Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์ของพระราชา

ศาสตร์ของพระราชา

Description: ศาสตร์ของพระราชา

Search

Read the Text Version

ศาสตรของพระราชา: ผูนําโลกในการพัฒนาอยางยั่งยืน รวมกฎหมายสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร



ศาสตร์ของพระราชา ผูน้ ำ�โลกในการพัฒนาอย่างยั่งยืน







พ ร ะ ร า ช ป ร ะ วั ติ ๕ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพ ท่ีเมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสสาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือวันจันทร์ท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๐ เป็นพระโอรสพระองค์ที่ ๒ และลำ�ดับพระองค์ที่ ๓ ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระเชษฐภคินีและพระบรมเชษฐา คือ สมเด็จพระเจ้า พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กับ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ สืบราชสันตติวงศ์ เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๙ และ เข้าพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๓ ทรงราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิดากรมหมื่น จันทบุรีสุรนาถ (หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร) กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร ซึ่งได้ทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี และตอ่ มาทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาเป็น สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชโอรสและพระราชธิดา ดังนี้ ๑. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ๒. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๓. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ๔. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ สวรรคตเมอ่ื วนั พฤหสั บดที ่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๕๒ น. สิริพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๓๑๓ วัน





๘ คํานํา “โครงการเฉลิมพระเกียรติ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รวบรวมกฎหมายที่สนับสนุน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ” เป็นโครงการที่จัดทำ�ขึ้น เพื่อรวบรวมกฎหมายที่สนับสนุนการดำ�เนินงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ให้เห็นอย่างชัดเจน และนำ�ไปสู่การพัฒนาหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ โครงการนี้จัดทำ�ขึ้นเป็นครั้งแรก ยังไม่เคยมีหน่วยงานใดดำ�เนินการในลักษณะเช่นนี้ มาก่อน เป็นโครงการจัดทำ�หนังสือ “ศาสตร์ของพระราชา: ผู้นำ�โลกในการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมกฎหมายสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร” เพื่อเผยแพร่แก่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งสาธารณชนทั่วไป หนังสือเล่มนี้เป็นความตั้งใจของสภานิติบัญญัติแห่งชาติที่จะรวบรวม เรียบเรียง และถ่ายทอด องค์ความรู้ของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ รวมถึงกฎหมายที่สนับสนุนโครงการฯ โดยมีรูปแบบการนำ�เสนอที่เป็นรูปธรรม มีเนื้อความครอบคลุมครบถ้วน เข้าใจง่าย มีภาพประกอบที่สื่อความหมายชวนให้ศึกษา หนังสือให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ โดยแบ่งออกเป็น ๑๓ ด้าน ได้แก่ ด้านทรัพยากรนํ้า ด้านทรัพยากรป่าไม้ ด้านทรัพยากรดิน ด้านการเกษตร ด้านการส่งเสริมอาชีพ ด้านสาธารณสุข ด้านสวัสดิการสังคม ด้านการศึกษา ด้านการคมนาคม ด้านการสื่อสาร ด้านสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านนวัตกรรม และหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยแต่ละด้านจะนำ�เสนอภาพรวมของโครงการ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในการศึกษาค้นคว้าและนำ�ไปสู่การบังคับใช้ รวมถึงการพัฒนาหรือปรับปรุงกฎหมาย ให้ตอบสนองต่อโครงการต่อไปด้วย

๙ คํานํา คณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รวบรวมกฎหมาย ที่สนับสนุนในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ได้จัดทำ�หนังสืออันทรงคุณค่านี้ เพื่อเผยแพร่ศาสตร์ของพระราชาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้ประจักษ์แก่ชาวไทยและชาวโลก และเพื่อร่วมสืบสานพระราชปณิธาน ในการดำ�เนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริให้ยั่งยืนสืบไป คณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รวบรวมกฎหมายท่ีสนับสนุนในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐

สาร ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย ๑๐ ป ร ะ ธ า น ส ภ า นิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ช า ติ สาร ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงธรรม พระองค์ทรงครองแผ่นดินและครองหัวใจชาวไทยทั้งมวล พระองค์ทรงงาน ด้วยความเพียรเป็นเวลายาวนานถึง ๗๐ ปี ทรงรอนแรม ทรงตรากตรำ� แต่ไม่ทรงย่อท้อ ไม่ทรงท้อถอย ไม่มีที่ใดในผืนแผ่นดินไทยที่พระบาทยาตราไปไม่ถึง การเสด็จฯ เยี่ยมราษฎร อย่างใกล้ชิดของพระองค์ทำ�ให้เกิดความผูกพันทางใจระหว่างพระราชากับปวงประชาราษฎร์ เรื่องเล่าต่างๆ ที่ทรงสดับฟังเป็นข้อมูลสำ�หรับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เพื่อช่วยให้ราษฎรสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีชีวิตที่ดีขึ้น ช่วยให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและ พัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน การทรงงานหนักของพระองค์ได้เปลี่ยนพื้นที่แห้งแล้งกันดาร เป็นพื้นที่ทำ�มาหากิน เปลี่ยนชีวิตคนไทยส่วนใหญ่ของประเทศที่ยากไร้ให้ “พอมี พอกิน” และก้าวไปสู่การ “กินดี อยู่ดี” พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐานเป็นพระราชวังเดียวในโลกที่เป็นทั้งบ้านของพระองค์ เป็นที่ทำ�งานของพระองค์ เป็นศูนย์ศึกษาวิจัยโครงการต่างๆ โดยใช้พระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ โครงการเหล่านี้ได้เป็นจุดเริ่มต้นของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริกว่า ๔,๖๐๐ โครงการ เป็นต้นกำ�เนิดศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อีกถึง ๖ ศูนย์ กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำ�หรับ พสกนิกร ในการพัฒนาประเทศ พระองค์ไม่เคยมีพระราชดำ�ริให้ประชาชนมุ่งหวัง ความมัง่ คั่งรํา่ รวย ในทางตรงกนั ขา้ ม พระองคพ์ ระราชทานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อันเป็นแนวทางการพัฒนาคนและพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน บนพื้นฐานของทางสายกลาง ความมีเหตุผล ความไม่ประมาท และคุณธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการดำ�เนินชีวิตและการประกอบอาชีพ อีกทั้งใช้เป็นหลักในการบริหาร และพัฒนาประเทศด้วย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งได้พระราชทานมาก่อนหน้า หลายปีสอดคล้องกับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติซึ่งเน้นคน เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและเน้นการใช้กระบวนการพัฒนาที่ยั่งยืน

สาร ๑๑ ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย ป ร ะ ธ า น ส ภ า นิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ช า ติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นพ่อของแผ่นดิน ทรงเปน็ ครขู องแผน่ ดนิ ทรงสอนดว้ ยการทรงปฏบิ ตั พิ ระองคเ์ ปน็ แบบอยา่ ง ศาสตรข์ องพระราชา เป็นสมบัติทางปัญญาอันลํ้าค่าของชาติที่ทรงผสมผสานวิทยาการสมัยใหม่กับภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศาสตร์ของพระราชา: ผู้นำ�โลกในการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นหนังสือเล่มแรก ที่บันทึกศาสตร์ของพระราชาและกฎหมายที่สนับสนุนการดำ�เนินงานของโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้คนไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ได้เรยี นรู้ถึงพระราชวริ ิยะอตุ สาหะพระราชดำ�ริและพระราชอจั ฉริยภาพในการพฒั นาประเทศ ทำ�ให้คนไทยได้ประจักษ์ว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์นักพัฒนาผู้ทรงปฏิบัติพระองค์ ภายใต้ตัวบทกฎหมาย ทรงเป็นปราชญ์ผู้นำ�หลักคิดและแนวปฏิบัติในการพัฒนาที่สอดคล้อง กับธรรมชาติมาใช้ ก่อเกิดประโยชน์แก่มหาชนชาวโลก (ศาสตราจารย์พิเศษพรเพชร วิชิตชลชัย) ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

สารบัญ พระบรมฉายาลักษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ๒ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๕ สําเนาหนังสือขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตในส่วนที่เกี่ยวข้อง ๖ คํานํา ๘ สารจากประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๑๐ บทนํา ๑๔ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรนํ้า ๒๔ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรป่าไม้ ๖๘ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรดิน ๙๐ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการเกษตร ๑๑๒ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการส่งเสริมอาชีพ ๑๔๔ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านสาธารณสุข ๑๖๔

สารบัญ ๑๘๒ ๑๙๘ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านสวัสดิการสังคม ๒๑๔ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการศึกษา ๒๓๐ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการคมนาคม โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านการสื่อสาร ๒๔๖ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านสิ่งแวดล้อม ๒๖๖ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๒๗๘ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริด้านนวัตกรรม ๒๙๘ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓๒๖ บทสรุป ๓๓๐ ลำ�ดับศักดิ์กฎหมาย ๓๓๔ บรรณานุกรม รายนามคณะผู้จัดทำ�

๑๔ บทนํา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ของประชาชน พระองค์ทรงครองแผ่นดินและครองใจคนไทยทั้งมวล ปวงชนชาวไทยรักและเทิดทูนพระองค์ด้วยหัวใจ อันบริสุทธิ์ ไม่มีใครบังคับ ไม่มีใครชี้นำ� ประชาชนเห็นและสัมผัสได้ด้วยตนเองถึงความรัก ความห่วงใย ความเมตตา และการอุทิศกำ�ลังพระวรกายและพระสติปัญญาเพื่อช่วยเหลืออาณาประชาราษฎร์ของพระองค์ ความรักและความผูกพันระหว่างพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้กับประชาชนเริ่มขึ้นตั้งแต่ปีแรกที่พระองค์ เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๙ ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์กลับไปยังประเทศ สวิสเซอร์แลนด์เพื่อทรงศึกษาต่อเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ในขณะที่รถพระที่นั่งแล่นผ่าน วัดเบญจมบพิตรไปยังสนามบินดอนเมือง ท่ามกลางเสียงโห่ร้องถวายพระพร ก็ได้มีผู้หนึ่งร้องตะโกนออกมาว่า “ในหลวง อย่าละทิ้งประชาชน” เหตุการณ์เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และดูเหมือนไม่มีใครได้รับรู้ แต่จาก บทพระราชนพิ นธ์ เมอ่ื ขา้ พเจา้ จากสยามมาสสู่ วสิ เซอรแ์ ลนด์ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงถ่ายทอดส่วนลึกของพระราชหฤทัยในขณะนั้น ความว่า “...อยากจะร้องบอกเขาไปว่า ถ้าประชาชนไม่ละทิ้งข้าพเจ้า แล้วข้าพเจ้าจะละทิ้งประชาชนได้อย่างไร...” คำ�มั่นสัญญาแรกนี้ได้บังเกิดขึ้น ในพระราชหฤทัยของกษัตริย์ผู้ยังทรงพระเยาว์พระองค์นี้แล้ว พระองค์จะไม่ทรงละทิ้งประชาชน พระองค์ จะไม่ทรงละทิ้งหน้าที่ เป็นสัญญาที่ตั้งพระราชหฤทัยผูกพันพระองค์เองกับปวงชนชาวไทย จากคำ�มั่นสัญญาแรกที่ทรงผูกพันพระองค์กับปวงชน ชาวไทยมาสู่พระปฐมบรมราชโองการที่พระราชทาน ต่อมหาสมาคมเน้นยํ้าความมุ่งมั่นพระราชหฤทัย เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ พระราชพิธี บ ร ม ร า ช า ภิ เ ษ ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ซึ่งได้จัดขึ้น ในหมู่พระมหามณเฑียร ในพระบรมมหาราชวัง ณ เขตพระราชฐานอันศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานสัจจะวาจาแสดงความมุ่งมั่น พระราชหฤทัยว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” พระปฐม บรมราชโองการที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในวันนั้น เป็นประหนึ่งคำ�มั่นสัญญาที่แน่วแน่มั่นคง ความตั้งพระราชหฤทัยในการดูแลอาณาประชาราษฎร์ได้มีมาตั้งแต่วันแรกที่เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ ถ้อยคำ�จากพระราชหฤทัยนี้ได้สถิตอยู่ในดวงใจของพสกนิกรไทยตั้งแต่บัดนั้นมา

