Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสวดมนต์ศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร

หนังสือสวดมนต์ศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร

Published by koranis9, 2020-09-25 04:22:29

Description: หนังสือสวดมนต์ศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร

Search

Read the Text Version

อะเนกำ อนั ตะรำยำปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสำ ชะยะสทิ ธธิ ะนัง ลำภงั โสตถิ ภำคย๎ ัง สขุ ัง พะลัง สริ ิ อำยุ จะ วณั โณ จะ โภคงั วุฑฒี จะ ยะสะวำ สะตะวสั สำ จะ อำยู จะ ชวี ะสทิ ธี ภะวันตุ เต. คำแปล ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าท้ังปวง ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง ดว้ ยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ท้ังปวง ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย คอื พทุ ธะรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ๘ หม่ืน ๔ พันพระธรรมขันธ์ ด้วยอานุภาพแห่งพระไตรปิฎก ด้วยอานุภาพแห่งพระสาวกของพระชินเจ้าผู้ชนะ ขอให้โรค ภัย อันตราย ความจัญไร ฝนั ร้าย ส่ิงไม่เป็นมงคลท้ังหลายทงั้ ปวงเหล่าน้ัน จงฉบิ หายสญู ไป ขอให้ท่านจงเป็นผู้เจริญด้วยอายุ เจริญด้วยทรัพย์ เจริญด้วยสิริ เจริญดว้ ยยศ ตาแหน่ง เจริญด้วยพลกาลัง เจริญด้วยวรรณะ และเจริญด้วยความสุข ตลอดกาล ทกุ เมือ่ เถดิ ขอให้ท่านจงเป็นผู้มีความสาเร็จในชัยชนะ จงมีทรัพย์ มีลาภ มีความสวัสดี มี โชคดี มีความสุข มีพลกาลัง มีสิริ มีอายุ มีวรรณะ มีโภคสมบัติ มีความเจริญ มียศ ตาแหนง่ มอี ายุยืนได้ ๑๐๐ ปี และจงมีความสาเร็จในชีวติ เถดิ ฯ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๒๕๑

จลุ ลไชยมโนปกรณ์ (บทไชยนอ้ ย) จุลลไชยมโนปกรณ์ หรือจุลลชัยมงคลคาถา หรือ ไชยน้อย เป็น วรรณกรรมภาษาบาลีผสมภาษาลาว มีลักษณะเป็นบทสวดท่ีนิยมสวดกันในแว่น แคว้น ๒ ฝ่ังแม่น้าโขง ปัจจุบันยังใช้สวดกันอยู่ในกลุ่มวัดป่าสายพระอาจารย์เสาร์ กนั ตะสีโล พระอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ัตโต คาถาน้ีมีเนอ้ื หาพรรณนาชัยชนะของพระพุทธเจ้า เหนอื หมู่มารท้ังปวง ล่วง พ้นอานาจของพรหม มาร เทวดา ทา้ วจตโุ ลกบาลทัง้ ๔ และสรรพสัตว์ อีกท้งั ความ ช่ัวร้ายท้ังหลาย เชื่อกันว่า เป็นบทสวดท่ีมีอานุภาพมาก สามารถขจัดปัดเป่าเร่ือง เลวร้าย และภยนั ตรายทงั้ หลายท้ังปวง ท้ังแก่ตัวผูส้ วดสาธยาย และบา้ นเมืองของผู้ สวดสาธยายน้นั นยั ว่า เจ้าราชครูหลวงโพนสะเมก็ หรือ พระมหาเทพหลวง แห่งอาณาจักร ล้านช้าง ท่านใดท่านหนึ่ง เป็นผู้ประพันธ์ข้ึน โดยนาความจากพระคัมภีร์สมันต- ปสาทกิ า รจนาเป็นภาษาบาลผี สมกบั ภาษาพื้นเมอื ง บทสวด นะโม เม พุทธะเตชัสสำ ระตะนัตตะยะธัมมิกำ เตชะปะสทิ ธปิ ะสีเทวำ นำรำยะปะระเมสุรำ สทิ ธิพ๎รหั ๎มำ จะ อนิ ทำ จะ จะตุโลกำ คมั ภีรกั ขะกำ สะมุททำ ภูตุงคงั คำ จะ สะพ๎รัห๎มพะชัยะปะสิทธิ ภะวนั ตุ เต ชยั ะ ชยั ะ ธอระณิ ธอระณี อทุ ะธิ อทุ ะธี นะทิ นะที ชยั ะ ชัยะ คะคนละตนละนิสยั นิรัยสัยเสนนะเมรุรำชชะพลนอระชี ชยั ะ ชัยะ คมั ภีระโสมภี นำเคนทะนำคี ปสี ำจ จะ ภูตะกำลี ชยั ะ ชยั ะ ทนุ นิมิตตะโรคี ชยั ะ ชยั ะ สิงคสี ุทำทำนะมขุ ะชำ ชัยะ ชยั ะ วะรณุ ณะมขุ ะสำตรำ ชัยะ ชยั ะ จัมปำทนิ ำคะกลุ ะคนั ถก ชยั ะ ชยั ะ คชั ชะคนนะตุรง สุกอระ ภุชงสหี ะ เพียคฆะทีปำ ๒๕๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

ชัยะ ชัยะ วะรณุ ณะมุขะสำตรำ ชติ ะ ชิตะ เสนนำรปี ุนะสทุ ธนิ อระดี ชยั ะ ชยั ะ สขุ ำสุขำชวี ี ชยั ะ ชยั ะ ธอระณตี ะเล สะทำ สชุ ัยยำ ชัยะ ชยั ะ ธอระณีสำนตนิ สะทำ ชัยะ ชยั ะ มังกะรำช รัญญำ ภะวคั เค ชัยะ ชยั ะ วะรณุ ณะยักเข ชยั ะ ชัยะ รกั ขะเส สรุ ะภู ชะเตชำ ชยั ะ ชัยะ พร๎ ัหม๎ เมนทะคะณำ ชัยะ ชัยะ รำชำธริ ำชสำชชยั ชยั ะ ชยั ะ ปะฐะวงิ สัพพัง ชัยะ ชยั ะ อะระหันตำ ปัจเจกะพุทธะสำวัง ชยั ะ ชัยะ มะเหสุโร หะโรหะรนิ เทวำ ชัยะ ชยั ะ พ๎รัห๎มำ สุรกั โข ชัยะ ชัยะ นำโค วริ ุฬหะโก วริ ปู กั โข จันทิมำ ระวิ อินโท จะ เวนะเตยโย จะ กเุ วโร วะรุโณปิ จะ อัคคิ วำโย จะ ปำชุณ๎โห กมุ ำโร ธะตะรฏั ฐะโก อัฏฐำระสะ มะหำเทวำ สทิ ธิตำ ปะสะอำทะโย อิสโิ น สำวะกำ สัพพำ ชัยะ รำโม ภะวนั ตุ เต ชยั ะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปำโล จะ ชยั ะกัง เอเตนะ ชยั ะเตเชนะ ชัยะ โสตถี ภะวันตุ เต เอเตนะ พทุ ธะ เตเชนะ โหตุ เต ชัยะมงั คะลงั ชยั โยปิ พุทธัสสะ สริ ีมะโต อะยงั มำรสั สะ จะ ปำปมิ ะโต ปะรำชะโย อุคโฆสะยมั โพธมิ ณั เฑ ปะโมทิตำ ชยั ะ ตะทำ พ๎รหั ม๎ ะคะณำ มะเหสิโน ชัยโยปิ พทุ ธสั สะ สิรีมะโต อะยัง มำรสั สะ จะ ปำปมิ ะโต ปะรำชะโย อุคโฆสะยมั โพธมิ ัณเฑ ปะโมทิตำ ชยั ะ ตะทำ อนิ ทะคะณำ มะเหสิโน วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๕๓

ชยั โยปิ พุทธัสสะ สิรีมะโต อะยงั มำรัสสะ จะ ปำปมิ ะโต ปะรำชะโย อุคโฆสะยมั โพธมิ ัณเฑ ปะโมทิตำ ชัยะ ตะทำ เทวะคะณำ มะเหสิโน ชัยโยปิ พุทธสั สะ สริ ีมะโต อะยัง มำรสั สะ จะ ปำปิมะโต ปะรำชะโย อคุ โฆสะยัมโพธมิ ัณเฑ ปะโมทติ ำ ชัยะ ตะทำ สปุ ัณณะคะณำ มะเหสโิ น ชยั โยปิ พทุ ธัสสะ สริ มี ะโต อะยัง มำรัสสะ จะ ปำปมิ ะโต ปะรำชะโย อุคโฆสะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตำ ชัยะ ตะทำ นำคำคะณำ มะเหสิโน ชยั โยปิ พุทธสั สะ สริ มี ะโต อะยัง มำรสั สะ จะ ปำปิมะโต ปะรำชะโย อคุ โฆสะยัมโพธมิ ณั เฑ ปะโมทติ ำ ชัยะ ตะทำ สะพ๎รหั ๎มะคะณำ มะเหสิโน ชะยนั โต โพธิยำ มูเล สักย๎ ำนงั นันทวิ ัฑฒะโน เอวงั ต๎วงั วิชะโย โหหิ ชะยสั สุ ชะยะมงั คะเล อะปะรำชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวโิ ปกขะเร อะภิเสเก สพั พะพทุ ธำนัง อัคคปั ปตั โต ปะโมทะติ สุนกั ขัตตงั สมุ งั คะลัง สปุ ะภำตงั สหุ ุฏฐิตัง สขุ ะโณ สุมหุ ตุ โต จะ สยุ ฏิ ฐงั พร๎ หั ๎มะจำริสุ ปะทกั ขนิ งั กำยะกมั มงั วำจำกัมมงั ปะทกั ขณิ ัง ๒๕๔ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

ปะทกั ขิณงั มะโนกมั มัง ปะณิธี เต ปะทกั ขณิ ำ ปะทกั ขิณำนิ กัตว๎ ำนะ ละภนั ตตั เถ ปะทกั ขิเณ เต อตั ถะ ลทั ธำ สุขติ ำ วริ ุฬ๎หำ พทุ ธะสำสะเน อะโรคำ สุขติ ำ โหถะ สะหะ สพั เพหิ ญำติภิ สณุ นั ตุ โภนโต เย เทวำ อัสม๎ งิ ฐำเน อะธิคะตำ ทีฆำยุกำ สะทำ โหนตุ สขุ ิตำ โหนตุ สัพพะทำ รกั ขันตุ สพั พะสัตตำนงั รกั ขนั ตุ ชินะสำสะนงั ยำ กำจิ ปัตถะนำ เตสงั สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถำ ยตุ ตะกำเล ปะวสั สนั ตุ วสั สัง วัสสำ วะลำหะกำ โรคำ จุปทั ทะวำ เตสัง นวิ ำเรนตุ จะ สัพพะทำ กำยะสขุ งั จติ ตะสุขัง อะระหนั ตุ ยะถำระหัง. คำแปล อนั วา่ กิริยาอ่อนนอ้ มสักการะแห่งข้าพเจ้า ก็จงมแี ด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัม พทุ ธเจา้ ซึง่ บรบิ ูรณด์ ว้ ยพระตบะและเดชะ อนั ว่าชุมนุมมาดว้ ยแกว้ มณอี ันประเสรฐิ สามประการอันประกอบชอบธรรม แล้ว อันว่าเทพยดาท้ังหลายก็ดี อันว่าพระนารายณ์แลพระปรเมศวรก็ดี ผู้รุ่งเรือง ดว้ ยประสทิ ธิ ทั้งศาสตร์และศิลป์ก็ดี อนั ว่าท้าวมหาพรหม และพระอนิ ทร์ท้ังหลาย ก็ดี อันว่าเทพยดาท้ังหลายผู้คุ้มครองรักษาคุ้มครองยังโลกทั้งสี่ คือว่า พรหมโลก เทวโลก มนุษโลก และนาคโลก ก็ดี ก็จงเป็นอานาจสาเร็จค้าจุน มั่นคง แก่ท่าน เทอญ อันว่าแม่น้าคงคามหานที อีกทั้งแม่น้าท่ีไหลมาจากมหาสมุทรก็ดี ก็ขอ อานาจแหง่ ความประสทิ ธิท้ังหลายทั้งปวงน้ันจงมีแกท่ า่ นเทอญ อนั วา่ แผ่นดนิ นอ้ ยใหญ่ ก็ดี อันว่าบงึ น้อยใหญ่ทั้งหลายก็ดี อันว่าแม่น้าน้อย ใหญ่ก็ดี อันมีตบะเดชะอานุภาพดังอุปมามากมายฉันใด ก็ขอจงมีชัยชนะเดชะ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๒๕๕

