เทวตำอุยโยชนคำถำ เทวตำอุยโยชนคำถำ เป็นคาถาส่งเทวดา ใช้สวดเพ่ืออัญเชิญเทวดากลับ วมิ าน เมื่อแรกทีจ่ ะเจริญพระปริตร ไดม้ ีการชุมนมุ เทวดาหรืออญั เชญิ เทวดามาเพ่ือ ฟังการเจริญพระปริตร ซงึ่ ถือว่าเป็นการแบง่ ส่วนบุญไปให้สรรพสัตวท์ ุกจาพวกทุก หมู่เหล่า แม้กระท่ังเทวดาซ่ึงมองไม่เห็นตัวก็แผ่เมตตาจิตไปถึง เน้ือความในท่อน แรกของคาถานี้ เริ่มต้นด้วยการแผ่เมตตาจิตไปในหมู่สัตว์ทั้งหลายให้พ้นจากทุกข์ โศกโรคภัย จากนั้นได้กล่าวเชญิ เทวดาให้อนุโมทนาบุญกศุ ลทบ่ี าเพ็ญมา ซึ่งก็รวมถึง บุญอันเกิดจากการเจริญพระปริตร เพ่ือเทวดาจะได้อานิสงส์แห่งบุญนั้นด้วย ต่อจากนั้น ก็เป็นการแนะนาเทวดาให้เกิดศรัทธาในการให้ทาน รักษาศีล บาเพ็ญ ภาวนาแล้วเชิญให้เทวดากลับ ต่อจากนั้นก็ขออานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ท้ังหลายให้คุ้มครองรักษา เทวตาอุยโยชน- คาถาน้ี จะตอ้ งสวดทุกคร้ังท่ีมีการชมุ นุมเทวดา บทสวด ทกุ ขปั ปตั ตำ จะ นิททกุ ขำ ภะยปั ปตั ตำ จะ นพิ ภะยำ, โสกปั ปัตตำ จะ นสิ โสกำ โหนตุ สัพเพปิ ปำณโิ น. เอตตำวะตำ จะ อมั ๎เหหิ สัมภะตัง ปุญญะสมั ปะทัง, สพั เพ เทวำนโุ มทันตุ สัพพะสมั ปัตติสทิ ธยิ ำ. ทำนงั ทะทันตุ สัทธำยะ สลี งั รักขันตุ สัพพะทำ, ภำวะนำภิระตำ โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตำคะตำ. ปัจเจกำนัญจะ ยงั พะลัง, สพั เพ พุทธำ พะลปั ปัตตำ รกั ขงั พันธำมิ สพั พะโส. อะระหันตำนญั จะ เตเชนะ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๐๑
คำแปล สัตว์มีชีวิตแม้ท้ังหมด ผู้ถึงซึ่งทุกข์ จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์ และท่ีถึงแล้วซ่ึงภัย จงเป็นผู้ไม่มีภัย และท่ถี ึงแล้วซึ่งโศก จงเปน็ ผู้ไม่มีโศก และขอเหล่าเทพเจ้าท้ังปวง จงอนุโมทนาซึ่งสมบัติอันเราท้ังหลายก่อสร้างแล้ว ด้วยเหตุมีประมาณเท่าน้ี เพ่ือ ความสาเร็จสมบตั ิทั้งปวง มนุษยท์ ั้งหลาย จงให้ทานด้วยศรัทธา จงรักษาศีลในท่ีท้ัง ปวง จงเปน็ ผ้ยู นิ ดแี ล้วในการภาวนา เทพยดาทั้งหลายที่มาแล้ว เชิญกลับไปเถิด พระพุทธเจ้าทั้งหลายล้วนทรงพระกาลังทั้งหมด กาลังใดแห่งพระปัจเจก- พุทธเจ้าทั้งหลาย และแห่งพระอรหันต์ท้ังหลายมีอยู่ ข้าพเจ้าขอผูกความรักษา ดว้ ยเดชแหง่ กาลงั น้ัน โดยประการท้ังปวง ฯ สุนกั ขัตตคำถำ สนุ ักขัตตคำถำ เปน็ คาถาแสดงเวลาท่ีสัตว์ประพฤติชอบ เปน็ ฤกษ์งามยาม ดี เปน็ สว่ นแหง่ สุปุพพัณหสตู ร อังคุตตรนกิ าย ติกนิบาต บทสวด สุนกั ขัตตงั สุมงั คะลงั สปุ ะภำตัง สุหฏุ ฐติ ัง, สุขะโณ สมุ ุหุตโต จะ สยุ ิฏฐงั พ๎รหั ม๎ ะจำริสุ. ปะทักขินงั กำยะกัมมงั วำจำกมั มัง ปะทกั ขณิ งั , ปะทกั ขิณัง มะโนกัมมงั ปะณิธี เต ปะทักขณิ ำ, ปะทักขณิ ำนิ กตั ๎วำนะ ละภันตตั เถ ปะทักขเิ ณ. คำแปล เวลาท่ี “สตั ว์” ประพฤติชอบ ชอื่ ว่า ฤกษ์ดี มงคลดี สวา่ งดี รุ่งดี และขณะดี ครู่ดี บูชาดีแล้ว ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย กายกรรมเป็นประทักษิณ วจีกรรม เปน็ ประทักษณิ มโนกรรมเป็นประทกั ษิณ ความปรารถนาของท่านเป็นประทักษิณ ๑๐๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
สัตว์ท้ังหลายทากรรมอันเป็นประทักษิณแล้ว ย่อมได้ประโยชน์ทั้งหลาย อันเป็น ประทักษิณ ฯ สุมงั คลคำถำ สุมังคลคำถำ เป็นคาถาขออานุภาพพระรัตนตรัย ให้ประทานความสวัสดี และขอใหเ้ ทวานุภาพช่วยคุ้มครองรักษาตลอดไป บทสวด โหตุ สัพพงั สุมังคะลงั รกั ขันตุ สพั พะเทวะตำ สพั พะพทุ ธำนภุ ำเวนะ โสตถี โหนตุ นริ นั ตะรัง. โหตุ สพั พัง สุมงั คะลงั รักขนั ตุ สพั พะเทวะตำ สัพพะธัมมำนุภำเวนะ โสตถี โหนตุ นริ นั ตะรงั . โหตุ สพั พงั สมุ ังคะลัง รกั ขนั ตุ สพั พะเทวะตำ สัพพะสังฆำนุภำเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรงั . คำแปล ขอศุภมงคลท้ังส้ินจงมี ขอเทพยดาท้ังปวงจงรักษา ด้วยอานุภาพแห่ง พระพุทธเจา้ ทง้ั หมด ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีเสมอไมม่ รี ะหวา่ ง ขอศุภมงคลทั้งสิ้นจงมี ขอเทพยดาทั้งปวงจงรักษา ด้วยอานุภาพแห่งพระ ธรรมท้ังหมด ขอความสวัสดที ง้ั หลาย จงมเี สมอไมม่ ีระหวา่ ง ขอศุภมงคลทั้งส้ินจงมี ขอเทพยดาทั้งปวงจงรักษา ด้วยอานุภาพแห่ง พระสงฆ์ทัง้ หมด ขอความสวัสดีทง้ั หลาย จงมีเสมอไมม่ ีระหว่าง ฯ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๐๓
ปริตตำวสำนคำถำ เรียกโดยท่ัวไปว่า บทนักขตั ตยักข์ เป็นคาถาแสดงอานุภาพแห่งพระปริตร ว่าสามารถป้องกันบาปเคราะห์ อันเกิดจากอานาจแห่งดวงดาวนักขษัตร (ดาว เคราะห์) เหลา่ ยกั ษ์ และภตู ผีปศี าจท้ังหลาย บทสวด นกั ขัตตะยกั ขะภตู ำนัง ปำปคั คะหะนวิ ำระณำ ปะรติ ตัสสำนุภำเวนะ หนั ต๎วำ เตสัง อุปัททะเว. นกั ขัตตะยกั ขะภตู ำนงั ปำปัคคะหะนิวำระณำ ปะรติ ตสั สำนุภำเวนะ หันต๎วำ เตสงั อปุ ทั ทะเว. นักขัตตะยักขะภตู ำนงั ปำปคั คะหะนวิ ำระณำ ปะริตตสั สำนุภำเวนะ หนั ต๎วำ เตสัง อปุ ัททะเว. คำแปล พระปริตรสามารถป้องกันบาปเคราะห์อันเกิดจากอานาจแห่ง ฤกษ์ ยาม ยักษ์ และภูตผีปีศาจทั้งหลายได้ ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตรที่ได้สวดมา ตงั้ แต่ต้นจนจบ จงกาจัดอุปัทวันตรายท้ังหลายอันเกิดแต่อานาจแห่งฤกษย์ ามเป็น ต้นให้พินาศหายไป พระปริตรสามารถป้องกันบาปเคราะห์อันเกิดจากอานาจแห่ง ฤกษ์ ยาม ยักษ์ และภูตผีปีศาจท้ังหลายได้ ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตรท่ีได้สวดมา ตั้งแต่ต้นจนจบ จงกาจัดอุปัทวันตรายทั้งหลายอันเกิดแต่อานาจแห่งฤกษ์ยามเป็น ตน้ ใหพ้ ินาศหายไป พระปริตรสามารถป้องกันบาปเคราะห์อันเกิดจากอานาจแห่ง ฤกษ์ ยาม ยักษ์ และภูตผีปีศาจท้ังหลายได้ ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตรที่ได้สวดมา ตั้งแต่ต้นจนจบ จงกาจัดอุปัทวันตรายทั้งหลายอันเกิดแต่อานาจแห่งฤกษ์ยามเป็น ต้นใหพ้ นิ าศหายไป ฯ ๑๐๔ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
บทธมั มจักกปั ปวัตตนสูตร พระธรรมเทศนำกณั ฑ์แรกของพระพทุ ธเจ้ำ พระวนิ ยั ปิฎก มหาวรรค ธมั มจักกัปปวัตตนสูตร เป็นพระสูตรท่ีมีความสาคัญในฐานะเปน็ พระธรรม เทศนากัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้า ซึ่งบันทึกไว้ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔ เล่มท่ี ๑๙ และเล่มท่ี ๓๑ โดยคาว่า ธรรมจักร มีความหมายว่า “กงล้อคือพระธรรม” ในพระ สูตรนี้ พระพุทธองค์ทรงประกาศหลักการของพระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสนา ประเภทอเทวนิยม ที่ไม่เชื่อเรื่องการเนรมิตของพระเจ้า ด้วยการตรัสเหตุแห่งทุกข์ ว่าคือตัณหา ทั้งปฏิเสธอาตมัน (ต้นกาเนิดและท่ีรวมของทุกสิ่งทุกอยา่ งในจกั รวาล) ด้วยการตรัสทุกขสัจวา่ คืออุปทานขนั ธ์ ๕ ทรงแสดงแนวทางแห่งความพ้นทุกข์ คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ และตรสั ผลของการปฏิบัติว่าคือความดับตณั หา มีตานานความ เป็นมา ดงั นี้ ในวันเพ็ญเดือน ๘ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระ สูตรน้ีแก่นักบวชปัญจวัคคีย์ ท่านอัญญาโกณฑัญญะสดับพระธรรมเทศนาน้ีแล้ว บรรลุเป็นพระโสดาบัน พระอริยบุคคลช้ันแรก พรหม ๑๘ โกฎิ กับเทวดาจานวน มากกบ็ รรลธุ รรมด้วยพระสตู รนี้ กล่าวกันว่า พระสูตรน้ีเป็นท่ีเคารพบูชาย่ิงของเหล่าเทพยาดา เมื่อมีการ สวดสาธยาย ณ ทใี่ ด เหล่าเทพยดาจะประชมุ อนุโมทนาสาธุการกันมาก บทขัด อะนุตตะรงั อะภิสัมโพธิง สมั พุชฌติ ว๎ ำ ตะถำคะโต ปะฐะมงั ยงั อะเทเสสิ ธมั มะจกั กงั อะนตุ ตะรงั สมั มะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏวิ ตั ตยิ งั ยัตถำกขำตำ อโุ ภ อันตำ ปะฏปิ ัตติ จะ มชั ฌิมำ จะตสู ว๎ ำริยะสัจเจสุ วสิ ุทธัง ญำณะทัสสะนัง วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๐๕
เทสิตัง ธมั มะรำเชนะ สมั มำสมั โพธิกิตตะนัง นำเมนะ วสิ สตุ ัง สตุ ตงั ธัมมะจกั กัปปะวัตตะนัง เวยยำกะระณะปำเฐนะ สงั คตี นั ตัมภะณำมะ เส. คำแปล พระตถาคตเจ้าได้ตรัสรู้ซ่ึงพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว เมื่อจะทรง ประกาศธรรมท่ีใคร ๆ ยังมิได้ให้เป็นไปแล้วในโลก ให้เป็นไปโดยชอบแท้ ได้ทรง แสดงพระอนุตตรธรรมจักรใดก่อน คือในธรรมจักรใด พระองค์ตรัสซ่ึงที่สุด ๒ ประการ และข้อปฏิบัติเป็นกลาง และปัญญาอันรู้เห็นอันหมดจดแล้วในอริยสัจท้ัง ๔ เราทั้งหลายจงสวดธรรมจักรนั้นท่ีพระองค์ผู้พระธรรมราชาทรงแสดงแล้ว ปรากฏโดยช่อื ว่าธัมมจักกัปปวัตนสูตร เป็นสูตรประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณอัน พระสงั คีตกิ าจารย์ร้อยกรองไว้ โดยความเปน็ พระบาลปี ระเภทร้อยแกว้ เทอญ ฯ บทสวด เอวัมเม สตุ งั . เอกงั สะมะยัง ภะคะวำ, พำรำณะสิยงั วิหะระติ, อิสิปะตะเน มคิ ะทำเย, ตตั ๎ระ โข ภะคะวำ ปญั จะวัคคเิ ย ภกิ ขู อำมันเตส.ิ เท๎วเม ภิกขะเว อันตำ ปพั พะชิเตนะ นะ เสวิตพั พำ. โย จำยัง กำเมสุ กำมะสุขัลลิกำนุโยโค. หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต. โย จำยัง อัตตะกิละมะถำนุโยโค, ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหโิ ต. เอเต เต ภิกขะเว อโุ ภ อันเต อะนุปะคัมมะ, มัชฌิมำ ปะฏิปะทำ ตะถำคะเตนะ อะภิสัมพุทธำ, จักขุกะระณี ญำณะกะระณี อุปะสะมำยะ อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นพิ พำนำยะ สังวัตตะต.ิ ๑๐๖ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
กะตะมำ จะ สำ ภิกขะเว มัชฌิมำ ปะฏิปะทำ ตะถำคะเตนะ อะภิสัมพุทธำ, จักขุกะระณี ญำณะกะระณี อุปะสะมำยะ อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นพิ พำนำยะ สงั วัตตะติ. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. เสยยะถีทัง. สัมมำทิฏฐิ สัมมำสังกัปโป, สมั มำวำจำ สัมมำกมั มันโต สมั มำอำชโี ว, สัมมำวำยำโม สัมมำสะติ สัมมำสะมำธิ. อะยัง โข สำ ภิกขะเว มัชฌิมำ ปะฏิปะทำ ตะถำคะเตน ะ อะภิสัมพุทธำ, จักขุกะระณี ญำณะกะระณี อุปะสะมำยะ อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นพิ พำนำยะ สงั วตั ตะต.ิ อทิ ัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทกุ ขงั อะรยิ ะสจั จัง, ชำตปิ ิ ทุกขำ ชะรำปิ ทุกขำ มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปำยำสำปิ ทุกขำ, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทกุ ขงั , สังขติ เตนะ ปัญจปุ ำทำนักขันธำ ทุกขำ. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง. ยำยัง ตัณหำ โปโนพภะวิกำ นันทิรำคะสะหะคะตำ ตัต๎ระ ตัต๎รำภินันทินี. เสยยะถีทงั . กำมะตัณหำ ภะวะตัณหำ วิภะวะตณั หำ. อทิ งั โข ปะนะ ภกิ ขะเว ทกุ ขะนโิ รโธ อะรยิ ะสัจจงั . โย ตัสสำเยวะ ตัณหำยะ อะเสสะวริ ำคะนโิ รโธ จำโค ปะฏนิ ิสสคั โค มุตติ อะนำละโย. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏิปะทำ อะริยะ- สัจจัง. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. เสยยะถีทัง. สัมมำทิฏฐิ สัมมำสังกัปโป, สัมมำวำจำ สัมมำกัมมันโต สัมมำอำชีโว, สัมมำวำยำโม สมั มำสะติ สัมมำสะมำธ.ิ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๐๗
