดยให้คณะกสิกรรม และสัตว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โอนจากสานักนายกรัฐมนตรี บาลรับผิดชอบการเรียนการสอนช้ันเตรยี มสตั วแพทยศาสตร์ มาสังกดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั สว่ นช้นั ปรคี ลินกิ และคลนิ ิกยังคงดาเนนิ การ ณ อาคารเดิมท่ี ถนนองั รีดนู งั ต์ จุฬาลงกรณ์ ซอย 12 พ.ศ.2522 ยกเลิกการอนุมัติปริญญาวิทยา ศาสตรบัณฑิต (สาขาสัตวศาสตร์) เว้นแต่นิสิตที่ไม่ประสงค์ พ.ศ.2500 คณะสัตวแพทยศาสตร์ได้ปรับปรุง จะศึกษาต่อใน 2 ปีสุดท้ายของหลักสูตร และมีหน่วยกิต หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑิตโดยเพ่ิมเวลาเรยี นจาก 5 ปี สะสมครบตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และปรับปรุงรายวิชาเตรียม เปน็ 6 ปี สัตวแพทย์ และในปี พ.ศ. 2524 ได้ปรับปรุงหลักสูตรสัตว แพทยศาสตรบณั ฑิต มีโครงสรา้ งวิชาเตรียมสตั วแพทย์ พ.ศ.2502 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ปรีคลนิ ิกและคลินิก สัดสว่ น 2:2:2 เกษตรศาสตร์ ได้เปลีย่ นไปสังกดั สานกั นายกรฐั มนตรี พ.ศ.2533 คณะรฐั มนตรีไดม้ ีมตเิ หน็ ชอบโครงการ พ.ศ.2507 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีแนวคิด ผลิตบัณฑิตสาขาสัตวแพทยศาสตร์ เป็นสาขาขาดแคลน โอนย้ายคณะสัตวแพทยศาสตร์ซ่ึงถือกาเนิดข้ึนท่ีจฬุ าลงกรณ์ สาขาหนึ่งของประเทศท่ีทบวงมหาวิทยาลัย ให้จัดทา มหาวิทยาลัยกลับคืน แต่ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย โครงการเร่งรัดผลิตบัณฑิตสาขาขาดแคลนสาขาวิชาสัตว เกษตรศาสตร์ไม่เห็นดว้ ย และให้สรา้ งอาคารคณะสัตวแพทย แพทยศาสตร์ข้ึน ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2532 และมีมติเห็นชอบ ศาสตร์ข้ึนที่บางเขนเพื่อย้ายคณะสัตวแพทยศาสตร์จาก เม่ือวนั ที่ 1 พ.ค.2533 ให้คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เปน็ บรเิ วณถนนอังรีดนู งั ต์ไปทบี่ างเขน สถาบันหนึ่งท่ีต้องรบั นสิ ิตเพ่ิม ตั้งแต่ปีการศึกษา 2533 จาก เดิม 80 คน เปน็ ปีละ 110 คน และรับเพิ่มเป็นปลี ะ 150 คน พ.ศ.2508 คณะสัตวแพทยศาสตร์ โดยท่านคณบดี ศาสตราจารย์เตียง ตันสงวน ได้ทาหนังสือแสดงความเห็น พ.ศ.2534 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้เร่ิม ไมข่ อย้ายจากท่ตี ั้งเดิมบรเิ วณถนนอังรีดนู งั ตไ์ ปที่บางเขน จัดให้มีการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาโดยเปิด หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ 6 สาขาวิชา ดงั นี้ พ.ศ.2510 คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้โอนย้าย กลับมาสงั กัดจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย สานักนายกรัฐมนตรี • สาขาวชิ าวทิ ยาการสบื พนั ธสุ์ ตั ว์ ปี 2534 รายงานประจาปี 2564 3