อานุภาพ ดังอุปมัยน้ันเทอญ อันว่าพื้นประตู อากาศ กลางหาวและเขาพระสุเมรุ ราช และพญาภูดอย อีกทั้งป่าเขาท้ังหลาย อันเป็นที่อยู่อาศัยหลับนอนแห่งสรรพ สตั ว์ท้ังหลายก็ดี กจ็ งมาเปน็ ชยั ชนะเดชะอานุภาพอันมากแก่ทา่ นเทอญ อันวา่ พญานาคและนางนาคท้ังหลายอันอยู่ในห้วย ในบ่อ ในบึง ในถ้า และ ในหบุ เหวอันลึกกด็ ี อันวา่ ผรี ้าย ผเี สือ้ นา้ และผีเสอ้ื บกทั้งหลายก็ดี ก็จงกลบั กลายมา เป็นชัยชนะแก่ท่านแลให้ข้าศึกศัตรูทั้งปวงพ่ายแพ้ อันว่านิมิตอันช่ัวร้ายและพยาธิ โภยภัย โรคา ท้ังหลายก็จงกลับกลายมาเปน็ ชัยชนะแก่ท่านเทอญ ขอชัยชนะนั้นจง มีแกท่ ่านท้งั หลายเหนือบรรดานิมิตอันช่วั รา้ ยและโรคาทั้งหลายทง้ั มวลนั้นเทอญ อันว่านอแรดและเขากวางหดอันเกิดจากหัวและจมูกก็ดี อันว่าเข้ียวหมูตัน จนั ทคราส อีกทัง้ เข้ยี วและงาอันเกดิ มาจากปากก็ดี ก็จงมาเป็นชัยชนะใหข้ ้าศึกศัตรู พ่ายแพพ้ ร้อมยงั เปน็ วตั ถมุ งคลใหแ้ ก่ท่านเทอญ อันว่าเหล่าศาสตราวุธซึ่งเป็นของกล้าแกร่งยังกาจัดไปซ่ึงสรรพโภยภัยและ เสนียดจัญไรท่ีบังเกดิ จากความโศกเศร้า เสนห่ า แลความประหวั่นพร่ันพรึง กจ็ งมา เปน็ ชยั ชนะแกท่ ่านเทอญ อนั ว่าเครื่องสังวาลแหง่ พญานาค อันรุ่งเรืองดว้ ยสีดอกจาปา เป็นต้น ก็จงมา เปน็ ชัยชนะแกท่ ่านเทอญ อนั ว่าชา้ ง ม้า แรด นาค เงือก งู ราชสีห์ และ เสือโคร่ง แลเสอื เหลือง อันมี เดชะอานุภาพอันมาก แลนี้ด้วยประการฉันใดกจ็ งมาเป็นชัยชนะอานภุ าพปราบไป ซ่งึ ขา้ ศกึ ศตั รูในสากล ชมพทู วปี ทงั้ มวลนน้ั เทอญ อันว่าสภาวะอันระงับดับเสียซึ่งความเศร้าโศกก็ดี อันว่าความผจญพ่ายแพ้ ยังกาลังท้าวพญา และเสนาข้าศึกศัตรูแล้วมีความชมช่ืนยินดีเม่ือภายหลังก็ดี ก็จง มาเป็นชัยชนะอนั ลอื ชาปรากฏแกท่ า่ นเทอญ อันว่าความเลี้ยงชีพอันง่ายสะดวกสบาย ความเป็นอยู่สุขสบายก็ดี อันว่า การประกอบสัมมาชีพด้วยดีเหนือผืนแผ่นดินในกาลทุกยามก็ดี อันว่าผืนปฐพีอัน ๒๕๖ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

เนืองแน่นไปดว้ ยหมู่บ้านและนิคม คามนิคมก็ดี ก็จงมาเป็นชัยชนะอันลอื ชาปรากฏ แกท่ า่ นเทอญ อันว่าอาลัยแห่งมงั กร คือว่ารศั มีอนั แผไ่ ปไกลได้รอ้ ยและพนั อนั มีแสงสว่าง เจิดจรัสของมังกรท้ังหลาย ถึงเหนืออากาศกลางหาว ก็จงมาเป็นชัยมงคลอัน ประเสรฐิ แกท่ ่านเทอญ อันว่าเดชานุภาพแห่งวรุณยักษ์ก็ดี อันว่าเดชานุภาพแห่งเทพบุตร เทพธิดา และพระอิศวร แลพญานาคก็ดี อันว่าอานาจแห่งเหล่าท้าวมหาพรหม และพระ อนิ ทรท์ ง้ั หลายกด็ ี ก็จงมาเป็นชยั ชนะมงคลสวสั ดี แกท่ า่ นทงั้ หมดนน้ั เทอญ อันว่าความผจญต่อเดชะบารมีแห่งท้าวพญาทั้งปวง ตนประเสริฐ ก็จงมา เปน็ ชัยชนะอันมนั่ คงแกท่ ่านเทอญ อันว่าขอให้ท่านจงมีชัยชนะเหนือหมู่สรรพสัตว์ ท้าวพญา ข้าศึกศัตรูแลหมู่ ปัจจามติ รทง้ั หลายทั้งปวงเหนือพนื้ ปฐพีนเ้ี ทอญ อันว่าพระอรหันต์ท้ังหลาย พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระสาวกแห่ง พระพทุ ธเจ้าท้งั หลาย ก็จงมาเปน็ มหาชยั มงคลแก่ท่านเทอญ อันว่าพระอิศวรผู้มเหศวรและพญาอังคหละแลพญาหรนิ ทเทพเจา้ ทั้งหลาย ก็ดี อนั ว่าท้าวมหาพรหมผูม้ เหศักด์กิ ็ดี กจ็ งมาเป็นชยั ชนะแกท่ ่านเทอญ อันว่าพญานาคก็ดี อันว่าท้าววิรุฬหกก็ดี อันว่าท้าววิรูปักษ์ก็ดี อันว่า พระจนั ทร์กด็ ี อนั ว่าพระอาทิตย์ก็ดี อันว่าพระอินทรก์ ็ดี อันว่าพญาเวนไตยกด็ ี อัน ว่าท้าวกุเวรก็ดี อันว่าพญาวรุโณก็ดี อันว่าพญาอัคคีและพญาวาโยก็ดี อันว่า พญาชณุ หะ อันว่าพญากุมาโรก็ดี อันว่าท้าวฐตรถกด็ ี อนั ว่าเทพยดาท้ังหลายผู้เป็น ใหญ่ท้ังสบิ แปดตน ท่กี ลา่ วมานัน้ ก็ลว้ นมตี บะแลเดชะอานุภาพอันมาก ขออานภุ าพ แห่งเทพยดาเหล่าน้ันจงบนั ดาลให้ท่านมีชัยชนะเหนือข้าศึกศัตรูปัจจามิตรท้ังหลาย เทอญ อันว่านักบวชทั้งหลายท้ังท่ีมีฤทธ์ิสิทธิการ มีฤๅษีและดาบสเป็นอาทิ อันว่า นักบวชเจ้าทั้งหลายผปู้ รารถนามรรคผลแสวงหาพระนพิ พาน อันเป็นพระสาวกแห่ง วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๕๗

พระพุทธเจ้าท้ังมวล อันว่าเป็นชัยชนะอันนามาซึ่งความช่ืนชมยินดีก็จงให้บังเกิดมี แกท่ า่ นเทอญ อันว่าพระนวโลกุตรธรรมเจ้า เก้าประการ ก็ดี อันว่าพระอริยสังฆเจ้า ท้ังหลายก็ดี ก็จงมาเป็นชัยมงคลแก่ท่านเทอญ อันว่าเทพเจ้าผู้เฝ้ารักษายังทิศท้ังสิบก็ดี อันว่าความสวัสดีและโชคโภค ทรพั ย์ทัง้ หลายก็ดกี จ็ งมแี ก่ท่านทง้ั ปวงเทอญ ด้วยเดชะอานภุ าพแห่งไชยปกรณสูตรบทน้ี อนั ว่าชยั ชนะศิรแิ ลสวัสดี ก็จงมี แก่ท่านเทอญ ดว้ ยเดชะอานุภาพแห่งพระพุทธเจา้ พระองคน์ ั้น อันวา่ ชัยมงคลอันประเสริฐ ขอจงให้บังเกิดมีแก่พวกเราท้งั หลายเทอญ อันว่าคณะแห่งพรหมท้ังหลายอันมีใจช่ืนชมยินดี แล้วพึงอุโฆษประกาศ เตือนใหร้ ้ถู ึงชัยชนะอันยง่ิ ใหญแ่ หง่ พระพทุ ธเจ้าองค์ซึง่ แสวงหาคุณอนั ย่ิงใหญ่ อันมี ชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ชัยชนะน้ีแลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิก บาน ผ้มู ีสริ ิ สว่ นความพา่ ยแพ้เป็นของมาร ผมู้ ีบาป อันว่าคณะแห่งพระอินทร์ท้ังหลายอันมีใจชื่นชมยนิ ดี แลว้ พงึ อโุ ฆษประกาศ เตือนให้รู้ถึงชัยชนะอันยง่ิ ใหญ่แห่งพระพุทธเจ้าองค์ซ่ึงแสวงหาคุณอันยง่ิ ใหญ่ อันมี ชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ชัยชนะน้ีแลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบิก บาน ผูม้ ีสริ ิ ส่วนความพ่ายแพ้เป็นของมาร ผู้มบี าป อันว่าคณะแห่งเทวดาท้ังหลายอันมีใจชื่นชมยินดี แล้วพึงอุโฆษประกาศ เตือนให้รู้ถึงชัยชนะอันยิ่งใหญ่แห่งพระพุทธเจา้ องค์ซ่ึง แสวงหาคุณอนั ยิ่งใหญ่ อนั มี ชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ชัยชนะนี้แลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิก บาน ผู้มสี ริ ิ ส่วนความพา่ ยแพ้เป็นของมาร ผู้มบี าป อนั ว่าคณะแหง่ พญาครุฑท้ังหลายอันมใี จช่ืนชมยินดี แล้วพึงอุโฆษประกาศ เตอื นใหร้ ้ถู ึงชยั ชนะอันยง่ิ ใหญ่แห่งพระพทุ ธเจ้าองค์ซึง่ แสวงหาคุณอันย่ิงใหญ่ อนั มี ๒๕๘ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

ชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ชัยชนะน้ีแลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิก บาน ผ้มู สี ิริ ส่วนความพา่ ยแพ้เป็นของมาร ผู้มบี าป อันว่าคณะแห่งพญานาคท้ังหลายอันมีใจช่ืนชมยินดี แล้วพึงอุโฆษประกาศ เตือนใหร้ ถู้ ึงชัยชนะอันย่ิงใหญ่แห่งพระพทุ ธเจา้ องค์ซ่งึ แสวงหาคณุ อนั ย่ิงใหญ่ อันมี ชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ชัยชนะนี้แลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิก บาน ผมู้ ีสิริ สว่ นความพา่ ยแพเ้ ปน็ ของมาร ผู้มบี าป อนั ว่าคณะแห่งเทพยดาท้ังหลายที่กล่าวมาอันมีใจช่นื ชมยนิ ดี แล้วพึงอุโฆษ ประกาศเตือนให้รู้ถึงชัยชนะอันย่ิงใหญ่แห่งพระพุทธเจ้าองค์ซึ่ง แสวงหาคุณอัน ยิ่งใหญ่ อันมีชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ชัยชนะน้ีแลเปน็ ชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผูต้ ่นื ผู้เบกิ บาน ผู้มสี ิริ สว่ นความพา่ ยแพ้เปน็ ของมาร ผู้มบี าป อันว่าคณะแห่งครุฑท้ังหลายที่กล่าวมาอันมีใจชื่นชมยินดี แล้วพึงอุโฆษ ประกาศเตือนให้รู้ถึงชัยชนะอันยิ่งใหญ่แห่งพระพุทธเจ้าองค์ซึ่ง แสวงหาคุณอัน ยิ่งใหญ่ อันมีชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ชัยชนะนี้แลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผตู้ ืน่ ผู้เบกิ บาน ผู้มีสริ ิ ส่วนความพา่ ยแพเ้ ป็นของมาร ผมู้ บี าป อันว่าคณะแห่งนาคท้ังหลายท่ีกล่าวมาอันมีใจชื่นชมยินดี แล้วพึงอุโฆษ ประกาศเตือนให้รู้ถึงชัยชนะอันย่ิงใหญ่แห่งพระพุทธเจ้าองค์ซึ่ง แสวงหาคุณอัน ยิง่ ใหญ่ อันมีชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ชัยชนะน้ีแลเป็นชัยชนะของพระพุทธเจ้าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบกิ บาน ผ้มู สี ริ ิ ส่วนความพ่ายแพ้เปน็ ของมาร ผู้มบี าป อันว่าคณะแห่งเทพยดาทั้งหลายมีพระพรหมเป็นต้น ท่ีกล่าวมาอันมีใจชื่น ชมยินดี แล้วพึงอุโฆษประกาศเตือนให้รู้ถงึ ชัยชนะอนั ย่ิงใหญ่แห่งพระพุทธเจ้าองค์ ซ่ึง แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ อันมีชัยใต้ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ชัยชนะน้ีแลเป็นชัยชนะ ของพระพทุ ธเจา้ ผรู้ ู้ ผตู้ ่ืน ผเู้ บิกบาน ผมู้ สี ริ ิ ส่วนความพา่ ยแพเ้ ปน็ ของมาร ผู้มีบาป สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้แจ้งโลกท้ังปวง ทรงชนะพญามารกับท้ัง เสนามารที่โคนต้นพระศรีมหาโพธิ์ ทรงยังความปีติยินดีให้เพิ่มพูนแก่ชาวศากยะ ท้งั หลาย ก็ยอ่ มมีด้วยประการฉันใด ขอความชนะอันวิเศษซึ่งอุปัทวะทงั้ หลาย ก็จง วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๕๙