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณัง อุทะปำทิ ปัญญำ อุทะปำทิ วิชชำ อุทะปำทิ อำโลโก อุทะปำทิ. ตงั โข ปะนิทัง ทุกขงั อะริยะสจั จงั ปะริญเญยยนั ติ เม ภกิ ขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณงั อทุ ะปำทิ ปัญญำ อทุ ะปำทิ วิชชำ อทุ ะปำทิ อำโลโก อุทะปำทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสจั จัง ปะริญญำตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสเุ ตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณัง อทุ ะปำทิ ปญั ญำ อุทะปำทิ วิชชำ อทุ ะปำทิ อำโลโก อุทะปำทิ. อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะ- นสุ สเุ ตสุ ธมั เมสุ, จกั ขงุ อทุ ะปำทิ ญำณงั อุทะปำทิ ปัญญำ อทุ ะปำทิ วชิ ชำ อทุ ะปำทิ อำโลโก อุทะปำท.ิ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหำตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณัง อุทะปำทิ ปัญญำ อทุ ะปำทิ วชิ ชำ อุทะปำทิ อำโลโก อทุ ะปำทิ, ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสะเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณัง อทุ ะปำทิ ปญั ญำ อุทะปำทิ วชิ ชำ อุทะปำทิ อำโลโก อุทะปำทิ. อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะ- นสุ สุเตสุ ธมั เมสุ, จกั ขุง อุทะปำทิ ญำณงั อทุ ะปำทิ ปัญญำ อุทะปำทิ วิชชำ อุทะปำทิ อำโลโก อทุ ะปำท.ิ ๑๐๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกำตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปพุ เพ อะนะนสุ สเุ ตสุ ธมั เมสุ,จกั ขุง อทุ ะปำทิ ญำณงั อุทะปำทิ ปัญญำ อทุ ะปำทิ วิชชำ อุทะปำทิ อำโลโก อทุ ะปำทิ, ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว, ปพุ เพ อะนะนสุ สุเตสุ ธมั เมสุ,จักขงุ อุทะปำทิ ญำณงั อทุ ะปำทิ ปญั ญำ อทุ ะปำทิ วิชชำ อุทะปำทิ อำโลโก อทุ ะปำทิ. อิทัง ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏิปะทำ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณัง อุทะปำทิ ปญั ญำ อุทะปำทิ วชิ ชำ อทุ ะปำทิ อำโลโก อทุ ะปำทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏิปะทำ อะริยะสัจจัง ภำเวตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปำทิ ญำณงั อทุ ะปำทิ ปญั ญำ อทุ ะปำทิ วชิ ชำ อุทะปำทิ อำโลโก อุทะปำทิ, ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏิปะทำ อะริยะสัจจัง ภำวิตนั ติ เม ภกิ ขะเว, ปพุ เพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จกั ขงุ อุทะปำทิ ญำณงั อุทะปำทิ ปญั ญำ อุทะปำทิ วชิ ชำ อุทะปำทิ อำโลโก อทุ ะปำท.ิ ยำวะกวี ญั จะ เม ภกิ ขะเว อเิ มสุ จะตสู ุ อะริยะสจั เจสุ, เอวนั ติ- ปะริวัฏฏัง ท๎วำทะสำกำรัง ยะถำภูตัง ญำณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ. เนวะ ตำวำหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมำระเก สะพ๎รหั ม๎ ะเก, สัสสะมะณะพ๎รำห๎มะณิยำ ปะชำยะ สะเทวะมะนุสสำยะ, อะนุตตะรัง สมั มำสัมโพธงิ อะภสิ มั พุทโธ ปัจจัญญำสิง. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๐๙
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติ- ปะริวฏั ฏงั ท๎วำทะสำกำรงั ยะถำภตู ัง ญำณะทัสสะนงั สวุ ิสทุ ธัง อะโหสิ. อะถำหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมำระเก สะพ๎รัห๎มะเก, สัสสะมะณะพ๎รำห๎มะณิยำ ปะชำยะ สะเทวะมะนุสสำยะ, อะนุตตะรัง สมั มำสัมโพธิง อะภิสมั พุทโธ ปจั จญั ญำสิง. ญำณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปำทิ, อะกุปปำ เม วิมุตติ, อะยะมนั ติมำ ชำติ, นตั ถิทำนิ ปนุ ัพภะโวติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวำ, อัตตะมะนำ ปัญจะวัคคิยำ ภิกขู ภะคะวะโต ภำสิตัง อะภินันทุง, อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยำกะระณัส๎มิง ภญั ญะมำเน, อำยัสม๎ ะโต โกณฑญั ญัสสะ วริ ะชัง วตี ะมะลงั ธัมมะจักขุง อุทะปำทิ, ยังกญิ จิ สะมุทะยะธัมมัง สพั พนั ตัง นโิ รธะธัมมนั ต.ิ ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตำ ธัมมะจักเก, ภุมมำ เทวำ สัททะ- มะนุสสำเวสุง, เอตัมภะคะวะตำ พำรำณะสยิ ัง อิสปิ ะตะเน มิคะทำเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วำ พ๎รำหม๎ ะเณนะ วำ เทเวนะ วำ มำเรนะ วำ พร๎ ัห๎มมนุ ำ วำ เกนะจิ วำ โลกสั ๎มนิ ต.ิ (หยุด) ภุมมำนัง เทวำนัง สทั ทัง สตุ ว๎ ำ, จำตมุ มะหำรำชิกำ เทวำ สัททะ- มะนุสสำเวสงุ , จำตุมมะหำรำชิกำนัง เทวำนัง สทั ทัง สุตว๎ ำ, ตำวะติงสำ เทวำ สัททะมะนุสสำเวสุง, ตำวะติงสำนัง เทวำนัง สทั ทงั สตุ ว๎ ำ, ยำมำ เทวำ สทั ทะมะนุสสำเวสงุ , ยำมำนงั เทวำนัง สัททงั สตุ ๎วำ, ตสุ ิตำ เทวำ สทั ทะมะนสุ สำเวสงุ . ตุสติ ำนงั เทวำนัง สัททงั สุต๎วำ, ๑๑๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
นิมมำนะระตี เทวำ สัททะมะนุสสำเวสุง. นิมมำนะระตีนัง เทวำนงั สัททัง สตุ ว๎ ำ, ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวำ สัททะมะนุสสำเวสุง, ปะระนิม- มิตะวะสะวตั ตนี ัง เทวำนัง สทั ทัง สตุ ๎วำ, พ๎รหั ม๎ มะกำยกิ ำ เทวำ สทั ทะมะนสุ สำเวสุง, เอตัมภะคะวะตำ พำรำณะสยิ งั อสิ ิปะตะเน มิคะทำเย อะนตุ ตะรงั ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วำ พ๎รำห๎มะเณนะ วำ เทเวนะ วำ มำเรนะ วำ พร๎ หั ม๎ นุ ำ วำ เกนะจิ วำ โลกัส๎มนิ ต.ิ (หยดุ ) อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ, ยำวะ พ๎รัห๎มะโลกำ สัทโท อัพภุคคัจฉิ. อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธำตุ , สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ, อัปปะมำโณ จะ โอฬำโร โอภำโส โลเก ปำตุระโหสิ, อะติกกัมเมวะ เทวำนัง เทวำนุภำวัง. อะถะโข ภะคะวำ อุทำนัง อุทำเนสิ, อัญญำสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ, อัญญำสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ. อิติหิทัง อำยัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ , อัญญำ- โกณฑญั โญเตว๎ วะ นำมัง, อะโหสตี .ิ คำแปล อันขา้ พเจ้า (คือพระอานนทเถระ) ได้สดบั มาแล้วอย่างน้ี สมัยหน่ึงพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ท่ีป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้ เมืองพาราณสี ในกาลน้นั แล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรสั เตอื นพระภิกษุปญั จวคั คียว์ ่า ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ที่สุดสองอย่างน้ี อันบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การ ประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุข ในกามทั้งหลายน้ีใด เป็นธรรมอันเลว เป็นเหตุให้ ตั้งบ้านเรือน เป็นของคนมีกิเลสหนา ไม่ใช่ไปจากข้าศึกกิเลส ไม่ประกอบด้วย ประโยชน์อย่างหน่ึง คือการประกอบความเหน็ดเหน่ือยด้วยตนเหล่านี้ใด ให้เกิด วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๑๑๑
ทุกข์แก่ผู้ประกอบไม่ใช่ไปจากข้าศึกคือกิเลส ไม่ประกอบด้วยประโยชน์อย่างหน่ึง ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง ไม่เข้าไปใกล้ท่ีสุดสองอย่างน่ันน้ัน อัน ตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทาดวงตา ทาญาณ เคร่ืองรู้ ย่อมเป็นไปเพื่อ ความเข้าไปสงบระงับ เพ่ือความรยู้ งิ่ เพอื่ ความรู้ดี เพือ่ ความดับ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ก็ข้อปฏิบัติซึ่งเป็นกลางน้ันเป็นไฉน ท่ีตถาคตได้ตรัสรู้ แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทาดวงตา ทาญาณเครื่องรู้ ย่อมเป็นไปเพ่ือความเข้าไปสงบ ระงับ เพื่อความรู้ย่ิง เพื่อความรดู้ ี เพอื่ ความดบั ทางมีองค์ ๘ เครื่องไปจากข้าศึก คือ กิเลสนเ้ี อง กล่าวคือ ปัญญาอันเห็นชอบ ความดาริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ ความ เลี้ยงชวี ติ ชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความต้ังจิตชอบ ดกู ่อนภิกษุทัง้ หลาย อันนแ้ี ลขอ้ ปฏิบตั ซิ ึ่งเป็นกลางนนั้ ท่ีตถาคตไดต้ รัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันย่งิ ฯลฯ เพอื่ ความดบั ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ก็นี้แล เป็นทุกข์อย่างแท้จริง คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความโศก ความร่าไรราพัน ความทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์ ความประสบด้วยส่ิงไม่เป็นที่รักทั้งหลาย เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งท่ีรักท้ังหลายเป็นทุกข์ ปรารถนาอยู่ย่อมไม่ได้ แม้ อนั ใด แมอ้ นั นั้นก็เป็นทกุ ข์ โดยย่อแล้ว อปุ าทานขันธ์ ๕ เปน็ ทุกข์ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ก็น้ีแล เป็นเหตุให้ทุกข์เกิดข้ึนอย่างจริงแท้ คือ ความ ทะยานอยากนี้ทาให้มีภพอีก เป็นไปกับความกาหนัดยินดี ด้วยอานาจความพอใจ เพลิดเพลนิ ในอารมณ์น้ัน ๆ กล่าวคือ คอื ความทะยานอยากในอารมณใ์ คร่ คือความ ทะยานอยากในความมีความเป็น คอื ความทะยานอยากในความไมม่ ีไม่เปน็ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ก็น้ีแลเป็นความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือความดับโดย สิ้นกาหนัด โดยไมเ่ หลอื แห่งตัณหาน้ันนั่นเทียวอันใด ความสละตณั หานนั้ ความวาง ตัณหานนั้ ความปลอ่ ยตณั หานัน้ ความไม่พวั พันแห่งตณั หานนั้ ๑๑๒ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แล เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ ทางมีองค์ ๘ เคร่ืองไปจากขา้ ศกึ คือกเิ ลสน้ีแล กล่าวคือ ปญั ญาอันเห็นชอบ ฯลฯ ความตงั้ จติ ชอบ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้ว ปัญญาได้ เกิดขึ้นแล้ว วิทยาได้เกิดข้ึนแล้ว แสงสว่างได้เกิดข้ึนแล้ว แก่เราในธรรมท้ังหลายที่ เราไมไ่ ดเ้ คยฟังแล้วในกาลก่อนวา่ นเ้ี ปน็ ทกุ ขอ์ รยิ สัจ. ดกู ่อนภกิ ษทุ ั้งหลาย จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ ในกาลกอ่ นว่า ก็ทุกขอริยสจั นี้ น้นั แล ควรกาหนดรู้ ดูก่อนภกิ ษุทั้งหลาย จกั ษุได้เกดิ ข้นึ แลว้ ฯลฯ ในกาลกอ่ นว่า ก็ทุกขอรยิ สัจนี้ น้ันแล อันเราไดก้ าหนดรู้แล้ว ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย จักษุได้เกิดข้ึนแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า น้ีทุกขสมุทัย อริยสจั ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุได้เกิดข้ึนแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า ก็ทุกขสมุทัย อริยสจั นน้ี ัน้ แล ควรละเสยี ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย จักษุได้เกิดข้ึนแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า ก็ทุกขสมุทัย อรยิ สัจนน้ี ั้นแล อันเราได้ละแลว้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุได้เกิดข้ึนแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า น้ีทุกขนิโรธ อรยิ สจั ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุได้เกิดข้ึนแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า ก็ทุกขนิโรธ- อรยิ สจั น้นี ้นั แล ควรทาให้แจ้ง ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย จักษุได้เกิดข้ึนแล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า ก็ทุกขนิโรธ อรยิ สัจนีแ้ ล อนั เราได้ทาให้แจ้งแล้ว ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย จักษไุ ด้เกดิ ข้นึ แล้ว ฯลฯ ในกาลกอ่ นวา่ ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทาอริยสัจ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๑๑๓
