ปิยะกะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหำยะ อะวิวำทำยะ สำมัคคิยำ เอกี- ภำวำยะ สังวตั ตะติ. ๓. ปุนะ จะปะรัง ภกิ ขะเว ภกิ ขุโน, เมตตัง มะโนกัมมงั ปัจจุปฏั ฐิตัง โหติ, สะพ๎รัห๎มะจำรีสุ อำวิเจวะ ระโห จะ. อะยัมปิ ธัมโม สำรำณีโย ปิยะกะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหำยะ อะวิวำทำยะ สำมัคคิยำ เอกีภำวำยะ สังวัตตะติ. ๔. ปุนะ จะปะรัง ภกิ ขะเว ภิกขุ, เย เต ลำภำ ธัมมกิ ำ ธัมมะลัทธำ. อันตะมะโส ปัตตะปะริยำปันนะมัตตัมปิ, ตะถำรูเปหิ ลำเภหิ อัปปะฏิ- วิภตั ตะโภคี โหติ, สีละวนั เตหิ สะพ๎รัห๎มะจำรีหิ สำธำระณะโภคี. อะยมั ปิ ธัมโม สำรำณีโย ปิยะกะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหำยะ อะวิวำทำยะ สำมัคคิยำ เอกีภำวำยะ สงั วตั ตะต.ิ ๕. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ, ยำนิ ตำนิ สีลำนิ อะขัณฑำนิ อะฉิททำนิ อะสะพะลำนิ อะกัมมำสำนิ, ภุชิสสำนิ วิญญูปะสัตถำนิ อะปะรำมตั ถำนิ สะมำธสิ งั วัตตะนกิ ำนิ, ตะถำรูเปสุ สีเลสุ สีละสำมญั ญะ- คะโต วิหะระติ, สะพ๎รัห๎มะจำรีหิ อำวิ เจวะ ระโห จะ. อะยัมปิ ธัมโม สำรำณีโย ปิยะกะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหำยะ อะวิวำทำยะ สำมคั คยิ ำ เอกีภำวำยะ สงั วัตตะติ. ๖. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ, ยำยัง ทิฏฐิ อะริยำ นิยยำนิกำ. นิยยำติ ตักกะรัสสะ สัมมำทุกขักขะยำยะ, ตะถำรูปำยะ ทิฏฐิยำ ทิฏฐิสำมัญญะคะโต วิหะระติ, สะพ๎รัห๎มะจำรีหิ อำวิ เจวะ ระโห จะ. อะยัมปิ ธัมโม สำรำณีโย ปิยะกะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหำยะ อะววิ ำทำยะ สำมัคคยิ ำ เอกีภำวำยะ สงั วตั ตะต.ิ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๕๑
อิเม โข ภกิ ขะเว ฉะ ธมั มำ สำรำณียำ ปิยะกะระณำ คะรุกะระณำ, สังคะหำยะ อะววิ ำทำยะ สำมคั คิยำ เอกีภำวำยะ สังวัตตนั ตตี .ิ อทิ ะมะโวจะ ภะคะวำ. อัตตะมะนำ เต ภกิ ขู ภะคะวะโต ภำสติ งั , อะภินันทุนติ. คำแปล อันขา้ พเจ้า (พระอานนทเถระ) ไดส้ ดบั มาแลว้ อยา่ งนี้ ว่า สมัยหน่ึงพระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับอยู่ในพระวิหารเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้กรุงสาวัตถี ณ ทีน่ ั้นแลพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุ ทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้า แต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์จึงตรสั คาตอ่ ไปนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๖ ประการนี้ เป็นสาราณียธรรม ธรรมเคร่ือง ระลึกถึงกัน สรา้ งความรัก ก่อความเคารพ เป็นไปเพอ่ื การสงเคราะหก์ ัน เพอื่ การไม่ ทะเลาะววิ าท เพ่อื ความสามัคคี เพ่ือความเปน็ อันหนงึ่ อันเดียวกัน ธรรม ๖ ประการ เปน็ ไฉน ๑. ดูก่อนภกิ ษุท้ังหลาย ภิกษใุ นธรรมวินัยนี้ เข้าไปต้งั กายกรรม ประกอบดว้ ย เมตตา ในเพือ่ นพรหมจรรยท์ ้ังหลาย ทั้งต่อหนา้ และลบั หลัง แม้ข้อนก้ี ็เปน็ สาราณีย ธรรม ธรรมเครือ่ งระลึกถึงกัน สร้างความรัก ก่อความเคารพ เป็นไปเพื่อสงเคราะห์ กัน เพ่อื การไมท่ ะเลาะววิ าท เพื่อความสามคั คี เพอื่ ความเป็นอันหน่ึงอนั เดียวกนั ๒. ดูก่อนภกิ ษุท้งั หลาย ภิกษุในธรรมวินัยน้ี เข้าไปตั้งวจีกรรม ประกอบด้วย เมตตา ในเพ่อื นพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลบั หลงั แม้ขอ้ น้กี ็เป็นสาราณีย ธรรม ธรรมเคร่ืองระลึกถึงกัน สร้างความรัก ก่อความเคารพ เปน็ ไปเพื่อสงเคราะห์ กัน เพื่อการไม่ทะเลาะววิ าท เพือ่ ความสามคั คี เพื่อความเปน็ อนั หนึง่ อนั เดยี วกนั ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยน้ี เข้าไปต้ังมโนกรรม ประกอบด้วยเมตตา ในเพอ่ื นพรหมจรรย์ทง้ั หลาย ท้ังตอ่ หน้าและลบั หลัง แม้ข้อน้ี ๑๕๒ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ก็เปน็ สาราณียธรรม ธรรมเคร่ืองระลึกถงึ กัน สร้างความรกั ก่อความเคารพ เป็นไป เพือ่ สงเคราะหก์ ัน เพ่อื การไม่ทะเลาะววิ าท เพือ่ ความสามคั คี เพ่ือความเป็นอันหน่ึง อันเดยี วกัน ๔. อีกประการหนึ่ง ภิกษุแบ่งปันลาภที่ประกอบด้วยธรรม ได้มาอย่าง ถูกต้อง แม้อาหารบิณฑบาต ไม่จาเพาะเจาะจงผู้น้ี แต่บริโภคร่วมกันกับเพื่อน พรหมจารีทั้งหลาย ท้ังต่อหน้าและลับหลัง แม้ข้อนี้ก็เป็นสาราณียธรรม เคร่ือง ระลึกถึงกัน สร้างความรัก ก่อความเคารพ เป็นไปเพ่ือสงเคราะห์กัน เพื่อการไม่ ทะเลาะววิ าท เพ่ือความสามัคคี เพื่อความเปน็ อนั หน่ึงอันเดียวกนั ๕. อกี ประการหน่ึง ภกิ ษุผมู้ ีศลี ไม่ขาด ไมท่ ะลุ ไม่ด่าง ไม่พรอ้ ย เปน็ ไท อัน วญิ ญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐแิ ตะต้องไม่ได้ เป็นไปพร้อมเพ่ือสมาธิ มีศีลเสมอ กนั กับเพอ่ื นพรหมจารที ง้ั หลาย ทั้งต่อหนา้ และลับหลัง แม้ข้อนี้กเ็ ป็นสาราณียธรรม เคร่ืองระลึกถึงกัน สร้างความรกั กอ่ ความเคารพ เป็นไปเพอ่ื สงเคราะหก์ นั เพ่ือการ ไมท่ ะเลาะววิ าท เพือ่ ความสามคั คี เพ่อื ความเปน็ อนั หน่ึงอนั เดยี วกัน ๖. อีกประการหน่ึง ทิฏฐิอันประเสริฐใดเป็นเคร่ืองนาสัตว์ออกจากทุกข์ ยอ่ มนาผู้กระทาตามออกไปเพ่ือความส้ินไปแหง่ ทุกข์โดยชอบ ภิกษุผู้มีทิฏฐิเช่นนั้น เสมอกนั กับเพื่อนพรหมจารีทง้ั หลาย ทงั้ ต่อหน้าและลับหลงั แม้ขอ้ น้ีกเ็ ป็นสาราณีย ธรรม เครื่องระลึกถึงกัน สร้างความรัก ก่อความเคารพ เป็นไปเพื่อสงเคราะห์กัน เพ่ือการไม่ทะเลาะวิวาท เพอ่ื ความสามคั คี เพือ่ ความเป็นอันหนึ่งอนั เดียวกนั ดกู ่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๖ ประการนเี้ หล่านี้ เป็นธรรมเครื่องระลกึ ถึง กัน สร้างความรัก ก่อความเคารพ เป็นไปเพ่ือสงเคราะห์กัน เพ่ือการไม่ทะเลาะ ววิ าท เพอื่ ความสามคั คี เพื่อความเป็นอนั หนงึ่ อนั เดยี วกัน ฯ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๕๓
ภิกขอุ ปรหิ ำนิยธัมมสูตร อปรหิ ำนิยธรรมสูตร เป็นพระสูตรทพ่ี ระบรมศาสดาสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ทรง แสดงแก่หมู่ภิกษุ เมื่อคราวเสด็จประทับอยู่ ณ เขาคิชฌกูฏ ใกล้กรุงราชคฤห์ มี เน้ือหาท่ีกล่าวถึงหลักปฏิบัติที่เป็นไปเพื่อความเจรญิ รุง่ เรืองแห่งหมู่สงฆ์ ปิดกั้นทาง แหง่ ความเสอ่ื ม เปน็ คุณธรรมดารงหมมู่ ี ๗ ประการ พระสูตรบทนี้ นิยมสวดคู่กับสาราณียธรรมสูตร เป็นการเจริญเมตตา สามคั คธี รรม เชน่ เดยี วกัน บทสวด เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, รำชะคะเห วิหะระติ, คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต, ตัต๎ระ โข ภะคะวำ ภิกขู อำมันเตสิ. สัตตะ โว ภิกขะเว อะปะริหำริเย ธัมเม เทเสสสำมิ, ตัง สุณำถะ สำธุกัง มะนะสิกะโรถะ ภำสิสสำมีติ. เอวัมภันเตติ โข เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภะคะวำ เอตะทะโวจะ. กะตะเม จะ ภิกขะเว สัตตะ อะปะรหิ ำนิยำ ธมั มำ. ๑. ยำวะกวี ัญจะ ภกิ ขะเว ภิกขู, อะภิณ๎หะสนั นิปำตำ ภะวสิ สนั ติ สนั นปิ ำตะพะหุลำ, วุฑฒเิ ยวะ ภกิ ขะเว ภิกขูนงั ปำฏิกงั ขำ โน ปะริหำน.ิ ๒. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู , สะมัคคำ สันนิปะติสสันติ, สะมัคคำ วุฏฐะหิสสันติ, สะมัคคำ สังฆะกะระณียำนิ กะริสสันติ. วฑุ ฒเิ ยวะ ภกิ ขะเว ภกิ ขูนัง ปำฏกิ งั ขำ โน ปะรหิ ำนิ. ๓. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, อะปัญญัตตัง นะ ปัญญะ- เปสสันติ, ปัญญัตตัง นะ สะมุจฉินทิสสันติ, ยะถำปัญญัตเตสุ สิกขำ- ๑๕๔ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ปะเทสุ สะมำทำยะ วัตติสสันติ, วฑุ ฒเิ ยวะ ภิกขะเว ภิกขูนงั ปำฏิกังขำ โน ปะรหิ ำนิ. ๔. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, เย เต ภิกขู เถรำ รัตตัญญู จิระปัพพะชิตำ, สังฆะปิตะโร สังฆะปะริณำยะกำ, เต สักกะริสสันติ คะรกุ ะรสิ สนั ติ มำเนสสันติ ปูเชสสันติ, เตสัญจะ โส ตัพพัง มัญญิสสนั ติ, วฑุ ฒเิ ยวะ ภิกขะเว ภิกขนู งั ปำฏิกงั ขำ โน ปะรหิ ำน.ิ ๕. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, อุปปันนำยะ ตัณหำยะ โปโนพ- ภะวิกำยะ โน วะสงั คจั ฉสิ สนั ติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภกิ ขนู งั ปำฏิกังขำ โน ปะริหำนิ. ๖. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, อำรัญญะเกสุ เสนำสะเนสุ สำเปกขำ ภะวิสสันติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนัง ปำฏิกังขำ โน ปะริหำนิ. ๗. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, ปัจจัตตัญเญวะ สะติง อุปัฏฐะเปสสันติ, กินติ อะนำคะตำ จะ เปสะลำ สะพ๎รัห๎มะจำรี อำคัจเฉยยุง, อำคะตำ จะ เปสะลำ สะพ๎รัห๎มะจำรี ผำสุง วิหะเรยยุนติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนงั ปำฏิกงั ขำ โน ปะรหิ ำนิ. ยำวะกีวัญจะ ภิกขะเว อิเม สัตตะ อะปะริหำนิยำ ธัมมำ ภิกขูสุ ฐัสสันติ, อิเมสุ จะ สัตตะสุ อะปะริหำนิเยสุ ธัมเมสุ ภิกขู สนั ทิสสสิ สันติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขนู ัง ปำฏกิ ังขำ โน ปะรหิ ำนีต.ิ อทิ ะมะโวจะ ภะคะวำ. อัตตะมะนำ เต ภิกขู ภะคะวะโต ภำสิตัง, อะภนิ นั ทุนติ. วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๑๕๕
คำแปล อนั ขา้ พเจ้า (พระอานนทเถระ) สดับมาแล้วอย่างน้ี สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่ ณ เขาคิชฌกูฏ ใกล้กรุง ราชคฤห์ ณ ท่นี น้ั แล พระองคต์ รสั เรียกภกิ ษทุ งั้ หลาย ดว้ ยพระดารสั วา่ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เราตถาคตจักแสดงธรรมะไม่เป็นท่ีต้ังแห่งความเสื่อม ๗ ประการ แก่พวกเธอ ขอเธอทง้ั หลายจงต้ังใจฟังธรรมน้ันให้ดี เราตถาคตจกั กลา่ ว ภิกษุเหล่านั้น กราบทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระองค์จึงตรัสคาต่อไปนี้ ดกู ่อนภิกษุทงั้ หลาย อปรหิ านิยธรรม ๗ ประการเปน็ ไฉน ๑. ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย พวกภิกษุจักหม่ันประชุมกันเนืองนิตย์อยู่เพียงใด พวกเธอพงึ หวงั ไดค้ วามเจริญอยา่ งเดียวไมม่ เี สื่อมเพยี งน้ัน ๒. ดูก่อนภิกษุทัง้ หลาย พวกภิกษุจักพร้อมเพียงกันประชุม พร้อมเพียงกัน เลิก พร้อมเพียงกันทากิจสงฆ์อยู่เพียงใด พวกเธอพึงหวังได้ความเจริญอย่างเดียว ไม่มเี สอื่ มเพยี งน้ัน ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุจักไม่บัญญัติสิ่งที่เรามิได้บญั ญัติ ไม่ถอนส่ิงที่ เราบัญญัติไว้แล้ว ยดึ ม่ันประพฤตติ นอยู่ในสกิ ขาบทท้ังหลาย ตามท่ีได้บัญญัติไว้อยู่ เพียงใด พวกเธอพงึ หวงั ไดค้ วามเจริญอย่างเดยี ว ไม่มีเสอื่ มเพยี งนน้ั ๔. ดูก่อนภิกษทุ ้ังหลาย เหล่าภกิ ษุผ้เู ปน็ เถระรัตตญั ญบู วชนาน พวกภกิ ษจุ ัก สักการะท่านเหล่าน้ันเป็นสังฆบิดร สังฆปริณายก เคารพ นับถือบูชาและเช่ือฟัง ถอ้ ยคาของท่านเหล่าน้นั เพยี งใด พวกเธอพงึ หวงั ได้ความเจริญอยา่ งเดียว ไม่มีเส่ือม เพยี งนั้น ๕. ดูก่อนภิกษทุ ้ังหลาย พวกภิกษุจักไม่ลอุ านาจตัณหา อันจะก่อใหเ้ กิดภพ ใหม่ ซึ่งเกิดขึ้นแล้วอยู่เพียงใด พวกเธอพึงหวังได้ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อม เพียงนั้น ๖. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุจักยินดีเสนาสนะป่าอยู่เพียงใด พวกเธอ หวังไดค้ วามเจรญิ อยา่ งเดยี ว ไมม่ ีเสื่อมเพยี งนัน้ ๑๕๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