มีแก่ท่าน และขอให้ความปีติยินดีให้เพิ่มพูนแก่ปวงญาติท้ังหลาย ก็จงมีด้วย ประการฉันนั้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบรรลุพระสัพพัญญุตญาณอันประเสริฐ ย่อมทรงยินดีเบิกบานอยู่ เหนือบัลลังก์อันไม่พ่ายแพ้ ณ โปกขรปฐพีอันเป็นท่ี อภิเษกของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ฉันใด ขอท่านจงมีความยินดีเบิกบานอยู่ดุจ สมัยเป็นทตี่ รสั รูแ้ หง่ สมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ฉนั น้ัน ความประพฤติปฏิบัติท่ดี ีแล้วในเวลาเช้า กลางวนั และเย็น เป็นมงคลดี เป็น แสงสว่างดี เป็นความรุ่งเรอื งดี เป็นขณะดี เป็นยามดี อน่ึง การบูชาดีในพรหมจารี บุคคลทั้งหลาย กายกรรมอันเป็นกุศล วจีกรรมอนั เป็นกุศล มโนกรรมอันเป็นกุศล ความปรารถนาอันเป็นกุศลของท่านผู้ทากุศลแล้ว ย่อมได้ประโยชน์อันประเสริฐ ท้ังหลาย หมู่เทพยดาทั้งหลายเหล่าใดที่มาสถิตอยู่ในสถานที่แห่งน้ี ขอเทพยดา ทง้ั หลายเหลา่ น้ันจงฟังถ้อยคาของข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอเทพยดาท้ังหลายจงเป็นผู้มี อายุยืนยาว มีความสุขในกาลทุกเม่ือ ขอเทพยดาทั้งหลายจงรักษาสรรพสัตว์ ทั้งหลาย และขอจงรักษาพระศาสนาแห่งพระชินสีห์เจ้าเท่าห้าพันปี ขอความ ปรารถนาต่าง ๆ ของเทพยดาท้ังหลายเหล่าน้ัน จงบริบูรณ์ตามมโนปรารถนา ขอ เทพยดาท้ังหลายผู้อยู่บนนภากาศจงบันดาลให้ฝนตกในกาลอันควร โรคและ อุปัทวะท้ังหลาย จงพินาศไปในกาลท้ังปวง ขอเดชแห่งกุศลอันเราทั้งหลายได้ กระทาแล้วแก่เทพยดาเหล่านั้น ขอเทพยดาทั้งหลายจงนามาซ่ึงความสขุ กายสุขใจ แก่ขา้ พเจ้าทงั้ หลายตามสมควรดว้ ยเทอญ ฯ ๒๖๐ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

บทสวดอทุ ิศท้ำยทำวัตร อทุ ทิสนำธฏิ ฐำนคำถำ เป็นคาถาอุทิศส่วนกุศลของเก่า ใช้สวดเพ่ือเป็นการให้ส่วนบุญแก่ผู้มี พระคุณทั้งหลาย ตลอดท้ังหมู่พรหมเทวา และประชาสัตว์ทุกจาพวกไม่มีขอบเขต ขีดค้ัน และแสดงคาอธิษฐานขออานุภาพคุณพระรัตนตรัยและอานาจแห่งกุศล กรรมที่ทาแล้ว ให้รวมเป็นพลวะปัจจัยอานวยให้ถึงความพ้นทุกข์ และปกป้อง คุม้ ครองจากหมู่มารคือความช่วั รา้ ยทงั้ ภายในภายนอก บทสวด อิมนิ ำ ปญุ ญะกมั เมนะ อุปชั ฌำยำ คณุ ุตตะรำ, อำจะริยูปะกำรำ จะ มำตำ ปิตำ จะ ญำตะกำ. สุริโย จันทิมำ รำชำ คุณะวนั ตำ นะรำปิ จะ, พร๎ หั ๎มะมำรำ จะ อนิ ทำ จะ โลกะปำลำ จะ เทวะตำ. ยะโม มติ ตำ มะนสุ สำ จะ มชั ฌัตตำ เวรกิ ำปิ จะ, สพั เพ สตั ตำ สขุ ี โหนตุ ปุญญำนิ ปะกะตำนิ เม, สุขงั จะ ติวิธงั เทนตุ ขิปปงั ปำเปถะ โว มะตงั . อิมินำ ปญุ ญะกมั เมนะ อมิ ินำ อทุ ทเิ สนะ จะ, ขปิ ปำหงั สลุ ะเภ เจวะ ตัณหุปำทำนะเฉทะนัง. เย สนั ตำเน หินำ ธัมมำ ยำวะ นพิ พำนะโต มะมงั , นัสสนั ตุ สัพพะทำเยวะ ยตั ถะ ชำโต ภะเว ภะเว. อชุ ุจิตตงั สะตปิ ัญญำ สลั เลโข วิริยมั หินำ, มำรำ ละภนั ตุ โนกำสงั กำตญุ จะ วิริเยสุ เม. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๒๖๑

พุทธำทปิ ะวะโร นำโถ ธมั โม นำโถ วะรุตตะโม, นำโถ ปจั เจกะพุทโธ จะ สังโฆ นำโถตตะโร มะมงั . เตโสตตะมำนุภำเวนะ มำโรกำสัง ละภนั ตุ มำ, ทะสะปญุ ญำนภุ ำเวนะ มำโรกำสัง ละภันตุ มำ. คำแปล ด้วยบุญกุศลน้ีข้าพเจ้าขออุทิศให้ พระอุปัชฌาย์ผู้เลิศด้วยพระคุณ และ อาจารย์ผู้มีอุปการะ รวมท้ังบิดามารดา และเครือญาติของข้าพเจ้า พระอาทิตย์ พระจันทร์ พระราชา และผู้ทรงคุณความดี หรือผู้เกิดในตระกูลสูง ท้ังพระพรหม ทั้งมาร ท้ังพระอินทราธิราช ท้ังทวยเทพ และท้าวโลกบาลทั้งสี่ พญายมราช ท้ัง มนุษย์ผู้เป็นมิตร ผู้เป็นกลาง และผู้จองเวร ขอให้บุญทั้งหลายทั้งปวงท่ีข้าพเจ้าทา จงอานวยผลที่ดีให้สรรพสัตว์ท้ังหลายทั้งปวง จงมีความสุขทุกทั่วหน้า ขอให้มี ความสุขท้งั ๓ ประการ จนกว่าบรรลุถงึ พระนพิ พานโดยเรว็ พลนั ด้วยบุญกุศลนี้ ข้าพเจ้าขออธิษฐานว่า ขอให้ข้าพเจ้าตัดตัณหาอุปาทานได้ โดยเร็วพลนั ส่ิงชั่วในสันดานจงมลายส้ินไปจนกว่าข้าพเจ้าจะถึงนิพพานทุก ๆ ภพ ทุกๆ ชาติที่ข้าพเจ้าเกิดมา ขอให้มีจิตซื่อตรง มีสติปัญญาอันประเสริฐ ให้มีความ เพียรเป็นเลิศ เป็นเคร่ืองขูดขัดเกลากิเลสให้หาย อย่าได้มีช่องทางให้หมู่มาร ทัง้ หลายมาทาลายความพากเพยี รของขา้ พเจ้าเลย พระผมู้ ีพระภาคเจ้าผูเ้ ป็นทพ่ี ึง่ อันประเสรฐิ พระธรรมคาส่งั สอนเป็นท่ีพึง่ อัน อุดม พระปัจเจกพุทธเจ้า รวมทั้งพระสงฆ์ เป็นที่พึ่งอันเลิศ ด้วยอานุภาพพระ รัตนตรัยนี้และดว้ ยอานภุ าพบุญทั้ง ๑๐ ประการ อย่าเปิดโอกาส อย่าเปิดช่องทาง ให้หมู่มารมาเบียดเบยี นข้าพเจ้าเลย ฯ ๒๖๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

สัพพปตั ติทำนคำถำ เป็นคาถาอุทิศส่วนกุศลพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในตอนต้นเป็นการสวดแผ่อุทิศส่วนกุศลแก่สรรพสัตว์ไม่มีขอบเขต ไม่มี ประมาณ หาทีส่ ดุ มไิ ด้ เป็นอัปปมัญญา ในตอนกลางและตอนท้ายเป็นการสวดอธิษฐานรวบรวมผลบุญ เพื่อให้เป็น พลวะปัจจัยเก้ือกูลแก่กุศลสมบัติ คือ การได้บังเกิดในสุคติภูมิ ได้ศรัทธาใน พระพทุ ธศาสนา ไดม้ ีโอกาสบาเพญ็ ทาน ศีล สมาธิ ปัญญา จนกระทั่งสามารถทาให้ แจง้ ซึ่งที่สดุ แหง่ ทุกข์ คือ พระนิพพานในท่ีสุด บทสวด ปุญญัสสทิ ำนิ กะตสั สะ ยำนญั ญำนิ กะตำมิ เม, เตสญั จะ ภำคิโน โหนตุ สตั ตำนนั ตำปปะมำณะกำ. เย ปยิ ำ คณุ ะวนั ตำ จะ มัย๎หงั มำตำปติ ำทะโย, ทิฏฐำ เม จำป๎ยะทิฏฐำ วำ อญั เญ มชั ฌัตตะเวริโน. สัตตำ ตฏิ ฐันติ โลกัส๎มงิ เต ภมุ มำ จะตโุ ยนิกำ, ปัญเจกะจะตุโวกำรำ สังสะรนั ตำ ภะวำภะเว. ญำตัง เย ปัตตทิ ำนมั เม อะนุโมทันตุ เต สะยัง, เย จิมงั นปั ปะชำนนั ติ เทวำ เตสัง นิเวทะยุง. มะยำ ทินนำนะ ปุญญำนัง อะนุโมทะนะเหตุนำ, สพั เพ สตั ตำ สะทำ โหนตุ อะเวรำ สขุ ะชีวิโน, เขมัปปะทญั จะ ปัปโปนตุ เตสำสำ สิชฌะตงั สุภำ. ยันทำนิ เม กะตงั ปุญญัง เตนำเนนทุ ทิเสนะ จะ, ขิปปงั สัจฉกิ ะเรยยำหัง ธัมเม โลกุตตะเร นะวะ. สะเจ ตำวะ อะภพั โพหงั สังสำเร ปะนะ สังสะรงั , วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๖๓

นยิ ะโต โพธิสัตโต วะ สัมพุทเธนะ วยิ ำกะโต, นำฏฐำระสะปิ อภพั พะ- ฐำนำนิ ปำปุเณยยะหัง. ปญั จะเวรำนิ วัชเชยยงั ระเมยยัง สลี ะรักขะเน, ปญั จะกำเม อะลคั โคหงั วชั เชยยงั กำมะปังกะโต. ททุ ทฏิ ฐยิ ำ นะ ยุชเชยยงั สงั ยุชเชยยงั สทุ ิฏฐิยำ, ปำเป มติ เต นะ เสเวยยัง เสเวยยัง ปณั ฑเิ ต สะทำ. สทั ธำสะตหิ โิ รตตัปปำ ตำปกั ขนั ติคณุ ำกะโร, อัปปำสัยโห วะ สัตตหู ิ เหยยงั อะมนั ทะมฬุ หะโก. สัพพำยำปำยปุ ำเยสุ เฉโก ธัมมัตถะโกวโิ ท, เญยเย วัตตัต๎วะสัชชัง เม ญำณัง อะเฆวะ มำลุโต. ยำ กำจิ กสุ ะลำ มะยำสำ สุเขนะ สชิ ฌะตัง สะทำ, เอวงั วตุ ตำ คณุ ำ สพั เพ โหนตุ มยั ๎หงั ภะเว ภะเว. ยะทำ อุปปัชชะติ โลเก สมั พทุ โธ โมกขะเทสะโก, ตะทำ มุตโต กุกมั เมหิ ลทั โธกำโส ภะเวยยะหงั . มะนสุ สตั ตญั จะ ลิงคญั จะ ปัพพัชชัญจปุ ะสมั ปะทงั , ละภิตว๎ ำ เปสะโล สลี ี ธำเรยยัง สัตถุ สำสะนัง. สุขำปะฏิปะโท ขิปปำ ภญิ โญ สจั ฉิกะเรยยะหัง, อะระหัตตะผะลงั อัคคงั วชิ ชำทิคณุ ะลังกะตัง. ยะทิ นุปปชั ชะติ พทุ โธ กมั มงั ปะรปิ ูรัญจะ เม, เอวัง สนั เต ละเภยยำหงั ปจั เจกะโพธิมุตตะมนั ติ. ๒๖๔ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

คำแปล สัตว์ท้ังหลาย ไม่มีที่สุด ไม่มีประมาณ จงมีส่วนแห่งบุญท่ีข้าพเจ้าได้ทาใน บัดนี้ และแหง่ บญุ อื่นที่ได้ทาไวก้ อ่ นแล้ว คือจะเป็นสัตว์เหล่าใด ซง่ึ เป็นทรี่ กั ใครแ่ ละ มีบุญคุณ เช่น มารดา บิดา ของข้าพเจ้าเป็นต้นก็ดี ที่ข้าพเจ้าเห็นแล้ว หรือไม่ได้ เห็นก็ดี สัตว์เหล่าอื่นทเี่ ป็นกลาง ๆ หรือเป็นคู่เวรกันก็ดี สัตว์ทั้งหลาย ต้งั อยู่ในโลก อย่ใู นภูมิท้ังสาม อยู่ในกาเนดิ ทงั้ ส่ี มีขันธ์ห้าขนั ธ์ มีขันธ์ขันธ์เดยี ว มีขนั ธส์ ี่ขันธ์ กาลัง ทอ่ งเท่ียวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ก็ดี สตั ว์เหล่าใด รู้สว่ นบุญทขี่ ้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว สัตว์ เหลา่ นัน้ จงอนุโมทนาเองเถดิ ส่วนสัตว์เหล่าใด ยงั ไม่รู้สว่ นบุญนี้ ขอเทวดาทั้งหลาย จงบอกสัตว์เหล่าน้ันให้รู้ เพราะเหตุท่ีได้อนุโมทนาสว่ นบญุ ที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว สตั ว์ ทั้งหลายทัง้ ปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อยเู่ ป็นสุขทุกเมือ่ จนถึงบทอันเกษมกล่าวคือพระ นิพพาน ความปรารถนาทีด่ งี ามของสัตวเ์ หล่านัน้ จงสาเร็จเถดิ . บุญใดที่ข้าพเจ้าได้ทาในบัดน้ี เพราะบุญน้ัน และการอุทิศแผ่ส่วนบุญน้ัน ขอใหข้ ้าพเจ้าทาให้แจ้งซง่ึ โลกตุ รธรรม ๙ ในทันที ถา้ ข้าพเจ้าเป็นผูอ้ าภพั อยู่ ยงั ตอ้ ง ท่องเท่ียวไปในวัฏสงสาร ขอให้ข้าพเจ้าเป็นเหมือนโพธิสัตว์ผู้เที่ยงแท้ ได้รับ พยากรณ์แต่พระพทุ ธเจา้ ไม่ถึงฐานะแห่งความอาภพั ๑๘ อยา่ ง ข้าพเจ้าพึงเว้นจากเวรทั้ง ๕ พึงยินดีในการรักษาศีล ไม่เกาะเกี่ยว ในกาม คุณท้ัง ๕ พึงเว้นจากเปือกตมกล่าวคือกาม ขอให้ขา้ พเจา้ ไม่พึงประกอบดว้ ยทฏิ ฐิชั่ว พึงประกอบด้วยทิฏฐิท่ีดีงาม ไม่พึงคบมิตรช่ัว พึงคบแต่บัณฑิตทุกเมื่อ ขอให้ ข้าพเจา้ เปน็ บอ่ เกิดแห่งคุณ คอื ศรัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ ความเพียร และขนั ติ พึง เป็นผู้ท่ีศัตรูครอบงาไม่ได้ ไม่พึงเป็นคนเขลาคนหลงงมงาย ขอให้ข้าพเจ้าเป็นผู้ ฉลาดในอุบายแห่งความเสื่อมและความเจริญ เป็นผู้เฉียบแหลมในอรรถและธรรม ขอให้ญานของข้าพเจ้าเป็นไปไม่ข้องขัดในธรรมที่ควรรู้ ดุจลมพัดไปใน อากาศ ฉะน้ัน ความปรารถนาใด ๆ ของข้าพเจ้าที่เป็นกุศล ขอให้สาเร็จโดยงา่ ยทุก เมื่อ คุณที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วท้ังปวงน้ี จงมีแก่ข้าพเจ้าทุก ๆ ภพ เมื่อใด พระ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๖๕

สัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสดงธรรมเครื่องพ้นทุกข์ เกิดขึ้นแล้วในโลก เมื่อน้ัน ขอให้ ข้าพเจ้าพน้ จากกรรมอันชั่วช้าท้ังหลาย เปน็ ผ้ไู ด้โอกาสแหง่ การบรรลุธรรม ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ความเป็นมนุษย์ ได้เพศบริสุทธิ์ ได้บรรพชาอุปสมบท แล้ว เป็นคนรักศีล มีศีล ทรงไว้ซ่ึงพระศาสนาของพระศาสดา ขอให้เป็นผู้มีการ ปฏบิ ัตโิ ดยสะดวก ตรัสรูไ้ ด้พลัน กระทาให้แจ้งซ่ึงอรหัตตผลอนั เลิศ อันประดบั ด้วย ธรรม มีวิชชา เป็นต้น ถ้าหากพระพุทธเจ้าไม่บังเกิดข้ึน แต่กุศลกรรมของข้าพเจ้า เต็มเป่ียมแล้ว เม่ือเป็นเช่นน้ัน ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ญาณเป็นเครื่องรู้เฉพาะตน อัน สงู สุดเทอญ ฯ ๒๖๖ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

ปตั ตทิ ำนคำถำ เป็นคาถาพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ สวดแสดงการใหส้ ่วนกุศลแก่เหลา่ เทพยดาท่ีสถิตรักษาตามปูชนียสถานต่าง ๆ เช่น วิหาร เจดีย์ และต้นพระศรีมหาโพธ์ิ เป็นต้น และเป็นการเจริญเมตตาภาวนาแผ่ ความปรารถนาดีไปยังหมู่บรรพชิตและฆราวาสชนทุกระดับ ตลอดสรรพสัตว์ในทุก กาเนิด บทสวด ยำ เทวตำ สันติ วิหำระวำสินี, ถูเป ฆะเร โพธฆิ ะเร ตะหงิ ตะหงิ , ตำ ธัมมะทำเนนะ ภะวนั ตุ ปชู ิตำ, โสตถิง กะโรนเตธะ วิหำระมณั ฑะเล. เถรำ จะ มชั ฌำ นะวะกำ จะ ภิกขะโว, สำรำมกิ ำ ทำนะปะตี อุปำสะกำ, คำมำ จะ เทสำ นคิ ะมำ จะ อสิ สะรำ, สัปปำณะภูตำ สุขติ ำ ภะวันตุ เต. ชะลำพชุ ำ เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวำ, สงั เสทะชำตำ อะถะโวปะปำตกิ ำ, นยิ ยำนิกัง ธัมมะวะรงั ปะฏจิ จะ เต, สัพเพปิ ทกุ ขัสสะ กะโรนตุ สงั ขะยัง. ฐำตุ จริ ัง สะตงั ธัมโม ธัมมทั ธะรำ จะ ปุคคะลำ, สงั โฆ โหตุ สะมัคโค วะ อตั ถำยะ จะ หิตำยะ จะ. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๒๖๗

อมั ๎เห รักขะตุ สัทธมั โม สพั เพปิ ธมั มะจำริโน, วฑุ ฒงิ สัมปำปุเณยยำมะ ธัมเม อะริยปั ปะเวทเิ ต. ปะสันนำ โหนตุ สัพเพปิ ปำณิโน พทุ ธะสำสะเน, สัมมำ ธำรัง ปะเวจฉันโต กำเล เทโว ปะวสั สะตุ. วุฑฒภิ ำวำยะ สัตตำนัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนงิ , มำตำ ปติ ำ จะ อัตร๎ ะชงั นจิ จัง รกั ขันติ ปตุ ตะกงั , เอวัง ธัมเมนะ รำชำโน ปะชงั รกั ขันตุ สัพพะทำ. คำแปล เทพยดาทั้งหลายเหล่าใด มีปกติอยู่ในวิหาร สงิ สถิตท่ีเรือนพระสถูป ที่เรือน โพธิ์ ในท่ีน้ันๆ เทพยดาทง้ั หลายเหล่าน้ัน เปน็ ผู้อันเราท้ังหลายบูชาแล้ว ด้วยธรรม ทาน ขอจงทาซง่ึ ความสวสั ดี ความเจรญิ ในมณฑลวิหารน้ี พระภิกษุท้ังหลายท่ีเป็นเถระก็ดี ท่ีเป็นปานกลางก็ดี ท่ีเป็นผู้บวชใหม่ก็ดี อบุ าสกอบุ าสกิ าทัง้ หลายทีเ่ ปน็ ทานาธิบดีก็ดี พรอ้ มด้วยอารามกิ ชนก็ดี. ชนทง้ั หลาย เหล่าใด ทเ่ี ปน็ ชาวบา้ นก็ดี ท่ีเปน็ ชาวต่างประเทศกด็ ี ทเ่ี ป็นชาวนิคมกด็ ี ที่เป็นอสิ ระ เปน็ ใหญก่ ด็ ี ขอชนทั้งหลายเหล่าน้นั จงเปน็ ผู้มสี ุขเถดิ สัตว์ท้ังหลายท่ีเป็นชลาพุชะกาเนิดก็ดี ที่เป็นอันฑชะกาเนิดก็ดี ท่ีเป็น สังเสทชะกาเนิดก็ดี ท่ีเป็นโอปปาติกะกาเนิดก็ดี สัตว์ท้ังหลายท้ังปวงเหล่านั้น ได้ อาศัยซึ่งธรรมอันประเสริฐ เป็นนิยานิกธรรม ประกอบในอันนาผู้ปฏิบัติให้ออกไป จากสังสารทกุ ข์ จงกระทาซึ่งความส้ินไปพรอ้ มแห่งทุกขเ์ ถดิ ขอธรรมของสัตบุรุษท้ังหลาย จงตั้งอยู่นาน ขอบุคคลทั้งหลายผู้ทรงไว้ซ่ึง ธรรม จงดารงอยู่นาน ขอพระสงฆ์จงมีความสามัคคีพร้อมเพรียงกัน ในอันทาซึ่ง ประโยชน์ และสงิ่ อันเกื้อกูลเถดิ ขอพระสัทธรรมจงรกั ษาไวซ้ ึง่ เราทั้งหลาย จงรกั ษา ๒๖๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

ไว้ซ่งึ บคุ คลผูป้ ระพฤตซิ ่ึงธรรมแมท้ ั้งปวง ขอเราทั้งหลาย พึงถงึ พร้อมซง่ึ ความเจริญ ในธรรมท่พี ระอรยิ เจ้าประกาศไวด้ แี ล้ว ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงเป็นผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ขอฝน ทั้งหลายจงหลั่งลงตกต้องตามฤดูกาล ขอฝนจงนาความสาเร็จมาสู่พื้นปฐพี เพ่ือ ความเจริญแก่สัตว์ทั้งหลาย มารดาและบดิ าย่อมรักษาบุตรท่ีเกิดในตนเป็นนิจ ฉัน ใด ขอพระราชาจงปกครองประชาชน โดยชอบธรรมในกาลทุกเมื่อ ฉันนนั้ เทอญ ฯ วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๖๙

ปตั ตทิ ำนคำถำ ถวำยพระรำชกุศล รัชกำลท่ี ๙ คาถาบทน้ี สมเด็จพระวันรัต (จนุ ท์ พฺรหฺมคุตฺโต ป.ธ.๙) วัดบวรนิเวศวิหาร แตง่ ข้ึนเพือ่ ให้พระภกิ ษุสามเณรและประชาชนชาวไทยนาไปสวดเพ่ือถวายพระราช กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยลง ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา บทสวด ยะถำปิ ปะระมนิ โท โส ภูมพิ ะโล มะหสิ สะโร สะวรี โิ ย สะมุสสำโห ทีฆะทัสสี วจิ ักขะโณ อะธริ ำชำ มะหำรัญญำ โลกะภำเค มะหิตตะเล ทยั ยำนัง เทวะภโู ต โข ธะระมำโน ปะสงั สโิ ต สกั กะโต ชะนะตำเยวะ สัมมำนโิ ตภปิ ูชโิ ต ทยั ยะวำสนี ะมัตถำยะ หติ ำยะ จะ สุขำยะ จะ สัตตะติวสั สะกำเล วะ รชั ชงั ธัมเมนะ กำระยิ เอวงั ชะรำ จะ มัจจุ จะ อะธวิ ัตตนั ติ ภูปะตงิ ขตั ติเย พ๎รำห๎มะเณ เวสเส สทุ เท จัณฑำละปกุ กเุ ส นะ กญิ จิ ปะรวิ ัชเชติ สพั พะเมวำภิมัททะติ ตสั ๎มำ หิ ปัณฑิโต โปโส สัมปสั สงั อัตถะมตั ตะโน สมั ปะเทยเยวะ ภยิ โยโส อัปปะมำเทนะ ชีวิตงั อัปปะมัตโต อุโภ อตั เถ อะธิคณั หำติ เจตะโส ทิฏเฐ ธัมเม จะ โย อตั โถ โย จตั โถ สมั ปรำยิโก ๒๗๐ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

ส๎วำกขำตัสสะ ปำฐสั สะ อตั ถงั อัญญำยะ สำธุกงั ปะฏปิ ัชเชถะ เมธำวี อะโมฆงั ชวี ิตงั ยะถำ ยันทำนิ เม กะตัง ปุญญัง เตนำเนนุททิเสนะ จะ ยำ กำจิ กสุ ะลำ มะยำสำ สุเขนะ สิชฌะตัง สะทำ ปะระมินทะมะหำรำชำ ภำคี โหตุ วะ ปตั ติยำ เขมปั ปะทัญจะ ปปั โปตุ ตัสสำสำ สิชฌะตงั สภุ ำต.ิ คำแปล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ผู้ทรง เป็นพระเจ้าแผ่นดิน มีพระวิริยอุตสาหะ มีพระวิสัยทัศน์ยาวไกล มีปัญญาฉลาด หลักแหลมในการปกครองประเทศ ทรงเปน็ พระมหาราชผู้ยิ่งใหญ่ กว่าพระมหาราช ใด ๆ ในโลก ทรงได้รับการสรรเสริญ สกั การะ นบั ถือ บชู า ยกย่องว่าเป็นเทวดาท่ี ยังมีชีวิตอยู่ของปวงพสกนิกรชาวไทย ทรงครองสิรริ าชสมบตั ิเพ่อื ประโยชนส์ ขุ แห่ง มหาชนชาวสยาม ส้ินกาลเวลา ๗๐ ปี แต่ความชราและความตายย่อมพรากองค์ พระภูมินทร์ ความตายหาได้ละเว้นใครๆ ไม่ ไมว่ ่าคนนั้นจะเป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพทย์ ศูทร คนจณั ฑาล ความตายย่อมทาลายทุกสิ่งถ้วนทั่ว เพราะฉะนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิตเมื่อ พิจารณาเห็นประโยชน์ สว่ นตนกพ็ งึ ดาเนนิ ชีวิตของตนให้ย่งิ ดว้ ยความไม่ประมาท บุคคลผู้ไม่ประมาทย่อมจะได้รับประโยชน์ทัง้ ๒ ส่วนคือ ประโยชน์ปัจจุบัน และประโยชน์ในภายภาคหน้า ผู้มีปัญญารู้อรรถสาระแห่งพระบาลีตามที่สมเด็จ พระบรมศาสดาตรัสไว้ดีแล้ว น้อมปฏบิ ตั ิ โดยประการทช่ี ีวติ จะเปน็ ชวี ิตท่ีมีสาระ ไม่ เปน็ ชวี ติ เปลา่ ประโยชน์ (ตามรอยเบือ้ งพระยคุ ลบาท) บุญอันใดท่ีขา้ พเจ้าได้ทาแลว้ ณ กาลบัดน้ี ด้วยเหตุแห่งบุญท่ีข้าพเจ้าได้ทา แล้วและด้วยการถวายพระราชกุศลอันน้ีด้วย ความปรารถนาอันใดอันหน่ึงที่เป็น กุศลของข้าพเจ้า ขอบุญและความหวงั นน้ั จงสาเร็จโดยง่ายทุกเม่ือ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๗๑

ขอพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จง ทรงเป็นผู้มีส่วนแห่งปัตตทิ านของข้าพเจ้าท้ังหลาย ขอพระองคจ์ งถึงซงึ่ บทอันเกษม คือ พระนิพพาน ขอความปรารถนาอันดีงามของพระองค์ทั้งปวงน้ัน จงสาเร็จโดย พลันเทอญ ฯ ๒๗๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

อนุโมทนำวธิ ี อนุโมทนำวิธี คอื บทสวดบาลีทีพ่ ระสงฆ์ใชส้ วดเปน็ การอนโุ มทนาและให้พร แก่ผู้บาเพ็ญกุศลในโอกาสต่าง ๆ โดยมีใช้แตกต่างกันตามโอกาสแห่งการบาเพ็ญ กศุ ลนั้น ๆ จาแนกตามลักษณะงานท่ีเป็นงานมงคล เช่น งานทาบุญวันเกิด ทาบุญ ขนึ้ บ้านใหม่ หรอื อวมงคล เช่น งานศพ งานทาบุญอทุ ิศ เป็นต้น อันเป็นธรรมเนียม ทถ่ี อื ปฏิบตั ิสบื มา อนโุ มทนำรมั ภคำถำ อนุโมทนารัมภกถา หรือ บทยถำ เป็นคาถากรวดน้า คือเม่ือพระสงฆ์ผู้เป็น ประธานสวดบทนี้ ทายกทายิกาจะกรวดน้าเป็นการอุทิศส่วนกุศล โดยคาถาบทนี้ผู้ เป็นประธานสงฆ์จะสวดแต่เพยี งรูปเดียว และจะใช้สวดเสมอไปทุกงาน บทสวด ยะถำ วำริวะหำ ปูรำ ปะริปเู รนติ สำคะรัง, เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตำนัง อปุ ะกปั ปะติ. อจิ ฉติ ัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมชิ ฌะตุ, สัพเพ ปเู รนตุ สงั กัปปำ จนั โท ปัณณะระโส ยะถำ, มะณิ โชติระโส ยะถำ. คำแปล ห้วงน้าที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณ์ได้ ฉันใด ทานท่ีท่านอุทิศให้ แล้วแต่โลกนี้ ย่อมสาเร็จประโยชน์แก่ผู้ท่ีละโลกนี้ไปแล้วได้ ฉันน้ัน ขออิฏฐผลท่ี ท่านปรารถนาแล้วตั้งใจแล้ว จงสาเร็จโดยฉับพลัน ขอความดาริท้ังปวงจง เต็มที่ เหมอื นพระจนั ทร์วันเพญ็ เหมือนแก้วมณอี นั สวา่ งไสวควรยนิ ดี ฉะนั้น ฯ วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๒๗๓

สำมญั ญำนโุ มทนำคำถำ คาถานี้ เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า บทสัพพี เป็นคาถาท่ีพระสงฆ์ใช้สวด อนุโมทนาตอ่ ทา้ ยบทกรวดนา้ โดยจะใชส้ วดเสมอทว่ั ไปทุกงานทาบญุ บทสวด สัพพีตโิ ย วิวชั ชันตุ สัพพะโรโค วินสั สะตุ, มำ เต ภะวตั วันตะรำโย สุขี ทฆี ำยโุ ก ภะวะ. สัพพตี โิ ย วิวชั ชันตุ สพั พะโรโค วนิ ัสสะตุ, มำ เต ภะวตั วันตะรำโย สขุ ี ทีฆำยุโก ภะวะ. สพั พีตโิ ย วิวชั ชนั ตุ สพั พะโรโค วนิ ัสสะตุ, มำ เต ภะวัตวนั ตะรำโย สขุ ี ทฆี ำยุโก ภะวะ. อะภวิ ำทะนะสีลสิ สะ นิจจัง วุฑฒำปะจำยโิ น, จตั ตำโร ธัมมำ วัฑฒันติ อำยุ วัณโณ สขุ ัง พะลัง. คำแปล ความจัญไรทัง้ ปวงจงบาราศไป โรคท้ังปวงจงหาย อันตรายจงอย่ามีแก่ทา่ น ทงั้ หลาย ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุยนื ความจัญไรทั้งปวงจงบาราศไป โรคท้ัง ปวงจงหาย อันตรายจงอย่ามีแก่ท่านท้ังหลาย ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุ ยืน ความจัญไรทั้งปวงจงบาราศไป โรคทั้งปวงจงหาย อันตรายจงอย่ามีแก่ท่าน ทั้งหลาย ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุยืน ธรรมส่ีประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจรญิ แกบ่ คุ คลผ้มู ปี กติกราบไหว้ มีปกตอิ ่อนนอ้ ม (ต่อผู้ใหญ่) เป็นนติ ย์ ฯ ๒๗๔ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

วิรฬุ หิกคำถำ คาถาบทน้ี เป็นบาลีคาสวดเพ่ืออวยพรให้ทายกทาบุญพร้อมด้วยหมู่ญาติมี ความเจริญรุ่งเรืองในพระพทุ ธศาสนา โดยจะนยิ มใช้สวดในงานทาบุญวันเกิด หรือ งานทาบญุ เกย่ี วกับอายุ บทสวด โส อัตถะลทั โธ สขุ ิโต วิรฬุ โห พุทธะสำสะเน, อะโรโค สขุ ิโต โหหิ สะหะ สพั เพหิ ญำติภิ. สำ อตั ถะลทั ธำ สขุ ติ ำ วิรฬุ หำ พุทธะสำสะเน, อะโรคำ สุขติ ำ โหหิ สะหะ สพั เพหิ ญำตภิ ิ. เต อัตถะลทั ธำ สขุ ติ ำ วริ ฬุ หำ พทุ ธะสำสะเน, อะโรคำ สขุ ิตำ โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญำติภิ. คำแปล ขอท่าน (ทเ่ี ปน็ บุรษุ ) พร้อมญาติท้งั ปวง จงไดป้ ระโยชน์ มคี วามสขุ งอกงาม ในพระพุทธศาสนา อยเู่ ปน็ สขุ ไม่มีโรคเถดิ ขอท่าน (ที่เปน็ สตรี) พร้อมญาติทั้งปวง จงไดป้ ระโยชน์ มีความสุข งอกงาม ในพระพุทธศาสนา อยูเ่ ป็นสขุ ไมม่ โี รคเถดิ ขอท่านท้ังหลาย (ทั้งบุรุษและสตรี) พร้อมญาติทั้งปวง จงได้ประโยชน์ มี ความสขุ งอกงามในพระพุทธศาสนา อยเู่ ป็นสุข ไมม่ โี รคเถิด ฯ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๒๗๕

รตนตั ตยำนภุ ำวำทคิ ำถำ เป็นบทอนุโมทนาให้พร โดยอ้างเอาอานุภาพของพระรัตนตรัยให้ช่วยขจัด ปัดเป่าทุกข์ โศก โรค ภัย ตลอดทั้งอันตรายท้ังปวงให้พินาศดับสูญไป มักใช้สวดใน งานท่วั ไป บทสวด ระตะนตั ตะยำนุภำเวนะ ระตะนตั ตะยะเตชะสำ, ทุกขะโรคะภะยำ เวรำ โสกำ สตั ตุ จปุ ทั ทะวำ, อะเนกำ อนั ตะรำยำปิ วนิ ัสสันตุ อะเสสะโต. ชะยะสิทธิ ธะนัง ลำภัง โสตถิ ภำคย๎ งั สขุ ัง พะลัง, สริ ิ อำยุ จะ วัณโณ จะ โภคงั วฑุ ฒี จะ ยะสะวำ, สะตะวสั สำ จะ อำยู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต. คำแปล ด้วยเดชานุภาพแห่งคุณพระรตนตรัย ขอความทุกข์ โรค ภัย และเวร ทงั้ หลาย ความโศก ศัตรู และอุปัทวะท้ังมวล อันตรายเป็นเอนกประการ จงพินาศ ไปหมดส้ิน ความชนะ ความสาเร็จ ทรัพย์ ลาภ ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข กาลัง สิริ อายุ วรรณะ โภคะ ความเจริญ ความเป็นผู้มียศ ความมีอายุ เป็นร้อยปี และความสาเร็จกิจในความเป็นอยู่ จงมีแก่ท่านท้ังหลายในกาลทุกเม่ือ เทอญ ฯ ๒๗๖ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

สังเขปอำฏำนำฏิยสตุ ตคำถำ คาถาบทนเี้ ป็นส่วนหนงึ่ ของอาฏาฏิยปรติ ร ทที่ ้าวมหาราชทง้ั ๔ ผูกข้ึนถวาย แด่พระพุทธองค์เพื่อประทานแก่หมู่ภิกษุใช้เจริญเป็นเคร่ืองป้องกันเหล่าอมนุษย์ โดยพระโบราณาจารยไ์ ด้นาบางส่วนทีม่ ีเนอื้ หาเป็นคาใหพ้ รมาใช้สวดอนโุ มทนาหลัง ภตั ตกิจ บทสวด สัพพะโรคะวนิ มิ ุตโต สพั พะสนั ตำปะวชั ชิโต, สัพพะเวระมะตกิ กันโต นพิ พโุ ต จะ ตุวัง ภะวะ. สพั พตี โิ ย ววิ ชั ชนั ตุ สพั พะโรโค วนิ สั สะตุ, มำ เต ภะวตั วนั ตะรำโย สขุ ี ทฆี ำยุโก ภะวะ. อะภวิ ำทะนะสลี สิ สะ นจิ จงั วฑุ ฒำปะจำยิโน, จัตตำโร ธัมมำ วฑั ฒันติ อำยุ วัณโณ สขุ ัง พะลงั . คำแปล ขอทา่ นจงปลอดจากโรคทั้งปวง ปราศจากความเดือดร้อนทุกอย่าง ไม่มีใคร ปองร้าย เปน็ ผู้สงบ ขอความจญั ไรทั้งปวงจงบาราศไป โรคทั้งปวงจงหาย อันตราย จงอย่ามีแก่ท่านท้ังหลาย ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุยืน ธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้มปี กติกราบไหว้ มีปกติออ่ นน้อม (ต่อ ผู้ใหญ)่ เป็นนิตย์ ฯ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๒๗๗

โภชนทำนำนุโมทนำคำถำ เปน็ คาถาท่ีใชส้ วดอนุโมทนาในโภชนาทาน หรือภตั ตทานท่ีทายกบาเพญ็ ใน โอกาสตา่ ง ๆ โดยเฉพาะในพิธฉี นั อนั เน่อื งด้วยการทาบุญอายุ บทสวด อำยุโท พะละโท ธีโร วัณณะโท ปะฏภิ ำณะโท, สุขสั สะ ทำตำ เมธำวี สขุ งั โส อะธคิ ัจฉะติ. อำยงุ ทตั ๎วำ พะลงั วณั ณัง สุขญั จะ ปะฏภิ ำณะโท, ทีฆำยุ ยะสะวำ โหติ ยัตถะ ยตั ถปู ะปชั ชะตตี ิ. คำแปล ธีรชนผู้มีปัญญา ให้อายุ ให้กาลัง ให้วรรณะ ให้ปฏภิ าณ ใหค้ วามสขุ ยอ่ มได้ ประสพสุข บุคคลผู้ให้อายุ กาลัง วรรณะ ความสุข แลปฏิภาณ บังเกิดในท่ีใด ๆ ยอ่ มเปน็ ผู้มีอายยุ ืน มยี ศในทน่ี น้ั ๆ ดังนี้ ฯ อำทิยสตุ ตคำถำ คาถาบทนี้ พระสงฆ์จะใช้สวดในการทาบุญมตกทาน (ทานเพื่อผู้ล่วงลับ) อนั ไดแ้ ก่ การทาบญุ อุทศิ บรรพบุรษุ หรอื บพุ การีผ้ลู ่วงลับ เป็นการประจาปี บทสวด ภตุ ตำ โภคำ ภะตำ ภัจจำ วิติณณำ อำปะทำสุ เม, อุทธัคคำ ทกั ขิณำ ทินนำ อะโถ ปัญจะ พะลี กะตำ. อปุ ัฏฐิตำ สลี ะวนั โต สญั ญะตำ พรหั ๎มะจำริโน, ยะทตั ถัง โภคะมิจเฉยยะ ปัณฑิโต ฆะระมำวะสัง. โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต กะตงั อะนะนุตำปยิ ัง, ๒๗๘ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

เอตัง อะนุสสะรงั มัจโจ อะริยะธมั เม ฐิโต นะโร. อเิ ธวะ นงั ปะสังสันติ เปจจะ สคั เค ปะโมทะตีติ. คำแปล โภคะทั้งหลายเราได้บรโิ ภคแลว้ บุคคลทั้งหลายท่ีควรเล้ียง เราได้เล้ียงแล้ว อนั ตรายทัง้ หลาย เราได้ขา้ มพ้นไปแลว้ ทักษิณาท่เี จริญผล เราไดใ้ หแ้ ลว้ อนึ่ง พลี ๕ อยา่ ง เราได้ทาแล้ว ท่านผมู้ ีศลี สารวมประพฤติพรหมจรรย์ เรา ได้บารุงแล้ว บัณฑิตผู้ครองเรอื น ปรารถนาโภคะเพื่อประโยชนอ์ ันใด ประโยชน์อัน น้ัน เราได้บรรลุแล้ว กรรมไม่เป็นที่ต้ังแห่งความเดือดร้อนภายหลัง เราได้ทาแล้ว นรชนผู้จะต้องตายเม่ือตามระลึกถึงคุณข้อนี้ ย่อมเป็นผู้ต้ังอยู่ในอริยธรรม เทวดา และมนุษย์ท้ังหลายย่อมสรรเสริญนรชนนน้ั ในโลกนี้ นรชนนนั้ ละโลกน้ไี ปแล้ว ย่อม บันเทงิ ในสรรค์ ดงั น้ี ฯ อัคคปั ปสำทสุตตคำถำ เป็นคาถาท่ีพระสงฆ์ใช้สวดเพื่ออนุโมทนา เมื่อมีผู้มาทาบุญเป็นสังฆทาน ทาบญุ วันเกิด หรอื ทาบุญในโอกาสต่าง ๆ ทั่วไป บทสวด อัคคะโต เว ปะสันนำนงั อัคคัง ธัมมัง วชิ ำนะตงั , อคั เค พุทเธ ปะสันนำนงั ทกั ขเิ ณยเย อะนุตตะเร. อคั เค ธมั เม ปะสันนำนงั วิรำคูปะสะเม สเุ ข, อัคเค สังเฆ ปะสันนำนัง ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร. อัคคสั ๎มิง ทำนัง ทะทะตัง อคั คงั ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, อคั คงั อำยุ จะ วณั โณ จะ ยะโส กติ ติ สขุ ัง พะลงั . วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๒๗๙

อัคคสั สะ ทำตำ เมธำวี อคั คะธมั มะสะมำหิโต, เทวะภโู ต มะนุสโส วำ อัคคัปปัตโต ปะโมทะตีติ. คำแปล เมือ่ บคุ คลรูจ้ ักธรรมอันเลศิ เลอ่ื มใสแล้วโดยความเป็นของเลิศ เลื่อมใสแล้ว ในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็นทักษิไณยบุคคลอันเย่ียมยอด เล่ือมใสแล้วในพระธรรม อันเลิศ ซ่ึงเป็นธรรมปราศจากราคะ แลสงบระงบั เปน็ สุข เลื่อมใสแลว้ ในพระสงฆ์ผู้ เลิศ ผู้เป็นบุญเขตอย่างยอด ถวายทานในท่านผู้เลิศ บุญท่ีเลิศย่อมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติคุณ สุขะ แลพละที่เลิศก็ย่อมเจริญ ผู้มีปัญญาต้งั ม่ันในธรรมอัน เลิศแล้ว ให้ทานแก่ท่านผู้เป็นบุญเขตอันเลิศ จะเป็นเทพดาหรือเป็นมนุษย์ก็ตาม ยอ่ มถึงความเปน็ ผูเ้ ลิศบนั เทงิ อยู่ ดงั นแี้ ล ฯ เทวตำทสิ สทักขณิ ำนุโมทนำคำถำ ใช้สวดอนุโมทนาในงานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ เปิดบริษัทใหม่ เปิดสถานท่ีใหม่ เพื่อแสดงการให้ส่วนกุศลแก่เหล่าเทพารักษ์ และขอให้เทพารักษ์เหล่าน้ันช่วย ปกป้องค้มุ ครอง บทสวด ยสั ๎มงิ ปะเทเส กัปเปติ วำสงั ปัณฑติ ะชำตโิ ย, สลี ะวนั เตตถะ โภเชต๎วำ สัญญะเต พรัหม๎ ะจำรโิ น. ยำ ตัตถะ เทวะตำ อำสงุ ตำสงั ทักขณิ ะมำทิเส, ตำ ปชู ติ ำ ปชู ะยนั ติ มำนติ ำ มำนะยนั ติ นัง. ตะโต นงั อะนกุ ัมปันติ มำตำ ปุตตงั วะ โอระสงั , เทวะตำนกุ มั ปโิ ต โปโส สะทำ ภทั ๎รำนิ ปสั สะติ. ๒๘๐ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

คำแปล บัณฑิตชาติอาศัยอยู่ในประเทศใด พึงเชิญเหล่าท่านผู้มีศีล สารวมระวัง ประพฤติพรหมจรรย์เลี้ยงดูกนั ในท่นี ้ัน เทพดาเหล่าใดอยู่ในทนี่ ้ัน ควรอุทศิ ทกั ษณิ า ทานเพ่ือเทพดาเหล่าน้ันด้วย เทพดาที่เขาได้บูชาแล้วยอ่ มบูชาเขาบ้าง ท่ีเขาได้นับ ถือแล้วย่อมนับถือเขาบ้าง แต่น้ัน เทพดาทั้งหลายย่อมอนุเคราะห์เขา ประหนึ่ง มารดาอนุเคราะห์บุตรผู้เป็นโอรส ฉะน้ัน บุรุษอันเทพดาอนุเคราะห์แล้ว ย่อม ประสพความเจรญิ ในกาลทกุ เมอื่ ฯ เทวตำภิสัมมนั ตนคำถำ คาถาบทนี้ ใช้สวดอนุโมทนาในงานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ เปิดบริษัทใหม่ เช่นเดียวกันกับบทเทวตำทิสสทักขิณำนุโมทนำคำถำ โดยพระสงฆ์จะสวด ต่อเน่ืองกัน เพื่อเป็นการให้ส่วนกุศลแก่เหล่าเทพารักษ์ และขอให้เทพารักษ์ช่วย ปกป้องคุ้มครองดงั กล่าวแล้ว บทสวด ยำนธี ะ ภูตำนิ สะมำคะตำนิ, ภมุ มำนิ วำ ยำนิ วะ อนั ตะลกิ เข, สพั เพ วะ ภตู ำ สมุ ะนำ ภะวันตุ, อะโถปิ สกั กจั จะ สณุ ันตุ ภำสิตัง. สภุ ำสติ งั กญิ จิปิ โว ภะเณมุ, ปุญเญ สะตุปปำทะกะรงั อะปำปัง, ธัมมูปะเทสัง อะนุกำระกำนงั , ตัส๎มำ หิ ภตู ำนิ สะเมนตุ สัพเพ. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๘๑

เมตตัง กะโรถะ มำนุสิยำ ปะชำยะ, ภเู ตสุ พำฬ๎หงั กะตะภัตตกิ ำยะ, ทวิ ำ จะ รัตโต จะ หะรนั ติ เย พะลงิ , ปจั โจปะกำรงั อะภกิ งั ขะมำนำ. เต โข มะนสุ สำ ตะนุกำนภุ ำวำ, ภูตำ วเิ สเสนะ มะหิทธกิ ำ จะ, อะทสิ สะมำนำ มะนุเชหิ ญำตำ, ตสั ๎มำ หิ เน รกั ขะถะ อปั ปะมตั ตำ. คำแปล ภูตเหล่าใดดารงอยู่บนพ้ืนดินก็ดี ภูตเหล่าใดสถิตอยู่ในอากาศก็ดี ซ่ึงมา ประชมุ กนั แลว้ ณ สถานท่นี ้ี ขอหมูภ่ ตู เหลา่ น้ันทงั้ หมดแล จงเป็นผูม้ จี ติ โสมนสั อน่ึง จงฟังภาษิตโดยเคารพ เราจะกล่าวสุภาษิตแม้บางประการแก่ท่านท้ังหลาย ซ่ึงไม่ เป็นบาป เป็นเคร่ืองเตือนสติในการทาบุญ เป็นอุบายเคร่ืองแนะนาอันชอบธรรม ของบุคคลผู้กระทาตามท้ังหลาย เพราะเหตุนั้นแล ขอภูตท้ังปวงจงฟังเถิด ท่าน ท้งั หลายจงกระทาไมตรีจิตในหมสู่ ตั ว์มนุษยชาติ ผู้ทาความภกั ดีม่ันในหมู่ภตู มนษุ ย์ ท้ังหลายเหล่าใด ย่อมนากระทาพลีกรรมในกลางวันและกลางคืน มุ่งหวังอยู่ซึ่ง ความอุดหนุนตอบแทน มนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้นแล เป็นผู้มีอานุภาพน้อย ส่วนภูต ทั้งหลายเป็นผู้มีฤทธิ์มากโดยแปลกกัน เป็นพวกอทสิ สมานกาย (ไม่ปรากฏกาย) ท่ี มนษุ ย์ท้ังหลายร้จู ัก เพราะเหตนุ ้นั แล ทา่ นทง้ั หลายจงเป็นผูไ้ ม่ประมาทรกั ษามนษุ ย์ เหลา่ นน้ั เถิด ฯ ๒๘๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

วิหำรทำนคำถำ คาถาบทนี้ พระสงฆ์ใช้อนุโมทนาในการถวายเสนาสนะ เช่น ศาลา กุฏิ วหิ าร เป็นตน้ บทสวด สีตัง อุณหัง ปะฏิหนั ติ ตะโต วำฬะมคิ ำนิ จะ, สิริงสะเป จะ มะกะเส สสิ ิเร จำปิ วุฏฐโิ ย. ตะโต วำตำตะโป โฆโร สญั ชำโต ปะฏิหญั ญะติ, เลณัตถญั จะ สขุ ัตถญั จะ ฌำยติ งุ จะ วิปสั สติ ุง. วหิ ำระทำนัง สังฆัสสะ อัคคงั พทุ เธหิ วณั ณิตงั , ตัส๎มำ หิ ปณั ฑโิ ต โปโส สัมปสั สัง อัตถะมตั ตะโน. วิหำเร กำระเย รมั เม วำสะเยตถะ พะหสุ สเุ ต, เตสัง อนั นญั จะ ปำนัญจะ วัตถะเสนำสะนำนิ จะ. ทะเทยยะ อุชภุ เู ตสุ วปิ ปะสนั เนนะ เจตะสำ, เต ตสั สะ ธมั มงั เทเสนติ สพั พะทกุ ขำปะนูทะนงั , ยงั โส ธัมมะมธิ ญั ญำยะ ปะรินิพพำต๎ยะนำสะโวต.ิ คำแปล เสนาสนะท้ังหลายย่อมป้องกันความเย็น ความร้อน สัตว์ร้าย งู และยุงได้ ฝนท่ีต้ังขึ้นในสิสิระฤดู ลมและแดดอันกล้า เกิดขึ้นแล้วย่อมบรรเทาไป การถวาย วิหารแก่สงฆ์เพ่ือเร้นอยู่ เพ่ือความสุข เพื่อเพ่งพิจารณา และเพื่อเห็นแจ้ง พระพุทธเจา้ ทั้งหลายทรงสรรเสริญวา่ เป็นทานอนั เลิศ เพราะเหตุนั้นแล บุรุษบัณฑิตเมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน พึงสร้างวิหารอัน รน่ื รมยใ์ ห้ภกิ ษทุ ้ังหลายผู้เปน็ พหูสตู อยู่เถดิ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๒๘๓

อน่ึง พึงถวายข้าว น้า ผ้า และเสนาสนะแก่ท่านเหล่าน้ัน ด้วยน้าใจอัน เล่ือมใสในท่านผู้ซ่ือตรง ท่านรู้ธรรมอันใดในโลกน้ีแล้ว จะเป็นผู้ไม่มีอาสวะ ปรินพิ พาน ท่านยอ่ มแสดงธรรมนน้ั อนั เปน็ เครื่องบรรเทาทกุ ข์ท้งั ปวงแกเ่ ขาดังนี้ ฯ เกณยิ ำนุโมทนำคำถำ คาถาบทนี้ เป็นบาลคี าสวดที่ประธานสงฆ์ใช้สวดผ้เู ดียว ในคราวรับผา้ กฐิน เป็นคาถาเชิญชวนสดับคาถาอานิสงฆ์การถวายทานตามกาลท่ีพระสงฆ์จะสวด ตอ่ ไป บทสวด อคั คหิ ตุ ตงั มขุ ำ ยญั ญำ สำวติ ติ ฉนั ทะโส มขุ งั , รำชำ มขุ งั มะนุสสำนงั นะทีนัง สำคะโร มขุ งั . นักขตั ตำนัง มขุ ัง จันโท อำทิจโจ ตะปะตงั มุขงั , ปญุ ญะมำกังขะมำนำนงั สงั โฆ เว ยะชะตงั มขุ งั . ภะณิสสำมะ มะยัง คำถำ กำละทำนัปปะทีปิกำ, เอตำ สณุ ันตุ สกั กจั จงั ทำยะกำ ปญุ ญะกำมโิ น. คำแปล ยัญท้ังหลายมีการบูชาไฟเป็นหัวหน้า สาวิตติฉันท์เป็นประมุขแห่ง ฉันทศาสตร์ พระมหาราชเป็นประมุขแห่งมนุษย์นิกร สมุทรสาครเป็นประมุขแห่ง แม่น้าทั้งปวง ดวงจันทร์เป็นประมุขแห่งดาวนักษัตรฤกษ์ ดวงอาทิตย์เป็นประมุข แห่งของที่มีแสงร้อนทั้งหลาย ฉันใด หมู่สงฆ์แล ย่อมเปน็ ประมุขแห่งทายกทง้ั หลาย ผู้หวังบุญบาเพ็ญทาน ฉันนั้น เราจักกล่าวคาถาแสดงอานิสงส์การให้ตามกาล ขอ ทายกท้งั หลายผู้ต้องการบญุ จงตง้ั ใจฟังคาถาเหลา่ นีเ้ ถดิ ฯ ๒๘๔ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

กำลทำนสตุ ตคำถำ เป็นคาถาท่ีพระสงฆ์ใช้สวดอนุโมทนาในงานถวายทานตามกาล เช่น คราว ถวายผา้ กฐนิ ผ้าอาบน้าฝน เป็นตน้ บทสวด กำเล ทะทันติ สะปัญญำ วะทัญญู วตี ะมจั ฉะรำ, กำเลนะ ทินนัง อะรเิ ยสุ อุชุภูเตสุ ตำทสิ ุ. วิปปะสันนะมะนำ ตสั สะ วิปุลำ โหติ ทักขณิ ำ, เย ตตั ถะ อะนโุ มทนั ติ เวยยำวัจจงั กะโรนติ วำ. นะ เตนะ ทักขิณำ โอนำ เตปิ ปญุ ญสั สะ ภำคิโน, ตสั ๎มำ ทะเท อัปปะฏิวำนะจติ โต ยตั ถะ ทินนงั มะหัปผะลัง, ปญุ ญำนิ ปะระโลกสั ๎มิง ปะตฏิ ฐำ โหนติ ปำณินนั ต.ิ คำแปล ทายกทั้งหลายเหล่าใด เป็นผู้มีปัญญา มีปรกติรู้จักคาพูด ปราศจากความ ตระหนี่ มีใจเลื่อมใสแลว้ ในพระอริยะเจ้าทัง้ หลาย ซึ่งเป็นผู้ตรงคงท่ี บริจาคทานทา ให้เป็นของทีต่ นถวายโดยกาลนยิ มในกาลสมัย ทกั ษณิ าของทายกน้ัน เปน็ คณุ สมบัติ มีผลไพบูลย์ ชนท้ังหลายเหล่าใด อนุโมทนาหรือช่วยกระทาการขวนขวายในทาน นั้น ทักษิณาทานของเขามไิ ด้บกพร่องไปด้วยเหตุนั้น ชนทั้งหลายแม้เหล่าน้ัน ย่อม เป็นผู้มีส่วนแห่งบุญน้ันดว้ ย เหตุนั้น ทายกควรเป็นผู้มีจิตไม่ท้อถอย ใหใ้ นท่ีใดมีผล มากควรใหใ้ นทน่ี น้ั บุญยอ่ มเป็นที่พ่งึ อาศยั ของสัตว์ท้ังหลายในโลกหน้า ฉะนี้ ฯ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๘๕

ตโิ รกฑุ ฑกณั ฑสุตตคำถำ (ย่อ) คาถาบทน้ี ใช้สวดอนุโทนาในงานที่เกี่ยวเน่ืองด้วยศพ หรือสังฆทานอุทิศ โดยมากมักยอ่ เอาตรง “อะยัญจะ โข” บทสวด อะทำสิ เม อะกำสิ เม ญำติ มิตตำ สะขำ จะ เม, เปตำนงั ทกั ขณิ ัง ทัชชำ ปพุ เพ กะตะมะนุสสะรัง. นะ หิ รณุ ณัง วำ โสโก วำ ยำ วญั ญำ ปะริเทวะนำ, นะตงั เปตำนะมัตถำยะ เอวงั ตฏิ ฐันติ ญำตะโย. อะยัญจะ โข ทักขณิ ำ ทินนำ สงั ฆัมหิ สุปะติฏฐิตำ, ทีฆะรัตตงั หิตำยัสสะ ฐำนะโส อปุ ะกปั ปะติ. โส ญำติธัมโม จะ อะยงั นิทสั สโิ ต, เปตำนะ ปชู ำ จะ กะตำ อฬุ ำรำ, พะลญั จะ ภิกขนู ะมะนปุ ปะทนิ นัง, ตมุ เหหิ ปุญญัง ปะสตุ งั อะนัปปะกันติ. คำแปล บุคคลเมื่อหวนระลึกถึงอุปการะอันท่านไดท้ าแกต่ นในกาลก่อนวา่ ผู้น้ีได้ให้ สิ่งนี้แก่เรา ผู้น้ีได้ทากิจน้ีของเรา ผู้น้ีเป็นญาติ เป็นมิตร เป็นเพ่ือนของเรา ดังนี้ ก็ ควรให้ทักษิณาทานเพื่อท่านผู้ล่วงลับไปแล้ว การร้องไห้ก็ดี การเศร้าโศกก็ดี หรือ การร่าไรราพันอย่างอ่ืนกด็ ี บุคคลไมค่ วรทาทีเดียว เพราะการร้องไห้เป็นต้นนั้น ไม่ เป็นประโยชนแ์ ก่ญาติท้งั หลายผ้ลู ่วงลับไปแลว้ ญาติท้ังหลายย่อมคงอยู่อย่างนั้น ก็ ทักษิณานุปทานน้ีแลอันท่านให้แล้ว ประดิษฐานไว้ดีแล้วในสงฆ์ ย่อมสาเร็จ ประโยชน์เกื้อกลู แก่ทา่ นผู้ล่วงลับไปแล้วนนั้ ตลอดกาลนานตามฐานะ ญาติธรรมนี้ น้ันท่านได้แสดงให้ปรากฏแล้ว และบูชาอันยิ่งท่านก็ได้ทาแล้วแก่ญาติท้ังหลายผู้ ๒๘๖ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

ล่วงลับไปแล้ว กาลังแห่งภิกษุท้ังหลาย ช่ือว่าท่านได้เพ่ิมให้แล้วด้วย บุญมิใช่น้อย ท่านได้ขวนขวายแลว้ ดงั น้แี ล ฯ สพั พมังคลคำถำ เป็นคาถาทพ่ี ระสงฆ์ใชส้ วดเป็นลาดับท้ายสุด เม่อื มีการอนโุ มทนาให้พร โดย การสวดอ้างเอาอานุภาพของพระรัตนตรยั ใหช้ ่วยค้มุ ครอง ให้เทวดาปกปักรักษา มี ความสขุ สวัสดี มีมงคล บทสวด ภะวะตุ สพั พะมังคะลัง รกั ขันตุ สัพพะเทวะตำ, สัพพะพทุ ธำนภุ ำเวนะ สะทำ โสตถี ภะวนั ตุ เต. ภะวะตุ สพั พะมังคะลัง รักขนั ตุ สพั พะเทวะตำ, สัพพะธมั มำนภุ ำเวนะ สะทำ โสตถี ภะวนั ตุ เต. ภะวะตุ สัพพะ มังคะลงั รักขนั ตุ สพั พะ เทวะ ตำ, สพั พะ สงั ฆำนภุ ำเวนะ สะทำ โสตถี ภะวนั ตุ เต. คำแปล ขอสรรพมงคลจงมแี ก่ทา่ น ขอเทวดาทั้งปวงจงรกั ษาท่าน ด้วยอานุภาพแห่ง พระพุทธเจ้าทั้งปวง ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเทวดาท้งั ปวงจงรกั ษาทา่ น ด้วยอานุภาพแหง่ พระธรรมท้ังปวง ขอความสวัสดีจง มีแก่ท่านทุกเม่ือ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเทวดาท้ังปวงจงรักษาท่าน ด้วย อานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง ขอความสวสั ดีจงมแี กท่ ่านทกุ เม่ือ ฯ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๒๘๗

กำรสมำทำนรักษำศีล ๕ คำอำรำธนำศีล ๕ มะยัง ภันเต ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สลี ำนิ ยำจำมะ. ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปญั จะ สีลำนิ ยำจำมะ. ตะติยัมปิ มะยงั ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปญั จะ สีลำนิ ยำจำมะ. คำอำรำธนำศีล ๕ อกี แบบหน่ึง มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถำยะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลำนิ ยำจำมะ. ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถำยะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลำนิ ยำจำมะ. ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถำยะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลำนิ ยำจำมะ. คำสมำทำนศีล ๕ นมสั กำร นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มำสมั พทุ ธสั สะ. (๓ หน) สรณคมน์ พทุ ธัง สะระณงั คัจฉำมิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉำมิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉำมิ. ๒๘๘ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

ทุติยมั ปิ พุทธงั สะระณัง คัจฉำมิ ทตุ ยิ มั ปิ ธมั มัง สะระณัง คจั ฉำมิ ทตุ ิยมั ปิ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉำมิ. ตะตยิ มั ปิ พุทธงั สะระณัง คจั ฉำมิ ตะติยมั ปิ ธัมมัง สะระณงั คจั ฉำมิ ตะติยมั ปิ สังฆัง สะระณงั คจั ฉำมิ. สกิ ขำบท ปำณำตปิ ำตำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทยิ ำมิ อะทนิ นำทำนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำมิ กำเมสุ มจิ ฉำจำรำ เวระมะณี สิกขำปะทัง สะมำทยิ ำมิ มุสำวำทำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทิยำมิ สุรำเมระยะมัชชะปะมำทฏั ฐำนำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทิยำมิ อิมำนิ ปัญจะ สิกขำปะทำนิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสมั ปะทำ, สเี ลน นพิ พตุ ิง ยนั ต,ิ ตัส๎มำ สีลัง วิโสธะเย. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๒๘๙

กำรสมำทำนรกั ษำศลี ๘ คำอำรำธนำศีล ๘ มะยงั ภันเต ตสิ ะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลำนิ ยำจำมะ. ทตุ ยิ มั ปิ มะยงั ภนั เต ตสิ ะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลำนิ ยำจำมะ. ตะตยิ ัมปิ มะยัง ภนั เต ติสะระเณนะ สะหะ อฏั ฐะ สีลำนิ ยำจำมะ. คำสมำทำนศลี ๘ นมัสกำร นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มำสัมพทุ ธัสสะ. (๓ หน) สรณคมน์ พทุ ธัง สะระณงั คัจฉำมิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉำมิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉำมิ. ทตุ ิยัมปิ พุทธงั สะระณัง คัจฉำมิ ทุติยมั ปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ ทตุ ยิ ัมปิ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉำมิ. ตะตยิ มั ปิ พุทธัง สะระณงั คัจฉำมิ ตะติยมั ปิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉำมิ ตะติยมั ปิ สังฆัง สะระณัง คจั ฉำมิ. ๒๙๐ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

สกิ ขำบท ปำณำตปิ ำตำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำมิ. อะทนิ นำทำนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ อะพร๎ ัหม๎ ะจะริยำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ มสุ ำวำทำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ สุรำเมระยะมัชชะปะมำทฏั ฐำนำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ วกิ ำละโภชะนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำมิ. นัจจะคีตะวำทิตะวิสูกะทัสสะนะ มำลำคันธะวิเลปะนะ- ธำระณะมัณฑะนะวภิ สู ะนัฏฐำนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ อจุ จำสะยะนะมะหำสะยะนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ อิมำนิ อัฏฐะ สิกขำปะทำนิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสมั ปะทำ, สเี ลน นิพพตุ ิง ยันติ, ตสั ๎มำ สลี ัง วโิ สธะเย. หรอื อิมำนิ อัฏฐะ สิกขำปะทำนิ สะมำทยิ ำม.ิ อิมำนิ อัฏฐะ สกิ ขำปะทำนิ สะมำทยิ ำมิ. อมิ ำนิ อฏั ฐะ สกิ ขำปะทำนิ สะมำทยิ ำมิ. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๙๑

กำรสมำทำนรักษำอโุ บสถศลี คำประกำศองคอ์ โุ บสถ อัชชะ โภนโต ปักขัสสะ อัฏฐะมีทิวะโส (ปัณณะระสีทิวะโส, จาตุททะสีทวิ ะโส) เอวะรูโป โข โภนโต ทิวะโส, พุทเธนะ ภะคะวะตำ ปัญญัตตัสสะ ธัมมัสสะวะนัสสะ เจวะ ตะทัตถำยะ อุปำสะกะ- อุปำสกิ ำนัง อโุ ปสะถสั สะ จะ กำโล โหติ, หนั ทะ มะยงั โภนโต สัพเพ อิธะ สะมำคะตำ ตัสสะ ภะคะวะโต ธัมมำนุธัมมะปะฏิปัตติยำ ปชู ะนตั ถำยะ, อิมัญจะ รัตติง อมิ ัญจะ ทิวะสัง, อฏั ฐงั คะสะมันนำคะตัง อโุ ปสะถงั อุปะวะสิสสำมำติ, กำละปะริจเฉทัง กัต๎วำ ตัง ตัง เวระมะณิง อำรัมมะณัง กะริต๎วำ อำวิกขิตตะจิตตำ หุต๎วำ สักกัจจัง อุโปสะถัง สะมำทิเยยยำมะ, อีทสิ ัง หิ อโุ ปสะถงั สัมปัตตำนัง อัม๎หำกัง ชีวติ ัง มำ นริ ตั ถะกัง โหตุ. คำแปล ขอประกาศเรม่ิ เร่อื งความท่ีจะสมาทานรกั ษาอุโบสถ อนั พร้อมไปด้วยองค์ ๘ ประการ ให้สาธชุ นทไี่ ด้ต้ังจิตสมาทานทราบทั่วกนั กอ่ นแต่สมาทาน ณ บดั นี้ ด้วยวันน้ีเป็นวนั อัฏฐะมี ดิถีท่ีแปด แห่งปักษ์มาถึงแล้ว (ถ้าเป็นวันพระ ๑๕ ค่า ว่า “วันปัณณะระสี ดิถีท่ีสิบห้ำ”, วันพระ ๑๔ ค่า วา่ “วันจำตทุ ทะสี ดถิ ที ี่สิบสี่”แหง่ ปกั ษม์ าถงึ แล้ว) ก็แหละวันเช่นน้ี เป็นกาลที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงบญั ญัติแต่งตั้งไว้ ให้ประชุมกันฟังธรรม และเปน็ กาลที่จะรกั ษาอุโบสถของอบุ าสกอุบาสิกาท้ังหลาย เพือ่ ประโยชน์แกก่ ารฟงั ธรรมนน้ั ดว้ ย ๒๙๒ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

เชญิ เถดิ เราทัง้ หลายท้ังปวง ทไ่ี ด้มาประชุมพรอ้ มกัน ณ ท่นี ี้ พงึ กาหนดกาลว่า จะรักษาอุโบสถตลอดวันหน่ึงกับคืนหน่ึงน้ี แล้วพึงทาความเว้นจากโทษนั้น ๆ ให้ เปน็ อารมณ์ คือ - เวน้ จากฆ่าสัตว์ ๑ - เว้นจากการถอื เอาสิ่งของ ที่เจา้ ของเขาไม่ให้ ๑ - เว้นจากประพฤติกรรมท่เี ปน็ ขา้ ศกึ แกพ่ รหมจรรย์ ๑ - เวน้ จากเจรจาคาเท็จลอ่ ลวงผู้อ่ืน ๑ - เวน้ จากดืม่ สรุ าเมรยั อนั เป็นทต่ี ัง้ แห่งความประมาท ๑ - เว้นจากบริโภคอาหาร ต้ังแต่เวลาพระอาทิตย์เท่ยี งแล้ว ไปจนถึงเวลาอรุณ ข้นึ มาใหม่ ๑ - เว้นจากฟ้อนราขับร้องและประโคมเคร่ืองดนตรีต่าง ๆ แต่บรรดาท่ีเป็น ข้าศึกแก่บุญกุศลท้ังสิ้น และทัดทรงประดับตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอม เคร่ืองประดับเครื่องทาเครื่องย้อม ผัดผิวทากายให้วิจิตรงดงามต่าง ๆ อันเป็นเหตุ ทต่ี ้ังแหง่ ความกาหนดั ยนิ ดี ๑ - เว้นจากน่ังนอนเหนือเตียง ตั่ง ม้า ท่ีมีเท้าสูงเกินประมาณ และท่ีนั่งที่นอน ใหญ่ ภายในมีนุน่ และสาลี และเคร่อื งปลู าดที่วิจติ รด้วยเงินและทองต่าง ๆ ๑ อย่าให้มีจิตฟุ้งซ่านส่งไปในท่ีอ่ืน พึงสมาทานเอาองค์อุโบสถท้ัง ๘ ประการ โดยเคารพ เพ่ือจะบูชาสมเด็จพระผู้มีพระภาคพระพทุ ธเจา้ นน้ั ด้วยธรรมมานุธรรม ปฏิบัติ อนึ่ง ชีวิตของเราทั้งหลายที่ได้เป็นอยู่รอดมาถึงวันอุโบสถเช่นน้ี จงอย่าได้ ล่วงไปเสยี เปลา่ ปราศจากประโยชนเ์ ลย ฯ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๙๓

คำอำรำธนำอุโบสถศีล มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนำคะตัง, อุโปสะถัง ยำจำมะ. ทตุ ิยมั ปิ มะยงั ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนำคะตัง, อโุ ปสะถงั ยำจำมะ. ตะตยิ มั ปิ มะยัง ภนั เต, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, อฏั ฐังคะสะมันนำคะตงั , อุโปสะถงั ยำจำมะ. คำสมำทำนอุโบสถศีล นมสั กำร นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มำสมั พทุ ธัสสะ. (๓ หน) สรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉำมิ ธัมมงั สะระณัง คจั ฉำมิ สังฆงั สะระณงั คัจฉำมิ. ทตุ ิยัมปิ พทุ ธงั สะระณัง คัจฉำมิ ทตุ ิยัมปิ ธมั มงั สะระณัง คัจฉำมิ ทตุ ิยมั ปิ สังฆงั สะระณงั คัจฉำมิ. ตะตยิ มั ปิ พทุ ธัง สะระณัง คัจฉำมิ ตะตยิ มั ปิ ธัมมงั สะระณงั คัจฉำมิ ตะตยิ มั ปิ สงั ฆงั สะระณัง คจั ฉำมิ. ๒๙๔ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

สกิ ขำบท ปำณำตปิ ำตำ เวระมะณี สิกขำปะทัง สะมำทิยำมิ. อะทนิ นำทำนำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทยิ ำมิ. อะพ๎รัหม๎ ะจะรยิ ำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ มสุ ำวำทำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทิยำมิ. สุรำเมระยะมชั ชะปะมำทฏั ฐำนำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทิยำม.ิ วิกำละโภชะนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ นัจจะคีตะวำทิตะวิสูกะทัสสะนะ มำลำคันธะวิเลปะนะ- ธำระณะมัณฑะนะวภิ ูสะนัฏฐำนำ เวระมะณี สกิ ขำปะทงั สะมำทิยำมิ. อุจจำสะยะนะมะหำสะยะนำ เวระมะณี สิกขำปะทงั สะมำทยิ ำม.ิ (พระนา) อิมัง อฏั ฐงั คะสะมนั นำคะตงั , พุทธะปัญญตั ตงั อุโปสะถัง, อิมญั จะ รัตติง อิมญั จะ ทวิ ะสงั , สมั มะเทวะ อะภริ กั ขติ งุ สะมำทยิ ำมิ. อิมำนิ อัฏฐะ สิกขำปะทำนิ, อัชเชกัง รัตตินทิวัง อุโปสะถะ- วะเสนะ สำธุกัง รักขิตัพพำนิ. (ผู้สมาทานรับว่า อำมะ ภันเต) สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทำ, สีเลน นิพพุติง ยันติ, ตัส๎มำ สีลัง วิโสธะเย. คำลำอโุ บสถศลี อิมัง อัฏฐังคะสะมนั นำคะตัง พทุ ธะปญั ญตั ตัง อโุ ปสะถัง นกิ ขิปำม.ิ ข้าพเจ้าขอเก็บอุโบสถศีล ท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้แล้ว พร้อม ดว้ ยองค์ ๘ ประการน้ี. วัดปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๙๕

คำอำรำธนำพระปริตร วปิ ัตตปิ ะฏิพำหำยะ สพั พะสัมปตั ติสทิ ธยิ ำ สพั พะทุกขะวินำสำยะ ปะริตตงั พ๎รูถะ มังคะลงั . วิปตั ติปะฏพิ ำหำยะ สัพพะสัมปัตติสทิ ธยิ ำ สัพพะภะยะวินำสำยะ ปะริตตงั พ๎รถู ะ มังคะลัง. วปิ ัตตปิ ะฏพิ ำหำยะ สัพพะสัมปตั ติสิทธยิ ำ สพั พะโรคะวนิ ำสำยะ ปะรติ ตงั พ๎รูถะ มังคะลงั . คำแปล ขอพระสงฆ์ท้ังหลาย จงสวดพระปริตรอันเป็นมงคลเพื่อป้องกันความวิบัติ เพื่อความสาเร็จในสมบัติทั้งปวง และเพื่อใหท้ ุกข์ท้ังปวงพินาศไป เพื่อให้ภัยท้ังปวง พินาศไป เพอ่ื ให้โรคทัง้ ปวงพนิ าศไป ฯ คำอำรำธนำธรรม คัมภรี พ์ ทุ ธวงศ์ อรรถกถา มธรุ ัตถวิลาสินี พ๎รหั ๎มำ จะ โลกำธิปะติ สะหมั ปะติ กัตอญั ชะลี อนั ธิวะรัง อะยำจะถะ สนั ตีธะ สัตตำปปะระชกั ขะชำตกิ ำ เทเสตุ ธัมมงั อะนกุ ัมปมิ งั ปะชงั . คำแปล ท้าวสหัมบดีพรหมผู้เป็นอธิบดีของโลก ได้ประนมพระหัตถ์นมัสการกราบ ทูลวิงวอนสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ประเสริฐว่า สัตว์ทั้งหลายท่ีมีธุลีคือกิเลสใน ๒๙๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา

ดวงตาเบาบางยังมีอยู่ในโลกนี้ ขอพระองค์จงแสดงพระธรรม ทรงอนุเคราะห์หมู่ สตั วน์ เี้ ถดิ ฯ คำสำธกุ ำรเวลำจบพระธรรมเทศนำ สำหรับอุบำกสกว่ำ อะหงั พทุ ธัญจะ ธมั มัญจะ สังฆัญจะ สะระณงั คะโต. อปุ ำสะกัตตงั เทเสสงิ ภกิ ขุสงั ฆัสสะ สมั มขุ ำ. เอตงั เม สะระณงั เขมัง เอตงั สะระณะมตุ ตะมงั . เอตัง สะระณะมำคมั มะ สพั พะทกุ ขำ ปะมจุ จะเย. ยะถำพะลงั จะเรยยำหัง สัมมำสมั พุทธะสำสะนงั . ทุกขะนสิ สะระณัสเสวะ ภำคี อสั สงั อะนำคะเต. (หมอบลงว่า) กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ, พทุ เธ กกุ มั มัง ปะกะตงั มะยำ ยงั , พุทโธ ปะฏิคคณั ๎หะตุ อจั จะยันตงั , กำลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ พุทเธ. กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ, ธมั เม กุกมั มัง ปะกะตงั มะยำ ยัง, ธมั โม ปะฏคิ คณั ๎หะตุ อจั จะยันตงั , กำลนั ตะเร สงั วะรติ งุ วะ ธมั เม. กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ, สงั เฆ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยำ ยงั , วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๙๗

สังโฆ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยนั ตงั , กำลันตะเร สงั วะริตงุ วะ สังเฆ. สำหรบั อุบำสิกำว่ำ อะหัง พุทธญั จะ ธมั มัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะตำ. อุปำสกิ ัตตัง เทเสสงิ ภกิ ขุสังฆัสสะ สมั มุขำ. เอตัง เม สะระณงั เขมัง เอตงั สะระณะมตุ ตะมงั . เอตงั สะระณะมำคมั มะ สพั พะทกุ ขำ ปะมุจจะเย. ยะถำพะลัง จะเรยยำหัง สมั มำสัมพุทธะสำสะนัง. ทุกขะนิสสะระณสั เสวะ ภำคนิ สิ สงั อะนำคะเต. (หมอบลงวา่ ) กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ, พุทเธ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยำ ยงั , พทุ โธ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อจั จะยันตงั , กำลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ พทุ เธ. กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ, ธมั เม กุกมั มงั ปะกะตงั มะยำ ยงั , ธมั โม ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตงั , กำลนั ตะเร สงั วะรติ งุ วะ ธัมเม. กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ, สงั เฆ กุกมั มงั ปะกะตัง มะยำ ยงั , สังโฆ ปะฏิคคณั ๎หะตุ อจั จะยันตงั , ๒๙๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา

กำลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ สงั เฆ. คำแปล ขา้ พเจ้าถึงแลว้ , ซ่ึงพระพุทธเจ้า, พระธรรมเจ้า, พระสงฆเจา้ , วา่ เปน็ ท่ีพึ่ง ท่ี ระลึกถึง. ข้าพเจ้าขอแสดงตน, ว่าเป็นอุบาสก (หญิงสวด อุบาสิกา), ในที่จาเพาะ หน้าพระภิกษุสงฆ์. พระรัตนตรัยนี้, เปน็ ท่ีพ่ึงของข้าพเจ้าอันเกษม, พระรัตนตรัยนี้, เป็นท่ีพึ่งอันสูงสุด. เพราะอาศัยพระรัตนตรัยนี้, เป็นท่ีพึ่ง, ข้าพเจ้าพึงพ้นทุกข์ท้ัง ปวง. ข้าพเจ้าจักประพฤติ, ซ่ึงพระธรรมคาสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, โดย สมควรแก่กาลัง. ขอข้าพเจ้าพึงมีส่วนแห่งพระนิพพาน, อันเป็นที่ยกตนออกจาก ทกุ ข์, ในอนาคตกาล, เบอ้ื งหน้านเี้ ทอญ. “ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้าได้ กระทาแล้วในพระพุทธเจา้ ขอพระพทุ ธเจา้ จงทรงงดซงึ่ โทษล่วงเกนิ อันนัน้ เพื่อการ สารวมระวังในพระพทุ ธเจา้ ในกาลตอ่ ไป” “ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดท่ีข้าพเจ้าได้ กระทาแล้วในพระธรรม ขอพระธรรมจงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพ่ือการสารวม ระวังในพระธรรม ในกาลต่อไป” “ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดท่ีข้าพเจ้าได้ กระทาแล้วในพระสงฆ์ ขอพระสงฆจ์ งงดซ่ึงโทษล่วงเกินอนั นนั้ เพ่อื การสารวมระวัง ในพระสงฆ์ ในกาลต่อไป” ฯ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๒๙๙

คำขอขมำโทษ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสมั พทุ ธัสสะ. (๓ หน) ขอขมาพระรตั นตรัย วา่ ระตะนัตตะเย ปะมำเทนะ, ท๎วำระตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะรำธัง ขะมะตุ โน ภันเต. (๓ จบ) ขอขมาพระเถระวา่ เถเร ปะมำเทนะ ท๎วำระตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะรำธัง ขะมะถะ เม ภนั เต. (๓ จบ) ขอขมาอาจารย์ว่า อำจะริเย ปะมำเทนะ, ท๎วำระตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะรำธัง, ขะมะตุ โน ภันเต. (๓ จบ) คำลำพระสงฆ์กลบั บ้ำน หันทะทำนิ มะยัง ภันเต อำปุจฉำมะ พะหุกิจจำ มะยัง พะหุ- กะระณยี ำ. เม่ือพระสงฆ์ผู้รับลากล่าวคาว่า “ยัสสะทำนิ ตุม๎เห กำลัง มญั ญะถะ.” ผลู้ าพงึ รับพรอ้ มกนั วา่ “สำธุ ภนั เต.” แลว้ กราบ ๓ ครงั้ . ๓๐๐ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา