ต้นสวดมนต์ บทชมุ นุมเทวดำ บทชุมนุมเทวดา เป็นคาถาท่ีใช้สวดเชิญเทวดามาประชุมฟังพระปริตร หรือ ฟงั พระพุทธมนต์ เป็นการแสดงน้าใจไมตรี หวังให้เทวดามีความสุขปราศจากทุกข์ และขอใหเ้ ทวดาคุ้มครองให้มนุษย์พน้ ภัย เหล่าเทวดาทั้งหลายน้ัน มีปรกติชอบฟัง ธรรม ดังท่ีพระพุทธองค์เสด็จไปโปรดพุทธมารดาท่ีสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีเทวดาใน หมนื่ จกั รวาลมานง่ั ฟงั ธรรมของพระพุทธองค์ แมใ้ นวันธรรมสวนะ (วันพระ) บทสวด สะรัชชัง สะเสนัง สะพนั ธงุ นะรนิ ทงั , ปะริตตำนุภำโว สะทำ รกั ขะตตู ิ. ผะริตว๎ ำนะ เมตตงั สะเมตตำ ภะทนั ตำ, อะวกิ ขติ ตะจิตตำ ปะรติ ตงั ภะณันตุ. สะมันตำ จักกะวำเฬสุ อัต๎รำคจั ฉนั ตุ เทวะตำ, สทั ธัมมงั มนุ ริ ำชัสสะ สณุ ันตุ สคั คะโมกขะทัง. สัคเค กำเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมำเน, ทีเป รฏั เฐ จะ คำเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุม๎หิ เขตเต, ภุมมำ จำยันตุ เทวำ ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนำคำ, ติฏฐันตำ สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สำธะโว เม สุณนั ตุ, ธัมมสั สะวะนะกำโล อะยมั ภะทนั ตำ ธัมมสั สะวะนะกำโล อะยมั ภะทันตำ ธัมมัสสะวะนะกำโล อะยมั ภะทันตำ. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๕๑
คำแปล ท่านผู้เจริญท้ังหลาย ผู้มีเมตตา จงแผเ่ มตตาจิต ด้วยคิดว่า ขออานุภาพพระ ปริตร จงรักษาพระราชาผู้เป็นเจ้าแห่งนรชน พร้อมด้วยราชสมบัติ พร้อมด้วย ราชวงศ์ พร้อมด้วยเสนามาตย์ อย่ามีจิตฟุ้งซ่าน ตั้งใจสวดพระปริตร ขอเชิญเหล่า เทพเจ้าซ่ึงสถิตอยู่ในสวรรค์ชั้นกามภพก็ดี รูปภพก็ดี และภุมมเทวดา ซึ่งสถิตอยู่ใน วมิ านหรือยอดเขาและหุบผา ในอากาศก็ดี ในเกาะก็ดี ในแว่นแควน้ ก็ดี ในบ้านก็ดี ในต้นพฤกษาและป่าชฏั กด็ ี ในเรอื นก็ดี ในท่ีไรน่ าก็ดี เทพยดาท้งั หลาย ซึ่งสถติ ตาม ภาคพื้นดนิ รวมทั้งยกั ษ์ คนธรรพ์และพญานาคซึง่ สถิตอยู่ในน้า บนบก และที่อันไม่ ราบเรียบ ก็ดี ซ่ึงอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้ คาใดเป็นของพระ มนุ ีผปู้ ระเสรฐิ ท่านสาธุชนท้งั หลาย จงสดับคาขา้ พเจา้ นน้ั ดกู ่อน ทา่ นผ้เู จรญิ ทั้งหลาย กาลนเ้ี ปน็ กาลฟังธรรม ดูก่อน ทา่ นผู้เจรญิ ทง้ั หลาย กาลนีเ้ ป็นกาลฟงั ธรรม ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนีเ้ ป็นกาลฟังธรรม ฯ ๕๒ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ปพุ พภำคนมกำระ เป็นบทมหำนมัสกำร แสดงความนอบน้อมคุณของพระพุทธเจ้าท้ัง ๓ ประการ เป็นปฐมกิจแหง่ พุทธบริษัทก่อนประกอบกิจทั้งปวง จดั เป็นมหามนต์ของ ชาวพทุ ธ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสมั พทุ ธัสสะ. นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสมั พุทธัสสะ. นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสมั พทุ ธัสสะ. คำแปล ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน ซ่ึงเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรชู้ อบไดโ้ ดยพระองค์เอง ฯ (สามหน) สรณคมนปำฐะ บทไตรสรณคมน์ คอื บทแสดงกิรยิ าเปลง่ วาจา หรือนกึ ถือเอาพระรตั นตรัย เป็นที่พงึ่ เป็นบุพพกจิ แห่งชาวพทุ ธในการประกอบกจิ จดั เป็นยอดแห่งพระคาถาทั้ง ปวงเชน่ กัน พุทธัง สะระณัง คัจฉำมิ ธัมมงั สะระณงั คัจฉำมิ สังฆัง สะระณงั คัจฉำมิ. ทตุ ิยัมปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉำมิ ทตุ ิยมั ปิ ธมั มัง สะระณัง คัจฉำมิ ทตุ ิยมั ปิ สังฆัง สะระณัง คจั ฉำมิ. ตะตยิ มั ปิ พทุ ธัง สะระณงั คัจฉำมิ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๕๓
ตะตยิ มั ปิ ธมั มัง สะระณัง คจั ฉำมิ ตะตยิ มั ปิ สังฆัง สะระณงั คัจฉำมิ. คำแปล ขา้ พเจา้ ถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ ขา้ พเจ้าถือเอาพระธรรมเป็นสรณะ, ข้าพเจ้าถอื เอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ แม้ครั้งทส่ี อง ข้าพเจ้าถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ แม้คร้ังท่ีสอง ข้าพเจ้า ถือเอาพระธรรมเป็นสรณะ แมค้ รง้ั ทีส่ อง ขา้ พเจา้ ถือเอาพระสงฆเ์ ป็นสรณะ แม้ครงั้ ท่ีสาม ข้าพเจ้าถอื เอาพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ แมค้ รั้งทีส่ าม ข้าพเจ้า ถือเอาพระธรรม เป็นสรณะ แมค้ รั้งที่สาม ขา้ พเจ้าถือเอาพระสงฆ์ เป็นสรณะ ฯ สัจจกิรยิ ำคำถำ บทสัจจะกิริยาคาถา เปน็ คาถาแสดงการถือเอาพระรัตนตรัยเป็นท่ีพ่ึง แล้ว อา้ งเปน็ สจั จะวาจาใหเ้ กดิ ความสวสั ดี บทสวด นัตถิ เม สะระณงั อญั ญงั พทุ โธ เม สะระณงั วะรัง เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สพั พะทำ. นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทำ. นัตถิ เม สะระณัง อญั ญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทำ. ๕๔ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
คำแปล ที่พ่ึงอย่างอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของ ข้าพเจา้ ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดจี งมีแก่ขา้ พเจ้าทกุ เมอื่ ที่พึ่งอย่างอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นท่ีพึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยการกล่าวคาสตั ย์นี้ ขอความสวสั ดจี งมแี ก่ข้าพเจา้ ทุกเมื่อ ที่พึ่งอย่างอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นท่ีพึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ดว้ ยการกลา่ วคาสตั ย์น้ี ขอความสวสั ดีจงมแี ก่ขา้ พเจา้ ทุกเมอ่ื ฯ มหำกำรุณิกคำถำ เป็นคาถาแสดงการระลึกถึงพระกรุณาคุณอันยิ่งใหญ่ของพระพุทธเจ้า ที่ ทรงบาเพ็ญพระบารมี เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ แล้วอ้างเป็นสัจจะวาจา ทาลายอปุ สรรคท้งั ปวงใหพ้ นิ าศไป บทสวด มะหำกำรณุ ิโก นำโถ อัตถำยะ สพั พะปำณินัง, ปูเรตว๎ ำ ปำระมี สพั พำ ปัตโต สมั โพธิมตุ ตะมัง, เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ มำ โหนตุ สพั พปุ ัททะวำ. มะหำกำรณุ โิ ก นำโถ หิตำยะ สพั พะปำณินัง, ปเู รตว๎ ำ ปำระมี สพั พำ ปตั โต สัมโพธิมุตตะมงั , เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ มำ โหนตุ สพั พุปัททะวำ. มะหำกำรุณโิ ก นำโถ สุขำยะ สพั พะปำณินงั , ปูเรต๎วำ ปำระมี สัพพำ ปตั โต สมั โพธิมุตตะมัง, เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ มำ โหนตุ สัพพุปัททะวำ. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๕๕
คำแปล พระบรมโลกนาถ ประกอบแล้วด้วยพระกรุณาอันใหญ่ ยังบารมีท้ังสิ้นให้ เต็มแล้ว เพ่ือประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวง ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันอุดมแล้ว ด้วยการ กลา่ วคาสตั ย์นี้ ขอสรรพอุปัทวะทัง้ หลาย จงอยา่ ไดม้ ี ฯ พระบรมโลกนาถ ประกอบแล้วด้วยพระกรุณาอันใหญ่ ยังบารมีท้ังส้ินให้ เตม็ แลว้ เพ่ือความเกือ้ กลู แกส่ ัตวท์ ั้งปวง ได้บรรลสุ ัมโพธญิ าณอนั อุดมแล้ว ดว้ ยการ กล่าวคาสตั ย์น้ี ขอสรรพอปุ ทั วะทงั้ หลาย จงอยา่ ได้มี ฯ พระบรมโลกนาถ ประกอบแล้วด้วยพระกรุณาอันใหญ่ ยังบารมีท้ังสิ้นให้ เต็มแล้ว เพ่ือความสุขแก่สัตว์ท้ังปวง ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันอุดมแล้ว ด้วยการ กลา่ วคาสตั ย์นี้ ขอสรรพอุปทั วะท้งั หลาย จงอย่าไดม้ ี ฯ เขมำเขมสรณคมนปริทปี ิกำคำถำ เป็นบทแสดงความท่ีพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นท่ีพึ่งอันเกษมสูงสุด สามารถทาบุคคลให้พ้นทุกข์ภัยได้จริง ท่ีพ่ึงอย่างอื่น เช่น ภเู ขา ต้นไม้ เป็นต้น หาเป็นท่ีพึ่งอันเกษมไม่ ท้ังไม่สามารถทาให้พ้นทุกข์ภัยได้ มา ในพระสตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย ขุททกปาฐะ ธรรมบท บทสวด พะหงุ เว สะระณัง ยันติ ปัพพะตำนิ วะนำนิ จะ, อำรำมะรกุ ขะเจตย๎ ำนิ มะนสุ สำ ภะยะตชั ชิตำ, เนตงั โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมตุ ตะมงั , เนตัง สะระณะมำคมั มะ สัพพะทุกขำ ปะมุจจะติ, โย จะ พทุ ธญั จะ ธมั มญั จะ สงั ฆญั จะ สะระณัง คะโต จตั ตำริ อะรยิ ะสัจจำนิ สมั มัปปญั ญำยะ ปสั สะติ, ๕๖ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ทุกขงั ทกุ ขะสะมปุ ปำทัง ทุกขสั สะ จะ อะตกิ กะมัง, อะรยิ ญั จฏั ฐงั คกิ งั มคั คงั ทุกขูปะสะมะคำมินงั , เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตงั สะระณะมุตตะมัง, เอตงั สะระณะมำคัมมะ สัพพะทกุ ขำ ปะมุจจะตีติ. คำแปล มนุษย์เป็นอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแล้ว ก็ถือเอาภูเขาบ้าง ป่าไม้บ้าง อารามและรุกขเจดีย์บ้าง เป็นสรณะ น่ันมิใช่สรณะอันเกษมเลย นั่นมิใช่สรณะอัน สูงสุด เขาอาศัยสรณะนั้นแลว้ ย่อมไมพ่ น้ จากทกุ ขท์ ้ังปวงได้ ส่วนผใู้ ดถือเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะแล้ว เห็นอรยิ สัจคือ ความจริงอันประเสริฐ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือความเห็นทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์เสียได้ และหนทางมีองค์ ๘ อันประเสริฐ เครื่องถึงความระงับ ทกุ ข์ นัน่ แหละ เปน็ สรณะอนั เกษม น่นั เป็นสรณะอันสงู สุด เขาอาศยั สรณะนั้นแล้ว ย่อมพน้ จากทุกข์ทั้งปวงได้ ฯ ตริ ตนัปปณำมคำถำ บทนมัสการแสดงการนอบน้อมระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย อันเป็นที่ต้ัง แห่งความเล่ือมใส เป็นท่ีตั้งแห่งบุญ และการบูชาสูงสุด เป็นพระราชนิพนธ์ของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว บทสวด พทุ ธัง นะเม ระตะนะภูตะสะรีระจติ ตัง ธัมมงั นะเม ระตะนะภูตะวิสุทธสิ ำรัง, สังฆงั นะเม ระตะนะภูตะสสุ ีละทิฏฐงิ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๕๗