๗. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุจะเข้าไปต้ังสติไว้ภายในว่า ไฉนหนอ เพื่อนพรหมจารี ผมู้ ีศีลเป็นทร่ี กั ท่ียงั ไมม่ าพึงมา และท่มี าแล้วพึงอยู่สบาย ดังน้ี อยู่ เพียงใด พวกเธอพึงหวงั ไดค้ วามเจริญอยา่ งเดยี ว ไม่มเี สื่อมเพยี งนน้ั ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย อปริหานิยธรรม ๗ ประการนี้ จักดารงอยู่ในหมู่ภิกษุ และหมู่ภิกษุสนใจในอปริหานิยธรรม ๗ ประการน้ีอยู่เพียงใด พวกเธอพึงหวังได้ ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อมเพียงนั้น พระผมู้ ีพระภาคเจ้าไดต้ รัสพระดารัสนั้น จบแลว้ พวกภกิ ษเุ หลา่ นัน้ ชื่นชมภาษติ ของพระองค์ ด้วยประการฉะน้ี ฯ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๕๗
เมตตำนสิ งั สสุตตปำฐะ เมตตำนิสังสสตุ ตปำฐะ เปน็ พุทธพจนข์ ององค์สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ว่าด้วยอานสิ งส์ของการเจรญิ เมตตา ซึ่งไดร้ ับการบันทกึ ไว้ในพระสตุ ตันตปิฎก และ ในเวลาต่อมาได้กลายเป็นหนึ่งในบทสวดมนต์ ท่ีชาวพุทธนิยมสวดสาธยาย ได้รับ การรวบรวมไวใ้ นภาณวารหรอื หนังสอื สวดมนต์ฉบบั หลวง บทสวด เอวัมเม สตุ ัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สำวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน, อะนำถะปิณฑิกัสสะ อำรำเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวำ ภิกขู อำมันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ภะคะวำ เอตะทะโวจะ, เมตตำยะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยำ, อำเสวิตำยะ ภำวิตำยะ พะหลุ ีกะตำยะ ยำนกี ะตำยะ, วัตถุกะตำยะ อะนุฏฐิตำยะ, ปะริจิตำยะ สุสะมำรัทธำยะ, เอกำทะสำนิสังสำ ปำฏิกังขำ. กะตะเม เอกำทะสะ. สุขงั สุปะติ, สขุ ัง ปะฏพิ ุชฌะติ. นะ ปำปะกัง สปุ นิ งั ปสั สะต.ิ มะนุสสำนัง ปิโย โหติ. อะมะนุสสำนัง ปิโย โหติ. เทวะตำ รักขันติ. นำสสะ อัคคิ วำ วิสัง วำ สัตถัง วำ กะมะติ. ตุวะฏัง จิตตัง สะมำธิยะติ. มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ. อะสัมมุฬโหกำลัง กะโรติ. อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พ๎รัห๎มะโลกูปะโค โหติ. เมตตำยะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยำ อำเสวิตำยะ ภำวิตำยะ พะหลุ กี ะตำยะ ยำนกี ะตำยะ, วัตถกุ ะตำยะ อะนุฏฐติ ำยะ, ปะริจติ ำยะ ๑๕๘ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
สุสะมำรัทธำยะ, อิเม เอกำทะสำนิสังสำ ปำฏิกังขำติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวำ. อตั ตะมะนำ เต ภิกขู ภะคะวะโต ภำสติ ัง อะภินันทนุ ติ. คำแปล อนั ข้าพเจา้ (พระอานนทเถระ) ได้สดบั มาแลว้ อยา่ งน้ี สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่ท่ีเชตวันมหาวิหาร อาราม ของอนาถบิณฑิกคฤหบดีแห่งสาวัตถี ในการน้ันแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียก พระภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ เจริญ พระผู้มพี ระภาคเจ้าได้ตรสั คานว้ี ่า ดูก่อนภกิ ษุท้ังหลาย เมตตาอันเป็นไปเพือ่ ความหลดุ พ้นแห่งจติ นี้ อนั บุคคล บาเพ็ญจนคุ้นแล้ว ทาให้มากแล้ว คือชานาญให้ย่ิง เป็นที่พึ่งของใจ ทาให้เป็นที่อยู่ ของใจต้ังไว้เป็นนิจ อันบุคคลสั่งสมอบรมแล้ว บาเพ็ญให้มากแล้ว ย่อมมีอานิสงส์ สิบเอด็ ประการ อยา่ งน้ี อานิสงส์ ๑๑ ประการ อะไรบา้ ง คือ ผู้เจรญิ เมตตาจติ นั้น ย่อมหลับเป็นสุข เม่ือต่ืนขึ้นก็ย่อมอยู่เป็นสุข หลับอยู่ก็ไม่ฝันร้าย เป็นที่รักของเหล่ามนุษย์ทั้งหลาย เป็นที่รักของเหล่าอมนุษย์ทั้งหลาย เทวดาย่อมคุ้มครองรักษา ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศัสตราก็ดี ย่อมทาอันตรายไม่ได้เลย จิตย่อมเป็นสมาธิได้รวดเร็วอย่างยิ่ง ผิวหน้า ยอ่ มผ่องใส เป็นผู้ไม่ลุ่มหลงเมอ่ื ทากาลกริ ิยาตาย เม่ือยังไม่บรรลุคุณวิเศษ อนั ยงิ่ ๆ ขึน้ ไป ย่อมเป็นผเู้ ข้าถงึ พรหมโลกแล ดูก่อนภกิ ษุทงั้ หลาย เมตตาอันเปน็ ไปเพอื่ ความหลดุ พ้นแห่งจติ น้ี อนั บุคคล บาเพ็ญจนคุ้นแล้ว ทาให้มากแล้ว คือชานาญให้ยิ่ง เป็นท่ีพึ่งของใจ ทาให้เป็นท่ีอยู่ ของใจต้ังไว้เป็นนิจ อันบุคคลส่ังสมอบรมแล้ว บาเพ็ญให้มากแล้ว ย่อมมีอานิสงส์ ๑๑ ประการอยา่ งนแ้ี ล วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๕๙
พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสธรรมปริยายอันน้ีแล้ว พระภิกษุทั้งหลาย เหล่านั้น ก็มีใจยินดีพอใจในภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ด้วย ประการฉะนี้แล ฯ ๑๖๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
สติปัฏฐำนปำฐะ สติปัฏฐำนปำฐะ เป็นส่วนแห่งสติปัฏฐานสูตร หรือ มหำสติปัฏฐำน สตู ร เป็นพระสูตรสาคัญในพระพทุ ธศาสนาที่พระบรมศาสดาสมั มาสัมพุทธเจ้าตรัส แก่ชาวกุรุชนบท ทรงแสดงหนทางสายเอกเพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทาให้แจ้ง ซึ่งพระนพิ พาน มหาสติปัฏฐานสูตร เม่ือพิจารณาจากพระพุทธพจน์ตอนเริ่มพระสูตร อาจ กล่าวได้ว่า หลักการในพระสูตรนี้ เป็นหลักแนวปฏิบัติตรงท่ีเน้นเฉพาะเพ่ือการรู้ แจ้ง คือให้มีสติพิจารณากากับดูสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง โดย ไม่ให้ถูกครอบงาไว้ด้วยอานาจกิเลสต่าง ๆ โดยมีแนวปฏิบัติเป็นข้ันตอน ๔ ระดับ คอื พจิ ารณากาย, ความรู้สึก (เวทนา), จติ , และธรรมท่ีเกิดในจิต การสวดสาธยายพระสูตร หรือปาฐะบทน้ี เป็นการเจริญสติและวิปัสสนา กรรมฐาน และนยิ มสวดในงานทาบุญตอ่ อายุ หรือสวดกอ่ นเจริญสติปฏั ฐานภาวนา บทสวด อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตำ ชำนะตำ ปัสสะตำ อะระหะตำ สัมมำสัมพุทเธนะ. เอกำยะโน อะยัง มัคโค สัมมะทักขำโต, สัตตำนัง วิสุทธิยำ, โสกะปะริเทวำนัง สะมะติกกะมำยะ, ทุกขะโทมะนัสสำนัง อัตถังคะมำยะ, ญำยัสสะ อะธิคะมำยะ, นิพพำนัสสะ สัจฉิกิริยำยะ. ยะทิทัง จตั ตำโร สะติปฏั ฐำนำ, กะตะเม จตั ตำโร. อิธะ ภิกขุ กำเย กำยำนุปัสสี วิหะระติ, อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง. เวทะนำสุ เวทะนำนุปัสสี วิหะระติ, อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำ - โทมะนัสสัง. จิตเต จิตตำนุปัสสี วิหะระติ, อำตำปี สัมปะชำโน สะติมำ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๖๑
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌำโทมะนัสสัง. ธัมเมสุ ธัมมำนุปัสสี วิหะระติ, อำตำปี สมั ปะชำโน สะติมำ วเิ นยยะ โลเก อะภชิ ฌำโทมะนสั สงั . ๑. กะถญั จะ ภิกขุ กำเย กำยำนุปสั สี วิหะระติ. อธิ ะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วำ กำเย กำยำนุปัสสี วิหะระติ, พะหิทธำ วำ กำเย กำยำนุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธำ วำ กำเย กำยำนุปัสสี วิหะระติ, สะมุทะยะธัมมำนุปัสสี วำ กำยัส๎มิง วิหะระติ, วะยะธัมมำนุปัสสี วำ กำยัส๎มิง วิหะระติ, สะมุทะยะวะยะธัมมำนุปัสสี วำ กำยัส๎มิง วิหะระติ, อัตถิ กำโยติ วำ ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตำ โหติ, ยำวะเทวะ ญำณะ- มัตตำยะ ปะฏิสสะตมิ ัตตำยะ อะนิสสิโต จะ วิหะระติ, นะจะ กิญจิ โลเก อปุ ำทิยะต.ิ เอวงั โข ภกิ ขุ กำเย กำยำนปุ สั สี วหิ ะระติ. ๒. กะถัญจะ ภิกขุ เวทะนำสุ เวทะนำนุปัสสี วิหะระต.ิ อิธะ ภิกขุ อชั ฌตั ตงั วำ เวทะนำสุ เวทะนำนุปัสสี วิหะระติ, พะหทิ ธำ วำ เวทะนำสุ เวทะนำนปุ ัสสี วหิ ะระติ. อชั ฌัตตะพะหิทธำ วำ เวทะนำสุ เวทะนำนุปสั สี วิหะระติ, สะมุทะยะธัมมำนุปัสสี วำ เวทะนำสุ วหิ ะระติ, วะยะธมั มำ- นุปัสสี วำ เวทะนำสุ วิหะระติ, สะมุทะยะวะยะธัมมำนุปัสสี วำ เวทะนำสุ วิหะระติ, อตั ถิ เวทะนำติ วำ ปะนัสสะ สะติ ปจั จุปฏั ฐิตำ โหติ, ยำวะเทวะ ญำณะมตั ตำยะ ปะฏสิ สะติมัตตำยะ. อะนสิ สิโต จะ วหิ ะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปำทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ เวทะนำสุ เวทะนำนุปัสสี วิหะระติ. ๓. กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตำนุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วำ จิตเต จิตตำนุปัสสี วิหะระติ, พะหิทธำ วำ จิตเต จิตตำ- นุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธำ วำ จิตเต จิตตำนุปัสสี วิหะระติ, ๑๖๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
สะมุทะยะธัมมำนุปัสสี วำ จิตตัส๎มิง วิหะระติ, วะยะธัมมำนุปัสสี วำ จิตตัสม๎ ิง วิหะระติ, สะมุทะยะวะยะธัมมำนุปัสสี วำ จติ ตัสม๎ ิง วิหะระติ, อัตถิ จิตตันติ วำ ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐติ ำ โหติ, ยำวะเทวะ ญำณะ- มตั ตำยะ ปะฏสิ สะตมิ ัตตำยะ. อะนสิ สโิ ต จะ วหิ ะระติ นะ จะ กญิ จิ โลเก อุปำทิยะต.ิ เอวัง โข ภกิ ขุ จติ เต จติ ตำนปุ ัสสี วิหะระต.ิ ๔. กะถัญจะ ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมำนุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อชั ฌตั ตงั วำ ธมั เมสุ ธัมมำนปุ สั สี วหิ ะระติ, พะหทิ ธำ วำ ธมั เมสุ ธมั มำ- นุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธำ วำ ธัมเมสุ ธัมมำนุปัสสี วิหะระติ. สะมุทะยะธัมมำนุปัสสี วำ ธมั เมสุ วิหะระติ, วะยะธัมมำนุปสั สี วำ ธัมเมสุ วิหะระติ, สะมุทะยะวะยะธัมมำนุปัสสี วำ ธัมเมสุ วิหะระติ, อัตถิ ธมั มำติ วำ ปะนสั สะ สะติ ปจั จปุ ัฏฐิตำ โหติ, ยำวะเทวะ ญำณะมตั ตำยะ ปะฏิสสะตมิ ัตตำยะ. อะนิสสโิ ต จะ วิหะระติ นะ จะ กญิ จิ โลเก อปุ ำทิยะติ. เอวงั โข ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมำนปุ ัสสี วิหะระติ. อะยัง โข เตนะ ภะคะวะตำ ชำนะตำ ปัสสะตำ อะระหะตำ สัมมำสัมพุทเธนะ, เอกำยะโน มคั โค สมั มะทกั ขำโต, สัตตำนัง วิสุทธยิ ำ, โสกะปะริเทวำนัง สะมะติกกะมำยะ, ทุกขะโทมะนสั สำนัง อัตถังคะมำยะ, ญำยัสสะ อะธิคะมำยะ, นิพพำนัสสะ สัจฉิกิริยำยะ. ยะทิทัง จัตตำโร สะติปัฏฐำนำต.ิ เอกำยะนงั ชำติขะยันตะทสั สี, มคั คัง ปะชำนำติ หิตำนกุ ัมปี, เอเตนะ มัคเคนะ ตะริงสุ ปพุ เพ, ตะรสิ สะเร เจวะ ตะรนั ติ โจฆนั ต.ิ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๖๓
คำแปล หนทางสายน้ี ซึ่งเป็นทางไปสายเอก ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้แจ้งเห็น จริง พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ได้ตรัสไว้โดยชอบ เพื่อความหมดจด วิเศษของสัตว์ท้ังหลาย เพ่ือก้าวล่วงความโศกและความร่าไร เพื่อความอัศดงค์ดับ ไปแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพ่ือกระทาให้แจ้งซ่ึงพระนิพพาน มี อยแู่ ล หนทางสายน้ี ก็คอื สติปัฏฐาน ๔ สตปิ ฏั ฐาน ๔ มอี ะไรบา้ ง ภิกษุในพระธรรมวินัยน้ี ย่อมเป็นผู้พิจารณา เหน็ กายในกายอยู่เป็นประจา มคี วามเพียร เครื่องเผากเิ ลส มสี มั ปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและความไมพ่ อใจ ในโลกออกเสียได้ เธอย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจา มี ความเพียรเคร่ืองเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ ถอนความพอใจและความไม่พอใจ ในโลกออกเสยี ได้ เธอย่อมพิจารณาเห็นจิตในจติ อย่เู ป็นประจา มีสัมปชญั ญะ มสี ติ ถอนความ พอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ เธอย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ เป็นประจา มีสัมปชัญญะ มสี ติ ถอนความพอใจและความไมพ่ อใจในโลกออกเสยี ได้ ๑. ภิกษยุ ่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่เป็นประจาอย่างไรเล่า ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเหน็ กายในกายในภายในบา้ ง ย่อมพิจารณาเห็นกายใน กายในภายนอกบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นกาย ท้ังภายในและภายนอกบ้าง ย่อม พิจารณาเห็นธรรมดาคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมคือความ เส่ือมไปในกายบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเกิดข้ึนและความเสื่อมไปใน กายบ้าง ก็หรือว่า ความระลึกว่ากายมีอยู่ เข้าไปต้ังอยู่ เฉพาะหน้าแก่เธอน้ัน แค่ เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึกแค่เพียงสักว่าเป็นที่รู้ เธอย่อมไม่ติดอยู่และย่อมไม่ยึด มัน่ ถือมั่นไร ๆ ในโลก ภิกษุยอ่ มพิจารณาเหน็ กายในกายเนือง ๆ อยู่อย่างนแ้ี ล ๒. ก็ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาท้ังหลายอยู่เนืองๆ อย่างไรเล่า ภกิ ษุในพระธรรมวินัยน้ี ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาท้ังหลายเป็นภายในบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาท้ังหลายเป็นภายนอกบ้าง ย่อมพิจารณาเห็น ๑๖๔ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