๑๕ ความในพระราชหฤทัยที่ทรงสร้างความผูกพันระหว่าง พระองค์กับปวงชนชาวไทยได้งอกงามเป็นความรักที่ พระองคท์ รงมใี หก้ บั พสกนกิ รความซาบซง้ึ พระราชหฤทยั ในความรักอันล้นเหลือของพสกนิกรที่มีต่อพระองค์ และการที่พระองค์ได้ทรงแสดงความรู้สึกของพระองค์ ผ่านพระราชหัตถเลขาถึงพระสหายของพระองค์ คือการอยู่ท่ามกลางพสกนิกรของพระองค์ ดังข้อความ ตอนหนึ่งจากพระราชหัตถเลขาที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีไปถึงพระสหายในต่างประเทศภายหลังจากที่เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ ความว่า “...เมื่อข้าพเจ้า เป็นนักเรียนอยู่ในยุโรป ข้าพเจ้าไม่เคยตระหนักว่าประเทศของข้าพเจ้าคืออะไร และเกี่ยวข้องกับข้าพเจ้า แค่ไหน ไม่ทราบ ตราบจนกระทั่งข้าพเจ้าได้เรียนรู้ที่จะรักประชาชนของข้าพเจ้าเมื่อได้ติดต่อกับเขาเหล่านั้น ซึ่งทำ�ให้ข้าพเจ้าสำ�นึกในความรักอันมีค่ายิ่ง ข้าพเจ้าไม่เป็นโรคคิดถึงบ้านที่จริงจังอะไรนัก แต่ข้าพเจ้า ได้เรียนรู้จากการทำ�งานที่นี่ว่า ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้คือการที่ได้อยู่ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า นั่นคือคนไทยทั้งปวง...” ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี ของการครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงรักพสกนิกรของพระองค์และประทับอยู่ท่ามกลางประชาชน ของพระองค์โดยแท้จริง พระองค์เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรในทั่วทุกภูมิภาคของประเทศและได้ประทับแรม ในภาคต่างๆ ของประเทศทา่ มกลางประชาชนของพระองค์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงตั้งพระราชปณิธาน อย่างแน่วแน่ที่จะเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ โดยทรงเริ่มต้นที่ภาคกลางก่อน แล้วเสด็จฯ ไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ เพื่อทรงทราบถึงความเป็นอยู่ ของราษฎรว่ามีปัญหาหรือมีความเดือดร้อนเป็นประการใด พระองค์จะได้ทรงช่วยเหลือเท่าที่จะทรงสามารถ กระทำ�ได้ การเสด็จฯ ในแต่ละครั้งเป็นการเสด็จฯ ทั่วทั้งภาค โดยขบวนรถไฟพระที่นั่งบ้าง ขบวนรถยนต์ พระที่นั่งบ้าง แล้วแต่ความสะดวกในเส้นทางคมนาคมระหว่างจังหวัด รวมทั้งสถานที่ประทับแรมที่เอื้ออำ�นวย ต่อคณะผู้ตามเสด็จ อันประกอบด้วยแพทย์หลวงเป็นอาทิ ในทุกเส้นทางที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ ผ่านราษฎร ต่างมาเฝ้ารอรับเสด็จกันอย่างล้นหลาม เพราะนี่ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่พระมหากษัตริย์ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรถึงหมู่บ้าน ถึงตำ�บล ถึงจังหวัดของพวกเขา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ราษฎรได้เข้าเฝ้าอย่างใกล้ชิด และมีพระราชปฏิสันถารกับราษฎรอย่างเป็นกันเอง สร้างความปลาบปลื้ม ปีติยินดีให้กับทุกคนเป็นอย่างยิ่ง ราษฎรจำ�นวนไม่น้อยรวมทั้งผู้เฒ่าได้นำ�ของพื้นเมืองของท้องถิ่น ของตนมาถวาย แม้เป็นของเล็กน้อยไม่มีราคาค่างวดเท่าใด แต่มากด้วยคุณค่าเพราะเป็นของที่มาจากหัวใจรัก

๑๖ ของราษฎรต่อพระเจ้าแผ่นดินของพวกเขา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชวิริยะอุตสาหะเสด็จฯ ไปทั่วทุกแห่งในผืนแผ่นดินไทย ไม่เว้นแม้ในเขตแห้งแล้งทุรกันดาร ที่การคมนาคมยังเข้าไปไม่ถึง อาจกล่าวได้ว่าไม่มีที่ใดในแผ่นดินไทยที่พระบาทยาตราไปไม่ถึง พระองค์ประทับ เครื่องบินพระที่นั่ง ประทับรถไฟ ประทับรถยนต์ ทรงขับรถพระที่นั่ง ทรงช้าง ทรงม้า และทรงพระดำ�เนิน ด้วยพระบาทไปในที่ที่ยังไม่มีถนนตัดผ่าน เพื่อจะได้ทรงประจักษ์ด้วยสายพระเนตรของพระองค์เองถึง ทุกข์สุขของราษฎร การเสด็จฯ เยี่ยมอย่างใกล้ชิดของพระองค์ทำ�ให้ความผูกพันทางใจระหว่างพระราชากับ ปวงประชาราษฎร์กลายเป็นสายสัมพันธ์ของคนในครอบครัวเดียวกัน ราษฎรรักและเทิดทูนพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสมือนเป็นพ่อหลวงของปวงชนชาวไทย ราษฎรเป็น ดั่งลูกผู้สำ�นึกในความรักและความเมตตาที่พระองค์ทรงมีให้อย่างต่อเนื่องและไร้เงื่อนไข เรื่องเล่าต่างๆ ของราษฎรที่ทรงสดับตรับฟังด้วยพระองค์เอง ปัญหาที่ได้ทรงเรียนรู้จากการเสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎร และมีพระราชปฏิสันถารอย่างใกล้ชิดกับผู้อยู่อาศัยในท้องที่ได้เป็นแรงบันดาล พระราชหฤทัยให้ทรงคิดหาหนทางช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์และทรงริเริ่มโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำ�หนักอย่างเรียบง่ายทีละตำ�หนักในทุกภูมิภาคของประเทศเพื่อทรงใช้เป็นฐาน ในการปฏิบัติพระราชภารกิจช่วยเหลือราษฎร พระตำ�หนักประจำ�ภาคต่างๆ เหล่านี้เป็นที่ประทับแรมสำ�หรับ ทรงงานในท้องถิ่นนั้นๆ ในแต่ละปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ แปรพระราชฐานไปทรงงานในภูมิภาคต่างๆ เป็นเวลานานหลายเดือน พระองค์ทรงประทับแรมและ ทรงใช้เวลาประทับอยู่ในต่างจังหวัดมากกว่าในกรุงเทพมหานคร การเสด็จพระราชดำ�เนินเยี่ยมเยียนราษฎรและ การประทับแรมในจังหวัดต่างๆ ทำ�ให้ทรงทราบถึง ปัญหาของราษฎรส่วนใหญ่ของประเทศ ซึ่งเป็น เกษตรกร ปัญหาที่ดินทำ�กิน ปัญหาเรื่องนํ้า ปัญหา การสาธารณสขุ และปัญหาการอพยพเข้าไปขายแรงงาน ในเมืองใหญ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร จึงทรงมีความมุ่งมั่น ที่จะช่วยเหลือให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทรงศึกษาหาแนวทางต่างๆ ให้การประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้ผลดี จึงบังเกิดโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริมากมาย ครอบคลุมด้านต่างๆ ทั้งด้านการเกษตร สาธารณสุข การบริหารจัดการดิน การบริหาร จัดการนํ้า ป่าไม้ การส่งเสริมอาชีพ การพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่และอาชีพชาวไทยภูเขา การคมนาคม สวัสดิการสังคม การศึกษา และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ แต่ละโครงการล้วน ด�ำ เนนิ การอยา่ งสอดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งของแตล่ ะภมู ภิ าคดว้ ยขอ้ มลู จรงิ ทไ่ี ดท้ อดพระเนตรดว้ ยพระองคเ์ อง

๑๗ แนวพระราชดำ�ริต่างๆ ที่พระราชทานให้ มีที่มาจากการทรงศึกษาข้อมูลทุกด้านอย่างละเอียดลึกซึ้งและ เป็นขั้นเป็นตอน โดยทรงศึกษารวบรวมปัญหาข้อมูลต่างๆ ในพื้นที่ และทรงประกอบแผนที่ด้วยพระองค์เอง ก่อนจะเสด็จฯ เข้าไปในพื้นที่ ดังกระแสพระราชดำ�รัสที่พระราชทานแก่คณะผู้ติดตามว่า “ทำ�การบ้าน ไปก่อน” เมื่อเสด็จฯ เข้าไปถึงพื้นที่ พระองค์ทรงเก็บข้อมูลจากตัวราษฎรเองและจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ ทรงสังเกตและทรงบันทึกลักษณะภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิสังคม ทรงศึกษาและประมวลข้อมูลทั้งปวง และทรงมีพระราชวินิจฉัยก่อนที่จะพระราชทานแนวพระราชดำ�ริ เมื่อพระราชทานแนวพระราชดำ�ริไปแล้ว จะติดตามงานทุกระยะ เพื่อให้โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ ก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ราษฎรอย่างแท้จริง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริมากมายหลายโครงการ มีจุดเริ่มต้นมาจากโครงการศึกษา ค้นคว้าและทดลองเป็นการส่วนพระองค์ก่อน อาทิ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา สนอง แนวพระราชดำ�ริเกี่ยวกับการศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการเกษตร ซึ่งประกอบด้วย แปลงนาสาธิต โรงสีข้าวตัวอย่าง โรงงานบดแกลบ บ่อเพาะเลี้ยงปลา ป่าสาธิต โรงโคนม โรงนมผง โรงนมเม็ด โรงนมพาสเจอร์ไรส์ โรงเนยแข็ง โรงผลิตนํ้าผลไม้ โรงเพาะเห็ด โรงผลิตภัณฑ์อบแห้ง โรงงาน กระดาษสา โครงการพลังงานทางเลือก เป็นต้น โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริมีกระจายอยู่ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรและทรงติดตามโครงการเหล่านั้นอย่างใกล้ชิด ในการเสด็จเยี่ยมราษฎรและทรงงานในพื้นที่ พระบาท สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร ทรงมีอุปกรณ์ประกอบพระราชกรณียกิจที่ทรงนำ�ติด พระองค์ไปด้วยเสมอ คือ แผนที่ กล้องถ่ายรูป วิทยุ สื่อสารและดินสอ ภาพที่ราษฎรของพระองค์คุ้นชิน และประทับใจมิรู้ลืม คือ ภาพที่พระหัตถ์ทรงถือแผนที่ และพระศอทรงคล้องกล้องถ่ายรูป แผนที่ของพระองค์เป็นแผนที่พับขนาดใหญ่เป็นพิเศษ แผนที่นี้ทรงทำ�ขึ้น ดว้ ยพระองคเ์ อง พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงใชแ้ ผนทอ่ี ยา่ งเชย่ี วชาญ และทรงใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ แผนทท่ี ท่ี รงใชเ้ ปน็ ประจ�ำ เปน็ แผนทอ่ี ตั ราสว่ น ๑: ๕๐,๐๐๐ ซง่ึ มคี วามละเอยี ดมาก แผนที่มีข้อมูลในเชิงลึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศ แหล่งนํ้าและการชลประทาน การใช้แผนที่ประกอบการทรงงานจะทำ�ให้ทรงมองเห็นภาพใหญ่ ภาพรวม และทรงสามารถวางแผนงานพัฒนา ได้อย่างแม่นยำ� รัดกุมและครบถ้วนเมื่อใช้ประกอบกับการเสด็จฯ ลงพื้นที่จริง พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จะทรงศึกษาแผนที่ก่อนเสด็จฯ ออกไปหาราษฎรทุกครั้ง เมื่อเสด็จฯ ถึงพื้นที่ จะทรงตรวจสอบแผนที่ และทรงดูสภาพหมู่บ้าน หลังจากมีพระราชปฏิสันถารกับชาวบ้าน และผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ จึงทรงวางแผนการพัฒนา นอกจากนี้ ในบางครั้งยังทรงใช้ภาพถ่ายทางอากาศ

๑๘ บาโรมิเตอร์วัดความสูง และมาตรวัดระยะของรถ ประกอบดว้ ยเมอ่ื เขา้ พระราชหฤทยั ดแี ลว้ จงึ ทรงวางแผน กำ�หนดการปฏิบัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สนพระราชหฤทัยการถ่ายภาพ ทรงศกึ ษาเทคโนโลยแี ละต�ำ ราเกย่ี วกบั การถา่ ยภาพตง้ั แต่ ยังทรงพระเยาว์เรื่อยมาจนทรงมีพระราชอัจฉริยภาพ ด้านการถ่ายภาพ กล้องที่ทรงใช้ล้วนเป็นกล้องถ่ายภาพ ระดับมาตรฐานที่ทำ�งานได้อย่างถูกต้องเท่านั้น มิใช่เป็นกล้องหรูหราราคาแพง นอกจากจะทรงใช้ กล้องถ่ายภาพศิลปะแล้ว กล้องถ่ายภาพยังเป็นอุปกรณ์สำ�คัญในการทรงงาน พระองค์ทรงใช้กล้องถ่ายภาพ สถานที่ทุกแห่งที่เสด็จฯ ไป เพื่อทรงเก็บไว้เป็นข้อมูลและรายละเอียดประกอบการทรงงานพัฒนาประเทศ ในการถ่ายภาพพระองค์ทอดพระเนตรและใส่พระราชหฤทัยในรายละเอียดทุกอย่างของสถานที่และผู้คน และทรงมีศิลปะในการจัดองค์ประกอบของภาพและมุมมอง ทำ�ให้เห็นรายละเอียดของภูมิประเทศ ชีวิต และความเป็นอยู่ของพสกนิกรของพระองค์ได้อย่างชัดเจน วิทยุสื่อสารเป็นอุปกรณ์ที่มักทรงนำ�ติดพระวรกาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ตรวจซ่อมและปรับเครื่องวิทยุสื่อสารที่ทรงใช้งานด้วยพระองค์เอง พระองค์ทรงใช้วิทยุสื่อสารติดต่อกับทั้งเครือข่ายราชการและเครือข่ายวิทยุสมัครเล่น เพื่อทรงติดตามข่าวสาร ทรงรับฟังปัญหา พระราชทานคำ�แนะนำ� และทรงสั่งการได้ทันท่วงทีที่มีเหตุการณ์ เช่น เมื่อเกิดเหตุวาตภัย ที่อำ�เภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ในการใช้วิทยุสื่อสาร ทรงเคร่งครัดต่อระเบียบวินัยและใส่ใจในรายละเอียด วทิ ยสุ อ่ื สารจงึ เปน็ เครอ่ื งมอื อกี ชนดิ หนง่ึ ทท่ี รงใชใ้ นการชว่ ยเหลอื ราษฎรโดยเฉพาะในยามวกิ ฤตหรอื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงโปรดใช้ดินสอในการทรงงาน ทั้งในห้องทรงงานและในพื้นที่ที่เสด็จฯ ไปเยี่ยมเยียนราษฎร ในปีหนึ่งพระองค์จะทรงเบิกดินสอที่มียางลบ ตดิ ทปี่ ลายดนิ สอมาใชจ้ �ำ นวน ๑๒ แทง่ โดยทรงใชเ้ ดอื นละ ๑ แทง่ พระองคท์ รงใชด้ นิ สอจนสนั้ จนเขยี นไมไ่ ดแ้ ลว้ จึงทรงเปลีย่ นมาใช้แทง่ ใหม่ การใชด้ ินสอทำ�ใหง้ ่ายแก่การบนั ทกึ และการเปลยี่ นแปลงแก้ไขข้อมลู ท่ที รงบันทึก นับเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ ไปยังพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ เพื่อสดับรับฟังปัญหาความทุกข์ยากเดือดร้อนของราษฎรด้วยพระองค์เอง การรวบรวมข้อมูลที่ทรงค้นพบและการศึกษาข้อมูลอย่างลึกซึ้ง ทำ�ให้พระองค์ทรงเป็นนักวิจัยชนบท อย่างแท้จริง ในการทำ�โครงการ พระองค์ทรงศึกษาถึงแก่นแท้ ส่ิงใดไม่เกิดประโยชน์จะทรงละเสีย ถ้าเกิดประโยชน์ จะทรงใช้พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐานซึ่งเป็นที่ประทับส่วนพระองค์หรือเป็นบ้านของ พระองค์เป็นสถานที่ทดลอง ถ้าโครงการใดมีปัญหาหรือมีอุปสรรคก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหน้าที่