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุได้เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ กาลก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทาอรยิ สัจน้ีนั้นแล ควรให้เจรญิ ดกู อ่ นภิกษุทง้ั หลาย จักษุได้เกดิ ข้นึ แล้ว ฯลฯ ในกาลก่อนว่า กท็ ุกขนโิ รธคา- มนิ ีปฏิปทาอริยสัจนนี้ ้นั แล อันเราเจริญแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาอันรู้เห็นตามเป็นจริงแล้วอย่างไร ในอริยสัจ ๔ เหล่าน้ีของเรา ซึ่งมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ ยังไม่หมดจดเพียงใดแล้ว ดูก่อน ภกิ ษุทง้ั หลายเราได้ยืนยันตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะซ่ึงปัญญาเคร่ืองตรัสรู้ชอบ ไม่มคี วามตรัสรู้อ่ืนจะย่งิ กว่าในโลก เปน็ ไปกับด้วยเทพดา มาร พรหม ในหมู่สัตว์ท้ัง สมณพราหมณ์ เทพดา มนุษย์ ไม่ได้เพียงนนั้ ดูก่อนภิกษทุ ง้ั หลาย ก็เมอื่ ใดแลปญั ญาอันรู้เห็นตามจริงอยา่ งไรในอรยิ สัจ ๔ เหลา่ นขี้ องเราซึง่ มีรอบ ๓ มอี าการ ๑๒ อย่างน้หี มดจดดแี ล้ว เม่ือน้ัน เราจงึ ได้ยนื ยัน ตนว่าเป็นผู้ตรสั รู้พร้อมเฉพาะ ซ่ึงปัญญาเครื่องตรัสรู้ชอบไมม่ ีความตรัสรู้อ่ืนย่ิงกว่า ในโลกเปน็ ไปกับดว้ ยเทพดา มาร พรหม ในหมู่สตั วท์ ั้งสมณพราหมณ์ เทพดา มนษุ ย์ ก็แล ปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดข้ึนแล้วแก่เรา ว่าความพ้นพิเศษของเราไม่กลับกาเริบ ชาตนิ ้ีเป็นท่สี ดุ แล้ว บดั นี้ไม่มีภพอกี พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสธรรมปริยายน้ีแล้ว ภิกษุปัญจวัคคีย์ก็มีใจยินดี เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า ก็แลเม่ือเวยยากรณ์น้ี อันพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ตรัสอยู่ จักษุในธรรม อันปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแล้ว แก่พระผู้มี อายุโกณฑัญญะ ว่าสิ่งใดสิ่งหน่ึง มีอันเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ส่ิงท้ังปวงน้ันมีอันดับไป เป็นธรรมดา ก็ คร้ันเมื่อธรรมจักร อันพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว เหล่าภุมม- เทพยดา ก็ยังเสียงให้บันลือล่ันว่านั่นจักร คือธรรมไม่มีจักรอื่นสู้ได้ อันพระผู้มีพระ ภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว ท่ีป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี อันสมณ- พราหมณ์ เทพยดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลกยงั ใหเ้ ป็นไปไม่ได้ ดังนี้ ๑๑๔ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
เทพเจ้าเหล่าช้นั จาตุมหาราช ไดฟ้ งั เสยี งของเทพเจ้า เหล่าภมุ มเทพยดาแล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือล่ัน เทพเจ้าเหล่าช้ันดาวดึงส์ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าช้ัน จาตุมมหาราชแลว้ ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น เทพเจ้าเหล่าช้ันยามะได้ฟังเสียงของเทพ เจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้วก็ยังเสียงให้บันลือล่ัน เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิต ฯลฯ เทพเจ้า เหล่าชั้นนิมมานรดี ฯลฯ เทพเจ้าเหล่าช้ันปะระนิมมิตะวะสะวัตดี ฯลฯ เทพเจ้าชั้น เหล่าท่ีเกิดในหมูอ่ ะกะนฏิ ฐะกะ ฯลฯ วา่ น่ันจักร คือธรรม ไม่มจี ักรอ่ืนสู้ได้ อันพระผู้ มพี ระภาคเจา้ ให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี อันสมณ- พราหมณ์ เทพยดา มาร พรหม และใครๆ ในโลกยังใหเ้ ป็นไปไม่ได้ ดังน้ี โดยขณะครู่เดียวนี้ เสียงข้ึนไปถึงพรหมโลก ด้วยประการฉะนี้ ทั้งหม่ืน โลกธาตไุ ด้หวนั่ ไหวสะเทือนสะทา้ นลน่ั ไป ท้งั แสงสวา่ งอันย่ิงไมม่ ีประมาณได้ปรากฏ แล้วในโลก ล่วงเทวานุภาพของเทพยดาทั้งหลายเสียหมด ลาดับน้ันแล พระผู้มพี ระ ภาคเจ้าไดท้ รงเปล่งอุทานวา่ โกณฑัญญะได้รูแ้ ล้วหนอ ผู้เจรญิ โกณฑัญญะได้รู้แล้ว หนอผู้เจรญิ เพราะเหตุน้ัน นามวา่ อญั ญาโกณฑัญญะน้ีน่ันเทียว ได้มีแล้วแก่พระผู้มี อายุ โกณฑญั ญะ ด้วยประการฉะน้ีแล ฯ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๑๕
บทอนตั ตลักขณสูตร พระวนิ ยั ปิฎก มหาวรรค อนัตตลักขณสูตร คือพระสูตรท่ีแสดงลักษณะ คือ เคร่ืองกาหนดหมายว่า เป็นอนัตตา เป็นพระสูตรที่มีความสาคัญที่สุดพระสูตรหนึ่ง เน่ืองจากหลังจากที่ พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระสูตรนี้แล้ว ได้บังเกิดพระอรหันต์ในพระบวรพุทธ ศาสนา ๕ องค์ รวมพระพุทธองค์เป็น ๖ องค์ ซ่ึงพระสูตรน้ี มีใจความเกี่ยวกับ ความไม่ใช่ตัวตนของ รูป คือ ร่างกาย, เวทนา คือ ความรู้สึกสุขทุกข์ หรือเฉย ๆ, สัญญา คือ ความจาได้หมายรู้, สังขาร คือ ความคิด หรือเจตนา, วิญญาณ คือ ความรู้อารมณ์ทางตา หู เป็นต้น หรือเรียกอีกประการหนึ่งว่า อายตนะทั้ง ๖ อันได้แก่สมั ผัสทาง ตา หู จมูก ล้นิ กาย และใจ พระสูตรน้ีเป็นหน่ึงในพระสูตรสาคัญท่ีรวบรวมเอาหัวใจของพระบวรพุทธ ศาสนาไว้อย่างครอบคลุม กว้างขวาง จึงขนานนามกันว่าเป็น \"ราชาธรรม\" เช่น เดียวกับธัมมจักกัปปวัตนสูตรและอาทิตตปริยายสูตร ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าทรงแสดงไว้ และยังให้บังเกิดการประกาศพระศาสนาครั้งใหญ่ไปท่ัวสากล จกั รวาล และบงั เกิดพระอรหันต์เป็นจานวนมาก บทขัด ยนั ตงั สัตเตหิ ทุกเขนะ เญยยงั อะนัตตะลักขะณงั , อตั ตะวำทำตตะสัญญำนัง สมั มะเทวะ วิโมจะนัง. สมั พทุ โธ ตัง ปะกำเสสิ ทิฏฐะสัจจำนะ โยคนิ ัง, อุตตะรงิ ปะฏิเวธำยะ ภำเวตงุ ญำณะมตุ ตะมัง. ยันเตสัง ทิฏฐะธมั มำนงั ญำเณนปุ ะปะริกขะตัง, ๑๑๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
สัพพำสะเวหิ จิตตำนิ วิมจุ จิงสุ อะเสสะโต. ตะถำ ญำณำนสุ ำเรนะ สำสะนัง กำตุมิจฉะตัง, สำธูนัง อัตถะสิทธตั ถงั ตงั สุตตนั ตัง ภะณำมะ เส. คำแปล อนัตตลกั ขณะอันใด อนั สตั วท์ ้ังหลายพึงรู้ได้โดยยาก พระสมั มาสัพพทุ ธเจ้า ได้ทรงประกาศอนัตตลกั ขณะน้ัน เป็นธรรมอันปลดเปลื้องอัตตวาทุปาทาน การถือ มั่นด้วยอันกล่าวว่าเป็นตน และอัตตาสัญญาความสาคัญว่าตนโดยชอบแท้ แก่ เหล่าพระโยคี คือปัญจวัคคีย์ผู้มีสัจจะอันเห็นแล้ว เพื่อให้เจริญญาณอุดม เพ่ือ ความตรัสรู้ธรรมอันยิ่ง จิตของพระปัญจวัคคีย์เหล่านั้น ผู้มีธรรมอันได้เห็นแล้ว ใครค่ รวญแล้วด้วยญาณ พ้นแล้วจากอาสวะทัง้ ปวงโดยไมเ่ หลือ ด้วยพระสูตรอนั ใด เราทั้งหลายจงสวดพระสูตรอันนั้น เพ่ือสาเร็จประโยชน์แก่สาธุชนทั้งหลาย ผู้ ปรารถนาจาทาคาสอนโดยระลึกตามญาณอยา่ งน้ันเทอญ ฯ บทสวด เอวัมเม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, พำรำณะสิยัง วิหะระติ, อิสิปะตะเน มิคะทะเย. ตัต๎ระ โข ภะคะวำ ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อำมนั เตสิ. รปู ัง ภิกขะเว อะนตั ตำ. รปู ัญจะหิทัง ภิกขะเว อตั ตำ อะภะวสิ สะ, นะยิทัง รูปัง อำพำธำยะ สังวัตเตยยะ, ลพั เภถะ จะ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มำ อะโหสีติ. ยัส๎มำ จะ โข ภิกขะเว รูปัง อะนัตตำ, ตัส๎มำ รูปัง อำพำธำยะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวงั เม รปู ัง มำ อะโหสตี ิ. วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๑๗
เวทะนำ อะนัตตำ. เวทะนำ จะ หิทัง ภกิ ขะเว อตั ตำ อะภะวสิ สะ, นะยิทัง เวทะนำ อำพำธำยะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ เวทะนำยะ, เอวัง เม เวทะนำ โหตุ เอวัง เม เวทะนำ มำ อะโหสีติ. ยัส๎มำ จะ โข ภกิ ขะเว เวทะนำ อะนัตตำ, ตัส๎มำ เวทะนำ อำพำธำยะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ เวทะนำยะ, เอวัง เม เวทะนำ โหตุ เอวัง เม เวทะนำ มำ อะโหสตี ิ. สัญญำ อะนัตตำ. สัญญำ จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตำ อะภะวิสสะ, นะยิทัง สัญญำ อำพำธำยะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ สญั ญำยะ, เอวัง เม สัญญำ โหตุ เอวัง เม สัญญำ มำ อะโหสีติ. ยัส๎มำ จะ โข ภิกขะเว สัญญำ อะนตั ตำ, ตัส๎มำ สัญญำ อำพำธำยะ สังวตั ตะติ, นะ จะ ลพั ภะติ สัญญำยะ, เอวัง เม สญั ญำ โหตุ เอวัง เม สัญญำ มำ อะโหสีติ. สังขำรำ อะนตั ตำ. สงั ขำรำ จะ หทิ ัง ภิกขะเว อัตตำ อะภะวสิ สงั สุ, นะยทิ ัง สังขำรำ อำพำธำยะ สงั วตั เตยยุง, ลัพเภถะ จะ สงั ขำเรสุ, เอวัง เม สังขำรำ โหนตุ เอวัง เม สังขำรำ มำ อะเหสุนติ. ยัส๎มำ จะ โข ภกิ ขะเว สังขำรำ อะนัตตำ, ตัสม๎ ำ สงั ขำรำ อำพำธำยะ สังวัตตันติ, นะ จะ ลัพภะติ สังขำเรสุ, เอวัง เม สังขำรำ โหนตุ เอวัง เม สังขำรำ มำ อะเหสนุ ต.ิ วิญญำณัง อะนัตตำ. วิญญำณัญจะ หิทัง ภิกขะเว อัตตำ อะภะวิสสะ, นะยิทัง วิญญำณัง อำพำธำยะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ วิญญำเณ, เอวัง เม วิญญำณัง โหตุ เอวัง เม วิญญำณัง มำ อะโหสีติ. ยสั ๎มำ จะ โข ภิกขะเว วิญญำณัง อะนัตตำ, ตัสม๎ ำ วิญญำณัง อำพำธำยะ ๑๑๘ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ วิญญำเณ, เอวัง เม วิญญำณงั โหตุ เอวงั เม วญิ ญำณงั มำ อะโหสตี .ิ ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว รูปัง นิจจัง วำ อะนิจจัง วำติ. อะนิจจงั ภันเต ฯ ยัมปะนำนิจจงั ทกุ ขัง วำ ตัง สขุ ัง วำต.ิ ทกุ ขัง ภนั เต. ยัมปะนำนิจจงั ทุกขัง วปิ ะริณำมะธัมมัง, กลั ลงั นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมสั ๎มิ เอโส เม อัตตำติ. โน เหตงั ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว เวทะนำ นิจจำ วำ อะนิจจำ วำติ. อะนิจจำ ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วำ ตัง สขุ ัง วำติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วิปะริณำมะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตำต.ิ โน เหตัง ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สัญญำ นิจจำ วำ อะนิจจำ วำติ. อะนิจจำ ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วำ ตัง สุขัง วำติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วิปะริณำมะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตงั มะมะ เอโสหะมัสม๎ ิ เอโส เม อัตตำติ. โน เหตัง ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สังขำรำ นิจจำ วำ อะนิจจำ วำติ. อะนิจจำ ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วำ ตัง สขุ ัง วำติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วิปะริณำมะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตงั มะมะ เอโสหะมสั ๎มิ เอโส เม อัตตำติ. โน เหตงั ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญำณัง นิจจัง วำ อะนิจจัง วำติ. อะนิจจัง ภันเต. ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วำ ตัง สุขัง วำติ. ทุกขัง ภันเต. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๑๙