เวทนาท้ังหลาย ท้ังภายในทั้งภายนอกบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความ เกิดขึ้นในเวทนาท้ังหลายบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเสื่อมไปแห่ง เวทนาบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาท้ังความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปแห่งเวทนา บา้ ง กห็ รือความระลึกว่ากายมีอยู่ เข้าไปต้ังอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนน้ั แค่เพียงสกั ว่า เป็นที่รู้ แค่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก เธอย่อมไม่ติดอยู่และย่อมไม่ยึดมั่นถือม่ัน อะไร ๆ ในโลก ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาท้ังหลายอยู่เนอื ง ๆ อย่างนี้ แล ๓. กภ็ ิกษุพจิ ารณาเห็นจิตในจิตเนอื ง ๆ อยเู่ ปน็ อย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเป็นภายในบ้าง ยอ่ มพจิ ารณาเห็นจิตในจิตเป็นภายนอก บ้าง ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งเป็นภายใน ท้ังเป็นภายนอกบ้าง ย่อมพิจารณา เห็นธรรมดาคือ ความเกิดขึ้นในจติ บา้ ง ย่อมพจิ ารณาเหน็ ธรรมดาคือความเส่ือมไป ในจิตบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาท้ังความเกิดข้ึนทั้งความเสื่อมไปในจิตบ้าง ก็ หรือวา่ ความระลึกว่า มีจติ ๆ ย่อมปรากฏอยู่ เฉพาะหนา้ เธอนน่ั แค่เพยี งสักวา่ เป็น ที่รู้ แคเ่ พยี งสักวา่ เปน็ ทอี่ าศยั ระลึก เธอย่อมไมต่ ิดอยู่ และย่อมไมถ่ อื มั่นอะไร ๆ ใน โลก ภกิ ษยุ อ่ มพิจารณาเหน็ จิตในจิตอยู่เนอื ง ๆ อยา่ งน้ีแล ๔. ก็ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลายเนือง ๆ อยู่อย่างไร ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลาย เป็นภายในบ้าง ย่อม พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายเป็นภายนอกบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมใน ธรรมท้ังหลายท้ังภายในท้ังภายนอกบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือ ความ เกิดขึ้นในธรรมทั้งหลายบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาคือความเส่ือมไปในธรรม ทั้งหลายบ้าง ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดาท้ังความเกิดข้ึน ท้ังความเสื่อมไปในธรรม ทั้งหลายบ้าง ก็หรือว่า ความระลึกว่า ธรรมท้ังหลายมีอยู่ ย่อมปรากฏอยู่ต่อหน้า เธอ เพยี งสกั วา่ รู้ เพียงสักว่าเป็นทีอ่ าศัยระลึกเท่านัน้ เธอย่อมไม่ติดอยู่ และยอ่ มไม่ ยึดม่ันถือมั่นส่ิงไร ๆ ในโลก ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมท้ังหลายเนือง ๆ อยู่อยา่ งน้ีแล วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๖๕
หนทางสายน้ีแหละ เป็นหนทางสายเอก ซึ่งพระผ้มู ีพระภาคผู้ทรงรู้แจ้งเห็น จริง อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ตรัสไว้โดยชอบ เพ่ือความหมดจดวิเศษ ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อความก้าวล่วงความเศร้าโศกและความคร่าครวญพิไรราพัน เพ่ือความอัสดงดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อกระทาพระ นพิ พานให้แจ้ง หนทางท่กี ลา่ วถึงซ่งึ เปน็ หนทางสายเอกน้ีก็คอื สตปิ ฏั ฐาน ๔ “พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เล็งเห็นพระนิพพาน ผู้ทรงอนุเคราะห์หมู่สัตว์ด้วย ประโยชน์เกื้อกูล ย่อมทรงรู้แจ้งซ่ึงหนทางสายเอก ในอดีต อนาคต หรือแมก้ ระทั่ง ในปจั จบุ ัน สตั ว์ทั้งหลายล้วนใช้หนทางสายเอกนน้ั ขา้ มห้วงน้าคอื กิเลส” ฯ ๑๖๖ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
โอวำทปำฏโิ มกขำทปิ ำฐะ โอวำทปำติโมกข์ เป็นหลักคาสอนสาคัญของพระพุทธศาสนา เป็น \"ปาติโมกข์\" หรือ หัวขอ้ ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน ๓) หลังจากตรัสรู้แล้ว ๙ เดือน เป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์ ๔ เรียกว่า จำตุรงคสันนิบำต ซ่ึงมีเพียงคร้ังเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์ หนงึ่ ๆ หรอื จะเรียกวา่ เป็นการประกาศต้ังศาสนาก็ได้ อรรถกถาแสดงไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดง \"โอวาทปาติโมกข์\" น้ี ด้วย พระองค์เอง ทา่ มกลางทีป่ ระชุมสงฆ์ตลอด ๒๐ พรรษาแรก หลงั จากน้นั ทรงบญั ญัติ ให้พระสงฆ์แสดง \"อาณาปาติโมกข\"์ (สวดพระปาติโมกข์) แทน บทสวด อุททิฏฐัง โข เตนะ ภะคะวะตำ ชำนะตำ ปัสสะตำ อะระหะตำ สมั มำสมั พุทเธนะ, โอวำทะปำฏิโมกขัง ตหี ิ คำถำหิ, ขนั ตี ปะระมงั ตะโป ตีติกขำ นิพพำนัง ปะระมัง วะทนั ติ พทุ ธำ นะ หิ ปพั พะชโิ ต ปะรปู ะฆำตี สะมะโณ โหติ ปะรงั วิเหฐะยันโต. สัพพะปำปสั สะ อะกะระณงั กุสะลัสสูปะสมั ปะทำ สะจติ ตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธำนะ สำสะนัง. อะนปู ะวำโท อะนปู ะฆำโต ปำฏิโมกเข จะ สังวะโร มตั ตัญญุตำ จะ ภตั ตสั ๎มิง ปนั ตัญจะ สะยะนำสะนัง อะธจิ ติ เต จะ อำโยโค เอตงั พทุ ธำนะ สำสะนนั ติ. วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๖๗
อะเนกะปะริยำเยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตำ ชำนะตำ ปสั สะตำ อะระหะตำ สัมมำสัมพุทเธนะ, สีลัง สัมมะทักขำตัง สะมำธิ สัมมะ- ทักขำโต ปัญญำ สัมมะทักขำตำ. กะถัญจะ สีลัง สัมมะทักขำตัง ภะคะวะตำ. เหฏฐิเมนะปิ ปะริยำเยนะ สีลัง สมั มะทักขำตัง ภะคะวะตำ. อุปะริเมนะปิ ปะรยิ ำเยนะ, สลี ัง สมั มะทกั ขำตัง ภะคะวะตำ. กะถญั จะ เหฏฐิเมนะ ปะรยิ ำเยนะ, สลี ัง สัมมะทักขำตงั ภะคะวะตำ, อิธะ อะริยะสำวะโก ปำณำติปำตำ ปะฏิวิระโต โหติ, อะทินนำทำนำ ปะฏิวิระโต โหติ, กำเมสุ มิจฉำจำรำ ปะฏิวิระโต โหติ, มุสำวำทำ ปะฏวิ ิระโต โหติ, สุรำเมระยะมัชชะปะมำทัฏฐำนำ ปะฏิวิระโต โหตีติ. เอวัง โข เหฏฐเิ มนะ ปะรยิ ำเยนะ, สลี ัง สมั มะทกั ขำตงั ภะคะตำ. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยำเยนะ, สีลัง สัมมะทักขำตัง ภะคะวะตำ. อธิ ะ ภิกขุ สีละวำ โหติ, ปำฏิโมกขะสังวะระสังวุโต วิหะระติ อำจำระโคจะระสมั ปันโน, อะณุมตั เตสุ วชั เชสุ ภะยะทสั สำวี สะมำทำยะ สิกขะติ สิกขำปะเทสูติ. เอวัง โข อุปะริเมนะ ปะริยำเยนะ, สีลัง สัมมะ- ทักขำตงั ภะคะวะตำ. กะถัญจะ สะมำธิ สัมมะทักขำโต ภะคะวะตำ. เหฏฐิเมนะปิ ปะริยำเยนะ, สมำธิ สัมมะทกั ขำโต ภะคะวะตำ. อุปะริเมนะปิ ปะริยำเยนะ, สะมำธิ สมั มะทักขำโต ภะคะวะตำ. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ ปะริยำเยนะ, สะมำธิ สัมมะทักขำโต ภะคะวะตำ. อธิ ะ อะรยิ ะสำวะโก โวสสคั คำรัมมะณัง กะรติ ว๎ ำ, ละภะติ ๑๖๘ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
สะมำธงิ ละภะติ จิตตัสเสกคั คะตันต.ิ เอวงั โข เหฏฐเิ มนะ ปะรยิ ำเยนะ, สะมำธิ สมั มะทักขำโต ภะคะวะตำ. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยำเยนะ, สะมำธิ สัมมะทักขำโต ภะคะวะตำ. อิธะ ภิกขุ วิวิจเจวะ กำเมหิ วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธมั เมหิ, สะวติ ักกัง สะวิจำรงั วิเวกะชัมปีติสุขัง ปะฐะมัง ฌำนัง อปุ ะสมั ปัชชะ วิหะระติ, วิตักกะวิจำรำนงั วูปะสะมำ, อชั ฌตั ตัง สมั ปะสำทะนัง เจตะโส เอโกทิภำวัง อะวิตักกัง อะวิจำรัง, สะมำธิชัมปีติสุขัง ทุติยัง ฌำนัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ. ปีติยำ จะ วิรำคำ อุเปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ สัมปะชำโน, สุขัญจะ กำเยนะ ปะฏสิ งั เวเทติ, ยนั ตงั อะริยำ อำจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมำ สุขะวหิ ำรตี ิ, ตะตยิ งั ฌำนัง อปุ ะสัมปชั ชะ วิหะระติ. สุขัสสะ จะ ปะหำนำ ทุกขัสสะ จะ ปะหำนำ, ปุพเพ วะ โสมะนัสสะโทมะนัสสำนัง อัตถังคะมำ, อะทุกขะมะสขุ ัง อุเปกขำสะติ- ปำริสุทธิง, จะตุตถัง ฌำนัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระตีติ. เอวัง โข อปุ ะริเมนะ ปะริยำเยนะ, สะมำธิ สัมมะทักขำโต ภะคะวะตำ. กะถัญจะ ปัญญำ สัมมะทักขำตำ ภะคะวะตำ. เหฏฐิเมนะปิ ปะริยำเยนะ, ปัญญำ สัมมะทักขำตำ ภะคะวะตำ. อุปะริเมนะปิ ปะริยำเยนะ, ปญั ญำ สมั มะทกั ขำตำ ภะคะวะตำ. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ ปะริยำเยนะ, ปัญญำ สัมมะทักขำตำ ภะคะวะตำ. อธิ ะ อะรยิ ะสำวะโก ปัญญะวำ โหติ. อุทะยัตถะคำมินยิ ำ ปัญญำยะ สะมันนำคะโค, อะริยำยะ นิพเพธิกำยะ สัมมำ ทุกขักขะยะ- คำมินิยำติ. เอวงั โข เหฏฐเิ มนะ ปะรยิ ำเยนะ, ปญั ญำ สมั มะทักขำตำ ภะคะวะตำ. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๖๙
กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยำเยนะ, ปัญญำ สัมมะทักขำตำ ภะคะวะตำ. อิธะ ภิกขุ อิทัง ทุกขันติ ยะถำภตู ัง ปะชำนำติ. อะยัง ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถำภูตัง ปะชำนำติ, อะยงั ทุกขะนโิ รโธติ ยะถำภตู ัง ปะชำนำติ, อะยัง ทุกขะนิโรธะคำมินี ปะฏปิ ะทำติ ยะถำภูตงั ปะชำนำตตี ิ. เอวงั โข อปุ ะริเมนะ ปะริยำเยนะ, ปัญญำ สมั มะทกั ขำตำ ภะคะวะตำ. สีละปะรภิ ำวโิ ต สะมำธิ มะหัปผะโล โหติ มะหำนสิ ังโส, สะมำธิ- ปะริภำวิตำ ปัญญำ มะหัปผะลำ โหติ มะหำนิสังสำ. ปัญญำปะริภำวิตัง จิตตัง สัมมะเทวะ อำสะเวหิ วิมุจจะติ. เสยยะถีทัง. กำมำสะวำ ภะวำสะวำ อะวชิ ชำสะวำ. ภำสติ ำ โข ปะนะ ภะคะวะตำ ปะรินพิ พำนะ- สะมะเย อะยัง ปัจฉิมะวำจำ, หันทะทำนิ ภิกขะเว อำมันตะยำมิ โว, วะยะธัมมำ สังขำรำ, อัปปะมำเทนะ สัมปำเทถำติ. ภำสิตัญจิทัง ภะคะวะตำ, เสยยะถำปิ ภิกขะเว ยำนิ กำนิจิ ชังคะลำนัง ปำณำนัง ปะทะชำตำนิ, สัพพำนิ ตำนิ หตั ถิปะเท สะโมธำนัง คัจฉนั ติ, หัตถปิ ะทัง เตสงั อคั คะมกั ขำยะติ, ยะทิทัง มะหันตตั เตนะ. เอวะเมวะ โข ภกิ ขะเว เย เกจิ กุสะลำ ธัมมำ, สัพเพ เต อัปปะมำทะมูละกำ อัปปะมำทะ- สะโมสะระณำ, อัปปะมำโท เตสัง อัคคะมักขำยะตีติ. ตัส๎มำติหัมเหหิ สกิ ขติ พั พัง, ตพิ พำเปกขำ ภะวิสสำมะ, อะธิสลี ะสิกขำสะมำทำเน อะธิ- จิตตะสิกขำสะมำทำเน, อะธิปัญญำสิกขำสะมำทำน, อัปปะมำเทนะ สมั ปำเทสสำมำติ. เอวัญหิ โน สกิ ขติ พั พัง. ๑๗๐ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