๑๙ กราบบังคมทูลให้ทรงทราบ ถ้าทดลองแล้ว เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ก็ จ ะ ท ร ง ดำ � เ นิ น ก า ร ต า ม พ ร ะ ร า ช ดำ � ริ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดำ � ริ ทั้ ง ป ว ง ก็ เ พื่ อ ใ ห้ ประชาชนพึ่งพาตนเองได้อย่างค่อยเป็นค่อยไป และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเชี่ยวชาญทั้งด้านศาสตร์และศิลป์ ทรงใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์เป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ในการสร้างการเรียนรู้เพื่อให้ประชาชน พึ่งพาตนเองได้อย่างค่อยเป็นค่อยไปและพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน พระองค์ได้พระราชทานพระราชดำ�ริ ให้จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริขึ้นตามภูมิภาคต่างๆ จำ�นวน ๖ ศูนย์ทั่วประเทศ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริเป็นโครงการที่ทรงใช้หลักการของการพัฒนาที่ต้องเป็น ไปตามลำ�ดับขั้นตอน และคำ�นึงถึงสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์และสังคมวิทยาของแต่ละท้องถิ่นที่มี ความแตกต่างกัน โดยมีจุดประสงค์ในการส่งเสริมความรู้และเทคโนโลยีอันทันสมัย เรียบง่าย และประหยัด สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของราษฎร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริจึงนับเป็นแหล่ง รวมศาสตร์ต่างๆ ของพระราชา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ มีหน้าที่ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เปรียบเสมือนพิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติที่มีชีวิตและเป็นต้นแบบของความสำ�เร็จที่จะเป็นแนวทางและตัวอย่างของผลสำ�เร็จให้แก่พื้นที่ อื่นๆ โดยรอบที่ทำ�การศูนย์ได้ทำ�การศึกษา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ใช้แนวความคิดแบบสหสาขาวิชา ใช้ความรู้ หลากหลายสาขามาประสมประสานกันในการพัฒนาพื้นที่และอาชีพ ทั้งด้านการเกษตร ปศุสัตว์ ประมง ชลประทาน ป่าไม้ ตลอดจนการพัฒนาทางด้านสังคม อาชีพเสริมและศิลปาชีพ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ เมื่อผู้สนใจเข้าไปศึกษาดูงาน จะได้รับความรู้และประสบการณ์ในทุกเรื่อง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ได้ขยายผลการพัฒนาผ่านกาลเวลาจนก่อเกิดความสำ�เร็จในทุกภูมิภาค อาจกล่าวได้ว่าเป็นการพลิกฟื้นผืนแผ่นดินครั้งใหญ่ให้กลับคืนสู่ความสมบูรณ์ เป็นต้นแบบของการฟื้นฟู ทรัพยากรดิน นํ้า และป่าไม้ ด้วยความเพียรและการร่วมแรงร่วมใจกันของราษฎรและหน่วยงานทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ สร้างองค์ความรู้และเป็นมรรควิธีของพระราชาในการช่วยเหลือราษฎร ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างสมบูรณ์ ศาสตร์ของพระราชาอันได้แก่ องค์ความรู้ที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ และ ผ่านศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เป็นผลของการทรงงานอย่างหนักตลอดรัชสมัย

๒๐ ของพระองค์ ในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีหลักในการพัฒนา ๓ ขั้นตอน ได้แก่ หลักคิด คือเป้าหมายในการทรงงาน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หลักทฤษฎี คือ แนวคิดและทฤษฎีที่ได้มีการทดสอบและพิสูจน์แล้ว และได้พระราชทานสู่การปฏิบัติจริง และหลักปฏิบัติ คือ ขั้นตอนของการดำ�เนินงานโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ในการดำ�เนินโครงการได้พระราชทานหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” เข้าใจ คือ เข้าใจสภาพภูมิประเทศและมนุษย์ เข้าถึง คือ เข้าถึงภูมิสังคมและข้อมูล เพื่อให้การสร้างสรรค์นั้นตอบสนองความต้องการของประชาชน และพัฒนา คือ กำ�หนดเป็นแนวทาง การพัฒนาด้วยความรู้และภูมิปัญญาที่ไม่จำ�กัดอยู่เพียงมิติใดมิติหนึ่ง รวมถึงการทดลองและปรับปรุง จนได้ผลลัพธ์ที่ยั่งยืนและประยุกต์ใช้ได้ไม่รู้จบ ในการพัฒนาประเทศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงยึดผลประโยชน์ ของประชาชนเปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ในการทรงงานเพอ่ื พสกนกิ รของพระองค์ ตลอดระยะเวลาแหง่ การครองสริ ริ าชสมบตั ิ พระองค์ทรงมีหลักการทรงงานดังนี้ คือ ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำ�ตามลำ�ดับขั้นตอน มีวิธีคิดแบบ องค์รวม ทำ�ให้ง่าย ไม่ยึดติดตำ�รา แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ระเบิดจากข้างใน คือ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนที่จะเข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน ประหยัด เรียบง่าย และได้ประโยชน์สูงสุด การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการดำ�เนินงาน ความเพียร ปลูกป่าในใจคน คือ ให้ประชาชนมีสำ�นึกเรื่องการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ ประโยชน์ส่วนรวม ขาดทุน คือ กำ�ไร หมายความว่า การเสียคือการได้ การให้และการเสียสละเป็นการกระทำ�อันก่อให้เกิด ผลกำ�ไร คือ ความอยู่ดีมีสุขของราษฎร บริการรวมที่จุดเดียว ทำ�งานอย่างมีความสุข และสุดท้ายแต่สำ�คัญ ไมน่ อ้ ยไปกวา่ กนั คอื รู้ รกั สามคั คี รู้ คอื รปู้ จั จยั ทง้ั หมด รปู้ ญั หา รวู้ ธิ กี ารแกป้ ญั หา รกั คอื รกั ทจ่ี ะลงมอื ปฏบิ ตั ิ สามัคคี คือ ร่วมมือร่วมใจกันทำ�งานให้สำ�เร็จลุล่วง ในด้านกฎหมายที่ใช้ในการปกครองประเทศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเข้าถึงแก่นแท้และจิตวิญญาณของกฎหมายอย่างแท้จริง กฎหมายมีไว้เพื่อผดุงความยุติธรรมและ สร้างความผาสุกแก่ประชาชน การบัญญัติกฎหมายจึงต้องเป็นไปตามสภาพความเป็นจริงของบ้านเมือง และชีวิตของคนในบ้านเมือง พระองค์ทรงมองมิติของกฎหมายตามความเป็นจริง ทรงเน้นความสำ�คัญของ หลักความยุติธรรม อีกทั้งต้องพิจารณาศีลธรรมจรรยา ตลอดจนเหตุและผลตามความเป็นจริงประกอบด้วย ดงั พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานประกาศนยี บตั ร แกผ่ สู้ อบไลไ่ ดว้ ชิ าความรชู้ น้ั เนตบิ ณั ฑติ ยสภา สมยั ท่ี ๓๓ ณ อาคารใหม่สวนอมั พรเมอ่ื วนั ท่ี๒๙ตลุ าคมพ.ศ.๒๕๒๔ ความวา่ “...กฎหมายนน้ั ไมใ่ ชต่ วั ความยตุ ธิ รรมเปน็ แตเ่ พยี ง

๒๑ เครื่องมืออย่างหนึ่ง สำ�หรับใช้ในการรักษาและ อำ�นวยความยุติธรรมเท่านั้น การใช้กฎหมายจึงต้อง มุ่งหมายใช้เพื่อรักษาความยุติธรรม ไม่ใช่เพื่อรักษา ตัวบทของกฎหมายเอง และการรักษาความยุติธรรม ใ น แ ผ่ น ดิ น ก็ มิ ไ ด้ มี ว ง แ ค บ อ ยู่ เ พี ย ง แ ค่ ข อ บ เ ข ต ของกฎหมาย หากต้องขยายออกไปให้ถึงศีลธรรม จรรยาตลอดจนเหตุและผลตามความเป็นจริงด้วย...” กฎหมายเป็นเพียงเครื่องมือในการรักษาความยุติธรรม ไม่ใช่ความยุติธรรม หลักการใช้กฎหมายควรให้ ความยุติธรรมอยู่เหนือกฎหมาย ไม่ใช่ใช้กฎหมายเพื่อรักษาตัวบทของกฎหมาย นอกจากนี้ ในการใช้กฎหมาย จำ�เป็นต้องคำ�นึงถึงหลักนิติศาสตร์ควบคู่ไปกับรัฐศาสตร์ ดังพระราชดำ�รัสพระราชทานแก่คณะกรรมการ จัดงานวันนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๒ ความว่า “...ถ้าเราจะปกครองหรือช่วยให้บ้านเมืองมีความสงบสุข เรียบร้อย เราจะปฏิบัติ ตรงตามกฎหมายทั้งหมดไม่ได้ จะต้องคำ�นึงถึงหลักนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ไปพร้อมๆ กัน ต้องอยู่ด้วย ความอะลุ่มอล่วย ไม่กดขี่ซึ่งกันและกัน...” ในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีแนวพระราชดำ�ริว่า ต้องพัฒนาคนเสียก่อน วิธีพัฒนาคนต้องสอนให้ราษฎรรู้จักวิธีทำ�มาหากินด้วยตนเอง รู้จักการประกอบอาชีพที่สามารถเลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืน ดังพระราชดำ�รัสพระราชทานไว้ เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ ความว่า “...เราไม่ควรให้ปลาแก่เขา แต่ควรจะให้เบ็ดตกปลาและสอนให้รู้จักวิธี ตกปลาจะดีกว่า...” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไม่เคยมีพระราชดำ�ริ ให้ประชาชนมุ่งหวังความมั่งคั่งรํ่ารวย ไม่เคยรับสั่งเรื่องทำ�อย่างไรจึงจะรวย ในทางตรงกันข้ามพระองค์ พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอันเป็นแนวทางการพัฒนาคนและพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน บนพื้นฐานของทางสายกลาง ความมีเหตุผล ความไม่ประมาท และคุณธรรม พระองค์ทรงมุ่งให้ประชาชนและ ประเทศชาติสร้างรากฐานที่มั่นคงเสียก่อน เมื่อมีรากฐานที่มั่นคงแล้ว ก็จะสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้า และพัฒนาในระดับสูงขึ้นไปได้ พระองค์มีพระราชประสงค์ให้ราษฎร “พออยู่ พอกิน” การ “พออยู่ พอกิน” จะช่วยปูพื้นฐานไปสู่การ “อยู่ดี กินดี” เมื่อราษฎรและประเทศชาติ “อยู่ดี กินดี” ก็จะสามารถสร้างความเจริญ ก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไปได้ พระองค์ทรงเปรียบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคง ของแผ่นดิน เป็นเสมือนเสาเข็มที่รองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้ให้มั่นคง เมื่อบ้านมีเสาเข็มที่มั่นคงแข็งแรง บ้านก็จะตั้งอยู่ได้อย่างถาวร ผู้คนในบ้านก็จะมีความมั่นคงในชีวิตและสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้า ในชีวิต และมีความสุขสมบูรณ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชวินิจฉัยว่า คนจะมีความสุข ต้องมีความพอเพียง ความพอเพียงทำ�ให้ไม่โลภ ไม่คิดผิด ไม่ทำ�ผิด คิดและกระทำ�การอย่างมีเหตุผลและ