ยัมปะนำนิจจัง ทุกขัง วิปะริณำมะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตำติ. โน เหตัง ภนั เต. ตัส๎มำติหะ ภิกขะเว, ยังกิญจิ รูปัง อะตีตำนำคะตะปัจจุปปันนัง, อัชฌัตตัง วำ พะหิทธำ วำ, โอฬำริกัง วำ สุขุมัง วำ, หีนัง วำ ปะณีตัง วำ, ยนั ทเู ร สนั ตเิ ก วำ, สพั พัง รูปัง, เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตำต.ิ เอวะเมตงั ยะถำภูตัง สมั มปั ปัญญำยะ ทฏั ฐพั พงั . ยำ กำจิ เวทะนำ อะตีตำนำคะตะปัจจุปปันนำ, อัชฌัตตำ วำ พะหิทธำ วำ, โอฬำริกำ วำ สุขุมำ วำ, หีนำ วำ ปะณีตำ วำ, ยำ ทูเร สันตเิ ก วำ, สพั พำ เวทะนำ, เนตงั มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตำติ. เอวะเมตัง ยะถำภตู ัง สมั มัปปญั ญำยะ ทฏั ฐพั พัง. ยำ กำจิ สัญญำ อะตีตำนำคะตะปัจจุปปันนำ, อัชฌัตตำ วำ พะหิทธำ วำ, โอฬำริกำ วำ สุขุมำ วำ, หีนำ วำ ปะณีตำ วำ, ยำ ทูเร สันตเิ ก วำ, สัพพำ สัญญำ, เนตัง มะมะ เนโสหะมัสม๎ ิ นะ เมโส อัตตำติ. เอวะ เมตัง ยะถำภตู งั สัมมัปปญั ญำยะ ทัฏฐัพพัง. เย เกจิ สังขำรำ อะตีตำนำคะตะปัจจุปปันนำ, อัชฌัตตำ วำ พะหิทธำ วำ, โอฬำริกำ วำ สุขุมำ วำ, หีนำ วำ ปะณีตำ วำ, เย ทูเร สนั ติเก วำ, สัพเพ สังขำรำ, เนตงั มะมะ เนโสหะมสั ๎มิ นะ เมโส อัตตำติ. เอวะเมตัง ยะถำภูตัง สมั มปั ปญั ญำยะ ทฏั ฐัพพงั . ยังกิญจิ วิญญำณัง อะตีตำนำคะตะปัจจุปปันนัง, อัชฌัตตัง วำ พะหิทธำ วำ, โอฬำริกัง วำ สุขุมัง วำ, หีนัง วำ ปะณีตัง วำ, ยันทูเร ๑๒๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
สันติเก วำ, สัพพัง วิญญำณัง, เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อตั ตำติ. เอวะเมตัง ยะถำภตู ัง สมั มัปปญั ญำยะ ทัฏฐพั พัง. เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุต๎วำ อะริยะสำวะโก, รูปัส๎มิงปิ นิพพินทะติ, เวทะนำยะปิ นิพพินทะติ, สัญญำยะปิ นิพพินทะติ, สังขำเรสุปิ นิพพินทะติ, วิญญำณัส๎มิงปิ นิพพินทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิรำคำ วิมุจจะติ. วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมีติ ญำณัง โหติ , ขีณำ ชำติ, วุสิตัง พ๎รัห๎มะจะริยัง, กะตัง กะระณียัง, นำปะรัง อติ ถตั ตำยำติ ปะชำนำตีต.ิ อิทะมะโวจะ ภะคะวำ. อัตตะมะนำ ปัญจะวคั คยิ ำ ภกิ ขู ภะคะวะโต ภำสติ ัง อะภินันทงุ . อมิ ัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยำกะระณัส๎มิง ภัญญะมำเน, ปญั จะวคั คยิ ำนัง ภกิ ขูนงั อะนปุ ำทำยะ, อำสะเวหิ จติ ตำนิ วิมุจจงิ สตู .ิ คำแปล อันข้าพเจา้ (คือพระอานนทเถระ) ไดส้ ดับมาแล้วอย่างนว้ี ่า สมัยหนงึ่ พระผมู้ ีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยูท่ ีป่ า่ อิสปิ ตนมฤคทายวัน ใกล้ เมืองพาราณสี ในกาลนัน้ แล พระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรัสเตือนพระภิกษุปญั จวัคคีย์ (ให้ ตงั้ ใจฟงั ภาษิตนีว้ ่า) ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย รูป (คือร่างกายนี้) เป็นอนัตตา (มิใช่ตัวตน) ดูก่อน ภิกษุท้ังหลาย ก็รูปน้ีจักได้เป็นอนัตตา(ตน) แล้ว รูปน้ีก็ไม่พึงเป็นไปเพ่ืออาพาธ (ความลาบาก) อนง่ึ สัตว์พงึ ได้ในรูปตามใจหวังว่ารูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูป ของเราอย่าได้เป็นอย่างน้ันเลย ก็เพราะเหตุใดแล ภิกษุท้ังหลาย รูปจึงเป็น อนัตตา เพราเหตนุ ั้น รปู จงึ เป็นไปเพื่ออาพาธ อนงึ่ สตั ว์ย่อมไมไ่ ด้ในรูปตามใจหวงั ว่า รูปของเราจงเป็นอย่างนเ้ี ถดิ รูปของเราอยา่ ได้เป็นอยา่ งน้ันเลย วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๑๒๑
เวทนา ( คอื ความรู้สึกอารมณ์) เป็นอนัตตา ดกู ่อนภิกษทุ ้ังหลาย ก็เวทนาน้ี จักได้เป็นอัตตาแล้ว เวทนาน้ีก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ อนึ่ง สัตว์พึงได้ในเวทนา ตามใจหวัง ว่าเวทนาของเราจงเป็นอย่างน้ีเถิด เวทนาของเราอย่าได้เป็นอย่างน้ัน เลย ก็เพราะเหตุใดแล ภิกษทุ ้ังหลายเวทนาจงึ เปน็ อนตั ตา เพราะเหตุนัน้ เวทนาจึง เป็นไปเพอื่ อาพาธ อน่ึง สัตว์ย่อมไม่ได้ในเวทนาตามใจหวัง ว่าเวทนาของเรา จงเป็น อยา่ งนเ้ี ถิด เวทนาของเราอยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนัน้ เลย สญั ญา (คือความจา) เป็นอนัตตา ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ก็สัญญานี้จักได้เป็น อัตตาแล้ว สัญญาน้ีก็ไม่พึงเป็นไปเพ่ืออาพาธ อน่ึง สัตว์พึงได้ในสัญญาตามใจ หวัง ว่าสัญญาของเราจงเป็นอย่างน้ีเถิด สัญญาของเราอย่าได้เป็นอย่างน้ันเลย ก็ เพราะเหตุใดแล ภิกษุทั้งหลายสัญญาจึงเป็นอนัตตาเพระเหตุนั้น สัญญาจึงเป็นไป เพื่ออาพาธ อนึง่ สัตว์ย่อมไมไ่ ด้ในสัญญาตามใจหวงั วา่ สัญญาของเราจงเป็นอยา่ งน้ี เถดิ สัญญาของเราอย่าได้เปน็ อย่างนั้นเลย สังขาร (คือสภาพที่เกิดดับกับใจ ปรุงแต่งใจให้ดีบ้างชั่วบ้าง) เป็น อนตั ตา ดูกอ่ นภิกษุทงั้ หลาย ก็สงั ขารทงั้ หลายนี้จักไดเ้ ปน็ อัตตาแลว้ สงั ขารท้ังหลาย ก็ไม่พึงเป็นไปเพ่ืออาพาธ อนึ่ง สัตว์พึงได้ในสังขารทั้งหลายตามใจว่า สังขาร ท้งั หลายของเราจงเปน็ อย่างนเี้ ถิด สงั ขารทง้ั หลายของเราอยา่ ไดเ้ ปน็ อย่างนนั้ เลย ก็ เพราะเหตุใดแล ภิกษุทั้งหลาย สังขารท้ังหลายจงึ เป็นอนตั ตา เพราะเหตุนัน้ สังขาร ทัง้ หลายจึงเป็นไปเพอื่ อาพาธ อนึ่ง สัตว์ยอ่ มไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง ว่า สังขารทั้งหลายของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่าง น้นั เลย วิญญาณ (คือใจ) เป็นอนัตตา ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ก็วิญญาณนี้จักได้เป็น อัตตาแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กว็ ิญญาณท้ังหลายน้ีจักได้เป็นอตั ตาแลว้ วิญญาณ ทั้งหลายก็ไม่พึงเป็นไปเพ่ืออาพาธ อนึ่ง สัตว์พึงได้ในวิญญาณทั้งหลายตามใจ วา่ วิญญาณทั้งหลายของเราจงเปน็ อยา่ งนี้เถิด วญิ ญาณทั้งหลายของเราอย่าได้เป็น อย่างน้ันเลย ก็เพราะเหตุใดแล ภิกษุท้ังหลาย วิญญาณท้ังหลายจึงเป็น ๑๒๒ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
อนัตตา เพราะเหตุน้ัน วิญญาณท้ังหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ อน่ึง สัตว์ย่อมไม่ได้ ในวิญญาณทั้งหลายตามใจหวัง ว่าวิญญาณท้ังหลายของเราจงเป็นอย่างนี้ เถดิ วญิ ญาณท้งั หลายของเราอยา่ ไดเ้ ป็นอย่างนัน้ เลย ทา่ นท้ังหลายสาคัญความขอ้ น้ันเป็นไฉน ภิกษทุ ้ังหลาย รูปเที่ยงหรอื ไมเ่ ทย่ี ง ไม่เท่ียงพระเจ้าข้า ส่ิงใดไม่เที่ยง ส่ิงนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า เป็นทุกข์ พระเจ้า ข้า ก็ส่ิงใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรือเพ่ือจะตาม เห็นสิ่งนั้น ว่านั้นของเรา เราเป็นน่ันเป็นน่ี นั่นเป็นตนของเรา หาอย่างนั้นไม่พระ เจา้ ข้า ท่านท้ังหลายสาคัญความขอ้ นั้นเปน็ ไฉน ภิกษุทั้งหลาย เวทนาเท่ียงหรือไม่ เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า สิ่งใดไม่เท่ียง ส่ิงนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า ก็สิ่งใดไมเ่ ท่ียง เปน็ ทุกข์มคี วามแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรอื เพ่ือ จะตามเห็นส่งิ นนั้ ว่านั้นของเรา เราเปน็ นน่ั เป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา หาอยา่ งนั้นไม่ พระเจา้ ข้า ทา่ นทัง้ หลายสาคญั ความข้อนั้นเปน็ ไฉน ภิกษุทั้งหลาย สญั ญาเที่ยงหรือไม่ เท่ียง ไม่เท่ียงพระเจ้าข้า ส่ิงใดไม่เที่ยง ส่ิงนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า กส็ ่ิงใดไม่เที่ยง เปน็ ทุกข์มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรือเพื่อ จะตามเห็นส่ิงน้นั ว่าน้ันของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่ นั่นเปน็ ตนของเรา หาอย่างนั้น ไมพ่ ระเจ้าขา้ ท่านทั้งหลายสาคัญความข้อน้ันเป็นไฉน ภิกษุท้ังหลาย สังขารเท่ียงหรือไม่ เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า ส่ิงใดไม่เที่ยง ส่ิงนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า เป็นทุกข์ พระเจา้ ข้า ก็ส่ิงใดไม่เท่ียง เปน็ ทุกข์มคี วามแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรือเพ่ือ จะตามเห็นสิง่ นั้นว่านัน้ ของเรา เราเป็นนั่นเป็นน่ี นั่นเป็นตนของเรา หาอย่างนน้ั ไม่ พระเจ้าขา้ ท่านท้ังหลายสาคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย วิญญาณเท่ียง หรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า สิ่งใดไม่เท่ียง ส่ิงนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า เป็น วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๒๓
ทุกข์ พระเจ้าขา้ ก็สงิ่ ใดไมเ่ ที่ยง เปน็ ทกุ ขม์ ีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรือ เพ่ือจะตามเห็นส่งิ นั้น ว่านั้นของเรา เราเปน็ น่ันเป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา หาอย่าง น้นั ไม่พระเจา้ ขา้ เพราะเหตุน้ันแล ภิกษุท้ังหลาย รูปอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ทเี่ ปน็ อดตี กด็ ี อนาคต ก็ดี ปัจจุบันก็ดี ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณีตก็ ดี อันใดมีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี รูปท้ังหมดก็เป็นสักวา่ รูป นนั้ ไมใ่ ช่ของเรา เราไม่ เปน็ นั่นเป็นน่ี นน่ั ไม่ใชต่ นของเรา ดังน้ี ข้อนี้ อันท่านท้ังหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่าง นนั้ สัญญาอย่างใดอย่างหนึง่ ท่ีเปน็ อดีตก็ดี อนาคตกด็ ี ปจั จุบันก็ดี ฯลฯ น้นั ไมใ่ ช่ตน ของเรา ดงั นี้ ข้อน้ี อันท่านท้ังหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น สงั ขารอยา่ งใดอย่างหนึ่งทเ่ี ป็นอดตี กด็ ี อนาคตกด็ ี ปัจจบุ ันก็ดี ฯลฯ นั้นไม่ใช่ตนของ เรา ดงั นี้ ข้อน้ี อันท่านทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างน้ัน วิญญาณอย่างใดอย่างหน่ึงที่เป็นอดตี ก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันกด็ ี ฯลฯ นั้นไมใ่ ช่ตน ของเรา ดังนี้ ขอ้ น้ี อันท่านทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น ดังน้ี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้วเห็นอยู่อย่างน้ี ย่อมเบื่อหน่ายทั้ง ในรูป ย่อมเบือ่ หน่ายท้ังในเวทนา ย่อมเบ่ือหน่ายทั้งในสญั ญา ย่อมเบอื่ หน่ายท้งั ใน สังขารท้ังหลาย ย่อมเบื่อหน่ายท้ังในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่ายยอ่ มคลายความความ ตดิ เพราะคลายความตดิ จติ ก็หลุดพน้ เม่ือจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณรู้ว่าพ้นแล้ว ดังนี้ อริยสาวกน้ัน ย่อมทราบ ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์เราได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทาเราได้ทาเสร็จแล้ว กิจ อื่นอีกเพ่ือความเป็นอย่างน้ีมิได้มี พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระสูตรน้ีจบลง พระภิกษุปัญจวัคคีย์ก็มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า ก็แล ๑๒๔ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
เมื่อเวยยากรณ์น้ี อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่ จิตของพระภิกษุปัญจวัคคีย์พ้น แลว้ จากอาสวะทง้ั หลายไม่ถือม่ันดว้ ยอปุ าทานแล ฯ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๒๕