เอตัง นะเม ติระตะนัง ระตะนตั ตย๎ ะวห๎ ัง. สมั มำ สะโมสะรติ ะวัตถวุ เิ สสะภูตัง อัญโญญญะยุตตะคณุ ะโยคะวะสัปปะวัตตงั , อสั ม๎ ิง ตะยัมห๎ ิปิ ตะเถวะ ยะถำ ติทัณเฑ เอกงั วนิ ำ ตะทิตะเรสะมะสมั ภะเวนะ. โลเก กะทำจิ จะ จิเรนะ จะ ปำตุภตู ัง คัมภีระญำณะวสิ ะยัง อะติททุ ทะสตั ถัง, วิญญหู ิ ปัณฑิตะชะเนหิ วิชัญญะรูปัง โลกมั ห๎ ิ เกหิจิ กะถญั จุปะลพั ภะนียัง. เกสัญจิ สุฏฐุ วิทิตัง คณุ ะกำยะตำยะ นำเมหเิ ยวะ ชะนะตำยะ สวุ สิ สุตัมปิ, สมั ปัสสะตงั มะนะสิ สทุ ธะปสำทะฐำนงั ปุญญัตถกิ ำนะมะสะมุตตะมะปุญญะภมู ิง. ทกุ ขำ ปะมุจจะนะมุขัง สะระณัง คะตำนงั ปชู ำระเหสุ ปะระมัง อะภิปชู ะเนยยัง, นิพพำนะสัจฉกิ ริ ิยำยปุ ะนสิ สะยัตถัง สัมมำ กเิ ลสะมะละโสธะนะสิทธยิ ำ จะ. สำธหู ิ อัตถะกสุ ะเลหุปะเสวะนียัง ปำเณหิ จำปิ สะระณัง คะมะนยี ะเมวะ, ตสั ๎มำ หิ ตัง ตริ ะตะนงั สะระณัง คะตัม๎หะ รัตตินทวิ ัง ขะณะขะเณสุ นะมัสสะมำนำ. ปเู ชมะ จำปิ สะสะตัง สปุ ะสันนะจติ ตำ ๕๘ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ตัตถำนุปำรจิ ะริยำยะ สะทำ ระตำ จะ, ปญุ เญนะ ตตั ถะ สกุ ะเตนะ สขุ ี ภะเวมุ เตเชนะ ตัสสะ จะ สะทำปิ สวุ ัตถิ โหตุ. โย เจธะ ธมั มะวินะยัม๎หิ ปะมำณะภูโต โลกตุ ตะรำภิสะมะโย นิยะโต สุโพชฌัง ตัสโสปะนิสสะยะจะยำยะ อะยมั ปิ โหตุ วตั ถตุ ตะเย ปะรจิ ิโต สุปะสำทะกำโร. คำแปล ข้าพเจ้านมัสการพระพุทธเจ้า ผู้มีพระกายและจิตเป็นรัตนะ,ข้าพเจ้า นมัสการพระธรรม มีสาระคือความหมดจดวิเศษเป็นรัตนะ, ข้าพเจ้านมัสการ พระสงฆ์ผมู้ ีศีลและทิฏฐงิ ามเปน็ รัตนะ, ข้าพเจ้านมัสการ ๓ รตั นะนี้ อนั ชอื่ วา่ รตั นตรยั , เปน็ วตั ถุวเิ ศษสโมสรกันเป็น อนั ดี ท่ีเป็นไปด้วยสามารถ ประกอบด้วยคุณอันสมควรส่วนละอย่าง, รัตนตรัยแม้ น้ัน เป็นเหมือนไม้ ๓ อัน ไขว้ขัดกันอยู่, พรากออกเสียอันเดียวที่เหลืออยู่ก็ตั้งตรง อยู่ไม่ได้นานนัก, จะมีปรากฏในโลกสักคราว มีอรรถที่เห็นได้ยากยิ่ง, แต่เป็นวิสัย ของนักปราชญ์ ผมู้ ีปรีชาญาณลึกซงึ้ , เป็นส่ิงที่บัณฑิตชน ผู้รู้วิเศษจะพึงรู้แจ่มแจ้ง, ชาวโลกบางเหล่าท่ีเป็นสามัญจะพึงพบกระไรได้, บางพวกทเ่ี ป็นบณั ฑิตชาติ ทราบ ตระหนักแน่ โดยที่มีพระคุณเป็นก่ายกอง, แม้ปรากฏชัดแก่หมู่ชนก็แต่พระนาม, เป็นท่ีตั้งแห่งความเล่ือมใส อันหมดจดในใจของสาธุชนผู้เห็นถูก, เป็นภูมิภาคแห่ง บุญ อันอดุ มไมม่ ีท่ีเปรยี บ ของผูม้ ีความตอ้ งการบุญ, เปน็ ทางแห่งความพ้นทุกขข์ อง สาธุชนผู้ถึงสรณะ, เป็นอภิปูชนียะยอดเย่ียมในหมู่ปูชารหสถาน, เป็นประโยชน์ท่ี จาต้องอาศัยเพื่อทาพระนิพพานใหแ้ จ้ง, และเพื่อชาระมลทินกิเลสให้หมดจดสาเร็จ โดยชอบ, อันสาธุชนผู้ฉลาดในอรรถพึงสร้องเสพ, ทงั้ เปน็ ของที่เหล่าปาณชาติพึงถึง ว่าเป็นสรณะแทจ้ ริง, เพราะเหตนุ น้ั แล เราถึงพระรัตนตรัยน้ันเป็นสรณะ, นอบนอ้ ม วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๕๙
อยู่ทุกขณะ ทั้งกลางคืนและกลางวัน, ทั้งมีจิตสนุ ทรประสาทบชู าอยู่เสมอ, ยินดีใน การบาเรอพระรัตนตรยั นนั้ ทุกเมื่อ, ด้วยบุญทกี่ ่อสร้างดีแลว้ ในพระรตั นตรัยนน้ั , ขอ เราจงเปน็ ผมู้ ีสุข, และดว้ ยเดชแห่งพระรตั นตรัยนั้น, ขอความสวสั ดจี งมีทุกเมอื่ , กแ็ ล โลกุตตราภสิ มยั อันใด, เป็นความตรัสร้ชู อบ, ยืนยง, เป็นส่ิงซึ่งประสงค์ ในธรรมวินัยนี้, ความเล่อื มใสเป็นอนั ดี, แม้นท้ี ่ีเราได้สรา้ งสมไว้ใน ๓ วตั ถ,ุ จงเป็นไป เพื่อกอ่ สร้างอปุ นิสสัยแห่งโลกตุ ตราภสิ มัยนนั้ เทอญ ฯ ๖๐ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
บทเจรญิ พระพทุ ธมนต์ นมกำรสทิ ธคิ ำถำ (ของเก่ำ) บทนมัสการพระพุทธเจา้ ทงั้ หลายในอดีต เปน็ บทนมัสการเก่าท่ีพระสงฆ์ใช้ เจริญมาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีเนื้อหาแสดงความนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ทั้งหลายตัง้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั เรยี กอกี อยา่ งหนึง่ ว่า บทสมั พทุ เธ บทสวด สมั พทุ เธ อัฏฐะวีสัญจะ ทว๎ ำทะสญั จะ สะหัสสะเก ปัญจะสะตะสะหสั สำนิ นะมำมิ สิระสำ อะหงั เตสัง ธัมมัญจะ สงั ฆญั จะ อำทะเรนะ นะมำมหิ ัง นะมะกำรำนุภำเวนะ หนั ต๎วำ สพั เพ อปุ ัททะเว อะเนกำ อันตะรำยำปิ วินัสสนั ตุ อะเสสะโต. สมั พทุ เธ ปัญจะปญั ญำสัญจะ จะตุวีสะติสะหสั สะเก ทะสะสะตะสะหัสสำนิ นะมำมิ สิระสำ อะหงั เตสงั ธัมมญั จะ สงั ฆัญจะ อำทะเรนะ นะมำมหิ ัง นะมะกำรำนภุ ำเวนะ หันต๎วำ สพั เพ อปุ ัททะเว อะเนกำ อันตะรำยำปิ วินสั สันตุ อะเสสะโต. สัมพทุ เธ นะวตุ ตะระสะเต อัฏฐะจตั ตำฬสี ะสะหัสสะเก วีสะตสิ ะตะสะหสั สำนิ นะมำมิ สริ ะสำ อะหัง เตสงั ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อำทะเรนะ นะมำมหิ งั นะมะกำรำนุภำเวนะ หนั ต๎วำ สพั เพ อุปทั ทะเว อะเนกำ อนั ตะรำยำปิ วินสั สันตุ อะเสสะโต. วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๖๑
คำแปล ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ทัง้ หลาย ๕ แสน ๑ หมน่ื ๒ พัน ๒๘ พระองค์ ด้วยเศียรเกลา้ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมและพระอรยิ สงฆ์ ของพระ สัมมาสัมพุทธเจา้ เหล่านน้ั โดยเคารพ ด้วยอานภุ าพแหง่ การกระทาความนอบน้อม ต่อพระรัตนตรยั นี้ จงขจัดความจัญไรทงั้ ปวงใหห้ มดไป แม้อันตรายทั้งหลายทง้ั ปวง จงพินาศไปโดยไม่เหลอื ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ๑ ล้าน ๒ หมื่น ๔ พัน ๕๕ พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมและพระอรยิ สงฆ์ ของพระ สัมมาสัมพุทธเจา้ เหล่านน้ั โดยเคารพ ด้วยอานุภาพแหง่ การกระทาความนอบน้อม ตอ่ พระรัตนตรยั นี้ จงขจดั ความจัญไรทั้งปวงใหห้ มดไป แม้อันตรายทั้งหลายทง้ั ปวง จงพินาศไปโดยไมเ่ หลอื ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท้ังหลาย ๒ ล้าน ๔ หม่ืน ๘ พัน ๑๐๙ พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมและพระอริยสงฆ์ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น โดยเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระทาความ นอบน้อมต่อพระรัตนตรัยนี้ จงขจัดความจัญไรท้ังปวงให้หมดไป แม้อันตราย ทงั้ หลายทงั้ ปวง จงพินาศไปโดยไมเ่ หลือ ฯ ๖๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
นมกำรสทิ ธคิ ำถำ เป็นคาถานมัสการและชมเชยพระรัตนตรัย ขอให้เป็นเดชานุภาพบันดาล ความสาเร็จในส่ิงปรารถนา พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา- วชิรญาณวโรรส บทสวด โย จักขมุ ำ โมหะมะลำปะกัฏโฐ สำมงั วะ พุทโธ สุคะโต วมิ ุตโต มำรสั สะ ปำสำ วนิ ิโมจะยันโต ปำเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยงั . พทุ ธงั วะรนั ตงั สริ ะสำ นะมำมิ โลกสั สะ นำถัญจะ วินำยะกญั จะ ตันเตชะสำ เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรำยำ จะ วินำสะเมนต.ุ ธมั โม ธะโช โย วิยะ ตสั สะ สตั ถุ ทสั เสสิ โลกัสสะ วิสทุ ธิมัคคงั นยิ ยำนิโก ธัมมะธะรสั สะ ธำรี สำตำวะโห สนั ติกะโร สุจณิ โณ. ธมั มงั วะรนั ตงั สิระสำ นะมำมิ โมหัปปะทำลงั อปุ ะสนั ตะทำหงั ตันเตชะสำ เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรำยำ จะ วนิ ำสะเมนตุ. สทั ธัมมะเสนำ สุคะตำนุโค โย วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๖๓
โลกัสสะ ปำปปู ะกิเลสะเชตำ สนั โต สะยงั สนั ตนิ ิโยชะโก จะ ส๎วำกขำตะธัมมัง วิทติ ัง กะโรติ. สังฆงั วะรนั ตัง สริ ะสำ นะมำมิ พทุ ธำนพุ ทุ ธัง สะมะสีละทิฏฐงิ ตันเตชะสำ เต ชะยะสทิ ธิ โหตุ สพั พันตะรำยำ จะ วินำสะเมนตุ. คำแปล พระพุทธเจ้าพระองค์ใด มีพระปัญญาจักษุ ขจัดมลทินคือโมหะได้แล้ว ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าโดยพระองค์เอง เสดจ็ ไปดี หลุดพ้นอย่างประเสริฐแลว้ ทรง เปล้ืองหมู่ชนท่ีสามารถแนะนาได้ให้พ้นจากบ่วงมาร นามาให้ถึงความเกษมด้วย ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐพระองค์นั้น ผู้เป็นที่พึ่ง และเป็น ผู้นาชาวโลก ด้วยเดชพระพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ขอท่านจงประสบชัยชนะ และขอ อนั ตรายทงั้ ปวง จงพนิ าศไป พระธรรมใด เป็นประหน่ึงธงชัยของพระศาสดา พระองค์น้ันช้ีทางแห่ง ความบริสุทธิ์แก่โลก นาหมู่สัตว์ก้าวข้ามยุคเข็ญ คุ้มครองชน ผู้ประพฤติธรรม ผ้ปู ระพฤติดีแล้ว ย่อมนาความสงบสุขมาให้ ข้าพเจ้าขอนอ้ มนมัสการพระธรรมอัน ประเสริฐนั้น อนั ทาลายเสียซึ่งโมหะระงับความเร่ารอ้ นลงเสียได้ ด้วยเดชพระธรรม น้ัน ขอทา่ นจงประสบชยั ชนะ และขออันตรายทั้งปวง จงพนิ าศไป พระสงฆ์ใด เป็นกาลงั ประกาศพระสัทธรรม ดาเนินชีวิตตามแบบอย่างพระ บรมศาสดาผเู้ สด็จไปดีแล้ว ผจญเสียซง่ึ อปุ กิเลสอันลามกของโลก เปน็ ผู้สงบเองด้วย ท้ังยังสามารถแนะนาผู้อ่ืนให้เข้าถึงความสงบได้ด้วย เผยแผ่พระธรรมที่พระบรม ศาสดาประกาศดแี ล้ว ให้มีผู้รู้ตาม ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสงฆ์ผู้ประเสริฐน้ัน ๖๔ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า มีศีลและทิฏฐิเสมอกัน ด้วยเดชพระสงฆ์นั้น ขอท่านจง ประสบชยั ชนะ และขออันตรายทงั้ ปวงจงพินาศไป เทอญ ฯ นโมกำรอัฏฐกคำถำ บท นะโม ๘ เป็นคาถาแสดงความนอบนอ้ มพระรตั นตรยั เพื่อให้เกิดเดชานุ ภาพในการเจริญพระพุทธมนต์ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อย่หู ัว บทสวด นะโม อะระหะโต สัมมำ- สัมพุทธสั สะ มะเหสโิ น นะโม อตุ ตะมะธมั มสั สะ ส๎วำกขำตสั เสวะ เตนิธะ นะโม มะหำสงั ฆสั สำปิ วิสทุ ธะสลี ะทิฏฐิโน นะโม โอมำต๎ยำรทั ธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สำธกุ ัง นะโม โอมะกำตี ตสั สะ ตสั สะ วัตถุตตะยัสสะปิ นะโมกำรปั ปะภำเวนะ วคิ ัจฉนั ตุ อปุ ทั ทะวำ นะโมกำรำนภุ ำเวนะ สวุ ัตถิ โหตุ สัพพะทำ นะโมกำรสั สะ เตเชนะ วธิ ิม๎หิ โหมิ เตชะวำ. คำแปล ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงหา ผลประโยชนอ์ ันใหญ่ ขอนอบน้อมแดพ่ ระธรรมอันสูงสดุ ในพระศาสนานี้ ท่ีพระองค์ ตรัสแล้ว ขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ แด่พระรัตนตรัยทป่ี รารภแล้ว ให้สาเร็จ ประโยชน์ ขอนอบน้อมแดว่ ัตถุทั้งสาม (พระรัตนตรยั ) อันล่วงพน้ โทษต่าช้านัน้ ดว้ ยการประกาศการกระทาความนอบน้อม อุปัทวะท้ังหลาย จงปราศจาก ไป วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๖๕
ด้วยอานุภาพแห่งการกระทาความนอบน้อม ขอความสวัสดีจงมีทุกเมื่อ ดว้ ยเดชแห่งการกระทาความนอบน้อม ขอข้าพเจ้าจงเป็นผมู้ ีเดช ในมงคลพธิ ีเถดิ ฯ มงคลปรติ ร มงคลปริตร หรือมงคลสูตร เป็นพระสูตรว่าด้วยมงคลแห่งชีวิต การนา มงคลสูตรมาสวด ก็เพื่อจะให้มงคลต่าง ๆ ตามที่ปรากฏในพระสูตรซึ่งมีถึง ๓๘ ประการเกิดข้ึนกับชีวิต นอกจากนั้น มงคลสูตรยังมีอานุภาพในการป้องกันภัย อันตรายอนั จะเกิดจากความไม่เทย่ี งธรรมของเหล่าคนพาลทง้ั หลาย ในงานบุญทั่วไป พระสงฆ์นิยมสวดมงคลปริตรน้ีพร้อมกับเจา้ ภาพจุดเทียน มงคล อันแสดงถึงความสอ่ งสว่างรุ่งเรืองแห่งมงคลในชีวิต การสวดมงคลปริตรก่อน สูตรอ่ืนทั้งหมด เป็นการแนะนาผู้ฟังว่า ผู้ท่ีดาเนินชีวิตตามหลักมงคลท้ัง ๓๘ ประการ ซึ่งปรากฏในบทสวดแห่งมงคลปริตรน้ี ถือวา่ เป็นชีวิตที่มีมงคล ชีวิตเช่นน้ี ไม่จาเปน็ ต้องไปแสวงหามงคลภายนอกจากทีไ่ หน เพราะเป็นชวี ิตท่มี ีมงคลอยู่ในตัว แล้ว และหากทาได้ก็จะปราศจากทุกข์ โศก โรค ภัย ในการดาเนินชีวิต และถึง ความพ้นทกุ ขไ์ ดใ้ นทส่ี ดุ บทสวด เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวำ, สำวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนำถะปิณฑิกัสสะ, อำรำเม. อะถะโข อัญญะตะรำ เทวะตำ, อะภิกกันตำยะ รัตติยำ อะภิกกันตะวัณณำ, เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง โอภำเสต๎วำ, เยนะ ภะคะวำ เตนุปะสังกะมิ, อุปสังกะมิตว๎ ำ ภะคะวันตัง อะภิวำเทต๎วำ เอกะมันตัง อัฏฐำสิ. เอกะมันตัง ฐิตำ โข สำ เทวะตำ ภะคะวนั ตัง คำถำยะ อัชฌะภำสิ. พะหู เทวำ มะนุสสำ จะ มังคะลำนิ อะจินตะยุง ๖๖ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
อำกังขะมำนำ โสตถำนงั พร๎ หู ิ มงั คะละมุตตะมัง. อะเสวะนำ จะ พำลำนัง ปัณฑิตำนัญจะ เสวะนำ เอตมั มังคะละมุตตะมงั . ปูชำ จะ ปชู ะนยี ำนงั ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตำ ปะฏิรูปะเทสะวำโส จะ เอตัมมงั คะละมตุ ตะมัง. อัตตะสัมมำปะณิธิ จะ วนิ ะโย จะ สุสกิ ขิโต พำหสุ จั จัญจะ สปิ ปัญจะ เอตมั มังคะละมุตตะมัง. สุภำสติ ำ จะ ยำ วำจำ ปุตตะทำรัสสะ สังคะโห มำตำปติ ุอปุ ัฏฐำนัง เอตัมมงั คะละมตุ ตะมัง. อะนำกุลำ จะ กมั มนั ตำ ญำตะกำนญั จะ สังคะโห ทำนัญจะ ธัมมะจะริยำ จะ เอตมั มงั คะละมตุ ตะมัง. อะนะวชั ชำนิ กัมมำนิ มชั ชะปำนำ จะ สัญญะโม อำระตี วริ ะตี ปำปำ เอตัมมงั คะละมุตตะมงั . อัปปะมำโท จะ ธมั เมสุ สันตุฏฐี จะ กะตญั ญุตำ คำระโว จะ นิวำโต จะ เอตัมมังคะละมุตตะมงั . กำเลนะ ธมั มสั สะวะนัง สะมะณำนัญจะ ทัสสะนงั ขนั ตี จะ โสวะจสั สะตำ เอตมั มังคะละมุตตะมงั . กำเลนะ ธัมมะสำกจั ฉำ อะรยิ ะสัจจำนะ ทัสสะนัง ตะโป จะ พร๎ หั ๎มะจะริยัญจะ เอตมั มงั คะละมุตตะมัง. นพิ พำนะสจั ฉกิ ิริยำ จะ จติ ตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. อะโสกัง วริ ะชัง เขมัง สพั พัตถะมะปะรำชติ ำ เอตำทิสำนิ กัต๎วำนะ วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๖๗
สัพพัตถะ โสตถงิ คจั ฉนั ติ ตนั เตสัง มงั คะละมุตตะมันติ. คำแปล อันข้าพเจา้ (คือพระอานนทเถระ) ไดส้ ดบั มาแลว้ อย่างน้วี า่ สมัยหน่ึง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจา้ เสด็จประทบั อยู่ท่ีเชตวันวิหาร อาราม ของอนาถบิณฑกิ เศรษฐีใกลเ้ มืองสาวตั ถี คร้ังนัน้ แล คร้นั เมอ่ื ราตรีปฐมยามลว่ งแล้ว เทวดาตนหน่งึ มีรศั มีอนั งามย่ิงนกั ยังพระเชตวนั ทง้ั สิ้นใหส้ ว่าง พระผ้มู ีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่โดยที่ใด ก็เข้าไปเฝ้าโดยที่นั้น ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวายอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า เสร็จแล้วได้ยืนอยู่ในท่ีสมควรข้างหน่ึง ครั้นเทวดานั้นยืนในท่ี สมควรขา้ งหน่ึงแล้ว ได้ทลู พระผพู้ ระภาคเจ้า ดว้ ยคาถาว่า หม่เู ทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก ผหู้ วงั ปรารถนาความสวัสดี ได้คดิ หามงคล ทงั้ หลาย ขอพระองคจ์ งเทศนาบอกมงคลอนั สงู สดุ เทอญ ฯ การไม่คบชนพาลทั้งหลาย ๑ การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑ การบูชาบุคคลผู้ ควรบชู าทงั้ หลาย ๑ ขอ้ นเ้ี ปน็ มงคลอันสงู สุด การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑ การเป็นผู้มีบุญอันทาแล้วในกาลก่อน ๑ การต้ังตนไวช้ อบ ๑ ขอ้ นเ้ี ปน็ มงคลอันสูงสดุ การได้ฟังมาแล้วมาก ๑ ศิลปศาสตร์ ๑ วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑ วาจาอัน ชนกล่าวดแี ล้ว ๑ ขอ้ นีเ้ ป็นมงคลอนั สงู สดุ การบารุงมารดาและบิดา ๑ การสงเคราะห์บุตรและภรรยา ๑ การงาน ทง้ั หลายไม่อากลู ๑ ข้อนีเ้ ป็นมงคลอนั สูงสดุ การให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑ การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑ กรรม ท้งั หลายไม่มโี ทษ ๑ ข้อน้ีเป็นมงคลอนั สูงสดุ การงดเว้นจากบาป ๑ การเว้นจากการด่ืมน้าเมา ๑ ความไม่ประมาทใน ธรรมท้งั หลาย ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสงู สุด การเคารพ ๑ การไม่จองหอง ๑ ความยินดีด้วยของอันมีอยู่ ๑ การเป็นผู้รู้ อปุ การะอนั ท่านทาแลว้ แกต่ น ๑ การฟงั ธรรมโดยกาล ๑ ขอ้ นเี้ ป็นมงคลอันสงู สุด ๖๘ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ความอดทน ๑ การเป็นผู้ว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะท้ังหลาย ๑ การเจรจา ธรรมโดยกาล ๑ ขอ้ น้ีเปน็ มงคลอนั สูงสุด ตบะ ๑ การประพฤตพิ รหมจรรย์ ๑ การเห็นอริยสัจ ๑ การทาพระนพิ พาน ให้แจ้ง ๑ ข้อน้เี ป็นมงคลอนั สูงสดุ จติ ของผใู้ ด อันโลกธรรมท้ังหลายถูกต้องแล้ว ยอ่ มไม่หวน่ั ไหว ๑ ไม่มโี ศก ๑ ปราศจากธลุ ี ๑ เกษม ๑ ข้อนี้เปน็ มงคลอันสูงสดุ เทพยดาและมนุษย์ท้ังหลายกระทามงคลท้ังหลายเช่นน้ีแล้ว เป็นผู้ไม่พ่าย แพ้ในที่ทั้งปวง ย่อมถึงความสวัสดีในที่ท้ังปวง ๑ ข้อน้ันเป็นมงคลอันสูงสุดของ เทพยดาและมนุษยท์ ้งั หลายเหลา่ นน้ั แล ฯ รตนปรติ ร รตนปริตร เป็นพระปริตรที่พระอานนทเถระ เรียนเอาจากพระพุทธเจ้า โดยตรง เพ่ือใชส้ วดขจัดปัดเป่าภยั พิบัติ ทีเ่ กิดกบั ชาวกรุงเวสาลี มีเนือ้ หาว่าด้วยการ น้อมระลึกถึงคุณของพระรัตนะท้ัง ๓ คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ และ พระสังฆรัตนะ แล้วทาสัจวาจาให้เกิดเป็นอานุภาพขจัดปัดเป่าภัยพิบัติทั้งมวล ให้ หมดสิน้ ไป เปน็ บททีใ่ ช้ทานา้ พระพทุ ธมนต์สืบมาจนถึงปัจจุบัน พระปริตรบทน้ี มีปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ แสดงอานภุ าพสามารถขจัดภัยท้ัง ๓ ประการ คือ ขา้ วยากหมากแพง (ทุพภิกขภัย) ๑ ภูตผีปีศาจทาอันตราย (อมนุสสภัย) ๑ โรคภัยไขเ้ จ็บเบียดเบียน (โรคภัย) ๑ ให้ อันตรธานไป บทสวด (มักยอ่ สวดตำมดอกจนั ทน)์ ยำนีธะ ภูตำนิ สะมำคะตำนิ ภุมมำนิ วำ ยำนวิ ะ อันตะลิกเข. วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๖๙
สัพเพ วะ ภูตำ สมุ ะนำ ภะวันตุ อะโถปิ สักกจั จะ สุณันตุ ภำสติ ัง. ตัส๎มำ หิ ภูตำ นิสำเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มำนุสยิ ำ ปะชำยะ. ทวิ ำ จะ รตั โต จะ หะรันติ เย พะลงิ ตัส๎มำ หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตำ. *ยงั กญิ จิ วติ ตัง อธิ ะ วำ หุรัง วำ สัคเคสุ วำ ยัง ระตะนงั ปะณตี ัง. นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถำคะเตนะ อิทมั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. *ขะยงั วิรำคงั อะมะตัง ปะณีตงั ยะทชั ฌะคำ สกั ๎ยะมนุ ี สะมำหิโต. นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กญิ จิ อทิ มั ปิ ธมั เม ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ. *ยมั พุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สจุ งิ สะมำธิมำนันตะรกิ ญั ญะมำหุ. สะมำธินำ เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อทิ ัมปิ ธมั เม ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ. *เย ปคุ คะลำ อฏั ฐะ สะตัง ปะสัตถำ จัตตำริ เอตำนิ ยุคำนิ โหนติ. เต ทกั ขเิ ณยยำ สุคะตัสสะ สำวะกำ เอเตสุ ทินนำนิ มะหปั ผะลำนิ. ๗๐ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
อิทัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ. *เย สุปปะยตุ ตำ มะนะสำ ทัฬ๎เหนะ นกิ กำมโิ น โคตะมะสำสะนมั ๎หิ. เต ปัตตปิ ตั ตำ อะมะตัง วิคยั ๎หะ ลทั ธำ มุธำ นิพพุตงิ ภญุ ชะมำนำ. อทิ มั ปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ยะถินทะขโี ล ปะฐะวงิ สิโต สิยำ จะตุพภิ วำเตภิ อะสัมปะกมั ปิโย. ตะถูปะมัง สปั ปรุ สิ ัง วะทำมิ โย อะริยะสัจจำนิ อะเวจจะ ปสั สะติ. อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ. เย อะริยะสจั จำนิ วภิ ำวะยนั ติ คัมภีระปญั เญนะ สเุ ทสติ ำนิ. กิญจำปิ เต โหนติ ภุสัปปะมตั ตำ นะ เต ภะวงั อัฏฐะมะมำทิยันติ. อทิ ัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ. สะหำวสั สะ ทสั สะนะสมั ปะทำยะ ต๎ยสั สุ ธมั มำ ชะหิตำ ภะวนั ติ. สักกำยะทฏิ ฐิ วิจกิ จิ ฉิตัญจะ สลี พั พะตัง วำปิ ยะทตั ถิ กญิ จิ. จะตหู ะปำเยหิ จะ วิปปะมุตโต วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๗๑
ฉะ จำภิฐำนำนิ อะภัพโพ กำตงุ . อิทัมปิ สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ กญิ จำปิ โส กมั มงั กะโรติ ปำปะกัง กำเยนะ วำจำยุทะ เจตะสำ วำ. อะภัพโพ โส ตสั สะ ปะฏจิ ฉะทำยะ อะภัพพะตำ ทฏิ ฐะปะทสั สะ วตุ ตำ. อทิ มั ปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ. วะนปั ปะคุมเพ ยะถำ ผุสสิตคั เค คมิ ๎หำนะมำเส ปะฐะมัส๎มงิ คิม๎เห. ตะถปู ะมัง ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ นพิ พำนะคำมงิ ปะระมงั หิตำยะ. อทิ มั ปิ พทุ เธ ระตะนัง ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ. วะโร วะรัญญู วะระโท วะรำหะโร อะนุตตะโร ธัมมะวะรงั อะเทสะยิ. อทิ มั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ. *ขีณัง ปุรำณัง นะวัง นัตถิ สมั ภะวงั วิรัตตะจิตตำยะตเิ ก ภะวสั ๎มงิ . เต ขีณะพชี ำ อะวิรุฬ๎หิฉนั ทำ นิพพนั ติ ธีรำ ยะถำยมั ปะทโี ป. อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ. ๗๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ยำนีธะ ภูตำนิ สะมำคะตำนิ ภุมมำนิ วำ ยำนิวะ อนั ตะลกิ เข. ตะถำคะตงั เทวะมะนุสสะปูชิตงั พุทธัง นะมัสสำมะ สุวตั ถิ โหตุ. ยำนีธะ ภูตำนิ สะมำคะตำนิ ภมุ มำนิ วำ ยำนิวะ อันตะลกิ เข. ตะถำคะตัง เทวะมะนุสสะปชู ิตัง ธมั มัง นะมัสสำมะ สุวตั ถิ โหตุ. ยำนธี ะ ภูตำนิ สะมำคะตำนิ ภมุ มำนิ วำ ยำนวิ ะ อันตะลกิ เข. ตะถำคะตงั เทวะมะนุสสะปูชิตัง สังฆงั นะมสั สำมะ สวุ ัตถิ โหตุ. คำแปล หมู่ภูตประจาถ่ินเหล่าใด ประชมุ กนั แลว้ ในนครนกี้ ็ดี เหล่าใดประชมุ กันแล้ว ในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทงั้ ปวงจงเปน็ ผูด้ ใี จ และจงฟังภาษิตโดยเคารพ เพราะเหตุน้ันแล ท่านภูตทั้งปวงจงต้ังใจฟัง กระทาไมตรีจิต ในหมู่ มนุษยชาตปิ ระชุมชน มนุษยเ์ หล่าใด ย่อมสังเวยทง้ั กลางวนั กลางคืน เพราะเหตุนั้น แล ท่านท้งั หลายจงเป็นผไู้ มป่ ระมาท รักษาหมู่มนษุ ย์เหลา่ นั้น ทรพั ย์เครื่องปลื้มใจ อนั ใดอนั หนงึ่ ในโลกนี้หรอื โลกอ่ืน หรือรัตนะอันใด อัน ประณีตในสวรรค์ รัตนะอันนั้นเสมอด้วยพระตถาคตเจ้าไมม่ ีเลย แม้อันน้ีเป็นรัตนะ อันประณตี ในพระพุทธเจ้า ดว้ ยคาสตั ย์น้ี ขอความสวสั ดีจงมี พระศากยมนุ ีเจ้า มีพระหฤทัยดารงม่ัน ได้บรรลุธรรมอันใด เป็นที่ส้ินกิเลส เปน็ ที่สน้ิ ราคะ เป็นอมฤตธรรมอนั ประณีต สิง่ ไร ๆ เสมอดว้ ยพระธรรมนั้นย่อมไมม่ ี แม้อันน้ี เปน็ รตั นะอันประณีตในพระธรรม ดว้ ยคาสัตยน์ ้ี ขอความสวสั ดจี งมี วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๗๓
พระพุทธเจ้าผูป้ ระเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้ว ซง่ึ สมาธิอนั ใดว่าเปน็ ธรรมอัน สะอาด บัณฑิตทั้งหลาย กลา่ วซง่ึ สมาธิอนั ใดว่าให้ผลโดยลาดับ สมาธิอนื่ เสมอดว้ ย สมาธินั้นย่อมไม่มี แม้อันน้ี เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วยคาสัตย์นี้ ขอ ความสวัสดีจงมี บุคคลเหล่าใด ๘ จาพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้วบุคคล เหลา่ น้ัน เปน็ สาวกของพระสคุ ต ควรแก่ทักษณิ าทาน ทานท้ังหลาย อันบุคคลถวาย ในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก แม้อันน้ีเป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคา สตั ย์น้ี ขอความสวสั ดีจงมี พระอริยบุคคลทัง้ หลายเหล่าใดในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบดแี ลว้ มีใจ มน่ั คง มีความใคร่ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลท้ังหลายเหลา่ นั้น ถึงพระอรหันตผลท่ี ควรถึง หย่ังเข้าสู่พระนิพพาน ได้ซึง่ ความดับกิเลส โดยเปล่า ๆ แล้วเสวยผลอยู่ แม้ อนั น้ี เปน็ รตั นะอนั ประณตี ในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตยน์ ี้ ขอความสวัสดีจงมี เสาเขือ่ นท่ีลงดนิ แล้ว ไมห่ วั่นไหวดว้ ยพายุ ๔ ทิศ ฉันใด ผูใ้ ด เล็งเห็นอรยิ สัจ ท้ังหลาย เราเรียกผู้น้ันว่าเป็นสัตบุรุษผู้ไม่หว่ันไหวด้วยโลกธรรม อุปมาฉันน้ัน แม้ อันนี้ เป็นรตั นะอันประณตี ในพระสงฆ์ ด้วยคาสตั ย์นี้ ขอความสวสั ดีจงมี พระโสดาบนั จาพวกใด กระทาใหแ้ จ้งอยู่ ซึ่งอริยสัจทง้ั หลาย อนั พระศาสดา ผู้มีปัญญาอันลึกซ้ึงแสดงดีแล้ว พระโสดาบันจาพวกนั้นยังเป็นผู้ประมาทก็ดี ถึง กระนั้นทา่ นยอ่ มไม่ถือเอาภพที่ ๘ (คือเกิดอกี อย่างมาก ๗ ชาต)ิ แม้อนั นี้ เปน็ รัตนะ อันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมี สกั กายทฏิ ฐิ วจิ ิกิจฉา สีลพั พตปรามาส อนั ใดอันหนึง่ ยงั มอี ยู่ ธรรมเหล่านั้น อันพระโสดาบันละได้แล้ว พร้อมด้วยทัสสนสมบัติ (คือ โสดาปัตนิมรรค) ทีเดียว อน่ึง พระโสดาบันเปน็ ผู้พ้นแลว้ จากอบายทั้ง ๔ ไม่อาจเพ่ือจะกระทาอภิฐานท้ัง ๖ (คอื อนันตรยิ กรรม ๕ และการเข้านับถือศาสนาอื่น) แม้อันนี้ เปน็ รตั นะอันประณีต ในพระสงฆ์ ดว้ ยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดจี งมี ๗๔ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
พระโสดาบันน้ัน ยังกระทาบาปกรรม ด้วยกายหรือวาจาหรือใจได้บ้าง (เพราะความพล้ังพลาด) ถงึ กระนั้นท่านไมค่ วรเพ่ือจะปกปิดบาปกรรมอันนัน้ ความ เป็นผมู้ ีทางพระนิพพานอนั เห็นแล้ว ไม่ควรปกปิดบาปกรรมนั้น อนั พระผูม้ ีพระภาค เจ้าตรัสแล้ว แม้อันน้ี เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความ สวสั ดจี งมี พุ่มไม้ในป่า มียอดอันบานแล้วในเดือนต้นคิมหะ แห่งคิมหันตฤดูฉันใด พระ ผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรม ให้ถึงพระนิพพาน เพื่อประโยชน์แก่สัตว์ ทงั้ หลาย มีอปุ มาฉนั นั้น แม้อันน้ี เปน็ รตั นะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคาสัตย์ นี้ ขอความสวัสดีจงมี พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ประทานธรรมอัน ประเสริฐ นามาซ่ึงธรรมอันประเสริฐ เป็นผู้ลบลน้ (ไม่มีใครอ่ืนย่ิงกว่า) ได้ทรงแสดง แลว้ ซึ่งพระธรรมอันประเสรฐิ แม้อนั นี้ เป็นรตั นะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ดว้ ยคา สตั ยน์ ้ี ขอความสวสั ดจี งมี กรรมเก่าของพระอริยบคุ คลเหล่าใดสิ้นแล้ว กรรมสมภพใหมย่ ่อมไม่มีพระ อรยิ บคุ คลเหล่าใดมีจิตอันหน่ายแลว้ ในภพต่อไป พระอรยิ บคุ คลเหล่านั้นมพี ืชสน้ิ ไป แล้ว มีความพอใจไม่งอกได้แล้ว เป็นผู้มีปัญญาย่อมปรินิพพาน เหมือนประทีป อันดับไป ฉะน้ัน แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความ สวสั ดีจงมี ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกนั แล้วในพระนครก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว ในอากาศก็ดี เราท้ังหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้าผู้มาแล้วอย่างน้ัน ผู้อันเทพดา และมนษุ ย์บูชาแล้ว ขอความสวสั ดจี งมี ภูตประจาถิ่นเหลา่ ใด ประชุมกนั แล้วในพระนครกด็ ี เหล่าใดประชุมกันแล้ว ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระธรรมอันมาแล้วอยา่ งนนั้ อนั เทพดาและ มนุษยบ์ ูชาแลว้ ขอความสวัสดจี งมี วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๗๕
ภตู ประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครกด็ ี เหล่าใดประชุมกันแล้ว ในอากาศก็ดี เราท้ังหลาย จงนมัสการพระสงฆ์ผู้มาแล้วอย่างน้ัน ผู้อันเทพดาและ มนษุ ยบ์ ูชาแล้ว ขอความสวสั ดจี งมี ฯ กรณียเมตตปรติ ร เมตตปริตร หรือ กรณียเมตตสตู ร เปน็ พระสูตรทพ่ี ระพุทธองค์ทรงแนะนา พระภิกษุให้แผ่เมตตาจิตไปในมวลสรรพสัตว์ ตลอดจนเทพเทวา ภูตผี ปีศาจ ทัง้ หลาย ไมม่ ีประมาณ ไม่มขี อบเขต ไร้พรมแดนขีดข้ัน ไม่ว่าสัตว์นั้น หรือเขาผู้น้ัน จะเป็นเช้ือชาติ ศาสนาอะไร จะเก่ียวข้องกับเรา โดยความเป็นญาติ เป็นประเทศ เชอื้ ชาติ ศาสนาอะไรก็ตาม ให้มีจิตกว้างขวางไร้ขอบเขตขดี ขนั้ ขอใหเ้ ขามีความสุข หากทาได้เช่นน้ี นอกจากเทวดาจะไม่แสดงสิ่งท่ีน่ากลัวหลอกหลอนแล้ว ยังมีใจ อนุเคราะห์พระภิกษุ โดยไมตรีจิตด้วยความอ่อนโยนมีเมตตา เม่ือต้องเดินทางผ่าน ป่าเขาลาเนาไพร หรือไปอยู่ในสถานท่ีท่ีไม่คุ้นเคย ท่านให้สวดกรณียเมตตปริตร เพ่ือเป็นเคร่ืองคุ้มครองป้องกันภยันตราย อันจะเกิดจากอมนุษย์ ภูตผี ปีศาจ ทัง้ หลาย ให้เกิดเป็นความอ่อนโยนมเี มตตา บทสวด กะระณยี ะมัตถะกสุ ะเลนะ ยนั ตงั สนั ตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สกั โก อชุ ู จะ สหุ ุชู จะ สวุ ะโจ จัสสะ มทุ ุ อะนะตมิ ำนี สนั ตสุ สะโก จะ สภุ ะโร จะ อปั ปะกิจโจ จะ สัลละหกุ ะวุตติ สนั ตนิ ท๎ริโย จะ นิปะโก จะ อปั ปะคพั โภ กเุ ลสุ อะนะนคุ ทิ โธ นะ จะ ขทุ ทัง สะมำจะเร กิญจิ เยนะ วญิ ญู ปะเร อุปะวะเทยยุง สขุ ิโน วำ เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตำ ภะวนั ตุ สขุ ติ ัตตำ เย เกจิ ปำณะภูตัตถิ ตะสำ วำ ถำวะรำ วำ อะนะวะเสสำ ๗๖ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ทีฆำ วำ เย มะหนั ตำ วำ มชั ฌมิ ำ รสั สะกำ อะณกุ ะถูลำ ทิฏฐำ วำ เย จะ อะทฏิ ฐำ เย จะ ทเู ร วะสันติ อะวทิ เู ร ภตู ำ วำ สมั ภะเวสี วำ สัพเพ สัตตำ ภะวันตุ สุขติ ตั ตำ นะ ปะโร ปะรัง นกิ ุพเพถะ นำติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กญิ จิ พ๎ยำโรสะนำ ปะฏฆิ ะสัญญำ นำญญะมญั ญัสสะ ทกุ ขะมิจเฉยยะ มำตำ ยะถำ นิยงั ปุตตัง อำยสุ ำ เอกะปุตตะมะนุรักเข เอวัมปิ สัพพะภเู ตสุ มำนะสมั ภำวะเย อะปะรมิ ำณัง เมตตัญจะ สัพพะโลกัสม๎ ิง มำนะสัมภำวะเย อะปะริมำณัง อุทธัง อะโธ จะ ติรยิ ัญจะ อะสมั พำธัง อะเวรัง อะสะปัตตงั ตฏิ ฐัญจะรัง นสิ ินโน วำ สะยำโน วำ ยำวะตสั สะ วคิ ะตะมิทโธ เอตัง สะตงิ อะธิฏเฐยยะ พร๎ หั ม๎ ะเมตงั วิหำรงั อิธะมำหุ ทิฏฐิญจะ อะนปุ ะคมั มะ สลี ะวำ ทสั สะเนนะ สัมปนั โน กำเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชำตุ คัพภะเสยยงั ปุนะเรตีต.ิ คำแปล กุลบุตรผู้ฉลาด พึงกระทากิจท่ีพระอริยเจ้าผู้บรรลุแล้วซึ่งพระนิพพานอัน เป็นที่สงบระงับได้กระทาแล้ว กุลบุตรนั้นพงึ เป็นผู้องอาจ ซื่อตรงและประพฤติตรง ดี เป็นผู้ท่ีว่าง่ายสอนง่าย อ่อนโยน ไม่มีมานะอันย่ิง เป็นผสู้ ันโดษยินดีในส่ิงท่ีตนมี อยู่ เปน็ ผ้เู ล้ียงง่าย เป็นผูม้ กี ิจธุระน้อย เป็นผู้ประพฤตทิ าใหก้ ายและจิตเบา มีตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ อันสงบนิง่ มีปัญญาฆา่ กิเลส เป็นผไู้ ม่คะนอง กาย วาจา ใจ และ ไม่พัวพนั ในสกลุ ท้งั หลาย ไมพ่ ึงกระทากรรมที่ทา่ นผู้รู้ท้ังหลายตเิ ตียนผู้อ่นื ว่าทาแล้วไม่ดี พงึ แผเ่ มตตา จติ ว่า ขอสัตวท์ ้ังหลายทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีจติ เกาะพระนพิ พานแดนอันพ้นจาก ภัยทั้งหลาย และจงเป็นผู้ทาตนให้ถึงความสุขทุกเม่ือเถิด ขอสัตว์ทั้งหลายท้ังปวง โดยไม่มีเหลือ ท้ังท่ีมีตัณหาเคร่ืองทาใจให้สะดุ้งอยู่และผู้ม่ันคงคือไม่มีตัณหาแล้ว วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๗๗
ทงั้ ที่มีกายยาว ใหญ่ปานกลาง หรอื กายสั้น หรือผอม อ้วน เป็นผู้ท่ีเราเห็นแล้วก็ดี ไม่ได้เห็นก็ดี อยู่ในท่ีไกลหรือในท่ีไม่ไกล ท้ังที่เกิดมาในโลกน้ีแล้ว และที่ยังกาลัง แสวงหาภพเป็นท่ีเกิดอยู่ก็ดี จงเป็นเป็นผู้ทาตนให้ถึงความสุขเถิด สัตว์อื่นอย่าพึง รงั แกข่มเหงสตั ว์อ่ืน อยา่ พึงดูหมน่ิ ใครในทใ่ี ด ๆ เลย ไม่ควรปรารถนาให้กันและกันมีความทุกข์ เพราะความกริ้วโกรธ และ เพราะความเคียดแค้นกันเลย มารดาย่อมตามรักษาบุตรคนเดียวผู้เกิดในตน ด้วย ชีวิตฉันใด กุลบุตรพึงเจริญเมตตาจิตในใจไม่มีประมาณ ในสัตว์ทั้งปวงท้ังหลายแม้ ฉนั นน้ั บุคคลพึงเจริญเมตตาให้มีในใจไม่มีประมาณ ไปในโลกทั้งส้ิน ทั้งเบ้ืองบน เบอ้ื งตา่ เบ้ืองขวาง การเจรญิ เมตตาจติ นีเ้ ปน็ ธรรมอันไมแ่ คบ ไม่มเี วร ไมม่ ศี ัตรู ผู้เจริญเมตตาจิตน้ัน จะยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งอยู่ก็ดี นอนอยู่ก็ดี เป็นผู้ ปราศจากความง่วงเพียงใด ก็สามารถต้ังสติไว้ได้เพียงน้ัน บณั ฑิตท้ังหลายกล่าวถึง กิริยาอย่างน้ีว่า เป็นการเจริญพรหมวิหารในศาสนานี้ บุคคลผู้แผ่เมตตาจิตน้ัน จะ ไม่เข้าถึงความเห็นผิด เป็นผู้มีศีล ถึงพร้อมแล้วด้วยความเห็นคือปัญญา นาความ หมกมุ่นในกามทั้งหลายออกได้แล้ว ย่อมไม่เขา้ ถึงความเข้าไปนอนในครรภ์เพ่ือเกิด อกี โดยแท้แล ฯ ๗๘ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ขันธปริตร ขันธปริตร เป็นคาถาที่พระพุทธองค์ ทรงสอนให้พระภิกษุแผ่เมตตาไปใน บรรดาตระกูลงูท่ีมีพษิ ดุร้ายท้ังหลาย เพ่ือเป็นการคมุ้ ครอง ป้องกันตนเองจากสัตว์ ร้าย ปรากฏทั้งในพระวินัยปิฎกและพระสตุ ตันตปฎิ ก นอกจากจะเป็นคาถาสาหรับ ป้องกันอสรพิษและสัตว์ร้ายท้ังหลายแล้ว ยังสามารถป้องกันอันตรายจากยาพิษ ทั้งหลาย บทสวด วิรูปกั เขหิ เม เมตตงั เมตตงั เอรำปะเถหิ เม ฉัพ๎ยำปตุ เตหิ เม เมตตัง เมตตงั กัณหำโคตะมะเกหิ จะ อะปำทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทปิ ำทะเกหิ เม จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม มำ มัง อะปำทะโก หิงสิ มำ มงั หิงสิ ทปิ ำทะโก มำ มัง จะตปุ ปะโท หิงสิ มำ มงั หิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สตั ตำ สพั เพ ปำณำ สัพเพ ภูตำ จะ เกวะลำ สัพเพ ภทั ๎รำนิ ปสั สันตุ มำ กญิ จิ ปำปะมำคะมำ อัปปะมำโณ พุทโธ, อัปปะมำโณ ธัมโม, อัปปะมำโณ สังโฆ, ปะมำณะวันตำนิ สิริงสะปำนิ, อะหิ วิจฉิกำ สะตะปะที อุณณำนำภี สะระพู มสู กิ ำ, กะตำ เม รกั ขำ กะตำ เม ปะริตตำ, ปะฏิกกะมนั ตุ ภตู ำนิ, โสหัง นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สมั มำสมั พุทธำนงั . คำแปล ความเป็นมติ รของเรา จงมกี ับพญานาคท้ังหลายตระกูลวริ ูปกั ข์ด้วย ความเปน็ มิตรของเรา จงมกี ับพญานาคท้งั หลายตระกูลเอราบถด้วย ความเปน็ มิตรของเรา จงมกี ับพญานาคทง้ั หลายตระกูลฉพั ยาบตุ รด้วย วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๗๙
ความเป็นมิตรของเรา จงมกี ับพญานาคท้งั หลายตระกลู กัณหาโคตมกะดว้ ย ความเป็นมติ รของเรา จงมกี ับสัตวท์ งั้ หลายทีไ่ มม่ เี ท้าด้วย ความเป็นมิตรของเรา จงมกี ับสตั ว์ทัง้ หลายที่มี ๒ เทา้ ด้วย ความเปน็ มติ รของเรา จงมกี บั สตั วท์ ง้ั หลายทม่ี ี ๔ เทา้ ด้วย ความเปน็ มติ รของเรา จงมกี บั สตั วท์ ้ังหลายที่มหี ลายเทา้ ดว้ ย สตั วไ์ ม่มีเท้าอยา่ เบียดเบยี นเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อยา่ เบียดเบยี นเรา สัตว์หลายเท้าอย่าเบียดเบยี นเรา และขอสรรพสัตว์ท้ังหลายที่มี ชีวิตทงั้ ปวง ท่ีเกิดมาทง้ั หมดทง้ั สิ้นด้วยกัน จงเห็นซ่ึงความเจรญิ ทง้ั หลายทัง้ ปวงเถิด โทษอนั ลามกใด ๆ อยา่ ไดม้ าถงึ แลว้ แก่สตั ว์เหลา่ นัน้ พระพุทธเจ้า ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระธรรม ทรงพระคุณไม่มี ประมาณ พระสงฆ์ ทรงพระคุณไม่มีประมาณ สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย คือ งู แมง ปอ่ ง ตะเขบ็ ตะขาบ แมงมุม ต๊กุ แก หนู เหล่าน้ีลว้ นมปี ระมาณจากัด ไม่มากเหมือน พระรตั นตรยั เราได้กระทาความรักษาแลว้ เราได้กระทาความป้องกันแล้ว หมู่สัตว์ ทัง้ หลายจงหลกี ไปเสีย เราน้ันได้กระทาความนอบน้อม ต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่ เราได้กระทาความนอบนอ้ มอยู่ ตอ่ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ๗ พระองค์ ฯ ๘๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
โมรปรติ ร โมรปริตร คือ พระปริตรที่พระพุทธองค์ เมื่อครั้งท่ีทรงเสวยพระชาติเป็น นกยูงทองโพธิสัตว์สาธยายเป็นประจา ทาให้แคล้วคลาดจากบ่วงของนายพราน นานถึง ๑๒ ปี โดยเนื้อหาของพระปริตรกล่าวถึงคุณของพระพุทธเจ้าแล้วน้อมนา พระพุทธคณุ นนั้ มาพทิ ักษ์คุ้มครอง ใหม้ คี วามสุขสวสั ดี พระปริตรบทนี้ จึงมีอานิสงส์สาหรับผู้สวดสาธยายเป็นประจาทุกวัน โดย จะทาให้แคล้วคลาดจากอันตรายทุกประการ เพราะเปน็ คาถาที่นกยูงทองโพธิสัตว์ ใช้สวดเพ่ือคุม้ ครองตนใหพ้ น้ จากภยั อนั ตรายต่าง ๆ บทสวด อุเทตะยัญจักขุมำ เอกะรำชำ หะริสสะวณั โณ ปะฐะวิปปะภำโส. ตัง ตงั นะมสั สำมิ หะริสสะวัณณงั ปะฐะวปิ ปะภำสัง ตะยชั ชะ คตุ ตำ วหิ ะเรมุ ทิวะสงั . เย พร๎ ำหม๎ ะณำ เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปำละยันตุ. นะมตั ถุ พุทธำนัง นะมตั ถุ โพธยิ ำ นะโม วมิ ตุ ตำนัง นะโม วิมุตตยิ ำ. อิมัง โส ปะริตตัง กตั ๎วำ โมโร จะระติ เอสะนำ. อะเปตะยัญจกั ขุมำ เอกะรำชำ หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภำโส. ตัง ตงั นะมสั สำมิ หะริสสะวณั ณัง ปะฐะวปิ ปะภำสงั ตะยชั ชะ คุตตำ วิหะเรมุ รัตตงิ . เย พร๎ ำห๎มะณำ เวทะคุ สพั พะธัมเม วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๘๑
เต เม นะโม เต จะ มัง ปำละยันตุ. นะมัตถุ พทุ ธำนงั นะมัตถุ โพธิยำ นะโม วิมุตตำนงั นะโม วิมตุ ติยำ. อิมงั โส ปะริตตงั กัตว๎ ำ โมโร วำสะมะกัปปะยีติ. คำแปล พระอาทิตย์เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพ้ืน ปฐพีให้สวา่ ง อุทัยขึ้นมา เพราะเหตนุ ้ัน ข้าขอนอบนอ้ มพระอาทิตย์น้ัน ซ่ึงมีสีเพียง ดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าท้ังหลาย อันท่านปกครองแล้วในวันน้ี พึงอยู่ เป็นสุขตลอดวัน พราหมณ์ท้ังหลายเหล่าใด ผู้ถึงซ่ึงเวทในธรรมท้ังปวง พราหมณ์ ทง้ั หลายเหล่านัน้ จงรบั ความนอบน้อมของข้า อนงึ่ พราหมณท์ ั้งหลายเหล่านน้ั จง รกั ษาซง่ึ ขา้ ความนอบน้อมของขา้ จงมีแดพ่ ระพุทธเจา้ ทง้ั หลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วท้ังหลาย ความ นอบนอ้ มของขา้ จงมีแด่วมิ ุตตธิ รรม นกยูงนน้ั ไดก้ ระทาปริตรอนั น้แี ล้ว จึงเทีย่ วไป เพื่ออนั แสวงหาอาหาร พระอาทิตย์นี้เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทองยังพ้ืน ปฐพใี ห้สว่าง ย่อมอัสดงคตไป เพราะเหตุนั้น ข้าขอนอบนอ้ มพระอาทิตย์นั้น ซงึ่ มีสี เพียงดังสีแหง่ ทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทัง้ หลาย อนั ท่านปกครองแลว้ ในวันน้ี พึง อยเู่ ปน็ สุขตลอดคืน พราหมณ์ทง้ั หลายเหล่าใด ผู้ถึงซึง่ เวทในธรรมท้ังปวง พราหมณ์ ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้นจง รักษาซึ่งข้า ความนอบน้อมของขา้ จงมแี ด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วท้ังหลาย ความ นอบนอ้ มของขา้ จงมีแด่วมิ ตุ ตธิ รรม ๘๒ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
นกยูงน้ันได้กระทาปรติ รอนั น้แี ลว้ จงึ สาเรจ็ ความอยแู่ ล ฯ วฏั ฏกปรติ ร วัฏฏกปริตร เป็นเรื่องราวในอดีตชาติของพระพุทธองค์ เมื่อคร้ังถือกาเนิด เปน็ ลกู นกคมุ่ แล้วทาปริตรป้องกันตนเองจากไฟป่า ปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฎก จรยิ าปฎิ ก และวฏั ฏกชาดก อรรถกถาชาดก พระปริตรบทนี้ มีเน้ือความท่ีกล่าวอ้างคุณ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ และสัจจะของพระพุทธเจ้าในอดีตทั้งหลาย แล้วน้อมเอาพระ พุทธคุณดงั กลา่ ว มาบังเกิดเป็นอานุภาพ ปกป้องคุ้มครองอันตรายอันจะเกิดจากไฟ ทงั้ หลาย ใหเ้ กิดความสุขสวสั ดีแกช่ วี ติ การสวดคาถาน้ี ก็เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายอันเกิดจากไฟ (ป้องกัน อัคคภี ัย) และเหตุเดอื ดรอ้ นนานาประการ ให้เกิดความรม่ เย็นเปน็ สขุ บทสวด อตั ถิ โลเก สลี ะคโุ ณ สัจจัง โสเจยยะนทุ ทะยำ, เตนะ สจั เจนะ กำหำมิ สัจจะกริ ิยะมะนุตตะรัง. อำวัชชิต๎วำ ธัมมะพะลงั สะรติ ว๎ ำ ปุพพะเก ชิเน, สัจจะพะละมะวสั สำยะ สจั จะกริ ยิ ะมะกำสะหงั . สันติ ปักขำ อะปัตตะนำ สนั ติ ปำทำ อะวัญจะนำ, มำตำ ปติ ำ จะ นกิ ขันตำ ชำตะเวทะ ปะฏกิ กะมะ. สะหะ สจั เจ กะเต มยั ๎หัง มะหำปัชชะลโิ ต สขิ ี, วัชเชสิ โสฬะสะ กะรสี ำนิ อทุ ะกงั ปตั ว๎ ำ ยะถำ สขิ ี. สจั เจนะ เม สะโม นัตถิ เอสำ เม สจั จะปำระมตี ิ. วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๘๓
คำแปล คุณแห่งศีลมอี ยู่ในโลก ความจริง ความสะอาดกาย และความเอ็นดูมอี ยู่ใน โลก ด้วยคาสัตย์นนั้ ขา้ พเจา้ จักกระทาสจั จะกริ ยิ าอนั เย่ยี ม ขา้ พเจ้าพิจารณาซ่ึงกาลังแห่งธรรม และระลึกถงึ พระชนิ เจา้ ทั้งหลายในปาง กอ่ น อาศยั กาลงั แหง่ สัจจะ ขอกระทาสจั จะกิริยา ปีกทง้ั หลายของข้ามอี ยู่ แต่บนิ ไม่ได้ เทา้ ทง้ั หลายของขา้ มอี ยู่ แต่เดนิ ไมไ่ ด้ มารดาและบดิ าของขา้ ออกไปหาอาหาร ดูก่อนไฟป่า ขอทา่ นจงหลีกไป คร้ันเม่ือสัจจะ อันเรากระทาแล้ว เปลวไฟอันรุ่งเรืองใหญ่ได้หลีกไป พร้อม กบั คาสตั ย์ ประหนึ่งเปลวไฟอันตกถึงนา้ สิ่งไรเสมอด้วยสจั จะของเราไมม่ ี นีเ้ ปน็ สจั จะบารมีของเรา ดังน้แี ล ฯ อนุสสรณปำฐะ เป็นบทระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย เพ่ือให้เกิดกาลังใจในการทาคุณงาม ความดี ในการประพฤติธรรม และให้มีความกล้าหาญ หายวาดกลัวต่อภัยอันตราย ต่าง ๆ ทั้งเป็นการเจริญพุทธานุสตกิ ัมมัฏฐาน ธัมมานสุ ตกิ ัมมัฏฐาน และสังฆานุสติ กัมมัฏฐานอีกดว้ ย เปน็ สว่ นใจความสาคัญแห่งธชคั คสตู ร บทสวด อติ ปิ ิ โส ภะคะวำ อะระหงั สัมมำสัมพุทโธ, วิชชำจะระณะสมั ปนั โน สุคะโต โลกะวิทู, อะนตุ ตะโร ปุริสะทัมมะสำระถิ สตั ถำ เทวะมะนสุ สำนงั พุทโธ ภะคะวำต.ิ ส๎วำกขำโต ภะคะวะตำ ธัมโม, สนั ทฏิ ฐโิ ก อะกำลโิ ก เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก ปจั จตั ตงั เวทติ ัพโพ วญิ ญูหีติ. ๘๔ : หนงั สอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สำวะกะสงั โฆ, อชุ ุปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, ญำยะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, สำมีจิ- ปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตำริ ปุริสะยุคำนิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลำ, เอสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ, อำหุเนยโย ปำหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสำติ. คำแปล พระผู้มีพระภาคเจ้านน้ั เป็นผู้ไกลจากกิเลส เปน็ ผู้ตรัสรชู้ อบไดโ้ ดยพระองค์ เอง เป็นผถู้ ึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ (ความรแู้ ละความประพฤติ) เป็นผู้เสดจ็ ไป ดแี ล้ว (คือ ไปท่ีใดยังประโยชน์ให้ท่ีนนั้ ) เป็นผ้รู ู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผสู้ ามารถฝึก บุรุษที่สมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครย่ิงไปกว่า เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ ท้ังหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความจาเริญ จาแนกธรรมสั่ง สอนสตั ว์ พระธรรมเปน็ ส่ิงท่ีพระผ้มู ีพระภาคเจ้าได้ตรสั ไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งท่ีผู้ศกึ ษาและ ปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งท่ีปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จากัดกาล เป็นส่ิงที่ ควรกลา่ วกับผอู้ ื่นว่าท่านจงมาดเู ถิด เป็นสิ่งทีค่ วรน้อมเขา้ มาใส่ตัว เป็นส่ิงที่ผูร้ กู้ ็รไู้ ด้ เฉพาะตน สงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ หม่ใู ดปฏิบัติดีแล้ว สงฆส์ าวกของพระผู้มี พระภาคเจ้าหมู่ใดปฏิบัติตรงแล้ว สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใดปฏิบัติ เพ่ือรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว ได้แก่ บุคคลเหล่าน้ี คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้ ๘ บรุ ุษ (คือพระอริยบุคคล ๘) น่นั แหละสงฆ์สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ เปน็ ผคู้ วร แก่สักการะที่เขานามาบูชา เป็นผู้ควรแก่การต้อนรับ เป็นผู้ควรแก่ทักษิณา เป็นผู้ ควรแก่การทาอญั ชลี เป็นเน้อื นาบญุ ของโลก ไม่มนี าบญุ อ่ืนยงิ่ กวา่ ฯ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๘๕
อำฏำนำฏิยปรติ ร อำฏำนำฏิยปริตร เป็นพระปริตรที่ท้าวจาตุมมหาราชผูกขึ้นท่ีอาฏานาฏา นคร อันเป็นหนึ่งในจานวนเทพนคร ๑๑ แห่ง ท่ีถูกเนรมิตข้ึนในอากาศบนสวรรค์ ชั้นจาตุมมหาราชิกา เพื่อเป็นมนต์ป้องกันเหล่าอมนุษย์บางพวกที่ไม่หวังดีต่อพุทธ บริษัท ซึ่งอาจรบกวน เบียดเบียน ทาให้เกิดความลาบากได้ ทา้ วมหาราชทั้ง ๔ คือ ท้าวธตรฐ ท้าววิรุฬหก ท้าววิรูปักษ์ และท้าวกุเวร จึงได้เข้าเฝ้าทูลขอให้พระพุทธ องค์ทรงรับเอาเครื่องค้มุ ครอง คือ อาฏานาฏิยปริตรนี้ไว้ เพ่ือทรงประทานแก่พุทธ บริษัท สาหรับใช้สวดสาธยายเป็นเครื่องคุ้มครองตนและเพ่ือให้อมนุษย์เกิดความ เล่อื มใสในพระศาสนา อาฏานาฏิยปรติ รนี้ มีอานุภาพ ๒ ประการ คอื (๑) มีอานุภาพในการทาให้ อมนษุ ย์ที่ไม่เล่ือมใส เกิดความเลือ่ มใสในพระศาสนา (๒) มีอานุภาพในการคมุ้ ครอง ปอ้ งกันไม่ใหอ้ มนุษยท์ ี่ไม่เลื่อมใส จับต้องสิงสู่ เบียดเบียน ประทุษร้าย ทาให้ได้รับ ความลาบากเดอื ดรอ้ น บทสวด วปิ ัสสสิ สะ นะมตั ถุ จักขุมนั ตัสสะ สริ ีมะโต, สขิ ิสสะปิ นะมตั ถุ สัพพะภตู ำนุกมั ปิโน. เวสสะภสุ สะ นะมตั ถุ นห๎ ำตะกสั สะ ตะปสั สโิ น, นะมตั ถุ กะกุสนั ธสั สะ มำระเสนัปปะมัททิโน. โกนำคะมะนัสสะ นะมตั ถุ พร๎ ำห๎มะณสั สะ วุสีมะโต, กัสสะปสั สะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สพั พะธ,ิ องั ครี ะสสั สะ นะมตั ถุ สัก๎ยะปตุ ตัสสะ สริ มี ะโต, โย อมิ งั ธมั มะมะเทเสสิ สัพพะทุกขำปะนูทะนัง. เย จำปิ นพิ พุตำ โลเก ยะถำภตู ัง วิปสั สสิ งุ , เต ชะนำ อะปสิ ุณำ มะหันตำ วตี ะสำระทำ. ๘๖ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
หติ ัง เทวะมะนสุ สำนงั ยงั นะมัสสันติ โคตะมงั , วิชชำจะระณะสมั ปนั นัง มะหันตงั วตี ะสำระทัง. วิชชำจะระณะสมั ปนั นัง พุทธัง วนั ทำมะ โคตะมันติ. อปุ ปนั นำนงั มะเหสินัง นะโม เม สพั พะพุทธำนงั เมธังกะโร มะหำยะโส. ตณั หังกะโร มะหำวโี ร ทปี งั กะโร ชตุ ินธะโร, สะระณังกะโร โลกะหโิ ต มังคะโล ปรุ ิสำสะโภ โกณฑัญโญ ชะนะปำโมกโข เรวะโต ระติวฑั ฒะโน, สุมะโน สมุ ะโน ธโี ร อะโนมะทสั สี ชะนตุ ตะโม. โสภโี ต คุณะสมั ปนั โน นำระโท วะระสำระถี, ปะทุโม โลกะปัชโชโต สุเมโธ อปั ปะฏิปคุ คะโล ปะทมุ ุตตะโร สตั ตะสำโร ปิยะทัสสี นะรำสะโภ, สชุ ำโต สัพพะโลกัคโค ธัมมะทสั สี ตะโมนโุ ท. อตั ถะทัสสี กำรุณิโก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร, สทิ ธัตโถ อะสะโม โลเก วิปสั สี จะ อะนปู ะโม. ปุสโส จะ วะระโท พทุ โธ เวสสะภู สขุ ะทำยะโก, สขิ ี สัพพะหิโต สตั ถำ โกนำคะมะโน ระณญั ชะโห, กะกุสนั โธ สัตถะวำโห โคตะโม สกั ย๎ ะปุงคะโว, กัสสะโป สิริสัมปันโน อะเนกะสะตะโกฏะโย, สัพเพ พุทธำ มะหทิ ธกิ ำ. เอเต จัญเญ จะ สมั พุทธำ เวสำรชั เชหปุ ำคะตำ, สพั เพ พุทธำ อะสะมะสะมำ อำสะภัณฐำนะมุตตะมัง. สัพเพ ทะสะพะลูเปตำ ปะริสำสุ วิสำระทำ, สพั เพ เต ปะฏิชำนนั ติ โลเก อปั ปะฏวิ ัตตยิ งั . สหี ะนำทงั นะทันเต เต อัฏฐำระสะหิ นำยะกำ, พ๎รัหม๎ ะจักกงั ปะวัตเตนติ อเุ ปตำ พุทธะธมั เมหิ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๘๗
ท๎วตั ติงสะลกั ขะณูเปตำ- สีต๎ยำนุพ๎ยญั ชะนำธะรำ, พ๎ยำมปั ปะภำยะ สปุ ปะภำ สัพเพ เต มุนิกญุ ชะรำ, พุทธำ สัพพญั ญุโน เอเต สพั เพ ขณี ำสะวำ ชินำ. มะหปั ปะภำ มะหำเตชำ มะหำปัญญำ มะหัพพะลำ, มะหำกำรณุ กิ ำ ธรี ำ สพั เพสำนัง สขุ ำวะหำ. ทีปำ นำถำ ปะติฏฐำ จะ ตำณำ เลณำ จะ ปำณินัง, คะตี พันธู มะหสั สำสำ สะระณำ จะ หเิ ตสโิ น. สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ สพั เพ เอเต ปะรำยะนำ, เตสำหัง สิระสำ ปำเท วันทำมิ ปุรสิ ุตตะเม. วะจะสำ มะนะสำ เจวะ วนั ทำเมเต ตะถำคะเต, สะยะเน อำสะเน ฐำเน คะมะเน จำปิ สัพพะทำ. สะทำ สุเขนะ รกั ขนั ตุ พทุ ธำ สันติกะรำ ตวุ ัง, เตหิ ตว๎ ัง รักขโิ ต สนั โต มุตโต สพั พะภะเยนะ จะ, สัพพะโรคะวินิมตุ โต สพั พะสันตำปะวชั ชโิ ต, สัพพะเวระมะตกิ กันโต นพิ พโุ ต จะ ตวุ ัง ภะวะ. ขันตเิ มตตำพะเลนะ จะ เตสงั สจั เจนะ สเี ลนะ อำโรคเ๎ ยนะ สเุ ขนะ จะ เตปิ ตุม๎เห อะนุรกั ขนั ตุ สนั ติ ภตู ำ มะหิทธิกำ ปรุ ตั ถิมัสม๎ ิง ทสิ ำภำเค อำโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ เตปิ ตมุ ๎เห อะนรุ กั ขนั ตุ สนั ติ เทวำ มะหทิ ธกิ ำ ทักขิณัส๎มิง ทสิ ำภำเค อำโรคเ๎ ยนะ สเุ ขนะ จะ เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ สนั ติ นำคำ มะหทิ ธิกำ ปจั ฉิมสั ๎มงิ ทสิ ำภำเค อำโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขนั ตุ สนั ติ ยกั ขำ มะหิทธกิ ำ อุตตะรสั ๎มงิ ทิสำภำเค อำโรคเ๎ ยนะ สเุ ขนะ จะ เตปิ ตุม๎เห อะนรุ ักขนั ตุ ๘๘ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
ปรุ มิ ะทิสัง ธะตะรฏั โฐ ทกั ขเิ ณนะ วิรฬุ ๎หะโก ปจั ฉเิ มนะ วิรูปกั โข กเุ วโร อตุ ตะรัง ทิสงั จัตตำโร เต มะหำรำชำ โลกะปำลำ ยะสัสสโิ น เตปิ ตุม๎เห อะนุรกั ขันตุ อำโรค๎เยนะ สเุ ขนะ จะ อำกำสัฏฐำ จะ ภมุ มัฏฐำ เทวำ นำคำ มะหทิ ธกิ ำ เตปิ ตุม๎เห อะนรุ กั ขันตุ อำโรค๎เยนะ สเุ ขนะ จะ พทุ โธ เม สะระณงั วะรัง, นัตถิ เม สะระณัง อัญญงั โหตุ เต ชะยะมังคะลงั . เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ ธมั โม เม สะระณงั วะรัง, นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั โหตุ เต ชะยะมงั คะลงั . เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สงั โฆ เม สะระณงั วะรงั , นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั โหตุ เต ชะยะมังคะลงั . เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ วิชชะติ วิวธิ งั ปถุ ุ, ตัส๎มำ โสตถี ภะวันตุ เต. ยงั กญิ จิ ระตะนงั โลเก วิชชะติ ววิ ิธัง ปถุ ุ, ระตะนงั พุทธะสะมัง นตั ถิ ตสั ม๎ ำ โสตถี ภะวนั ตุ เต. ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วชิ ชะติ วิวธิ ัง ปุถุ, ระตะนัง ธัมมะสะมงั นัตถิ ตสั ม๎ ำ โสตถี ภะวันตุ เต. ยังกิญจิ ระตะนงั โลเก โอสะถัง อตุ ตะมงั วะรัง, ระตะนัง สงั ฆะสะมัง นัตถิ พุทธะเตเชนะ โสตถนิ ำ, ทุกขำ วปู ะสะเมนตุ เต. สักกตั ๎วำ พทุ ธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมงั วะรงั , หิตงั เทวะ มะนุสสำนัง ธมั มะเตเชนะ โสตถินำ, นัสสนั ตุปัททะวำ สัพเพ ภะยำ วูปะสะเมนตุ เต, สกั กตั ๎วำ ธัมมะระตะนัง โอสะถงั อตุ ตะมงั วะรงั , ปะรฬิ ำหปู ะสะมะนัง นสั สันตุปัททะวำ สัพเพ วดั ปทุมวนาราม ราชวรวิหาร : ๘๙ สกั กตั ๎วำ สงั ฆะระตะนงั
อำหุเนยยัง ปำหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินำ, นัสสนั ตุปทั ทะวำ สัพเพ โรคำ วูปะสะเมนตุ เต. สัพพะโรโค วนิ ัสสะตุ, สพั พตี ิโย ววิ ัชชนั ตุ สขุ ี ทฆี ำยโุ ก ภะวะ. มำ เต ภะวัตว๎ ันตะรำโย นจิ จัง วุฑฒำปะจำยโิ น, อะภิวำทะนะสีลิสสะ อำยุ วัณโณ สขุ ัง พะลัง. จตั ตำโร ธัมมำ วฑั ฒนั ติ คำแปล ความนอบน้อมแห่งขา้ พเจา้ จงมแี ด่พระวิปสั สพี ทุ ธเจ้า ผู้มจี ักษุ ผมู้ สี ริ ิ ความนอบน้อมแหง่ ข้าพเจ้า จงมีแม้แด่พระสิขพี ุทธเจ้า ผูม้ ีปกตอิ นุเคราะห์ แกส่ ตั ว์ทั้งปวง ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระเวสสภูพุทธเจ้า ผู้มีกิเลสอันล้าง แล้ว ผ้มู ตี บะ ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้ย่ายีเสียซ่ึงมาร และเสนา ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผมู้ ีบาปอันลอย เสียแล้ว ผมู้ ีพรหมจรรย์อันอยู่จบแลว้ ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้าจงมีแด่พระกัสสปพุทธเจ้า ผู้พ้นแล้วจากกิเลส ทงั้ ปวง ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระอังคีรสพุทธเจ้า ผู้เป็นโอรสแห่ง ศากยราช ผู้มีสิริ พระพุทธเจ้าพระองค์ใดได้ทรงแสดงแล้วซ่ึงธรรมนี้ เป็นเคร่ืองบรรเทาเสีย ซง่ึ ทกุ ขท์ งั้ ปวง อนึ่ง พระพุทธเจ้าทงั้ หลายเหล่าใดก็ดี ท่ีดับกิเลสแล้วในโลก เห็นแจ้งธรรม ตามเปน็ จรงิ ๙๐ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
พระพุทธเจา้ ทั้งหลายเหล่านั้นเป็นผู้ไม่มีความส่อเสียด เป็นผู้ใหญ่ ผู้มีความ ครน่ั คร้ามไปปราศแล้ว เทพดาและมนุษย์ทั้งหลาย นอบน้อมอยู่ซึ่งพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้เป็น โคตมโคตร ผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแกเ่ ทพดาและมนษุ ย์ท้ังหลาย ถึงพร้อมแล้วด้วย วิชชาและจรณะ ผู้ใหญ่ ผู้มคี วามครัน่ ครา้ มไปปราศแล้ว ข้าพเจ้าท้ังหลาย ขอนมัสการพระพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ผู้โคตมโคตร ผู้ถึง พรอ้ มแลว้ ดว้ ยวชิ ชาและจรณะ ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ ผู้ทรงแสวงหาพระธรรม อัน ยิ่งใหญ่ ซ่ึงทรงอุบัติมาแล้ว (ท้ัง ๒๘ พระองค์) คือ พระตัณหังกรพุทธเจ้า ทรงเป็น วีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่, พระเมธังกรพุทธเจ้า ผู้มีพระยศใหญ่, พระสรณังกรพุทธเจ้า ผู้ เก้ือกูลแก่สัตว์โลก, พระทีปงั กรพุทธเจ้า ผทู้ รงพระปัญญารุง่ โรจน์, พระโกณฑัญญ พุทธเจา้ ผ้ทู รงเป็นพระประมขุ ของหมู่ชน, พระมงั คลพทุ ธเจ้า ผู้ประเสริฐ, พระสุมน พทุ ธเจา้ ผู้ทรงเปน็ ปราชญ์ มีพระหทัยงดงาม, พระเรวตะพุทธเจ้า ผูเ้ พิ่มพูนความ ยินดี, พระโสภิตะพุทธเจ้า ผู้ทรงเพียบพร้อมด้วยพระคุณ, พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า ผู้สูงสุดในหมู่ชน, พระปทุมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นแสงสว่างของชาวโลก, พระนารท พุทธเจ้า ผู้ทรงชี้นาทางที่ประเสริฐ, พระปทุมุตตรพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นหลักในการ ดาเนินชีวิตของชาวโลก, พระสเุ มธพุทธเจ้า ผ้ไู ม่มีบุคคลเปรยี บ, พระสุชาตพุทธเจ้า ผู้เลิศในโลก, พระปิยทัสสีพุทธเจ้า ผู้เป็นชนประเสริฐ, พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า ผู้ ประกอบด้วยความกรุณา, พระธัมมทัสสีพุทธเจ้า ผู้ทรงขจัดความมืด, พระสิทธัตถ พุทธเจ้า ผู้ไม่มีบุคคลเสมอในโลก, พระติสสะพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐกว่านักปราชญ์ ทั้งหลาย, พระปุสสพุทธเจา้ ผ้ทู รงประทานพระธรรมอันประเสริฐ, พระวปิ ัสสีพุทธ เจ้า ผู้หาบุคคลเปรียบมิได้, พระสิขีพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นบรมศาสดาผู้เกื้อกูลแก่มวล สรรพสัตว์, พระเวสสภพู ุทธเจา้ ผทู้ รงประทานความสุข, พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้นา หมู่สัตว์ออกจากกิเลส, พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผู้ละความช่ัวอันเป็นข้าศึก, วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๙๑
พระกัสสปพุทธเจ้า ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยสิริ, พระโคตมพุทธเจ้าผู้ประเสริฐในวงศ์ ศากยะ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าท้ังหลายที่ระบุนามมานี้ ตลอดจนพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าท้ังหลายเหล่าอื่นก็ดี ซ่ึงมีจานวนมากกว่าร้อยโกฏิ พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ เสมอกัน ไม่มใี ครเสมอเหมอื น พระพุทธเจา้ ทุกพระองคล์ ว้ นมีฤทธ์มิ าก ทรงประกอบด้วยทศพลญาณ ด้วย เวสารัชชญาณ ทรงตรสั รู้ฐานะอนั ยิ่งใหญ่ยอดเย่ียม ปราศจากความครั่นคร้าม ทรง บันลือสีหนาทท่ามกลางประชุมชนทุกหมู่เหล่า ทรงประกาศพรหมจักร คือ กงล้อ แห่งธรรมอันประเสริฐ ซ่ึงยังไม่มีใครประกาศในโลก ทรงเป็นผู้นาท่ีประกอบด้วย พทุ ธธรรม ๑๘ ประการ ประกอบด้วยพระลักษณะ ๓๒ ประการ ทรงไวซ้ ง่ึ พระอนุ- พยัญชนะ ๘๐ ประการ มีพระรัศมีงดงามแผ่ออกจากพระวรกายโดยรอบข้าง ๆ ละ ๑ วา พระพุทธเจ้าเหล่านั้นทุกพระองค์ล้วนเป็นพระมุนีผู้ประเสริฐ เป็นพระ สัพพัญญูพุทธเจ้า ผู้ส้ินอาสวกิเลสแล้ว เป็นผู้ชนะมาร ทรงมีพระรัศมีมาก มีเดช มาก เรืองปัญญา มีพละกาลังมาก มีพระมหากรุณาธิคุณ เป็นปราชญ์ ทรงนา ความสุขมาให้แก่ปวงสัตว์ ทรงเป็นเกาะ เป็นท่ีพึ่ง เป็นที่พานัก เป็นที่ต้านทานภัย และเป็นท่ีหลบภัยของสัตว์ท้ังหลาย เป็นทางดาเนินไป เป็นพวกพ้อง เป็นท่ีอบอุ่น ใจมาก เปน็ สรณะของสัตวท์ งั้ หลาย และเป็นผแู้ สวงหาประโยชนเ์ ก้อื กลู แก่สตั ว์โลก พระพุทธเจ้าเหล่าน้ันทุกพระองค์ ทรงเป็นผนู้ าทางของสัตว์โลกและเทวดา ข้าพเจ้าขอน้อมเศียรนมัสการพระบาทของพระพุทธเจ้าท้ังหลาย ขอน้อมนมัสการ พระพุทธเจ้าท้ังหลายผู้ยอดเย่ียม ผู้เป็นตถาคต ด้วยวาจาใจ ไม่ว่าในท่ีนั่งที่นอน ท่ี ยืนและในทเี่ ดินทกุ เมื่อ ขอพระพุทธเจ้าทัง้ หลาย ผู้ทรงสร้างความสงบ จงคุ้มครอง รักษาท่าน ให้มีความสุขทุกเม่ือเถิด ท่านผู้ซ่ึงพระพุทธเจ้าทั้งหลายคุ้มครองรักษา แลว้ จงเปน็ ผสู้ งบ และรอดพ้นจากภยั ทงั้ ปวง ๙๒ : หนังสือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
ขอทา่ นจงผา่ นพ้นจากโรคทง้ั ปวง ปราศจากความเดือดรอ้ นทกุ ประการ ลว่ ง พ้นจากเวรท้งั ปวง และดับทกุ ขไ์ ดเ้ สียเถิด ด้วยคาสัตย์ ด้วยศีล และด้วยพลังแห่งขันติและเมตตาของพระพุทธเจ้า ทั้งหลาย ขอพระพุทธเจ้าทั้งหลายจงคุ้มครองรักษาท่านให้เป็นผู้มีความสุข มีอายุ ยนื ภูตท้ังหลายมีฤทธิ์มาก สถิตอยู่ในทิศตะวันออก ขอภูตท้ังหลายเหล่าน้ันจง คมุ้ ครองรักษาทา่ นทง้ั หลายให้อยดู่ ว้ ยความไมม่ ีโรค และจงมีแตค่ วามสขุ เทวดาท้ังหลายมีฤทธิ์มาก สถิตอยู่ในทิศใต้ ขอเทวดาเหล่าน้ันจงคุ้มครอง รักษาทา่ นทัง้ หลายให้อย่ดู ว้ ยความไมม่ ีโรค และจงมแี ตค่ วามสขุ นาคทัง้ หลายมฤี ทธิ์มาก สถติ อยู่ในทิศตะวันตก ขอนาคท้ังหลายเหล่าน้ันจง ค้มุ ครองรักษาทา่ นทั้งหลาย ให้อยู่ดว้ ยความไม่มีโรค และจงมแี ตค่ วามสขุ ยักษ์ทั้งหลายมีฤทธ์ิมาก สถิตอยู่ในทิศเหนือ ขอยักษ์ทั้งหลายเหล่าน้ันจง ค้มุ ครองรกั ษาทา่ นทงั้ หลาย ให้อยดู่ ้วยความไมม่ ีโรคและจงมีแต่ความสขุ ท้าวธตรฐ สถิตอยู่ด้านทิศตะวันออก ท้าววิรุฬหก สถิตอยู่ด้านทิศใต้ ท้าว วริ ปู กั ษ์ สถิตอยู่ดา้ นทิศตะวันตก ท้าวกเุ วร สถิตอยูด่ ้านทศิ เหนอื ท้าวมหาราชทง้ั ๔ นั้นเป็นผู้ดูแลโลก เป็นผู้มียศ แม้มหาราชท้ัง ๔ จงคุ้มครองรักษาท่านทั้งหลาย ให้ อยดู่ ว้ ยความไม่มโี รคและจงมีแต่ความสขุ เทวดาท้ังหลาย ซ่ึงสิงสถิตอยู่ในอากาศก็ดี ภุมมเทวดาก็ดี นาคท้ังหลายก็ ดี เป็นผู้มีฤทธิ์มาก แม้เทวดาและนาคท้ังหลายเหล่านั้น จงคุ้มครองรักษาท่าน ท้ังหลาย ให้อย่ดู ้วยความไมม่ ีโรค และจงมีแตค่ วามสุขเถิด ที่พ่ึงอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าทรงเป็นท่ีพ่ึงอันประเสริฐของ ข้าพเจา้ ด้วยคาสตั ย์นี้ ขอชัยมงคลจงมแี ก่ทา่ น ที่พึ่งอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วย คาสตั ย์นี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน วดั ปทุมวนาราม ราชวรวหิ าร : ๙๓
ทีพ่ ง่ึ อ่นื ของขา้ พเจ้าไมม่ ี พระสงฆ์เป็นท่ีพึง่ อันประเสริฐของข้าพเจ้า ดว้ ยคา สตั ย์น้ี ขอชยั มงคลจงมีแกท่ า่ น รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมายบรรดามีในโลก รัตนะน้ันเสมอด้วย พระพุทธเจา้ หามไี ม่ เพราะเหตนุ ั้น ขอทา่ นจงประสบแตค่ วามสุขสวสั ดีท้ังหลาย รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมายบรรดามีในโลก รัตนะนั้นเสมอด้วยพระ ธรรมหามีไม่ เพราะเหตนุ ้ัน ขอท่านจงประสบแต่ความสขุ สวัสดที ั้งหลาย รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมายบรรดามีในโลก รัตนะนั้นเสมอด้วย พระสงฆ์หามไี ม่ เพราะเหตนุ นั้ ขอทา่ นจงประสบแต่ความสขุ สวสั ดีทง้ั หลาย เพราะทาความเคารพพระพุทธรัตนะ อันเป็นดังโอสถ อันอุดมเลิศ เกื้อกูล แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ขอให้อุปัทวะท้ังหลายท้ังปวงจงพินาศไปสิ้น ขอให้ ทกุ ขท์ ั้งหลายของทา่ นจงสงบไปโดยดี เพราะทาความเคารพพระธรรมรัตนะ อันเป็นดังโอสถอันอุดมประเสริฐ เปน็ เครอ่ื งระงับดับความความกระวนกระวาย ดว้ ยเดชแหง่ พระธรรม ขอให้อุปัทวะ ท้งั หลายทั้งปวงจงพินาศไปสนิ้ ขอให้ภยั ท้งั หลายของทา่ นจงสงบไปโดยดี เพราะทาความเคารพพระสังฆรัตนะ อันเป็นดังโอสถอันอดุ มดี ควรเพื่อวตั ถุ อันเขานามาบูชา ควรเพื่อวัตถุอันเขาต้อนรับ ด้วยเดชแห่งพระสงฆ์ ขอให้อันตราย ทงั้ หลายทง้ั ปวงจงพนิ าศไปสน้ิ ขอใหโ้ รคท้ังหลายของท่านจงสงบไปโดยดี ขอเสนียดจัญไรทัง้ ปวงจงบาราศไป โรคทั้งปวงจงพินาศไป อันตรายอย่าได้ มแี กท่ า่ น ขอทา่ นจงมีแตค่ วามสขุ มีอายุยืน นรชนผูม้ นี ิสยั กราบไหว้ ออ่ นน้อมถ่อมตนต่อผูใ้ หญเ่ ปน็ นติ ย์ ยอ่ มเจริญด้วย ธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข พละ ฯ ๙๔ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
อังคลุ มิ ำลปรติ ร อังคุลิมำลปริตร เป็นปริตรท่ีมีเนื้อความกล่าวถึงสัจจาธิษฐานของ พระองคุลิมาลเถระท่ีต้ังข้ึนเพื่อช่วยหญิงมีครรภ์คนหน่ึงให้คลอดบุตรได้ง่าย นอกเหนือจากการคลอดบุตรง่ายแล้ว ยังมีอานุภาพแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าอย่าง ปัจจุบนั ทันดว่ น คลายปัญหาจากเหตุการณฉ์ ับพลนั สุดวสิ ัย บทสวด ยะโตหัง ภะคินิ อะริยำยะ ชำตยิ ำ ชำโต, นำภิชำนำมิ สัญจิจจะ ปำณัง ชีวติ ำ โวโรเปตำ. เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คพั ภสั สะ. ยะโตหัง ภะคินิ อะริยำยะ ชำติยำ ชำโต, นำภิชำนำมิ สัญจิจจะ ปำณัง ชวี ิตำ โวโรเปตำ. เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ. ยะโตหัง ภะคินิ อะริยำยะ ชำตยิ ำ ชำโต, นำภชิ ำนำมิ สัญจิจจะ ปำณัง ชวี ติ ำ โวโรเปตำ. เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ. คำแปล ดูกอ่ นนอ้ งหญงิ ตง้ั แต่เราเกดิ แล้วโดยชาตอิ รยิ ะ ไม่รจู้ ักแกล้งปลงสตั ว์มชี ีพ จากชีวิต ดว้ ยคาสตั ยน์ ้ี ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ขอความสวสั ดีจงมีแก่ครรภ์ของ ท่าน ดูกอ่ นนอ้ งหญงิ ตั้งแต่เราเกดิ แล้วโดยชาติอริยะ ไม่รจู้ กั แกล้งปลงสตั ว์มชี ีพ จากชวี ิต ดว้ ยคาสัตยน์ ี้ ขอความสวสั ดจี งมแี กท่ า่ น ขอความสวสั ดีจงมีแก่ครรภข์ อง ท่าน ดกู อ่ นน้องหญิง ตงั้ แต่เราเกิดแล้วโดยชาตอิ รยิ ะ ไม่รจู้ กั แกล้งปลงสัตว์มชี ีพ จากชวี ติ ดว้ ยคาสัตย์นี้ ขอความสวสั ดจี งมแี กท่ า่ น ขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภข์ อง ทา่ น ฯ วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๙๕
โพชฌงั คปริตร โพชฌงั คปรติ ร ถือเป็นพุทธมนตท์ ี่ชว่ ยใหค้ นป่วยทไ่ี ดส้ ดับตรับฟังธรรมบท น้ีแล้วสามารถหายจากโรคภัยไข้เจ็บได้ ท่ีเชื่ออย่างน้ีเพราะมีเร่ืองในพระไตรปิฎก เลา่ ว่า พระสมั มาสัมพุทธเจ้าไดเ้ สดจ็ ไปเย่ยี มพระมหากัสสปะท่อี าพาธ พระองค์ทรง แสดงสัมโพชฌงค์แก่พระมหากัสสปะ พบว่าพระมหากัสสปะสามารถหายจากโรค ได้ อีกครั้งหน่ึง พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมบทน้ีแก่พระโมคคัลลานะซ่ึงอาพาธ หลังจากน้นั พบว่าพระโมคคัลลานะก็หายจากอาพาธได้ ในท่ีสุด เม่ือพระพุทธองค์ เองทรงอาพาธ จึงตรัสใหพ้ ระจุนทเถระแสดงโพชฌงคถ์ วาย ซ่ึงพบว่าพระพทุ ธเจา้ ก็ หายประชวร พทุ ธศาสนิกชนจึงพากันเชื่อว่า โพชฌงคน์ ้ัน สวดแล้วช่วยให้หายโรค ซึ่งใน พระไตรปฎิ กกลา่ วว่า ธรรมท่พี ระองค์ทรงแสดง เป็นธรรมเกี่ยวกับปญั ญาเป็นธรรม ชั้นสูง ซ่ึงเป็นความจริงในเร่ืองการทาใจให้สว่าง สะอาดผ่องใส ซ่ึงสามารถช่วย รักษาใจ เพราะจิตใจมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับร่างกาย เนื่องจากกายกับใจ เปน็ สิง่ ทีอ่ าศัยกันและกนั หลักของโพชฌงค์เป็นหลักปฏิบัติทว่ั ไปซ่ึงไม่จากัดเฉพาะ ผ้ปู ว่ ยเท่านนั้ เพราะโพชฌงค์ แปลว่า องคแ์ หง่ โพธิ หรือองคแ์ ห่งโพธิญาณ เปน็ องค์ แห่งการตรสั รูซ้ ึง่ เปน็ เรื่องของปัญญา บทสวด โพชฌงั โค สะติสังขำโต ธัมมำนงั วจิ ะโย ตะถำ, วริ ยิ มั ปีตปิ สั สทั ธิ- โพชฌังคำ จะ ตะถำปะเร. สะมำธุเปกขะโพชฌงั คำ สัตเตเต สพั พะทสั สนิ ำ, มนุ นิ ำ สมั มะทกั ขำตำ ภำวติ ำ พะหลุ ีกะตำ. สังวตั ตนั ติ อะภญิ ญำยะ นิพพำนำยะ จะ โพธยิ ำ, ๙๖ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทำ. เอกัสม๎ ิง สะมะเย นำโถ โมคคลั ลำนัญจะ กสั สะปงั , คลิ ำเน ทกุ ขิเต ทิสว๎ ำ โพชฌังเค สตั ตะ เทสะย.ิ เต จะ ตัง อะภินันทิตว๎ ำ โรคำ มจุ จิงสุ ตงั ขะเณ, เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทำ. เอกะทำ ธัมมะรำชำปิ เคลญั เญนำภปิ ีฬโิ ต, จนุ ทัตเถเรนะ ตญั เญวะ ภะณำเปตว๎ ำนะ สำทะรัง. สัมโมทิต๎วำ จะ อำพำธำ ตมั ๎หำ วุฏฐำสิ ฐำนะโส, เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สพั พะทำ. ปะหีนำ เต จะ อำพำธำ ติณณนั นมั ปิ มะเหสินงั , มัคคำหะตะกเิ ลสำ วะ ปตั ตำนปุ ปตั ตธิ มั มะตัง, เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทำ. คำแปล โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ วิริยสัม- โพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์ อุเบกขาสัม- โพชฌงค์เหล่าน้ี อนั พระมุนีเจา้ ผูเ้ หน็ ธรรมทั้งส้นิ ตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลมาเจริญ ทาให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพอ่ื ความรู้ย่ิง เพื่อนิพพาน และเพื่อความตรัสรู้ ด้วยการ กล่าวคาสัตย์น้ี ขอความสวสั ดีจงมีแก่ทา่ นทุกเม่ือ ในสมัยหน่ึง พระโลกนาถเจ้าทอดพระเนตรพระมหาโมคคัลลานะและพระ มหากัสสปะเป็นไข้ถึงทุกขเวทนาแล้ว ทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ประการ ท่านทั้ง ๒ ก็ เพลดิ เพลินภาษิตนั้น หายโรคในขณะนั้น ดว้ ยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจง มีแกท่ า่ นทุกเมอ่ื คร้ังหน่งึ แม้พระธรรมราชา อันความประชวรเบียดเบียนแลว้ รับสั่งใหพ้ ระ จุนทเถระแสดงโพชฌงค์น้ันโดยยินดี ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย หายความประชวรน้ัน ไปโดยฐานะ ด้วยการกลา่ วคาสตั ย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทา่ นทกุ เมื่อ วดั ปทมุ วนาราม ราชวรวหิ าร : ๙๗
ก็อาพาธท้ังหลายน้นั อันพระมหาฤษีท้ัง ๓ องค์ละไดแ้ ลว้ ถึงความไม่บงั เกิด เป็นธรรมดา ดุจกิเลสอันมรรคกาจัด ด้วยการกล่าวคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมแี ก่ ทา่ นทกุ เมอ่ื ฯ อภยปรติ ร อภยปริตร เป็นคาถาแห่งการให้อภัยและอโหสิกรรมในเหตุการณ์ท่ีทาให้ เกดิ ความขัดแย้งในชีวิตและสังคม เนอ้ื หาของบทอภยปรติ ร กล่าวถึงการตัง้ จิตน้อม เอาอานุภาพแห่งคุณพระรัตนตรัยช่วยบาบัดปัดเป่าลางร้าย อันเกิดจากสิ่งที่ทาให้ ไมส่ บายใจ บาปเคราะห์ ฝนั ร้าย และอันเปน็ อปั มงคลทัง้ หลายทงั้ ปวง ใหพ้ นิ าศไป บทสวด ยันทุนนมิ ิตตัง อะวะมังคะลญั จะ โย จำมะนำโป สะกุณสั สะ สทั โท ปำปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตงั พทุ ธำนภุ ำเวนะ วินำสะเมนต.ุ ยนั ทนุ นมิ ิตตัง อะวะมงั คะลัญจะ โย จำมะนำโป สะกณุ สั สะ สทั โท ปำปคั คะโห ทุสสุปินงั อะกนั ตงั ธมั มำนุภำเวนะ วินำสะเมนต.ุ ยนั ทนุ นมิ ติ ตงั อะวะมังคะลญั จะ โย จำมะนำโป สะกณุ ัสสะ สัทโท ปำปคั คะโห ทสุ สปุ นิ ัง อะกนั ตัง สงั ฆำนุภำเวนะ วินำสะเมนตุ. ๙๘ : หนังสอื สวดมนต์ ศาลาพระราชศรทั ธา
คำแปล ลางร้ายอันใด สิง่ อวมงคลอันใด เสียงนกที่ไมน่ ่าพึงใจอันใด บาปเคราะหอ์ ัน ใดและฝันร้ายที่ไมน่ ่าปรารถนาอันใด ขอจงถึงความพินาศไปด้วยพทุ ธานุภาพ โดย สิ้นเชงิ เถดิ ลางร้ายอนั ใด ส่ิงอวมงคลอนั ใด เสียงนกที่ไม่น่าพึงใจอนั ใด บาปเคราะหอ์ ัน ใดและฝันร้ายที่ไม่น่าปรารถนาอันใด ขอจงถึงความพินาศไปด้วยธัมมานุภาพ โดย สน้ิ เชิงเถดิ ลางรา้ ยอนั ใด สิง่ อวมงคลอันใด เสยี งนกทีไ่ มน่ า่ พึงใจอันใด บาปเคราะห์อัน ใดและฝันร้ายที่ไม่น่าปรารถนาอันใด ขอจงถึงความพินาศไปด้วยสงั ฆานุภาพ โดย ส้ินเชงิ เถิด ฯ โอสถปริตร พระคาถาบทนี้ เป็นพระคาถาท่ีสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทาน ใหเ้ ทพบุตรอุณหิสวชิ ยั ใช้สาธยาย จงึ ได้มอี ายุยืนอยใู่ นสวรรค์ต่อไป ผูใ้ ดหมน่ั สวดพระคาถานี้ จะระงับโรคภัยไขเ้ จ็บ มีอายยุ นื ยาว โบราณใช้เสก ยากินแก้โรค และถ้าหากผู้ใดสวดเจริญอยู่เป็นนิจ นอกจากจะปราศจากโรคภัยไข้ เจ็บรบกวนแลว้ ยังแคลว้ คลาดจากภยั ตา่ ง ๆ เชน่ ราชภัย โจรภยั เป็นตน้ บทสวด สกั กตั ๎วำ พุทธะระตะนัง โอสะถงั อุตตะมงั วะรงั , หติ ัง เทวะมะนสุ สำนัง พทุ ธะเตเชนะ โสตถนิ ำ, นัสสันตปุ ทั ทะวำ สพั เพ ทุกขำ วูปะสะเมนตุ เต. สักกัตว๎ ำ ธัมมะระตะนัง โอสะถงั อุตตะมัง วะรงั , ปะรฬิ ำหปู ะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินำ, นสั สันตปุ ัททะวำ สัพเพ ภะยำ วปู ะสะเมนตุ เต. วัดปทมุ วนาราม ราชวรวิหาร : ๙๙
สกั กัต๎วำ สงั ฆะระตะนัง โอสะถงั อตุ ตะมัง วะรัง, อำหุเนยยงั ปำหุเนยยงั สังฆะเตเชนะ โสตถนิ ำ, นัสสนั ตปุ ัททะวำ สพั เพ โรคำ วปู ะสะเมนตุ เต. คำแปล เพราะทาความเคารพพระพุทธรัตนะ ซ่ึงเป็นประหนึ่งโอสถอันประเสริฐ เยี่ยมยอด เกื้อกูลแก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้า ขอให้ อนั ตรายทั้งหลายทัง้ ปวง จงพินาศไปสิน้ ขอใหท้ กุ ขท์ ั้งหลายของทา่ น จงสงบไปโดย ดี เพราะทาความเคารพพระธรรมรัตนะ ซึ่งเป็นประหนึ่งโอสถอันประเสริฐ เยี่ยมยอด เก้ือกูลแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยเดชแห่งพระธรรม ขอให้ อันตรายทั้งหลายท้งั ปวง จงพินาศไปสน้ิ ขอใหท้ กุ ข์ทงั้ หลายของทา่ น จงสงบไปโดย ดี เพราะทาความเคารพพระสงฆรัตนะ อันเป็นดั่งโอสถอันอุดมประเสริฐ เป็น ผู้ควรแก่สักการะทเี่ ขานามาบชู า เป็นผู้ควรแก่สกั การะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ด้วยเดช แห่งพระสงฆ์ ขอสรรพอุปทั วะทั้งหลายจงพินาศไป ขอโรคทัง้ หลายของท่านจงสงบ ไปโดยสวสั ดี ฯ ๑๐๐ : หนงั สือสวดมนต์ ศาลาพระราชศรัทธา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329