๒๒ มคี ณุ ธรรม ความพอเพยี งจะน�ำ มาซง่ึ ความสขุ กายและสขุ ใจ ดงั พระราชด�ำ รสั พระราชทานไวเ้ มอ่ื วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๔๑ ความว่า “...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียน คนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำ�อะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณไมส่ ดุ โตง่ ไมโ่ ลภอยา่ งมากคนเรากอ็ ยูเ่ ปน็ สขุ ...” พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทรงสอนเรื่องความพอเพียงด้วยการกระทำ� คือด้วยพระจริยวัตรและการปฏิบัติพระองค์ ความผาสุกของพสกนิกร คือ พระราชประสงค์หลักของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระองค์ทรงอุทิศตลอดพระชนมชีพของพระองค์พัฒนาคนไทยและประเทศไทย ชัยชนะ ของการพัฒนาของพระองค์ คือ การอยู่ดีกินดีของประชาชน ชีวิตของพระองค์ คือ ชีวิตแห่งการให้ และการบำ�เพ็ญประโยชน์ในทุกๆ วัน ไม่มีวันใด ทจ่ี ะวา่ งเวน้ จากการทรงงาน แมใ้ นยามทรงพระประชวร พระองค์ทรงให้โดยไม่หวังผลตอบแทน ทรงยึดหลักว่า “ขาดทุน คือ กำ�ไร” (“Our loss is our gain.”) การเสีย คือ การได้ ขาดทุนส่วนพระองค์เป็นกำ�ไรของประชาชน ถ้าการให้และการเสียสละของพระองค์ทำ�ให้ประชาชน อยู่ดีมีสุข การที่พสกนิกรอยู่ดีมีสุขถือเป็นการได้ ที่มีคุณค่าเหลือคณานับ ไม่อาจคิดเป็นเงินทองได้ ตลอดพระชนมชีพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงได้รับการถวายราชสดุดี การทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ รางวัลเกียรติยศ และรางวัลสดุดีพระเกียรติคุณมากมาย ทั้งในระดับประเทศ ระดับนานาชาติ และระดับโลก แต่รางวัลที่ทรงคุณค่าที่สุดของพระองค์ คือ การที่ราษฎรอยู่ดีมีสุข ตลอดพระชนมชีพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร คือ การเดินทาง การเดินทางจากประเทศสหรัฐอเมริกา สถานที่เสด็จพระราชสมภพมาสู่เมืองไทย จากเมืองไทยไปสู่ประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ สถานที่ประทับที่ทรงคุ้นเคยและผูกพันยาวนานถึง ๑๙ ปี และจากประเทศสวิสเซอร์แลนด์ กลับสู่ประเทศไทย ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีแห่งการครองสิริราชสมบัติ นับเป็นการเดินทางอันยาวนาน และยากยิ่ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จฯ ไปทั่วทุกภูมิภาค ทั่วทุกจังหวัดในราชอาณาจักรไทย จากทิศเหนือจรดทิศใต้ จากทิศตะวันออกจรดทิศตะวันตก เสด็จไปในที่ราบลุ่ม ที่ราบสูง เนินเขา ภูเขา เทือกเขา หุบเขา ห้วย บึง หนอง คลอง ลำ�ธาร แม่นํ้า ทะเล ทุ่งหญ้า ป่าโปร่ง ป่ารกชัฏ ถนนลูกรัง ถนนทางเกวียน ถนนลาดยาง ที่แห้งแล้ง ที่ทุรกันดาร พื้นที่อันตราย รวมทั้งที่ที่ยังไม่มีเจ้าหน้าที่ของรัฐได้เข้าไปถึง จุดประสงค์ของการเดินทางมิใช่ ที่จุดหมายปลายทาง หากแต่เป็นพระราชปณิธานอันแน่วแน่ที่จะเสด็จฯ ไปให้ถึงพสกนิกรของพระองค์

๒๓ ทรงรอนแรม ทรงตรากตรำ� แต่ไม่ทรงย่อท้อ ไม่ทรงท้อถอย ทั้งนี้ เพื่อเข้าไปทอดพระเนตรด้วยพระองค์เองว่า ราษฎรมีความเป็นอยู่สุขทุกข์อย่างไร จากการทรงงานอย่างหนัก พระราชาพระองค์นี้ได้ทรงเปลี่ยนพื้นที่ทุรกันดารให้เข้าถึงได้ ทรงเปลี่ยน พื้นที่แห้งแล้งกันดารให้เป็นพื้นที่ทำ�มาหากิน ทรงเปลี่ยนภูเขาหัวโล้นให้เป็นผืนป่าต้นนํ้า ทรงเปลี่ยนไร่ฝิ่น ให้เป็นไร่พืชผัก ไม้ดอก และไม้ผลเมืองหนาวของโครงการหลวง ทรงเปลี่ยนการทำ�ไร่เลื่อนลอยให้เป็น การทำ�เกษตรทฤษฎีใหม่ ทรงเปลี่ยนผลผลิตด้อยค่าให้เป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพสูง ทรงเปลี่ยน ความแห้งแล้งไร้ความหวังให้เป็นความชุ่มชื้นเขียวขจี และทรงเปลี่ยนความยากจนให้สามารถ พึ่งพาตนเองได้ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นํ้าที่เคยแล้งได้กลายเป็นอ่างเก็บนํ้า ดินที่เคยเลว เคยแร้นแค้นได้กลายเป็นดินอุดม ฝนที่เคยแล้งได้กลายเป็นฝนหลวงโปรยปรายให้ ความชุ่มชื้นไปทั่วหล้า พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเปลี่ยนชีวิต และความเป็นอยู่ของพสกนิกรจากยากไร้ให้เป็นพอมี พอกิน และต่อมาก็กินดี อยู่ดี พร้อมที่จะก้าวไปข้างหน้า ด้วยความหวังและกำ�ลังใจจากนํ้าพระราชหฤทัยของ พระองค์ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริกว่า ๔,๐๐๐ โครงการเปรียบประดุจสายธารที่รินไหลไปทั่วทุกสารทิศในผืนแผ่นดินไทย ๗๐ ปี ภายใต้ ร่มพระบรมโพธิสมภาร ผลแห่งการทรงงานได้เบ่งบานผลิดอกออกผลไปทั่วผืนแผ่นดินไทย นี่คือรูปธรรม ที่ทรงเพียรสร้างความสุขให้แก่ราษฎรต่างรุ่น ต่อลูก สืบหลาน ในผืนแผ่นดินนี้ ไม่มีใครรักคนไทยเท่าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ไม่มีใครรักเมืองไทยเท่าพระราชาพระองค์นี้ ไม่มีใครทำ�งานหนักและนานให้ประเทศไทยเท่าพระราชา พระองค์นี้ ไม่มีใครได้ย่างก้าวไปเกือบทุกตารางนิ้วบนผืนแผ่นดินไทยเฉกเช่นพระราชาพระองค์นี้ นี่คือพระราชปณิธาน พระราชวิริยะอุตสาหะ พระสติปัญญา และนํ้าพระราชหฤทัยห่วงใยพสกนิกร ของพระองค์ การเสด็จสวรรคตของพระองค์เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ได้นำ�มาซึ่งความโทมนัส ไปทั่วผืนแผ่นดินไทยประหนึ่งแสงอาทิตย์ได้ลาลับขอบฟ้าไปและไม่หวนคืนกลับมา แม้พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคตแล้ว สายใยแห่งความรักและความผูกพัน ระหว่างพระราชาผู้ประเสริฐกับปวงชนชาวไทยยังคงตราตรึงอยู่ในหัวใจไทยทั้งมวล ศาสตร์ของพระราชา ที่ได้พระราชทานให้ไว้จะยังคงอยู่คู่ผืนแผ่นดินไทย เป็นดวงประทีปส่องทางสู่ความสุขสมบูรณ์ไปอีก ตราบนานเท่านาน



โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริด้าน ทรัพยากรนํ้า เกิดจากปัญหาการขาดแคลนน้ําและอุทกภัย เพราะนํ้าเป็นปัจจัยหลั ก ข อ ง ม นุ ษ ย์ แ ล ะ ส่ิ ง มี ชี วิ ต จึงมีพระราชด�ำ ริในการสร้างโครงการอ่างเก็บน้ํา และโครงการฝนหลวง โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้านทรัพยากรนํ้า

¨Ò¡¹ÀÒ ‹¼ Ò ¹ ÀÙ ¼ Ò Ù‹ÊÁËÒ¹ Õ· ¡ Ò Ã º ÃÔ Ë Ò Ã ¨Ñ ´ ¡ Ò Ã · ÃÑ ¾ Â Ò ¡ à ¹éí Ò á º º Í § ¤ Ã Ç Á áÅÐ໚¹Ãкº àªè×ÍÁ⧠á Å Ð ÂÖ ´ Ê À Ò ¾ ¤ Ç Ò Á à »š ¹ ¨ ÃÔ § ¢ Í § ÅÑ ¡ É ³ Ð ÀÙ ÁÔ » Ã Ð à · È á ÅÐÀÙÁÔÊѧ¤Á

โครงการ ด้านทรัพยากรนํ้า หลักสําคัญว่าต้องมีน้ําบริโภค อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ นํ้าใช้นํ้าเพ่ือการเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีนํ้า คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้ํา คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้า ไม่มีนํ้า คนอยู่ไม่ได้ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช บรมนาถบพิตร ทรงเห็นความสําคัญของน้ําว่า “น้ําคือชีวิต” พระองค์จึงได้ทรงคิดหาวิธีบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พ ร ะ อ ง ค์ มี ก ร ะ แ ส พ ร ะ ร า ช ดํ า รั ส ณ พ ร ะ ตํ า ห นั ก จิตรลดารโหฐาน เม่ือวันท่ี ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๙ ความตอนหน่ึงว่า “...หลักสําคัญว่าต้องมีน้ําบริโภค นํ้ า ใ ช้ นํ้ า เ พื่ อ ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก เ พ ร า ะ ว่ า ชี วิ ต อ ยู่ ที่ นั่ น ถ้ามีน้ํา คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน้ํา คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้า ค น อ ยู่ ไ ด้ แ ต่ ถ้ า มี ไ ฟ ฟ้ า ไ ม่ มี น้ํ า ค น อ ยู่ ไ ม่ ไ ด้ ...” ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พระองค์ทรงมีวิธีคิด อ ย่ า ง อ ง ค์ ร ว ม ท ร ง ม อ ง เ ห ตุ ก า ร ณ์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น อ ย่ า ง เชื่อมโยง ทรงศึกษา ค้นคว้าและหาแนวทางปฏิบัติ ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ ท ร ง บ ริ ห า ร จัดการน้ําในรูปแบบท่ี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา สรุปว่า “จากนภา ผ่านภูผา สู่มหานที” โดยบนฟ้าทรงนําน้ํามาให้ใช้ได้แก่ ฝนหลวง บนเขา ทรงให้มีการอนุรักษ์ต้นน้ําลําธารโดยสร้างฝายเก็บกักน้ํา

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๒๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า เ ม่ื อ น้ํ า เ อ่ อ ล้ น ฝ า ย จ ะ ไ ห ล ล ง ม า กั ก เ ก็ บ น้ํ า อ ยู่ ใ น แหล่งเก็บน้ํ าท่ีทรงให้สร้างสําหรับอุปโภคบริโภคเพ่ือ การเพาะปลูกและเล้ียงสตั ว์ ยามน้ําท่วมก็พระราชทาน แก้มลิงเป็นที่รองรับน้ํา เม่ือระดับนํ้าทะเลลดต่ําก็ ระบายออกสู่ทะเล ในการพัฒนาแหล่งน้ํา ทรงยึดถือ ส ภ า พ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ข อ ง ภู มิ สั ง ค ม คื อ “ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ” ซ่ึ ง ก็ คื อ ลั ก ษ ณ ะ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สภาพแวดล้อมและสังคม คือ “คน” โดยต้องคํานึงถึง วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน น้ันๆ ด้วย จุดประสงค์หลักในการทําโครงการพัฒนา แหล่งน้ํา คือ เมื่อทําแล้วราษฎรได้ประโยชน์ และ มี พ ร ะ บ ร ม ร า โ ช บ า ย มุ่ ง ห วั ง ใ ห้ ร า ษ ฎ ร มี ส่ ว น ร่ ว ม กั บ รั ฐ บ า ล ต้ั ง แ ต่ เ ร่ิ ม โ ค ร ง ก า ร จ น ก ร ะ ท่ั ง เ ส ร็ จ ส ม บู ร ณ์ ในลักษณะท่ีร่วมกันคิด ร่วมกันทํา ร่วมกันกําหนด อี ก ท้ั ง ใ ห้ ร า ษ ฎ ร ช่ ว ย เ ห ลื อ เ ก้ื อ กู ล กั น ภ า ยใ น สั ง ค ม ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม ห ว ง แ ห น ที่ จ ะ ต้ อ ง ดู แ ล บํ า รุ ง รั ก ษ า สิ่ ง ก่ อ ส ร้ า ง น้ั น ต่ อ ไ ป ด้ ว ย

โครงการ ๒๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช บรมนาถบพิตร ทรงคิดค้นวิธีการในการแก้ไขปัญหา ก า ร ข า ด แ ค ล น น้ํ า ใ น รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร น้ํ า ผิวดิน และการจัดการนํ้าในบรรยากาศ โดยการทํา ฝนหลวงซ่ึงเป็นการช่วยเหลือเม่ือเกิดภัยแล้ง ในการทํา ฝนหลวงทรงใช้เวลาศึกษาทดลองถึง ๑๔ ปี ทรงให้ ข้อคิดว่า การวิจัยและค้นคว้าทดลองเป็นสิ่งสําคัญ ที่ ต้ อ ง ดํ า เ นิ น ก า ร อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง ไ ป ไ ม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด อย่าท้อใจต่อข้อวิพากษ์วิจารณ์ ให้มุ่งม่ันพัฒนาต่อไป โ ด ย ใ ห้ ร ว บ ร ว ม ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แล้วบันทึกไว้เป็นตํารา หลังจากเทคโนโลยีฝนหลวง ประสบความสําเร็จ ทรงประดิษฐ์แผนภาพประมวล ข้ั น ต อ น ก ร ร ม วิ ธี ฝ น ห ล ว ง ท้ั ง ๖ ข้ั น ต อ น ไ ว้ ใ น กระดาษ ๑ หน้าพระราชทานแก่ผู้เก่ียวข้องใช้เป็น ตํ า ร า ฝ น ห ล ว ง จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๓๐ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า “...เรื่องน้ําน้ีก็เป็นปัจจัยหลักของมวลมนุษย์ ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง แม้สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย ท้ังสัตว์ ทั้งพืชก็ต้องมีน้ํา ถ้าไม่มีก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่านํ้าเป็นส่ือหรือเป็นปัจจัยสําคัญ ของการเป็นส่ิงมีชีวิต... ท่ีกล่าวถึงข้อน้ีก็จะได้ให้ทราบถึงว่า ทำ�ไมการพัฒนาขั้นแรกหรือสิ่งแรกท่ีนึกถึง ก็คือทําโครงการชลประทาน แล้วก็โครงการส่ิงแวดล้อมทําให้น้ําดี ”สองอย่างนี้ อ่ืนๆ ก็จะไปได.้ .. พระราชดำ�รัสที่ได้พระราชทานแก่คณะบุคคล ที่มาเฝ้าฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๒

โครงการ ๓๑ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า โครงการพระราชดำ�ริด้านทรัพยากรนํ้า ไม่ได้ เพราะว่านํ้าเป็นสื่อหรือเป็นปัจจัยสำ�คัญของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การเป็นสิ่งมีชีวิต... ที่กล่าวถึงข้อนี้ก็จะได้ให้ทราบ บรมนาถบพิตร สนพระราชหฤทัยในเรื่อง ถึงว่าทำ�ไมการพัฒนาขั้นแรกหรือสิ่งแรกที่นึกถึงก็คือ การชลประทานมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ จนนำ�มา ทำ�โครงการชลประทานแล้วก็โครงการสิ่งแวดล้อม ซึ่งความผูกพันกับ “นํ้า” พระองค์ได้ทรงเล่า ทำ�ให้นํ้าดี สองอย่างนี้ อื่นๆ ก็จะไปได้...” พ ร ะ ร า ช ท า น แ ก่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ก ร ม ช ล ป ร ะ ท า น ที่ได้เข้าเฝ้าฯ ว่า ทรงขุดทรายบริเวณชายหาด “...ปัญหาเร่ืองภัยแล้งน้ี ดูจะเป็นปัญหาท่ีแก้ไม่ได้ หน้าพระตำ�หนักที่ประทับ ณ วังไกลกังวล อำ�เภอ หมู่น้ีก็พูดกันอย่างเสียขวัญอีกว่า หวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์จนกลายเปน็ บอ่ นา้ํ เลก็ ๆ และทรงเปรียบบ่อนํ้าที่ทรงขุดนั้นเป็นอ่างเก็บนํ้า อีกหน่อยจะต้องปันส่วนน้ําหรือแม้จะต้อง ขนาดเล็ก ทรงเฝ้าคอยเวลาเมื่อนํ้าทะเลมีระดับสูงขึ้น ตัดนํ้าประปาอันนี้สำ�หรับกรุงเทพฯ นํ้าก็จะไหลเข้าไปขังอยู่จนเต็มอ่างเก็บนํ้าเล็กๆ เวลา ที่ระดับนํ้าทะเลลดตํ่าลง อ่างเก็บนํ้าของพระองค์ก็จะ ฉะนั้น ต้องหาทางแก้ไข เพื่อแก้ไขปัญหานี้ เต็มไปด้วยนํ้าจากนั้นจะทรงขุดคูส่งนํ้าขนาดเล็ก ได้วางแผนมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ต่อจากอ่างเก็บนํ้า เพื่อส่งนํ้าให้กระจายไปตามพื้นที่ ทรายทร่ี ว่ นซยุ ทรงพระส�ำ ราญยง่ิ ในการทอดพระเนตร ถ้าหากว่าได้ปฏิบัติตามแผนนั้นแล้ววันน้ีก็ พฤติกรรมของนํ้าที่ไหลออกจากอ่างเก็บนํ้าไปตาม ไม่ต้องพูดถึงการขาดแคลนน้ํา คูส่งนํ้าแต่ละสายที่ทรงขุดขึ้น โครงการโดยเฉพาะนั้นก็มี แล้วโครงการนั้นได้ยืนยันมาเมื่อเดือนท่ีแล้ว เมื่ออยู่ที่นราธิวาส ได้วางโครงการที่แม้จะยัง ไม่แก้ปัญหาปีนี้หรือปีหน้า แต่ถ้าทำ�อย่างดี ในประมาณ ๕ หรือ ๖ ปี ปัญหานํ้าขาดแคลน ในกรุงเทพฯ จะหมดไปโดยส้ินเชิง...” พระราชดำ�รัส เรื่อง นํ้า เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๖ นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดำ�ริ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๙ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำ�เนิน ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ “นํ้า” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไปทรงเยี่ยมและพระราชทานความช่วยเหลือแก่ ปัญหาการขาดแคลนนํ้า อันนำ�ไปสู่การเกิดภัยแล้ง ราษฎรในพื้นที่ต่างๆ ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ใหแ้ กห่ นว่ ยราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ งรวมทง้ั กรมชลประทาน ทรงพบว่า นํ้าเป็นปัญหาและอุปสรรคสำ�คัญใน ที่มีภารกิจหลักในการพัฒนาแหล่งนํ้า นำ�ไปพิจารณา การดำ�รงชีวิตของราษฎร ดังกระแสพระราชดำ�รัสที่ได้ ศึกษาและดำ�เนินการก่อสร้างโครงการ จนปรากฏเป็น พระราชทานแก่คณะบุคคล ที่มาเฝ้าทูลละออง โครงการพัฒนาแหล่งนํ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ธุลีพระบาท ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา กระจายในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศจำ�นวนมาก พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ความตอนหนึ่งว่า “...เรื่องนํ้านี้ก็เป็นปัจจัยหลักของ บรมนาถบพิตร ได้มีกระแสพระราชดำ�รัส เรื่อง นํ้า มวลมนุษย์ ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง แม้สิ่งที่มีชีวิต เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ทั้งหลายทั้งสัตว์ ทั้งพืชก็ต้องมีนํ้า ถ้าไม่มีก็อยู่ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๖ ความตอนหนึ่งว่า

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๓๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดลพบุรี “...ปัญหาเรื่องภัยแล้งนี้ ดูจะเป็นปัญหาที่แก้ไม่ได้ โครงการน้ี คือ สร้างอ่างเก็บนํ้า ๒ แห่ง หมู่นี้ก็พูดกันอย่างเสียขวัญอีกว่าอีกหน่อยจะต้อง แห่งหนึ่ง คือ ท่ีแม่นํ้าป่าสัก ปันส่วนนํ้าหรือแม้จะต้องตัดนํ้าประปา อันนี้สำ�หรับ อีกแห่งหน่ึงท่ีแม่นํ้านครนายก กรุงเทพฯ ฉะนั้น ต้องหาทางแก้ไข เพื่อแก้ไขปัญหานี้ ไดว้ างแผนมาเปน็ เวลาหลายปแี ลว้ ถา้ หากวา่ ไดป้ ฏบิ ตั ิ สองแห่งรวมกันจะเก็บน้าํ เหมาะสมพอเพียง ตามแผนนน้ั แลว้ วนั นก้ี ไ็ มต่ อ้ งพดู ถงึ การขาดแคลนนา้ํ สำ�หรับการบริโภค การใช้ในเขตกรุงเทพฯ โครงการโดยเฉพาะนั้นก็มี แล้วโครงการนั้นได้ยืนยัน มาเมื่อเดือนที่แล้ว เมื่ออยู่ที่นราธิวาส ได้วางโครงการ และเขตใกล้เคียงในที่ราบลุ่ม ที่แม้จะยังไม่แก้ปัญหาปีนี้หรือปีหน้า แต่ถ้าทำ�อย่างดี ของประเทศไทยน้ี ในประมาณ ๕ หรือ ๖ ปี ปัญหานํ้าขาดแคลนใน กรุงเทพฯ จะหมดไปโดยสิ้นเชิง ข้างหน้าเราสบาย และถ้าไม่ทำ� ๕ – ๖ ปีข้างหน้า ราคาค่าก่อสร้างค่าดำ�เนินการก็จะขึ้นไป ๒ เท่า ๓ เท่า อาจจะนึกว่า ๕ – ๖ ปีนี้นาน ความจริงไม่นาน ลงท้ายก็จะต้องประวิงต่อไป และเมื่อประวิงต่อไป แล้วระหว่างนี้เราก็ต้องพยายามแก้ไขเฉพาะหน้าไป ก็จะไม่ได้ทำ� เราก็จะต้องอดนํ้าแน่ จะกลายเป็น เรื่อยๆ แต่ถ้ามีความหวังว่า ๕ - ๖ ปี ปัญหานี้หมดไป ทะเลทราย แล้วเราจะอพยพไปไหนก็ไม่ได้ ก็คงมีกำ�ลังใจที่จะฟันฝ่าชีวิตต่อไป ที่ว่า ๕ – ๖ ปีนี้ ความจริงได้เริ่มโครงการนี้มามากกว่า ๕ – ๖ ปีแล้ว โครงการนี้ คือ สร้างอ่างเก็บนํ้า ๒ แห่ง แห่งหนึ่ง คือ โครงการที่คิดจะทำ�นี้บอกได้ว่าไม่กล้าพูดมาหลายปี ที่แม่นํ้าป่าสัก อีกแห่งหนึ่งที่แม่นํ้านครนายก สองแห่ง แล้วเพราะเกรงว่าจะมีการคัดค้านจากทั้งผู้เชี่ยวชาญ รวมกนั จะเกบ็ นา้ํ เหมาะสมพอเพยี งส�ำ หรบั การบรโิ ภค ทั้งเหล่านักต่อต้านการทำ�โครงการ แต่โครงการนี้ การใช้ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคียงในที่ราบลุ่ม เป็นโครงการที่อยู่ในวิสัยที่จะทำ�ได้ แม้จะต้องเสีย ของประเทศไทยนี้...” คา่ ใชจ้ า่ ยไมใ่ ชน่ อ้ ยแตก่ ถ็ า้ ด�ำ เนนิ ไปเดยี๋ วนอ้ี กี ๕–๖ปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงติดตามความก้าวหน้า ในการดำ�เนินงานทั้งโครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

โครงการ ๓๓ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า อนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริซ่งึ กกั เกบ็ น้าํ จากแมน่ ้าํ ปา่ สกั โครงการเข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิอันเน่ืองมาจาก และโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ พระราชดำ�ริ ซึ่งกักเก็บนํ้าจากแม่นํ้านครนายก ดังกระแสพระราชดำ�รัสที่ได้พระราชทาน ในโอกาส ขั้นตอนการวางโครงการ วันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม กรมชลประทาน ได้เริ่มทำ�การสำ�รวจพื้นที่เพื่อศึกษา พ.ศ.๒๕๓๗ ความตอนหนึ่งว่า “...อันนี้ก็ได้พูดถึง โครงการเขื่อนเก็บกักนํ้า แม่นํ้าป่าสัก จังหวัดลพบุรี ที่ท่านนายกฯ ได้กล่าวถึงกิจการที่ได้นำ�มาส่วนหนึ่ง จังหวัดสระบุรี มาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๘ ต่อมาในวันที่ อื่นๆ ก็ยังมีมาก อย่างเช่นที่ว่าที่พูดปีที่แล้วเรื่อง ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จ โครงการพัฒนาลุ่มนํ้าป่าสัก แม่นํ้านครนายก พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และปากพนังว่า ปีนี้ก็น่ายินดีที่เริ่มลงมือเสียที ได้พระราชทานพระราชดำ�ริ ให้กรมชลประทาน เมื่อลงมือได้แต่ก็ยังต้องมีอุปสรรคที่เราต้องฟันฝ่า ศึกษาความเหมาะสมของโครงการฯ อย่างจริงจัง อีกมากสำ�หรับแม่นํ้าป่าสักนี้ แต่ว่าหวังว่าภายในห้าปี และเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนจาก ถ้าไม่มีอุปสรรคร้ายแรง อีกห้าปีปัญหาเกี่ยวข้อง การขาดแคลนนํ้าและอุทกภัย กรมชลประทาน กับนํ้าแล้งหรือนํ้าขาดแคลนกับนํ้าท่วมจะบรรเทา รับสนองพระราชดำ�ริในการศึกษา และสรุปแนวทาง ไปมาก เข้าใจว่าบรรเทาไปแปดสิบเปอร์เซ็นต์ โครงการฯ นำ�เสนอต่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำ�ให้ประชาชนจำ�นวนเป็นแสนมีความสุขมากขึ้น เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี และได้รับอนุมัติให้ศึกษา โดยอาศัยโครงการป่าสักกับโครงการนครนายก รายละเอียดและความเหมาะสมของโครงการฯ และก็ต้องน่าชมเชยประชาชนและข้าราชการอย่าง โดยมอบให้สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายกและผู้ว่าราชการจังหวัด ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ลพบุรีปัจจุบัน ที่ได้ช่วยจัดให้ประชาชนเข้าใจและ (สำ�นักงาน กปร.) เป็นแกนกลางในการศึกษารวมทั้ง ร่วมมือในกิจการเหล่านี้...” ทำ�หน้าที่ประสานการวางแผนต่างๆ ด้วย

เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๓ คณะรัฐมนตรี ขั้นตอนการขออนุมัติเปิดโครงการ มีมติให้กรมชลประทาน จัดตั้งสำ�นักงานโครงการ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้เปิดโครงการฯ เมื่อวันที่ ๓ พัฒนาลุ่มนํ้าป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๗ โดยจะต้องดำ�เนินงาน เพื่อรับผิดชอบในการศึกษาความเหมาะสมและ ให้แล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๔๒ เพื่อให้ทันโอกาส ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยได้เริ่มงานตั้งแต่วันที่ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๕ แล้วเสร็จในเดือน บรมนาถบพติ ร ทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๗๒ พรรษา กันยายน พ.ศ.๒๕๓๖ จากนั้น ในวันที่ ๒๑ ธันวาคม ในวนั ท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๔๒ เนอ่ื งจากมรี ะยะเวลา พ.ศ.๒๕๓๖ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบผลการศึกษา ในการก่อสร้างจำ�กัด การดำ�เนินงานในด้านต่างๆ ความเหมาะสมของโครงการฯและใหน้ �ำ ผลการศกึ ษา จึงต้องดำ�เนินการไปพร้อมกัน อนึ่ง เพื่อให้ราษฎร ในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและแผนปฏิบัติ เข้าถึงจุดมุ่งหมายและประโยชน์ที่จะได้รับจาก การแกไ้ ขและพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม เสนอขอความเหน็ ชอบ การก่อสร้างโครงการฯ รวมทั้งแนวทางการแก้ไข จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ซึ่งได้รับ ผลกระทบที่เกิดขึ้นในทุกๆ ด้าน จึงได้มีคำ�สั่ง การเห็นชอบในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๗ สำ�นักนายกรัฐมนตรีท่ี ๑๓๘/๒๕๓๗ ลงวันท่ี ๒๓

โครงการ ๓๕ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า สภาพภูมิประเทศและ ภาพร่างฝีพระหัตถ์โครงการแก้มลิง ลำ�นํ้าสาขาในลุ่มนํ้า ป่าสัก พฤศจกิ ายนพ.ศ.๒๕๓๗แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ด้วยความรู้สึกรักชาติ เทิดทูนในพระมหากษัตริย์ โครงการพฒั นาลมุ่ นา้ํ ปา่ สกั อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ที่ทรงห่วงใยเอื้ออาทรในความทุกข์ยากของพสกนิกร เพื่อกำ�หนดนโยบายและแนวทางการดำ�เนินงาน ได้มีราษฎรกลุ่มแรกซึ่งมีที่ดินที่อยู่อาศัยและที่ทำ�กิน โดยคณะกรรมการบริหารฯ ได้จัดลำ�ดับความสำ�คัญ ในบรเิ วณทตี่ ง้ั ตวั เขอื่ น จ�ำ นวนทงั้ สน้ิ ๘๗ ราย ยนิ ยอม และขั้นตอนในการดำ�เนินงานเพื่อให้สามารถ ให้กรมชลประทานเข้าไปสำ�รวจและก่อสร้าง ปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาต่างๆ ซึ่งอยู่ในหน้าที่ ตัวเขื่อนได้ก่อนโดยไม่ทราบแม้สักนิดว่า จะได้รับ และความรบั ผดิ ชอบไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ ง การตอบแทนจากความเสียสละครั้งนี้เป็นจำ�นวนเงิน และเกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้งานก่อสร้างแล้วเสร็จบรรลุ ไร่ละเท่าไร เป็นผลทำ�ให้กรมชลประทานสามารถ ตามวัตถุประสงค์ภายในระยะเวลาที่กำ�หนด เริ่มงานก่อสร้างตัวเขื่อนได้ในวันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ขั้นตอนการจัดหาที่ดิน ปัญหาของการก่อสร้างโครงการพัฒนาลุ่มนํ้าป่าสัก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริมีพื้นที่ได้รับผลกระทบ บรมนาถบพติ ร ทรงมหี ลกั การทรงงานวา่ “...อยา่ ท�ำ ให้ จากการก่อสร้างโครงการ ประมาณ ๑๑๔,๑๑๙ ไร่ ราษฎรเดอื ดรอ้ น...อยา่ ใหม้ ใี ครหากนิ กบั โครงการน.้ี ..” เปน็ พน้ื ทต่ี งั้ หวั งานเขอื่ นและอาคารประกอบ ทแ่ี ตเ่ ดมิ แม้เพียงสั้นๆ แต่ชัดเจน ราษฎรทุกคนรู้สึกสำ�นึก พื้นที่บริเวณนี้ประกอบด้วยบ้านเรือน เรือกสวนไร่นา ในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อราษฎรผู้เสียสละ ของราษฎรที่ได้อยู่อาศัยกันมาเนิ่นนาน ในเขต ความรู้สึกนี้ได้ถ่ายทอดมาเป็นคำ�บอกเล่าที่ทุกคน บ้านหนองบัว อำ�เภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี และ จะจดจำ�รำ�ลึกไว้จนกว่าชีวิตจะหาไม่ นายพราหมณ์ บ้านคำ�พราน อำ�เภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี จำ�นวน วนิดา อายุ ๗๐ ปี หนึ่งในผู้ที่เสียสละได้เล่าว่า ประมาณ ๒,๕๐๐ ไร่ “บ้านเดิมอยู่ที่จังหวัดอยุธยา แต่อยู่ไม่ไหวแห้งแล้ง

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๓๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ขาดแคลนนํ้ามาก ทำ�นาทำ�ไร่อะไรก็ไม่ได้ผลจึงย้าย มาอยู่ที่จังหวัดลพบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๖ ที่นิคม สร้างตนเอง ต่อมาหลวงเอาที่คืนก็ย้ายมาอยู่ที่ บริเวณหน้าเขื่อนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๗ เร่ิมตั้งแต่ซื้อท่ี ประมาณ ๗ ถึง ๘ ไร่ ต่อมาซื้อเพิ่มอีกเป็น ๖๒ ไร่ ทำ�นาปลูกข้าวโพด การสร้างเขื่อนป่าสักนี่ได้ยิน ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๔ โดยฟังในหลวงพูด ใ น โ ท ร ทั ศ น์ ว่ า จ ะ ส ร้ า ง เ ขื่ อ น ป่ า สั ก เ พื่ อ จ ะ ไ ด้ มีนํ้าอุดมสมบูรณ์ นํ้าจะไม่ท่วมลพบุรี สระบุรี อยุธยา ปทุมธานี และกรุงเทพฯ จากนั้นอีก ๒ ปี ก็มี เจ้าหน้าที่เข้ามาเจาะสำ�รวจดิน” นายพราหมณ์ วนิดา รู้สึกสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ แม้ตนเองได้ย้าย แหล่งที่ทำ�กินมาหลายครั้ง แต่ก็ยินดี เต็มใจ และ ปลาบปลื้มที่ได้สละที่ดินของตนเองเพื่อก่อสร้าง โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ การก่อสร้างเขื่อนเก็บกักนํ้าแม่นํ้าป่าสัก จึงเกิดขึ้น และสำ�เร็จภายในระยะเวลาที่กำ�หนด ด้วยความตั้งใจ เสยี สละของราษฎร๘๗รายแรกซง่ึ สมควรแกก่ ารยกยอ่ ง สรรเสริญและเป็นแบบอย่างที่ดีสำ�หรับราษฎร ในภูมิภาคอื่นๆ ที่จะต้องมีการก่อสร้างโครงการ พัฒนาแหล่งนํ้าขนาดใหญ่ อันจะนำ�มาซึ่งประโยชน์ สำ�หรับประเทศชาติและราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ

โครงการ ๓๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดำ�ริ ให้กรมชลประทานศึกษาความเหมาะสมของ โครงการฯ อย่างจริงจัง และเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนจากการขาดแคลนนํ้าและอุทกภัย ขั้นตอนการก่อสร้างโครงการ งานก่อสร้างตัวเขื่อน เป็นเขื่อนดินถมแกนดินเหนียว การดำ�เนินงานของคณะอนุกรรมการก่อสร้าง ๒แบบ Zoned Type มีความยาว ๔,๘๖๐ เมตร ๑ด้านชลประทาน แบ่งการปฏิบัติงานออกเป็น ๒ ระยะ งานก่อสร้างระบบชลประทาน งานก่อสร้างเขื่อนหัวงาน ในพื้นท่ีเปิดใหม่ และอาคารประกอบ จำ�นวน ๔ โครงการ พร้อมงานส่วนประกอบอ่ืนๆ ระยะที่ ๑ งานก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคาร งานก่อสร้างระยะที่ ๒ เป็นงานก่อสร้างระบบ ประกอบพร้อมงานส่วนประกอบอื่นๆ ดำ�เนินการ ชลประทานในพื้นที่เปิดใหม่ จำ�นวน ๔ โครงการ ก่อสร้างระหว่างปี พ.ศ.๒๕๓๘ ถึงปี พ.ศ.๒๕๔๒ ดำ�เนินการระหวา่ งปี พ.ศ.๒๕๔๓ ถึงปี พ.ศ.๒๕๕๒ โดยขอรับการสนับสนุนเครื่องจักรกลงานดินจาก ได้แก่ โครงการสูบนํ้าแก่งคอย-บ้านหมอ โครงการ กรมการทหารช่างเข้ามาเสริมในการปฏิบัติงานเพื่อ สูบนํ้าพัฒนานิคม โครงการสูบนํ้าพัฒนานิคม- ให้งานก่อสร้างแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำ�หนด แก่งคอย และโครงการจัดหานํ้าเพื่อการเกษตร การก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ ได้เริ่ม จังหวัดลพบุรี ซึ่งสามารถเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกที่ได้รับ ดำ�เนินงานตั้งแต่วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๗ ประโยชน์โดยตรงจากโครงการพัฒนาลุ่มนํ้าป่าสัก แล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๔๒ มีขนาดความจุของ ได้อีก ๑๗๔,๕๐๐ ไร่ อ่างเก็บนํ้า ๙๖๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ระยะแรกเป็น

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๓๘ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า ๑. กฎหมายที่เกี่ยวข้องและสนับสนุนการดำ�เนินโครงการ มีดังนี้ พระราชบัญญัติการ ชลประทานหลวง พระราชบญั ญตั กิ ารชลประทานหลวง พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๕ ไดก้ �ำ หนดค�ำ นยิ ามเกย่ี วกบั พุทธศักราช ๒๔๘๕ การชลประทานไว้ว่า “การชลประทาน” หมายความว่า กิจการที่กรมชลประทาน ๒. จัดทำ�ขึ้นเพื่อให้ได้มาซึ่งนํ้าหรือเพื่อการกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ พระราชบัญญัติ บ่งนํ้าเพื่อเกษตรกรรม การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม ว่าด้วยการเวนคืน และหมายรวมถึงการปองกันความเสียหายอันเกิดจากนํ้ากับรวมถึงการคมนาคม อสังหาริมทรัพย์ ทางนํ้าในเขตชลประทานดวย “ทางนํ้าชลประทาน” หมายความวา ทางนํ้า พ.ศ.๒๕๓๐ ที่รัฐมนตรีไดประกาศวาเปนทางนํ้าชลประทาน “เขตชลประทาน” หมายความวา เขตที่ดินที่ทําการเพาะปลูกซึ่งจะไดรับประโยชนจากการชลประทาน โดยกำ�หนด ประเภทของทางนํ้า แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ ประเภท ๑ ทางนํ้าที่ใชในการสง ระบาย กัก หรือกั้นนํ้าเพื่อการชลประทาน ประเภท ๒ ทางนํ้าที่ใชในการคมนาคม แตมีการชลประทานรวมอยูดวยเฉพาะภายในเขตที่ไดรับประโยชนจาก การชลประทาน ประเภท ๓ ทางนํ้าที่สงวนไวใชในการชลประทาน และประเภท ๔ ทางนา้ํ อนั เปน อปุ กรณแ กก ารชลประทาน โดยก�ำ หนดอ�ำ นาจในการสรา้ งแหลง่ นา้ํ เพอ่ื การชลประทาน ตอ้ งมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ แกป้ ญั หาการขาดแคลนนา้ํ และอทุ กภยั เมอ่ื มคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งไดม าซง่ึ อสงั หารมิ ทรพั ยเ พอ่ื ประโยชนแ กก ารชลประทาน ถามิไดตกลงในเรื่องการโอนไวเปนอยางอื่น ใหดําเนินการเวนคืนตามกฎหมาย วาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย ในการโอนอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้ มีการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพยใหไดรับยกเวน คาธรรมเนียมและคาอากรแสตมป พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้กำ�หนดนิยาม คำ�ว่า “เวนคืน” หมายความว่า บังคับเวนคืนที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น ตามเงื่อนไขแห่งพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งเมื่อรัฐมีความจำ�เป็นที่จะต้องได้มาซึ่ง อสังหาริมทรัพย์เพื่อกิจการใดๆ อันจำ�เป็นเพื่อการอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการอันจำ�เป็นในการป้องกันประเทศ หรือการได้มาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อการผังเมือง หรือเพื่อการพัฒนาการเกษตร หรือการอุตสาหกรรม หรือเพื่อการปฏิรูปที่ดิน หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างอื่น ถ้ามิได้ตกลงในเรื่อง

โครงการ ๓๙ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า การโอนไว้เป็นอย่างอื่น ให้ดำ�เนินการเวนคืนตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ในกรณี ทม่ี บี ทบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการเวนคนื ไวใ้ นกฎหมายอน่ื โดยเฉพาะแลว้ ถา้ จะตอ้ งด�ำ เนนิ การ เวนคืนเพื่อกิจการตามกฎหมายดังกล่าว เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นสมควรจะมี มติให้ดำ�เนินการเวนคืนตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้แทนก็ได้ เพื่อประโยชน์ ในการดำ�เนินการเวนคืนตามวรรคหนึ่ง จะตราพระราชกฤษฎีกากำ�หนดเขตที่ดิน ในบริเวณที่ที่จะเวนคืนไว้ก่อนก็ได้ ให้กรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืน ตกเป็นของเจ้าหน้าที่นับแต่วันที่พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ใช้บังคับ แต่เจ้าหน้าที่จะมีสิทธิเข้าครอบครองหรือใช้อสังหาริมทรัพย์นั้นได้ก็ต่อเมื่อ ได้จ่ายหรือวางเงินค่าทดแทนตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้แล้ว ในกรณีที่มี จำ�นอง บุริมสิทธิ หรือทรัพยสิทธิอย่างอื่น เหนืออสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืน ให้จำ�นอง บุริมสิทธิ หรือทรัพยสิทธิเช่นว่านั้นเป็นอันสิ้นสุดลง โดยผู้รับจำ�นอง ผู้ทรงบุริมสิทธิ หรือบุคคลผู้รับประโยชน์จากทรัพยสิทธิดังกล่าวยังคงมีสิทธิที่จะ ได้รับชำ�ระหนี้หรือรับชดใช้จากเงินค่าทดแทนสำ�หรับอสังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ต่อไป แต่จะต้องร้องขอรับชำ�ระหนี้หรือรับชดใช้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับ หนังสือแจ้ง และนับแต่วันที่พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ใช้บังคับ ถ้าผู้มีสิทธิในทรัพย์สินนั้นโอนสิทธิให้แก่บุคคลภายนอก ผู้รับโอนนั้นมีสิทธิที่จะ เรียกร้องได้ก็แต่เฉพาะเงินค่าทดแทนเท่านั้น ในกรณีท่ีต้องเวนคืนท่ีดินแปลงใดแต่เพียงบางส่วน ถ้าเนื้อท่ีดินส่วนท่ีเหลืออยู่น้ัน น้อยกว่ายี่สิบห้าตารางวา หรือด้านหนึ่งด้านใดน้อยกว่าห้าวา และที่ดินส่วน ที่เหลืออยู่นั้นมิได้ติดต่อเป็นผืนเดียวกันกับที่ดินแปลงอื่นของเจ้าของเดียวกัน หากเจ้าของร้องขอให้เจ้าหน้าที่เวนคืนหรือจัดซื้อที่ดินส่วนที่เหลือด้วย ในระหว่างใช้บังคับพระราชกฤษฎีกาให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจาก เจ้าหน้าที่มีอำ�นาจตกลงซื้อขาย และกำ�หนดจำ�นวนเงินค่าทดแทนอสังหาริมทรัพย์ ที่จะตอ้ งเวนคืนจากเจ้าของหรอื ผูค้ รอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อด�ำ เนินการ จัดซื้อและจ่ายค่าทดแทนอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวต่อไป แต่จะให้ราคาหรือ ค่าทดแทนอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวเกินกว่าราคาเบื้องต้นที่คณะกรรมการกำ�หนด ไวไ้ มไ่ ด้ ในกรณที ส่ี ามารถตกลงซอ้ื ขายอสงั หารมิ ทรพั ยท์ จ่ี ะถกู เวนคนื ตามวรรคหนง่ึ ได้ แต่ไม่อาจตกลงกันได้ในเรื่องจำ�นวนเงินค่าทดแทน หากเจ้าของหรือผู้ครอบครอง