บทอำทติ ตปรยิ ำยสตู ร พระวนิ ยั ปิฎก มหาวรรค อำทิตตปริยำยสูตร เป็นธรรมที่สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ทรงแสดงธรรม แกห่ มู่ภกิ ษุชฎิล ท้ัง ๑,๐๐๓ รูป ขณะทพี่ ระบรมศาสดา ทรงแสดงพระธรรมเทศนา อยู่นั้น ภิกษุชฎิล ท้ัง ๑,๐๐๓ รูป ส่งกระแสจิตไปตามวาระแห่งพระธรรมเทศนา จิตของพวกเธอ ก็หลุดพ้นจากกิเลสาสวะทั้งปวง สาเร็จเป็นพระอรหันต์ขีณาสพ ด้วยกันทั้งหมด และพระภิกษุชฎิลท้ังหมดน้ันก็ได้เป็นกาลังสาคัญในการประกาศ พระพทุ ธศาสนาทเ่ี มอื งราชคฤห์ เมอื งหลวงแห่งแควน้ มคธ ทาให้แคว้นมคธเปน็ ฐาน อานาจสาคญั ในการเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาในเวลาตอ่ มา อาทิตตปริยายสูตร เป็นพระสูตรท่ีมีเน้ือหาแสดงถึงความรุ่มร้อนของจิตใจ (อินทรีย์ ๕) ด้วยอานาจของกิเลส เปรียบได้กับความร้อนของไฟท่ีลุกโพลงอยู่ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า อาทิตตปริยายสูตร แสดงให้เห็นว่าความร้อนท่ีแท้จริงคือความ รอ้ นจากภายใน แต่ทวา่ ความสุขหรือความทุกขร์ ้อนจากกิเลสทั้งปวงนนั้ ล้วนเป็นส่ิง ที่ไม่เที่ยง คือตั้งอยู่ไม่ได้ตลอดไป ไม่มีอะไรท่ีควรยึดถือ น่าเบ่ือหน่ายในความผัน แปร พระสตู รน้ีจึงเปน็ พระสตู รสาคญั ในพระพุทธศาสนา เช่ือกันว่า ที่ไหนมีเหตุการณ์ร้อนรุ่มวุ่นวายเพราะมนุษย์ หรืออมนุษย์ก็ตาม ท่านให้สวดสาธยายอาทิตตปริยายสตู รนี้ บทขัด เวเนยยะทะมะโนปำเย สัพพะโส ปำระมิง คะโต, อะโมฆะวะจะโน พทุ โธ อะภญิ ญำยำนสุ ำสะโก. จิณณำนุรูปะโต จำปิ ธมั เมนะ วนิ ะยัง ปะชงั , จณิ ณำคคิปำรจิ ะรยิ ำนัง สมั โพชฌำระหะโยคินัง. ๑๒๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ยะมำทิตตะปะรยิ ำยงั เทสะยันโต มะโนหะรงั , เต โสตำโร วิโมเจสิ อะเสกขำยะ วิมุตติยำ. ตะเถโวปะปะริกขำยะ วิญญูนงั โสตมุ จิ ฉะตงั , ทกุ ขะตำลักขะโณปำยัง ตัง สตุ ตนั ตงั ภะณำมะ เส. คำแปล พระพุทธเจา้ ได้ทรงถึงพระบารมีแล้วโดยประการทั้งปวง ในอุบายฝึกเวไนย สัตว์ มีพระวาจาไม่เปล่าจากประโยชน์ ทรงพร่าสอนเพ่ือความตรัสรู้ยิ่ง และทรง แนะนาหมู่สัตว์ โดยธรรมตามสมควรแก่อุปนิสัยที่เคยประพฤติมา ทรงแสดง อาทิตตปริยายอันใด เป็นเครื่องนาใจของพวกพระโยคีผู้จะตรัสรู้ ซ่ึงเป็นชฎิลเคย บาเรอไฟ ได้ทรงยังพระโยคีผู้สดับเหล่าน้ันให้พ้นแล้ว ด้วยอเสกขวิมุตติ เรา ทง้ั หลาย จงสวดอาทติ ตปริยายสูตรนนั้ เป็นอุบายเคร่อื งกาหนดความทุกข์เพือ่ วิญญู ชนท้ังหลาย ผ้ปู รารถนาเพื่อจะฟงั โดยความใคร่ครวญอย่างน้ันเทอญ ฯ บทสวด เอวัมเม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, คะยำยัง วิหะระติ คะยำสเี ส, สทั ธงิ ภกิ ขุสะหสั เสนะ. ตตั ร๎ ะ โข ภะคะวำ ภิกขู อำมันเตสิ. สพั พัง ภิกขะเว อำทิตตงั . กิญจะ ภิกขะเว สัพพงั อำทติ ตงั . จกั ขุง ภิกขะเว อำทิตตัง, รูปำ อำทิตตำ, จักขุวิญญำณัง อำทิตตัง, จักขุ- สัมผัสโส อำทิตโต, ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วำ ทกุ ขงั วำ อะทกุ ขะมะสุขงั วำ, ตัมปิ อำทิตตงั . เกนะ อำทิตตัง. อำทิตตัง รำคัคคินำ โทสัคคินำ โมหัคคินำ, อำทิตตัง ชำติยำ ชะรำมะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปำยำเสหิ อำทติ ตนั ติ วะทำมิ. วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๑๒๗
โสตัง อำทิตตัง, สัททำ อำทิตตำ, โสตะวิญญำณัง อำทิตตัง, โสตะสัมผัสโส อำทิตโต, ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยติ ัง, สุขงั วำ ทกุ ขงั วำ อะทกุ ขะมะสุขัง วำ, ตมั ปิ อำทิตตงั . เกนะ อำทิตตัง. อำทิตตัง รำคัคคินำ โทสัคคินำ โมหัคคินำ, อำทิตตัง ชำติยำ ชะรำมะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปำยำเสหิ อำทิตตันติ วะทำมิ. ฆำนัง อำทิตตัง, คันธำ อำทิตตำ, ฆำนะวิญญำณัง อำทิตตัง, ฆำนะสัมผัสโส อำทิตโต, ยัมปิทัง ฆำนะสัมผัสสะปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยติ งั , สขุ ัง วำ ทกุ ขงั วำ อะทกุ ขะมะสุขัง วำ, ตมั ปิ อำทติ ตงั . เกนะ อำทิตตัง. อำทิตตัง รำคัคคินำ โทสัคคินำ โมหัคคินำ, อำทิตตัง ชำติยำ ชะรำมะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อปุ ำยำเสหิ อำทิตตันติ วะทำมิ. ชิวหำ อำทิตตำ, ระสำ อำทิตตำ, ชิวหำวิญญำณัง อำทิตตัง, ชวิ หำสมั ผสั โส อำทิตโต, ยัมปิทัง ชิวหำสัมผสั สะปจั จะยำ อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วำ ทุกขัง วำ อะทุกขะมะสุขัง วำ, ตัมปิ อำทิตตัง. เกนะ อำทิตตัง. อำทิตตัง รำคัคคินำ โทสัคคินำ โมหัคคินำ, อำทิตตัง ชำติยำ ชะรำมะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปำยำเสหิ อำทิตตันติ วะทำมิ. กำโย อำทิตโต, โผฏฐัพพำ อำทิตตำ, กำยะวิญญำนัง อำทิตตัง, กำยะสัมผัสโส อำทิตโต, ยัมปิทัง กำยะสัมผัสสะปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วำ ทุกขัง วำ อะทุกขะมะสุขัง วำ, ตัมปิ อำทิตตัง. เกนะ อำทิตตัง. อำทิตตัง รำคัคคินำ โทสัคคินำ โมหัคคินำ, อำทิตตัง ๑๒๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ชำติยำ ชะรำมะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปำยำเสหิ อำทิตตนั ติ วะทำมิ. มะโน อำทิตโต, ธัมมำ อำทติ ตำ, มะโนวญิ ญำณัง อำทติ ตงั , มะโน สัมผัสโส อำทิตโต, ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วำ ทุกขัง วำ อะทุกขะมะสุขัง วำ, ตัมปิ อำทิตตัง. เกนะ อำทิตตัง. อำทิตตัง รำคัคคินำ โทสัคคินำ โมหัคคินำ, อำทิตตัง ชำติยำ ชะรำมะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อปุ ำยำเสหิ อำทติ ตนั ติ วะทำมิ. เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุตะวำ อะริยะสำวะโก, จักขุส๎มิงปิ นิพพินทะติ, รูเปสุปิ นิพพินทะติ, จักขุวิญญำเณปิ นิพพินทะติ, จักขุสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สขุ งั วำ ทุกขัง วำ อะทกุ ขะมะสุขัง วำ, ตัส๎มิงปิ นพิ พนิ ทะติ. โสตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ, สัทเทสุปิ นิพพินทะติ, โสตะวิญญำเณปิ นิพพินทะติ, โสตะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะ- ปัจจะยำ อุปปชั ชะติ เวทะยิตงั , สุขัง วำ ทุกขัง วำ อะทุกขะมะสขุ ัง วำ, ตสั ๎มงิ ปิ นพิ พนิ ทะติ. ฆำนสั ๎มิงปิ นพิ พินทะติ, คันเธสุปิ นพิ พินทะติ, ฆำนะวิญญำเณปิ นิพพินทะติ, ฆำนะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง ฆำนะสัมผัสสะ- ปัจจะยำ อุปปชั ชะติ เวทะยติ งั , สุขัง วำ ทกุ ขัง วำ อะทุกขะมะสุขัง วำ, ตัสม๎ ิงปิ นิพพินทะติ. ชวิ หำยะปิ นิพพินทะติ, ระเสสุปิ นิพพินทะติ, ชิวหำวิญญำเณปิ นิพพินทะติ, ชิวหำสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง ชิวหำสัมผัสสะ- วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๒๙
ปจั จะยำ อุปปชั ชะติ เวทะยติ ัง, สขุ ัง วำ ทุกขัง วำ อะทุกขะมะสขุ งั วำ, ตสั ๎มงิ ปิ นิพพินทะติ. กำยัส๎มิงปิ นิพพินทะติ, โผฏฐัพเพสุปิ นิพพินทะติ, กำยะ- วิญญำเณปิ นิพพินทะติ,กำยะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง กำยะ- สมั ผัสสะปจั จะยำ อุปปัชชะติเวทะยิตัง, สุขัง วำ ทุกขัง วำ อะทุกขะมะ- สุขัง วำ, ตัสม๎ ิงปิ นพิ พินทะติ. มะนัส๎มิงปิ นิพพินทะติ, ธัมเมสุปิ นิพพินทะติ, มะโนวิญญำเณปิ นิพพินทะติ, มะโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะ- ปัจจะยำ อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขัง วำ ทกุ ขัง วำ อะทุกขะมะสุขัง วำ, ตสั ๎มงิ ปิ นพิ พนิ ทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิรำคำ วิมุจจะติ. วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมิติ ญำณัง โหต,ิ ขณี ำ ชำติ, วสุ ิตัง พร๎ หั ๎มะจะรยิ งั , กะตงั กะระณยี ัง, นำปะรงั อิตถัตตำยำติ ปะชำนำตตี ิ. อิทะมะโวจะ ภะคะวำ. อัตตะมะนำ เต ภิกขู ภะคะวะโต ภำสิตัง อะภินันทุง, อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยำกะระณัส๎มิง ภัญญะมำเน, ตัสสะ ภกิ ขุสะหสั สัสสะ อะนปุ ำทำยะ, อำสะเวหิ จติ ตำนิ วิมจุ จิงสตู ิ. คำแปล อันข้าพเจ้า (คือพระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่งพระผู้มี ภาคเจา้ เสดจ็ ประทบั อยู่ท่ีคยาสีสะ ใกล้แม่นา้ คยา กับด้วยพระภิกษพุ ันหนึ่ง ในกาล นั้นแลพระผู้มีพระภาคเจ้าตรสั เตอื นพระภกิ ษุทงั้ หลาย (ใหต้ ง้ั ใจฟังภาษติ น้)ี วา่ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุ (คือนัยน์ตา) เป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของ ร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความรู้สึก ๑๓๐ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
อารมณ์น้ีเกิดข้ึนเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจยั แม้อนั ใดเป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี ไม่ใช่สขุ ก็ ดี ไม่ใช่ทุกข์ก็ดี แม้อันน้ันก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่และ ความตาย เพราะความโศก เพราะความร่าไรราพัน เพราะความทุกข์ เพราะความ เสียใจ เพราะความคบั แค้นใจ เราจึงกล่าวว่าเปน็ ของร้อน โสตะ (คือหู) เปน็ ของร้อน เสียงท้ังหลายเปน็ ของร้อน วญิ ญาณอาศัยโสตะ เปน็ ของรอ้ น สัมผสั อาศัยโสตะเปน็ ของรอ้ น ความรู้สึกอารมณ์นเี้ กดิ ขึ้นเพราะโสตะ สมั ผัสเปน็ ปจั จัย แมอ้ ันใดเป็นสขุ กด็ ี ทุกข์กด็ ี ไม่ใชส่ ุขก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ก็ดี แม้อันน้ันก็ เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟ คือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่และความตาย เพราะความโศก เพราะความร่าไรราพัน เพราะความทุกข์ เพราะความเสียใจ เพราะความคบั แคน้ ใจ เราจึงกลา่ วว่าเป็นของรอ้ น ฆานะ (คือจมูก) เป็นของร้อน กล่ินทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัย ฆานะเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยฆานะเป็นของร้อน ความรู้สึกอารมณ์นี้เกิดข้ึน เพราะฆานะสัมผัสเป็นปจั จยั แม้อนั ใดเปน็ สุขก็ดี ทกุ ขก์ ็ดี ไมใ่ ช่สุขกด็ ี ไม่ใช่ทุกข์ก็ดี แม้อันน้ันก็เป็นของรอ้ น ร้อนเพราะอะไร ร้อนเพราะไฟคอื ราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแกแ่ ละความตาย เพราะความ โศก เพราะความร่าไรราพนั เพราะความทกุ ข์ เพราะความเสียใจ เพราะความคับ แคน้ ใจ เราจึงกลา่ วว่าเป็นของร้อน ชิวหา (คือล้ิน) เป็นของร้อน รสทง้ั หลายเปน็ ของร้อน วิญญาณอาศัยชิวหา เป็นของร้อน สมั ผสั อาศัยชิวหาเปน็ ของร้อน ความรู้สกึ อารมณน์ ้เี กดิ ข้นึ เพราะชวิ หา สมั ผัสเป็นปัจจัย แม้อนั ใดเป็นสุขกด็ ี ทุกขก์ ็ดี ไม่ใช่สุขกด็ ี ไมใ่ ชท่ ุกข์ก็ดี แม้อันนัน้ ก็ เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟ คือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่และความตาย เพราะความโศก วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๓๑
เพราะความร่าไรราพัน เพราะความทุกข์ เพราะความเสียใจ เพราะความคับแค้น ใจ เราจงึ กลา่ วว่าเปน็ ของรอ้ น กาย เป็นของร้อน โผฏฐัพพะ (คือสิ่งที่ถูกต้องร่างกาย) เป็นของร้อน วิญญาณอาศัยกายเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยกายเป็นของร้อน ความรู้สึกอารมณ์นี้ เกิดขึ้นเพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใดเป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี ไม่ใช่สุขก็ดี ไม่ใช่ ทกุ ข์ก็ดี แม้อันนั้นกเ็ ป็นของร้อน รอ้ นเพราะอะไร ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟ คือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่และความตาย เพราะความโศก เพราะความร่าไรราพัน เพราะความทุกข์ เพราะความ เสยี ใจ เพราะความคบั แค้นใจ เราจงึ กลา่ วว่าเปน็ ของรอ้ น มนะ (คือใจ) เปน็ ของร้อน ธรรมท้ังหลาย (คืออารมณ์ท่ีเกิดแก่ใจ) เป็นของ ร้อน วิญญาณอาศัยมนะเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยมนะเป็นของร้อน ความรู้สึก อารมณ์นเี้ กดิ ขน้ึ เพราะมนะสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อนั ใดเป็นสุขก็ดี ทกุ ขก์ ด็ ี ไม่ใช่สุขก็ ดี ไม่ใช่ทุกข์ก็ดี แม้อันน้ันก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร ร้อนเพราะไฟคือ ราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย เพราะความโศก เพราะความร่าไรราพัน เพราะความทุกข์ เพราะ ความเสียใจ เพราะความคับแคน้ ใจ เราจึงกลา่ วว่าเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับมาแล้วเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบ่ือ หน่ายทั้งในจักษุ ย่อมเบ่ือหน่ายท้ังในรูปท้ังหลาย ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในวิญญาณ อาศัยจักษุ ย่อมเบ่ือหน่ายท้ังในสัมผัส อาศัยจักษุ ความรู้สึกอารมณ์น้ีเกิดเพราะ จักษสุ ัมผัสเปน็ ปัจจัย แม้อันใด เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ ไมใ่ ชส่ ุขก็ดี ย่อม เบือ่ หน่ายทัง้ ในความรสู้ ึกนัน้ ย่อมเบอ่ื หนา่ ยท้งั ในโสตะ ย่อมเบอื่ หน่ายทัง้ ในเสียงทั้งหลาย ย่อมเบือ่ หน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยโสตะ ย่อมเบ่ือหน่ายทง้ั ในสัมผสั อาศัยโสต ความรสู้ ึกอารมณ์น้ี เกิดเพราะโสตะสัมผัสเป็นปจั จัย แม้อนั ใด เป็นสขุ ก็ดี เป็นทกุ ข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่ สุขก็ดี ย่อมเบื่อหนา่ ยทงั้ ในความรสู้ ึกนนั้ ๑๓๒ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ย่อมเบื่อหน่ายท้ังในฆานะ ย่อมเบื่อหน่ายทั้งในกลิ่นทั้งหลาย ย่อมเบ่ือ หน่ายทัง้ ในวิญญาณอาศัยฆานะ ย่อมเบ่ือหน่ายทง้ั ในสมั ผัส อาศัยฆานะ ความรู้สึก อารมณ์นี้เกิดเพราะฆานะสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ ทกุ ข์ ไมใ่ ช่สขุ กด็ ี ย่อมเบือ่ หนา่ ยทงั้ ในความรู้สึกนั้น ย่อมเบื่อหน่ายท้ังในชิวหา ย่อมเบ่ือหน่ายท้ังในรสท้ังหลาย ยอ่ มเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณอาศัยชิวหา ย่อมเบื่อหน่ายท้ังในสัมผัส อาศัยชิวหา ความรู้สึก อารมณ์น้ีเกิดเพราะชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ ทกุ ข์ ไม่ใช่สขุ ก็ดี ยอ่ มเบ่อื หน่ายทั้งในความรสู้ ึกนั้น ย่อมเบ่ือหน่ายท้ังในกาย ย่อมเบ่ือหน่ายท้ังในโผฏฐัพพะท้ังหลาย ย่อมเบ่ือ หน่ายท้ังในวิญญาณอาศัยกาย ย่อมเบ่ือหน่ายท้ังในสัมผัส อาศัยกาย ความรู้สึก อารมณ์น้ีเกิดเพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ ทุกข์ ไม่ใช่สุขกด็ ี ยอ่ มเบือ่ หนา่ ยทัง้ ในความรสู้ ึกนั้น ยอ่ มเบอื่ หนา่ ยทั้งในมนะ ย่อมเบอื่ หน่ายทงั้ ในธรรมท้ังหลาย ย่อมเบอ่ื หน่าย ทัง้ ในวญิ ญาณอาศัยมนะ ย่อมเบ่ือหน่ายทัง้ ในสมั ผัส อาศยั มนะ ความรสู้ ึกอารมณ์นี้ เกิดเพราะมนะสัมผัสเป็นปัจจัย แม้อันใด เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่ สขุ กด็ ี ยอ่ มเบอ่ื หน่ายทั้งในความรู้สกึ น้ัน เมื่อเบ่ือหน่าย ย่อมคลายติด เพราะคลายติดจิตก็พ้น เม่ือจิตพ้นก็มีญาณรู้ วา่ พ้นแลว้ อริยสาวกน้ัน ย่อมทราบชัดว่า ชาตสิ ้ินแลว้ พรหมจรรย์ไดอ้ ยจู่ บแลว้ กิจ ทคี่ วรทาไดท้ าเสรจ็ แล้ว กจิ อ่ืนอกี เพื่อความเป็นอยา่ งนีม้ ิได้มี พระผมู้ พี ระภาคเจ้าได้ ตรัสธรรมปริยายอันน้ีแล้ว พระภิกษุเหล่าน้ันก็มีใจยินดี เพลินภาษิตของพระผู้มี พระภาคเจ้า ก็แลเม่ือเวยยากรณ์อันนี้อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่ จิตของ พระภกิ ษุพนั รูปน้ันกพ็ ้นจากอาสวะท้ังหลาย ไมถ่ ือมัน่ ด้วยอปุ าทานแล ฯ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๓๓
บทมหำสมยสตู ร พระสุตตนั ตปฎิ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค มหำสมยสูตร เป็นพระสูตรขนาดยาว จัดอยู่ในมหาวรรค หมวดทีฆนิกาย ในพระสุตตันตปิฎก เนื้อหาว่าด้วยการชุมนุมใหญ่ของเทพยดาท้ังปวง โดยครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามหาวัน ใกล้กรุงกบิลพัสด์ุ แคว้นสักกะ พร้อมด้วย ภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ท่ีล้วนแล้วแต่เป็นเจ้าชายศากยะ ประมาณ ๕๐๐ รูป ครั้งน้ัน เทพช้ันสุทธาวาส ๔ ตน คิดว่า เทวดาจาก ๑๐ โลกธาตุประชุมกันเพ่ือเฝ้าพระผู้มี พระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ น่าท่ีพวกตนจะไปเฝ้า และกล่าวคาถากันคนละบท โดยใจความพรรณนาความประสงค์ที่มา ความประพฤติชอบของพระสงฆ์ และ พรรณนาว่า ผถู้ ึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะย่อมไม่ไปสู่อบาย ต่อจากน้นั พระผู้มีพระ ภาคตรัสเรียกภกิ ษุท้งั หลาย ตรัสเลา่ ว่า เทวดามาประชมุ ครั้งใหญ่ แล้วตรัสประกาศ ชื่อของเทวดาเหลา่ นนั้ โดยละเอยี ด มหาสมัยสูตร น้ีนิยมนามาสวดในงานมงคลสาคัญ ดังมีความในสุมังคล วลิ าสินี \"ก็เพราะมหาสมยั สตู รนี้เป็นท่ีรักทีช่ อบใจของพวกเทวดา ฉะนน้ั ในสถานที่ ใหม่เอ่ียม เมื่อจะกล่าวมงคล ก็พึงกล่าวแต่พระสูตรนี้น่ันเทียว\" และยังอธิบาย ตอ่ ไปว่า \"สูตรนี้เป็นท่ีรกั ที่ชอบใจของเทวดาท้ังหลายอย่างน้ี เทวดาทั้งหลายย่อม ถอื วา่ พระสูตรน้นั เปน็ ของเรา ดว้ ยประการฉะน้ี” บทขดั ทุลละภงั ทัสสะนงั ยัสสะ สมั พทุ ธัสสะ อะภิณ๎หะโส โลกัม๎หิ อนั ธะภตู ัส๎มงิ ทุลละภุปปำทะสัตถโุ น สักเกสุ กะปลิ ะวัตถสุ ๎มิง วิหะรนั ตงั มะหำวะเน ตันทัสสะนำยะ สมั พุทธัง ภิกขุสังฆัญจะ นมิ มะลงั ทะสะธำ สังคะเณยยำสุ โลกะธำตสู ุ เทวะตำ ๑๓๔ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
อะเนกำ อปั ปะเมยยำวะ โมทะมำนำ สะมำคะตำ ตำสงั ปยิ งั มะนำปัญจะ จิตตสั โสทคั คยิ ำวะหัง ยัง โส เทเสสิ สมั พทุ โธ หำสะยนั โตติ เม สตุ ัง เทวะกำยัปปะหำสตั ถงั ตัง สุตตันตงั ภะณำมะ เส. คำแปล การได้พบเหน็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบ่อย ๆ เนือง ๆ หาได้ยาก กาลอนั เป็น ที่เกิดขึ้นแหง่ พระศาสนาในโลกอนั มืดหาไดย้ าก ดังนั้น เหล่าเทวดาจานวนมากมาย จากโลกธาตุทั้ง ๑๐ จึงช่ืนชมยินดีมาก มาประชุมกันเพื่อทัศนาพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าและพระภิกษุสงฆ์ผู้บริสุทธซ์ิ ่ึงประทับ ณ ป่ามหาวัน ใกล้กรงุ กบิลพสั ดุ์ ในสกั ก- ชนบท พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดงพระสูตรอันเป็นที่รกั ที่พงึ ใจ และนามาซ่ึง ความปตี ิปราโมทย์ แก่เทวดาเหล่านัน้ ขา้ พเจ้าได้สดบั มาอยา่ งน้ี เราท้ังหลายจงสวด พระสูตรน้ี เพ่ือเปน็ ที่ร่าเริงแหง่ เหล่าเทวดาท้งั หลาย เทอญ ฯ บทสวด เอวมั เม สตุ ัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สักเกสุ วิหะระติ กะปิละ- วัตถุส๎มิง มะหำวะเน, มะหะตำ ภิกขุสังเฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ สัพเพเหวะ อะระหันเตหิ. ทะสะหิ จะ โลกะธำตหู ิ เทวะตำ เยภุยเยนะ สันนิปะติตำ โหนติ ภะคะวันตัง ทัสสะนำยะ ภิกขุสังฆัญจะ. อะถะโข จะตุนนัง สุทธำวำสะกำยิกำนัง เทวำนัง เอตะทะโหสิ. อะยัง โข ภะคะวำ สักเกสุ วิหะระติ กะปิละวัตถุส๎มิง มะหำวะเน, มะหะตำ ภิกขุสงั เฆนะ สทั ธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขสุ ะเตหิ สัพเพเหวะ อะระหันเตห,ิ ทะสะหิ จะ โลกะธำตูหิ เทวะตำ เยภุยเยนะ สันนิปะติตำ โหนติ ภะคะวนั ตงั ทัสสะนำยะ ภกิ ขสุ งั ฆญั จะ, ยันนนู ะ มะยมั ปิ เยนะ ภะคะวำ เตนุปะสังกะเมยยำมะ, อุปะสังกะมิต๎วำ ภะคะวะโต สันติเก ปัจเจกะ- คำถำ ภำเสยยำมำติ. อะถะโข ตำ เทวะตำ, เสยยะถำปิ นำมะ พะละวำ ปุริโส สัมมิญชิตัง วำ พำหัง ปะสำเรยยะ ปำสำริตัง วำ พำหัง สัมมิญ- วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๓๕
เชยยะ, เอวะเมวะ สุทธำวำเสสุ เทเวสุ อันตะระหิตำ ภะคะวะโต ปรุ ะโต ปำตุระหังสุ. อะถะโข ตำ เทวะตำ ภะคะวนั ตัง อะภวิ ำเทต๎วำ เอกะมนั ตัง อัฏฐังสุ. เอกะมันตัง ฐิตำ โข เอกำ เทวะตำ ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คำถงั อะภำสิ. มะหำสะมะโย ปะวะนัส๎มงิ เทวะกำยำ สะมำคะตำ อำคะตัม๎หะ อมิ งั ธมั มะสะมะยงั ทกั ขติ ำเยวะ อะปะรำชติ ะสงั ฆนั ติ. อะถะโข อะปะรำ เทวะตำ ภะคะวะโต สนั ติเก อมิ ัง คำถัง อะภำส.ิ ตตั ร๎ ะ ภกิ ขะโว สะมำทะหงั สุ จิตตงั อตั ตะโน อชุ กุ ะมะกังสุ. สำระถีวะ เนตตำนิ คะเหตว๎ ำ อินท๎ริยำนิ รักขันติ ปัณฑติ ำต.ิ อะถะโข อะปะรำ เทวะตำ ภะคะวะโต สันตเิ ก อมิ งั คำถัง อะภำสิ. เฉต๎วำ ขีลงั เฉต๎วำ ปะลีฆัง อินทะขลี งั โอหัจจะมะเนชำ, เต จะรันติ สทุ ธำ วมิ ะลำ จกั ขุมะตำ สทุ ันตำ สุสู นำคำติ. อะถะโข อะปะรำ เทวะตำ ภะคะวะโต สนั ตเิ ก อมิ งั คำถงั อะภำสิ. เย เกจิ พุทธงั สะระณัง คะตำ เส, นะ เต คะมิสสนั ติ อะปำยะภูมิง, ปะหำยะ มำนุสงั เทหัง เทวะกำยงั ปะริปเู รสสนั ตตี .ิ อะถะโข ภะคะวำ ภิกขู อำมันเตสิ, เยภุยเยนะ ภิกขะเว ทะสะสุ โลกะธำตูสุ เทวะตำ สันนิปะติตำ โหนติ ตะถำคะตัง ทัสสะนำยะ ภิกขุสังฆัญจะ, เยปิ เต ภิกขะเว อะเหสุง อะตีตะมัทธำนัง อะระหันโต ๑๓๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
สัมมำสัมพุทธำ, เตสัมปิ ภะคะวันตำนัง เอตะปะระมำเยวะ เทวะตำ สันนิปะติตำ อะเหสุง. เสยยะถำปิ มัย๎หัง เอตะระหิ, เยปิ เต ภิกขะเว ภะวิสสันติ อะนำคะตะมัทธำนัง อะระหันโต สัมมำสัมพุทธำ, เตสัมปิ ภะคะวันตำนัง เอตะปะระมำเยวะ เทวะตำ สันนิปะติตำ ภะวิสสันติ. เสยยะถำปิ มัย๎หัง เอตะระหิ, อำจิกขิสสำมิ ภิกขะเว เทวะกำยำนัง นำมำนิ, กิตตะยิสสำมิ ภิกขะเว เทวะกำยำนัง นำมำนิ, เทสิสสำมิ ภิกขะเว เทวะกำยำนัง นำมำนิ, ตัง สุณำถะ สำธุกัง มะนะสิกะโรถะ ภำสิสสำมตี ิ. เอวมั ภนั เตติ โข เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจั จัสโสสงุ . ภะคะวำ เอตะทะโวจะ. สิโลกะมะนกุ ัสสำมิ ยัตถะ ภมุ มำ ตะทัสสติ ำ เย สิตำ คริ ิคัพภะรัง ปะหิตตั ตำ สะมำหิตำ ปถุ ู สีหำวะ สลั ลีนำ โลมะหงั สำภิสัมภุโน โอทำตะมะนะสำ สุทธำ วิปปะสันนะมะนำวิลำ ภยิ โย ปญั จะสะเต ญัตว๎ ำ วะเน กำปิละวัตถะเว ตะโต อำมนั ตะยิ สตั ถำ สำวะเก สำสะเน ระเต เทวะกำยำ อะภกิ กนั ตำ เต วิชำนำถะ ภิกขะโว เต จะ อำตปั ปะมะกะรงุ สุต๎วำ พทุ ธสั สะ สำสะนัง เตสัมปำตรุ ะหุ ญำณัง อะมะนุสสำนะ ทสั สะนงั อปั เปเก สะตะมทั ทกั ขงุ สะหัสสัง อะถะ สตั ตะริง สะตัง เอเก สะหัสสำนงั อะมะนุสสำนะมัททะสุง อัปเปเกนนั ตะมทั ทกั ขงุ ทสิ ำ สัพพำ ผฏุ ำ อะหุง ตัญจะ สัพพัง อะภิญญำยะ วะวกั ขติ ว๎ ำนะ จกั ขมุ ำ ตะโต อำมนั ตะยิ สตั ถำ สำวะเก สำสะเน ระเต เทวะกำยำ อะภิกกันตำ เต วชิ ำนำถะ ภิกขะโว เย โวหัง กติ ตะยสิ สำมิ คิรำหิ อะนปุ ุพพะโส. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๓๗
สัตตะสะหสั สำ วะ ยกั ขำ ภุมมำ กำปลิ ะวัตถะวำ อทิ ธมิ ันโต ชตุ มิ ันโต วณั ณะวนั โต ยะสัสสิโน โมทะมำนำ อะภกิ กำมงุ ภิกขูนัง สะมติ ิง วะนงั . ฉะสะหัสสำ เหมะวะตำ ยักขำ นำนัตตะวณั ณโิ น อิทธิมนั โต ชตุ ิมนั โต วณั ณะวนั โต ยะสัสสโิ น โมทะมำนำ อะภกิ กำมงุ ภิกขูนงั สะมติ งิ วะนัง. สำตำคริ ำ ติสะหสั สำ ยักขำ นำนตั ตะวณั ณโิ น อทิ ธิมนั โต ชตุ มิ ันโต วัณณะวนั โต ยะสัสสิโน โมทะมำนำ อะภิกกำมงุ ภิกขนู งั สะมติ ิง วะนัง. อิจเจเต โสฬะสะสะหัสสำ ยักขำ นำนตั ตะวัณณโิ น อทิ ธิมันโต ชุติมนั โต วัณณะวันโต ยะสัสสโิ น โมทะมำนำ อะภกิ กำมงุ ภิกขนู ัง สะมติ งิ วะนัง. เวสสำมติ ตำ ปญั จะสะตำ ยักขำ นำนตั ตะวณั ณโิ น อทิ ธิมนั โต ชุติมันโต วัณณะวนั โต ยะสัสสิโน โมทะมำนำ อะภกิ กำมงุ ภิกขูนงั สะมติ ิง วะนัง. กมุ ภโิ ร รำชะคะหิโก เวปุลลัสสะ นเิ วสะนัง ภยิ โย นัง สะตะสะหสั สัง ยักขำนัง ปะยริ ปุ ำสะติ กุมภิโร รำชะคะหโิ ก โสปำคะ สะมติ ิง วะนัง. ปรุ มิ ัญจะ ทิสัง รำชำ ธะตะรัฏโฐ ปะสำสะติ คนั ธพั พำนัง อำธิปะติ มะหำรำชำ ยะสัสสิ โส. ปุตตำปิ ตสั สะ พะหะโว อินทะนำมำ มะหพั พะลำ อทิ ธิมนั โต ชตุ ิมนั โต วณั ณะวนั โต ยะสัสสโิ น โมทะมำนำ อะภิกกำมงุ ภกิ ขูนงั สะมติ ิง วะนัง. ทกั ขณิ ญั จะ ทสิ ัง รำชำ วริ ฬุ โ๎ ห ตปั ปะสำสะติ กมุ ภัณฑำนัง อำธปิ ะติ มะหำรำชำ ยะสัสสิ โส. ๑๓๘ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ปตุ ตำปิ ตัสสะ พะหะโว อนิ ทะนำมำ มะหพั พะลำ อิทธมิ ันโต ชุติมนั โต วณั ณะวนั โต ยะสสั สโิ น โมทะมำนำ อะภกิ กำมงุ ภิกขนู ัง สะมติ ิง วะนัง. ปจั ฉิมญั จะ ทิสงั รำชำ วิรปู ักโข ปะสำสะติ นำคำนัง อำธิปะติ มะหำรำชำ ยะสสั สิ โส. ปุตตำปิ ตสั สะ พะหะโว อนิ ทะนำมำ มะหพั พะลำ อทิ ธิมนั โต ชุตมิ ันโต วัณณะวันโต ยะสสั สิโน โมทะมำนำ อะภกิ กำมุง ภกิ ขนู ัง สะมติ งิ วะนงั . อตุ ตะรัญจะ ทิสงั รำชำ กุเวโร ตัปปะสำสะติ ยกั ขำนงั อำธิปะติ มะหำรำชำ ยะสสั สิ โส. ปุตตำปิ ตสั สะ พะหะโว อินทะนำมำ มะหัพพะลำ อิทธิมันโต ชตุ มิ ันโต วัณณะวันโต ยะสัสสโิ น โมทะมำนำ อะภิกกำมุง ภกิ ขนู ัง สะมิตงิ วะนัง. ทักขิเณนะ วริ ุฬ๎หะโก ปุรมิ ะทสิ ัง ธะตะรฏั โฐ กเุ วโร อุตตะรงั ทสิ ัง. ปจั ฉิเมนะ วิรปู ักโข สะมนั ตำ จะตโุ ร ทสิ ำ จตั ตำโร เต มะหำรำชำ วะเน กำปลิ ะวตั ถะเว. ททั ทลั ละมำนำ อัฏฐงั สุ อำคู วัญจะนกิ ำ สะฐำ เตสงั มำยำวิโน ทำสำ วิฏู จะ วิฏโุ ต สะหะ มำยำ กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ กนิ นุฆัณฑุ นฆิ ณั ฑุ จะ จนั ทะโน กำมะเสฏโฐ จะ เทวะสูโต จะ มำตะลิ ปะนำโท โอปะมัญโญ จะ นะโฬรำชำ ชะโนสะโภ จิตตะเสโน จะ คนั ธพั โพ ตมิ พร๎ ู สรุ ยิ ะวจั ฉะสำ อำคู ปญั จะสิโข เจวะ คันธพั พำ สะหะ รำชภุ ิ เอเต จญั เญ จะ รำชำโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. โมทะมำนำ อะภกิ กำมุง วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๓๙
อะถำคู นำภะสำ นำคำ เวสำลำ สะหะตจั ฉะกำ กัมพะลสั สะตะรำ อำคู ปำยำคำ สะหะ ญำตภิ ิ ยำมุนำ ธะตะรัฏฐำ จะ อำคู นำคำ ยะสัสสโิ น เอรำวณั โณ มะหำนำโค โสปำคะ สะมติ งิ วะนงั . เย นำคะรำเช สะหะสำ หะรนั ติ ทพิ พำ ทิชำ ปักขิ วสิ ทุ ธะจักขู เวหำยะสำ เต วะนะมัชฌะปตั ตำ จติ ๎รำ สุปณั ณำ อิติ เตสะ นำมงั อะภะยันตะทำ นำคะรำชำนะมำสิ สปุ ณั ณะโต เขมะมะกำสิ พุทโธ สัณหำหิ วำจำหิ อุปะว๎หะยันตำ นำคำ สุปัณณำ สะระณะมะกังสุ พทุ ธัง. ชติ ำ วะชิระหตั เถนะ สะมทุ ทัง อะสรุ ำ สิตำ ภำตะโร วำสะวสั เสเต อิทธิมนั โต ยะสสั สโิ น กำละกญั ชำ มะหำภิส๎มำ อะสรุ ำ ทำนะเวฆะสำ เวปะจติ ติ สุจติ ติ จะ ปะหำรำโท นะมจุ ี สะหะ สะตัญจะ พะลิปุตตำนงั สพั เพ เวโรจะนำมะกำ สนั นัยหติ ๎วำ พะลงิ เสนงั รำหุภัททะมปุ ำคะมงุ สะมะโยทำนิ ภัททันเต ภิกขูนัง สะมติ ิง วะนงั . อำโป จะ เทวำ ปะฐะวี จะ เตโช วำโย ตะทำคะมงุ วะรณุ ำ วำรุณำ เทวำ โสโม จะ ยะสะสำ สะหะ เมตตำกะรุณำกำยิกำ อำคู เทวำ ยะสสั สิโน ทะเสเต ทะสะธำ กำยำ สพั เพ นำนัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสสั สโิ น โมทะมำนำ อะภิกกำมุง ภิกขูนงั สะมติ ิง วะนงั . ๑๔๐ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
เวณฑู จะ เทวำ สะหะลี จะ อะสะมำ จะ ทเุ ว ยะมำ จันทัสสปู ะนิสำ เทวำ จันทะมำคู ปุรักขติ ำ สุรยิ ัสสปู ะนสิ ำ เทวำ สุริยะมำคู ปรุ กั ขติ ำ นกั ขัตตำนิ ปุรักขติ ว๎ ำ อำคู มนั ทะวะลำหะกำ วะสูนัง วำสะโว เสฏโฐ สักโกปำคะ ปรุ ินทะโท ทะเสเต ทะสะธำ กำยำ สัพเพ นำนตั ตะวณั ณิโน อิทธมิ ันโต ชตุ ิมันโต วัณณะวนั โต ยะสัสสโิ น โมทะมำนำ อะภิกกำมงุ ภกิ ขนู งั สะมิตงิ วะนัง. อะถำคู สะหะภู เทวำ ชะละมคั คสิ ิขำรวิ ะ อะรฏิ ฐะกำ จะ โรชำ จะ อุมมำ ปุปผะนิภำสิโน วะรุณำ สะหะธมั มำ จะ อัจจุตำ จะ อะเนชะกำ สเุ ลยยะรจุ ิรำ อำคู อำคู วำสะวะเนสโิ น ทะเสเต ทะสะธำ กำยำ สพั เพ นำนตั ตะวัณณโิ น อทิ ธิมันโต ชตุ ิมนั โต วณั ณะวันโต ยะสสั สโิ น โมทะมำนำ อะภิกกำมุง ภกิ ขูนัง สะมติ งิ วะนัง. สะมำนำ มะหำสะมำนำ มำนสุ ำ มำนสุ ตุ ตะมำ ขิฑฑำปะทสู ิกำ อำคู อำคู มะโนปะทสู ิกำ อะถำคู หะระโย เทวำ เย จะ โลหิตะวำสิโน ปำระคำ มะหำปำระคำ อำคู เทวำ ยะสสั สิโน ทะเสเต ทะสะธำ กำยำ สัพเพ นำนตั ตะวณั ณโิ น อิทธิมนั โต ชุติมันโต วณั ณะวนั โต ยะสสั สิโน โมทะมำนำ อะภกิ กำมงุ ภกิ ขูนัง สะมติ งิ วะนงั . สุกกำ กะรุม๎หำ อะรุณำ อำคู เวฆะนะสำ สะหะ โอทำตะคัยหำ ปำโมกขำ อำคู เทวำ วจิ ักขะณำ สะทำมตั ตำ หำระคะชำ มิสสะกำ จะ ยะสัสสิโน วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๔๑
ถะนะยงั อำคำ ปะชนุ โน โย ทิสำ อะภวิ ัสสะติ ทะเสเต ทะสะธำ กำยำ สพั เพ นำนตั ตะวณั ณโิ น อทิ ธิมันโต ชุติมันโต วณั ณะวนั โต ยะสัสสิโน โมทะมำนำ อะภิกกำมงุ ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. เขมยิ ำ ตสุ ติ ำ ยำมำ กัฏฐะกำ จะ ยะสสั สิโน ลมั พติ ะกำ ลำมะเสฏฐำ โชติมำนำ จะ อำสะวำ นมิ มำนะระติโน อำคู อะถำคู ปะระนมิ มิตำ ทะเสเต ทะสะธำ กำยำ สพั เพ นำนตั ตะวณั ณิโน อิทธมิ ันโต ชุติมันโต วณั ณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมำนำ อะภิกกำมงุ ภกิ ขนู งั สะมติ ิง วะนงั . สฏั เฐเต เทวะนิกำยำ สพั เพ นำนัตตะวัณณโิ น นำมันว๎ ะเยนะ อำคัญฉงุ เย จัญเญ สะทสิ ำ สะหะ ปะวตุ ถะชำตมิ ักขีลัง โอฆะติณณะมะนำสะวัง ทักเขโมฆะตะรัง นำคัง จันทัง วะ อะสติ ำติตัง สพุ ร๎ ัห๎มำ ปะระมตั โต จะ ปตุ ตำ อิทธิมะโต สะหะ สันนงั กุมำโร ติสโส จะ โสปำคะ สะมติ ิง วะนัง. สะหัสสะพร๎ ัหม๎ ะโลกำนงั มะหำพร๎ ัห๎มำภิตฏิ ฐะติ อุปะปนั โน ชุติมันโต ภสิ ๎มำกำโย ยะสัสสิ โส ทะเสตถะ อิสสะรำ อำคู ปจั เจกะวะสะวตั ตโิ น เตสัญจะ มัชฌะโต อำคำ หำริโต ปะริวำรโิ ต เต จะ สัพเพ อะภกิ กันเต สินเท เทเว สะพ๎รหั ม๎ ะเก มำระเสนำ อะภิกกำมิ ปัสสะ กณั หัสสะ มนั ทิยัง เอถะ คณั ๎หะถะ พันธะถะ รำเคนะ พันธะมัตถุ โว สะมันตำ ปะรวิ ำเรถะ มำ โว มุญจิตถะ โกจิ นงั อิติ ตตั ถะ มะหำเสโน กัณ๎หะเสนงั อะเปสะยิ ๑๔๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ปำณนิ ำ ตะละมำหัจจะ สะรัง กัตว๎ ำนะ เภระวัง ยะถำ ปำวสุ สะโก เมโฆ ถะนะยันโต สะวชิ ชโุ ก ตะทำ โส ปัจจทุ ำวตั ติ สังกทุ โธ อะสะยังวะเส ตญั จะ สพั พงั อะภิญญำยะ วะวกั ขติ ว๎ ำนะ จักขุมำ ตะโต อำมันตะยิ สตั ถำ สำวะเก สำสะเน ระเต มำระเสนำ อะภิกกันตำ เต วิชำนำถะ ภิกขะโว เต จะ อำตัปปะมะกะรงุ สตุ ๎วำ พทุ ธัสสะ สำสะนัง วตี ะรำเคหิ ปกั กำมงุ เนสัง โลมมั ปิ อิญชะยงุ . สพั เพ วชิ ิตะสังคำมำ ภะยำตตี ำ ยะสสั สิโน โมทนั ติ สะหะ ภูเตหิ สำวะกำ เต ชะเนสตุ ำต.ิ คำแปล อนั ข้าพเจา้ (พระอานนทเถระ) ได้สดับมาอยา่ งน้ี สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ปา่ มหาวัน เขตพระนครกบิลพสั ดุ์ ในสกั กชนบท พร้อมด้วยภกิ ษุสงฆ์หม่ใู หญ่ ประมาณ ๕๐๐ รูป ล้วนเปน็ พระอรหันต์ ก็พวกเทวดาจาก โลกธาตุท้ัง ๑๐ ประชุมกันมาก เพื่อทัศนาพระผู้มีพระ ภาคและภกิ ษสุ งฆ์ ครั้งนั้น เทวดาช้ันสุทธาวาส ๔ องค์ ได้มีความดาริว่า พระผู้มีพระภาค พระองคน์ ้แี ล ประทับอยู่ ณ ปา่ มหาวนั เขตพระนครกบลิ พสั ดุ์ ในสกั กชนบท พรอ้ ม ด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ประมาณ ๕๐๐ รูป ล้วนเป็นพระอรหันต์ ก็พวกเทวดาจาก โลกธาตุทั้ง ๑๐ ประชุมกันมาก เพือ่ ทัศนาพระผู้มีพระภาคและภกิ ษุสงฆ์ ไฉนหนอ แม้พวกเราก็ควรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้ว พึงกล่าวคาถา เฉพาะองคล์ ะคาถา ในสานกั พระผมู้ พี ระภาค ลาดับนั้น เทวดาพวกน้ัน หายไป ณ เทวโลกช้ันสุทธาวาส แล้วมาปรากฏเบื้องพระ พักตร์พระผู้มีพระภาค เหมือนบุรุษมีกาลังเหยียดแขนท่ีคอู้ อก หรือคแู้ ขนที่เหยียด วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๔๓
ออกเข้า ฉะน้ัน เทวดาพวกน้นั ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควร สว่ นข้างหน่งึ เทวดาองค์หน่ึงไดก้ ล่าวคาถาน้ี ในสานกั พระผ้มู ีพระภาควา่ การประชุมใหญ่ในป่าใหญ่ หมู่เทวดามาประชุมกันแล้วพวกเรา พากันมาสู่ ธรรมสมัยน้ี เพื่อไดเ้ ห็นหม่ทู า่ นผชู้ นะมาร ลาดับน้ัน เทวดาอีกองค์หน่ึง ได้กล่าวคาถาน้ี ในสานักพระผู้มีพระภาคว่า ภิกษุท้ังหลายในที่ประชุมนั้น ม่ันคง กระทาจิตของตน ๆ ให้ตรง บัณฑิตท้ังหลาย ยอ่ มรกั ษาอนิ ทรีย์ เหมือนสารถีถือบงั เหียนขบั มา้ ฉะน้นั ลาดับน้ัน เทวดาอีกองค์หน่ึง ได้กล่าวคาถานี้ ในสานักพระผู้มีพระภาคว่า ภิกษุเหล่าน้ัน ตัดกิเลสดุจตะปู ตัดกิเลสดุจลิ่มสลัก ถอนกิเลสดุจเสาเข่ือนได้แล้ว เป็นผู้ไมห่ วั่นไหว หมดจด ปราศจากมลทิน เที่ยวไป ท่านเป็นหมู่นาคหนุ่ม อันพระ ผู้มพี ระภาค ผู้มีจักษุทรงฝึกดีแล้ว ลาดับน้ัน เทวดาอีกองค์หนึ่ง ได้กล่าวคาถาน้ี ในสานักพระผู้มีพระภาคว่า ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ถึงพระพุทธเจ้าว่า เป็นสรณะ เขาจักไม่ไปอบายภูมิ ละกาย มนุษยแ์ ล้ว จักยงั เทวกายให้บริบูรณ์ ลาดับน้ัน พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายแล้วตรัสว่า ดูกรภิกษุ ท้ังหลาย พวกเทวดาในโลกธาตุท้ัง ๑๐ ประชมุ กันมาก เพื่อทศั นาตถาคตและภิกษุ สงฆ์ พวกเทวดาประมาณเท่าน้ีแหละได้ประชุมกัน เพ่ือทัศนาพระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ซ่ึงได้มแี ลว้ ในอดตี กาล เหมือนที่ประชมุ กันเพอ่ื ทัศนาเรา ในบัดนี้ พวกเทวดาประมาณเท่านี้แหละ จักประชุมกันเพ่ือทัศนาพระอรหันต สมั มาสัมพุทธเจ้า ซ่ึงจกั มีในอนาคตกาล เหมือนที่ประชุมกัน เพื่อทัศนาเราในบัดน้ี เราจักบอกนามพวกเทวดา เราจักระบุนามพวกเทวดา เราจกั แสดงนามพวกเทวดา พวกเธอจงฟังเรื่องน้ัน จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระ ภาคแลว้ พระผ้มู พี ระภาคได้ตรสั พระคาถานว้ี า่ เราจักร้อยกรองโศลก ภุมมเทวดาอาศัยอยู่ ณ ท่ีใด พวกภิกษุก็อาศัยที่นั้น ภกิ ษพุ วกใดอาศัยซอกเขาส่งตนไปแล้ว มจี ิตตง้ั มั่น ภิกษุพวกน้ันเปน็ อันมาก เร้นอยู่ ๑๔๔ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
เหมือนราชสหี ์ ครอบงาความขนพองสยองเกลา้ เสียได้ มีใจผดุ ผอ่ ง เป็นผหู้ มดจดใส สะอาดไมข่ ุ่นมัว พระศาสดาทรงทราบภิกษุประมาณ ๕๐๐ เศษ ที่อยู่ ณ ปา่ มหาวัน เขตพระนครกบิลพัสดุ์ แต่น้ัน จึงตรัสเรียกสาวกผู้ยินดีในพระศาสนา ตรัสว่า ดูกร ภิกษุท้งั หลาย หมเู่ ทวดามุ่งมากันแล้ว พวกเธอจงรู้จกั หมู่เทวดาน้ัน ภิกษุเหล่าน้ันสดับรับส่ังของพระพุทธเจ้าแล้ว ได้กระทาความเพียร ญาณ เปน็ เครือ่ งเหน็ พวกอมนุษยไ์ ดป้ รากฏแกภ่ ิกษุเหลา่ น้นั ภิกษบุ างพวกได้เห็นอมนุษย์ ร้อยหน่ึง บางพวกได้เห็นอมนุษย์พันหนึ่ง บางพวกได้เห็นอมนุษย์เจ็ดหม่ืน บาง พวกได้เห็นอมนุษยห์ น่ึงแสน บางพวกได้เห็นไม่มีที่สุด อมนุษย์ไดแ้ ผ่ไปท่ัวทิศ พระ ศาสดาผู้มีพระจักษุ ทรงใคร่ครวญทราบเหตุน้ันส้ินแล้ว แต่น้ัน จึงตรัสเรียกสาวกผู้ ยินดีในพระศาสนา ตรัสว่า ดูกรภิกษุท้ังหลาย หมู่เทวดามุ่งมากันแล้ว พวกเธอจง ร้จู กั หมูเ่ ทวดานัน้ เราจักบอกพวกเธอด้วยวาจา ตามลาดบั ยักษ์เจ็ดพันเป็นภุมมเทวดา อาศัยอยู่ในพระนครกบิลพัสดุ์ มีฤทธิ์ มี อานุภาพ มีรัศมี มยี ศ ยนิ ดี ม่งุ มายงั ปา่ อันเป็นที่ประชมุ ของภิกษุ ยักษ์หกพนั อยู่ทเ่ี ขาเหมวตา มรี ศั มตี ่าง ๆ กัน มีฤทธ์ิ มอี านภุ าพ มรี ัศมี มียศ ยนิ ดี มงุ่ มายังปา่ อนั เปน็ ท่ีประชมุ ของภิกษุ ยักษ์สามพันอยู่ท่ีเขาสาตาคีรี มีรัศมีต่าง ๆ กัน มีฤทธ์ิ มีอานุภาพ มีรัศมี มี ยศ ยนิ ดี มงุ่ มายังป่าอันเป็นท่ีประชมุ ของภิกษุ ยักษ์เหลา่ นั้นรวม เป็นหนึ่งหมื่นหก พัน มีรัศมีต่าง ๆ กัน มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ ยินดี มุ่งมายังป่าอันเป็นท่ี ประชมุ ของภิกษุ ยกั ษ์หา้ ร้อยอยู่ท่ีเขาเวสสามติ ตะ มีรศั มีตา่ ง ๆ กัน มฤี ทธ์ิ มี อานภุ าพ มรี ัศมี มียศ ยนิ ดี ม่งุ มายังป่าอันเปน็ ทีป่ ระชุมของภกิ ษุ ยักษ์ช่ือกุมภีระอยู่ในพระนครราชคฤห์ เขาเวปุลละ เป็นท่ีอยู่ของยักษ์นั้น ยกั ษแ์ สนเศษแวดล้อมยกั ษช์ ื่อกุมภรี ะนน้ั ยกั ษ์ชอ่ื กุมภรี ะอยู่ในพระนครราชคฤห์แม้ น้ัน กไ็ ดม้ ายังป่าอันเปน็ ทปี่ ระชุมของภิกษุ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๔๕
ท้าวธตรัฏฐะ อยู่ดา้ นทิศบูรพา ปกครองทิศนน้ั เป็นอธบิ ดีของพวกคนธรรพ์ เธอเป็นมหาราช มียศ แม้บุตรของเธอกม็ าก มนี ามวา่ อินทะ มกี าลังมาก มีฤทธ์ิ มี อานุภาพ มีรศั มี มยี ศ ยนิ ดี มุ่งมายังปา่ อันเป็นทปี่ ระชุมของภกิ ษุ ท้าววิรุฬหก อยู่ด้านทศิ ทักษิณ ปกครองทิศนั้นเป็นอธิบดขี องพวกกุมภัณฑ์ เธอเป็นมหาราช มยี ศ แม้บตุ รของเธอก็มาก มีนามว่า อินทะ มีกาลังมาก มีฤทธิ์ มี อานุภาพ มีรัศมี มยี ศ ยินดี มุง่ มายัง ป่าอนั เป็นทีป่ ระชุมของภกิ ษุ ท้าววิรูปักษ์ อยู่ด้านทิศปัจจิม ปกครองทิศนั้นเป็นอธิบดีของพวกนาค เธอ เป็นมหาราช มียศ แม้บุตรของเธอก็มาก มีนามว่า อินทะ มีกาลังมาก มีฤทธิ์ มี อานภุ าพ มรี ศั มี มยี ศ ยินดี มุ่งมายังป่าอันเป็นท่ปี ระชุมของภกิ ษุ ทา้ วกุเวร อยดู่ ้านทิศอุดร ปกครองทิศนั้น เป็นอธบิ ดีของพวกยักษ์ เธอเป็น มหาราช มียศ แม้บตุ รของเธอก็มาก มีนามว่าอินท มกี าลงั มาก มฤี ทธ์ิ มีอานภุ าพ มี รศั มี มยี ศ ยนิ ดี มุ่งมายังป่าอนั เป็นท่ีประชุมของภิกษุ ท้าวธตรัฏฐะ เป็นใหญ่ทิศบูรพา ท้าววิรุฬหก เป็นใหญ่ทิศทักษิณ ท้าว วริ ูปักษเ์ ปน็ ใหญ่ทิศปจั จมิ ท้าวกุเวร เป็นใหญ่ทิศอดุ ร ทา้ วมหาราชท้ัง ๔ นัน้ ยงั ทิศ ทงั้ ๔ โดยรอบใหร้ งุ่ เรือง ได้ยืนอยู่แล้วในป่าเขตพระนครกบิลพสั ดุ์ พวกบ่าวของท้าวมหาราชท้ัง ๔ นั้น มีมายา ล่อลวง โอ้อวด เจ้าเล่ห์ มา ดว้ ยกัน มีช่ือคือกุเฏณฑุ ๑ เวเฏณฑุ ๑ วิฏะ ๑ วฏิ ฏะ ๑ จันทนะ ๑ กามเสฏฐะ ๑ กินนุฆัณฑุ ๑ นิฆัณฑุ ๑ และท้าวเทวราชทั้งหลายผู้มีนาม ว่าปนาทะ ๑ โอปมัญญะ ๑ เทพสารถีมีนามว่า มาตลิ ๑ จิตตเสนะ ผู้คนธรรพ์ ๑ นโฬราชะ ๑ ชโนสภะ ๑ ปัญจสิขะ ๑ ติมพรู ๑ สุริยวัจฉสา เทพธิดา ๑ มาทั้งนั้น ราชาและ คนธรรพพ์ วกนน้ั และพวกอ่ืน กับเทวราชทงั้ หลายยินดี มุง่ มายงั ป่าอันเป็นที่ประชุม ของภิกษุ อน่ึงเหล่านาคท่ีอยู่ในสระช่ือนภสะบ้าง อยู่ในเมืองเวสาลีบ้าง พร้อมด้วย นาคบรษิ ทั เหล่าตจั ฉกะ กัมพลนาค และอัสสตรนาคกม็ า นาคผ้อู ยู่ในท่าช่อื ปายาคะ ๑๔๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
กับญาติก็มา นาคผู้อยู่ในแม่น้ายมุนา เกิดในสกุลธตรัฏฐะ ผู้มียศ ก็มา เอราวัณ เทพบุตรผเู้ ปน็ ช้างใหญแ่ มน้ ้นั ก็มายงั ปา่ อนั เปน็ ที่ประชมุ ของภิกษุ ปักษีทวิชาติผู้เป็นทิพย์ มีนัยน์ตาบริสุทธ์ิ นานาคราชไปได้โดยพลันน้ัน มา โดยทางอากาศถึงท่ามกลางป่า ช่ือของปักษนี ้นั วา่ จิตรสุบรรณ ในเวลาน้ัน นาคราช ทงั้ หลาย ไม่ได้มีความกลวั พระพุทธเจ้าได้ทรงกระทาให้ปลอดภัยจากครุฑ นาคกับ ครุฑเจรจากัน ด้วยวาจาอันไพเราะ กระทาพระพุทธเจ้าให้เป็นสรณะ พวกอสูร อาศยั สมุทรอยู่ อนั ท้าววชิรหนั ถ์รบชนะแล้ว เป็นพี่น้องของท้าววาสพะ มีฤทธิ์ มยี ศ เหล่าน้คี อื พวก กาลกัญชอสูร มีกายใหญน่ า่ กลวั กม็ า พวกทานเวฆสอสรู กม็ า เวปจิต ติอสูร สุจิตติอสูร ปหาราทอสูร และนมุจีพระยามารก็มาด้วยกัน บุตรของพลิอสูร หนึ่งร้อย มีช่ือว่าไพโรจน์ท้ังหมดผูกสอดเครื่องเสนาอันมีกาลัง เข้าไปใกล้อสุรินท ราหแู ล้วกลา่ ววา่ ดูกรท่านผู้เจริญ บัดนี้ เปน็ สมัยท่จี ะประชมุ กนั ดังนีแ้ ล้ว เข้าไปยัง ปา่ อันเปน็ ท่ีประชมุ ของภกิ ษุ ในเวลานั้น เทวดาทั้งหลาย ช่ืออาโป ชื่อปฐวี ชื่อเตโช ช่ือวาโย ได้พากัน มาแล้ว เทวดาชอ่ื วรุณะ ชือ่ วารุณะ ชื่อโสมะ ชื่อยสสะ ก็มาดว้ ยกัน เทวดาผูบ้ ังเกิด ในหมู่เทวดาด้วยเมตตาและกรุณาฌาน เป็นผู้มียศก็มา หมู่เทวดา ๑๐ เหล่านี้เป็น ๑๐ พวก ท้งั หมดลว้ นมีรัศมตี ่าง ๆ กัน มีฤทธิ์ มีอานภุ าพ มีรัศมี มยี ศ ยินดี มุ่งมายัง ป่าอันเป็นที่ประชุมของภิกษุ เทวดาชื่อเวณฑู ช่ือสหลี ชื่ออสมา ช่ือยมะ ทั้งสอง พวกกม็ า เทวดาผู้อาศัยพระจันทร์ กระทาพระจันทร์ไว้ในเบ้ืองหน้าก็มา เทวดาผู้ อาศยั พระอาทิตย์ กระทาพระอาทติ ย์ไว้ในเบื้องหน้าก็มา เทวดากระทา นักษัตรไว้ ในเบ้อื งหนา้ ก็มา มันทพลาหกเทวดาก็มา แม้ท้าวสักกปุรินททวาสวะ ซ่ึงประเสริฐกว่าสุเทวดาท้ังหลายก็เสด็จมา หมู่ เทวดา ๑๐ เหลา่ นี้ เปน็ ๑๐ พวก ท้ังหมดล้วนมรี ัศมีตา่ ง ๆ กัน มีฤทธม์ิ อี านภุ าพ มีรัศมี ยินดี มุ่งมายงั ปา่ อนั เปน็ ท่ีประชุมของภกิ ษุ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๔๗
อนึ่ง เทวดาชื่อสหภู ผู้รุ่งเรอื งดจุ เปลวไฟก็มา เทวดาชื่ออริฏฐกะ ชื่อโรชะ มี รัศมีดังสีดอกผักตบก็มา เทวดาช่ือวรุณะ ชื่อสหธรรมชื่ออัจจุตะ ช่ืออเนชกะ ชื่อสเุ ลยยะ ชอื่ รุจิระกม็ า เทวดาช่ือวาสวเนสีก็มา หมู่เทวดา ๑๐ เหล่าน้ี เป็น ๑๐ พวก ทั้งหมด ล้วน มีรัศมีต่าง ๆ กัน มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ ยินดี มุ่ง มายังปา่ อันเป็นที่ประชุม ของภกิ ษุ เทวดาชื่อสมานะ ชือ่ มหาสมานะ ชอ่ื มานสุ ะ ชื่อมานสุ ตุ ตมะ ชอื่ ขฑิ ฑาปทู- สิกะ กม็ า เทวดาชือ่ มโนปทูสิกะก็มา อน่ึง เทวดาชื่อหริ เทวดาช่ือโลหติ วาสี ช่อื ปารคะ ช่ือมหาปารคะ ผู้มียศ ก็ มา หมู่เทวดา ๑๐ เหล่านี้ เป็น ๑๐ พวก ท้ังหมดล้วนมีรัศมีต่าง ๆ กัน มีฤทธ์ิ มี อานุภาพ มรี ศั มี มียศ ยินดี มงุ่ มายงั ป่าอันเปน็ ทป่ี ระชุมของภกิ ษุ เทวดาช่ือสุกกะ ชื่อกรุมหะ ช่ือ อรุณะ ชอ่ื เวฆนสะก็มาดว้ ยกัน เทวดาชื่อโอ ทาตคัยหะ ผู้เป็นหัวหนา้ เทวดาชื่อวิจักขณะ กม็ า เทวดาชอื่ สทามตั ตะ ชื่อหารคชะ และช่อื มิสสกะ ผู้มียศ ก็มา ปชุนนเทวบุตร ซ่ึงคารามใหฝ้ นตกทวั่ ทิศก็มา หมูเ่ ทวดา ๑๐ เหล่านี้ เปน็ ๑๐ พวก ทัง้ หมดล้วนมรี ศั มีต่าง ๆ กัน มฤี ทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มี ยศ ยินดี มงุ่ มายังป่าอันเปน็ ท่ปี ระชุมของภิกษุ เทวดาชอื่ เขมิยะ เทวดาช้นั ดุสติ เทวดาช้ันยามะ และเทวดาช่ือกัฏฐกะ มยี ศ เทวดาชอื่ ลมั พิตกะ ชือ่ ลามเสฏฐะ ช่ือโชตินามะ ชื่ออาสา และ เทวดาชัน้ นิมมานรดี กม็ า อน่ึง เทวดาช้ันปรนิมมิตะก็มา หมเู่ ทวดา ๑๐ เหล่าน้ี เปน็ ๑๐ พวก ทั้งหมด ล้วนมีรัศมีต่าง ๆ กัน มีฤทธิ์ มีอานุภาพ มีรัศมี มียศ ยินดี มุ่งมายังป่าอันเป็นที่ ประชุมของภิกษุ หมู่เทวดา ๖๐ เหล่าน้ี ทั้งหมดล้วนมีรัศมีต่าง ๆ กัน มาแล้วโดย กาหนดช่ือ และ เทวดาเหล่าอื่นผู้เช่นกัน มาพร้อมกันด้วยคิดว่า เราทั้งหลายจัก เห็นพระนาคะ (ผู้ประเสริฐ หมายถึง พระอรหันตขีณาสพ) ผู้ปราศจากชาติ ไม่มี ๑๔๘ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
กิเลสดุจตะปู มีโอฆะอันข้ามแลว้ ไม่มอี าสวะ ข้ามพน้ โอฆะ ผลู้ ว่ งความยดึ ถอื ได้แล้ว ดจุ พระจันทร์พน้ จากเมฆ ฉะนนั้ สุพรหมและปรมัตตพรหม ซึ่งเป็นบุตรของพระพุทธเจ้าผู้มีฤทธ์ิ ก็มาด้วย สนังกุมารพรหม และติสสพรหมแม้นั้น ก็มายงั ป่าอนั เปน็ ที่ประชุมของภกิ ษุ ท้าวมหาพรหมย่อมปกครอง พรหมโลกพนั หน่ึง ท้าวมหาพรหมน้ัน บังเกิด แล้วในพรหมโลก มีอานุภาพ มีกายใหญ่โต มียศก็มา พรหม ๑๐ พวก ผู้เป็นอิสระ ในพวกพรหมพันหน่ึง มอี านาจเปน็ ไปเฉพาะองค์ละอย่างก็มา มหาพรหมชอ่ื หารติ ะ อันบริวารแวดล้อมแล้ว มาในทา่ มกลางพรหมเหลา่ นั้น มารเสนา ได้เห็นพวกเทวดา พร้อมทั้งพระอินทร์ พระพรหมท้ังหมดน้ัน ผู้ ม่งุ มา ก็มาด้วย แล้วกล่าวว่า ทา่ นจงดูความเขลาของมาร พระยามารกลา่ วว่า พวก ท่านจงมาจับเทวดาเหล่าน้ีผูกไว้ ความผูกด้วยราคะ จงมแี ก่ท่านทั้งหลาย พวกท่าน จงล้อมไว้โดยรอบ อย่าปล่อยใคร ๆ ไป พระยามารบังคับเสนามารในที่ประชุมน้ัน ดังน้ีแล้ว เอาฝ่ามือตบแผ่นดิน กระทาเสียงน่ากลัว เหมือนเมฆยังฝนให้ตก คาราม อยู่ พร้อมทั้งฟ้าแลบ ฉะนั้น เวลานั้น พระยามารน้ันไม่อาจยังใครให้เป็นไปใน อานาจได้ โกรธจดั กลบั ไปแล้ว พระศาสดาผู้มีพระจักษุทรงพิจารณาทราบเหตุนั้นท้ังหมด แต่น้ัน จึงตรัส เรยี กสาวกผู้ยินดีในพระศาสนาตรัสว่า ดกู รภกิ ษุทง้ั หลาย มารเสนามาแล้ว พวกเธอ จงรู้จกั เขา ภิกษุเหล่าน้ัน สดับพระดารัสสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ได้กระทาความ เพียร มารและเสนามารหลีกไป จากภิกษุผู้ปราศจากราคะ ไม่ยังแม้ขนของท่านให้ ไหว (พระยามารกล่าวสรรเสริญว่า) พวกสาวกของพระองค์ ทั้งหมดชนะสงคราม แล้ว ล่วงความกลัวได้แล้ว มียศปรากฏในหมู่ชน บันเทิงอยู่กับด้วยพระอริยเจ้า ผู้ เกิดแล้วในพระศาสนา ดงั นี้แล ฯ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๔๙
สำรำณียธัมมสตู ร สำรำณียธรรมสูตร เปน็ พระสตู รทสี่ มเดจ็ พระบรมศาสดาสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ตรัสแกห่ มู่ภกิ ษุ เมือ่ คร้งั เสด็จประทับ ณ พระวิหารเชตวัน นครสาวตั ถี ทรงช้ีแจงถึง หลักธรรมท่ีเป็นเหตุให้เกิดความรัก ความเคารพ ความระลึกถึงกัน ไม่วิวาท บาดหมางกัน เป็นไปเพ่ือความพร้อมเพรียงสามัคคีกันแห่งหมู่สงฆ์ มี ๖ ประการ จดั เปน็ คุณธรรมท่ีสรา้ งสรรค์สามคั คีธรรมแหง่ หมชู่ น ถอื กนั วา่ ท่ีใดมีความวุ่นวายคลายความสามคั คี ท่านให้สวดสาธยายสารณีย ธรรมสตู รนี้ เปน็ การเจริญธรรมานสุ สตแิ ละเมตตาธรรม บทสวด เอวัมเม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สำวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนำถะปิณฑิกัสสะ, อำรำเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวำ ภิกขู อำมันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภะคะวำ เอตะทะโวจะ, ฉะยิเม ภิกขะเว ธมั มำ สำรำณียำ ปยิ ะกะระณำ คะรุกะระณำ, สังคะหำยะ อะวิวำทำยะ สำมัคคิยำ เอกีภำวำยะ สังวัตตนั ต.ิ กะตะเม ฉะ. ๑. อิธะ ภิกขะเว ภิกขุโน, เมตตัง กำยะกัมมัง ปัจจุปัฏฐิตัง โหติ, สะพ๎รัห๎มะจำรีสุ อำวิเจวะ ระโห จะ. อะยัมปิ ธัมโม สำรำณีโย ปิยะ- กะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหำยะ อะวิวำทำยะ สำมัคคิยำ เอกี- ภำวำยะ สังวัตตะติ. ๒. ปนุ ะ จะปะรัง ภกิ ขะเว ภิกขุโน, เมตตัง วะจีกัมมัง ปจั จุปัฏฐติ ัง โหติ, สะพ๎รัห๎มะจำรีสุ อำวิเจวะ ระโห จะ. อะยัมปิ ธัมโม สำรำณีโย ๑๕๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329