คำแปล พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงยกโอวาทปาฏิโมกข์ (พระ โอวาทสาคัญ) ขน้ึ แสดงแล้วดว้ ยพระคาถา ๓ บทวา่ ความอดทน ความอดกลน้ั เป็น ตบะ (เคร่ืองแผดเผากิเลส) อย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทง้ั หลายตรัสว่า พระนิพพานเป็น ธรรมอย่างยิ่ง ผ้ทู ารา้ ยผูอ้ ่ืนเบยี ดเบียนผู้อนื่ ไม่ชื่อว่าเปน็ บรรพชิต เปน็ สมณะเลย การไมท่ าบาปท้ังปวง การยังกศุ ลให้ถึงพรอ้ ม การทาจิตของตนใหผ้ ่องใส นี้ เป็นคาส่ังสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย การไม่กล่าวร้าย การไม่ทาร้าย ความ สารวมในพระปาฏิโมกข์ ความเปน็ ผู้รู้จักประมาณในภัตตาหาร ท่ีน่ังที่นอนอนั สงัด การประกอบความเพียรในอธิจิต (คือการทาจิตให้เป็นสมาธิ) น้ี เป็นคาส่ังสอนของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสศีล สมาธิ ปญั ญา ไว้โดยชอบแลว้ โดยเอนกปริยาย ก็พระผู้มีพระภาค ตรัสถึงศีลไว้โดยชอบ แล้ว อย่างไร พระองค์ตรัสไว้โดยชอบแลว้ โดยบรรยายเบื้องต่าบ้าง โดยบรรยาย เบื้องสูงบ้าง พระผู้มีพระภาค ตรัสถึงศีลไว้แล้วโดยชอบโดยบรรยายเบ้ืองต่า อย่างไร ตรัสโดยชอบแล้วอย่างนี้ว่า อริยสาวกในพระศาสนานี้ เว้นขาดจาก ปาณาติบาต อทนิ นาทาน กาเมสมุ ิจฉาจาร มสุ าวาท และการด่ืมสรุ าเมรยั อนั เป็น ท่ีต้ังแห่งความประมาท พระผู้มีพระภาคเจา้ ตรสั ถงึ ศีลไว้โดยชอบแล้ว โดยบรรยาย อย่างสูงอย่างไร พระองค์ตรัสแล้วอย่างน้ีว่า ภิกษุในธรรมวินัยน้ี มีศีล สารวมใน พระปาฏิโมกข์ สมบูรณ์ดว้ ยอาจาระ (ความประพฤต)ิ และโคจร (ทบ่ี ิณฑบาตเล้ยี ง ชพี ) อยู่ เห็นภัยในโทษเล็กน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททง้ั หลาย พระผู้มีพระภาคตรัสแสดงสมาธิไวโ้ ดยชอบแล้วอย่างไร พระองค์ตรสั ไว้โดย ชอบแล้ว ท้ังโดยบรรยายอย่างต่าและโดยบรรยายอย่างสูง พระผู้มีภาคเจ้าตรัส สมาธิไว้โดยชอบแล้ว โดยบรรยายอย่างต่าอย่างไร พระองค์ตรัสไว้แล้วอย่างนี้ว่า อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี ทาการสละอารมณ์ได้แล้ว ได้สมาธิ ได้ความที่จิตเป็น เอกัคคตา (มีอารมณ์เลิศเป็นหน่ึง คือไม่ฟุ้งซ่าน) พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสมาธิไว้ โดยชอบแลว้ โดยบรรยายอย่างสงู อย่างไร พระองคต์ รัสแล้วอย่างนีว้ า่ ภิกษใุ นธรรม วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๑๗๑
วินัยนี้ สงัดจากกามทั้งหลาย สงัดจากอกุศลธรรมท้ังหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานมี วิตกวจิ าร มีปีตแิ ละสุขท่ีเกิดจากวิเวกอยู่ เธอบรรลุทตุ ิยฌาน มีความผอ่ งใสแห่งใจ เป็นไปในภายใน เป็นธรรมอันเกิดผุดขึ้น ไมม่ ีวิตกวิจาร เพราะสงบวิตกวิจารไว้ได้ มปี ตี แิ ละสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอเปน็ ผูว้ างเฉย เพราะปีติหมดไป มสี ติสมั ปชญั ญะ อยู่ เสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุตติยฌาน ซ่ึงพระอริยบุคคลทั้งหลายกล่าวว่าเป็นผู้ วางเฉย มีสติ มีปกติอยู่ด้วยสุขวิหารธรรม (คือธรรมะเคร่ืองให้อยู่อย่างสงบสุข) เธอบรรลจตุตถฌาน อันไร้ทุกข์ไรส้ ุข มีอุเบกขาและความบรสิ ุทธิแ์ หง่ สติ เพราะละ สขุ ทุกขเ์ สียได้ เพราะดับโสมนสั (ความดีใจ) และโทมนัส (ความเสียใจ) ตั้งแต่ตอน แรกเสยี ได้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสปัญญาไว้โดยชอบแล้วอย่างไร พระองค์ตรัสไว้ ชอบแล้ว ทั้งโดยบรรยายอย่างต่า และโดยบรรยายอย่างสูง พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสปัญญาไว้โดยชอบแล้ว โดยบรรยายอย่างต่าอย่างไร พระองค์ตรัสไว้โดยชอบ แล้วอย่างน้ีวา่ อรยิ สาวกในธรรมวนิ ัยน้ี เป็นผมู้ ีปัญญา พร้อมด้วยปัญญาเครื่องดับ กิเลส ปัญญาเคร่ืองแทงกิเลสชั้นยอด อันเป็นเคร่ืองให้ถึงความสิ้นทุกข์ได้อย่างดี พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสปัญญาไว้โดยชอบแล้ว โดยบรรยายอย่างสูงไว้อย่างไร พระองคต์ รสั ไว้แล้วโดยชอบ อย่างนี้ว่า ภิกษุในธรรมวินัยน้ี รู้ชัดความเปน็ จริงว่า นี้ ทุกข์ น้ีสมุทัย เหตุเกิดทุกข์ น้ีทุกขนิโรธ ความดับทุกข์ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ข้อปฏิบตั ใิ หถ้ งึ ความดับทุกข์ ดงั น้ี สมาธทิ ีศ่ ีลอบรมมีผลานิสงสย์ ิ่งใหญ่ ปญั ญาทส่ี มาธอิ บรมมีผลานิสงสย์ ่งิ ใหญ่ จิตที่ปัญญาอบรม ย่อมพ้นจากอาสวะกิเลส คืออาสวะท่ีเกิดจากกาม อาสวะท่ีเกิด จากภพ อาสวะทเี่ กดิ จากอวิชชา ก็ในเวลาใกล้เสดจ็ ดับขนั ธปรินิพพาน พระผู้มพี ระ ภาค ตรัสพระวาจาเป็นคร้ังสุดท้าย (ปัจฉิมวาจา) ว่า ดูกรภิกษุท้ังหลำย เรำขอ เตือนพวกเธอ สังขำรทั้งหลำย มีควำมส้นิ ไปเป็นธรรมดำ ขอพวกเธอจงยังชีวิต ให้สมบูรณ์ด้วยควำมไม่ประมำทเถิด พระองค์ตรัสเปรียบเทียบไว้ดังน้ีว่า ภิกษุ ทั้งหลาย รอยเท้าของสัตว์ท้ังหลายที่คืบคลานไปบนแผ่นดิน รอยเท้าเหล่านั้นทุก ๑๗๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ชนดิ รวมลงทร่ี อยเท้าชา้ ง บณั ฑติ กล่าววา่ รอยเทา้ ชา้ งเปน็ ยอดแหง่ รอยเทา้ เหลา่ นั้น เพราะว่าใหญข่ ้อน้ีฉันใด ดูกรภิกษุท้ังหลาย กุศลธรรมทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เหล่านั้นท้ังหมดมี ความไม่ประมาท เป็นเค้ามูล รวมลงท่ีความไม่ประมาท บัณฑิตกล่าวความไม่ ประมาทว่า เป็นยอดแห่งกุศลธรรมเหล่านั้น ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น พวกเราพึงทา ความศึกษาว่า เราจักเป็นผู้มีความมุ่งหวังอย่างแรงกล้า จักทาชีวิตให้สมบูรณ์ด้วย ความไมป่ ระมาทในการศกึ ษาสมาทานในอธศิ ลี ในอธจิ ิต ในอธิปญั ญา ฯ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๗๓
บทสวดสำมภำณ (มงคลธรรมโอสถ) สำมภำณ คือ มหากัสสปโพชฌังคสูตร... เร่ืองย่อว่า พระมหากัสสปะ อาพาธหนัก พระพุทธเจ้าก็เสด็จไปทรงเยี่ยม และทรงแสดง โพชฌงค์ ๗ ให้ฟัง พระมหากสั สปะ สดบั ตามธรรม คอ่ ย ๆ พิจารณาก็หายจากอาพาธ... มหาโมคคัลลานโพชฌังคสูตร... เร่ืองย่อว่า พระมหาโมคคัลลานะ อาพาธ หนัก พระพุทธเจ้าก็เสด็จไปเย่ียม...ฯลฯ..ทรงแสดงโพชฌงค์ ๗...ฯลฯ.. พระมหา โมคคัลลานะ ก็หายจากอาพาธ... มหาจุนทโพชฌังคสูตร... เรื่องย่อว่า พระพุทธเจา้ ทรงอาพาธหนัก พระมหา จุนทะก็เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าถึงที่ประทับ ...... พระพุทธเจ้าก็ทรงรับสั่งให้พระมหา จนุ ทะแสดงโพชฌงค์ ๗ ให้ทรงสดับ...หลังจากทรงสดบั แล้ว พระพทุ ธเจา้ ก็ทรงหาย จากอาพาธ.... สามภาณนี้ อาจสรุปได้ว่า เม่ืออาพาธหรือป่วยไข้ก็ใหใ้ คร่ครวญโพชฌงค์ ๗ ก็อาจหายได้... เราจึงนิยมนามาสวดให้ผู้สูงอายุฟัง หรือแพทย์แผนโบราณก็มักจะ ใชเ้ ป็นคาถาเสกยาชนดิ ตา่ ง ๆ ทานองธรรมโอสถ มหำกัสสปโพชฌงั คสุตตปำฐะ เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, รำชะคะเห วิหะระติ, เวฬุวะเน กะลันทะกะนิวำเป, เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อำยัส๎มำ มะหำกสั สะโป ปิปผะลคิ ุหำยัง วิหะระติ, อำพำธิโก ทกุ ขโิ ต พำฬห๎ ะคลิ ำโน. อะถะโข ภะคะวำ สำยัณหะสะมะยัง ปะฏิสัลลำนำ วุฏฐิโต, เยนำยัส๎มำ มะหำกัสสะโป เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วำ ปัญญัตเต ๑๗๔ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
อำสะเน นิสีทิ. นิสัชชะ โข ภะคะวำ อำยัส๎มันตัง มะหำกัสสะปัง เอตะทะโวจะ กจั จิ เต กสั สะปะ ขะมะนียงั กจั จิ ยำปะนียัง กัจจิ ทกุ ขำ เวทะนำ ปะฏิกกะมันติ, โน อะภิกกะมันติ ปะฏิกกะโมสำนัง ปัญญำยะติ โน อะภิกกะโมต.ิ นะ เม ภันเต ขะมะนียงั นะ ยำปะนยี ัง พำฬ๎หำ เม ทุกขำ เวทะนำ อะภิกกะมันติ, โน ปะฏิกกะมันติ อะภิกกะโมสำนัง ปัญญำยะติ โน ปะฏิกกะโมติ. สัตติเม กัสสะปะ โพชฌังคำ มะยำ สัมมะทักขำตำ, ภำวิตำ พะหุลกี ะตำ อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นพิ พำนำยะ สงั วัตตันติ. กะตะเม สตั ตะ. สะติสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยำ สัมมะทักขำโต ภำวิโต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตะต.ิ ธัมมะวจิ ะยะสัมโพชฌังโค โข กสั สะปะ มะยำ สมั มะทกั ขำโต ภำวิโต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตะติ. วิริยะสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยำ สัมมะทักขำโต ภำวิโต พะหลุ ีกะโต อะภญิ ญำยะ สมั โพธำยะ นพิ พำนำยะ สังวตั ตะติ. ปีติสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยำ สัมมะทักขำโต ภำวิโต พะหุลกี ะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วตั ตะติ. ปัสสัทธิสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยำ สัมมะทักขำโต ภำวิโต พะหลุ กี ะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สังวตั ตะต.ิ สะมำธิสัมโพชฌังโค โข กสั สะปะ มะยำ สัมมะทักขำโต ภำวิโต พะหลุ กี ะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นพิ พำนำยะ สงั วตั ตะติ. วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๗๕
อุเปกขำสัมโพชฌงั โค โข กัสสะปะ มะยำ สมั มะทักขำโต ภำวิโต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตะติ. อเิ ม โข กัสสะปะ สัตตะ โพชฌงั คำ มะยำ สัมมะทักขำตำ, ภำวติ ำ พะหุลกี ะตำ อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สังวตั ตันตตี .ิ ตคั ฆะ ภะคะวำ โพชฌงั คำ ตัคฆะ สุคะตะ โพชฌงั คำต.ิ อิทะมะโวจะ ภะคะวำ. อัตตะมะโน อำยัส๎มำ มะหำกัสสะโป ภะคะวะโต ภำสิตัง อะภินันทิ. วุฏฐะหิ จำยัส๎มำ มะหำกัสสะโป ตัม๎หำ อำพำธำ ตะถำปะหีโน, จำยัส๎มะโต มะหำกัสสะปัสสะ โส อำพำโธ, อะโหสตี ิ. คำแปล อันข้าพเจ้า (พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแลว้ อย่างนี้ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน กลันทกนิวาป- สถาน ใกล้พระนครราชคฤห์ กส็ มัยนั้น ท่านพระมหากัสสปะอาพาธไม่สบาย เปน็ ไข้ หนัก อยู่ท่ีปปิ ผลคิ ูหา ครั้งนนั้ พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากท่ีเร้นในเวลาเย็น เข้า ไปหาท่านพระมหากัสสปะถงึ ท่ีอยู่ แล้วประทับน่ังบนอาสนะที่ปูลาดไว้ ครัน้ แล้วได้ ตรัสถามทา่ นพระมหากสั สปะว่า ดูก่อนกัสสปะ เธอพออดทนได้หรือ พอยังอัตภาพให้เป็นไปได้หรือ ทกุ ขเวทนาคลายลง ไมก่ าเริบขน้ึ แลหรือ ความทุเลาย่อมปรากฏ ความกาเริบขึ้นไม่ ปรากฏแลหรือ ? ท่านพระมหากัสสปะกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองคอ์ ดทนไม่ได้ ยังอัตภาพใหเ้ ปน็ ไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของข้าพระองคก์ าเริบ หนกั ยังไม่คลายไป ความกาเริบขึ้นย่อมปรากฏ ความทุเลาไม่ปรากฏ ดกู อ่ นกสั สปะ โพชฌงค์ ๗ เหล่านี้ เรากล่าวไว้ชอบแลว้ อนั บุคคลเจริญแล้ว กระทาใหม้ ากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรยู้ ิง่ เพื่อความตรัสรู้ เพือ่ นพิ พาน โพชฌงค์ ๗ เป็นไฉน ? ๑๗๖ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ดูก่อนกัสสป สติสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ยิ่ง เพ่ือความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน ธัมม- วจิ ยสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแลว้ กระทาให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพือ่ ความรู้ย่งิ เพื่อความตรสั รู้ เพ่ือนพิ พาน วิริยสมั โพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบ แล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือความ ตรัสรู้ เพื่อนพิ พาน ปีติสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจริญแล้วกระทา ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ย่ิง เพื่อความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน ปัสสัทธิ สัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน สมาธิสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพื่อ ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน อุเบกขาสมั โพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญ แล้ว กระทาให้มากแลว้ ย่อมเป็นไปเพอื่ ความรูย้ ่งิ เพือ่ ความตรสั รู้ เพื่อนิพพาน ดูก่อนกัสสปะ โพชฌงค์ ๗ เหล่าน้ีแล เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อนั บุคคลเจริญ แล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ท่านพระมหากัสสปะกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาค โพชฌงค์ดีนัก ข้าแต่พระ สคุ ต โพชฌงคด์ ีนัก พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไวยากรณภาษติ นีแ้ ล้ว ท่านพระมหากัสสปะปล้มื ใจ ช่ืนชมภาษติ ของพระผู้มีพระภาค ท่านพระมหากัสสปะหายจากอาพาธนัน้ แล้ว และ อาพาธน้ัน อนั ท่านพระมหากสั สปะละได้แลว้ ดว้ ยประการฉะนีแ้ ล ฯ มหำโมคคลั ลำนโพชฌงั คสตุ ตปำฐะ เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, รำชะคะเห วิหะระติ เวฬุวะเน กะลันทะกะนิวำเป. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อำยัส๎มำ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๗๗
มะหำโมคคัลลำโน, คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต วิหะระติ อำพำธิโก ทุกขิโต พำฬห๎ ะคิลำโน. อะถะโข ภะคะวำ สำยัณหะสะมะยัง ปะฏิสัลลำนำ วุฏฐิโต, เยนำยสั ๎มำ มะหำโมคคัลลำโน เตนปุ ะสงั กะมิ อุปะสงั กะมติ ๎วำ ปัญญัตเต อำสะเน นิสีทิ. นิสัชชะ โข ภะคะวำ อำยัส๎มันตงั มะหำโมคคัลลำนัง เอตะทะโวจะ. กัจจิ เต โมคคัลลำนะ ขะมะนยี ัง, กจั จิ ยำปะนยี งั กัจจิ ทุกขำ เวทะนำ ปะฏิกกะมันติ โน อะภกิ กะมนั ติ, ปะฏิกกะโมสำนงั ปัญญำยะติ โน อะภกิ กะโมต.ิ นะ เม ภันเต ขะมะนยี ัง นะ ยำปะนียงั , พำฬ๎หำ เม ทุกขำ เวทะนำ อะภิกกะมันติ, โน ปะฏิกกะมันติ อะภิกกะโมสำนัง ปัญญำยะติ โน ปะฏิกกะโมติ. สัตติเม โมคคัลลำนะ โพชฌังคำ มะยำ สัมมะทักขำตำ, ภำวิตำ พะหุลกี ะตำ อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สังวัตตันติ. กะตะเม สัตตะ. สะติสัมโพชฌงั โค โข โมคคัลลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหลุ ีกะโต อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นพิ พำนำยะ สงั วตั ตะติ. ธัมมะวิจะยะสมั โพชฌงั โค โข โมคคลั ลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นพิ พำนำยะ สังวัตตะติ. วิริยะสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต , ภำวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สังวัตตะต.ิ ปีติสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหุลกี ะโต อะภญิ ญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตะติ. ๑๗๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ปัสสัทธิสัมโพชฌังโค โข มัคคัลลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต, ภำวโิ ต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตะติ. สะมำธิสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต, ภำวโิ ต พะหุลีกะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วตั ตะติ. อุเปกขำสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลำนะ มะยำ สัมมะทักขำโต, ภำวโิ ต พะหลุ ีกะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตะติ. อิเม โข โมคคัลลำนะ สัตตะ โพชฌังคำ มะยำ สัมมะทักขำตำ, ภำวิตำ พะหลุ กี ะตำ อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สังวตั ตันตีติ. ตัคฆะ ภะคะวำ โพชฌังคำ ตคั ฆะ สุคะตะ โพชฌงั คำต.ิ อิทะมะโวจะ ภะคะวำ. อัตตะมะโน อำยัส๎มำ มะหำโมคคัลลำโน ภะคะวะโต ภำสิตัง อะภินันทิ. วุฏฐะหิ จำยัส๎มำ มะหำโมคคัลลำโน ตัม๎หำ อำพำธำ ตะถำปะหีโน, จำยัส๎มะโต มะหำโมคคัลลำนัสสะ โส อำพำโธ, อะโหสีติ. คำแปล อนั ขา้ พเจ้า (พระอานนทเถระ) ไดส้ ดบั มาแลว้ อย่างนี้ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวัน กลันทกนิวาป- สถาน ใกล้พระนครราชคฤห์ ก็สมัยน้ัน ท่านพระมหาโมคคัลลานะอาพาธ ไม่สบาย เป็นไขห้ นักอยู่ ณ ภูเขาคชิ ฌกฏู ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากท่ีเรน้ ในเวลาเย็น เข้าไปหาท่านพระ มหาโมคคัลลานะถงึ ที่อยู่ แล้วประทับนั่งบนอาสนะท่ีปลู าดไว้ ครนั้ แล้ว ได้ตรัสถาม ท่านพระมหาโมคคัลลานะว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอพออดพอทนได้หรือ พอยังอัตภาพให้เป็นไปได้แล หรือ ทุกขเวทนาคลายลงไม่กาเรบิ ขึ้นแลหรือ ความทุเลาย่อมปรากฏ ความกาเริบ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๗๙
ขน้ึ ไม่ปรากฏแลหรือ ? ทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะกราบทูลวา่ ขา้ แตพ่ ระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของข้าพระองค์ย่อม กาเริบหนกั ยังไมค่ ลายลง ความกาเริบย่อมปรากฏความทเุ ลาไม่ปรากฏ ดูก่อนโมคคัลลานะ โพชฌงค์ ๗ เหล่าน้ี เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคล เจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพ่ือ นิพพาน โพชฌงค์ ๗ เปน็ ไฉน ? ดูก่อนโมคคัลลานะ สติสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญ แล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้วกระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่อื ความรยู้ ง่ิ เพื่อความตรสั รู้ เพือ่ นิพพาน วริ ยิ สัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ยิ่ง เพ่ือ ความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ปีตสิ ัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบคุ คลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่งิ เพ่ือความตรสั รู้ เพื่อนิพพาน ปัสสทั ธิ- สัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อม เป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน สมาธิสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือ ความตรัสรู้ เพ่ือนพิ พาน อุเบกขาสัมโพชฌงค์ เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญ แล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพอื่ ความรู้ยงิ่ เพ่ือความตรสั รู้ เพอื่ นิพพาน ดูก่อนโมคคัลลานะ โพชฌงค์ ๗ เหล่าน้ีแล เรากล่าวไว้ชอบแล้ว อันบุคคล เจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพ่ือ นิพพาน ท่านพระโมคคัลลานะกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาค โพชฌงค์ดีนัก ข้าแตพ่ ระสุคต โพชฌงค์ดนี กั พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้แล้ว ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ปล้ืมใจ ชื่นชมภาษิตของพระผู้มีพระภาค ท่านพระมหาโมคคัลลานะหายจาก ๑๘๐ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
อาพาธนัน้ แลว้ และอาพาธนัน้ อนั ท่านพระมหาโมคคลั ลานะละได้แลว้ ด้วยประการ ฉะนีแ้ ล ฯ มหำจุนทโพชฌงั คสุตตปำฐะ เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, รำชะคะเห วิหะระติ, เวฬุวะเน กะลันทะกะนิวำเป. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ ภะคะวำ อำพำธโิ ก โหติ ทุกขิโต พำฬ๎หะคิลำโน. อะถะโข อำยัส๎มำ มะหำจุนโท สำยัณหะสะมะยัง ปะฏิสัลลำนำ วุฏฐิโต, เยนะ ภะคะวำ เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วำ ภะคะวันตัง อะภวิ ำเทตว๎ ำ เอกะมันตัง นิสที ิ. เอกะมันตัง นิสนิ นงั โข อำยัส๎มันตัง มะหำจนุ ทัง, ภะคะวำ เอตะทะโวจะ ปะฏภิ นั ตุ ตงั จนุ ทะ โพชฌังคำต.ิ สตั ติเม ภันเต โพชฌังคำ ภะคะวะตำ สัมมะทักขำตำ ภำวติ ำ พะหุลกี ะตำ อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วัตตนั ติ. กะตะเม สตั ตะ. สะติสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหลุ ีกะโต อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สังวัตตะต.ิ ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหลุ ีกะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นพิ พำนำยะ สงั วตั ตะติ. วริ ิยะสมั โพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหลุ ีกะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นพิ พำนำยะ สังวตั ตะติ. ปีติสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สังวัตตะติ. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๘๑
ปัสสัทธิสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหุลีกะโต อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สังวตั ตะติ. สะมำธิสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต , ภำวิโต พะหลุ กี ะโต อะภญิ ญำยะ สมั โพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วตั ตะติ. อุเปกขำสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตำ สัมมะทักขำโต, ภำวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญำยะ สัมโพธำยะ นิพพำนำยะ สงั วตั ตะติ. อิเม โข ภันเต สัตตะ โพชฌังคำ ภะคะวะตำ สัมมะทักขำตำ, ภำวติ ำ พะหลุ กี ะตำ อะภญิ ญำยะ สัมโพธำยะ นพิ พำนำยะ สังวัตตันตีติ. ตัคฆะ จุนทะ โพชฌงั คำ ตคั ฆะ จุนทะ โพชฌังคำติ. อิทะมะโวจำยัส๎มำ มะหำจุนโท. สะมะนุญโญ สัตถำ อะโหสิ. วุฏฐะหิ จะ ภะคะวำ ตัม๎หำ อำพำธำ ตะถำปะหีโน จะ, ภะคะวะโต โส อำพำโธ, อะโหสตี ิ. คำแปล อันขา้ พเจ้า (พระอานนทเถระ) ไดส้ ดบั มาแล้วอยา่ งน้ี สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาป- สถาน ใกล้พระนครราชคฤห์ ก็สมยั น้ัน พระผู้มพี ระภาคทรงประชวร ไม่สบาย เป็น ไข้หนัก คร้ังนั้น ท่านพระมหาจุนทะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงท่ีประทับ ถวาย บังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ท่ีควรส่วนข้างหน่ึง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะ ท่านพระจุนทะวา่ ดกู ่อนจุนทะ โพชฌงค์จงแจม่ แจง้ กะเธอ ขา้ แตพ่ ระองค์ผู้เจริญ โพชฌงค์ ๗ เหลา่ นี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ย่ิง เพ่ือความตรัสรู้ เพอ่ื นิพพาน โพชฌงค์ ๗ เป็นไฉน ? ๑๘๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สติสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ย่ิง เพ่ือความตรัสรู้ เพอ่ื นิพพาน, ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ พระผู้มพี ระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญ แล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ยิ่ง เพ่ือความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน วิริยสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้ มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ย่ิง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ปีติสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อม เปน็ ไปเพ่ือความรู้ยง่ิ เพ่ือความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน, ปัสสทั ธสิ ัมโพชฌงค์ พระผ้มู พี ระ ภาคตรสั ไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแลว้ กระทาให้มากแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพื่อความรู้ ยงิ่ เพ่อื ความตรัสรู้ เพอื่ นิพพาน สมาธิสัมโพชฌงค์ พระผู้มพี ระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพื่อความตรัสรู้ เพ่ือนิพพาน อุเบกขาสัมโพชฌงค์ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคล เจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โพชฌงค์ ๗ เหล่าน้ีแล พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบ แล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ย่ิง เพื่อความ ตรสั รู้ เพอื่ นิพพาน ดกู ่อนจุนทะ โพชฌงค์ดีนัก ดูกอ่ นจุนทะ โพชฌงคด์ ีนัก ท่านพระมหาจุนทะได้กล่าวไวยากรณภาษิตนี้แล้ว พระศาสดาทรงพอ พระทัย ทรงหายจากประชวรน้ันและอาพาธนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงละแล้ว ด้วยประการฉะนีแ้ ล ฯ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๘๓
คริ มิ ำนนั ทสตุ ตปำฐะ คิริมำนนทสูตร เป็นพระสูตรที่กล่าวถึงเรื่องราวเม่ือคราวพระคิริมานนท์ อาพาธหนัก... พระอานนท์จึงเขา้ เฝ้าพระพุทธเจ้าแลว้ กราบทูลให้ทรงทราบเพื่อจะ ได้เสด็จไปเยี่ยม... พระพุทธองค์รับส่ังให้พระอานนท์เรียนสัญญา ๑๐ ให้จาแล้ว นาไปแสดงให้พระคิริมานนท์ฟัง แล้วพระพุทธองค์ก็ทรงแสดงสัญญา ๑๐ ต่อพระอานนท์.... พระอานนท์คร้ันเรียนจาแล้วก็กลับมายังท่ีพักของพระคิริมานนท์... แสดง สัญญา ๑๐ ให้พระคิริมานนท์ฟังตามท่ีได้เรียนมา... พระคิริมานนท์คร้ันได้สดับ สญั ญา ๑๐ แล้ว ก็หายจากอาพาธ.. บทสวด เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สำวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนำถะปิณฑิกัสสะ, อำรำเม. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อำยัส๎มำ คิริมำนันโท, อำพำธิโก โหติ ทุกขิโต พำฬ๎หะคิลำโน. อะถะโข อำยัส๎มำ อำนันโท, เยนะ ภะคะวำ เตนุปะสังกะมิ, อุปะสังกะมิต๎วำ ภะคะวันตัง อะภิวำเทต๎วำ เอกะมันตัง นิสีทิ. เอกะมันตัง นิสินโน โข อำยัสม๎ ำ อำนันโท ภะคะวันตงั เอตะทะโวจะ. อำยัส๎มำ ภันเต คิริมำนันโท, อำพำธิโก ทกุ ขิโต พำฬ๎หะคลิ ำโน, สำธุ ภันเต ภะคะวำ, เยนำยัส๎มำ คิริมำนันโท เตนุปะสังกะมะตุ, อะนุกมั ปงั อุปำทำยำติ. สะเจ โข ต๎วงั อำนันทะ, คิริมำนนั ทสั สะ ภิกขุโน อุปะสงั กะมติ ๎วำ ทะสะ สญั ญำ ภำเสยยำส,ิ ฐำนงั โข ปะเนตงั วิชชะติ ยัง คริ มิ ำนนั ทัสสะ ภิกขุโน ทะสะ สัญญำ สตุ ๎วำ, โส อำพำโธ ฐำนะโส ปะฏิปปัสสัมเภยยะ. กะตะมำ ทะสะ. อะนิจจะสัญญำ อะนัตตะสัญญำ, อะสุภะสัญญำ อำทีนะวะสัญญำ, ปะหำนะสัญญำ วิรำคะสัญญำ, ๑๘๔ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
นิโรธะสัญญำ สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญำ, สัพพะสังขำเรสุ อะนจิ จะสญั ญำ อำนำปำนสั สะติ. กะตะมำ จำนันทะ อะนจิ จะสัญญำ. อิธำนันทะ ภกิ ขุ อะรญั ญะ- คะโต วำ รกุ ขะมูละคะโต วำ สญุ ญำคำระคะโต วำ, อิติ ปะฏสิ ัญจิกขะติ. รปู งั อะนจิ จัง, เวทะนำ อะนิจจำ, สัญญำ อะนจิ จำ, สังขำรำ อะนจิ จำ, วิญญำณงั อะนิจจนั ต.ิ อิติ อเิ มสุ ปัญจะสุ อปุ ำทำนักขันเธสุ, อะนิจจำ- นปุ สั สี วิหะระติ. อะยงั วจุ จะตำนันทะ อะนิจจะสญั ญำ. กะตะมำ จำนันทะ อะนัตตะสัญญำ. อิธำนนั ทะ ภิกขุ อะรัญญะ- คะโต วำ รุกขะมลู ะคะโต วำ สญุ ญำคำระคะโต วำ, อิติ ปะฏิสญั จิกขะติ. จักขุง อะนัตตำ รูปำ อะนัตตำ, โสตัง อะนัตตำ สัททำ อะนัตตำ, ฆำนัง อะนัตตำ คันธำ อะนัตตำ, ชิวหำ อะนัตตำ ระสำ อะนัตตำ, กำโย อะนัตตำ โผฏฐัพพำ อะนตั ตำ, มะโน อะนัตตำ ธัมมำ อะนัตตำติ. อิติ อเิ มสุ ฉะสุ อชั ฌตั ตกิ ะพำหิเรสุ อำยะตะเนสุ, อะนตั ตำนุปัสสี วิหะระต.ิ อะยงั วุจจะตำนันทะ อะนัตตะสญั ญำ. กะตะมำ จำนันทะ อะสุภะสัญญำ. อิธำนันทะ ภิกขุ อิมะเมวะ กำยัง อุทธัง ปำทะตะลำ, อะโธ เกสะมัตถะกำ, ตะจะปะริยันตัง, ปูรัน- นำนปั ปะกำรัสสะ อะสุจิโน ปจั จะเวกขะติ, อัตถิ อิมสั ๎มงิ กำเย, เกสำ โลมำ นะขำ ทันตำ ตะโจ, มังสัง นะหำรู อัฏฐี อัฏฐิมิญชัง, วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผำสัง, อันตัง อันตะคุณัง อุทะริยงั กะรสี ัง. ปิตตัง เสม๎หงั ปุพโพ โลหิตัง เสโท เมโท, อัสสุ วะสำ เขโฬ สิงฆำณิกำ ละสิกำ มุตตันติ. อิติ อิมัส๎มงิ กำเย, อะสุภำนุปัสสี วิหะระติ. อะยัง วจุ จะตำนนั ทะ อะสภุ ะสญั ญำ. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๘๕
กะตะมำ จำนนั ทะ อำทนี ะวะสัญญำ. อิธำนันทะ ภกิ ขุ อะรญั ญะ- คะโต วำ รุกขะมูละคะโต วำ สญุ ญำคำระคะโต วำ, อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ. พะหุทุกโข โข อะยัง กำโย พะหุอำทีนะโวติ. อิติ อิมัส๎มิง กำเย, วิวิธำ อำพำธำ อุปปัชชันติ. เสยยะถีทัง. จักขุโรโค, โสตะโรโค, ฆำนะโรโค, ชิวหำโรโค, กำยะโรโค, สีสะโรโค, กัณณะโรโค, มุขะโรโค, ทันตะโรโค, กำโส สำโส ปินำโส, ฑะโห ชะโร กุจฉิโรโค, มุจฉำ ปักขันทิกำ สุลำ วิสูจิกำ, กุฏฐัง คัณโฑ กิลำโส, โสโส อะปะมำโร, ทันทุ กัณฑุ กัจฉุ, ระขะสำ วิตัจฉกิ ำ, โลหติ งั ปิตตัง มะธุเมโห, องั สำ ปฬิ ะกำ ภะคณั ฑะลำ, ปิตตะสะมุฏฐำนำ อำพำธำ, เสม๎หะสะมุฏฐำนำ อำพำธำ, วำตะสะ- มุฏฐำนำ อำพำธำ, สันนิปำติกำ อำพำธำ, อุตุปะริณำมะชำ อำพำธำ, วิสะมะปะริหำระชำ อำพำธำ, โอปักกะมิกำ อำพำธำ, กัมมะวิปำกะชำ อำพำธำ, สีตัง อุณหัง, ชิฆัจฉำ ปิปำสำ, อุจจำโร ปัสสำโวติ. อิติ อิมัส๎มิง กำเย อำทีนะวำนุปัสสี วิหะระติ. อะยัง วุจจะตำนันทะ อำทนี ะวะสัญญำ. กะตะมำ จำนันทะ ปะหำนะสัญญำ. อธิ ำนันทะ ภิกขุ อุปปันนัง กำมะวติ กั กงั นำธวิ ำเสติ. ปะชะหะติ วิโนเทติ, พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภำวัง คะเมติ, อุปปันนัง พ๎ยำปำทะวิตักกัง นำธิวำเสติ. ปะชะหะติ วิโนเทติ, พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภำวัง คะเมติ, อปุ ปนั นัง วหิ ิงสำวิตักกัง นำธิวำเสติ, ปะชะหะติ วโิ นเทติ, พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภำวัง คะเมติ, อปุ ปนั นปุ ปันเน ปำปะเก อะกุสะเล ธัมเม นำธวิ ำเสติ. ปะชะหะติ วโิ นเทติ, พย๎ ันตีกะโรติ อะนะภำวงั คะเมติ. อะยงั วจุ จะตำนนั ทะ ปะหำนะสญั ญำ. ๑๘๖ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
กะตะมำ จำนันทะ วิรำคะสัญญำ. อิธำนันทะ ภิกขุ อะรัญญะ- คะโต วำ รุกขะมลู ะคะโต วำ สญุ ญำคำระคะโต วำ, อิติ ปะฏสิ ัญจกิ ขะติ, เอตัง สันตงั เอตัง ปะณีตัง, ยะทิทัง สัพพะสังขำระสะมะโถ, สัพพปู ะธิ- ปะฏินิสสัคโค, ตัณหักขะโย วิรำโค นิพพำนันติ. อะยัง วุจจะตำนันทะ วิรำคะสญั ญำ. กะตะมำ จำนนั ทะ นโิ รธะสญั ญำ. อธิ ำนันทะ ภกิ ขุ อะรัญญะคะโต วำ รุกขะมลู ะคะโต วำ สุญญำคำระคะโต วำ, อติ ิ ปะฏสิ ญั จิกขะติ, เอตงั สันตัง เอตัง ปะณีตัง, ยะทิทัง สัพพะสังขำระสะมำโถ, สัพพูปะธิ- ปะฏินิสสัคโค, ตัณหักขะโย นิโรโธ นิพพำนันติ. อะยัง วุจจะตำนันทะ นโิ รธะสญั ญำ. กะตะมำ จำนันทะ สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญำ. อิธำนันทะ ภิกขุ, เย โลเก อุปำยุปำทำนำ, เจตะโส อะธิฏฐำนำภินิเวสำนุสะยำ, เต ปะชะหันโต วิระมะติ นะ อุปำทิยนั โต, อะยัง วจุ จะตำนนั ทะ สัพพะโลเก อะนะภะิ ระตะสัญญำ. กะตะมำ จำนันทะ สัพพะสังขำเรสุ อะนิจจะสัญญำ. อิธำนันทะ ภกิ ขุ สัพพะสงั ขำเรหิ อฏั ฏิยะติ หะรำยะติ ชิคจุ ฉะต.ิ อะยัง วุจจะตำนนั ทะ สัพพะสังขำเรสุ อะนจิ จะสญั ญำ. กะตะมำ จำนันทะ อำนำปำนสั สติ. อิธำนนั ทะ ภกิ ขุ อะรัญญะคะโต วำ รุกขะมูละคะโต วำ สุญญำคำระคะโต วำ. นิสีทะติ ปัลลังกัง อำภุชิต๎วำ อุชุง กำยัง ปะณิธำยะ ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปต๎วำ. โส สะโต วะ อัสสะสะติ สะโต ปัสสะสะติ. ทีฆัง วำ อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสำมีติ ปะชำนำติ, ทีฆัง วำ ปัสสะสันโต ทีฆัง ปัสสะสำมีติ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๘๗
ปะชำนำติ, รัสสัง วำ อัสสะสันโต รสั สัง อัสสะสำมีติ ปะชำนำติ, รัสสัง วำ ปัสสะสันโต รัสสัง ปัสสะสำมีติ ปะชำนำติ, สัพพะกำยะปะฏสิ ังเวที อสั สะสสิ สำมตี ิ สกิ ขะติ, สพั พะกำยะปะฏสิ ังเวที ปสั สะสสิ สำมีติ สิกขะติ, ปัสสัมภะยัง กำยะสังขำรัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, ปัสสัมภะยัง กำยะสังขำรัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, ปีติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมี สิกขะติ, ปีติปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, สุขะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ , จิตตะสังขำระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, จิตตะสังขำระ- ปะฏิสังเวที ปสั สะสสิ สำมีติ สิกขะติ, ปสั สมั ภะยัง จติ ตะสังขำรงั อสั สะ- สสิ สำมีติ สกิ ขะติ, ปัสสมั ภะยัง จติ ตะสงั ขำรัง ปัสสะสสิ สำมีติ สิกขะติ, จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, จิตตะปะฏิสังเวที ปัสสะ- สิสสำมีติ สิกขะติ, อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, สะมำทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, สะมำทะหัง จิตตัง ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, วิโมจะยัง จิตตัง ปัสสะ- สิสสำมีติ สิกขะติ, อะนิจจำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, อะนิจจำ- นุปสั สี ปัสสะสิสสำมีติ สกิ ขะติ, วริ ำคำนุปัสสี อสั สะสิสสำมตี ิ สิกขะติ, วิรำคำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, นิโรธำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, นิโรธำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, ปะฏินิสสัคคำนุปัสสี อัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, ปะฏินิสสัคคำนุปัสสี ปัสสะสิสสำมีติ สิกขะติ, อะยัง วุจจะตำนนั ทะ อำนำปำนัสสะติ. ๑๘๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
สะเจ โข ต๎วงั อำนนั ทะ, คิริมำนันทัสสะ ภิกขุโน อปุ ะสังกะมิต๎วำ อิมำ ทะสะ สัญญำ ภำเสยยำสิ. ฐำนัง โข ปะเนตัง วิชชะติ, ยัง คิริมำนันทสั สะ ภกิ ขุโน อมิ ำ ทะสะ สัญญำ สุต๎วำ, โส อำพำโธ ฐำนะโส ปะฏปิ ปัสสมั เภยยำติ. อะถะโข อำยัส๎มำ อำนันโท, ภะคะวะโต สันติเก อิมำ ทะสะ สัญญำ อุคคะเหต๎วำ, เยนำยัส๎มำ คิริมำนันโท เตนุปะสังกะมิ, อปุ ะสงั กะมิต๎วำ อำยสั ม๎ ะโต คิรมิ ำนันทัสสะ อิมำ ทะสะ สญั ญำ อะภำสิ. อะถะโข อำยัส๎มะโต คิริมำนันทัสสะ อิมำ ทะสะ สัญญำ สุต๎วำ โส อำพำโธ ฐำนะโส ปะฏปิ ัสสมั ภิ. วุฏฐะหิ จำยสั ๎มำ คิริมำนันโท ตมั ๎หำ อำพำธำ, ตะถำปะหีโน จะ ปะนำยัส๎มะโต คิริมำนันทัสสะ, โส อำพำโธ, อะโหสีติ. คำแปล อันขา้ พเจ้า (คอื พระอานนทเถระ) ไดส้ ดบั มาแล้วอยา่ งนี้ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับในพระวิหารเชตวัน อันเป็น อารามของอนาถบิณฑิกคหบดีสร้างถวาย ใกล้เมืองสาวัตถี ก็โดยสมัยน้ันแล พระคิริมานนท์ผู้มีอายุเป็นผูอ้ าพาธ ประกอบด้วยทุกขเวทนา เป็นไข้หนัก ครั้งน้ัน แล พระอานนท์ผู้มีอายุได้เข้าไปเฝ้า โดยท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ คร้ันเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า น่ัง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เมื่อพระอานนท์นั่ง ณ ท่ีควรส่วนข้างหน่ึงแลว้ จึงกราบทูลคาน้ีกะพระผู้มีพระภาค เจ้าว่า พระเจ้าข้า พระคิริมานนท์ผู้มอี ายุอาพาธ ประกอบด้วยทุกขเวทนาเป็นไข้ หนกั พระเจ้าข้า ดแี ล้ว ขอพระผูม้ ีพระภาคเจ้าเสดจ็ เข้าไปใกล้โดยท่ีพระคิริมานนท์ อยู่ เพื่อได้ทรงอนุเคราะห์ พระผู้มีพระภาคเจ้าจงึ ตรัสว่า อานนท์ ถ้าท่านแลพงึ เข้า วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๘๙
ไปหาภิกษุคิริมานนท์แล้ว แสดงสัญญา ๑๐ ข้อนี้เป็นเหตุให้อาพาธน้ันของภิกษุคิริ มานนท์ระงับไปโดยฐานะ เพราะฟังสัญญา ๑๐ สญั ญา ๑๐ เปน็ อย่างไร ความกาหนดหมายวา่ ไม่เที่ยง ความกาหนดว่าไมใ่ ช่ ตัวตน ความกาหนดว่าไมง่ าม ความกาหนดหมายว่าเป็นโทษ ความกาหนดหมายใน กาละ ความกาหนดหมายในธรรมอันปราศจากราคะ ความกาหนดหมายในธรรม เป็นที่ดับ ความกาหนดหมายในความไม่ยินดีในโลกทั้งปวง ความกาหนดหมายใน ความไม่ปรารถนาในสังขารทั้งปวง สตกิ าหนดลมหายใจเข้าออกเปน็ อารมณ์ ๑. ดูกอ่ นอานนท์ อนจิ จสัญญาเปน็ อย่างไร ดกู อ่ นอานนทภ์ ิกษุในธรรมวนิ ัย นี้ ไปในป่าก็ดี ไปท่ีโคนไม้ก็ดี ไปท่ีเรือนว่างเปล่าก็ดี เธอย่อมเปน็ ผพู้ ิจารณาอย่างน้ี วา่ รูปไม่เทียง เวทนาไม่เท่ียง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เท่ียง วิญญาณไม่เท่ยี ง เธอ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเนือง ๆ ว่า โดยความเป็นของไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์ท้ัง ๕ น้ี อยา่ งนี้ ดกู ่อนอานนท์ อนั นเ้ี รา (ผูต้ ถาคต) กล่าววา่ อนจิ จสญั ญา ๒. ดูก่อนอานนท์ อนัตตสัญญาเป็นอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรม วินัยนี้ ไปในป่าก็ดี ไปท่ีโคนไม้ก็ดี ไปที่เรือนว่างเปล่าก็ดี เธอย่อมเป็นผู้พิจารณา อย่างน้ีว่า นัยน์ตาไม่ใช่ตัวตน รูปไม่ใช่ตัวตน หูไม่ใช่ตัวตน เสียงไม่ใช่ตัวตน จมูก ไม่ใช่ตัวตน กลิ่นไม่ใช่ตัวตน ลิ้นไม่ใช่ตัวตน รสไม่ใช่ตัวตน กายไม่ใช่ตัวตน ส่ิงที่จะ พึงถูกต้องด้วยกายไม่ใช่ตัวตน มนะ (ใจ) ไม่ใช่ตัวตน ธรรมารมณ์ไม่ใช่ตัวตน เธอ ย่อมพิจารณาเนือง ๆ โดยความเป็นของไม่ใช่ตัวตน ในอายตนะทั้งภายในท้ัง ภายนอก ๖ น้ี อย่างน้ี ดูก่อนอานนท์ อันนเ้ี รา (ผู้ตถาคต) กล่าววา่ อนัตตสัญญา ๓. ดูก่อนอานนท์ อสุภสัญญาอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี เธอย่อมพิจารณานี้นแ่ี หละ เบือ้ งบนแต่พน้ื เท้าข้ึนไป เบ้ืองล่างปลายผมลงมา มีหนัง หุ้มอยู่โดยรอบ เตม็ ไปด้วยของไม่สะอาดมีประการตา่ ง ๆ มอี ยู่ในกายน้ี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เน้ือ เอ็น กระดูก เย่ือในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า น้าดี เสลด น้าเหลือง เลือด เหง่ือ มันข้น น้าตา ๑๙๐ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
มนั เหลว นา้ ลาย นา้ มกู ไขขอ้ มูตร เธอย่อมเปน็ ผพู้ ิจารณาเนือง ๆ โดยความไม่งาม แหง่ กายน้ีอยา่ งนี้ ดกู อ่ นอานนท์ อนั น้เี รา (ตถาคต) กล่าวว่า เป็นอสุภสญั ญา ๔. ดูก่อนอานนท์ อาทีนวสัญญาเป็นอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรม วินัยน้ี ไปในป่าก็ดี ไปท่ีโคนไม้ก็ดี ไปท่ีเรือนว่าง ก็ดี เธอย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า อาพาธเหล่าน้ีคืออะไรบ้าง คือ โรคนัยน์ตา โรคหู โรคจมูก โรคในล้ิน โรคในกาย โรคในศีรษะ โรคในปาก โรคที่ฟัน ไอ หืด หวัด ไขพ้ ิษ ไข้เช่ือมมัว โรคในทอ้ ง ลมจับ (สลบ อ่อนหวิว สวิงสวาย) โรคบิด (ลงท้อง) จุกเสียด (ปวดท้อง) โรคลงราก โรค เรื้อน ฝี โรคกลาก มองคร่อ ลมบ้าหมู หิดเป่ือย หิดด้าน คุดทะราด หูด ละลอก คุดทะราดบอน อาเจียนโลหิต โรคดีพิการ โรคเบาหวาน ริดสีดวง พุพอง ริดสีดวง ลาไส้ ความเจ็บเกิดแต่ดีให้โทษ ความเจ็บเกิดแต่เสมหะให้โทษ ความเจ็บเกิดแต่ลม ให้โทษ ไข้สันนิบาต (คือความเจ็บเกิดแต่ดี เสมหะ และลมทั้ง ๓ เจือกัน) ให้โทษ ความเจ็บเกิดแต่ฤดูแปรปรวน ความเจ็บเกิดแต่ลมให้โทษ ไข้สันนิบาต ความเจ็บ เกิดแต่การผลัดเปล่ยี นอิริยาบถไม่เสมอ ความเจ็บเกิดแต่ความเพียร ความเจ็บเกิด แต่วบิ ากของกรรม เย็น ร้อน หิวข้าว กระหายน้า อุจจาระ ปัสสาวะ เธอย่อมเป็นผู้ พิจารณาเนือง ๆ โดยความเป็นโทษในกายนี้อย่างน้ี ดูก่อนอานนท์ อันน้ีเรา (ผตู้ ถาคต) กล่าววา่ อาทนี วสัญญา ๕. ดูก่อนอานนท์ ปหานสัญญาเป็นอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เธอย่อมไม่รับ ย่อมละเสีย ย่อมบรรเทา ย่อมทาให้พินาศ ย่อมทาไม่ให้เกิด อกี ต่อไป ซึง่ กามวิตก (ความตรึกในกามารมณ)์ ที่เกดิ ขน้ึ แล้ว เธอยอ่ มไมร่ บั ย่อมละ เสีย ย่อมบรรเทา ย่อมทาให้พินาศ ย่อมทาไม่ให้เกิดอีกต่อไป ซ่ึงพยาบาทวิตก (ความตรึกในการแช่งสัตว์ให้ถึงความพินาศ) ที่เกิดข้ึนแล้ว เธอย่อมไม่รับ ย่อมละ เสีย ย่อมบรรเทา ย่อมทาให้พินาศ ย่อมทาไมใ่ หเ้ กิดอีกต่อไป ซึ่งวิหิงสาวิตก (ความ ตรึกในการเบียดเบียนสัตว์) ท่ีเกิดขึ้นแล้ว เธอย่อมไม่รับ ย่อมละเสีย ย่อมบรรเทา ยอ่ มทาให้พนิ าศ ยอ่ มทาไมใ่ ห้เกิดอีกตอ่ ไป ซ่ึงเหล่าธรรมอันเป็นบาป เปน็ อกุศล ที่ เกดิ ขน้ึ แล้วและเกิดขนึ้ แลว้ ดูกอ่ นอานนท์ อันนีเ้ รา (ตถาคต) กลา่ ววา่ ปหานสัญญา วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๙๑
๖. ดูก่อนอานนท์ วิราคสัญญาเป็นอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรม วินัยน้ี ไปในป่าก็ดี ไปท่ีโคนไม้ก็ดี ไปที่เรือนว่าง ก็ดี เธอย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า ธรรมชาตินั่นละเอียด ธรรมชาตินัน่ ประณีต คือว่า ธรรมเป็นเครื่องระงับสังขารท้ัง ปวง เป็นเครื่องละกิเลสทั้งปวงเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นที่ดับสนิท ออกจาก ตณั หา เปน็ เครอื่ งรอ้ ยรดั ดูกอ่ นอานนท์ อันนี้เรา (ผ้ตู ถาคต) กล่าววา่ วิราคสัญญา ๗. ดกู ่อนอานนท์ นิโรธสญั ญาเปน็ อย่างไร ดูก่อนอานนท์ภกิ ษใุ นธรรมวินัย นี้ ไปในป่าก็ดี ไปที่โคนไม้ก็ดี ไปที่เรือนว่างก็ดี เธอย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า ธรรมชาตินั่นละเอียด ธรรมชาตินน่ั ประณีต คือว่า ธรรมเป็นเคร่ืองระงับสังขารทั้ง ปวง เป็นเคร่ืองละกิเลสท้ังปวงเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา เป็นท่ีดับสนิท ออกจาก ตณั หา เปน็ เคร่อื งรอ้ ยรัด ดูกอ่ นอานนท์ อนั นเ้ี รา (ผู้ตถาคต) กล่าววา่ นโิ รธสญั ญา ๘. ดูก่อนอานนท์ สัพพโลเก อนภิรตสัญญา เป็นอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษใุ นธรรมวินัยนี้ อุบายละ อุบายเป็นเหตุถือม่นั เหล่านี้เสีย ไมถ่ ือมั่น ย่อมงดเว้น เสีย ดกู ่อนอานนท์ อนั นี้เรา (ผตู้ ถาคต) กล่าวว่า สพั พโลเก อนภริ ตสญั ญา ๙. ดกู อ่ นอานนท์ สพั พสังขาเรสุ อนจิ จสัญญา เปน็ อย่างไร ดกู ่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเบ่ือหน่าย ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง แต่สังขารทั้งปวง ดกู ่อนอานนท์ อันนี้เรา (ผตู้ ถาคต) กล่าววา่ สพั พสังขาเรสุ อนิจจสัญญา ๑๐ .ดูก่อนอานนท์ อานาปานสติ เป็นอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ ไปในป่าก็ดี ไปที่โคนไม้ก็ดี ไปท่ีเรือนวา่ งกด็ ี น่ังคู้บัลลังก์ (นัง่ ขัดสมาธิ) ต้งั กายให้ตรงแล้ว ต้งั สตไิ วม้ ั่นเฉพาะหน้า เธอย่อมเป็นผู้มีสติหายใจเข้า ย่อมเป็นผู้ มีสติหายใจออก เม่ือเธอหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าบัดนี้เราหายใจเข้ายาว หรือเมื่อ หายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าบัดนี้เราหายใจออกยาว หรือเมื่อหายใจเข้าส้ัน ก็รู้ชัดว่า บัดนเ้ี ราหายใจเข้าสัน้ หรือเม่ือหายใจออกสนั้ กร็ ชู้ ัดว่า บดั นเ้ี ราหายใจออกสนั้ เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเป็นผู้รู้แจ้งกองลมทั้งปวงหายใจเข้า, เธอย่อม ศึกษาว่า เราจักเปน็ ผรู้ แู้ จ้งกองลมทัง้ ปวงหายใจออก, เธอยอ่ มศึกษาว่า เราจกั เปน็ ผู้ ระงับกายสังขาร (คือลมอัสสาสะ ปัสสาสะ) หายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจัก ๑๙๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
เป็นผู้ระงับกายสังขาร หายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเป็นผู้รู้แจ้งปีติ (คือ ความอ่มิ กายอม่ิ ใจ) หายใจเข้า, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเปน็ ผู้รู้แจง้ ปตี ิหายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเป็นผู้รู้แจ้งจิตตสังขาร (คือเวทนาและสัญญา) หายใจเข้า, เธอย่อมศกึ ษาวา่ เราจักเป็นผรู้ ู้แจ้งจิตตสังขาร (คือเวทนาและสัญญา) หายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักระงับจิตตสังขาร (คือเวทนาและสัญญา) หายใจเข้า, เธอ ย่อมศึกษาว่า เราจักระงับจิตตสังขาร (คือเวทนาและสัญญา) หายใจออก, เธอย่อม ศึกษาว่า เราจักเป็นผู้รู้แจ้งจิตหายใจเข้า, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเป็นผู้รู้แจ้งจิต หายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักทาจิตให้บันเทิงหายใจเข้า, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักทาจิตใหบ้ นั เทิงหายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักต้ังจิตไว้ หายใจเข้า, เธอ ยอ่ มศกึ ษาว่า เราจกั ตั้งจิตไว้ หายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจกั เปล้ืองจติ หายใจ เข้า, เธอย่อมศึกษาวา่ เราจักเปลื้องจิต หายใจออก, เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเป็นผู้ พิจารณาเนือง ๆ โดยความเป็นของไม่เท่ียง หายใจเข้า, เธอย่อมศึกษาว่า เราจัก เป็นผพู้ จิ ารณาเนือง ๆ โดยความเป็นของไม่เทย่ี ง หายใจออก, เธอยอ่ มศึกษาวา่ เรา จกั เปน็ ผ้พู ิจารณาเนือง ๆ ซงึ่ ธรรมอนั ปราศจากราคะ หายใจเขา้ , เธอย่อมศึกษาว่า เราจักเป็นผู้พิจารณาเนือง ๆ ซ่ึงธรรมอันปราศจากราคะ หายใจออก, เธอย่อม ศึกษาว่า เราจักเป็นผ้พู จิ ารณาเนือง ๆ ซ่ึงธรรมเป็นท่ีดับสนิท หายใจเข้า, เธอยอ่ ม ศกึ ษาว่า เราจักเปน็ ผู้พจิ ารณาเนอื ง ๆ ซึง่ ธรรมเป็นที่ดับสนิท หายใจออก, เธอย่อม ศึกษาว่า เราจกั เป็นผพู้ ิจารณาเนือง ๆ ซ่ึงความสละคืน หายใจเข้า, เธอย่อมศึกษา ว่า เราจักเปน็ ผู้พจิ ารณาเนอื ง ๆ ซงึ่ ความสละคนื หายใจออก ดูก่อนอานนท์ อันน้ี เรา (ผู้ตถาคต) กล่าวว่าอานาปานสติ ดูก่อนอานนท์ ถ้าว่าเธอแลพึงเข้าไปแสดงสัญญา ๑๐ ประการเหล่านแ้ี ก่ภิกษุคิริมานนท์ไซร้ ข้อนี้ เป็นเหตุให้อาพาธของภิกษุคิริมานนท์ระงับไปโดยฐานะ เพราะได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการ เหลา่ น้ี วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๙๓
ลาดับนั้น พระอานนทผ์ ู้มีอายุเรียนสัญญา ๑๐ ประการน้ี ในสานักพระผู้มี พระภาคเจ้าแล้ว เข้าไปหาท่านพระคิริมานนท์ถึงที่อยู่ ครั้นเข้าไปหาแล้ว ได้แสดง สญั ญา ๑๐ ประการเหล่านี้ แก่ทา่ นพระคิรมิ านนท์ ลาดับนั้นแล อาพาธของท่านพระคิริมานนท์ ได้ระงับไปแล้วโดยฐานะ เพราะได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการน้ี พระคิริมานนท์ผู้มีอายุก็หายจากอาพาธนั้น ก็ อาพาธนั้นเป็นอันพระคิริมานนท์ผู้มีอายุได้ละเสียแล้ว ด้วยการที่ได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการ ท่พี ระอานนทไ์ ดแ้ สดงแลว้ ด้วยประการฉะนี้แล ฯ ธชคั คปรติ ตปำฐะ ธชัคคปริตร หรือ ธชัคคสูตร เป็นพระปริตรยอดธงว่าด้วยการระลึกถึงคุณ ของพระรตั นตรัย เพ่ือให้เกดิ กาลังใจ เกิดความกล้าหาญ หายสะดุ้งหวาดกลัวตอ่ ภัย อันตราย พระสูตรนี้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวอุปมาพระพุทธคุณ พระ ธรรมคณุ และพระสังฆคุณวา่ เป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวจติ ใจอนั เลิศ เปรียบดั่งชายธงของ พระอินทร์ในเรื่องเทวาสุรสงคราม ยามที่เทวดาทั้งหลายกระทาสงครามกับเหล่า อสูร เม่ือมองไปที่ชายธงของพระอินทร์ ทาให้เกิดความม่ันใจ ฉันใด การระลึกถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ก็ทาให้เกิดความมัน่ ใจหายกลวั ฉันน้ัน โดยพระสูตร น้ี มปี รากฏในพระสตุ ตนั ตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค บทสวด เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สำวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนำถะปณิ ฑกิ ัสสะ, อำรำเม. ตตั ๎ระ โข ภะคะวำ ภิกขู อำมันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภะคะวำ เอตะทะโวจะ. ๑๙๔ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ภตู ะปุพพัง ภกิ ขะเว เทวำสรุ ะสังคำโม สะมุปัพย๎ ฬุ ๎โห อะโหสิ. อะถะโข ภกิ ขะเว สักโก เทวำนะมนิ โท เทเว ตำวะติงเส อำมนั เตสิ, สะเจ มำริสำ เทวำนัง สังคำมะคะตำนัง อุปปัชเชยยะ ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตัง วำ โลมะหังโส วำ. มะเมวะ ตัส๎มิง สะมะเย ธะชัคคัง อลุ โลเกยยำถะ. มะมัง หิ โว ธะชัคคงั อุลโลกะยะตัง, ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วำ ฉัมภติ ัตตัง วำ โลมะหังโส วำ, โส ปหิ ิยยสิ สะต.ิ โน เจ เม ธะชคั คัง อุลโลเกยยำถะ, อะถะ ปะชำปะตสิ สะ เทวะ- รำชัสสะ ธะชัคคัง อลุ โลเกยยำถะ. ปะชำปะตสิ สะ หิ โว เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง, ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตัง วำ โลมะหังโส วำ, โส ปะหิยยิสสะติ. โน เจ ปะชำปะติสสะ เทวะรำชสั สะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยำถะ, อะถะ วะรุณัสสะ เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยำถะ. วะรุณัสสะ หิ โว เทวะรำชัสสะ ธะชคั คงั อลุ โลกะยะตัง, ยมั ภะวสิ สะติ ภะยัง วำ ฉมั ภิตัตตงั วำ โลมะหังโส วำ, โส ปะหยิ ยสิ สะติ. โน เจ วะรณุ ัสสะ เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยำถะ, อะถะ อีสำนัสสะ เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยำถะ. อีสำนัสสะ หิ โว เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง, ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วำ ฉมั ภิตตั ตัง วำ โลมะหังโส วำ, โส ปะหยิ ยสิ สะตตี .ิ ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วำ เทวำนะมินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง. ปะชำปะติสสะ วำ เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง. วะรุณัสสะ วำ เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง. อีสำนัสสะ วำ เทวะรำชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง. ยัมภะวิสสะติ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๑๙๕
ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตัง วำ โลมะหังโส วำ, โส ปะหิยเยถำปิ โนปิ ปะหิยเยถะ. ตัง กิสสะ เหตุ. สักโก หิ ภิกขะเว เทวำนะมินโท อะวีตะ- รำโค อะวีตะโทโส อะวตี ะโมโห, ภิรุ ฉมั ภี อุต๎รำสี ปะลำยตี .ิ อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทำมิ: สะเจ ตุม๎หำกัง ภิกขะเว อะรัญญะคะตำนัง วำ รกุ ขะมูละคะตำนงั วำ สุญญำคำระคะตำนัง วำ, อุปปัชเชยยะ ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตัง วำ โลมะหังโส วำ, มะเมวะ ตัส๎มิง สะมะเย อนุสสะเรยยำถะ: อิติปิ โส ภะคะวำ อะระหัง สัมมำสมั พุทโธ, วชิ ชำจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสำระถิ สัตถำ เทวะมะนุสสำนัง พุทโธ ภะคะวำติ. มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนสุ สะระตัง. ยัมภะวสิ สะติ ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตงั วำ โลมะหังโส วำ, โส ปะหยิ ยิสสะติ. โน เจ มัง อะนุสสะเรยยำถะ. อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยำถะ: ส๎วำกขำโต ภะคะวะตำ ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกำลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ธัมมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตงั . ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วำ ฉัมภิตตั ตัง วำ โลมะหังโส วำ, โส ปะหิยยิสสะติ. โน เจ ธมั มงั อะนสุ สะเรยยำถะ. อะถะ สังฆงั อะนสุ สะเรยยำถะ: สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, ญำยะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, สำมีจิ- ปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตำริ ปุริสะยุคำนิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลำ, เอสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, อำหุเนยโย ปำหุเนยโย ทักขเิ ณยโย อัญชะลิกะระณีโย, อะนตุ ตะรงั ปุญญักเขตตงั ๑๙๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
โลกัสสำติ. สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง. ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วำ ฉัมภิตัตตัง วำ โลมะหงั โส วำ, โส ปะหยิ ยิสสะติ. ตัง กิสสะ เหตุ. ตะถำคะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมำสัมพุทโธ, วีตะรำโค วีตะโทโส วีตะโมโห, อะภิรุ อจั ฉัมภี อะนุตร๎ ำสี อะปะลำยีต.ิ อิทะมะโวจะ ภะคะวำ, อิทัง วัต๎วำนะ สุคะโต, อะถำปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถำ : อะรญั เญ รุกขะมูเล วำ สญุ ญำคำเร วะ ภิกขะโว อะนสุ สะเรถะ สัมพทุ ธัง ภะยัง ตมุ ๎หำกะ โน สยิ ำ. โน เจ พทุ ธงั สะเรยยำถะ โลกะเชฏฐงั นะรำสะภงั อะถะ ธัมมงั สะเรยยำถะ นยิ ยำนิกงั สเุ ทสิตงั . โน เจ ธมั มัง สะเรยยำถะ นยิ ยำนกิ งั สุเทสิตงั อะถะ สังฆงั สะเรยยำถะ ปุญญักเขตตงั อะนตุ ตะรงั . เอวมั พทุ ธัง สะรนั ตำนงั ธมั มัง สังฆญั จะ ภกิ ขะโว ภะยงั วำ ฉัมภิตตั ตงั วำ โลมะหงั โส นะ เหสสะตีติ. คำแปล อนั ขา้ พเจา้ (พระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอยา่ งนี้ ฯ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่ที่เชตวันวิหาร อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถี ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียก พระภกิ ษุทง้ั หลายว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย” ดังน้ีแล้ว พระภิกษเุ หลา่ น้ัน จึงทูลรับ พระพุทธพจน์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “พระพุทธเจ้าข้า” ดงั น้ี พระผู้มีพระภาค เจา้ จึงไดต้ รัสพระพุทธพจนน์ ว้ี ่า “ดูก่อนภิกษุทง้ั หลาย เรือ่ งเคยมีมาแล้ว สงครามแห่งเทพดากับอสรู ได้เกิด ประชิดกันแล้ว ภิกษุท้ังหลาย คร้ังนั้นแล ท้าวสักกเทวราช ผู้เป็นเจ้าแห่งพวก วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๙๗
เทพยดา เรยี กหมู่เทพดาในช้ันดาวดึงส์มาสั่งว่า ดูกอ่ นทา่ นผู้นิรทุกข์ ถ้าความกลัวก็ ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงบังเกิดข้ึนแก่หมู่เทพดาผู้ไปสู่ สงครามในสมยั ใด ในสมัยน้นั ท่านท้ังหลายพงึ แลดูชายธงของเราน่ันเทยี ว เพราะว่า เมื่อท่านท้ังหลายดูชายธงของเราอยู่ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพอง สยองเกลา้ ก็ดี อันใดจักมี อนั นน้ั จกั หายไป ถ้าท่านท้งั หลายไม่แลดูชายธงของเรา ทนี ั้นท่านท้ังหลายพึงแลดชู ายธงของ เทวราชช่ือปชาบดี เพราะว่า เม่ือท่านท้ังหลายแลดูชายธงของเทวราช ช่ือปชาบดี อยู่ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี อันน้ันจัก หายไป ถา้ ท่านท้ังหลายไมแ่ ลดชู ายธงของเทวราชชือ่ ปชาบดี ทนี ้ัน ท่านท้งั หลายพึง แลดชู ายธงของเทวราชชื่อวรณุ เพราะว่า เมอื่ ท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณอยู่ ความกลวั ก็ดี ความหวาดสะดุ้งกด็ ี ขนพองสยองเกล้ากด็ ี อนั ใดจักมี อัน นน้ั จักหายไป ถ้าท่านท้ังหลายไม่แลดูชายธงของเทวราชชื่อวรุณ ทีนั้นท่านทั้งหลายแลดู ชายธงของเทวราชชื่ออีสาน เพราะว่า เมื่อท่านท้ังหลายแลดูชายธงของเทวราชชื่อ อีสานอยู่ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี อัน นน้ั จักหายไปดงั น้ี ดูก่อนพระภิกษุท้ังหลาย ก็ข้อน้ันแล คือการแลดูชายธงของสักกเทวราชผู้ เป็นเจ้าแห่งเทพดาก็ตาม การดูแลชายธงของเทวราชชื่อปชาบดีก็ตาม การดูแล ชายธงของเทวราชชื่อวรุณก็ตาม การดูแลชายธงของเทวราชชื่ออีสานก็ตาม ความ กลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้ากด็ ี อันใดจักมี อนั นั้นพึงหายไปได้ บ้าง ไม่หายบ้าง ข้อนั้นเป็นเหตุแห่งอะไร ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เหตุว่าท้าวสักก เทวราชผู้เป็นเจา้ แห่งเทพดา เธอมีราคะยังไม่สิ้นไป มโี ทสะยังไมส่ ิ้นไป มโี มหะยงั ไม่ ส้นิ ไป เธอยังเป็นผู้กลัว ยังเป็นผู้หวาด ยงั เป็นผู้สะดุ้ง ยังเป็นผู้หนี ดังนี้ ดูก่อนภิกษุ ทงั้ หลาย สว่ นเราแลกล่าวอย่างน้วี ่า ถา้ วา่ เม่ือท่านทั้งหลายไปอยู่ในปา่ ก็ตาม ไปอยู่ ๑๙๘ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ที่โคนต้นไม้ก็ตาม ไปอยู่ในเรือนเปล่าก็ตาม ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงเกิดขน้ึ ในสมัยใด ในสมัยนน้ั ท่านท้ังหลายพึงระลึกถึงเรา น่ันเทียวว่า “แม้เพราะเหตุนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าน้ัน เป็นผู้ไกลกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ ควรบูชา เป็นผู้รู้ชอบเอง เป็นผู้บริบูรณ์แล้วด้วยวิชชาและจรณะ เป็นพระสุคตผู้ เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้ทรงรู้โลก เป็นผู้ฝึกบุรุษท่ีควรฝึก ไม่มีผู้อ่ืนยิ่งกว่า เป็นศาสดา ผ้สู อนของเทพดาและมนุษยท์ ้งั หลาย เป็นผเู้ บิกบานแล้ว เป็นผู้จาแนกธรรม” ดังน้ี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านท้ังหลายตามระลึกถึงเราอยู่ ความ กลวั ก็ดี ความหวาดสะดงุ้ ก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อนั ใดจักมี อันนั้นจักหายไป ถ้าทา่ นท้ังหลายไมร่ ะลกึ ถงึ เรา ทีนนั้ พึงตามระลึกถึงพระธรรมว่า “พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว เป็นของอันบุคคลพึงเห็นเอง เปน็ ของไมม่ ีกาลเวลา เป็นของจะร้องเรยี กผอู้ ่ืนให้มาดไู ด้ เป็นของบคุ คลพงึ นอ้ มเข้า มาใส่ใจ เป็นของอันวิญญูชนทั้งหลายพึงรู้เฉพาะตัว” ดังน้ี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเม่ือท่านท้ังหลายตามระลึกถึงพระธรรมอยู่ ความกลัวก็ดี ความหวาด สะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี อันน้ันจักหายไป ถ้าท่านท้ังหลายไม่ ระลกึ ถงึ พระธรรม ทนี ัน้ พงึ ตามระลกึ ถึงพระสงฆ์ว่า “พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค เจ้าเปน็ ผู้ปฏิบตั ถิ ูกแลว้ พระสงฆ์สาวกของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏบิ ตั ชิ อบแล้ว คือ คู่แห่งบุรุษทั้งหลาย ๔ คู่บุรุษ บุคคลทั้งหลาย ๘ น่ีพระสงฆ์สาวกของพระผู้มี พระภาคเจ้า ท่านเป็นผู้ควรสักการะท่ีเขานามาบูชา ท่านเป็นผู้ควรของต้อนรับ ทา่ นเป็นผู้ควรทักษิณาทาน ทา่ นเปน็ ผู้ควรอัญชลีกรรม ทา่ นเปน็ นาบญุ ของโลกไม่มี นาบุญอืน่ ยิ่งกว่า” ดังนี้ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลายระลึกถึงพระสงฆ์อยู่ ความ กลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ้ ก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อนั ใดจักมี อันนน้ั จักหายไป ข้อ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๑๙๙
นั้นเป็นเหตุอะไร ดูกอ่ นภิกษทุ ั้งหลาย เหตุว่าพระตถาคตเป็นอรหันตส์ ัมมาสัมพุทธ เจ้า มีราคะสิ้นไปแล้วมีโทสะส้ินไปแล้ว มีโมหะสิ้นไปแล้ว เป็นผู้ไม่กลัว เป็นผู้ไม่ หวาด เป็นผู้ไมส่ ะด้งุ เป็นผ้ไู ม่หนี ดังนี้แล พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรสั พระพทุ ธพจน์ น้ี พระองค์ผู้เป็นพระสุคต คร้ันตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ลาดับนั้น พระองค์ผู้เป็น พระศาสดา จึงตรสั พระพทุ ธพจน์นอ้ี กี วา่ ดูก่อนภิกษทุ ้ังหลาย เมื่อท่านทั้งหลายอยู่ในป่า หรือในรุกขมลู หรอื ในเรือน เปล่า พึงระลึกถึงพระสัมพุทธ ภัยจะไม่พึงมีแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าท่านท้ังหลายไม่ ระลึกถึงพระพุทธ ซ่ึงเป็นใหญ่กว่าโลก ประเสริฐกว่านรชน ทีนั้นพึงระลึกถึงพระ ธรรม อันเป็นเครื่องนาออกที่เราแสดงไว้ดีแล้ว ถ้าท่านท้ังหลายไม่ระลึกถึงพระ ธรรม อันเป็นเครอื่ งนาออก ท่เี ราแสดงไว้ดแี ล้ว ทีน้นั พึงระลึกถึงพระสงฆ์ ซึ่งเปน็ นา บญุ ของโลก ไมม่ ีนาบญุ อื่นย่งิ กว่า ดูก่อนภกิ ษทุ งั้ หลาย เมอ่ื ท่านทง้ั หลายมาระลึกถึง พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆอ์ ยู่อย่างน้ี ความกลวั กด็ ี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขน พองสยองเกล้าก็ดี จักไม่มีแล ฯ จนั ทปริตตปำฐะ พระปริตรบทน้ี มีปรากฏในจันทิมสูตร แห่งพระสตุ ตนั ตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เป็นการประกาศขอให้พระพุทธองค์ทรงเป็นที่พึ่ง เพ่ือให้รอดพ้นจาก ภยันตรายท้ังปวงและผู้ปองร้ายจะพ่ายแพไ้ ป ดุจจันทิมเทวบุตรผู้ประกาศว่า พระ สมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงเป็นทีพ่ งึ่ จงึ ได้พ้นภัยจากอสุรนิ ทราหู บทสวด เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สำวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนำถะปิณฑิกัสสะ อำรำเม. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ จันทิมำ เทวะปุตโต รำหนุ ำ อะสุรินเทนะ คะหิโต โหต.ิ อะถะโข จันทมิ ำ ๒๐๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329