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๔๐ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า โดยชอบด้วยกฎหมายจะขอรับเงินค่าทดแทนตามราคาเบื้องต้นที่คณะกรรมการ กำ�หนดไว้ไปก่อน โดยสงวนสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ก็ให้เจ้าหน้าที่หรือ ผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ดำ�เนินการทำ�สัญญาโดยมีเงื่อนไขดังกล่าว แล้วจ่ายค่าทดแทนไปก่อนได้ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ทำ�สัญญาซื้อขาย ในการทำ�สัญญาซื้อขาย หากปรากฏว่าอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อขายมีหนังสือแสดง สิทธิในที่ดิน ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีหนังสือแจ้งให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายที่ดินทราบและให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ดังกล่าวดำ�เนินการแก้ไขหลักฐานทางทะเบียนในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ทั้งฉบับที่เก็บรักษาไว้ ณ สำ�นักงานที่ดิน ที่ทำ�การที่ดินอำ�เภอหรือที่ทำ�การที่ดิน กิ่งอำ�เภอ และฉบับที่ผู้มีสิทธิในที่ดินยึดถือไว้โดยให้ถือว่าเป็นการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมตามกฎหมายและให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียม และค่าอากรแสตมป์ ทง้ั น้ี ใหถ้ อื วา่ ไดม้ กี ารโอนกรรมสทิ ธใ์ิ นอสงั หารมิ ทรพั ยด์ งั กลา่ ว นบั แตว่ นั ช�ำ ระเงนิ ตามวรรคหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การทำ�ทะเบียนให้ถูกต้อง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามประมวลกฎหมายที่ดินมีอำ�นาจเรียกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ฉบับที่เจ้าของ หรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายยึดถือไว้ และทำ�การแก้ไขหลักฐาน ทางทะเบียนให้ถูกต้อง โดยเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายซึ่ง อสังหาริมทรัพย์นั้นจะนำ�ไปมอบต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ด้วยตนเอง หรือจะส่งไป โดยทางไปรษณีย์ตอบรับก็ได้ ในกรณที เ่ี จา้ หนา้ ทห่ี รอื ผซู้ ง่ึ ไดร้ บั มอบหมายจากเจา้ หนา้ ทจ่ี า่ ยเงนิ คา่ อสงั หารมิ ทรพั ย์ ล่าช้ากว่ากำ�หนดเวลา หรือจ่ายเงินค่าทดแทนล่าช้ากว่ากำ�หนดเวลา ให้ผู้มีสิทธิ ได้รับเงินค่าอสังหาริมทรัพย์หรือเงินค่าทดแทนได้รับดอกเบี้ยในอัตราสูงสุดของ ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทฝากประจำ�ของธนาคารออมสินในจำ�นวนเงินดังกล่าว นับแต่วันที่พ้นกำ�หนดเวลาการจ่ายเงินค่าอสังหาริมทรัพย์หรือเงินค่าทดแทน ถ้าการงานหรือกิจการอย่างใดที่ทำ�ไปในการเวนคืน ได้กระทำ�ให้อสังหาริมทรัพย์ ที่เหลืออยู่นั้นมีราคาสูงขึ้น ให้เอาราคาที่สูงขึ้นนั้นหักออกจากเงินค่าทดแทน แต่ไม่ให้ถือว่าราคาอสังหาริมทรัพย์ที่ทวีขึ้นนั้นสูงไปกว่าจำ�นวนเงินค่าทดแทน เพื่อจะให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายกลับต้องใช้เงินให้อีก ถ้าต้องเวนคืนอสังหาริมทรัพย์แต่เพียงส่วนหนึ่ง และส่วนที่เหลือนั้นราคาลดลง

โครงการ ๔๑ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า ๓. ให้กำ�หนดเงินค่าทดแทนให้เฉพาะสำ�หรับส่วนที่เหลืออันราคาลดลงนั้นด้วย พระราชบัญญัติ การคำ�นวณว่าอสังหาริมทรัพย์ใดมีราคาสูงขึ้น หรือราคาลดลง ให้เป็นไปตาม ส่งเสริมและรักษา หลักเกณฑ์วิธีการที่กำ�หนดในพระราชกฤษฎีกา ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครอง คุณภาพส่ิงแวดล้อม โดยชอบด้วยกฎหมายอยู่อาศัยหรือประกอบการค้าขาย หรือการงานอันชอบ แห่งชาติ ด้วยกฎหมายอยู่ในอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องเวนคืนนั้น และบุคคลดังกล่าวได้รับ พ.ศ.๒๕๓๕ ความเสียหายเนื่องจากการที่ต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์นั้น ให้กำ�หนดเงิน ค่าทดแทนให้สำ�หรับความเสียหายนั้นด้วย เงนิ คา่ ทดแทนทจี่ ะใหแ้ กผ่ มู้ สี ทิ ธไิ ดร้ บั ถา้ มไิ ดบ้ ญั ญตั ไิ วเ้ ปน็ พเิ ศษในพระราชบญั ญตั ิ เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฉบับใดโดยเฉพาะแล้ว ให้กำ�หนดโดยคำ�นึงถึง (๑) ราคา ที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาดของอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนตามที่เป็น อยู่ในวันใช้บังคับพระราชกฤษฎีกา (๒) ราคาของอสังหาริมทรัพย์ที่มีการตีราคาไว้ เพื่อประโยชน์แก่การเสียภาษีบำ�รุงท้องที่ (๓) ราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (๔) สภาพและที่ตั้งของ อสังหาริมทรัพย์นั้น และ (๕) เหตุและวัตถุประสงค์ของการเวนคืน ทั้งนี้ เพื่อให้ เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้ถูกเวนคืนและสังคม พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ ได้กำ�หนดให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอำ�นาจประกาศกำ�หนดประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจการของ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อม ต้องจัดทำ�รายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบ ในกรณีที่โครงการ ที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็น มาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกันหรือ ในพื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ อาจได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แต่โครงการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่างๆ ที่กำ�หนด ในกรณีที่เป็นโครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน ให้จัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตง้ั แตใ่ นระยะท�ำ การศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการในการพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือ

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๔๒ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า สถาบันใดซึ่งเป็นผู้ชำ�นาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบ สง่ิ แวดลอ้ มท�ำ การศกึ ษาและเสนอรายงานหรอื ความเหน็ เพอื่ ประกอบการพจิ ารณา ด้วยก็ได้ สำ�หรับโครงการของส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ ให้ผู้รับผิดชอบ โครงการหรือกิจการนั้นจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อนที่จะดำ�เนินการ ในกรณีที่โครงการซึ่งต้องจัดทำ� รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นโครงการซึ่งจะต้องได้รับอนุญาต จากทางราชการตามกฎหมายก่อนเริ่มการก่อสร้างหรือดำ�เนินการ ให้ผู้ขออนุญาต เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำ�นาจตาม กฎหมายนั้นและต่อสำ�นักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม โดยจัดทำ�เป็นรายงาน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตไว้ก่อนจนกว่า จะทราบผลการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจาก ส�ำ นกั งานนโยบายและแผนสงิ่ แวดลอ้ ม หากส�ำ นกั งานนโยบายและแผนสงิ่ แวดลอ้ ม เหน็ วา่ รายงานทเ่ี สนอมายงั ไมถ่ กู ตอ้ ง หรอื มเี อกสารขอ้ มลู ไมค่ รบถว้ นใหแ้ จง้ ใหผ้ ขู้ อ อนุญาตทราบภายในกำ�หนดเวลาสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานน้ัน แต่หากเห็นว่ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ที่เสนอมาถูกต้อง และมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว ให้เสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จ ภายในกำ�หนดสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น เพื่อนำ�เสนอให้ คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการพิจารณา คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมี เจ้าหน้าที่ผู้มีอำ�นาจอนุญาตตามกฎหมายสำ�หรับโครงการนั้นหรือผู้แทนร่วมเป็น กรรมการอยู่ด้วย การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการ ให้กระทำ�ให้ แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฯ จากสำ�นักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดล้อม ถ้าพิจารณาไม่เสร็จภายในกำ�หนดเวลาให้ถือว่าให้ ความเห็นชอบแล้ว และให้เจ้าหน้าที่สั่งอนุญาตแก่ผู้ขออนุญาตได้ ในกรณี ที่คณะกรรมการฯ ไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาต แก่ผู้ขออนุญาตไว้ก่อน จนกว่าจะทำ�การแก้ไขเพิ่มเติมหรือจัดทำ�ใหม่ทั้งฉบับ ตามที่คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการกำ�หนด เมื่อได้ทำ�การแก้ไขเพิ่มเติม หรือได้จัดทำ�ใหม่ทั้งฉบับแล้ว ให้คณะกรรมการฯ พิจารณารายงานดังกล่าว

โครงการ ๔๓ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า ๔. ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงาน ถ้าพิจารณา ประกาศคณะ ไม่เสร็จให้ถือว่าเห็นชอบ และให้เจ้าหน้าที่สั่งอนุญาตแก่ผู้ขออนุญาตได้ รักษาความสงบ เรียบร้อยแห่งชาติ ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ฉบับที่ ๔๔ ลงวันที่ (รสช.) ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๔ เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้บัญญัติให้การกำ�หนดราคาเบื้องต้นสำ�หรับที่ดินโดยถือตามราคา ของอสังหาริมทรัพย์ที่มีการตีราคาไว้เพื่อประโยชน์แก่การเสียภาษีบำ�รุงท้องที่ หรือราคาประเมินทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมแล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่าเป็นเกณฑ์ สมควรให้นำ�หลักเกณฑ์อื่นมา ประกอบการพิจารณาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมยิ่งขึ้น ประกอบกับในปัจจุบัน สภาพทางเศรษฐกิจได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จนปรากฏเนืองๆ ว่า ราคา ที่ดินได้เพิ่มสูงขึ้น จนทำ�ให้ผู้ถูกเวนคืนเกิดความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น เพื่อให้การกำ�หนดค่าทดแทนเป็นธรรมแก่ผู้ถูกเวนคืนและสังคม สมควร ให้มีการแก้ไขราคาของอสังหาริมทรัพย์และจำ�นวนเงินค่าทดแทนที่ได้กำ�หนดไว้ได้ ในกรณีที่รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาเห็นว่า เมื่อคณะกรรมการ ได้ประกาศราคาเบื้องต้นสำ�หรับที่ดินที่จะเวนคืนทั้งหมดหรือบางส่วนแล้ว ถ้าปรากฏว่าราคาของที่ดินได้เพิ่มสูงขึ้นเป็นลำ�ดับ และราคาของอสังหาริมทรัพย์ ที่เจ้าหน้าที่ได้จ่ายให้แก่ผู้ถูกเวนคืน หรือราคาเบื้องต้นของอสังหาริมทรัพย์ ทค่ี ณะกรรมการไดก้ �ำ หนดและประกาศไปแลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความไมเ่ ปน็ ธรรมแกบ่ คุ คล รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีอำ�นาจสั่งให้คณะกรรมการแก้ไขราคาของ อสังหาริมทรัพย์หรือราคาเบื้องต้นสำ�หรับที่ดินเสียใหม่ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติได้ และให้ถือว่าราคาของอสังหาริมทรัพย์ที่แก้ไขแล้วเป็น ราคาซื้อขายที่ตกลงกันใหม่แทนราคาเดิม และราคาเบื้องต้นที่แก้ไขแล้วเป็นราคา เบื้องต้นที่คณะกรรมการกำ�หนดแล้วแต่กรณี ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย จากเจ้าหน้าที่มีหนังสือภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวัน นับแต่วันที่ประกาศแก้ไขแจ้งให้ ผู้มีสิทธิมารับเงินซึ่งเป็นราคาของอสังหาริมทรัพย์ส่วนที่ ถ้าการสั่งให้แก้ไข มีผลเป็นคุณแก่บุคคลใดมาครั้งหนึ่งแล้ว จะสั่งให้แก้ไขใหม่เพื่อบุคคลนั้นอีกไม่ได้ ผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนผู้ใดไม่พอใจในราคาของอสังหาริมทรัพย์หรือจำ�นวน

โครงการ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๔๔ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านทรัพยากรนํ้า เงินค่าทดแทนที่คณะกรรมการกำ�หนดมีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีผู้รักษาการ ตามพระราชกฤษฎีกา หรือรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ฉบับนั้น ภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับหนังสือจากเจ้าหน้าที่ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่ให้มารับเงินค่าทดแทนดังกล่าว

โครงการ ๔๕ อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เปน็ แหลง่ นา้ํ เสรมิ ส�ำ หรบั พน้ื ทโ่ี ครงการชลประทานเดมิ สามารถเก็บกักนํ้าได้สูงสุด ๙๖๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ในทงุ่ เจา้ พระยาฝง่ั ตะวนั ออกตอนล่าง เนื้อที่ประมาณ ในขณะที่มีปริมาณนํ้าไหลเข้าอ่าง โดยเฉลี่ยปีละ ๒.๒ ล้านไร่ ทำ�ให้ลดการใช้นํ้าจากแม่นํ้าเจ้าพระยา ๒,๙๓๒ ล้านลูกบาศก์เมตร โดยเป็นปริมาณนํ้าท่า โดยการนำ�นํ้ามาจากแม่นํ้าป่าสัก ไปใช้ในพื้นที่ ในช่วงฤดูฝน (กรกฎาคม–ธันวาคม) ประมาณร้อยละ บริเวณจังหวัดลพบุรีและสระบุรีโดยตรง ช่วยแก้ ๗๘ ทำ�ให้เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจาก ปัญหาการขาดแคลนนํ้าอย่างทั่วถึง และใช้นํ้า พระราชด�ำ รสิ ามารถควบคมุ นา้ํ เพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันสามารถ การเกษตร ชลประทาน การอุตสาหกรรม และรักษา บรรเทาปัญหาอุทกภัยในบริเวณลุ่มนํ้าป่าสักในเขต ระบบนิเวศในพื้นที่ลุ่มนํ้าป่าสักตอนล่างและลุ่มนํ้า จังหวัดลพบุรีและสระบุรี โดยสามารถลดระดับ เจ้าพระยาตอนล่าง ฝั่งตะวันออกเฉลี่ยปีละ ๖๙๙ นา้ํ ทว่ มลงประมาณ๑๐–๒๕เซนตเิ มตรและพน้ื ทล่ี มุ่ นา้ํ ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นแหล่งนํ้าเพื่อการเกษตร เจ้าพระยาตอนล่าง บริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำ�หรับพื้นที่ชลประทานใหม่ ในเขตจังหวัดลพบุรี ปทมุ ธานี นนทบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร ในชว่ ง ๒ – ๑๐ และสระบุรี คิดเป็นปริมาตร ๘๔๐ ล้านล้าน เซนติเมตร ซึ่งช่วยลดความเสียหายด้านเศรษฐกิจ ลูกบาศก์เมตร หรือเป็นพื้นที่การเกษตรทั้งสิ้น ให้กับประเทศไทยได้อย่างมหาศาล ๑๗๔,๕๐๐ ไร่ แยกเป็น (๑) โครงการแก่งคอย- บ้านหมอ พื้นที่ ๘๖,๗๐๐ ไร่ (๒) โครงการจัดหานํ้า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เพื่อการเกษตร จังหวัดลพบุรี พื้นที่ ๓๐,๐๐๐ ไร่ ช่วยในการใช้นํ้าเพื่อการอุปโภค - บริโภคและ (๓) โครงการพัฒนานิคม-แก่งคอย พื้นที่ ๒๙,๓๐๐ ไร่ อุตสาหกรรมมีเสถียรภาพมากขึ้น ซึ่งเป็น และ (๔) โครงการพัฒนานิคม พื้นที่ ๒๘,๕๐๐ ไร่ ความต้องการรองลงมาจากการใช้นํ้าเพื่อการเกษตร ๑ ๓ โครงการแก่งคอย - บ้านหมอ โครงการพัฒนานิคม - แก่งคอย พ้ืนท่ี ๘๖,๗๐๐ ไร่ พ้ืนที่ ๒๙,๓๐๐ ไร่ ๒ ๔ โครงการจัดหานํ้าเพ่ือการเกษตร โครงการพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี พื้นท่ี ๓๐,๐๐๐ ไร่ พ้ืนท่ี ๒๘,๕๐๐ ไร่

โครงการ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ๔๖ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร น้ํ า อันประกอบด้วยการส่งนํ้าเพื่อใช้ผลิตนํ้าประปา มีการปลูกต้นทานตะวัน ซึ่งจะบานสะพรั่งในช่วง และใช้เพื่อกิจการของโรงงานอุตสาหกรรม ในพื้นที่ เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ทำ�ให้ในช่วง จังหวัดลพบุรีและสระบุรี ส่งผลให้พื้นที่มี เวลาดังกล่าวมีจำ�นวนนักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชมเขื่อน การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมสูงขึ้น อีกทั้งยัง ป่าสักชลสิทธิ์มากขึ้น โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และแหล่งประมงนํ้าจืด อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ มีผลประโยชน์สุทธิ ขนาดใหญ่ เนื่องจากลักษณะของเขื่อนมีลักษณะ เท่ากับ ๔๙,๗๘๘.๕๑ ล้านบาท สัดส่วนผลประโยชน์ แบนราบ ทำ�ให้แสงแดดและออกซิเจนกระจายตัว ต่อต้นทุนเท่ากับ ๑.๓๙ และอัตราผลตอบแทนภายใน ได้อย่างทั่วถึง ทำ�ให้ภายในอ่างเก็บนํ้ามีความอุดม โครงการเท่ากับร้อยละ ๑๖.๗๕ ทั้งนี้ อาจทำ�ให้ สมบูรณ์ เหมาะแก่การขยายพันธุ์สัตว์นํ้า เห็นได้จาก ผลประโยชน์โครงการสูงมากขึ้นถึง ๖๓,๗๐๑.๒๔ ผลการศึกษาวิจัยของคณะประมง มหาวิทยาลัย ล้านบาท หากมีการพัฒนาและบริหารโครงการที่ดี เกษตรศาสตร์ ที่พบว่า ปัจจุบันภายในเขื่อนป่าสัก อย่างต่อเนื่องด้วย ชลสทิ ธอ์ิ นั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รมิ ปี ลาหลากหลาย จากการสัมภาษณ์ นายปราโมทย์ ไม้กลัด อดีตอธิบดี ประมาณ ๑๓๐ ชนิดพันธุ์ เป็นชนิดพันธุ์ปลาที่พบ กรมชลประทาน เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๙ เพิ่มขึ้น ๕๒ ชนิด จากเดิมประมาณ ๘๐ ชนิดพันธุ์ และนายสุเทพ น้อยไพโรจน์ อธิบดีกรมชลประทาน ทำ�ให้เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ พบว่า โครงการ เป็นแหล่งประมงที่สำ�คัญแห่งใหม่ของประเทศ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างอาชีพ และรายได้ด้าน เป็นโครงการเขื่อนอเนกประสงค์ที่มีการบริหาร การประมงให้แก่ราษฎรในพื้นที่อีกด้วย ช่วยฟื้นฟู จัดการนํ้าขนาดใหญ่ มีความสำ�คัญกับลุ่มนํ้าป่าสัก และรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และเจ้าพระยา ช่วยบรรเทาปัญหาได้ทั้งอุทกภัย ผลจากการกักเก็บนํ้าของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ภัยแล้ง และปัญหานํ้าเน่าเสียในทุ่งรังสิตได้อย่างมี อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ส่งผลให้ปริมาณ ประสิทธิภาพ และสามารถใช้เพาะพันธุ์ปลาได้ด้วย นํ้าใต้ดินบริเวณเขื่อนและพื้นที่ด้านท้ายนํ้ามีระดับ ปัจจัยสู่ความสำ�เร็จเกิดจากความร่วมมือจาก สูงขึ้น ส่งผลประโยชน์ให้แก่ราษฎรในพ้ืนท่ี หลายภาคส่วน ในการดำ�เนินการก่อสร้างโครงการ ในด้านการอุปโภค – บริโภค และเพ่ือการเกษตร เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ นอกจากนี้ ยังสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พื้นที่ ซึ่งกำ�หนดสร้างในพื้นที่ราบกระทบกับชุมชน ป่าใหม่ที่ปลูกทดแทน ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ในพน้ื ทค่ี อ่ นขา้ งมาก ท�ำ ใหก้ ารกอ่ สรา้ งและการเวนคนื สร้างความหลากหลายให้แก่ระบบนิเวศ และยังเป็น มีความท้าทาย จำ�เป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก แหล่งท่องเท่ยี ว เนื่องจากสภาพของเขื่อนมีลักษณะ หลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เป็นเสมือนทะเลสาบนํ้าจืดขนาดใหญ่และมีการสร้าง ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ เพื่อให้เกิดการบูรณาการ เส้นทางเดินรถไฟผ่านบริเวณเขื่อน จึงเป็นจุดดึงดูด ร ะ ห ว่ า ง ห น่ ว ย ง า น แ ล ะ ก า ร ดำ � เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ความสนใจของนักท่องเที่ยว เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ นอกจากนี้ ตลอดสองข้างทางของถนนที่มุ่งหน้า ประสบผลสำ�เร็จ จึงได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการฯ สู่เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ขึ้นหลายชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหารโครงการ

โครงการ ๔๗ อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ด้ า น ท รั พ ย า ก ร นํ้ า ๔ ๑ คณะอนุกรรมการย้ายเส้นทางคมนาคม มีปลัดกระทรวงคมนาคมเป็นประธาน คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ และทําความเข้าใจกับมวลชน ๕ มีปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน คณะอนุกรรมการก่อสร้างด้านชลประทาน ๒ มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน คณะอนุกรรมการจัดหาท่ีดิน ๖ มีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน คณะอนุกรรมการแก้ไขและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๓ มีปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อมเป็นประธาน คณะอนุกรรมการจัดต้ังถ่ินฐานผู้อพยพ มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน พัฒนาลุ่มนํ้าป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ การปฏิบัติการ มีนายปราโมทย์ ไม้กลัด เป็นกรรมการ ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีหน้าที่กำ�กับดูแล และเลขานุการของคณะกรรมการบริหารโครงการ และใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการปฏบิ ตั งิ านของคณะอนกุ รรมการ พัฒนาลุ่มนํ้าป่าสักอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ และ ซึ่งรับผิดชอบการปฏิบัติงานในแต่ละด้าน ซึ่งมี เป็นผู้อำ�นวยการศูนย์ประสานงานดังกล่าวด้วย ด้วยกันทั้งหมด ๖ คณะ คือ คณะอนุกรรมการ โครงการเขอ่ื นปา่ สกั ชลสทิ ธอ์ิ นั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ประชาสัมพันธ์และทำ�ความเข้าใจกับมวลชน เป็นกระบวนการที่สอดคล้องกับภูมิสังคม ก่อสร้าง มปี ลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรีเปน็ ประธานคณะอนกุ รรมการ เตม็ ศกั ยภาพของลมุ่ น้าํ และสอดคลอ้ งกบั หลกั อทุ กวทิ ยา จัดหาที่ดิน มีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน และเทคโนโลยีในขณะนั้น อีกทั้งเหมาะสมกับ คณะอนกุ รรมการจดั ตง้ั ถน่ิ ฐานผอู้ พยพ มปี ลดั กระทรวง สภาพท้องถิ่นและธรรมชาติ พระบาทสมเด็จ เกษตรและสหกรณ์เป็นประธาน คณะอนุกรรมการ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ย้ายเส้นทางคมนาคม มีปลัดกระทรวงคมนาคม พระราชทานคำ�แนะนำ�และทรงติดตามโครงการ เปน็ ประธานคณะอนกุ รรมการกอ่ สรา้ งดา้ นชลประทาน โดยได้มีพระราชดำ�ริให้โครงการเข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สามารถกักเก็บนํ้าได้ และคณะอนุกรรมการแก้ไขและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ภายใน๕ปี(ภายในปีพ.ศ.๒๕๔๒)และยงั ทรงตดิ ตาม มีปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ การดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องเสมอมา สง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ประธาน รวมทง้ั ไดจ้ ดั ตง้ั ศนู ยป์ ระสาน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงวางศิลาฤกษ์ เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๔๔ โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจาก และพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระราชดำ�ริ บรมนาถบพิตร ได้เสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จ ขั้นตอนการวางโครงการ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จ ไปทรงวางศลิ าฤกษ์ เมอ่ื วนั ท่ี ๒ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๔๔ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง เ ขื่ อ น ค ล อ ง ท่ า ด่ า น ไ ด้ แ ล้ ว เ ส ร็ จ ได้พระราชทานพระราชดำ�ริให้กรมชลประทาน ในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๗ รวมระยะเวลา พิจารณาวางโครงการ และก่อสร้างเขื่อนคลองท่าด่าน การก่อสร้างทั้งสิ้น ๕ ปี สำ�หรับการเก็บกักนํ้า ที่บ้านท่าด่าน ตำ�บลหินตั้ง อำ�เภอเมืองนครนายก ในอ่างเก็บนํ้าเขื่อนคลองท่าด่าน ได้เริ่มในช่วงฤดูฝน จังหวัดนครนายก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ของปี พ.ศ.๒๕๔๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร พัฒนาลุ่มนํ้านครนายก เพื่อให้ราษฎรทางตอนล่าง มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน ของเขื่อนจากที่เคยอาศัยเพียงนํ้าฝนทำ�การเพาะปลูก นามเขื่อนคลองท่าด่านว่า “เขื่อนขุนด่านปราการชล” และปลูกบนสภาพดินที่ไม่สมบูรณ์ ได้มีนํ้าใช้ อันมีความหมายว่า เขื่อนขุนด่าน ซึ่งเป็นกำ�แพงนํ้า ท�ำ การเกษตร อปุ โภคบรโิ ภค อตุ สาหกรรม แกไ้ ขปญั หา เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๙ ดินเปรี้ยวและเพื่อบรรเทาอุทกภัยที่มักจะเกิดขึ้น การก่อสร้างเขื่อนขุนด่านปราการชลอันเนื่องมาจาก ในพื้นที่จังหวัดนครนายกเป็นประจำ�ทุกปี พระราชดำ�ริเริ่มต้นการศึกษาความเหมาะสม และ รัฐบาลในขณะนั้นได้มอบหมายให้กระทรวงเกษตร ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อนการก่อสร้างอย่างจริงจัง และสหกรณ์ โดยกรมชลประทานรบั สนองพระราชด�ำ ริ และละเอียดรอบคอบในทุกมิติ ทั้งสภาพภูมิประเทศ ในการด�ำ เนนิ งานกอ่ สรา้ งเขอื่ นคลองทา่ ดา่ นไดเ้ รม่ิ ตน้ สภาพทางอุทกวิทยา และระบบนิเวศในพื้นที่โดยรอบ งานก่อสร้างเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๒ เป็นสำ�คัญ รวมทั้งการวางแนวทางการแก้ไข