• สาขาวชิ าสรรี วทิ ยาการสัตว์ ปี 2537 • ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ (Veterinary Surgery) • สาขาวชิ าการปรบั ปรุงพนั ธส์ุ ัตว์ ปี 2537 • ภาควชิ าสูติศาสตร์ เธนุเวชวทิ ยา และวทิ ยากาสบื พันธ์ุ • สาขาวชิ าพยาธชิ วี วิทยาทางสตั วแพทย์ ปี 2537 • สาขาวชิ าศัลยศาสตรท์ างสัตวแพทย์ ปี 2538 (Obstetrics Gynecology and Reproduction) • สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสขุ ปี 2538 • ภาควิชาอายุรศาสตร์ (Veterinary Medicine) • ภาควชิ าสตั วแพทยสาธารณสุข พ.ศ.2538 นาเสนอโครงสร้างหลักสูตร ให้มี สัดส่วนของหน่วยกิตวิชาเตรียมสัตวแพทย์ : ปรีคลินิก : (Veterinary Public Health) คลินิก เป็น 1 : 2 : 3 จานวน 240 หน่วยกิต และได้เริ่มรับ • ภาควชิ าจลุ ชีววิทยา (Microbiology) นิสติ เพ่มิ ขน้ึ จากเดมิ ไมเ่ กนิ ปีละ 80 คนเปน็ ปลี ะ 150 คน นอกจากน้ี คณะฯมีการพัฒนาด้านวิชาการและ พ.ศ.2539 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่ม วิจยั ให้สอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัย ได้รบั ประกาศใช้หลักสตู รสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ ฉบับปรับปรุง อนุมัติโครงการตามแผนพัฒนาวิชาการจุฬา 100 ปี ของ 2539 โดยครอบคลุมเนื้อหาหลักสูตรวิชาทางทฤษฎี และ คณะฯ นาไปสู่ศูนย์นวัตกรรมสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน จานวน ปฏิบัติท้ังหมดใน 5 ปีแรก และเปิดโอกาสให้นิสิตปีสุดท้าย 4 โครงการ ได้เลือกฝึกปฏิบัติทางคลินิกในสายสัตว์เล้ียงเป็นเพ่ือน และ สายสัตวท์ ่ีใช้เปน็ อาหารอย่างใดอย่างหน่ึง • ศูนย์นวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอนและการบริการ ดา้ นสัตว์เลีย้ ง พ.ศ.2548 เปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต วทิ ยาศาสตรก์ ารสัตวแพทยค์ ลินิก 1 หลกั สูตร • ศนู ย์วิจยั โรคอบุ ัติใหมร่ า้ ยแรง และโรคอบุ ัติซา้ ในสตั ว์ • ศนู ยน์ วัตกรรมดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพทางสัตวแพทย์ พ.ศ.2550 คณะไดจ้ ัดสรา้ งหอประวตั ิ หอเกียรติยศ และสร้างห้องประชุมประสิทธ์ิ โพธิปักษ์ สาหรับจัดประชุม พ.ศ.2552-2555 คณะฯ มีโครงการก่อสร้างอาคาร ผู้บริหาร และห้องรับรองสาหรับผู้มาเยือนคณะฯ โดยมีพิธี วิจัย พัฒนา และบริการทางสัตวแพทยศาสตร์ ด้วยเงิน เปิดห้องประชุม “ประสิทธิ์ โพธิปักษ์” ในวันครบ 6 รอบ งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย หรอื 72 ปี คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และงบประมาณเงินรายได้คณะฯ บางส่วน ต่อมาอาคาร ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น น า ม จ า ก ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ พ.ศ.2551 ปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตร รัตนราชสุดาฯว่า “อาคารสัตววิทยวิจักษ์” ซึ่งสามารถ บัณฑิตใหม่ และจัดต้ังหลักสูตรต่อเนื่องปริญญาโท-เอก เปดิ ใหบ้ ริการตรวจรกั ษา พยาบาลสตั ว์แกบ่ ุคคลภายใน และ สาขาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Biosciences) ภายนอก ต้งั แตป่ ี พ.ศ.2557 เริ่มมีการบริหารงานในรูปแบบศูนย์ และยังมีการริเร่ิม โครงการใหม่ ๆ เพื่อดาเนินกิจกรรมท่ีสาคัญ ท้ังทางด้าน 4 วชิ าการและสงั คมอย่างเปน็ รปู ธรรม อาทิ • ศนู ยข์ ้อมลู และประชาสมั พันธ์ • ศูนยค์ อมพิวเตอร์และการเรียนรทู้ างส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ • ศูนยว์ ิจัยโรคสตั ว์น้า • ศูนย์วิจัยและพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลิตปศุสัตว์ • ศูนยต์ ิดตามการดอื้ ยาฯ • ศูนย์ชันสตู รโรคสตั วก์ ลาง ปัจจุบัน คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีภาควิชาซึ่งรับผิดชอบการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก จานวน 10 ภาควชิ า • ภาควิชากายวภิ าคศาสตร์(Veterinary Anatomy) • ภาควิชาสรรี วทิ ยา (Veterinary Physiology) • ภาควิชาสตั วบาล (Animal Husbandry) • ภาควิชาเภสชั วิทยา(Veterinary Pharmacology) • ภาควชิ าพยาธิวิทยา (Veterinary Pathology) รายงานประจาปี 2564

ศ.พันโท หลวงชยั อศั วรกั ษ์ ศ.น.สพ. เตยี ง ตันสงวน พ.ศ.2481 - พ.ศ.2503 พ.ศ.2503 - พ.ศ.2515 ศ.น.สพ.ดร.อายสุ พชิ ัยชาญณรงค์ รศ.น.สพ.รท.ดร.ประสทิ ธ์ิ โพธิปักษ์ รศ.น.สพ.ระบิล รัตนพานี พ.ศ.2515 - พ.ศ.2519 พ.ศ.2519 – พ.ศ.2523 พ.ศ.2523 – พ.ศ.2527 พ.ศ.2527 – พ.ศ.2531 พ.ศ.2539 – พ.ศ.2542 รศ.น.สพ.สงคราม เหลอื งทองคา ศ.น.สพ.ดร.ณรงค์ศักด์ิ ชัยบตุ ร ศ.น.สพ.ดร.อรรณพ คณุ าวงษก์ ฤต พ.ศ.2531 – พ.ศ.2535 พ.ศ.2542 – พ.ศ.2546 พ.ศ.2548 – พ.ศ.2552 พ.ศ.2535 – พ.ศ.2539 พ.ศ.2546 – พ.ศ.2548 ศ.น.สพ.ดร.มงคล เตชะกาพุ พ.ศ. 2552 – พ.ศ.2556 รายงานประจาปี 2564 5

รายงานประจาปี 2564 6

ศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.รงุ่ โรจน์ ธนาวงษ์นเุ วช คณบดี รายงานประจาปี 2564 7

ผศ.น.สพ.ดร.วรพนั ธุ์ ณ สงขลา ศ.สพ.ญ.ดร.สันนภิ า สรุ ทตั ต์ รองคณบดีบรหิ าร รองคณบดนี โยบายและแผน ศ.น.สพ.ดร.อลงกร อมรศิลป์ ศ.สพ.ญ.ดร.เกวลี ฉตั รดรงค์ รองคณบดีวชิ าการ วริ ชั กิจ และกจิ การนิสติ รองคณบดีวจิ ยั และนวตั กรรม รายงานประจาปี 2564 8

รศ.น.สพ.ดร.คมกฤช เทียนคา รศ.น.สพ.ดร.นพดล พิฬารตั น์ รศ.น.สพ.ก้องเกยี รติ ศรสี วุ ัฒนาสกลุ ผ้ชู ่วยคณบดีฝา่ ยบรหิ ารกลาง ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยกายภาพและ ผู้ชว่ ยคณบดีฝา่ ยจัดการสารสนเทศ คลงั และพสั ดุ ศิลปวัฒนธรรม และการจดั การชวี ติ ดิจิตอล ผศ.สพ.ญ.ดร.อนงค์นาฎ อศั วชพี ผศ.น.สพ.ดร.ประพฤตดิ ี ปยิ ะวิรยิ ะกุล รศ.สพ.ญ.ดร.ศยามณ ศรสี ุวัฒนาสกลุ ผชู้ ว่ ยคณบดีและเลขานุการ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายนโยบาย ผชู้ ว่ ยคณบดีและผอ.ศูนยก์ ารศกึ ษา คณะกรรมการบรหิ ารคณะฯ และประกนั คณุ ภาพองค์กร ตอ่ เน่อื ง ผศ.น.สพ.สิริพงศ์ เกียรตกิ ิตตคิ ณุ รศ.น.สพ.ดร.ชยั เดช อินทร์ชัยศรี ผชู้ ว่ ยคณบดแี ละผอ.โรงพยาบาลสตั ว์ ผชู้ ว่ ยคณบดแี ละผอ.โรงพยาบาลสตั ว์ - กรงุ เทพฯ ศนู ยฝ์ กึ นสิ ติ ฯ รายงานประจาปี 2564 9

รศ.น.สพ.สนธยา เตยี วศิรทิ รพั ย์ รศ.สพ.ญ.ดร.สฤณี กลนั ทกานนท์ ทองทรง ศ.สพ.ญ.ดร.สมพร เตชะงามสุวรรณ ผูช้ ว่ ยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายทะเบียนการศึกษา ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยบณั ฑติ ศกึ ษา ผศ.น.สพ.ดร.ธราดล เหลืองทองคา รศ.น.สพ.ดร.ปิยนนั ท์ ทวีถาวรสวสั ด์ิ ผศ.สพ.ญ.ภาวนา เชอ้ื ศิริ ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายวริ ชั กิจ ผชู้ ่วยคณบดีฝา่ ยกิจการนสิ ิต ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์ รศ.สพ.ญ.ดร.อตุ รา จามีกร อ.น.สพ.ดร.ภัทรรฐั จนั ทรฉ์ ายทอง ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สวา่ งเมฆ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจยั ผูช้ ่วยคณบดีฝ่ายนวตั กรรมและเสริมสร้าง ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยสัตวแพทยศาสตรศ์ กึ ษา ภาพลักษณอ์ งคก์ ร และรบั รองหลักสตู ร รายงานประจาปี 2564 10

รศ.น.สพ.ดร.เกรยี งยศ สัจจเจรญิ พงษ์ รศ.น.สพ.ดร.สัมพันธ์ ธรรมเจรญิ รศ.น.สพ.ดร.จักรกรศิ น์ เน่อื งจานงค์ ภาควิชากายวภิ าคศาสตร์ ภาควชิ าสรรี วิทยา ภาควิชาสัตวบาล ผศ.สพ.ญ.ดร.นิภทั รา สวนไพรินทร์ ศ.น.สพ.ดร.อนเุ ทพ รังสีพพิ ัฒน์ ผศ.สพ.ญ.ดร.นลินี ตนั ตวิ นิช ภาควชิ าเภสัชวิทยา ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยา ภาควิชาศลั ยศาสตร์ รศ.สพ.ญ.ดร.รสมา ภสู่ นุ ทรธรรม ผศ.น.สพ.ดร.ศภุ วิวธั น์ พงษเ์ ลาหพนั ธ์ุ รศ.สพ.ญ.ดร.ร่งุ ทิพย์ ชวนช่ืน ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ ภาควิชาสตู ศิ าสตร์ฯ ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข รศ.น.สพ.ดร.ชาญณรงค์ รอดคา ภาควชิ าจลุ ชวี วิทยา รายงานประจาปี 2564 11

นางสาวบุษยารตั น์ ราชบรรดษิ ฐ์ ผู้อานวยการฝ่ายบรหิ าร นางสาวกรวรรณ เวชชานุเคราะห์ นางสาล่ี หมั่นเจรญิ นางอรุณี ทันตศภุ ารักษ์ หวั หน้ากลมุ่ ภารกจิ หวั หนา้ กล่มุ ภารกิจ หวั หน้ากล่มุ ภารกจิ บริหารและธุรการ นโยบายและแผน กายภาพและเทคโนโลยสี ารสนเทศ นางสุพรรณี คงมะลวน นายกฤษณะ พนั ธุจ์ ินดา หวั หนา้ กลุ่มภารกิจ หวั หนา้ กลมุ่ ภารกิจ บรกิ ารวชิ าการ คลงั และพสั ดุ รายงานประจาปี 2564 12

นางสาวหทยั ทิพย์ ภาคอินทรีย์ ผูอ้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ นางสาวพัชราวรรณ ชยั เชิดชวู งศ์ นางสาวสคุ นธา ทองบรสิ ทุ ธิ์ หวั หน้ากลุ่มภารกิจ หวั หนา้ กลุม่ ภารกจิ บรกิ ารการศกึ ษา วจิ ัยและนวตั กรรม รายงานประจาปี 2564 13

ปีงบประมาณ 2564 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีจานวนบุคลากรทั้งหมด จานวน 498 คน ประกอบด้วย สายวิชาการ เป็นคณาจารย์และนักวิจัย จานวน 130 คน (คิดเป็นร้อยละ 26.10) และบุคลากรสายปฏิบัติการ จานวน 368 คน (คดิ เป็นร้อยละ 73.90) จาแนกตามประเภทได้ดังแผนภูมดิ า้ นลา่ ง แผนภมู ิแสดงจานวนบคุ ลากรทั้งหมดในคณะ จาแนกตามประเภทของบุคลากร ปีงบประมาณ 2564 ลกู จ้างประจา พนักงานวสิ ามัญ 6% 14% พนม.รายไดค้ ณะฯ ขา้ ราชการ 28% 13% พนม.อดุ หนุน 39% พนักงานวิสามญั ขา้ ราชการ พนม.อดุ หนนุ พนม.รายได้คณะฯ ลกู จ้างประจา แผนภูมแิ สดงสดั สว่ นจานวนอาจารยใ์ นคณะ จาแนกตามตาแหน่งวิชาการ ปงี บประมาณ 2564 นักวจิ ยั AR-5 ศาสตราจารย์ สงู A-1 1% 2% ศาสตราจารย์ อาจารย์ 5% 25% รองศาสตราจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 32% 35% ศาสตราจารย์ สูง A-1 ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ นักวิจยั AR-5 รายงานประจาปี 2564 14

ข้อมูลงบประมาณแผ่นดิน และงบประมาณเงินรายได้คณะฯ เปรียบเทยี บระหวา่ งปีงบประมาณ 2560 - 2564 แผนงบประมาณ คดิ เป็นเปอร์เซน็ ต์ ปงี บประมาณ เงนิ สนับสนนุ จาก เงินรายไดค้ ณะฯ รวมท้ังสน้ิ งบสนบั สนุนจาก งบเงินรายได้ รัฐบาล คณะฯ 2560 รัฐบาล (บาท) (บาท) 2561 2562 30,703,500 250,000,000 280,703,500 10.94 89.06 2563 2564 30,247,600 265,000,000 295,247,600 10.24 89.76 18,350,800 270,000,000 288,350,800 6.36 93.64 72,192,500 287,000,000 359,192,500 20.10 79.90 45,215,400 309,000,000 354,215,400 12.76 87.24 แผนภูมิเปรียบเทียบงบแผ่นดนิ และงบประมาณเงินรายได้คณะฯ ปีงบประมาณ 2560 - 2564 เงนิ สนับสนุนจากรัฐบาล (บาท) เงินรายไดค้ ณะฯ (บาท) 250,000,000 265,000,000 270,000,000 287,000,000 309,000,000 30,703,500 30,247,600 18,350,800 72,192,500 45,215,400 2560 2561 2562 2563 2564 รายงานประจาปี 2564 15

หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี 1 หลกั สูตร หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.) หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ เป็นหลักสตู รทางด้านวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ที่ต้องนาความรู้ทงั้ ดา้ นศาสตร์ และศิลปม์ าใช้เพอ่ื การประกอบวชิ าชพี การสัตวแพทย์ มีการใช้ข้อมูลเชิงประจกั ษ์ โดยครอบคลุมถงึ การดูแลสุขภาพสตั ว์ และสวัสดิภาพสัตว์ ประกอบด้วย การปฏิบัติโดยตรงต่อร่างกายสัตว์เพ่ือการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การควบคุม ป้องกนั โรคสตั ว์ และโรคสตั วส์ ่คู น การบาบดั รักษาดแู ลสุขภาพสัตว์ สวัสดิภาพและสุขศาสตรส์ ตั ว์ การผลติ สัตว์ การโภช นาภิบาลด้านสุขศาสตร์การอาหาร การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และการปนเปื้อนในอาหารที่มีต้นกาเนิดมาจากสัตว์ เป็นวิชาชีพทต่ี อ้ งเรียนร้ตู ลอดชีวติ และยึดมน่ั ในคณุ ธรรม และมีจรรยาบรรณแหง่ วชิ าชพี การสัตวแพทย์ ผู้สาเร็จการศกึ ษาหลกั สตู รสตั วแพทยศาสตรบัณฑติ 102 คน หลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต มี 10 หลกั สตู ร สาขาวิชา ไดแ้ ก่ 1.1 สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ างการสัตวแพทยแ์ ละเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาต)ิ 1.2 สาขาวชิ าชวี ศาสตรท์ างสัตวแพทย์ 1.3 สาขาวชิ าสรรี วทิ ยาการสตั ว์ 1.4 สาขาวชิ าสตั วศาสตรป์ ระยกุ ต์ 1.5 สาขาวชิ าเภสชั วิทยาทางสตั วแพทยศาสตร์ 1.6 สาขาวชิ าพยาธชิ วี วิทยาทางสตั วแพทย์ 1.7 สาขาวชิ าศัลยศาสตรท์ างสัตวแพทย์ 1.8 สาขาวชิ าอายรุ ศาสตรส์ ัตวแพทย์ 1.9 สาขาวชิ าวทิ ยาการสืบพนั ธส์ุ ัตว์ 1.10 สาขาวิชาสตั วแพทยสาธารณสุข 2. หลกั สูตรวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ มี 8 สาขาวิชา ไดแ้ ก่ 2.1 สาขาวชิ าวทิ ยาการสืบพนั ธ์ุสัตว์ 2.2 สาขาวชิ าสรีรวิทยาการสัตว์ 2.3 สาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสขุ 2.4 สาขาวชิ าพยาธชิ ีววิทยาทางสตั วแพทย์ 2.5 สาขาวิชาอายรุ ศาสตร์สตั วแพทย์ 2.6 สาขาวชิ าชีวศาสตรท์ างสัตวแพทย์ 2.7 สาขาวิชาสตั วศาสตร์ประยกุ ต์ 2.8 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางการสตั วแพทยแ์ ละเทคโนโลยี (หลกั สูตรนานาชาต)ิ รายงานประจาปี 2564 16

3. หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑติ ทางวทิ ยาศาสตร์การสตั วแพทยค์ ลนิ ิก 1 หลักสูตร แบง่ เป็น 7 แขนงวชิ า ได้แก่ 3.1 แขนงวชิ าคลินกิ สตั ว์เลย้ี งเป็นเพื่อน (แขนงวชิ าใหม)่ 3.2 แขนงวชิ าพยาธิวิทยาชนั สตู ร 3.3 แขนงวิชาอายุรกรรมสตั วท์ ดลอง (แขนงวชิ าใหม่) 3.4 แขนงวชิ าสตู ิ-เธนุเวชกรรม 3.5 แขนงวชิ าเภสชั วิทยาคลนิ กิ (แขนงวิชาใหม)่ 3.6 แขนงวชิ าอายุรกกรม 3.7 แขนงวชิ าศลั ยกรรม 4. หลักสตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ชัน้ สงู ทางวทิ ยาศาสตรก์ ารสตั วแพทยค์ ลนิ กิ 1 หลักสูตร แบง่ เปน็ 5 แขนงวิชา ได้แก่ 3.1 แขนงวิชาวิทยาการสบื พนั ธสุ์ ัตว์ 3.2 แขนงวิชาอายุรศาสตร์สัตวแพทย์ 3.3 แขนงวชิ าศัลยศาสตรท์ างสัตวแพทย์ 3.4 แขนงวชิ าพยาธิชีววทิ ยาทางสตั วแพทย์ 3.5 แขนงวชิ าสตั วแพทยสาธารณสขุ ผู้สาเรจ็ การศึกษาหลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ดุษฎีบณั ฑิต และประกาศนยี บตั รบณั ฑิต 56 คน รายงานประจาปี 2564 17

คณะมกี ารปรับปรุงภูมิทศั น์ให้สวยงามตามความเหมาะสมพร้อมใชง้ าน และมีความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของผใู้ ช้ ท้งั คณาจารย์ นสิ ติ เจ้าหนา้ ที่และผู้มาติดต่อเพื่อให้ใชง้ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ และเกดิ ประโยชน์สงู สุด อาคารของคณะสตั วแพทยศาสตร์ กรุงเทพฯ ประกอบด้วย อาคารของคณะสัตวแพทยศาสตร์ นครปฐม ประกอบดว้ ย รายงานประจาปี 2564 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook