Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Seminar Korean Language Education

Seminar Korean Language Education

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-12-29 09:00:20

Description: Processdings

Search

Read the Text Version

92 จากตัวอยา่ งขา้ งตน้ จะเหน็ วา่ มกี ารใชค้ าศัพท์ “far”, “come”, “crossroads”, “long bumpyroad” ซึ่งเปน็ คาศัพทเ์ กยี่ วกับการเดินทางเขา้ มาใช้กับเร่ืองความรกั ดงั นน้ั จึงกล่าวได้ว่า“ความรักคอื การเดินทาง” เปน็ อุปลกั ษณ์เชิงมโนทัศน์ โดย “การเดนิ ทาง” เปน็ มโนทศั น์ตน้ ทาง และ “ความรกั ” เปน็ มโนทัศนป์ ลายทางวัตถปุ ระสงค์การวิจัย บทความฉบับน้มี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือวเิ คราะหก์ ารขยายความหมายคาเปรยี บเทยี บของสัตวใ์ นภาษาไทยและภาษาเกาหลีตามแนวทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน (cognitive linguistics) 1. การขยายความหมายคาเปรยี บเทยี บของสัตวใ์ นภาษาเกาหลมี วี ิธกี ารขยาย ความหมายในลักษณะใดบ้าง 2. เพื่อศึกษาภาพสะท้อนจากสานวนเกาหลที ่มี ีคาเก่ียวกับสตั ว์ความสาคัญของการวจิ ัย ทาใหเ้ หน็ ถึงการขยายความหมายคาเปรียบเทยี บสัตวใ์ นภาษาเกาหลี เหน็ ภาพสะท้อนความร้สู ึกและความคิดของชาวเกาหลีทม่ี ตี อ่ สตั ว์นนั้ ๆ ซงึ่ ผลการวิจยั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรภู้ าษาและวัฒนธรรมเกาหลีขอบเขตการวิจยั ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดขอบเขตการวิจยั ไวด้ งั นี้ 1. ศกึ ษาลักษณะทางความหมายของคาเรยี กสัตว์ชนิดตา่ งๆรวมท้ังส่วนประกอบของ สัตวเ์ ชน่ อวยั วะร่างกายของเหลวในร่างกายในภาษาเกาหลี 2. ศกึ ษาเฉพาะคาในภาษาเกาหลมี าตรฐาน ไมร่ วมภาษาถนิ่ 3. เก็บรวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ไดแ้ ก่ โปรแกรมคลงั ขอ้ มลู ทางภาษา และ “Search Engine” ของเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ เน่ืองจากฐานขอ้ มลู “Search Engine” นอกจากจะเปน็ การใชภ้ าษาปจั จุบนั แล้วยงั มีความเป็นธรรมชาตขิ องการใชภ้ าษาใน ชวี ติ ประจาวนั อกี ทงั้ ยงั เป็นแหลง่ ข้อมูลทบี่ คุ คลทว่ั ไปสามารถเขา้ ถึงไดง้ า่ ยในโลกของ การสื่อสารทางอนิ เทอรเ์ นต็ และสามารถเปน็ ตัวแทนการใช้ภาษาไทยในสังคมและ วัฒนธรรมของคนไทยปจั จบุ ันไดเ้ ป็นอยา่ งดี 3.1 ตวั อย่างประโยคคาเรยี กสัตว์ชนดิ ตา่ งๆรวมทั้งสว่ นประกอบของสัตว์ในภาษาเกาหลใี ชโ้ ปรแ กรมKKMA(꼬꼬마 프로젝트)ท่เี ปน็ คลงั ขอ้ มูลภาษาเกาหลี จัดทาขนึ้ โดย มหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาตโิ ซล IDS (Intelligent Data Systems) จากเวบ็ ไซต์http://kkma.snu.ac.kr/ 3.2 เก็บขอ้ มูลจาก “Search Engine Smart Office” เว็บไซต์www.pantip.comและ“Search Engine” ของเว็บไซต์อืน่ ๆ 3.3 เก็บข้อมลู จาก “Naver search engine” เว็บไซต์ www.naver.com และ“Search Engine” ของเว็บไซต์อ่ืนๆ 4. อภิปรายผลความหมายของคาเรียกสตั ว์ appearance, behavior และcharacterวิธีการดาเนินการวิจัย และสถานท่ที าการทดลอง/เกบ็ ข้อมูล 1. ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับทฤษฎีภาษาศาสตร์ปรชิ าน(cognitive linguistics)

93 2. เก็บรวบรวมข้อมลู จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ได้แก่ โปรแกรมคลงั ข้อมลู ทางภาษา และ“Search Engine” ของเวบ็ ไซตต์ ่างๆ 3. วิเคราะห์การขยายความหมายคาเปรียบเทยี บของสตั วใ์ นภาษาไทยและภาษาเกาหลีตามแนวทฤษฎภี าษาศาสตรป์ ริชาน (cognitive linguistics) 4. สรุปผลและอภิรายผลการวจิ ัยการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกยี่ วข้อง บทความวจิ ัยน้ีผู้เขยี นมุ่งเนน้ ศึกษาการขยายความหมายคาเปรยี บเทียบของสัตว์ในภาษาไทยและภาษาเกาหลีตามแนวทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน (cognitive linguistics) มาใชเ้ ปน็ แนวทางในการวิเคราะห์ โดยเก็บรวบรวมข้อมลู จากแหล่งข้อมูลต่าง ไดแ้ ก่ โปรแกรมคลงั ข้อมูลทางภาษา และ “SearchEngine” ของเว็บไซต์ต่างๆ งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวกับการศึกษาความหมายเปรยี บเทยี บของสัตว์ในภาษาเกาหลี Huang Ye (2554) ศกึ ษารปู แบบอปุ ลกั ษณเ์ ก่ียวกับสตั ว์ ท่ีปรากฏในภาษาอังกฤษ ได้อธบิ ายลกั ษณะพิเศษของอปุ ลกั ษณ์เก่ยี วกับสตั ว์โดยใช้ทฤษฏอี รรถศาสตร์ปริชานในการวิจยั ได้วเิ คราะหอ์ ปุลักษณ์เป็นHUMAN IS ANIMAL กบั INANIMATE THING IS ANIMAL Mi Young Lee (2555) ศกึ ษาสภุ าษติ , สานวนในภาษาเกาหลีและภาษาอังกฤษ ทม่ี สี ัตวเ์ ป็นสว่ นประกอบอยใู่ นสุภาษติ และสานวนนั้นๆ ไดแ้ ก่ วั ว, ไก่, สนุ ัข, หมาป่า และหมู ไดว้ ิเคราะห์การเปรยี บเทียบเปน็ HUMANS ARE ANIMALS กบั ANIMALS ARE HUMANSซึ่งแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็นอปุ ลักษณส์ ตั ว์กบั ผู้ชาย และอุปลักษณส์ ตั วก์ บั ผหู้ ญงิ ตามทฤษฎีอปุ ลกั ษณ์มโนทศั นม์ าใชใ้ นการวิเคราะห์พบว่าอปุ ลักษณค์ าเปรียบเทียบของสตั วใ์ นท้งั สองภาษา เหมือนกันอย่างมากโดยมีพื้นฐานมาโดยตรงจากประสบการณท์ างกาย (bodily experience)แต่กม็ คี วามแตกต่างกันเนือ่ งจากการรับร้อู ปุ ลักษณ์น้ันแตกต่างกันไปตามบริบททางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ EUN JO KIM (2556) ศึกษาอปุ ลกั ษณ์ท่ีเกีย่ วกับไก่ (chickens) ม้า (horses) และงู (snakes) ในภาษาองั กฤษตามแนวอรรถศาสตรป์ รชิ า น โดยได้วิเคราะหอ์ ปุ ลกั ษณ์เป็น PEOPLEARE ANIMALSและTHINGSARE ANIMALSผลการวิจยัคาเปรยี บเทียบที่เก่ียวกบั สัตวใ์ นภาษาเกาหลยี ังมอี ีกมากมาย ทน่ี ่าสนใจและน่านามาวิเคราะห์ ซ่งึ จะทาให้ผู้ศึกษามีความเขา้ ใจและสามารถจดจาคาเปรียบเทียบภาษาเกาหลีเหล่านน้ั ไดอ้ ยา่ งลึกซงึ้ ยิ่งขน้ึHUMAN APPEARANCE IS ANIMAL APPEARANCE มนษุ ยม์ คี วามคลา้ ยคลงึ กบั สตั วต์ ่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสตั ว์ทเี่ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมตามโครงสรา้ งทางชวี ภาพและคณุ สมบัติ มนษุ ย์คน้ พบว่าตนเองมคี วามคลา้ ยคลึงกับสัตวใ์ นบางสว่ น ดว้ ยเหตุน้ีอุปมาจงึ มบี ทบาทสาคญั ในการประมวลผลของความหมายเชิงเปรยี บเทยี บในแง่ของสตั ว์ และความหมายเชิงเปรยี บเทยี บนี้แตกตา่ งกันไปในวฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งๆ a. 친구가 막 욕하더라구요 남친이가 곰같은 남자읶데 짜증난다구 눈치도 없고 약간 둒해보이는 면이 보이는것 같다는데 b. 곰같은 남자가 아니라 돼지같은 남자래요...

94 จากตัวอยา่ งaเป็นการเปรยี บเทยี บกับคนท่มี รี ูปร่างใหญ่วา่ เปน็ หมี และจากตัวอย่าง b เปน็ การเปรียบเทียบรปู ร่างของคนอ้วนว่าเป็นหมู c. 쭈글쭈글 주름살로 뒤덮읶 얼굴에 박힌 작은 눈속에서 눈동자는 쥐눈처럼 반짝거렸다. <출처: 구렁이들의 집> d. 맊읷 저를 대통령으로 뽑아 주시면, 호랑이들이 젃대로 사슴들을 못 잡아먹도록 하는 법을 맊들겠습니다!\" <출처: 고맙다 논리야> จากตวั อยา่ งcเปน็ การเปรยี บเทียบลักษณะดวงตาท่ีเปลง่ ประกายไปดว้ ยความหวงั ของคนกับ ดวงตาของหนู จากตัวอย่าง d เป็นการเปรียบเทียบเสือกบั คนท่ีมีอานาจและทรงอิทธิพล e. 정육점집 딸, 그래서 살찐 꽃돼지 같은 윢숙이도 좋아하지는 않아. <출처: 닫힌 교문을 열며, 형태 의미 붂석 젂자파읷> จากตวั อยา่ ง eเป็นการเปรียบเทียบรปู รา่ งของหมเู ปน็ รปู รา่ งของผหู้ ญิงที่มีรปู รา่ งอ้วน และในคาเปรยี บเทยี บน้ยี ังได้ใช้คาวา่ „꽃’หรือดอกไม้ มาเปรียบเปน็ ผู้หญงิ สวยอีกด้วยHUMAN BEHAVIOR IS ANIMAL BEHAVIOR ภาษาเกาหลีมคี าอุปมาอปุ มยั ท่ีกลา่ วถึงสตั วต์ า่ งๆอยมู่ ากมาย อันได้มาจากการสงั เกตอปุ นิสยั ของสตั ว์เหล่านั้นมาพูดกัน จนเป็นทย่ี อมรบั ของคนส่วนใหญ่ และนามาพูดเพอ่ื เปรยี บเทียบ กระทบกระเทยี บเปรยี บเปรย หรือเพอ่ื สง่ั สอน f. 그렇지맊 화가 나면 무서운 호랑이 같습니다. <출처: 이사 가던 날> g. 예를 들어, 학교에 가기는 해야 하겠는데, 숙제를 깜빡 잊고 안했기 때문에 가기맊 하면 호랑이 선생님께 벼락 같이 혺날 것은 뻔하므로 가기가 싫은 것이다. <출처: 심리학개롞> จากตัวอย่างf - gเป็นการเปรยี บเทยี บอุปนิสยั ของเสือเป็นอปุ นสิ ยั ของคนทม่ี คี วามนา่ กลวั ดรุ า้ ยและมีความน่าเกรงขาม h. 그의 기억 속의 핛머니는 생젂에 따스핚 말 핚마디 하는 법 없는, 뱀처럼 냉정핚 사람이었다. <출처: 아랑은 왜> จากตัวอยา่ ง hเปน็ การเปรยี บเทียบอปุ นิสยั ของงูเป็นอปุ นสิ ยั ของคนท่มี คี วามใจเย็นรสู้ กึ ไมย่ ินดียินรา้ ย i. 여자는 밖의 소띾에 놀띾 토끼처럼 귀를 쫑긋 세우며 움츠러들었다. <출처: 경성애사>

95 จากตวั อยา่ ง iเป็นการเปรยี บเทยี บอปุ นิสัยของกระต่ายเป็นอุปนสิ ัยของคนท่ชี อบตืน่ ตูมตกอกตกใจHUMAN CHARACTER IS ANIMAL CHARACTER มนษุ ย์ไดม้ กี ารพฒั นาความสัมพนั ธ์ใกล้ชดิ กบั สัตวใ์ นกระบวนการทีย่ าวนานจากการเปลย่ี นแปลงทางธรรมชาติ มนษุ ย์เรามรี ูปแบบการแสดงผลท่ีแตกต่างกนั กบั สตั วป์ รากฏการณ์น้ียังสะทอ้ นใหเ้ ห็นในภาษา ยกตัวอยา่ งเช่นหมูโงล่ ิงฉลาดแกะข้ีอายและสนุ ัขจิ้งจอกมฝี ีมอื j. 쥐 같은 놈까지도 밤새도록 반자 위에서 바스락거려서 사람에게 \"바쁘다!\" <출처: 핚국현대수필을 찾아서, 어휘 의미 붂석 젂자파읷> จากตวั อยา่ ง jเป็นการเปรยี บเทียบลักษณะของหนูเป็นลักษณะของคนทต่ี ัวเล็กมคี วามปราดเปรยี ววอ่ งไวขยันขนั แขง็ k. 모두들 쥐죽은 듯 조용해졌습니다. <출처: 너도밤나무 나도밤나무> l. 아주머니는 쥐죽은 듯이 부엌에서 밥상맊 방으로 들여보내고 벌벌 떨고 있었다 핚다. <출처: 나, 고은, 어휘 의미 붂석 젂자파읷> m. 사방은 쥐죽은 듯 조용했고 가마니를 깔고 앉은 객석엔 핚숨과 같이 경탄이 맴돌았다. <출처: 33 세의 팡세> จากตัวอยา่ ง k - mเป็นการเปรยี บเทยี บลกั ษณะท่าทางของหนูเป็นลกั ษณะทา่ ทางของคนทที่ าสิ่งใดสง่ิหน่งึ โดยใช้เสียงน้อยมากๆหรอื แทบจะไม่มีเสียงให้ได้ยิน n. 남자는 죄 도둑놈이 아니면 늑대예요. จากตวั อยา่ ง nเปน็ การเปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมของหมาปา่ เปน็ ลักษณะพฤติกรรมของคนทมี่ ีความร้ายกาจต่อผหู้ ญิง o. \"서울의 달\"은 9 월 넷째 주 방영붂에서 당초 \"꽃뱀\" 홍짂희가 깡패들을 동원해 채시라를 폭행하는 장면이 있었으나 지졲파 사건의 여파를 고려해 생략했다. <출처: 주간경향> จากตวั อย่าง oเปน็ การเปรยี บเทียบพฤติกรรมของงเู ป็นพฤตกิ รรมของผหู้ ญิงทม่ี คี วามร้ายกาจมพี ิษสงรา้ ยแรง และในคาเปรยี บเทียบน้ไี ด้ใชค้ าวา่ „꽃‟หรือดอกไม้ มาเปรยี บเป็นผูห้ ญงิ สวยอกี ดว้ ย p. 상대 패스를 가로챈 노상래는 먹이를 쫓는 야생의 표범과 다를 게 없었다. <출처: 스포츠서울>

96 จากตัวอยา่ ง pเปน็ การเปรียบเทียบลักษณะพเิ ศษของเสอื ดาวเปน็ ลักษณะพิเศษของนกั กีฬาฟุตบอลที่มสี ายตาที่เฉยี บคมและว่องไวในการจา่ ยลกู บอลใหก้ ับเพอ่ื นรว่ มทมี ไดอ้ ย่างสวยงาม q. 여우 같고, 들개 같고, 뱀 같은 여자라던가. <출처: 영웅시대 1> จากตวั อยา่ ง qเปน็ การเปรยี บเทยี บพฤติกรรมของหมาปา่ เป็นลักษณะพฤติกรรมของผู้หญงิ ทีม่ ีความร้ายกาจต่อผชู้ าย r. '황새' 황선홍과 '유비' 유상철이 핚국 축구 반세기의 숙원을 풀었다. <출처: 핚겨렺싞문 2002 년 기사: 종합> จากตัวอย่าง rเป็นการเปรยี บเทยี บลักษณะทา่ ทางของนกกระสาเป็นลักษณะฐานะทางครอบครวั ในวยัเดก็ ของนักกฬี าฟุตบอลท่ีชอื่ ฮวางซอนฮง เน่อื งจากฐานะครอบครัวยากจนทาให้ต้องอยู่บนเรือ และหาปลาอยู่ในหนองนา้ เพอ่ื นๆเห็นลกั ษณะทา่ ทางเหมือนนกกระสา ดังน้ันฮวางซอนฮงจงึ มชี ือ่ เลน่ ดังที่กลา่ วมา s. “허허, 이거원기가막혀서……맊약당싞어머니가곰이었다면우리어머닌호랑이였겠소.” <출처: 어른들을위핚동화(3) จากตัวอย่างที่ s เปน็ การเปรยี บเทยี บบคุ ลิกของหมีทตี่ ัวใหญม่ ีคนปุยแสดงถึงความอบอ่นุ มาเปรียบเทียบกับคนที่รูปร่างใหญ่ดูมีความอบอนุ่ ในตัวเองอภิปรายผล การวจิ ัยในครงั้ น้แี สดงให้เหน็ ถึงการขยายความหมายของคาเปรยี บเทียบสตั ว์ในภาษาเกาหลี ที่นามาเปรยี บเทยี บกับรูปลักษณ์ ลกั ษณะนิสยั และบุคลิกของคน ตลอดจนเหน็ ภาพสะทอ้ นที่เกิดจากสตั ว์และอวัยวะของสัตว์ ซ่งึ ในคาเปรยี บเทยี บและสานวนภาษาเกาหลี สะทอ้ นให้เหน็ วา่ ชาวเกาหลใี ห้ความสาคญั ในการใช้คาท่เี กี่ยวกับสัตวแ์ ละอวยั วะสตั วต์ า่ งๆ มาใช้ในการเปรียบเทยี บหรือสรา้ งสานวน อนัแสดงให้เห็นถงึ ความผูกพนั ของชาวเกาหลีท่ีมตี ่อสตั ว์โดยใช้คาทแี่ สดงกรยิ ารวมไปถงึ พฤตกิ รรมต่างๆเหมอื นกับมนุษย์ นอกจากน้ผี ลการศึกษายงั มปี ระโยชน์ตอ่ การพัฒนาการเรยี นการ สอนภาษาเกาหลีในประเทศไทยอีกดว้ ย โดยมองเห็นว่า วิจยั คาเปรยี บเทยี บทเ่ี กีย่ วกบั สัตว์ในภาษาเกาหลจี ะชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจในความหมายอ่ืนๆตามบริบทตา่ งๆ ทัง้ ในรายวิชาสภุ าษติ และสานวนเกาหลี รวมไปถึงวชิ าการแปลให้มีความเขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึนขอเสนอแนะ1. ควรมีการศึกษาคาเปรียบเทียบสัตว์ในภาษาเกาหลแี ละภาษาไทย ที่มกี ารขยายความหมายถึงสงิ่ ต่างๆเชนพืชพรรณ สิง่ ของ เปนตน2. ควรมกี ารศกึ ษาเปรยี บเทียบคาเปรยี บเทยี บสัตวใ์ นภาษาเกาหลกี ับคาเปรียบเทยี บสัตวใ์ นภาษาไทยด้านภาษาศาสตร์ เชนโครงสรางวลีประโยค เปน็ ต้น

97 เอกสารอา้ งอิงของโครงการวจิ ยักานดาภร เจริญกิตบวร (2555). วารสารภาษาศาสตร์ ปที ี่ 31 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2555.จินดารัตน์ บุญพันธ์ (2547). ความหมายเปรียบเทียบของสัตว์ในสานวนไทย. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑิต, คณะศิลปะศาสตร,์ สาขาวิชาภาษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์บญุ ลกั ษณ์ เอ่ยี มสาอาง. (2551). หลักการใชภ้ าษาและการใช้ภาษา ม.4. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น.์ภัทรา งามจติ วงษ์สกลุ . (2546). การศึกษาอุปลกั ษณ์ความรกั จากบทเพลงไทยสากล. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ , สถาบนั วจิ ัยภาษาและวฒั นธรรมเพ่อื พัฒนาชนบท, สาขาวิชาภาษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหดิ ล.มิรนิ ด้า บูรรุ่งโรจน.์ (2548). อุปลักษณเ์ ชิงมโนทศั นเ์ กี่ยวกบั ผหู้ ญิงในบทเพลงไทย ลกู ทงุ่ . วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต, คณะศลิ ปศาสตร,์ สาขาวชิ าภาษาศาสตร์, มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ: บริษัท นานมบี คุ ส์ จากดัราชบณั ฑติ ยสถาน. (2548). พจนานกุ รมศพั ท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (พมิ พค์ รั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ศกั ดิโสภาการพมิ พ.์โสภา (ชพู กิ ุลชยั ) ชปีลมนั น.์ (2529). ความรเู้ บื้องตน้ ทางจิตวทิ ยา. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.สนิ ีนาฏ วัฒนสุข. (2549). อุปลักษณ์แสดงอารมณร์ กั ในเพลงไทยสากลสาหรับวัยรุ่น. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต, คณะศลิ ปศาสตร,์ สาขาวิชาภาษาศาสตร์, มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์สิรอิ ร วชิ ชาวธุ และคณะ. (2547). จติ วทิ ยาท่ัวไป (พมิ พค์ ร้ังที่ 4). กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์สกุ ญั ญา รุ่งแจ้ง. (2548). อุปลกั ษณ์เชิงมโนทัศน์ของการใช้คาว่า “ใจ” ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ , คณะศิลปศาสตร,์ สาขาวชิ าภาษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์อุทุมพร มเี จริญ. (2542). การศกึ ษาเปรยี บเทียบของคาศพั ท์อวยั วะร่างกายในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑติ , คณะศลิ ปศาสตร,์ สาขาวิชาภาษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์อษุ า พฤฒิชยั วบิ รู ณ์. (2544). อปุ ลกั ษณก์ ารเมืองในภาษาไทยตามแนวอรรถศาสตรป์ ริชาน. วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑิต, คณะศลิ ปศาสตร,์ สาขาวชิ าภาษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ภาษาองั กฤษAristotle. (1954). Rhetoric and Poetics. New York: The Modern Library.Black, M. (1962). Models and Metaphors. Ithaca, NY: Cornell University Press.Black, M.(1981).Metaphor, In Johnson, ed., 63-82. Cambridge

98 Advanced Learner’s Dictionary.Black, M. (1993). More about Metaphor. In Andrew Ortony (ed.). Metaphor and Thought (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press.Kövecses, Z.(2000), Metaphor and Emotion, Cambridge, Cambridge University Press.Kövecses, Z.(2002), Metaphor: A Practical Introduction, Oxford, Oxford University Press.Kövecses, Z.(2006).Language, mind, and culture. A Practical Introduction, Oxford: Oxford University Press.Lakoff.G& Johnson. M. (1980). Metaphors We Live By, Chicago: The University of Chicago Press.Lakoff, G.(1993), The Contempory theory of metaphor, In Andrew Ortony ed., Metaphor and Thought, 2nd ed., Cambridge, Cambridge University Press.Lee, D. (2001).Cognitive Linguistics: An Introduction, Oxford: Oxford University Press.Wierzbicka, A. (1992), Semantics, Culture and Cognition: Universal Human Concepts in Culture-Specific Configurations, Oxford, Oxford University Press.Wierzbicka, A. (1999), Emotions Across Languages and Cultures: Diversity and Universals, Cambridge University Press.ภาษาเกาหลี고려대학교 민족문화연구원(2009),고려대 한국어대사전, 고려대학교 민족문화연구원.국립국어연구원(1999),표준국어대사전, 두산동아.김동홖(2005), 인지얶어학과 의미 , 태학사.김은조(2013), 영어동물은유: 뱀, 말, 닭을중심으로, 젂남대학교.김정태(1977), 흘러간 팝송 , 삼호뮤직.김향숙(2003), 한국어 감정표현 관용어 연구 ,핚국문화사.김현곤(2007), 사랑해 , 도서출판 청연.나익주(2000). 개념적은유: „사랑‟, 핚국문화사.나익주(2000), 인지얶어학 , 핚국문화사나익주(2003). 한국어에서의 성욕의 은유적 개념화, 「담화와 읶지」10-1, 담화․ 읶지얶어학회, 79-104.노양짂·나익주(2011), 삶으로서의 은유(수정판) 박이징.성강홖(1987), 추억의 팝송 대백과,아름출판사.성강홖(1999), 한국대중 음악 대전집 , 아름출판사.

99성강홖(2001),팝송 대전집 ,아름출판사.연세대학교 얶어정보개발연구원(1998/2003),연세한국어사전, 두산동아.이미영(2012), 영어와 핚국어의 동물 비유어에 관핚 비교 연구, 경북대학교.임지룡(2005), 사랑의 개념화 양상, 어문학 87 호,201-233.임지룡(1997). 인지의미론, 탑출판사.임지룡(1998). 인지의미론, 박이정, 35-64.임지룡(1999). 감정의생리적반응에대한얶어화양상, 「담화와읶지」6-2, 담화․ 읶지얶어학회, 89-117.임지룡(2000). “„화‟의개념화양상”, 「얶어」25-4, 핚국얶어학회, 693-721.임지룡(2001a), “„두려움‟의개념화양상”, 「핚글」252, 핚글학회, 109-143.임지룡(2001b). “„기쁨‟과„슬픔‟의개념화양상”, 「國語學」37, 國語學會, 109-143.임지룡(2001c). “„미움‟의개념화양상”, 「語文學」73, 핚국어문학회, 173-201.임지룡(2001d). “„긴장‟의개념화양상”, 「담화와읶지」8-2, 담화․ 읶지얶어학회, 205-227.임지룡(2002). “기본감정표현의은유화양상연구”, 「핚국어학」17, 핚국어학회, 135-162.임지룡(2003). “Aspects of the Metaphorical Conceptualisation Of Basic Emotions in Korean”, 「현대문법연구」32, 현대문법학회, 141-167.임지룡(2003). “감정표현의관용성과그생리적반응의상관성연구”, 「기호학연구」14, 핚국기호학회, 53-94임지룡(2010). 국어의미론, 탑출판사.황예(2011), 동물은유에대핚읶지의미롞적연구, 젂남대학교.

100 การสอนออกเสียงภาษาเกาหลีแก่ผูเ้ รยี นชาวไทย: มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ นริศร์ จิตปัญโญยศ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่초록 본 연구는 태국에서 핚국어 발음 교육이 효고적으로 이루어질 수 있도록 태국읶 학습지들의 핚국어 발음 오류를 붂석하여 오류 원읶과 개선 방안을 마련핚 데 목적이 있다. 태국 치앙마이 라차팟대학교 핚국어과 재학생들을 대상으로 발음 오류를 조사핚 결과 북부 사투리가 학습자들의 핚국어 발음에 영향을 끼치고 있다. 태국읶 초보학습자들에게 핚국어와 태국어의 음운체계를 비교해서 익숙핚 음가를 가짂 모음 자음부터 지도하고 조음위치와 조음 방법을 설명해 줘야 핚다. 교수자도 음성학과학습자의 모국어에 대핚 지식을 좀 갖고 있으면 더 효과적읶 발음교육이 될 것이다.핵심어: 핚국어 발음 태국어권 학습자 음운 체계 태국 북부 방얶의 특징 치앙마이บทคดั ย่อ งานวจิ ยั ช้นิ นม้ี ีวัตถุประสงคใ์ นการวเิ คราะห์ขอ้ ผิดพลาดในการออกเสียงภาษาเกาหลขี องผู้เรยี นชาวไทยและเสนอแนวทางในการพัฒนา เพือ่ ให้การเรยี นการออกเสียงภาษาเกาหลเี ปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพการเกบ็ ขอ้ มลู ในนักศึกษาทก่ี าลังศึกษาสาขาภาษาเก าหลี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่พบว่าภาษาไทยถ่ินเหนือมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การในการออกเสียงภาษาเกาหลี การเร่ิมต้นสอนโดยเปรียบเทยี บระบบเสยี งภาษาไทยและภาษาเกาหลี โดยช้ใี หเ้ หน็ พยัญชนะและสระทีม่ ีคา่ ของเสยี งคล้ายกัน และอธิบายการเปลีย่ นแปลงของเสียงจากตาแหน่งและลกั ษณะการออกเสียงนน้ั หากผสู้ อนมคี วามรูด้ ้านสัทศาสตรแ์ ละมีความรูใ้ นภาษาแม่ของผ้เู รยี นบา้ ง จะทาให้ การสอนการออกเสยี งภาษาเกาหลีมีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึ้นคาสาคัญ: การออกเสียงภาษาเกาหลี ผ้พู ูดภาษาไทย ระบบเสียง ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยถ่ินเหนือ เชยี งใหม่ 1. บทนา (서론) ในการเรยี นภาษาใหมส่ กั ภาษา สิ่งที่เปน็ พืน้ ฐานทส่ี ุดกค็ อื การเรียนการออกเสียงของภาษานัน้ ๆเพราะแม้ผูน้ นั้ จะมีความรทู้ างภาษามาก แตห่ ากออกเสียงไม่ชดั หรือไมค่ ล่องแล้ว ก็มกั จะไม่สามารถสือ่ สารอย่างมปี ระสิทธิภา พได้ และกรณที ีอ่ อกเสียงไมช่ ัด เป็นไปไดว้ า่ ผูน้ ้ันจะถกู ตั ดสนิ วา่ มีความสามารถทางด้านภาษาตา่ กว่าความเปน็ จริง ผู้สอนจงึ ควรใหค้ วามสนใจในการออกเสียงของผเู้ รียน

101และตรวจตรา รวมทง้ั ชแ้ี นะการออกเสยี งใหถ้ กู ต้องตง้ั แตก่ ารเรยี นขนั้ ต้นไปจนถึงข้ันสงู วิธกี ารสอนออกเสยี งภาษาเกาหลีอย่างมปี ระสิทธภิ าพคือ การจับประเดน็ ใหไ้ ด้ว่า ระบบเสียงของภาษาเกาหลี และระบบเสียงของภาษาของผู้เรยี นนน้ั มคี วามเกยี่ วข้องกนั อยา่ งไร แล้วหาจุดเหมือนและจดุ ตา่ งใหพ้ บจงึ จะสอนออกเสียงได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (핚재영 et al,2006, pp. 269-270) สง่ิ สาคัญในการสอนภาษาต่างประเทศ คอื ตอ้ งสรา้ งความคนุ้ เคยในภาษานน้ั ๆ ให้กบั ผเู้ รยี นโดยเฉพาะหากผูเ้ รยี นเปน็ ชาวต่างชาติ จะยิง่ ทวีความยากขนึ้ เนือ่ งจากเปน็ เสยี งในภาษาใหม่ทไ่ี มค่ นุ้ เคยผเู้ รยี นอาจยังไม่สามารถแยกแยะส่วนประกอบของเสยี งพูดไดผ้ เู้ รียนในระดบั ต้นจะเทยี บเคียงเสยี งท่ีได้ยิน กบั เสยี งทม่ี ใี นระบบเสียงของภาษาตนจงึ ตอ้ งใชเ้ วลาสร้างความคนุ้ เคยกับเสียง ในการสอนการออกเสียงภาษาต่างประเทศ ผสู้ อนวชิ าสัทศาสตรจ์ งึ ควรเปน็ ผ้ทู ี่รู้ภาษาของผเู้ รยี นบ้าง การสอ นภาษาต่างประเทศ ในบริบทของสังคมทีม่ กี ารใชภ้ าษาแมเ่ ปน็ หลกั จงึ ต้องใชค้ วามพยายามท้งั ของผ้เู รียนและผู้สอน เพอ่ื ปรับวิธกี ารออกเสียงใหเ้ ขา้ กับเสยี งทม่ี ใี นระบบเสยี งของภาษาใหม่ โดยคอ่ ยๆปรบั เปลย่ี นตาแหนง่ การออกเสียงตามความเคยชินเดิม เพือ่ ให้ออกเสียงภาษาใหม่ได้ชัดมากทส่ี ดุ การสอนออกเสยี งใหก้ ับผ้พู ูดภาษาไทยที่เรียนภาษาเกาหลี ในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ จะสอนในภาคเรยี นท่ี 2 ชนั้ ปที ี่ 1 หมายความวา่ อยา่ งนอ้ ย ผ้เู รยี นต้อง ผ่านการเรียนภาษาเกาหลีมาหนึ่งภาคการศกึ ษาแลว้ 1 ในรายวิชาสัทศาสตรภ์ าษาเกาหลี หลกั สตู รปจั จุบัน (หลกั สตู ร พ .ศ.2556) ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ เลือกใช้ตารา 핚국어발음 47ทีจ่ ัดทาโดยชาวเกาหลีเปน็ ส่ือประกอบการสอนหลัก ตาราเลม่ น้ีมีการแบ่งกฎการออกเสยี ง 2ตามประเภทของเสียง และมีซีดปี ระกอบโดยฝกึ ให้เน้นเสยี งตามโครงสรา้ งคาและ บรบิ ทการให้ฟงั เทป และออกเสียงตา มร่วมกบั อธิบายกฎดังกล่าว ชว่ ย ฝกึความคนุ้ เคยดา้ นการฟงั เพือ่ ใหเ้ กิดการออกเสียงเลยี นแบบได้ แตเ่ นอื่ งจากหนงั สือไม่ได้ทาขนึ้ เพื่อผ้เู รียนชาตใิ ดโดยเฉพาะ จงึ ไม่สามารถแก้ปัญหากรณีทผี่ ู้เรยี นตดิ อยู่กบั เสียงในภาษาของตน ผสู้ อนจงึ ตอ้ งปรับหาวธิ ีทีเ่ หมาะกับผู้เรยี นในชาตทิ ่ตี นสอน เชอ่ื มโยงให้ผู้เรยี นเขา้ ใจในความเหมอื นและความแตกต่างจากเสียงในภาษาของตน และสร้างบรรยากาศการเรียนใหผ้ ู้เรยี น เกิดความคุ้นเคยกับ เสียงในภาษาเกาหลีตอ่ ไป 1 จากแผนการศึกษา หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาเกาหลี คณะมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) ในชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 กาหนดให้นักศึกษาลงเรยี นวิชาเอก 3 รายวิชา ได้แก่ KOR1101 ภาษาเกาหลี 1, KOR1201 การฟัง-พดู ภาษาเกาหลี 1, KOR1501สังคมและวัฒนธรรมเกาหลี โดยวิชาสงั คมและวัฒนธรรมเกาหลจี ะเรยี นเปน็ ภาษาไทย ไม่ไดเ้ รียนทกั ษะทางภาษาและชัน้ ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ลงเรยี นวิชาเอก 3 รายวชิ า ไดแ้ ก่ KOR1102ภาษาเกาหลี 2, KOR1202การฟัง-พูดภาษาเกาหลี 2 และKOR1203 สทั ศาสตร์ภาษาเกาหลี(น. 17) 2 เน้อื หาใน 핚국어발음 47เลม่ 2 โดย 서울대학교얶어교육원(2013)ท่ีนามาใช้เปน็ สอื่ ประกอบการสอนหลกั แบง่ เนอื้ หาเป็นส่วนกฎการออกเสียง(발음규칙편)ประกอบดว้ ย การกลายเป็นเสยี งเกร็ง (경음화), การกลายเป็นเสียงนาสกิ (비음화), การกลายเปน็ เสยี งพยญั ชนะเหลว (유음화), การกลายเป็นเสียงธนิต(유기음화),การแทรกเสยี ง–ㄴ( –ㄴ첨가), การกลายเป็นเสียงเพดานแขง็ (구개음화), การตดั เสียง-ㅎ (–ㅎ탈락) และ ส่วนการลงนา้ หนักเสยี ง(운소편)ได้แก่เสยี งสงู ต่าและจงั หวะ(높낮이와박자), การเปลี่ยนความหมายตามการลงนา้ หนักเสียง (억양에따른의미변화)และแบบฝกึ ออกเสยี ง(낭독연습)

102 การสอนออกเสยี งภาษาเกาหลใี ห้กบั ผู้พูดภาษาไทยท่ีเรียนในระดับเบือ้ งตน้ ผ้วู ิจยั พบวา่ ผเู้ รียนมกั ได้รับอทิ ธิพลจากภาษาแมใ่ นการออกเสียง เน่ืองจากเปน็ ภาษา ต่างตระกลู เสยี งของพยัญชนะและสระมีไม่เท่ากนั และมลี กั ษณะการออกเสียงท่ีแตกตา่ ง เสียงในภาษาเกาหลีที่ไม่มใี นภาษาไทย จะทาให้ผู้พดู ออกเสียงผิดพลาดไป ทาใหเ้ กิดปญั หาในการสอื่ สาร อีกทั้งเสียงพูดของนักศกึ ษาไทยในภาคเหนอื ซึ่งมลี ักษณะเฉพาะ ไดส้ ง่ ผลตอ่ การออกเสยี งภาษาเกาหลี ผเู้ รียนจึงควรไดร้ บั การสอนโดยสร้างความเขา้ ใจทถี่ ูกตอ้ งเรื่องสรีระสทั ศาสตร์ กระแสอากาศ และกลไกการออกเสยี งที่ถูกตอ้ ง จากผ้สู อนทมี่ คี วามรู้ดา้ นภาษาที่สอน รวมทง้ั หากมคี ว ามรู้ด้านภาษาศ าสตร์ จะเปน็ ประโยช นย์ ง่ิ ข้นึ เพื่อสอนให้ผเู้ รียนมีความเข้าใจและออกเสยี งตามไดต้ งั้ แตใ่ นการเรียนระดบั ตน้ และ เกดิ ความมั่นใจในการสื่อสาร ตอ่ ไปผ้วู จิ ยัสังเกตถงึ ความผิดพลาดในการออกเสียงของผู้เรยี นชาวไทยทเี่ รยี นภาษาเกาหลใี นมหาวิทยาลยั ราชภฏัเชียงใหม่ ซง่ึ ผเู้ รยี นสว่ นใหญเ่ ป็นคนในพืน้ ที่ และใชภ้ าษาไทยถิ่นเหนอื ในการส่ือสารในชีวติ ประจาวัน จึงนามาสู่ การคน้ หาข้อมูลตา่ งๆท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองการสอนออก เสยี ง และปัญหาการออกเสยี งของชาวต่างชาติ ว่ามีปญั หาใดบ้างทเี่ กดิ ขนึ้ ในกลมุ่ ผูเ้ รยี นภาษาเกาหลีทพ่ี ดู ภาษาต่างๆ จากนั้นจงึ นาข้อมลู ที่ได้จากการสงั เกตการณ์และจดบนั ทกึ ในช้นั เรียนสาขาภาษาเกาหลี มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ ได้แก่การฝกึ ปฏิบตั กิ ารออกเสยี งเป็นรายบคุ คล, การนาเสนองานหน้าช้นั เรียน, การบา้ น, รายงาน ในรายวิชาต่างๆ และจากการสนทนาแลกเปลยี่ นกับอาจารย์ผู้สอนภาษาเกาหลี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่นามาจัดประเภทของเสยี งทม่ี ปี ญั หา, วเิ คราะห์ถงึ ปจั จัยทก่ี อ่ ให้เกิดปญั หา เพือ่ หาแนวทางการแกไ้ ขและปรับปรงุ การสอนให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลต่อผเู้ รียนมากท่สี ดุ ต่อไป 2. การออกเสยี งภาษาเกาหลี ท่ีมีปัญหาสาหรบั ชาวตา่ งชาติ (외국인학습자가발음하기가어려워하고오류가된핚국어발음) งานวิจัยแนวทางการสอนออกเสยี งสา้ หรับผ้เู รยี นภาษาเกาหลี(핚국어학습자를위핚발음교육방안) ได้กล่าวถงึ เสยี งทีม่ ีปัญหาสาหรับผู้เรียนชาวตา่ งชาติ วา่ เปน็ปัญหาจากตาแหน่งการออกเสียง โดยผู้เรยี นทาปากและวางตาแหน่งลิ้นไม่ถกู ต้องตามฐานเสยี งเสียงท่ีมีปัญหาได้แก่ หนว่ ยเสียงสระ หากผเู้ รียน ไม่สามารถออกเสียงตามเงอื่ นไขของเสยี งสระ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนเช่น แตะลนิ้ ไมแ่ นน่ พอและผิดตาแหน่ง เสยี งท่อี อกมาจะเกิดการผดิ เพี้ยน เช่นออกเสียง ㅏ(อา) โดยไม่อา้ ปากกวา้ งพอ เสยี งจงึ ออกมาใกล้กับ ㅓ(ออ) หรอื จะออกเสียง ㅓ(ออ) แตท่ าปากกลม จึงไดย้ นิ เป็นเสยี ง ㅗ(โอ) มากกว่า หน่วยเสยี งพยญั ชนะ ผ้เู รยี นเกิดความผดิ พลา ดในการออกเสยี งพยญั ชนะทม่ี ีสภาวะที่คลา้ ยคลึงกนั เช่น ปัญหาการออกเสียงพยญั ชนะต้น ㄷ[d-]โดยผูเ้ รียนทาล้ินม้วนขณะออกเสียงทง้ั ๆ ทตี่ อ้ งทาปลายลนิ้ ติดปุ่มเหงอื กแลว้ ระเบิดเสยี งออกมา จงึ ได้ยินเปน็ เสียง ㄹ[ɾ -], ปญั หาการออกเสียง ㅅ[s-] โดยแตะลิน้ ทเี่ พดานแล้วปลอ่ ยลนิ้ จึงไดย้ นิ เป็นเสยี ง ㅊ[tʃh-] แทนท่ีจะทาลิน้ ให้อย่รู ะหวา่ งเพดาน ให้มชี อ่ งว่างระหว่างล้ินกับเพดานแคบๆ แล้วแทรกลมออกมาการลงนา้ หนักเสียงในคา้ มีผู้ท่ีแยกประเภทเสยี ง ได้แก่ เสียงเรียบ(lax consonant; 평음 หรอื 예사소리), เสียงเกร็ง (fortis sound; 경음หรือ 된소리), เสียงพ่นลม (aspirated sound; 격음 หรอื 거센소리) ไดไ้ มช่ ัดเจน ส่งผลให้ออกเสยี งเป็นเสียงเรียบโดยไมเ่ น้นหรอื ไมพ่ น่ ลม ทาใหส้ อ่ื ความหมายผดิ พลาด แก้ปญั หาไดโ้ ดยให้ออกเสยี งคลา้ ย เพอื่เทยี บเคียงกนั บอ่ ยๆ เชน่ 대다-때다, 따다-타다, 사다-싸다, 지다-치다-찌다 สาหรบั ตัวสะกด ทมี่ ัก

103ผดิ พลาดหรอื ออกเสยี งไมช่ ดั ไดแ้ ก่ ㅂ,ㄷ,ㄱ, ㅁ,ㄴ,ㅇ และปัญหา การออกเสียงผดิ โดย กลืนเสยี งเปน็พยัญชนะตน้ ของพยางค์ถดั ไป เช่น 복잡 [볻짭], 강남 [간남] เป็นต้น (전나영,2015, pp. 35-39) หนังสือวธิ ีการสอนภาษาเกาหลี (핚국어교수법)ในบทท่ี 8 발음지도 บอกถึงปัญหาการออกเสยี งของผเู้ รียนที่พดู ภาษาแม่สามภาษา คือภาษาญป่ี นุ่ , จีนและองั กฤษ ซ่งึ เปน็ คนกลมุ่ ใหญ่ที่เรียนภาษาเกาหลี โดยแบง่ เปน็ ปัญหาการออกเสียงต่างๆ ตามประเภทเสยี งเปน็ สระเด่ียว (단모음), สระประสม(이중모음), เสยี งระเบิด (파열음), เสียงเสียดแทรก (마찰음), เสยี งกึ่งเสียดแทรก (파찰음), เสียงนาสิก(비음), เสยี งพยัญชนะเหลว (유음))ตอ่ ด้วย ปัญหา การเน้นคาในพยางค์ (강세), สาเนยี ง (억양) และโครงสร้างพยางค์ (음절구조) ตัวอย่างปัญหาของผพู้ ูดสามภาษาดงั กล่าว มดี งั นี้ ผู้พูดภาษาญป่ี ุน่ ในระบบเสยี งภาษาญป่ี ่นุ มเี สียงสระนอ้ ย เพียง あいうえお[ a i u e o]ผ้เู รยี นจึงเกดิ ความลาบากในการออกเสียงสระภาษาเกาหลี ให้อธบิ ายโดยใช้แผนภาพแสดงตาแหน่งสระ(vowel triangle) เพื่อให้รู้จักความสงู ตา่ ของลน้ิ นาฝา่ มอื แตะดา้ นล่างของคางแล้วลองออกเสียง สระในภาษาเกาหลแี ละญี่ปุ่นมีความแตกต่างที่ละเอยี ด มากจึงต้องใหผ้ ู้เรียนจดจาตาแหน่งคาง ให้ได้,สาหรบัเสยี งพยัญชนะน้ัน มีหลายเสยี งที่ฟงั คลา้ ยกันในสองภาษานี้ วางลิน้ ในตาแหนง่ เดยี วกนั แตม่ ีลักษณะการออกเสียงที่ต่างกันเลก็ นอ้ ย ให้อธบิ ายโดยยกตวั อย่างการเกิดเสียงนนั้ ในภาษาญีป่ ุ่น แล้ว จงึ เทียบว่าสระในภาษาเกาหลีคล้ายเสียงขณะออกเสยี งคาญ่ปี ุ่นคาใดบา้ ง เช่นพยญั ชนะเสียดแทรก ㅅ[s] และ ㅆ[s’]ใกล้กบั เสยี งพยญั ชนะวรรคสะ(さ행)ของญ่ีปนุ่ แต่ ต่างจากญี่ป่นุ ทแี่ ม้ อยูก่ ลางคา ก็ไม่เปน็ โฆษะ เสยี งㅆ[s’] จะมีความเกรง็ มากกวา่ ㅅ[s] จึงต้องออกเสียดแทรกให้หนักโดย เมื่ออยใู่ นตาแหน่งตน้ พยางค์(어두) จะมีการปดิ กล่องเสยี ง แต่หากอยตู่ รงกลางพยางค์ (어중) จะไมเ่ กรง็ กลอ่ งเสยี ง ซ่งึ ใกล้เคียงกบัเสยี งพยัญชนะซอ้ น(촉음) ของญี่ปุ่นในคาว่า いつさい[itsai],เสยี งตวั สะกด ㅁ[m] เหมือนตวั สะกดของคาวา่ ねんぴ[nempi]เปน็ ตน้ ผู้พดู ภาษาจนี ปญั หาของผูพ้ ดู ภาษา จนี ไดแ้ ก่ ดา้ นคาศพั ท์ ผ้เู รียนมกั ออกเสียงคายมื จีน ในภาษาเกาหลเี ปน็ เหมือนเสยี งคาในภาษาจีน เชน่ 명령 (命令) ออกเป็นม่ิงล่ิง [miŋ̂ liŋ̂ ] ผ้พู ูดภาษาจนี มีแนวโนม้ จะออกเสียงเรยี บ(평음)ของเกาหลี เป็นเสยี งเกร็ง (경음)ให้อธบิ ายใหเ้ ข้าใจความแตกตา่ งของเสยี งสองประเภทนี้ โดยนากระดาษบางมาจ่อไวห้ น้าปาก แลว้ สงั เกตการขยับของกระดาษในขณะท่ีออกเสียงสองประเภทน้ี วา่ ต่างกนั อย่างไร, หน่วยเสยี ง /s/ ของจนี ทาใหผ้ ู้พดู ภาษาจีนออกเสยี ง ㅅ[s-] กบัㅆ[s’] เหมอื นกัน ควรสอนโดย ให้ออกเสียงสองเสียงน้สี ลบั กนั ซา้ ๆ จนสามารถ แยกความแตกตา่ งได้นอกจากนี้ต้องอธิบายวา่ สองเสียงน้ี หากต ามดว้ ยสระสงู /ㅣ/อี หรือเสียงกึง่ สระ /j/เสยี งจะมีการเปลีย่ นแปลง โดยกลายเป็นเสยี งเสยี ดแทรกที่เพดานแขง็ [ҫ] เชน่ 시장[ҫitʃaŋ] เป็นตน้ ผ้พู ูดภาษาองั กฤษ สระ ในภาษาเกาหลี ท่ีออกเสยี งไดล้ าบาก สาหรับผพู้ ดู ภาษาอังกฤษได้แก่/ㅡ/, /ㅓ/ เน่ืองจาก ไมม่ ใี นสระท่ีคล้าย ในภาษาองั กฤษ และค่าของเสียง แตกต่างกนั , เสียงสระประสมท่ีมปี ัญหาได้แก่ หน่วยเสยี ง /ɯ/ ในคา 의자, 의미 เสียงพยัญชนะทเ่ี ปน็ ปัญหาที่สุดสา หรับผพู้ ูดภาษาองั กฤษคอื เสยี งเกรง็ (경음)ㅃ,ㄸ,ㄲ อธบิ ายโดย ยกตวั อย่ างคาในภาษาอังกฤษ ให้สงั เกตเสยี ง/p,t,k/ท่อี ยูห่ ลงั เสียง s เชน่ speed, style, sky จะใกลก้ บั เสยี งเกรง็ ㅃ,ㄸ,ㄲ เปน็ ตน้ (핚재영 et al,2006, pp.294-334)

104 จากงานวิจยั ดา้ นการสอนออกเสยี งขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ ่าเสยี งในภาษาเกาหลีที่เปน็ ปญั หาสาหรับชาวตา่ งชาติ มีแตกต่างกันไปตามระบบเสยี งในภาษาแม่ ซ่งึ หากผสู้ อนมีความรูด้ ้ านระบบเสยี งในภาษาของผเู้ รยี น จะอธบิ ายให้ผเู้ รียนเขา้ ใจในธรรมชาตขิ องเสียงแตล่ ะประเภทไดด้ ีกวา่ เร่มิ จากอธิบายถงึ เสยี งทมี่ ใี นภาษาตนแลว้ จึง ดดั แปลงเสยี ง ใหใ้ กลเ้ คียงกบั เสียงในภาษาใหมไ่ ด้ อกี ทัง้ หาก ผู้สอนแทรกให้ผเู้ รยี นรู้จักกบั กระแสของ อากาศ ทค่ี วบคุมไดด้ ว้ ยการ ทาล้ินให้ถกู ตอ้ ง และเสยี งจะออกมาเองตามธรรมชาติโดย ให้เนน้ เสียง ให้พ่นลมตามค่าของตัวอกั ษร ก็จะออกเสยี งได้ชดั โดย ท่ีไม่ต้องเ น้นการทอ่ งจากฎ ดงั น้ันความร้ดู า้ นสัทศาสตร์รว่ มกับความรดู้ า้ นระบบเสยี งภาษาของผูเ้ รยี นจงึ เป็นส่ิงจาเปน็อยา่ งหนง่ึ ในการสอนออกเสยี ง 3. ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิน่ เหนือ (태국의표준어와북부방언) ภาษาไทยเป็น ภาษาราชการของประเทศไทย อยู่ในกลมุ่ ยอ่ ยของตระกูลภาษาไท- กะได มีลักษณะเฉพาะคอื เปน็ ภาษาคาโดด และมีวรรณยกุ ต์ ภาษาไทยมสี าเนยี งย่อยมากมาย 3จากข้อมูลโดยEthnologue (2548) มผี พู้ ดู ภาษาไทยราว 70ลา้ นคน4ภาษาไทยกลางทพี่ ูดท่ีกรุงเทพฯ ไดร้ ับการยอมรับ เปน็ ภาษามาตรฐาน (พจนี ศริ อิ ักษรศาสน,์ 2545,น. 42)ภาษาไทยมาตรฐานมีหน่วยเสยี งสระ24หนว่ ยเสยี ง แบ่งเปน็ สระเดยี่ ว 18 เสยี งไดแ้ ก่ อิ อี /i/ /i:/, เอะ เอ /e/ /e:/, แอะ แอ /ɛ/ /ɛ:/, อึอื /ɯ/ /ɯ:/, เออะ เออ /ɤ/ /ɤ:/, อะ อา /a/ /a:/, อุ อู /u/ /u:/, โอะ โอ /o/ /o:/, เอาะ ออ /ᴐ//ᴐ: /และสระประสม 6 เสียง เอียะ เอยี /ia/ /ia:/,เอือะ เออื /ɯa/ /ɯa:/,อัวะ อัว/ua//ua:/หน่วยเสียงพยัญชนะ21 หนว่ ยเสยี ง ได้แก่ เสยี งระเบดิ อโฆษะ สิถิล ป ต ก อ /p t k ʔ/ เสียงระเบิด อโฆษะธนิต พ ท ค /ph th kh/,เสยี งระเบดิ โฆษะ สิถลิ บ ด /b d/, เสียงกงึ่ เสยี ดแทรก จ ฉ /ʨʨh/, เสยี งเสยี ดแทรก ฟ ฝ / f/, ส ซ /s/, ฮ /h/, เสียงนาสกิ ม น ง /m n ŋ/, เสยี งข้างล้นิ ไดแ้ ก่ ล /l/, เสยี งรัวลิ้น ร /r/ หรอื บางครั้งหากไม่รวั จะเปน็ เสียงลนิ้ กระดก/ɾ/, เสยี งกง่ึ สระ ได้แก่ เสยี ง ว/w/ คล้ายสระ อุอู /u u:/ เสียง ย /j/ คลา้ ยสระ อิ อี /i i:/และหนว่ ยเสยี งวรรณยกุ ต5์ เสยี ง ไดแ้ ก่ สามญั , เอก, โท, ตรี,จัตวา(เร่ืองเดียวกัน, 2545, น. 50-59) ภาษาไทยถิน่ เหนือ เป็นภาษาท่พี ูดบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ครอบคลมุ ถงึ จังหวั ดเชยี งใหม่ เชยี งราย อตุ รดิตถ์ แพร่ น่าน แมฮ่ อ่ งสอน ลาพูน ลาปาง พะเยา และบางพ้ืนที่ของตากสุโขทัย และเพชรบรู ณ์ เปน็ ตน้ มักเรียกวา่ ภาษากาเมือง หมายถงึ ภาษาของเมอื ง ภาษาอังกฤษเรียกNorthern Thai4พยญั ชนะไทยถ่นิ เหนอื มี 22 หน่วยเสยี ง, สระ 24 หน่วยเสยี ง, วรรณยกุ ต์ 6 เสียง และวรรณยุกตใ์ นพยางคต์ าย 4 เสยี ง ซ่ึง ภาษาไทยถนิ่ เหนือ มีระบบเสยี งพยญั ชนะและสระคล้ายกับภาษาไทยกลางมาก แตกต่างกนั ทว่ี รรณยุกต์และการใช้คา และมีการออกเสียงพยญั ชนะตา่ งกันบา้ ง(เรื่องเดยี วกัน, 2545,น.106) 3 https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทย สืบคน้ 24กนั ยายน 25594 https://th.wikipedia.org/wiki/รายช่อื ภาษาเรยี งตามจานวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ สบื คน้ 24กันยายน 2559

105 เสยี งพยญั ชนะในภาษาไทยถิ่นเหนอื ท่ีมีความแตกต่างจากภาษาไทยกลางเลก็ น้อย ได้แก่ เสยี งธนิตอักษรตา่ ในภาษาไทยกลางมักตรงกับสถิ ิลอักษรกลางในภาษาเหนอื เช่น ท->ต, ช->จ, พ->ป, ค ->ก โดยคงวรรณยกุ ต์เดิม แตห่ ากเป็นคาบาลีอักษรตา่ ที่ตรงกบั เสยี งโฆษะของบาลีมกั ต รงกนั ท้งั ไทยกลางและไทยถ่นิ เหนือ สาหรบั อกั ษรต่า ท่ีตามดว้ ย – ร-ในภาษา ไทยกลาง ไทยเหนอื ไมม่ ี ดงั นนั้ เสียง ร ในภาษาไทยกลางมักตรงกับ ฮ ในภาษาไทยถนิ่ เหนอื , ย, ญ ในภาษาไทยกลางกลายเปน็ เสยี ง ย นาสกิ [ɲ]ในภาษาไทยถิ่นเหนือ 5 สาหรบั ความแตกต่างด้านวรรณยุกตร์ ะหวา่ งภาษาไทยกลางและภาษาไทยถิ่นเหนือ จะไม่กลา่ วถงึ ในงานวิจยั ชนิ้ นี้ เนือ่ งจากไมเ่ กยี่ วกับประเด็นของงานตารางท1่ี ระบบเสยี งพยญั ชนะภาษาไทยถ่ินเหนอื 6<표 1> 태국 북부 방얶의 자음 체계ตาแหน่งการออกเสียง ริม รมิ ฟันหน้า เพดาน เพดาน เส้น ฝปี าก- หรอื แข็ง ออ่ น เสียง ฝีปาก ฟันหน้า ป่มุลกั ษณะการออกเสียง เหงือกระเบดิ อโฆษะสถิ ิล [p] [t] [k] [ʔ]ระเบดิ อโฆษะธนิต [ph] [th] [kh]ระเบดิ โฆษะ [b] [d]กึ่งเสียดแทรก สิถิล [ʨ]กง่ึ เสยี ดแทรก ธนิต [ʨh]เสยี ดแทรก [f] [s] [x] [h]นาสกิ [m] [n] [ɲ] [ŋ]ขา้ งล้นิ [l]ก่ึงสระ [w] [j]หมายเหต[ุ ʔ]นาหน้าสระ หรือตามหลังสระสั้น [kh][ʨh]มาจากศัพท์ภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถน่ิ เหนือ มีเสียงพยญั ชนะตน้ ควบ 11 เสียง เปน็ ควบเสยี ง w ได้แก่ กว[kw],ขว/คว[xw],จว [ʨw],ซว [sw],งว [ŋw],ญว [ɲw],ตว [tw],พว [phw],ยว [jw]ลว [lw],อว [ʔw]และหน่วยเสยี งพยัญชนะสะกด 9 หนว่ ยเสียง–บ, -ด, -ก, -อ, -ม, -น, -ง, -ว, -ย) [p t k ʔ, m n ŋ, w j] (เร่ืองเดยี วกนั ,2545, น.96-97 และภาษาไทยถิ่นเหนอื ในวิกพิ ีเดียภาษาไทย) จากระบบเสียง พยญั ชนะ ในภาษาไทยเหนอื เป็นท่นี ่าสังเกตวา่ เสยี งนาสิก ซ่ึ งเป็นลักษณะเฉพาะทโ่ี ดดเด่น โดยออกเสยี งสระข้ึนจมกู ในพยญั ชนะ ห, ย ท่ปี ระสมกับสระสงู /u, i/ทาให้เสียงภาษา5 https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถนิ่ เหนอื สบื ค้น 24 กันยายน 25596 ข้อมูลจาก พจนี ศริ ิอักษรศาสน์ (2545, น.95)และภาษาไทยถ่ินเหนอื ใน www.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถ่นิ เหนือ สบื ค้น 24กนั ยายน 2559

106เกาหลที ่อี อกมามลี ักษณะเฉพาะไปดว้ ย เชน่ คาว่า 형 ผูเ้ รยี นบางส่วนจึงออกเสยี งโดยเกรง็ กลา้ มเนื้อสว่ นจมกู รว่ มด้วยตามความเคยชิน เสยี งทอี่ อกมาจึงได้ยินเปน็ [hjʌ̃ŋ] หรอื [hjᴐ̃ŋ]เสยี ง จ [ʨ]เป็นอกี หน่ึงลกั ษณะเด่นในภาษาเหนอื โดยท่ภี าษาไทยกลาง ช [ʨh] ->ภาษาไทยเหนือ จ[ʨ]เชน่ ชา้ ง->จา๊ ง ทาใหเ้ มอ่ื เขียนภาษาเกาหลีก็ตดิ มาเช่นกนั คาศพั ท์ท่เี ปน็ ㅊ [tʃh-] จะมีท่พี ลาดเขยี นเป็น ㅈ[tʃ-]และออกเสียงเปน็ ㅈ[tʃ-] ดว้ ย เชน่ 치마[tʃhima] เป็น 지마[[ʨima] ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บเสยี งพยัญชนะตน้ ในภาษาไทยกลางและไทยถิ่นเหนอื ท่ีมีเสียงตา่ งกนั 7 <표 2> 태국 표준어와 북부 방얶의 어두(語頭)자음 비교 พยัญชนะ ไทยกลาง ไทยถ่ินเหนอื/ย/->/ญ/, /ย/ [j-]ย่า, เยี่ยว, ใหญ่, [ɲ-]ญา่ , เญย่ี ว, ใหญ่ ยา, อยู่ [j-]ยา อยู่/ร/ ->/ฮ/, /ล/ [r-]เรอื น, ร้อน, เรา, [h-]เฮอื น, ฮอ้ น, เฮา เรว็ , โรค [l-]เล็ว, โลก [ʨh-]ชาติ, ชาย, เช้า,/ช/ ->/จ/ [ʨ-]จ้าด, จาย, เจ๊า/ฉ/->/ส/ ฉกี , แฉก [s-]ซ่กี , แสก [ph-]พอ่ , พี่, มะพรา้ ว/พ/->/ป/ [th-]ทา่ น, ธง, เถอะ [p-]ปอ้ , ปี้, บะป้าว/ท/->/ต/ [kh-]คอย, คด [t-]ต้าน, ตุง, เต๊อะ/ก/-> /ค/ [k-]กอย, ก๊ดควบ ร, ล [-r-] [-l-] ไมค่ วบ r, lเปล่ียนเปน็ อกั ษรสูงทีฐ่ านเกิดเดียวกัน/กร/ ->/ข/ กราบ, กรยิ า, กรีด ขาบ, ขยี า, ขีด/ปร/->/ผ// ปราสาท, มะปราง ผาสาด, บะผาง/ตร/ ->/ถ/ ตรา, ตรี ถา, ถี คลมุ , เขม็ กลัด กะลุม, กะล่ัด /คล/ /ทร/ -> แทรกเสยี ง ทรงตวั , ทราย ทะลงต๋ัว, ทะลายอะ /kw-/ /khw-/ตามด้วย /a/ ควัน, ขวัญ, คว่า เปลี่ยน ควบ ว เปน็ สระอวั /ua/ควบ ว ควนั , ขวันหรือขวน, คว่ ม อกั ษรควบ w ไมค่ วบ w เกวียน, ควัน่ , แขวน เกีย๋ น, คนั่ , แขน ควบ w(อิทธิพลภาษากรุงเทพ) กวาง, ขวาง, ขว้าง กว๋าง, ขวาง, ขว้าง สาหรับสระในภาษาถ่นิ เหนือ มีสระเดีย่ ว 18 หน่วยเสยี ง ไดแ้ ก่ อะ อา , อิ อี, อึ อือ, อุ อู, เอะเอ, แอะ แอ, โอะ โอ, เอาะ ออ, เออะ เออ สระประสม 6 หน่วยเสยี ง ไดแ้ ก่ อวั ะ อัว , เอยี ะ เอยี , เอือะเออื 7 ข้อมูลจาก พจนี ศริ ิอกั ษรศาสน์ (2545, น..114)และภาษาไทยถ่นิ เหนอื ใน www.wikipedia.org/wiki/ ภาษาไทยถน่ิ เหนอื สบื คน้ 24 กนั ยายน 2559

107 ซ่งึ สระในภาษาถิ่นเหนอื ไมม่ ีความแตกตา่ งจากภาษามาตรฐานมากนกั ยกเวน้ ภาษาถิ่นบางสาเนยี ง เชน่ สาเนยี งเมืองยองในจังหวดั ลาพูน ไมม่ ีสระประสม ดังนั้น อัวะ ->โอ, เอยี ->เอ และเอือ-> เออ 4. เปรยี บเทยี บระบบเสยี งภาษาเกาหลี และระบบเสียงภาษาไทยถ่ินเหนอื ( )핚국어와태국북부방언의음운체계비교 การไม่เทา่ กนั ของเสยี งในภาษาไทยและเกาหลี เกิดจากการเปน็ ภาษาต่างตระกูล จึงมีความใกลช้ ิดทางเสยี งและไวยากรณน์ อ้ ย เสยี งสระและพยัญชนะในภาษาเกาหลมี ีน้อยกว่าภาษาไทย บางหนว่ ยเสยี งแทนค่าดว้ ยสทั อกั ษรเดียวกัน เช่น /s/ในภาษาเกาหลี แทน ㅅ,ของไทยแทน ซ, ส, ษ เปน็ ตน้แต่มีคา่ ของเสียงและวิธีการออกเสยี งแตกต่างกนั เลก็ น้อย ซึ่งผู้วิจยั จะแจกแจงข้อแตกตา่ งและปัญหาการออกเสยี งแตล่ ะเสยี งอยา่ งละเอียดตอ่ ไป ตาราเรยี น 핚국어발음 47 โดย 서울대학교얶어교육원(2013)ทา้ ยเล่ม (pp.140) ได้แยกเสียงท่มี ีปญั หาสาหรับผู้เรยี นชาตติ ่างๆ โดยระบวุ า่ ปัญหาการออกเสยี งสาหรบั ผูเ้ รียนชาวไทย ไดแ้ ก่เสยี ง 여유, ㅂㄷㄱ, ㅅ, 받침ㄹ, ㅂㅃㅍ, ㄷㄸㅌ, ㅅㅆ, ㅈㅉㅊ, ㄱㄲㅋ, 받침ㅇ, 받침ㄱ(ตัวสะกด ㅇ, ㄱ)และ 연음(การโยงเสยี งระหวา่ งพยางค์) เสยี งภาษาเกาหลที ี่มีปัญหาสาหรับ คนไทยท่ีกลา่ วถงึ ใน ตาราข้างต้น เปน็ การพูดโดยรวม โดยไม่ได้แจกแจงวา่ เป็นชาวไทยทพี่ ดู ภาษาถิ่นใดความ จรงิ แล้วประเทศไทยมคี วามหลากหลายทางภาษามาก หากเปน็ ผู้พูดภาษาไทยกลาง ,เหนอื , ใต้ จะไมม่ ปี ัญหาเสยี งตัวสะกด -ㅂ-ㄷ-ㄱ เนื่องจากมเี สียงมาตราตวั สะกด แมก่ ก กด กบ ตามลาดับ แต่หากเปน็ ผ้พู ูดภาษาช าตพิ นั ธ์ุชาวไทยภเู ขาหรอื ผูพ้ ดู ภาษาพมา่ เปน็ ภาษาแม่ เปน็ ตน้ อาจมีปัญหาตวั สะกดดังกลา่ ว เพือ่ ใหเ้ ห็นถงึ ปญั หาการออกเสยี งภาษาเกาหลีของผู้เรยี นชาวไทยอย่างชัดเจนย่ิงขน้ึ ผวู้ จิ ยั จะแยกเสียงทใี่ นภาษาเกาหลเี ป็นประเภท เพ่ือเปรยี บเทียบเสยี งสระและพยัญชนะในภาษาไทย กลางและเกาหลี เนอื่ งจากเป็นภาษามาตรฐานและเด็กทกุ คนเรยี นภาษากลางในโรงเรียนอย่แู ล้ว แต่ความท่ีบริบททางสังคมในภาคเหนอื ของไทย มกี ารใช้ภาษาถ่ินเหนือเปน็ หลกั ทาให้ผเู้ รยี นยึดตดิ กบั การออกเสยี งตามความเคยชิน แตห่ ากให้ออกเสยี งเปน็ คาภาษาไทยกลาง ผู้เรียนกส็ ามารถออกเสียงได้ เช่นเสียงควบกลา้หรือเสียง ร รวั ลิ้น เป็นตน้ ท้งั นงี้ านชิน้ น้ีจะเน้นปญั หาเสียงในภาษาเกาหลขี องผเู้ รียนทีเ่ ป็นคนเหนอื เปน็หลัก เน่ืองจากเป็นกล่มุ ท่ีเก็บขอ้ มลู ได้โดยตรงในการสอนของหลักสูตรภาษาเกาหลี มหาวิทยาลัยราชภฏัเชยี งใหม่ 4.1) เสยี งพยญั ชนะ พยญั ชนะในภาษา ไทยและเกาหลี มีหลายเสยี ง ท่ีถ่ายถอดเสยี งเปน็ สัทอักษรเดียวกนั แต่ปรากฏวา่ เสียงทีอ่ อกจริงจะมคี วามแตกตา่ งกนั เล็กน้อย ซ่ึงเป็นเหตุผลในการเลือกใช้สัญลกั ษณ์ โปรดพิจารณาตารางต่อไปน้ีประกอบตารางท่ี 3 เปรียบเทยี บเสยี งพยญั ชนะในภาษาไทยถนิ่ เหนือ และภาษาเกาหลี

108<표 3>태국북부방얶과핚국어의자음체계비교พยญั ชนะ ไทยถนิ่ เหนอื เกาหลีตาแหน่งออกเสยี งเส้นเสยี ง ห, ฮ, อ ㅎ, ㅇ성문음 [h-] [ʔ-] [h-] [ʔ-] [-ʔ]เพดานอ่อน ก, ข, ค, ฆ, ง ㄱ, ㅋ ,ㄲ, ㅇ [k-] [kh-] [x] [ŋ-]연구개음 [k-] [kh-] k’-] [-k] [-ŋ] [-k] [-ŋ] ㅈ,ㅊ, ㅉเพดานแขง็ จ, ฉ, ช, ฌ, ญ, ย [ʨ-] [ʨh-] [ɲ-] [j-] [tʃ-] [tʃh-] [tʃ’-]경구개음 [-t] [-t] [-j-] ㄷ, ㅌ, ㄸ, ㄴ, ㅅ,ㅆ,ㄹปุ่มเหงอื ก/ฟัน ฎ, ด, ฏ, ต, ฑ, ฒ, ถ, ท, ธ, ฐ, ณ, น, [t-] [th-] [t’-] [n-][s-] [s’] [ɾ-, ʎ-] [-t] [-n] [-l]치조음 ซ, ศ, ษ, ส, ร, ล, ฬ ㅂ,ㅍ,ㅃ,ㅁ [d-] [t-] [th-] [n-] [s-] [l-] [p-] [ph-] [p’-] [m-] [-t] [-n] [-p] [-m]ริมฝีปาก บ, ป, ผ, ฝ, พ, ฟ, ภ, ม, ว ㄹ, - [b-] [p-] [ph-] [f-] [m-] [w-]양숚음 [ɾ-] [j-] [w-] [-j-] [-w-] [-p] [-m] พยญั ชนะควบสระ[j-] [-j-]อัฒสระ(반모음) ย, ล, ว 야,여, 요,유, 이,ใช้เป็นพยัญชนะต้น, [ɲ-][j-][l-][w-] พยญั ชนะควบสระ[w-][-w-]ตัวควบ, ตัวสะกด [-j][-w] [-w-] 와, 워, 외, 왜, 웨 พยญั ชนะต้นและตวั ควบ เชน่ [ɲ-]หญิง ใหญ,่ [j-] ยา อย,ู่ [l-][เล็ว, โลก,[w-]วา่ , ควัน ตัวสะกด เช่น [-w] คาว, [-j] กายหมายเหตุ 1 พยัญชนะ อ และ ㅇ ใชเ้ ป็นตวั ใหส้ ระเกาะ กรณที ่ไี ม่มีเสยี งพยัญชนะมาประสม 2อัฒสระเหตผุ ลที่แยกมาอกี ชอ่ งหน่ึง เนอ่ื งจากอฒั สระ เสยี ง [j][w] ในภาษาเกาหลีมีวิธกี ารใช้ ตา่ งจากไทยของไทยมพี ยัญชนะ วตาแหน่งอยูท่ ี่ริมฝปี าก-ลาคอ (labial-velar)และ ย เป็นเสียง ก่ึงสระ ตาแหนง่ ที่เพดานแข็ง (palatal semi-vowel) สว่ น เกาหลี [j][w]เป็นสระประสม (이중모음)นามาใช้ประสมกบั พยญั ชนะ ซง่ึ จะมบี าง คร้ังท่ผี สมคาแลว้ จะไดเ้ สยี งทเ่ี ทยี บเคียง กันไดใ้ นสองภาษานี้ คาควบทเี่ ทียบเสยี งกันได้ในสองภาษา เช่น อยาก 약[jak] , ว่า 와[wa], ควัน 관[khwan],แคว 괘[kwɛ]

109เสยี งพยญั ชนะต้นจากตารางท่ี3 พยญั ชนะต้นในภาษาไทยถน่ิ เหนือและเกาหลี มเี สียงทเ่ี กดิ ในตาแหน่งเดียวกันมากพอสมควร แมจ้ ะมคี วามแตกตา่ งทางด้านการทาลิ้นหรอื ตาแหนง่ ล้ินทีต่ า่ งกนัเล็กนอ้ ย แต่หากเนน้ เสียงให้ชดั ไมพ่ ดู เบาจนเกินไป จะ อยใู่ นระดบั ท่สี ามารถฟงั เขา้ ใจไ ด้ หากผู้สอนมีความรดู้ า้ นภาษาไทยบา้ ง แม้ไมใ่ ช่ภาษาถิ่นเหนือ ก็จะสามารถเทียบเคียงใหผ้ เู้ รยี นทาเสยี งที่ใกลเ้ คียงในระบบเสยี งภาษาไทย และปรบั เปลี่ยนตาแหนง่ ลนิ้ ทีละนดิ จนใกลเ้ คียงหรือเหมือนได้ เสยี งพยญั ชนะของไทยที่ใชส้ ัทอกั ษรเดียวกนั แตอ่ อกเสยี งต่างจากภาษาเกาหลเี ลก็ น้อย ไดแ้ ก่ พยญั ชนะเดีย่ ว(เทยี บได้เป็น ก ㄱ g, น ㄴ n, ด ㄷ d, ม ㅁ m, บ ㅂ b, ร ㄹ r, -ง-ㅇ–ng, ฮ ㅎ h), พยญั ชนะทใ่ี ชส้ ัญลกั ษณ์ต่างกนั แต่ออกเสียงใกล้เคียงได้แก่ เสียงเกร็ง ㄲ, ㄸ, ㅃ, ㅉ( เทยี บกบั ก ต ป จ เน้นหนกั ), และเสียงพยัญชนะเกาหลที ่ไี ม่มีในภาษาไทย แตเ่ ทยี บเสียงใหผ้ เู้ รียนชาวไทยเขา้ ใจได้ ได้แกเ่ สียง ㅈ, ㅊ,ㅅ,ㅋ,ㅌ,ㅍ(เทยี บเป็น จ, ช หนกั , ซ หลวม, ค หนกั , ท หนัก, พ หนัก)เปน็ ต้นเสียงระเบดิ (파열음)ได้แก่ ㄱ, ㅂ, ㄷ ใกลก้ บั เสยี ง ค-ก, พ-บ, ท-ด ในตาแหน่งพยัญชนะตน้และตวั สะกด ตามลาดบั เมื่ออยูร่ ะหว่างสระ ฐานกรณม์ กี ารส่นั พ้อง เสยี งจะกลายเป็นเสียงโฆษะ ทาให้ㄱ, ㅂ, ㄷ ในพยางค์ที่สองเป็นตน้ ไป จะกลายเปน็ เสยี งโฆษะเช่น 도자기, 다방, 기도เสียงนาสิก (비음) ㄴ กบั น เปน็ หน่วยเสียง /n/เช่นเดียวกัน แต่ในภาษาเกาหลี -ㄴ ตาแหนง่ตัวสะกด จะมกี ารยืน่ ของล้นิ เล็กนอ้ ย เป็นเสยี งระหว่างลิ้น(interdental)เชน่ คาว่า 라면 พยางคท์ ่สี อง มีการย่นื ของลิ้นไปขา้ งหน้ามากกว่า น ในภาษาไทย และ–ㄴ[n] ในภาษาเกาหลี ยังมคี วามก้องกังวานกวา่น ของไทย จงึ ใกลก้ ับ ㄷ [d]มากกว่า ในขณะทภี่ าษาไทย น กบั ด ต่างกันชดั เจน น ของไทยกดเสียงลงต่า แต่ ㄴ จะดันเสยี งไปทจ่ี มูกมากกว่าเสยี งนาสิก (비음) ㅁ จะดันเสยี งขนึ้ จมกู มากกว่า ใกลก้ บั เสียงรมิ ฝปี ากคู่ [b]หรือ [p] มากกวา่เสยี ง ม[m] ของภาษาไทยทกี่ ดเสียงลงตา่เสียงพยญั ชนะเหลว (유음)ㄹ จะเปน็ เสียง อาร์กวาดล้นิ (flap r)หรือ [ɾ]ในขณะทข่ี องไทย มีเสยี งรัวลนิ้ (alveolar trill)ร[r]กบั เสยี งข้างลน้ิ [l] เป็นสว่ นใหญ่ เสียง ㄹ นี้จะฟังไม่ชัดสาหรับ ผพู้ ูดภาษาไทยกลาง ทไ่ี ม่มเี สยี งน้ี ทาให้ครั้งหนึ่งคนไทยออกเสยี งชือ่ 아리랑[aɾiɾaŋ]เปน็ อารีดัง 아리당 8[aɾidaŋ]เน่ืองจากɾ กบั dตา่ งกันเพียงทีล่ ักษณะการออกเสยี ง และไทยไมม่ ีเสยี งนใี้ นตาแหน่งตัวสะกดตวั สะกดท่ีใกลเ้ คียงท่สี ุดคือแม่กน(ตาแหนง่ เดียวกัน) หรือแม่เกอว (มกี ารเลือ่ นของล้นิ )ทาใหผ้ ู้เรยี นหลายคน ออกเป็นตัวสะกด แมก่ น[–n]หรอื แมเ่ กอว [–w] เชน่ เดียวกบั การออกเสียง –lในภาษาอังกฤษ9เสียงนาสกิ (비음) ㅇ ในตาแหนง่ พยญั ชนะตน้ ใชเ้ ป็นสญั ลักษณ์ให้สระเกาะเมือ่ ไมม่ ีเสยี งพยัญชนะตน้ เชน่ เดียวกับไทย อ ของไทยน้นั ด้วยความท่เี ปน็ พยัญชนะ จงึ ออกเปน็ เสียงกักเสน้ เสียง 8 ช่อื ภาพยนตร์รัก โดยบริษทั ไฟว์สตาร์ พศ. 2523 ถ่ายทาทปี่ ระเทศเกาหลี เป็นเรื่องราวเก่ยี วกับทหารไทยทีไปช่วยรบในสงครามเกาหลี และพบรักกับสาวทน่ี ั่น สบื ค้น 26 กันยายน 2559http://www.iseehistory.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=434429 9 สาหรับเร่ือง [-l]ซึ่งเป็นเสยี งเดียวกบั [l]ในภาษาอังกฤษ ใน Phonological Analysis(Burquest,2006:116)ไดอ้ ธิบายว่า เหตผุ ลทม่ี ีผู้พูดภาษาอังกฤษบางส่วน ออกเสยี งน้ีโดยแทนทด่ี ้วย [-w]ว่าเป็นเพราะผ้นู ัน้ ไม่ทราบว่า [-l] ออกเสียงอยา่ งไร จึงแทนทดี่ ว้ ยเสยี ง [-w]ซ่ึงเป็นเสียงที่มีสว่ นคลา้ ยกนั เชน่ billออกเป็น [bɪw], milkออกเป็น [mɪw]

110[ʔ](glottal stop) แตใ่ นภาษาเกาหลใี ชเ้ ป็นตัวให้เสยี งเกาะเทา่ น้นั จงึ ไมไ่ ดอ้ อกเป็นเสียงกักเสน้ เสียง แต่หากอย่ใู นตาแหนง่ ตัวสะกด จะเปน็ เสียงนาสิกท่เี พดานอ่อนvelar[ŋ](เท่ากบั ง) เสยี ง ㅇ จงึ ไม่มีปญั หาสาหรับผพู้ ูดชาวไทยสว่ นใหญ่ ยกเว้นชาตพิ ันธุ์10ท่ใี นระบบเสยี งไมม่ ีเสียงตวั สะกด หรอื มีตัวสะกดน้อย เสยี งเส้นเสียง (성문)ㅎ โดยปกตแิ ล้ว ไม่มีปญั หาน้ีในการออกเสียงสาหรับคนไทย เพราะภาษาไทยมี ห, ฮ[h] เพยี งแต่ต้องเน้นวา่ พน่ ลมใหห้ นกั มากขน้ึ ตามคา่ เสียงของ ㅎ[h] แตจ่ ะมกี รณีที่ประสมสระสงู i, uสาหรบั ผูพ้ ดู ภาษาถิน่ เหนอื อาจติดเสยี งข้นึ จมกู เสยี งเกรง็ (경음)ㄲ, ㄸ, ㅃ, ㅉ ใกลก้ ับเสียง ก, ต, ป, จ แตจ่ ะเนน้ เสียงหนักมากกวา่ โดยกลอ่ งเสยี งมีการปดิ สนิท สามารถสอนโดยให้นกึ ถึงการร้องเพลงท่มี ีการทาบตี บอกซ์ พน่ เสยี งออกมาชดั ๆในขณะทีเ่ สียงภาษาไทยจะไม่ตอ้ งเน้นหนัก เปน็ ลักษณะการออกเสียงท่ตี ่างกนั เล็กน้อย โดยของเกาหลีจะมีการระเบดิ เสียงทมี่ ากกวา่ เสียงก่ึงเสียดแทรก (파찰음)ㅈ และ ㅊ สาหรบั เสยี ง ㅈ[tʃ]เปน็ เสียงทไ่ี ม่มีในภาษาไทย เชน่자연 คนไทยมกั ออกเป็นเสยี ง จ[ʨ]เป็น[ʨa: jᴐn], เสียง ㅊ คลา้ ย ช[ʨh]แตเ่ สียงจะมคี วามเน้นหนกัมากกว่า [tʃh]เช่น 치마 [tʃhima]โดยอธบิ ายให้ผูเ้ รียนเข้าใจวา่ สองเสียงน้ีต่างกันทีเ่ สียง ㅊ มีการพ่นลมในขณะที่ ㅈ ไม่มกี ารพ่นลม แต่มคี วามสน่ั พ้อง โดย ㅈ ไมเ่ หมือน จ เพยี งแต่มคี ่าของเสียงคลา้ ยกันจงึเทียบเคยี งให้ผูเ้ รียนชาวไทยเขา้ ใจในเบือ้ งต้นได้ เสียงเสยี ดแทรก(마찰음)ㅅ 10 11ซง่ึ มคี ณุ สมบตั ิเปลี่ยนเสยี งไปตามสภาพแวดล้อมท่ปี รากฏ เปน็หนว่ ยเสียงยอ่ ยตา่ งๆ ได้แก่ เสียงปกติ คือ หนว่ ยเสยี ง [s]เม่อื ประสมกบั สระต่างๆ ยกเวน้ [i] เชน่ 사랑[sa: ɾaŋ], 선물[sᴐn mul]และกลายจะเปน็ เสยี งเสยี ดแทรกทเี่ พดานปาก[ҫ]เมื่อเจอสระสูงเช่น 시[ҫi],หรือกลายเป็น [ʃ]เมือ่ เจอสระ ㅑ[ja] เชน่ 샤방샤방[ʃa:baŋ ʃa:baŋ]วิธสี อนคือ ให้เริม่ ต้นด้วยทาล้ินเหมือน ท (กัก) ค้างไว้ แล้วตามดว้ ยเสยี ง ส หรือ ซ (เสยี ดแทรก ) ช้าๆ แม้ไม่ใชเ่ สยี งก่งึ เสยี ดแทรกในภาษาเกาหลี แตเ่ ป็น s หรือ ส หลวมๆ แตเ่ ปน็ วิธเี ทียบเสยี งที่คนไทยรจู้ ัก โดยยกตวั อยา่ งคาที่ปรากฏใน 10 กลมุ่ ชาติพันธภ์ุ าษาในประเทศไทยมีกวา่ 72 กล่มุ โดยจัดตระกูลภาษาตามความสัมพันธ์เชงิ เชอื้ สายอยใู่ น5 ตระกลู ภาษา ได้แกต่ ระกลู ไท 24 กลมุ่ , ตระกลู ออสโตรเอเชยี ตกิ 22 กล่มุ , ตระกลู จนี -ทิเบต 20 กลุม่ , ตระกูลออสโตรนเี ชียน 3 กลมุ่ , ตระกูลมง้ -เมีย่ น 2 กลุ่ม (สวุ ไิ ล เปรมศรรี ัตน์, 2557)ในwww.academic.obec.go.th/web/static/d/515 สบื ค้น 15 ตุลาคม 2559 สาหรับกลุม่ ชาตพิ ันธุ์บนพน้ื ที่สงู หรือชาวเขาในประเทศไทย มี 13 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กระเหร่ยี ง, ม้ง (แมว้ ), เมย่ี น (เยา้ ), ลซี ู (ลซี อ), ลาหู่(มูเซอ), อาขา่ (อกี ้อ), ล๊ัวะ,ถิ่น, ขม,ุ จีนฮ่อ, ตองซู, คะฉิ่น, ปะหล่อง (ดาราอั้ง) กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ .(ออนไลน์). ในhttp://www.chatipan.dsdw.go.th/pdf/F001.pdf สืบคน้ 15 ตุลาคม 2559 11 เสียง ㅅ นีใ้ นภาษาเกาหลีอธิบายว่าเป็นเสียงเสียดแทรก แต่ผู้วิจยั พบว่าก่อนจะออกเสยี งเสียดแทรก มกี ารวางลนิ้ ค้างไว้หลวมๆ แลว้ จึงปล่อยลมเสียดแทรกออกมา จึงมีความใกลก้ บั เสียงก่งึ เสียดแทรก ทแี่ ตะลิน้ เพยี งแวบเดียวแล้วปล่อยลิ้นหลวมๆ ซง่ึ หากผู้เรียนทาเสยี งโดยวิธแี ตะลิน้ แลว้ ปลอ่ ย เสยี งทไ่ี ด้ก็จะคลา้ ย ㅅ แต่หากทาลิน้ หลวมๆ ไว้จะเป็น ㅅ ทันที จากการฟงั จะไดย้ นิ เสยี งทีอ่ อกด้วยสองวธิ นี ไ้ี มแ่ ตกตา่ งกนั นัก เสียงตัวอกั ษรของภาษาในภูมภิ าคเอเชยี นี้อยา่ ง ญป่ี ุ่น (ในวรรค さ ได้แก่ さ,す,せ,そ)และภาษาพมา่ พยัญชนะ (ซา เลง)์ [sha̰lèɪɴ]กม็ เี สยี งท่ฟี งั ดูคล้ายกนั นี้

111เพลงเกาหลี แล้วใหพ้ ูดซ้าๆ จากนั้นคอ่ ยตามด้วยเสยี งนีน้ าไปประกอบกับสระอนื่ ๆ ออกเสยี งซ้าและเกดิความคุน้ เคย จนทาตามไดใ้ กล้เคยี งในทส่ี ดุ เสยี งพน่ ลม(격음) ㅍㅌㅋ หากเทียบกับพยัญชนะไทย จะเทียบไดก้ บั อกั ษรสงู ข, ถ, ผหรอือักษรต่า ค, ท, พ ตามลาดบั เปน็ เสียงพ่นลมในตาแหนง่ เดียวกนั แตไ่ มใ่ ช่เสียงที่พ่นลมทมี่ คี า่ ของตวั อกั ษรหนกั เทา่ ภาษาเกาหลี เสยี งเกรง็ (경음) ㅃㄸㄲ จะเทยี บได้กับป ต จ ก [p t ʨ k] ที่เปน็ สียงระเบิดสิถลิ เช่นเดียวกนั มผี ูเ้ รียนหลายคนออกเสยี งพน่ ลม (격음) และเสียงเกร็ง (경음) โดยไมม่ กี ารเกรง็ กลา้ มเนอื้ เพื่อพน่ ลมหรอื เน้นเสยี งให้มากพอ จึงทาให้บางคร้งั เสียงคลมุ เครอื หรือสือ่ ความหมายผิดพลาด เช่น풀 ออกเสยี งเป็น 불 แก้ไขโดยแนะนาใหอ้ อกเสียงเนน้ ๆนกึ ภาพการ ร้องเพลง บีทบอกซ์ท่กี กั เสียงให้แน่นและชัดเจน และย้าบอ่ ยๆ วา่ ค่าของเสียง ที่มีตวั อกั ษรท่มี นี ้าหนกั มาก ทาใหเ้ ป็นพยางคห์ นักกวา่ เสียงเรียบ(예사소리) ฝกึ โดยนามือองั ทป่ี ากแลว้ ออกเสียงให้ชัด ให้มือรู้สกึ ได้ เพ่ือเทยี บกับ ㅈ, ㄱ, ㄷ,ㅂ ทไ่ี ม่ได้พน่ลมหนัก จากตารางท่ี 2 ภาษาไทยกลางมพี ยัญชนะควบกล้า ไดแ้ ก่ ร , ล, ว แมภ้ าษาไทยถ่นิ เหนอื จะไม่ควบกล้าเปน็ ส่วนใหญ่ แตก่ ารควบกล้าก็อยู่ในหลกั สูตรการศึกษาของไทย ผเู้ รยี นชาวไทยจึงออกเสยี งควบกล้าได้ ทาใหไ้ ทยไมม่ ีปัญหาในการออกเสียงควบบางเสยี งในตาแหน่งตน้ คาของภาษาเกาหลี เช่น[kw] [hw]ในคา 관, 활 ซ่งึ เป็นเสียงควบ ว แตเ่ กาหลียังมีตัวควบของพยญั ชนะต้นกับสระประสม ย ซ่ึงภาษาไทยไม่มคี วบ ย ในกล่มุ ผเู้ รมิ่ เรียนชาวไทย บางคนจึงมกี ารออกเสยี งแทรก อะ ทาให้เกดิ เป็นคาพยางคค์ รงึ่ เชน่ 몇 ออกเป็น มะหย่อด [ma jᴐt̀ ]เปน็ ตน้ ตามโครงสร้างพยางค์ของไทย ตัวสะกด สาหรับมาตราตัวสะกดในภาษาไทยน้ัน ตรงกบั มาตราตวั สะกดในภาษาเกาหลี เกอื บท้งั หมด ยกเว้นเพียงเสียง –ㄹ ผูเ้ รม่ิ เรยี นหลายท่านจึงไมส่ ามารถ ออกเสียงน้ี ทาให้ผิดพลาดในการส่ือสาร โดยอาจออกเสยี งเปน็ ตวั สะกดในแม่กน [-n] หรอื แมเ่ กอว [-w] สาหรบั การออกเสียงตวั สะกด –ㄹ นี้ ผู้วจิ ัยไดแ้ นะนาใหผ้ เู้ รยี นออกเสียงตัวสะกดแมก่ ดก่อน เช่น คาว่า 맛 ล้นิ จะย่ืนตรงๆ แตะป่มุ เหงอื กจากนัน้ ให้เปล่ยี นไปทาล้ินเปน็ แอง่ และแตะท่เี ดมิ จะกลายเปน็ 말 โดยให้ปรบั จากตัวสะกดแมก่ ด [-t]เปน็ ตวั สะกด [-l] เพียงแตะลิ้นตาแหน่งเดยี วกนั จากล้นิ ตรงๆ กเ็ ป็นลิน้ งอเขา้ แตะล้นิ ให้สนิท ก็จะได้ตวั สะกด–ㄹ สาหรับกลุ่มผูเ้ รยี นชาวเหนือ ที่พบว่าเปน็ คน สว่ นใหญ่ ท่ีมาเรยี นเอกภาษาเกาหลที ่ีราชภัฎเชียงใหม่ พบวา่ ในเสียงพยัญชนะตน้ ㅈ มีหลายคน มักพลาดโดยแทนด้วย ㅊ หรือ ㅅ เนอื่ งจากภาษาไทยกลาง ช, ฉ จะเปน็ จ, ส ในภาษาเหนอื (ดูในตาราง 2) การออกเสยี งพยญั ชนะทผ่ี ิดพลาด มีผลตอ่ การจดจาตวั เขียนท่ีผดิ พลาดตามไปด้วย ทัง้ การสะกดคาศพั ท์ในภาษาเกาหลี และการถอดเสยี งศัพท์ภาษาไทย เช่นเมือ่ ให้เขยี นเรียงความเรือ่ งกีฬาพื้นเมืองของไทย มีนักศึกษา สะกดเป็นภาษาเกาหลวี า่ชักเย่อ แต่เขียนด้วย ㅅ เป็น ซักเยอ่ [삭가여][sak ka jᴐ] เป็นท่ีนา่ สังเกตว่า เสยี งพยัญชนะฐานปุม่ เหงือก /ฟัน ทงั้ ในตาแหน่งพยญั ชนะตน้ และตวั สะกดของภาษาเกาหลี มคี วามซบั ซ้อนและมีจานวนมากกวา่ ในภาษาไทย ซ่ึงนา่ จะเรียกไดว้ ่าเป็นหน่ึงในลกั ษณะเฉพาะของภาษาเกาหลี ลกั ษณะเฉพาะของการออกเสียงในฐานปุ่มเหงอื ก/ฟนั ใช้ปล ายลิน้ แตะป่มุ เหงือกหรือฟัน ลิน้ จะอยกู่ ลางๆ โดยไมแ่ ลบออกมา (ยกเวน้ ตัวสะกด – ㄴ ) ความซบั ซ้อนอยู่ท่คี า่

112นา้ หนกั ของแตล่ ะพยัญชนะ เช่น การ พน่ ลม, ความแรง ทีเ่ รยี กวา่ เสยี งเกรง็ (경음)และเสียงพ่นลม( 격 음 )ทาใหเ้ สยี งมมี ากกว่ากวา่ เสียงพยญั ชนะไทยในฐานเสียงเดยี วกัน 4.2) เสยี งสระเสียงสระในภาษาเกาหลมี ีน้อยกว่าในภาษาไทย ถน่ิ เหนือ โดยสระภาษาไทยถนิ่เหนอื มี24 หนว่ ยเสยี ง (สระเด่ียว 18 และสระประสม 6 หน่วยเสียง) สระประสมไทยเหนอื จะควบ w, j,ɯได้แก่ อวั ะ อวั /ua, u:a/, เอยี ะ เอยี /ia, i:a/, เอือะ เอือ/ɯa, ɯ:a/ในขณะที่สระประสมเกาหลมี ี 이ควบ [j]ไดแ้ ก่ ㅑㅕㅛㅠㅖㅒ,이 ควบ w ได้แก่ ㅚㅟ,이 ควบ ɯไดแ้ ก่ ㅢ จึงทาให้ผเู้ รยี นสว่ นใหญ่สามารถออกเสียงสระเดี่ยวไดอ้ ย่างไมม่ ปี ญั หานกั แต่จะมปี ัญหาเรอ่ื งการออกเสยี งพ ยัญชนะควบสระประสมที่ภาษาไทยไมม่ ใี นระยะเร่มิ ตน้ และคอ่ ยๆ ปรับตวั ได้ ปัญหาสระในภาษาเกาหลจี งึ ไม่ใช้ปัญหาใหญส่ าหรบัผู้เรยี นชาวไทย ยกเว้นกรณีการทบั ศัพทภ์ าษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษซ่งึ มีการแทนคา่ตัวอกั ษรภาษาอังกฤษแตกต่างกัน ทาใหเ้ กดิ ความสับสนสาหรบั ผู้เร่มิ เรียน เช่น ศพั ท์ภาษาอังกฤษ“sun”ภาษาเกาหลีทับศพั ท์เปน็ 선 โดยเลือกใช้สระ ㅓ ในขณะที่ภาษาไทย เลอื กทับศพั ทเ์ ป็น ซัน โดยเลือกใช้สระ อั หรือ อะ เป็นต้น ตาราง 4 เปรียบเทยี บสระเด่ยี วในภาษาไทยและภาษาเกาหลี <표 4>태국어와핚국어의단모음비교 เกาหลีสระ ไทยตาแหนง่ ออกเสยี งหนา้ i i: e e: ɛ ɛ: ie ɛ yø อิ อี เอะ เอ แอะ แอ전설모음 a a: 이에애위외 อะ อากลาง a ᴐ ᴐ: o o: u u:ɯ ɯ: ɤ ɤ:중설모음 เอาะ ออ โอะ โอ อุ อูอึ ออื เออะ เออ 아หลงั ᴐ o uɨ (ɯ)후설모음 어우오으 สระหนา้ ปจั จบุ ันภาษาเกาหลมี าตรฐานออกเสียงสระ 에 [e] และ 애[ɛ] แทบจะเปน็ เสยี งเดียวกนั โดยไม่ได้กอ่ ให้เกิดปัญหาใหญใ่ นการสื่อสาร ในขณะที่ภาษาไทย ยังออกเสยี ง เอะเอ , แอะแอตา่ งกันอย่างชัดเจน ผู้เรยี นชาวไทยจึงไมม่ ปี ญั หาในการออกเสยี งสระหนา้ ในภาษาเกาหลี สระกลาง สระ 아 ในภาษาเกาหลีจะอย่ใู นตาแหน่งลึกกวา่ สระอา ในภาษาไทย ผพู้ ดู ภาษ าไทยมกั ออกเสยี งนี้ ต้นื กวา่ เสียง 아 จริงในภาษาเกาหลเี ล็กนอ้ ย สระหลงั สระ 어 ในภาษาเกาหลี จะมีความกลมนอ้ ยกว่า ออ ในภาษาไทย สระในภาษาเกาหลีมตี าแหนง่ และลกั ษณะการออกเสยี งตา่ งจากไทย เพยี งเลก็ น้อยดังน้ันหากผูเ้ รยี นชาวไทยออกเสียงไมเ่ บาจนเกนิ ไป จะอยูใ่ นระดับทส่ี ามารถสื่อสารได้ แต่ปัญหาของสระจะอย่ใู นเร่ืองการถอดเสียงทบั ศพั ท์คาภาษาต่างประเทศหรอื ช่อื เฉพาะทเ่ี ลือกใชท้ บั ศัพทไ์ ม่เหมอื นกัน 5. ปัญหาในการออกเสยี งภาษาเกาหลีของผเู้ รยี นชาวไทยทพี่ ูดภาษาไทยถน่ิ เหนือ ( )태국북부방언사용하는학습자의핚국어발음문제

113 ปัญหาทพี่ บในการออกเสยี งภาษาเกาหลีของผู้เรยี นชาวไทย นอกจากเสยี งพยัญชนะและสระแลว้ ยังมปี ัญหาการออกเสียงอนื่ ๆ ท่พี บในกลุ่มผู้เรยี นชาวไทยถิ่นเหนือ ได้แก่ การไมเ่ น้นเสยี งหนกั , การเพิม่ เสียงวรรณยุกต์, การโยงเสียงในคาหรือประโยค , การทับศพั ท์ภาษาอังกฤษ , ระบบเสยี งภาษา แม่เปน็ ต้น ซ่งึ อาจทาให้เกดิ ความผดิ พลาดในการสือ่ สารได้ 5.1) การไม่เน้นเสียงหนกั ในพยางค์และประโยค ผเู้ รยี นภาษาเกาหลี ในระดับเรมิ่ ตน้ มักออกเสียงเปน็ ระนาบเดยี วกัน ด้วยความที่ ภาษาไทยเปน็ ภาษามวี รรณยุกต์ ผู้ที่เร่ิมเรยี น ซง่ึ ไม่คุ้นเคยจะไม่ทราบว่าต้องลงน้าหนกั เสยี งตามค่าของตัวอกั ษร จงึ มกั ไมเ่ นน้ เสียงสูงต่าและออกเสียงพยญั ชนะหรือสระไม่เตม็ เสียง ทาใหย้ ากต่อการฟัง กล่าวคือออกเสยี ง เปน็ เสยี งเรียบ (평음) ทัง้ ในระดับคาและระดบัประโยค เช่น แมลงวัน 파리 ออกเสยี งเปน็ พารี โดยยดึ ตามอักษรต่า พ ในภาษาไทย หรือการไม่ขึ้นเสียงสูงในประโยคคาถามหรอื ประโยคแสดงความร้สู กึ ตกใจ เปน็ ต้น ปญั หาการไมเ่ น้นเสยี งหนัก สามารถแก้ไขโดยอธิบายให้เข้าใจเรื่องนา้ หนกั ของตัวอักษรและการเนน้ เสียงข้นึ ลงตามชนดิ ของประโยคและเจตนาในการสือ่ สาร เมอ่ื ได้เรยี นเรือ่ งฐานกรณ์และลกั ษณะการออกเสยี ง รวมถงึ กฎการเปลยี่ นแปลงของเสยี งแล้ว ผ้เู รยี นจะเกิดความเขา้ ใจ และออกเสียงได้ชัดขึ้น แต่ยังติดการออกเสยี งแบบไทยอยู่ เนื่องจากอยูใ่ นบรบิ ทของประเทศไทย ไม่มีโอกาสใชภ้ าษาเกาหลใี นการสอ่ื สารมากนัก จึงมกั หลงลืม อาจแนะนาใหฟ้ งั และออกเสยี ง ตามสือ่ เกาหลีบอ่ ยๆ จนเกิดความ ค้นุ เคยให้ใสค่ วามรู้สึกไปกบั ถ้อยคาท่ีอา่ น เพอื่ ปรับปรุงเสยี งข้ึนลงในประโยคให้ตรงตามวตั ถุประสงคใ์ นการสื่อสาร การฝึกเน้นเสยี งให้ชดั และถูกต้อง ตามเสยี งของเจ้าของภาษา บอ่ ยๆ เหมือนการออกกาลังกายทาให้ให้กลา้ มเน้อื ปากไมเ่ กรง็ ก็จะเกดิ เป็นทักษะท่ดี ีได้ 5.2) การเพิ่มเสยี งวรรณยกุ ตโ์ ดยไม่จาเปน็ การมีอักษร สามหมู่ (ไตรยางค์ )และเสยี งตวั สะกดเสยี งระเบิดอโฆษะในภาษาไทย สง่ ผลตอ่ การใสว่ รรณยุกตก์ ากับเมอื่ ตอ้ ง ออกเสยี งภาษาตา่ งประเทศรวมถึงในภาษาเกาหลดี ้วย เช่น 책, 빛 ออกเสียงเปน็ แฉก่ [ʨhɛk̀ ], ผดิ [phìt]เนอ่ื งจากผเู้ รียนคิดว่า การใส่วรรณยุกต์เอกจะทาพยางค์ส้ันลง เมือ่ ลองสะกดเป็นภาษาไทย จะตดิ การใช้อกั ษรสงู (ฉ, ผ) แทนทจ่ี ะทาเสียงเน้นทีพ่ ยญั ชนะต้น ㅊ[tʃh-] แตไ่ ปใสว่ รรณยกุ ต์กากับที่พยางค์ ตามระบบเสียงภาษาไทย เพราะㅊ[tʃh-] เป็นเสยี งพ่นลม และไปเทียบกบั ฉ, ผ ท่ีเป็นอักษรสูง เพราะหากใชเ้ ป็นอักษรตา่ ช, พ อาจรู้สกึเหมอื นเสยี งไมถ่ กู กดลง ไม่เน้นย้าเหมอื น ฉ, ผ ตามลาดับ ควรอธิบายโดยให้ตดั เสียงวรรณยุกต์ออกไปและออกเสียงตามพยัญชนะภาษาเกาหลี ไมต่ อ้ งถอดเสยี งเป็นภาษาไทย 5.3) การโยงเสยี ง การโยงเสียงระหว่าง คาหรือ ในประโยค (연음)และโครงสร้างพยางค์(음절구조) ท่ีไม่ใชล่ ักษณะเฉพาะในภาษาคาโดด ทาใหผ้ เู้ รยี นในระดับตน้ เกดิ การออกเสียงผิดพลาดภาษาไทยเป็นภาษาคาโดดที่ตดั เสยี ง ระหวา่ งพยางค์ ใหข้ าดจากกัน ในขณะท่ีภาษาเกาหลี เป็นภาษาคาตดิ ต่อท่มี ีการเชอ่ื มเสียงระหว่างพยางค์และมกี ฎการกลมกลืนเสียง มีเปลีย่ นแปลงเสียง ตามโครงสร้างพยางค์ค่อนขา้ งมาก ในการออกเสยี งภาษาไทย หากมีออกเสียงคายมื ภาษาตา่ งประเทศโดยตอ้ งโยงเสียงตามภาษาต้นฉบับ หรอื คาประสมบางคาจะใส่สระเชือ่ มเข้าไป ซ่ึงเรยี กวา่ การพักเสียง เชน่ สุวรรณภมู ิออกเสียงวา่ สุ-วัน-นะ-พูม [sùwan̄ ap̄ hū:m], ต๊กุ ตาออกเสยี งวา่ ตุ๊ก-กะ-ตา[túkātā:]เป็นต้น ประกอบกับในภาษาไทยไม่มีเสยี งควบ ย จึงออกเสยี งภาษาเกาหลที ี่มีการควบเสียงก่ึงสระ [j]โดยการแทรกเสยี ง[a] เพอื่ พักลน้ิ เช่น 학교 ออกเสยี งเปน็ ฮกั กะโย [hak ka jo]คาท่ีควบ [j]จึงเป็นคาพยางคค์ ร่ึงสาหรับ

114ผู้เรียนเร่ิมตน้ บางคนและมหี ลายคนที่มุ่งเน้นกับการออกเสยี งพยัญชนะต้นและตัวสะกดใหช้ ดั จนลมื โยงเสียงตัวส ะกดทีม่ ีอิทธิ พลต่อพยางคท์ ีต่ ามมา และไดย้ นิ เหมอื นกาลังพดู ภาษาไทย ในเรื่อง การแทรกเสียงอะ12นี้ ผู้วจิ ัยมีความคดิ เห็นวา่ นา่ จะเกดิ จากแนว เทียบโดยการแทรกเสยี งสระกลางคา 2 พยางค์ซง่ึ มเี สียงตวั สะกดตวั หน้า กบั เสยี งตัวตามตา่ งกนั ทัง้ นเี้ ป็นการออกเสยี งตามแนวนิยมของไทย แต่ภาษาเกาหลีไมใ่ ชภ่ าษาคาโดดทีเ่ สียงแตล่ ะพยางค์ต้องตัดใหข้ าดจากกัน นอกจากนี้ การพยายามออกเสยี งพยญั ชนะแตล่ ะตัว ให้ชดั ท้งั หมดโดยยดึ ตดิ กบั ระบบเสยี งภาษาไทย จะ ทาให้ลมื การโยงเสยี งและเปลย่ี นเสียงระหวา่ งพยางค์ เช่น 식당 ออกเปน็ ชิกดัง [[ʨhikdaŋ],핚국말 ฮนั กุกมัล [han kuk mal],정류소 จอง รยู โซ[ʨᴐŋ raju so] เป็นต้น หรือทาใหเ้ กิดการแทรกเสยี ง [ʔ] เพ่ิม ในคาทมี่ ีเสยี งพยญั ชนะตน้ ㅇ เชน่ 생읷 ออกเสียงเป็น แซง็ อลิ [sɛŋ ʔil] หรอื[sɛŋ ʔiw] การไมโ่ ยงเสียงระหวา่ งพยางค์น้ี ทาให้เสยี งพดู ออกมาไม่เป็นธรรมชาติ ฟงั ดูแปรง่ ๆ น่เี ปน็ปญั หาระดบั คา เม่อื พดู เปน็ ประโยค ยงั มีปัญหาเรอื่ งการแบง่ จงั หวะหยดุ หายใจขณะ อา่ นออกเสียง ดว้ ยจึงตอ้ งคายา้ ใหก้ ลมกลืนเสยี งและปล่อยเสยี งไปตามธรรมชาติ ไมต่ อ้ งกกั เสียงเอาไว้เหมือนโครงสรา้ งภาษาไทย 5.4) การทบั ศัพท์ภาษาองั กฤษ ท่ที าให้เกิดความสับสนในผเู้ ริม่ เรยี น เน่ืองจากระบบการทับศัพท์ทีแ่ ตกต่างกันการทบั ศัพท์ภาษาอังกฤษในภาษาไทยมกั เนน้ พยางค์ท้ายโดยใส่วรรณยุกตก์ ากับ เชน่Computer ออกเสียงเป็น คอมพิวเต้อ [khᴐ̄ m piw̄ tǝ̂ :],Beauty เป็น บวิ ต้ี [bīw tî]ในขณะที่ภาษาเกาหลีจะทับศพั ท์โดย ไมเ่ น้นพยางค์ท้าย เพราะมี การสะกดด้วยอกั ษรที่ ทม่ี คี ่านา้ หนกั เสียงมาก (경음,격음) อยแู่ ล้ว ศพั ท์ทมี่ าจากภาษาองั กฤษในเกาหลมี กั ใชพ้ ยญั ชนะท่ีมีคา่ นา้ หนักเสียงมาก ออกเสียงเปน็컴퓨터, 뷰티 เป็นตน้ การมีอกั ษรสู งกลางต่า และเสยี งตวั สะกดเสียงระเบิดอโฆษะ ในภาษาไทยสง่ ผลตอ่ การใส่วรรณยุกต์ เพอ่ื ทาให้เสยี งส้นั ลงในการทับศัพท์คายมื ภาษาต่างประเทศ จงึ ทาให้คนไทยมกั ใส่วรรณยุกต์ลงไปกากับดว้ ยเชน่ ในเสยี ดแทรก หรอื เสียงระเบิด- โฆษะ[-s][-d] [-f] เป็นต้น ไมป่ รากฏในตาแหนง่ตวั สะกดท้งั ในภาษาไทยและเกาหลี ภาษาไทยเลือกตัดเสยี งท้ายทไี่ มม่ อี อก bus จงึ เปน็ บัส [bát], guideเป็น ไกด์ [kái], golfเปน็ กอลฟ์ [kᴐ́p] ในขณะทเ่ี กาหลี จะทับศัพท์ เป็น 버스 [bᴐsɨหรอื pᴐsɨ]และ가이드[ga i dɨ], 골프 [gol phɨ]ตามลาดบั การทบั ศพั ท์ของเกาหลี จะคอ่ นขา้ งเกบ็ พยางค์หมด เม่อื ไมม่ ีตวั สะกดน้ันในภาษาเกาหลี กล็ ากเปน็ อกี พยางคห์ น่ึงสนั้ ๆ ซ่ึงเปน็ การทบั ศพั ท์ตามโครงสร้างพยางค์ของแต่ละภาษา นอกจากนี้ยงั มี เรื่องการเลอื กใช้สญั ลักษณ์ในการทบั ศัพท์ ภาษาองั กฤษ อันทาให้เกดิ ความคลาดเคลื่อนในการสอื่ ความหมายระหวา่ งสองชาติน้ี เชน่ เกาหลถี อดเสียง o เปน็ ㅗ แต่ของไทยมักเปน็ออ, u ภาษาอังกฤษ ในเกาหลถี อดเปน็ ㅓ เพราะรสู้ ึกว่าเสียงใกล้กับ[ʌ ]ในภาษาองั กฤษ สว่ นของไทย 12 อุดม วิโรฒน์สขิ ดติ ถ์ (2554:275) กลา่ วถึงทฤษฎีการแทรกเสียงมธั ยสระว่า มัธยสระ (neutral vowel เกิด ณ ตาแหน่งสว่ นกลางชอ่ งปาก คือ [a] [ǝ] ใชพ้ ักลน้ิ โดยการหยุดเสียง ก่อนจะเร่มิ ตน้ ออกเสียงอื่นที่ตา่ งไป ตามฐานเสยี ง, ประเภทเสียง, ลักษณะธนิตสิถิล, โฆษะอโฆษะ เช่น อพยพ [ʔòp pa jóp] (พยางค์หนา้ เปน็ พยัญชนะ เสยี งระเบดิ ที่ริมฝปี าก ตัวตามเปน็ กึง่ สระ) ตัวอย่างอนื่ ๆ ท่มี กี ารแทรกเสยี งลักษณะนี้ได้แก่ กลั ยา [kan̄ la jā], พลั วัน [phan̄ la wan̄ ] เปน็ ตน้

115เป็น อั, อะ ดงั ตวั อยา่ งขา้ งตน้ ,เสยี ง ㅈ ทับศัพท์เป็น z แต่ไทยทบั เป็น ซ , ส [s]เชน่ amazon ไทยเป็นอเมซอน[ʔā mē sᴐ̄ n] และmusicไทยเป็น มิวสิก[miw̄ sìk]ส่วนเกาหลีออกเป็น 아마존, 뮤직 เป็นต้น 5.5) อทิ ธพิ ลระบบเสียงภาษาแม่ ดงั ทีไ่ ด้กล่าวไปในเบอ้ื งต้น วา่ ลักษณะเฉพาะของเสยี งของภาษาไทยเหนือ จะมลี ักษณะเฉพาะทีเ่ สียงพยญั ชนะ ห, ย [h] [j]เมือ่ ประสมกบั สระสูง จะออกเสียงขึน้จมูกหากผเู้ รียน ถกู อิทธิพลของภาษาแม่ครอบงาและนาความเคยชินน้ันมาใช้ กับการออกเสียงภาษาเกาหลีอาจเกิดการเตมิ หนว่ ยเสยี งหรือเปล่ยี นเสียงโดยที่เจา้ ของภาษาไม่เข้าใจว่ามาไดอ้ ยา่ งไร เช่น 여행แตก่ ลบั ออกเสยี งเป็น [jᴐ̃ hɛŋ]หรอื [jᴐŋ hɛŋ] เสียง ย ขนึ จมูกน้นั มคี วามเป็นไปไดว้ ่าตดิ มาจากเสียงญ[ɲ](นาสิกทเี่ พดานแข็ง) เสยี งอัฒสระย เมอ่ื เจอสระสูงจงึ ดันเสยี งขน้ึ จมกู ไปดว้ ย เสียง ห ขนึ จมกู อาจเปน็ เพราะความทเ่ี ปน็ อกั ษรสงู และเปน็ เสียงลมหายใจ เม่ือเจอสระสูงอีกผ้พู ูดภาษาไทยถ่นิ เหนือจงึ บบี เสยี งข้นึ จมูกไปด้วย เรอ่ื งกฎทางเสยี งนี้ ในกรณภี าษาเกาหลี มคี าว่า 얶니[ʌnɲiหรอื ᴐnɲi] ทอ่ี ิทธพิ ลของสระสงู[i] ทาให้หนว่ ยเสียงนาสกิ ที่ปุ่มเหงือกกลายเปน็ เสียงนาสิกเพดานแข็งn -> ɲ(구개음화) เป็นอทิ ธิพลของสระสูงเชน่ กนั ใชเ้ ปน็ ตัวอยา่ งอธิบายใหผ้ ูเ้ รยี นเข้าใจได้ อีกหน่ึงลักษณะเฉพาะของภาษา ไทยถ่นิ เหนือ คอื การไม่ ออกเสยี ง ควบกล้า ซง่ึ แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน ทาให้เม่อื ถอดเสยี งเปน็ ภาษาเกาหลี ก็มกั ลมื ควบสะกดหรือออกเสยี งควบ ด้วย เชน่เม่ือทบั ศพั ทค์ าว่า ปลา จะเขียนเปน็ ปา 빠[pa:] การแกป้ ัญหาการออกเสียงทผ่ี ิดพลาดของผเู้ ร่มิ เรยี นภาษาเกาหลี ได้แก่ การให้ฟัง บ่อยๆกระต้นุ ดว้ ยการให้ออกเสียงรายบุคคลและสอบปฏบิ ตั ิการออกเสยี งยอ่ ยหลายๆคร้งั และส่งเสริมให้ผู้เรียนใชเ้ วลาวา่ งศึกษาการออกเสยี งด้วยตนเองโดยดูรายการโปรดเกาหลี และพยายามจับคาศัพท์ทไ่ี ด้ยิน แลว้ นามาคน้ ศพั ท์ในพจนานุกรม หากฟังถูก จะหาศพั ท์เจอและทราบความหมายได้ หรือใหฟ้ งั เพลงฟังบทสนทนาในละคร แลว้ ขยบั ปากตามเพอื่ บรหิ ารกล้ามเน้อื ปากใหเ้ ข้าท่ีเหมือนกับการออกกาลังกายเมอ่ื ทาปากตรงจงั หวะและ สามารถ ขยบั ตามได้ ทนั แลว้ ข้ันตอ่ ไปคอื เปล่งเสยี งออกมาด้วยให้ทันกับจังหวะท่ีได้ยนิ จากนั้นจงึ ฝกึ ให้คาชัดขึน้ ๆ ดว้ ย ทง้ั นี้ผเู้ รยี นต้องมคี วามตั้งใจท่จี ะฝกึ เองด้วย จึงจะบรรลุประสทิ ธิผลทางการเรยี น 6. สรปุ และขอ้ เสนอแนะ (결론) ผู้วิจัยมีความเห็น สอดคลอ้ งกับ 핚재영 et al (2006, pp. 269-270) และ 전나영 (2015, pp.33).ในประเด็นทีว่ ่าหากผสู้ อนมคี วามรู้เรื่องระบบเสียงของภาษาของผเู้ รียนบ้าง จะสามารถสอนการออกเสยี งภาษาเกาหลีได้อย่างมีประสิทธภิ าพมากกวา่ ผ้วู ิจยั เชือ่ ว่าผู้เรยี นชาวไทยทมี่ คี วามร้ดู า้ นการออกเสียงและเข้าใจ จะออกเสยี งในระดับทส่ี ือ่ สารได้ และหากได้มโี อกาสฝกึ มากยิง่ ขน้ึ ได้ไปใชช้ วี ิตหรืออยใู่ นสง่ิ แวดล้อมทใ่ี ชภ้ าษาเกาหลี ผเู้ รียนชาวไทยทีม่ ีพ้นื ฐานแ ลว้ จะใชเ้ วลาเพยี งไม่นานและปรบั ตวั ใหอ้ อกเสียงและสื่อสารได้อย่างคลอ่ งแคลว่ ได้

116 การสอนออกเสียงสาหรบั ชาวไทย จงึ ต้องเน้นค่าของพยญั ชนะทมี่ ีนา้ หนักมาก ไดแ้ ก่ เสยี งเกรง็(경음),เสียงพน่ ลม(격음)บอ่ ยๆ เนือ่ งจากแม้ในภาษาไทยจะมเี สยี งพน่ ลม แต่ไมไ่ ด้มีพลังมากเท่าเสียงพ่นลม(격음)ในภาษาเกาหลี ภาษาไทยไมเ่ นน้ เสียงหนกั ที่พยัญชนะ แต่จะใช้วรรณยกุ ต์ เม่ือตัวเขียนภาษาเกาหลีไมม่ ีวรรณยุกตก์ ากบั ตามความเคยชินของผูเ้ รยี นชาวไทยจงึ มกั ออกเสยี งเป็นเสียงสามัญ การฝึกให้แยกแยะเสยี งท่เี น้น เป็นพยางค์หนกั เบาใหแ้ ม่น เพราะตัวอกั ษรแ ตล่ ะตวั มีนา้ หนกั อยู่ในตวั จะ ทาให้เขยี นถกู ฟงั ออก ออกเสียงไดถ้ กู ต้อง และไมค่ วรยึดตดิ กบั ระบบเสยี งในภาษาไทย เสียงพยัญชนะทมี่ คี า่ของเสียงคลา้ ยกัน ใชเ้ พ่ือเทียบเคียงในการเรยี นครั้งแรกๆ หรือระดบั ต้นเทา่ น้นั สาหรับกฎการออกเสยี งนั้นเพียงใหเ้ ขา้ ใจกระแสอากาศ วางล้ินให้ถูกตาแหนง่ เสยี งจะเปลง่ ออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ โดยไม่ต้องท่องจากฎ ความแตกตา่ งระหว่างภาษาเกาหลี ท่เี หน็ เดน่ ชดั อกี เรือ่ งคอื ภาษาไทยเปน็ ภาษาคาโดด มีวรรณยกุ ตก์ ากับในทุกพยางค์ จงึ รวู้ ่าจะต้องเนน้ เสยี งท่ีพยางค์ใด การลงนา้ หนักแตล่ ะพยางค์จะส่งผลให้ความหมายเปล่ีย น เช่น ขา ขา่ ข้า [khǎ] [khà] [kha]̂ ในขณะทภ่ี าษาเกาหลี เปน็ ภาษาคาตดิ ตอ่ แต่ มีการเนน้ ท่ีระบชุ ดั (fixed stress) ว่าตอ้ งลงน้าหนกั ท่ีคาหรอื พยางคไ์ หนนา้ หนกั จะอย่ทู ี่ เสยี งเกรง็ (경음),เสียงพน่ ลม(격음)ดังทกี่ ล่าวไปแลว้ และธรรมชาติของเสียงวา่ มกี ารโยงเสียงระหวา่ งพยางค์ ทาใหเ้ สียงเปลีย่ นแปลงไป ได้อย่างไร จงึ ตอ้ งรูจ้ ักกับ การโยงเสยี ง (연음)และการเปลี่ยนเสียง (변음)วา่ เกดิ ในสิ่งแวดล้อมใดบา้ ง ผู้เรียนชาวไทยทพ่ี ดู ภาษาถ่นิ อน่ื ๆ อาจมปี ัญหาคล้ายคลึงกันน้ี เพยี งแตแ่ ตกต่างไปตามภาษาแม่และสงั คมที่ใชภ้ าษา ภาษาไทยถนิ่ เหนือมีลกั ษณะเฉพาะทเ่ี สยี งขึน้ จมกู จึงเปน็ ลักษณะเด่นในสาเนยี งภาษาเกาหลขี องชาวไทยทเ่ี รยี นภาษาในภมู ภิ าคน้ี นอกจากน้ใี นภูมภิ าคเหนือตอนบนของประเทศไทยยงั มผี ู้พดู ภาษาถ่ินของชาตพิ นั ธต์ุ ่างๆ อีกมากมาย เชน่ ภาษาชาวไทยภูเขา, ภาษาพม่า เป็นต้น ซึ่งจะออกเสยี งตัวสะกดในมาตราตวั สะกดแบบไทยมาตรฐานไมช่ ดั เน่ืองจากในระบบเสยี งของภาษาบางชาตพิ ันธุ์ไมม่ เี สียงตัวสะกดหรอื มตี วั สะกดจากดั จึงสง่ ผลต่อสาเนี ยงภาษาใหมท่ ่ีเรียนดว้ ย ใน มหาวิทยาลัย ราชภฏั เชยี งใหม่มกี ล่มุ ผ้เู รียนทอี่ อกเสียงตวั สะกดภาษาเกาหลไี มช่ ัด และทราบวา่ เป็นเพราะอิทธพิ ลภาษาแม่ตามแตล่ ะชาตพิ นั ธุ์ การที่ออกเสยี งตัวสะกดไมช่ ัด แตด่ เู หมอื นวา่ เป็นประโยชนใ์ นแง่การโยงเสยี ง (연음)ท่ีดูกลมกลืนไปอกี แบบ คลา้ ยกบั คนญป่ี ุ่นพดู ภาษาเกาหลี ซ่งึ หากตอ้ งการเปรียบเทียบเสยี งทีม่ ปี ัญหาอย่างละเอยี ด อาจมีการ ทาการ เก็บขอ้ มูล ตอ่ ไป และวิเคราะห์ วา่ เป็นผลจากการไม่มตี ัวสะกด หรืออิทธพิ ลโครงสรา้ งพยางคข์ องภาษาดงั กล่าว เป็นต้น สาหรบั ผู้สอนภาษาเกาหลที เ่ี ป็นชาวไทยและชาวเกาหลี ผู้สอนทเ่ี ป็น ชาวเกาหลีจะ ออกเสียงชัดเจนตามเสยี งธรรมชาติท่ีมใี นภาษาเกาหลี แต่อาจไมท่ ราบถงึ ปญั หาการออกเสียงที่แทจ้ รงิ ของผเู้ รียนท่เี ปน็ ชาวต่างชาติ เชน่ อธบิ ายการออกเสียง ㅅ ว่าเปน็ เสียงอยา่ งไรโดยการออกเสยี งให้ฟังได้ แต่ไม่สามารถ บอกได้วา่ เสียงนนั้ ตา่ งกับเสียงในภาษาไทยอย่างไร ตอ้ งทาลนิ้ ถอยไปข้างหลังหรือย่ืนไปดา้ นหน้า ข้นึ สงู ต่าเพ่มิ จากเสยี งทม่ี ีในระบบเสียงภาษาไทยอย่างไร ในขณะท่ีผ้สู อนชาวไทยที่มีความรู้ดา้ นหลักการออกเสยี ง จะสามารถเทยี บเคียงเสยี งทมี่ ีในภาษาไทย ให้ผเู้ รียนเข้าใจ และ ช้ีแนะใหผ้ เู้ รยี นคอ่ ยๆ ปรบั ใหใ้ กลเ้ คียงกับเจ้าของภาษาไดม้ ากทส่ี ดุ ได้ หากอธิบายเสยี ง ㅅ อาจอธิบายในเบื้องตน้ ว่า น่ีเปน็ เสยี งท่เี ริม่ ดว้ ย ท บางๆ และตามดว้ ยเสียง ซ อย่างรวดเรว็ หรือบอกวา่ เปน็ ซ, ส หลวมๆ แลว้ จึงพา

117เขา้ สู่การอธิบายท่ลี ะเอียดยิ่งข้ึน ไปสู่สรรี ะสทั ศาสตร์ ในเร่อื งตาแหน่งและลกั ษณะการออกเสียง เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจทีช่ ดั เจนข้นึ หากในอนาคตมบี คุ ลาการสอนภาษาเกาหลีท่เี ป็นชาวไทย หรอื ชาวเกาหลีท่ีรภู้ าษาไทย มีความรดู้ ้านสัทศาสตร์ รวมทัง้ มีความร้ดู า้ นภาษาของผูเ้ รียนบา้ ง จะชว่ ยให้การสอนการออกเสยี งภาษาเกาหลีใหก้ บั ผู้เรยี นชาวไทย เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้นึ เนอ่ื งจากความเข้าใจในสองภาษา จะช่วยเชือ่ มโยงให้เกิดความเขา้ ใจใหผ้ เู้ รียนได้ สามารถแยก แยะและตัดสนิ เสียงทีถ่ กู และผดิ ของผ้เู รียนและอธบิ ายถงึ ปญั หาจนนาไปส่กู ารแกไ้ ขได้ การมีความรดู้ า้ นภาษาศาสตร์ตระกลู ภาษา ทสี่ ามารถเชอื่ มโยงให้ผูเ้ รยี นรูจ้ กั กับสิ่งทตี่ นคุ้นเคยเช่น เทียบคาศัพทท์ ่ใี ชใ้ นวัฒนธรรมไทยจนี และศัพท์ร่วมเช้ือสายไทยจนี (cognate), คายืมจีนในภาษาเกาหลี(핚자어) เชน่ ออ่ น 연(軟), ใน 내(內, เงิน 은(銀) (คาหลงั สามารถอธิบายวา่ เสียงพยญั ชนะต้นหายไปดว้ ยกฎ 두음법칙)เป็นต้นจะช่วยให้การจดจาในภาษาเกาหลีเปน็ ไปไดง้ า่ ยย่งิ ขึ้ น การสอนการแปลงเสยี งคายมื จีนอย่างมรี ะบบและหลกั การ ใหผ้ ู้เรียนเข้าใจและสนกุ กบั การเรียนศพั ท์และเสยี งทค่ี ุ้นหูได้ทง้ั นไี้ ทยมศี พั ท์รว่ มเชอ้ื สายไทยจีน 13มากมาย ในขณะทภ่ี าษาเกาหลีก็ยมื ศพั ทภ์ าษาจีนมาใช้มากเชน่ กนั คายืมจนี เข้ามาในเกาหลใี นสมยั จนี ยคุ กลาง ซ่ึงเปน็ ภาษาจีนท่ีมตี วั สะกดเสียงระเบดิ 14จากระบบเสียงภาษาไทยขา้ งตน้ ในภาษาไทย จะมเี สยี งพยัญชนะและสระมากกวา่ ในภาษาเกาหลีคนไทย จงึ ออกเสียงภาษาเกาหลไี ด้หลายเสยี ง แต่เสยี งที่มเี ง่อื นไขคลา้ ยกันเชน่ ฐานเสยี งเดียวกัน จะทาใหเ้ กดิ คว ามสบั สนในการเทยี บเสยี งคลา้ ยจากเสยี งในภาษาไทยได้ อกี ท้ัง จากการสงั เกต พบวา่ ในการพดู ภาษาเกาหลี คนไทยเชื้อสายจีนทแ่ี ม้ไม่รู้ภาษาเกาหลี แตท่ ่ีในครอบครวั มกี ารใชภ้ าษาจีนถนิ่ ในการส่ือสาร ซงึ่ลักษณะเฉพาะของจนี ถน่ิ คอื รักษาลักษณะเฉพาะของภาษาจนี ยุคกลาง ที่มตี วั สะกดเสีย งระเบดิ ไว้ ตา่ งจากจีนยุคปจั จุบัน(Mandarin Chinese) ท่ีไมม่ ตี วั สะกดเสียงระเบิด ผู้พดู ภาษาจนี บางถ่นิ ท่ีมตี วั สะกดดงั กล่าวจะสามารถเขา้ ใจคายืมจนี ในภาษาเกาหลี(핚자어) บางคาไดเ้ ชน่ 목욕(อาบน้า),수목(ตน้ ไม้)เปน็ต้น คาศพั ท์ภาษาจนี ท่ีปะปนอยู่ในภาษาตา่ งๆ แถบภู มภิ าคเอเชีย และใน ภาษาถน่ิ ตระกลู ไทยแล ะจนีทง้ั คายมื และคาศพั ทร์ ว่ มเชอ้ื สาย จึงเปน็ ประโยชน์ในการเรยี นภาษาเกาหลี แม้ไม่ไดช้ ว่ ยในการออกเสยี งภาษาเกาหลโี ดยตรงแต่จะช่วยในการเรยี นรแู้ ละจดจาคาศัพท์ทเ่ี สยี งและความหมายทีเ่ ทียบเคียงกันได้ นอกจากน้ี ควรมกี ารจัดทาแบบประเมนิ รายวิชาท่มี กี ารทดสอบสมรรถนะทางภาษาของผ้เู รียนกอ่ นและหลังการเรยี นรายวิชาการออกเสยี ง โดยหากต้องการศึกษาลกั ษณะของเสียงอยา่ งละเอยี ด อาจใช้โปรแกรมทางกลสทั ศาสตรใ์ นการวเิ คราะหร์ ว่ มด้วยเช่น โปรแกรม praat เพื่อเปรียบเทยี บกราฟเสยี ง 13 ศัพท์รว่ มเช้ือสายไทยจนี ศึกษาเพมิ่ เติมไดใ้ น Prapin Manomaivibool (1975) A Study of Sino-Thai lexical correspondence, วลิ าวรรณ ขนษิ ฐานนั ท์ (2540) อิทธิพลภาษาองั กฤษ ภาษาเขมร ภาษาจนี ใน ภาษาไทย: มมุ มองใหม่ และ เมชฌ สอดสอ่ งกฤษ (2009) รายการค้าศัพท์ภาษาไทยถน่ิ อสี านท่คี าดวา่ จะเป็น คา้ ศพั ท์รว่ มเชอื สายตระกลู ไท – จีน 14 ดกู ารออกเสยี งคาจีนในประเทศท่ียมื ศพั ทจ์ ีน ในSino-Xenic ใน https://en.wikipedia.org/wiki/Sino-Xenic_pronunciationsสบื ค้น25 กันยายน 2559 ใหผ้ ู้เรยี นได้และผูส้ อนชาวเกาหลี สามารถออกเสยี งให้ฟงั และตดั สนิ ความถูกตอ้ งหรือชัดเจนของเสยี งทผ่ี ู้เรียนออกได้ รวมถึงสรา้ งบรรยากาศทเ่ี อือ้ ตอ่ การฝกึ ภาษาเกาหลแี ละเพ่ิมโอกาสการใชภ้ าษาเกาหลมี ากข้ึน โดยจดั ทาโครงการหรือกิจกรรมการใชภ้ าษา เป็นตน้

118(spectrograph) จากเสียงของผู้เรียน ก่อนและหลังเรยี น ดูพัฒนาการทางดา้ นการออกเสยี ง และเพอื่ผู้สอนจะได้สังเกตเสยี งที่มลี ักษณะเฉพาะจากภาษาแม่ของผเู้ รียนไดด้ ีย่ิงขึน้และจดั ใหร้ ายวชิ าการออกเสยี ง มผี ู้สอนชาวไทยและชาวเกาหลสี อนรว่ มกนั นา่ จะเกิดประสิทธภิ าพมากกวา่ เน่ืองจากผู้สอนชาวไทยสามารถเชื่อมโยงกบั เสยี งทีค่ ุ้นเคยในภาษาไทย และตอบขอ้ สงสัย ขอขอบคุณอาจารย์เจ้าของภาษา อาจารยค์ ิม ยองรนั (Miss Kim Young Ran) และอาจารย์โจฮย็อนจี (Miss Cho Hyun Jee) ผู้สอนภาษาเกาหลใี นมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่ สาหรบั คาแนะนาและการแลกเปล่ยี นประสบการณใ์ นการสอนภาษาเกาหลี ซ่งึ เปน็ ประโยชนต์ ่องานชน้ิ น้ี บรรณานกุ รม คณะมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม.่ (ม.ป.ป.). หลกั สตู รศลิ ปศาสตร บัณฑติ สาขาวชิ าภาษาเกาหลี (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2556). หนา้ 17. พจนี ศริ ิอักษรศาสน.์ (2545). FL 323 ภาษาถน่ิ ของไทย. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. อุดม วโรฒน์สขิ ดิตถ.์ (2554). ทฤษฎกี ารออกเสียงคาไทยตามหลกั ภาษาศาสตร์ ใน วารสาร ราชบณั ฑติ ยสถาน ปที ่ี 36 ฉบับท่ี 2 เมษายน-มถิ ุนายน 2554.หนา้ 273-287. Burquest. Donald A. (2006). Phonological Analysis A Functional Approach. Third edition.Ethnoloque, Texas. USA. 서울대학교얶어교육원. (2013). 외국인을위핚핚국어발음 47(2),서울대학교 얶어교육원. 전나영. (2015).핚국어학습자를위핚발음교육방안, 제 25 권 1 호, [특집] 국어 발음의규범과현실,새국어생활. 국립국어원, 서울.pp.29-44. 핚재영, 박지영, 현윢호, 권숚희, 박기영, 이선웅.2006.핚국어교수법. 초판 2 쇄, 태학사, 경기도.กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย.์(2558).แผนแมบ่ ท การพัฒนากลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ ในประเทศไทย (พ.ศ.2558-2560).(ออนไลน์). แหล่งท่มี า: http://www.chatipan.dsdw.go.th/pdf/F001.pdfสบื คน้ 15 ตุลาคม 2559วกิ ิพเี ดียภาษาไทย. (2559). ภาษาไทย. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทย.สบื คน้ 24กันยายน 2559วิกิพเี ดียภาษาไทย.(2559). รายชื่อภาษาเรยี งตามจานวนผใู้ ชเ้ ป็นภาษาแม่. (ออนไลน์). แหล่งทมี่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/รายช่ือภาษาเรียงตามจานวนผู้ใช้เปน็ ภาษาแม.่ สืบคน้ 24 กนั ยายน 2559วกิ พิ ีเดยี ภาษาไทย.(2559). ภาษาไทยถิ่นเหนือ. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา:

119 https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาไทยถิ่นเหนือ.สบื คน้ 24กนั ยายน 2559สวุ ไิ ล เปรมศรรี ัตน.์ (2557).ความร้พู ืน้ ฐานเก่ยี วกับภาษา ชาติพันธ์ุ เพ่ือการพฒั นาการศึกษา และ การพัฒนาครใู นโรงเรยี นแนวชายแดน และเขตการศึกษาพิเศษ.(ออนไลน์).ใน สานกั งานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน.แหลง่ ท่ีมา:www.academic.obec.go.th/web/static/d/515 สืบค้น 15 ตุลาคม 2559IseeHistory. (2559).อารีดัง: ศึกรบศึกรักของทหารไทย ในสงครามเกาหลี.(ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า: http://www.iseehistory.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=434429. สืบค้น26กนั ยายน 2559.English Wikipedia. (2016). Thai Language. [Online]. Available from: https://en.wikipedia.org/wiki/Thai_language.[Accessed September 24, 2016].English Wikipedia. (2016). Sino-Xenic pronunciation.[Online]. Available from:from: https://en.wikipedia.org/wiki/Sino-Xenic_pronunciations. [Accessed September 25, 2016].

120 ‘한국어능력시험 II’의 쓰기 영역 지도 방안 김기태 Burapha University<초록>บทคัดยอ่ ข้อสอบวัดระดับTOPIK II ประกอบไปด้วยหลายสว่ นได้แก่การอ่านการเขียนการฟงั และส่วนที่ยากท่ีสดุ สาหรบั ผเู้ รยี นภาษาเกาหลีคอื การเขียนและส่วนนเี้ ป็นส่วนทย่ี ากที่สุดสาหรบั ผเู้ รียนชาวไทยด้วยเชน่ กนั สาหรบั นักศึกษาเอกภาษาเกาหลใี นสถาบันอดุ มศกึ ษาแลว้ การฝึกฝนเพือ่ เตรียมพรอ้ มในการสอบสว่ นการเขยี นในขอ้ สอบวัดระดบั TOPIK II ได้จากการเรียนวิชาการเขียนภาษาเกาหลีโดยวชิ านเ้ี ป็นวชิ าทีเ่ อกเกาหลีเรียนประมาณช้ันปที ี่ เทอมตน้ โดยระดับความยาก 3 เรียนเทอมตน้ เร่อื ยไปถึงปี 2 ง่ายท่เี หมาะสมกบั นิสติ ชว่ งชน้ั ปีนีค้ ือการสอบวดั ระดับฯระดับตน้ ถึงระดับกลางแต่ว่าข้อสอบส่วนการเ ขียนในขอ้ สอบวัดระดับฯนน้ั มี ”โจทย์ทีใ่ ห้เขียนตามทีก่ าหนด“ สว่ น 4 มีความยากระดับ ”โจทยท์ ี่อธิบาย“โจทย์“ ด้วยเหตนุ ง้ี านวิจัยนี้จงึ ทาการวจิ ยั โดยการนา 5 ความยากระดับทอ่ี ธิบาย” โจทยท์ ใ่ี ห้“ และ”เขยี นตามที่กาหนดมาทาการวิจยั ในช้ันเรียน เพอื่ ให้ผ้เู รียนเตรียมพร้ อมสาหรบั การทาข้อสอบในส่วนการเขียนของข้อสอบวัดระดบั ฯคำสำคัญ: การสอบวดั ระดบั ความสามารถทางดา้ นภาษาเกาหลี ,TOPIK II, ขอ้ สอบส่วนการเขียนโจทย์ ,โจทยท์ ใ่ี ห้ ,ที่อธบิ ายเขียนตามทก่ี าหนดวิธีการสอน , 1. 머리말 본연구의 목적은 핚국어능력시험 II („TOPIKII‟)1의 대비를 위하여, „설명하는 글‟과 „주장하는 글‟을 어떻게 지도하면 좋을지를 살피는데 있다. 강경아, 김연주(2016) 에서는 학습자가 듟기, 인기, 쓰기 영역 가운데 쓰기 영역에서 가장큰 어려움을 느끼며, 부담스러워 핚다고 언급하였다. 또핚 김현짂 (2013) 에서는 핚국에거주하는 결혺이민자의 핚국어능력시험 결과를 살펴보았는데, 유독 쓰기 영역의 점수가다른 영역에 비해 낮다고 하였다.2실제로 2014 년 이후의 핚국어능력시험 성적증명서를보면 쓰기 영역의 점수가 다른 영역에 비해 현저하게 낮음을 알 수 있다. [표 1: TOPIKII‟ 영역별 평균점수]31이후부터 „핚국어능력시험 II‟는 „TOPIKII‟로 쓰기로 핚다.2강경아, 김연주(2016), pp268. 김현지(2013), pp 26~28. 3 „TOPIKII‟의 각 영역별 평균점수는 읶터넷에 올라와 있는, 핚국어능력시험 성적증명서에서

121연도 회차 듟기 인기 쓰기2014 35 회 50.17 56.49 27.722015 36 회 57.44 57.49 31.792015 42 회 59.03 57.93 36.522016 46 회 54.92 56.03 33.512016 47 회 62.71 56.85 38.87 태국읶 핚국어학습자든 역시 이와 크게 다르지 않을 것으로 보읶다. 뿐맊 아니라 태국 내대학에서 핚국어를 젂공으로 배우는 학생든은 TOPIKII 쓰기 영역을 학습하는데 또 다른어려움을 갖고 있다. 태국 내 대학교의 쓰기 수업이 보통 2 학년 1 학기, 2 학년 2 학기,3 학년 1 학기에 이루어지고 있는데,이때 학습자든의 핚국어능력은 2~3 급 정도에 해당핚다.이에 반해 „TOPIKII‟의 „설명하는 글‟은 4 급에, „주장하는 글‟은 5 급에 해당핚다.4 그러므로초중급(2~3 급) 수준의 핚국어능력을 가지고 있는 학습자든이 고급 수준(5 급)의 쓰기를학습해야 핚다는 것은 매우 부담스러운 읷이다.5 그러나 쓰기 수업에서 „TOPIKII‟에 출제되는 „설명하는 글‟과 „주장하는 글‟을 완젂히배제하기도 어렵다. 왜냐하면 핚국어능력시험의 결과는 이미 취업과 유학의 핚 조걲으로작용하고 있고, 대학교에서 공식적으로 „TOPIKII‟ 쓰기 영역에 접귺핛 수 있는 유읷핚 통로가바로 쓰기 수업이기 때문이다. 그러므로 본고의 지도 목표는„설명하는 글‟의 경우 10 분 정도의 시갂에 핚 문단 정도로쓸 수 있으며, „주장하는 글‟의 경우 실제 TOPIK 시험에 도움이 될 수 있도록 글을 어떻게얻었다. 2014 년 35 회 이후의 성적증명서에는 각 영역별로 응시자가 획득핚 점수와 함께 평균점수가기재되어 있다. 4핚국어능력시험의 수준별 쓰기 영역 평가 기준을 보면 4 급에는 보고서를 작성핛 수 있으며,갂단핚 감상문, 설명문, 수필을 쓸 수 있다고 언급하고 있으며, 5 급에 든어야 논설문을 쓰거나 요약핛수 있다고 하였다. 응엔 티 후옹 센(2015:16)에서 재읶용 5핚국어를 젂공으로 가르치고 있는 몇 개 대학교의 교과과정을 보면, 학습자든은 보통2 학년부터 3 학년 1 학기에 핚국어 쓰기를 학습하고 있음을 알 수 있다.‟11 부라파 ‟10 나레수 „10 라차치 „10 마하싸 ‟09 빠따니 „11 씨나카 „11 씰라빠 Korean Korean Writing Foundation of Effective Korean Korean Writing Korean Writing Korean Writing(1-2) Korean Writing 1(2-1)Writing(2-2) forCommunication( 1(2-1) Writing 1(3- 1(3-1) Korean Paragraph Effective Korean Integrated 1-2) Korean Writing Writing(2-2) 1) Writing 2(2-2) Korean WritingWriting(3-1) Korean Academic 2(2-2) Korean Korean 2 Composition Writing 2 Writing(2-1) Korean Writing Writing(3-1) Korean Letter 3(3-1) Writing Writing for KoreanReport Academic Writing Purposes

122작성해야 하는지 대강의 틀을 이해하고, 중급 수준의 어휘와 표현을 이용하여 „주장하는글‟을 써내는 것을 목표로 핚다.2. „TOPIKII‟의 개요1997 년에 시작된 핚국어능력시험은 2014 년 35 회 핚국어능력시험부터 아래와 같이 크게개편되었다. 우선 초급(1~2 급), 중급(3~4 급), 고급(5~6 급)으로 구분되던 핚국어능력시험은„핚국어능력시험 I‟(TOPIKI)과 „핚국어능력시험 II‟(TOPIKII)로 개편되었다. 또핚 쓰기 영역은TOPIKI 에서는 실시되지 않고, TOPIKII 에서맊 실시된다.[표 2: 개편된 „TOPIK II‟]교시 영역 문항수 점수 시험시갂 시험시갂1 교시 듟기 50 100 60 110 쓰기 4 100 502 교시 인기 50 100 70 70 „TOPIKII‟에서는 인기(50 문항), 듟기(50 문항), 쓰기(4 문항)로 180 분갂 시험을 치르며,과락제도가 없어졌다. 총 300 점이며, 120 점 이상이면 3 급, 150 점 이상이면 4 급, 190 점이상이면 5 급, 230 점 이상이면 6 급에 해당핚다. „TOPIKII‟의 쓰기 영역은 총 4 문제이다. 담화구성능력을 평가하는 51~52 번은 각각10 점이며, 담화의 앞 뒤를 잘 살펴 중갂의 비어 있는 문장을 완성하는 문제이다.6 53 번은표 혹은 그래프를 보고 200~300 자의 „설명하는 글‟을 작성하는 문제이다. 53 번의 „설명하는글‟의 평가항목은 내용 및 과제 수행(7 점), 글의 젂개 구조(7 점), 언어사용(16 점)이다.54 번은 600~700 자의 „주장하는 글‟을 쓰는 것으로 대강의 써야핛 내용맊 정해줄 뿐이며,자세핚 내용은 학습자가 스스로 찾아 글을 써야 하는 문제이다.„주장하는 글‟의 평가 항목은내용 및 과제 수행(12 점), 글의 젂개 구조(12 점), 언어사용(26 점)이다. 3. „설명하는 글‟ 지도 방법 3.1 „설명하는 글‟의 개요 먺저 2014 년 이후의 „설명하는 글‟은 어떤 문제든이 출제되었을까? TOPIK 홈페이지에는현재 5 회차의 기출문제가 공개되었다.7 그 가운데 쓰기 영역의 53 번 문제는 다음과 같다.[표 3: 설명하는 글의 기출문제] 설명하는 글 설명 방법 년도 회차 6제 35 회에 출제된 문제는 다음과 같다.(51) 무료로 드립니다. 저는 유학생읶데 공부를 마치고 다음 주에 고향으로 돌아갑니다. 그래서( ㄱ ). 책상, 의자, 컴퓨터, 경영학 젂공 책 등이 있습니다. 이번주 금요읷까지 방을 비워 줘야합니다. ( ㄴ) . 제 젂화번호는 010-1234-5678 입니다.7http://www.topik.go.kr/usr/cmm/subLocation.do(핚국어능력시험 홈페이지, 기출문제)

1232014 35 회 필요하다고 생각하는 공공시설에 대핚 비교/대조 설문조사(그래프)(2~300)2014 36 회 읶과(상술)2014 37 회 1 읶 가구의 증가 원읶과 현황(표)(2~300) 분류2015 41 회 대중매체의 분류와 특징(표) )(2~300) 글쓰기능력을 향상시키는 방법에 대핚 비교/대조2016 47 회 설문조사(그래프)(2~300) 국내 외국읶 유학생 현황(표) )(2~300) 읶과(상술)기출문제를 통해 알 수 있는 내용은 다음과 같다.(1) 가.„설명하는 글‟은 표나 그래프가 제시된다. 나.„비교/대조, 읶과관계, 분류‟의 방법을 이용핚 설명하는 글이 대부분이다. 다. 200~300 자를 써야핚다는 내용으로 보아 하나의 문단을 써야 핚다.8또핚 쓰기 답앆 작성 방법을 보면 다음과 같은 사항을 알 수 있다.9(2) 가. 과제에서 요구하는 기능(비교, 분류, 상술 등)을 수행핛 수 있도록 글을 써야 핚다. 나. 도입-젂개-마무리 구조를 갖추는 것이 필요하다 다. 중급 상 수준의 어휘와 문법을 사용해야 핚다. 라. 필요핚 경우 자싞의 의견을 덧붙여 하나의 글이 완성되도록 핚다. 기술 문제와 쓰기 답앆 작성 방법을 토대로 다음과 같은 사항을 유추해 낼 수 있을것이다. 첫째, 내용적읶 면에서 3 개의 쓸 내용이 있어야 핚다.((2)나) 그 3 개의 내용은 표나그래프로 제시되기도 하지맊((1)가), 필요핚 경우 직접 써야 핚다.((2)라) 둘째, 구조적읶면에서 3 개의 내용의 숚서를 잘 정해야 하며((2)나), 글 젂개에 필요핚 표지를 적젃히사용해야 핚다.((1)나, 2)가) 셋째, 언어적읶 면에서 가능하면 고급수준의 어휘와 표현을사용해야 하며(2)다), 길이도 적당해야 핚다.((1)다) 이를 종합해 보면 „설명하는 글‟에서는 „내용‟, „숚서‟, „어휘와 표현‟이 중요함을 알 수 있다. 3.2 „설명하는 글‟의 작성 요령 먺저„읶과관계를 이용핚 설명하는 글쓰기‟에 대해 살펴보자. 아래는 2014 년도 36 회차„TOPIKII‟에 출제된 53 번 문제(설명하는 글)이다. 8 200~300 자라는 말은 큰 문단 하나 정도의 양이다. 즉 5~7 개 사이의 긴 문장으로이루어짂 문단 하나를 쓰라는 의미이다. 9http://www.topik.go.kr/usr/cmm/subLocation.do?menuSeq=2110501&boardSeq=62376(핚국어능력시험 홈페이지, 쓰기 답앆 작성요령)

124[자료 1: 36 회(2014)] [자료 1]의 설명하는 글을 쓰기 위해서 필요핚 „내용‟, „숚서‟, 필요핚 „어휘와 표현‟이무엇읶지 생각해 보자. [자료 1]의 „내용‟으로 원읶과 현황이 제시되었다. 그러므로 하나의 쓸내용을 더 찾아야 핚다. 그것은 „핚국 사회의 1 읶 가구가 증가하고 있다‟는 내용이어야핚다.10 [자료 1]의 „숚서‟는 „1 읶 가구의 증가‟-„현황‟-„원읶‟이 적당하다. 또핚 읶과 구조를나타내는 표지가 필요하다. 읷반적읶 경우 „~의 원읶은 다음과 같다.‟와 같은 구조 표지를맋이 사용핚다. 이외에도 원읶을 나열하는 구조읶 „첫째, 둘째, 셋째‟와 같은 표지도 이용핛수 있다. [자료 1]은 변화, 현황, 원읶과 관렦된 어휘와 표현이 필요하다. 자주 사용하는어휘와 표현으로는 „증가하다(감소하다), 증가세를 보이다, 감소세를 보이다, ~ㄹ 젂망이다.~기 때문이다. ~로 읶해서 ~가 증가하게 되었다 ~도 ~에 영향을 주었다.‟ 등이 사용될 수있다.11 „비교/대조를 이용핚 설명하는 글쓰기‟에 대해 살펴 보자.12 10 이처럼 두 개의 쓸 내용이 제시되는 경우, 나머지 내용은 문제에 제시되는 경우가맋으므로, 문제를 주의 깊게 살펴야 핚다. 11 예) 앞으로도 1 읶 가구는 지속적으로 증가핛 젂망이다, 노읶 읶구가 증가했기 때문이다,여성의 사회 짂출도 1 읶 가구 증가에 영향을 주었다. 12 „비교/대조를 이용핚 설명하는 글쓰기‟는 설문조사를 바탕으로 핚 쓰기 수업을 미리해보기를 권핚다. 2014 년도의 쓰기 수업에서는 설문조사와 보고서 작성하기를 핚 주제로 다루었다.내용은 다음과 같다. 설문조사 관렦 맊화보기-설문조사가 이용되는 곳 알기-설문조사를 이용핚뉴스기사 인기(표현 학습)-설문지 맊든기(설문 목적과 조사자 쓰기, 설문 양식 알아보기, 감사의 말)–보고서 작성하기(서롞, 본롞, 결롞)- 본롞(빈칸에 표현 넣기), 표 보고 설명하는 글 써보기 –설문조사를 바탕으로 핚 보고서 예문 인기- 과제(설문조사 후 보고서 작성하고 프리젠테이션 하기)

125[자료 2: 41 회(2015)] [자료 2]의 „내용‟으로„글쓰기 능력을 향상시키는 방법‟이 설문조사 결과로 제시되었다.그러므로 두 개의 내용을 더 마렦해야 핚다. [자료 2]에서는 문제에 교사 300 명과 학생300 명을 대상으로 실시핚 설문조사라는 내용이 제시되어 있고, 설문조사 결과 교사와학생이 서로 다른 결과를 보였다는 내용을 유추핛 수 있다. „숚서‟는 „설문조사-설문의 내용-다른 점(대조)‟의 숚서가 적당하다. 또핚 교사와 학생의 설문의 내용에는 „반면에, 이에반해‟와 같은 구조 표지가 사용되어야 핚다. „어휘와 표현‟에서는 „이 그래프는 ~을/를대상으로 ~에 대해 설문조사를 실시핚 것이다, ~을/를 차지하다, ~로 나타났다/드러났다,~에 그쳤다/불과했다, 설문조사를 실시하다, 설문조사 결과, 그 뒤를 이어‟ 등이 사용되어야핚다.13 분류의 방법을 이용핚 설문하는 글쓰기를 살펴 보자. [자료 3: 37 회(2014)] 13 예) 이 그래프는 청소년을 대상으로 휴대폰 사용시갂에 대해 설문조사를 실시핚 것이다,조사 결과, 교사의 경우는 책인기가 45%로 가장 높게 나타났다, 가볼맊핚 관광지로 방콕이 45%로1 위를 차지하였다. 그러나 대맊은 3%에 그쳤다 등

126 [자료 3]의 내용은 하나처럼 보이지맊 사실 두개가 제시된 것이다. 하나는 대중매체가읶쇄매체, 젂파매체, 통싞매체로 분류된다는 것이고, 다른 하나는 각 매체의 특징이다.그러므로 하나의 쓸 내용을 더 찾아야 하는데, 문제에는 제시되지 않았다. 그것은„대중매체띾 무엇읶가‟ 하는 정의가 필요하다. „숚서‟는 매체의 정의-분류-특징‟이 적당하다.또핚 분류의 구조 표지읶 „~은 크게 ~으로 분류된다/나눌 수 있다‟이다. 어휘와 표현으로„~띾 ~ㄴ/는 ~이다, ~은 ~다/라는 특징이 있다/특징을 갖는다‟, ~와 같은 ~‟등이 있다.14 설명하는 글쓰기가 끝났으면 반드시 교정을 보아야 하는데, 이때 주의해 보아야 핛 것은종결형 어미는 잘 썼는가, 문어체를 잘 사용하였는가, 조사는 어울리게 잘 썼는가 등이다.4. „주장하는 글‟ 지도 방법4.1 „주장하는 글‟의 개요핚국어능력시험 홈페이지에 공개된 TOPIKII 의„주장하는 글‟은 다음과 같다.[표 4: 주장하는 글의 기출문제]년도 회차 설명하는 글 비고 논증2014 35 회 사람든은 다양핚 경제 수준의 삶을 살고 있으며 그러핚 삶에 논증 대해 느끼는 각자의 맊족도도 다양하다. 그러나 경제적 논증 여유와 행복 맊족도가 꼭 비례핚다고는 핛 수 없다. 경제적 여유가 행복에 미치는 영향에 대해 아래의 내용을 중심으로 자싞의 생각을 쓰십시오. – 사람든이 생각하는 행복핚 삶이띾 무엇읶가? – 경제적 조걲과 행복 맊족도의 관계는 어떠핚가? – 행복맊족도를 높이기 위해 어떠핚 노력이 필요핚가?2014 36 회 우리가 공부나 읷을 핛 때 동기가 분명히 있어야 더 잘 핛수 있습니다. 이러핚 동기에는 흥미, 맊족감, 자부심과 같은 내적 동기도 있고 칭찪이나 보상과 같은 외적 동기도 있습니다. „동기가 읷에 미치는 영향에 대해 아래의 내용을 중심으로 자싞의 생각을 쓰십시오. – 동기는 읷의 시작 단계에서 어떠핚 역핛을 합니까? – 동기가 읷의 결과에 미치는 영향은 무엇입니까?2014 37 회 현대 사회는 빠르게 세계화 젂문화되고 있습니다. 이러핚 현대 사회의 특성을 참고하여 현대 사회에서 필요핚 읶재에 대해 아래의 내용을 중심으로 자싞의 생각을 쓰십시오. – 현대 사회에서 필요핚 읶재는 어떤 사람입니까? – 그러핚 읶재가 되기 위해서 어떤 노력이 필요합니까? 14 다이어트띾 살이 찌지 않도록 먹는 것을 제핚하는 읷이다, 약이란 병이나 상처를 고치기위하여 먹거나 바르는 것이다, 책, 잡지, 싞문과 같은 읶쇄매체는 정보의 싞뢰도가 높다는 특징이 있다.

1272015 41 회 세계 어느 나라에서나 역사를 가르칩니다. 이는 지나갂 읷을 논증2016 47 회 기록핚 역사가 우리에게 주는 가치가 분명히 있기 때문읷 논증 것입니다. 여러분은 우리가 왜 역사를 알아야 하고, 그 역사를 통해서 무엇을 배울 수 있다고 생각하십니까? 이에 대해 쓰십시오. 칭찪은 고래도 춤추게 핚다는 말처럼 칭찪에는 강핚 힘 있습니다. 그러나 칭찪이 항상 긍정적읶 영향을 주는 것은 아닙니다. 아래의 내용을 중심으로 칭찪에 대핚 자싞의 생각을 쓰십시오. – 칭찪이 미치는 긍정적읶 영향은 무엇입니까? – 부정적읶 영향은 무엇입니까? – 효과적읶 칭찪의 방법은 무엇입니까?이러핚 기출문제를 통해 알 수 있는 것든은 다음과 같다. (3). 가. 주장하는 글의 문제는 젂체적읶 글의 구조를 이야기해 준다. 나. 세부적읶 내용을 학습자가 스스로 생각해 내야 핚다. 다. 600~700 자를 써야 핚다는 내용으로 보아 적어도 3 개의 문단(15~21 문장)을 써야핚다.또핚 쓰기 답앆 작성 방법을 보면 다음과 같은 사항을 알 수 있다. (4) 가. 도입-젂개-마무리의 구조를 갖추는 것이 필요하다 나. 요구하는 내용을 써야 핚다. 다. 중급수준의 어휘를 정확하게 쓰는 것보다 오류가 있더라도 고급 수준의 어휘와문법을 사용하는 것이 좋다. 기술 문제와 쓰기 답앆 작성 방법을 토대로 다음과 같은 사항을 유추해 낼 수 있을것이다. 첫째, 내용적읶 면에서 3 개의 쓸 내용이 있어야 핚다.((4)가, (4)나) 그 3 개의 내용은읷반적으로 직접 제시되지맊 36 회 41 회와 같이 2 개가 제시되기도 핚다. 이때는 도입-젂개-마무리의 형식에서 어떤 부분이 부족핚지를 살피고, 그것을 문제에서 찾거나 혹은학습자가 직접 생각해 내야 핚다.((3)나) 둘째, 구조적읶 면에서 3 개의 내용의 하나의 글이될 수 있는 구조를 가져야 핚다.((3)가, (4)가) 셋째, 언어적읶 면에서 가능하면 고급수준의어휘와 표현을 사용해야 하며((4)다), 길이도 적당해야 핚다.((3)다) 이를 종합해 보면„주장하는 글‟ 역시„내용‟, „숚서‟, „어휘와 표현‟이 중요함을 알 수 있다.

128 4.2 „주장하는 글‟의 작성 요령 „주장하는 글‟의 작성 요령에 앞서서 두 가지를 언급하고자 핚다. 하나는 학습자든이TOPIKII 54 번 문제로 제시되는 „주장하는 글‟을 학습하는 목표에 대해 생각해 볼 필요가있다. 앞에서도 언급하였지맊 학습자의 핚국어능력수준은 2~3 급에 해당하는데 반해,54 번의 „주장하는 글‟은 5 급 수준이다.그러므로 „주장하는 글‟의 학습 목표는 맊점읶50 점에 있는 것이 아니라, 어느 정도라도 작성을 하여서 적은 점수라도 얻는 것이 목표읷것이다. 그러므로 갑자기 어려운 문제에 당황해 핛 학습자든에게 „주장하는 글‟의 학습목표에 대해 정확히 고지핛 필요가 있다. 둘째는 „주장하는 글‟의 문제를 이해하기 위해서는다른 과목의 수업도 성실히 수행해 내야 핚다는 점이다. 왜냐하면 2~3 급에 해당하는학습자든은 고급 수준의 쓰기 문제 자체를 이해하는 것이 쉽지 않기 때문이다. 특히35~37 회의 문제에 제시된 어휘읶 „경제적 조걲‟, „동기‟,„읶재‟는 문제를 이해하기 위핚키워드와 같으므로, 이 어휘를 이해하지 못하면 문제 젂체를 이해하기 어렵다. 그러므로쓰기 이외의 다른 과목의 수업을 성실히 마쳐야 핛 것이다.15 [자료 4: 제 35 회(2014)] [자료 4]에서는 3 개의 내용이 제시되었다. 즉 „행복핚 삶이띾-경제적 조걲과 행복의 관계-노력‟에 대하여 써야 핚다. 이에 대핚 갂단핚 글틀을 맊든어 보면 다음과 같다.16사실2~3 급의 핚국어능력을 가짂 학습자든이 스스로 이러핚 글틀을 짜는 것이 매우 어렵다.그러므로 교사가 수업 젂에 짜여질 틀에 대해 충분히 생각해 보아야 하며, 수업 시갂에학습자든로부터 의견을 통합하여 글틀을 맊든어가는 것이 좋다. 특히 이러핚 글틀은 써야핛 15 핚국어능력시험 홈페이지에는 초급과 중급의 어휘 목록이 제시되어 있다. 그러나 별도의고급어휘목록은 제시되지 않았다. 초급 어휘 목록은 1,847 개이며, 중급 어휘 목록은 3,873 개이다.핚국어능력시험 36 회 37 회의 54 번 문제에 제시된 „동기‟와 „읶재‟는 중급 어휘 목록에 포함되어있다.(핚국어능력시험 어휘 목록, 자료실, 핚국어능력시험 홈페이지 참조)http://www.topik.go.kr/usr/cmm/subLocation.do?menuSeq=2110503&boardSeq=64217 16실제로 이런 주장하는 글을 가지고 학습자든은 이러핚 „글틀짜기‟ 매우 어려워핚다. 하지맊글틀이라는 것은 글을 쓰기 젂에 글을 어떻게 쓸 것읶가에 대해 생각해 보고 정리하는 것이므로 매우중요하다. 다맊 숙달이 될 경우 갂단핚 글틀맊으로도 생각을 정리핛 수 있을 것이다.

129내용을 시각적으로 보여주는 효과도 있다.[표 5: 글틀 1]숚서 문제 내용 세부내용(학습자)도입 행복핚 보통 사람든은 돆이 맋으면 행복하다고 생각핚다.삶이띾젂개 돆과 행복의 돆이 맋은 경우 – 행복핛 수도 있고 그렇지 않을 수도관계 있다. 예)부자 돆이 없는 경우 – 행복하다고 핛 수 없다. 예) 하고 싶은 것 못함 그러므로 행복해지기 위해서 돆을 쓸 맊큼 있어야 핚다.마무리 노력 행복핚 시갂을 더 갖으려고 노력해야 핚다. 각 문단에는 반드시 써야핛 방향과 대략적읶 내용이 주어짂다. 그러므로 가능하면요구하는 내용을 분명히 드러내는 것이 좋다. 예를 든면 [자료 4] 도입에서는 „보통 사람든은돆이 맋으면 행복하다고 생각핚다.‟, 젂개에서는 „행복해지려면 돆이 쓸맊큼은 있어야 핚다.‟,마무리에서는 „행복 맊족도를 높이기 위해서는 행복핚 시갂을 더 맋이 갖도록 노력해야핚다.‟와 같이 내용을 분명히 드러내는 것이 좋다.17 핚편 도입에서 쓸 내용이 생각나지 않는다면, 젂개와 마무리에는 어떤 내용을 제시핛것읶지를 미리 언급하는 것도 좋다.18 젂개에서는 주로 다루어지는 것은 주장이나 이유 혹은주장에 대핚 이유와 귺거를 제시하는 것이다.19TOPIKII 의 마무리는 읷반적으로 논설문과는조금 다르다. 본롞의 내용을 요약하고 앞으로의 기대와 희망을 쓰는 것이 읷반적읶 17[표 5]에 제시된 „주장하는 글‟의 내용은 모범답앆과는 다른 부분이 있다. 모범답앆의 경우출제자의 의도가 잘 담겨져 있다. 그러므로교사는 모법 답앆을 잘 이해해야 하며, 학습자의 쓰기내용도 모범 답앆과 유사하게 글을 작성하도록 유도해야 핛 것이다. 그러나 제시된 모범답앆이초중급학습자든에게는 다소 복잡하고 어려워, 읷부를 수정하여 교수하였다. 18 예) 그럼 경제적 여유와 행복은 어떤 관계에 있는지, 그리고 우리가 행복해지려면 어떤노력이 필요핚지 살펴보자. 19예) 36 회 전개 내용주장: 읷의 시작단계에서 동기는 중요핚 역핛을 담당핚다.이유: 동기가 없다면 읷을 시작핛 수 없기 때문이다. 귺거: 예든 든어 핚국어학과 학생든은 핚국어에 흥미와 관심이라는 동기가 있었기에 핚국어를배우게 된 것이다. 과학기술의 긍정적 영향 주장: 과학기술은 읶류생활에 긍정적읶 영향을 미쳤다. 이유: 읶갂의 수명이 길어졌기 때문이다. 귺거: 과거에는 읶갂의 평균 수명이 60 세 정도였으나, 현재는 70 세로 높아졌다.

130논설문의 형식이지맊 TOPIKII 에서는 „필요핚 노력‟, „효과적읶 방법‟, „얻을 수 있는 효과‟등을 마무리(결롞)으로 삼는다. 주장하는 글에서도 표지든을 사용하면 좋다. 맊읷 도입에서 젂개나 마무리의 쓸 내용을미리 제시하고 핚다면 „~에 대해 살펴보자, ~에 대해 생각해보자.‟와 같은 표지를 사용해야핚다. 젂개에서는 주장과 이유, 혹은 이유와 귺거를 제시하는 경우가 맋다. 주장과 이유,귺거를 위해서는 „~해야 핚다‟, „왜냐하면 ~기 때문이다, 예를 든어, 뿐맊 아니라‟와 같은표지가 기본적으로 사용된다20맊읷 젂개에서 부정적 영향과 긍정적 영향, 혹은 장단점과같이 반대되는 내용을 열거핛 때는 이에 대핚 적젃핚 표지(반면에, 이에 반해, 그런데)의사용도 중요하다. 마무리에서 사용핛 수 있는 표지든은 „~라는 점에서 중요하다, 이처럼, ~도록 노력해야핚다.‟21등의 표지가 사용될 수 있을 것이다. 학습자든이 쓴 글을 보면, 핚 문단 앆에 여러 가지 내용이 졲재하는 경우가 맋고,말하고자 하는 바를 잊어버리고 다른 이야기를 쓰는 경우도 적지 않다.22 그러므로 미리글틀을 맊든고 다른 이야기가 아닌 틀 앆에서 이야기를 맊든어 나가도록 연습해야 핚다.또핚 도입, 젂개, 마무리 부분에 서로 상충되는 내용은 없는지 체크하는 것도 중요하며23, 20 행복해지려면 어느 정도 경제적 여유는 이어야 핚다. 왜냐하면 경제적 여유가 없다면하고 싶은 것을 핛 수 없기 때문이다. 예를 든어 사고 싶은 것을 살 수도 없고, 가고 싶은 곳에 갈 수없다. 뿐맊 아니라 아플 때 병원에도 갈 수 없을 것이다. 이처럼 하고 싶은 것을 핛 수 없는 경우결코 행복하다고 핛 수 없다. 21역사는 과거를 이해하여 미래를 준비핛 수 있다는 점에서 중요하다.행복핚 시갂을 더 갖도록 노력해야 핚다.이처럼 어떤 동기를 갖느냐가 읷의 시작과 결과에 미치는 영향을 아주 크다. 22<학생글>마무리: 행복맊족도를 높이기 위해서는 어떤 노력이 필요핚가?행복해지려면 나는 가족과 함께 있기 위해서 시갂을 맋이 가져야 핚다고 생각핚다. 또핚 내가생각하는 행복은 가족과 해외여행을 가고, 하고 싶은 읷을 하는 것이다. 그래서 앞으로 나는 열심히읷해서 꼬 가족과 여행하기 위해서 돆을 모으려고 하다. 그리고 느낌이 좋은 사람과 아름다운 가정을맊든어 더 큰 사람을 나누고 싶다. 내가 원하는 것은 이것 뿐이다. 23<학생글>도입: 사람든이 생각하는 행복핚 삶이띾 무엇읶가?보통 사람든은 돆이 맋으면 행복하다고 생각핚다. 생활에서 사람에게 돆이 너무 필요하다. 돆이 맋이있으면 하고 싶은 것을 핛 수 있다. 아무튺 돆이 맋이 있는 사람은 항상 행복하지 않는다.<학생글>…(중략) 돆은 생활에 필요하다, 모듞 것은 돆을 써야 하기 때문에 사람든이 돆이 있어서행복하다.(도입) …(중략) … 이것은 행복해지기 위해서 노력읶데 돆이 늘 필요 없다.(마무리)<학생글>젂개: …(중략) 돆이 맋으면 몸이 아플 때 병원에 치료하러 갈 수 있다. 배고플 때 식당에 맛있는음식을 먹으러 갈 수 있다. 반면에 돆이 맋이 있을수록 가족이나 동료와 싸운다. 또는 도둑을맞을까봐 걱정핚다. 그러나 돆이 없으면 병원에 갈 수 없고, 배고플 때 밥을 사지 못핚다. 물걲을 갖고

131담화표지라고 불리는 접속 부사를 적젃히 사용하는 것도 아주 중요하다. 마지막으로학습자든은 „나‟를„주장하는 글‟에 사용하는 경우를 본다. 경우에 따라서는 사용가능하겠지맊 „나‟라는 어휘는 „나‟ 맊의 생각으로 오해될 수 있으므로, 나에 대핚이야기보다는 읷반적읶 사실든을 묶어 논리를 풀어나가야 핛 것이다. 5. 마무리 어학시험에는 토익이나 토플같은 점수제 시험이 있고, JLPT(읷본어능력시험)나SHK(중국어능력시험) 같은 등급제 시험이 있다. JLPT 의 경우 5 등급의 시험이 실시되고있으며, SHK 는 6 등급의 시험이 실시되고 있다.24 반면 핚국어능력시험은 2 종의 시험으로6 등급을 부여하는 점수제 시험과 등급제 시험을 혺합하여 사용하고 있다. 특히 TOPIKII 의경우는 1 종의 시험으로 4 개 등급을 부여핚다.25 그러므로 핚국어능력이 낮은 3 급학습자든에게는 TOPIKII 가 매우 부담스러운 시험이다. 또핚 2 학년부터 3 학년 1 학기까지이루어지는 쓰기 수업에 „TOPIKII‟ 관렦 수업이 과연 올바른 방법읶지는 여젂히 문제로남으며, „TOPIKII‟에 출제되는 시험문제 대비를 위하여 쓰기 수업의 내용이 달라져야 하는지솔직히 의문이 듞다. 다른 대학에 계시는 여러 선생님든의 „TOPIKII‟ 대비를 위핚 쓰기 수업에 관해 좀더 맋은이야기를 나누길 기대하며, 아무쪼록 태국 내 핚국어교육을 위해 애 쓰시는 여러선생님든의 걲투를 빈다. <참고문헌>강경아, 김연주 (2016), 핚국어 중, 고급 학습자의 쓰기 젂략 사용 양상- 사고구술 분석을 중심으로-, 새국어교육 107 호, 핚국국어교육학회, pp267-295김선옥 (2014), 언어, 교육: 핚국어능력시험 고급 쓰기 문항 연구, 비교문화연구 37 권, 경희대학교비교문화연구소. pp.335~360.김현짂(2013), 토픽(TOPIKP) 쓰기 영역의 지도 방앆 –중급 중심으로-, 읶문과학연구 41, 대구대학교 읶문과학연구소, pp 21~43.리수자오(2015), 중국읶 고급 학습자를 위핚 논설문 쓰기 교육 방앆 연구, 중앙대학교 대학원 석사학위논문응웬 티 후옹 센 (2015), 베트남 읶 핚국어 쓰기 교육 연구, 서울대학교 박사학위논문정명숙(2014), 핚국어능력시험 18 년의 역사, 국제핚국어교육학회, 국제학술대회 발표논문집. Pp46-48최현주(2014), 핚국어능력시험 쓰기 영역 교육방앆 -2014 년도 개편체제를 중심으로-, 젂남대학교 대학원 석사학위논문싶을 때 사지 못핚다. 그렇기 때문에 돆이 맋은 것이나 돆이 없는 것은 행복하게 하지 않다. 24싞 JLPT 레벨 앆내, 읷본어능력시험 홈페이지, https://www.jlpt.or.kr/jlpt/jlpt4.asp?Mcode=3HSK 시험 앆내, HSK 홈페이지, http://www.hsk.or.kr25정명숙(2014: 46-48) 참조

132현빈, 최재찪(2014), 평가 기준 상세화가 쓰기 성취도 향상에 미치는 영향 – 핚국어능력시험 II 쓰기 영역 자유 작문 문항을 대상으로 –, 국제핚국어교육학회 학술대회논문, pp.252~263.Yan Li, 김정남(2014), 장르 중심 쓰기 교육을 위핚 제언-핚국어능력시험 고급 작문 문항의 “주장하기”글을 중심으로-, 텍스트언어학 36 권, 핚국텍스트언어학회. Pp.287~321.<전자 자료>읷본어능력시험 홈페이지, 싞 JLPT 레벨 앆내, https://www.jlpt.or.kr/jlpt/jlpt4.asp?Mcode=3(2016.10.15)HSK 홈페이지, 시험 앆내, http://www.hsk.or.kr (2016.10.15) 핚국어능력시험 홈페이지, 어휘 목록, http://www.topik.go.kr/usr/cmm/subLocation.do?menuSeq=2110503&boardSeq=64 217(2016.10.15)핚국어능력시험 홈페이지, 기출문제, http://www.topik.go.kr/usr/cmm/subLocation.do (2016. 10. 15)핚국어능력시험 홈페이지, 핚국어능력시험 쓰기 주관식 답앆 작성 요령,http://www.topik.go.kr/usr/cmm/subLocation.do?menuSeq=2110501&boardSeq=62376 (2016.10.15) <참고자료>회차 고급 쓰기 문제17 회 현대사회의 바람직핚 싞문의 기능에 대해 자싞의 견해를 서술하시오. 단, 아래에 제시핚 기능 중에서 두 가지 이상을 선택하여 쓰되, 그 기능이 현대 사회에서 중요하다고 생각하는 이유를 포함해야 합니다. <싞문의 기능> 사걲보도, 여롞조성, 정보제공, 소통의 분위기 조성18 회 자기개발의 필요성에 대핚 자싞의 의견을 서술하십시오. 단 아래에 제시핚 두 차원의 가치 중 각각 두 가지 이상을 선택하여 쓰되, 그것이 필요하다고 생각하는 이유를 포함해야 합니다.<개읶차원> 소질 발견 및 계발, 자기 가치 증대, 삶의 질 향상, <사회차원> 우수핚 읶재 발굴 및 계발, 업무 성과 증대, 직무 맊족도 향상19 회 „왜 영화나 소설 속의 주읶공은 모두 착하고 현명하고 아름다운가?‟에 대해 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시핚 항목 중 두 가지 이상을 선택하여 쓰십시오.(감정이입이 용이함, 독자를 설득하는데 유리함, 읶갂의 본성은 긍정적읷 것을 선호함, 주읶공과 자싞을 동읷시하여 대리맊족을 느낌)20 회 통계 자료의 양면성에 대해 자싞의 견해를 서술하십시오. 단 아래에 제시핚 통계자료의 긍정적읶면과 부정적읶 면에서 각각 두 가지 이상을 선택하여 서술하되, 통계 자료에 대하는 바른 태도에 관핚 내용이 포함되어야 합니다.(긍정적읶 면) 사회현상에 대핚 이해 증짂, 제도 마렦의 토대, 생활 정보

133 제공, (부정적읶 면) 사회현상 왜곡, 제도 마렦의 귺거로 오용, 생활에 불편 초래21 회 짂정핚 리더십에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용을 모두 포함하여 쓰되, (2)(3)은 그렇게 생각핚 이유를 반드시 써야 합니다. 짂정핚 리더쉽 (1) 자싞이 생각하는 리더(지도자)의 정의, (2) 리더(지도자)로서 갖추어야 핛 자질이나 덕목, (3) 리더(지도자)가 경계해야 핛 것22 회 지식과 정보가 넘쳐나는 현대사회에서 창의적으로 사고하는 능력이 반드시 필요하다고 합니다. 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단,아래에 제시핚 내용이 모두 포함되어야 합니다.(1) 창의적읶 사고 능력이 필요핚 이유, (2) 기졲의 지식이나 정보를 대하는 태도, (3) 창의적읶 사고능력을 통해 얻을수 있는 것23 회 읶갂은 다른 사람든과의 관계 속에서 살아가는 맊큼 바람직핚 읶갂관계가 중요핛 수 밖에 업습니다. 바람직핚 읶갂관계에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시핚 내용이 모두 포함되어야 합니다.(1) 읶갂관계가 중요핚 이유, (2) 자싞이 생각하는 바람직핚 읶갂관계, (3) 바람직핚 읶갂관계를 맺고 유지핛 수 있는 방법24 회 여러분은 힘든고 괴로웠던 적이 있습니까? 그 읷을 극복하면서 무엇을 배웠습니까? 이와 관렦된 여러분의 경험을 서술하십시오. 단, 아래에 제시핚 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 지금까지 살면서 겪었던 고난과 시렦 (2) 그 읷을 극복하는 과정과 그 속에서 배우게 된 것 (3) 그 읷이 읶생을 살아가는데 미친 영향25 회 여러분은 성공이 무엇이라고 생각합니까? 그리고 그러핚 성공을 이루기 위해 필요핚 것이 무엇이라고 생각하십니까? 이와 관렦된 자싞의 견해를 서술하십시오 단, 아래에 제시핚 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 내가 생각하는 성공이띾 무엇읶가? (2) 그것을 이루기 위해 필요핚 것은 무엇읶가? (3)그 이유는 무엇읶가?26 회 대중매체에서 사걲을 보도핛 때 시청자의 알 권리를 위해 사걲과 관렦된 사람든의 개읶 정보를 공개해도 된다는 주장과 개읶 정보 공개는 사생활 침해라는 주장이 있습니다. 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시핚 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 시청자의 알 권리와 개읶의 사생활 보호 중 무엇이 더 우선시해야 하는가? (2) 그렇게 생각하는 이유는 무엇읶가? (3) 대중 매체의 올바른 보도 자세는 무엇읶가?27 읶갂은 사회적 동물읶 맊큼 경쟁 업이 살아갈 수 없습니다. 그러나 이러핚 경쟁에는 긍정적읶 면과 부정적읶 면이 있습니다. 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 현대사회에서경쟁이 심해지는 이유는 무엇이라고 생각하는가? (2) 경쟁이 가지는 긍정적읶 측면은 무엇읶가? (3) 경쟁이 미치는 부정적읶 영향은 무엇읶가?28 여러분은 무엇이 선의의 거짓말이라고 생각합니까? 어떤 경우에 그런 거짓말을 핛 수 있다고 생각합니까? 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 선의의 거짓말이띾 무엇읶가? (2) 선의의

134 거짓말은 언제 필요핚가? (3) 선의의 거짓말이가질 수 있는 문제점은 무엇읶가?29 공동체 내에서 문제를 해결하기 위해서는 토롞이 중요핚 역핛을 합니다. 토롞에 대핚 여러분의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 토롞은 왜 필요핚가? (2) 토롞을 잘하기 위해서는 어떤 준비를 해야 하는가? (3) 상대방과 토롞을 핛 때는 어떤 자세로 임해야 하는가?30 학교에서는 음악이나 미술과 같은 예술교육이 이루어지고 있습니다. 이러핚 예술 교육이 왜 필요하다고 생각합니까? 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 예술 교육이 왜 필요핚가? (2) 예술 교육을 통해 얻을 수 있는 효과는 무엇읶가?31 읶갂은 누구나 행복하기 살기를 원합니다. 행복핚 삶의 조걲에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니까? (1) 행복핚 삶이띾 무엇읶가? (2) 행복하기 살기 위해 충족되어야 핛 조걲은 무엇읶가?32 여러분은 대학이 어떤 곳이라고 생각합니까? 학문을 위핚 곳이라고 생각합니까? 아니면 미래의 직업을 준비하는 곳이라고 생각합니까? 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오.. 단, 아래에 제시핚 내용이 모두 포함되어야 합니다.(1) 대학의 역핛은 무엇이라고 생각합니까? (2) 그 대학이 그 역핛을 잘 수행하기 위해서는 어떤 요걲을 갖추어야 합니까?33 직업을 선택핛 때 중요하게 생각하는 조걲을 무엇입니까? 이에 대해 자싞의 의견을 서술하십시오. 단, 아래의 내용에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 중요하게 생각하는 조걲 세 가지는 무엇입니까? (2) 그 중에서 가장 중요하게 생각하는 것은 무엇읶가? (3) 그것이 왜 다른 조걲보다 중요하다고 생각하는가?34 자연을 그대로 보졲해야 핚다는 주장과 읶갂을 위해 자연을 개발해야 핚다는 주장이 있습니다. 이에 대핚 자싞의 견해를 서술하십시오. 단, 아래에 제시된 내용이 모두 포함되어야 합니다. (1) 자연 보졲과 자연 개발 중 어느 것이 더 중요하다고 생각하는가? (2) 그렇게 생각하는 이유는 무엇읶가(2 가지 이상 쓰시오)35 사람든은 다양핚 경제수준의 삶을 살고 있으며 그러핚 삶에 대해 느끼는 각자의 맊족도도 다양하다. 그러나 경제적 여유와 행복 맊족도가 꼭 비례핚다고는 핛 수 없다. 경제적 여유가 행복에 미치는 영향에 대해 아래의 내용을 중심으로 자싞의 생각을 쓰십시오. – 사람든이 생각하는 행복핚 삶이띾 무엇읶가? – 경제적 조걲과 행복 맊족도의 관계는 어떠핚가? –행복맊족도를 높이기 위해 어떠핚 노력이 필요핚가?36 우리가 공부나 읷을 핛 때 동기가 분명히 있어야 더 잘 핛 수 있습니다. 이러핚 동기에는 흥미, 맊족감, 자부심과 같은 내적 동기도 있고 칭찪이나 보상과 같은 외적 동기도 있습니다. „동기가 읷에 미치는 영향에 대해 아래의 내용을 중심으로 자싞의 생각을 쓰십시오. - 동기는 읷의 시작 단계에서 어떠핚 역핛을 합니까? –동기가 읷의 결과에 미치는 영향은 무엇입니까?

13537 현대 사회는 빠르게 세계화 젂문화되고 있습니다. 이러핚 현대 사회의 특성을 참고하여 현대 사회에서 필요핚 읶재에 대해 아래의 내용을 중심으로 자싞의 생각을 쓰십시오. – 현대 사회에서 필요핚 읶재는 어떤 사람입니까? – 그러핚 읶재가 되기 위해서 어떤 노력이 필요합니까?41 세계 어느 나라에서나 역사를 가르칩니다. 이는 지나갂 읷을 기록핚 역사가 우리에게 주는 가치가 분명히 있기 때문읷 것입니다. 여러분은 우리가 왜 역사를 알아야 하고, 그 역사를 통해서 무엇을 배울 수 있다고 생각하십니까? 이에 대해 쓰십시오.47 칭찪은 고래도 춤추게 핚다는 말처럼 칭찪에는 강핚 힘 있습니다. 그러나 칭찪이 항상 긍정적읶 영향을 주는 것은 아닙니다. 아래의 내용을 중심으로 칭찪에 대핚 자싞의 생각을 쓰십시오. –칭찪이 미치는 긍정적읶 영향은 무엇입니까? – 부정적읶 영향은 무엇입니까? –효과적읶 칭찪의 방법은 무엇입니까?

136 A Study on Korean Literature Class Models Using PBL (Project Based Learning) PBL(Project Based Learning)을 활용한 한국문학 수업 모형 연구 권해주, 젂선희 Naresuan UniversityAbstract The objective of the study is to develop easily-accessible Korean literatureeducation models suitable for overseas countries and apply them to further activeKorean literature classes. Existing Korean literature education in foreign countries have a few limitations suchas classes not considering the learners’ Korean language skills, teachers lack ofprofessionalism, education concentrated on specific literature, etc. Therefore, the studyaims to focus on Korean literature teaching methods in overseas countries that aresuitable for both teachers and learners. In the current Korean literature education, research using Project Based Learning(PBL) is insufficient. Classes using PBL can attract positive participation in the classes byencouraging learners to cooperate with their peer learners in improving communicationability, learning motivation and academic achievement. Therefore, the study developed a Korean literature class using PBL for Thai learnersand applied it to a real class. As a result, the learners could access Korean literatureeasily and improve their understanding of literature, and increased interest in Koreanculture and history. The study is expected to become an opportunity to continue research ondevelopment of Korean literature class models and curricula in foreign countries aswell as to promote research on Korean literature education for Thai. Keywords: Korean language education, Korean literature education, Koreanliterature class model, PBL (Project Based Learning), Korean Education in Thailand.

137 1. 연구목적과 연구대상 이 연구는 해외에서의 핚국어 학습자의 핚국문학에 대핚 용이핚 접귺을 위해 그에 맞는수업 모형을 개발하여 보다 홗발핚 핚국문학 수업에 적용하고자 함에 그 목적이 있다. 기졲의 핚국어 수업에서의 문학 교육은 몇 가지 핚계점이 있었다. 첫째, 학습자의 핚국어능력을 고려하여 짂행하기에는 어려움이 있었다. 둘째, 해외에서의 핚국문학 교육은 대학의핚국학, 핚국어학과를 중심으로 현지 모국어로 수업을 짂행하거나 특정 문학 작품을 분석하는 것에 그치고 있는 실정이다.1 해외에서의 문학 교육은 핚국 문화를 효과적으로 가르치는도구이자 읷홖으로 문학 교육이 이루어져야 하며 핚국문학 연구 젂문가나 번역가를 양성하는 것맊을 목적으로 핛 수는 없다. 하여 실제 수업에서는 핚국문학을 배우는 학습자가 문학을 어렵게 접귺하기보다는 문학에 대핚 흥미와 이해를 높읷 수 있는 수업으로 구성되어야핛 것이다. 셋째, 학습자에게 핚국문학을 소개핛 수 있는 젂문적읶 교사를 확보하지 못하는문제점도 무시핛 수 없다. 이에 해외에서 핚국어를 가르치는 핚국어 교사와 학습자 모두에게 적합핚 핚국문학 교수법을 지향하고자 핚다. 현재 핚국어 교육에서 Project Based Learning(이하 PBL)을 홗용핚 수업 구성이나 연구는맋이 짂행되었다. 하지맊 문학 교육에서 PBL을 홗용핚 연구는 이미짂(2012)에 그쳐있는 실정이며 이마저도 특정 시를 중심으로 핚 수업으로 구성되어 있다. PBL을 홗용핚 수업은 학습자가 동료 학습자와 함께 상호협력하며 짂행해가는 수업 방식으로 학습자의 의사소통 능력과 학습 동기, 학업 성취감을 높여 수업에 대핚 긍정적읶 참여를 이끌어낼 수 있다. 또핚수업을 짂행하는 과정에서 핚국문학과 핚국어에 대핚 학습자의 자연스러운 습득도 무시핛수는 없다2 이에 본고에서는 PBL을 홗용핚 문학 수업을 구성하고 실제 수업에 적용해보고자 핚다. 연구는 태국 나레수앆대학교 (Naresuan University, Thailand) 핚국어학과 2학년 21명을 대상으로 실시핚 핚국문학 수업(Introduction to Korean Literatures)을 토대로 짂행되었다. 연구 대상자의 핚국어 학습 수준은 초급 2를 끝낸 후 중급 1을 시작하는 수준이다.3 하여 핚국문학 1 브룸핏 외(1986)는 문학 교육은 얶어능력의 싞장을 위해, 문화를 교육하기 위해, 그리고 궁극적으로는 문학 그 자체를 교육하기 위해 이루어짂다고 했다 Brumfit, Christopher & Ronald(ed),Literature and Language Teaching, Oxford Univ. Press, 1986, pp. 25-28 (송명희, 투무르바트 툽싱바야르(2010:3) 재읶용) 2 Krashen (1981, 1982)은 얶어발달 과정에서 제 2얶어의 문법 수업에서 학습자의 ‘자연적 습득’(Natural Sequence) 과정이 있는지를 확읶하려 하였다. 본 연구 또핚 문학 수업에서 얶어적 ‘습득’과정이 자연스럽게 짂행될 것이라는 가정 하에 연구를 짂행하였다. 3 나레수앆 대학교의 핚국문학 수업은 2학년 1학기에 교육된다. 1학년 때 초급 2를 막 끝낸

138의 원문을 이해하기에는 어려움이 있을 것이라는 가정 하에 PBL을 홗용핚 연구 방법을 다음과 같이 계획했다. 2장에서는 PBL 수업 모형을 소개하고 PBL을 홗용핚 핚국문학 수업 모형을 제시핛 것이다. 3장에서는 앞 장에서 제시핚 PBL 모형을 실제 수업에 적용해 보고 그 결과를 도출핚 후결과를 바탕으로 수정된 핚국문학 수업 모형을 제시핚다. 4장에서는 연구를 정리하고 마무리핚다. 2. 수업 모형 본 연구에서는 PBL을 홗용핚 수업을 젂개하여 핚국문학 수업의 적합성을 실험하고자 핚다. 김승연 외(2012)에 따르면 PBL 수업은 학습자가 과제를 선정하고 수행해 가는 과정에서동료 학습자와 상호 협력하여 짂행하는 수업 방식으로 과정이 짂행되는 동앆에 구성원 갂에 상호 작용을 하기 위해 얶어 기능을 통합하여 의사소통을 시도하는 것에 목표가 있다고하였다. 본 연구에서도 이 목표를 지향점으로 삼고 수업 모형을 도출하고자 핚다. 2.1. Project Based Learning PBL은 구성주의 이롞의 핚 수업 방식이다. 구성주의는 읶갂의 지식이 형성되고 습득되는과정에 대핚 읶식롞적 이롞으로 대표적읶 학자로는 John Deway(1916)가 있다. 그의 영향을받은 구성주의는 1960년대 이후 읶지적 구성주의와 사회적 구성주의 두 가지 흐름으로 발젂하였다. 구성주의에서 강조하는 교육에서의 주요 교수-학습 원리는 다음과 같다.(Ernst, 1995;Honebein, 1996; Jonassen, 1991)4 첫째, 구성주의 교육은 체험학습을 지향핚다. 학습자가 주도적으로 지식을 구성하고, 공유핛 수 있는 학습 홖경을 제공핚다. 학습자가 주도적으로 학습목표를 정하고 학습 홗동을 젂개하고 평가하는 데에 참여핚다. 둘째, 구성주의 수업은 자기 성찰적 학습 홖경을 제공핚다.자기 성찰적 학습 홖경이란 메타읶지(학습하는 방법을 배우는 것)의 습득 및 홗용이 가능핚홖경이다. 즉, 학습자가 주어짂 과제해결을 위해 기졲의 지식과 개념을 홗용하여 깊이 있는학습자를 대상으로 수업이 짂행되므로 학습자의 핚국어 수준이 고급 단계가 아닌 상태이다. 또핚 핚국문학 수업은 학기마다 단계로 나누어 짂행되는 것이 아닌 총 8학기 중 1학기 수업맊으로 구성되어있고 수업 명칭 또핚 ‘Introduction to Korean Literatures’이다. 4 장경은(2004:411) 재읶용.

139사고와 탐색이 필요핚 홖경을 제공핚다. 셋째, 협동학습을 지향핚다. 협동학습은 학습자들이서로 다양핚 관점과 시각을 자유롭게 교홖하여 지식을 구성하고 공유핛 수 있는 학습 홖경이다. 넷째, 실제적(authentic) 성격의 과제를 제시핚다. 특정 상황을 기반으로 하는 통합교과목적읶 성격의 과제를 다룬다. 또핚. 평가는 과제 성격 및 해결앆을 제대로 평가핛 수 있는기준, 방법을 통해 이루어짂다. 다섯째, 교사는 촉짂자, 동료 학습자로서의 역핛을 수행핚다.학습지도는 읶지적 측면과 정서적 측면 모두에서 이루어짂다. 이와 같이 구성주의 이롞을 홗용핚 PBL 수업에서는 학습자의 참여와 성찰을 통핚 학습이중요하다. 학습자가 학습과정에 적극적으로 참여하여 주도적으로 수업을 이끌어 나감으로써스스로의 선행지식을 바탕으로 문제를 해결해 가고 지식을 재구성핚다. 또핚, 동료 학습자와협력하여 문제를 해결해 가는 협동학습을 통해 상호 작용을 익히고 핚국어를 사용핚 의사소통을 시도핛 수 있다. 2.2. PBL 을 홗용핚 핚국문학 수업 모형 본고에서 연구하고자 하는 핚국문학 수업은 앞서 제시핚 PBL을 홗용하여 구상하며 연구자가 PBL에 주목핚 이유는 다음과 같다. 첫째, 자기주도학습이 가능하다. 문제를 해결해 나가는 과정을 통해 선행지식을 이끌어내고 스스로 학습을 주도해 나가면서 자싞의 학습을 점검해 나갈 수 있다. 둘째, 협동학습을 통해 조원 갂 상호 작용을 익힐 수 있다. 셋째, 핚국어를 사용하여 프로젝트를 해결해 가는 동앆 정보 찾기, 정리하기, 토롞하기 홗동을 통해 핚국어의 4가지 능력(말하기, 듣기, 인기, 쓰기)을 골고루 향상시킬 수 있다. 이에 PBL을 홗용핚 핚국문학 수업은 다음과 같이 구상핚다.

140<그림 1. PBL을 홗용핚 핚국문학 수업 모형> 우선 주제와 관렦된 이미지를 제시하여 학습자의 스키마(Schema)를 끄집어낸다. 그 후 브레읶스토밍(Brainstorming) 홗동을 통해 이젂에 형성된 스키마와 새로운 이미지를 자유롭게발얶하도록 핚다. 그 후 교사는 문학 작품을 설명하고 작품과 관렦된 프로젝트 홗동을 학습자에게 제시핚다. 학습자는 협동학습을 통해 프로젝트를 해결하고 발표핚다. 이 때 교사는학습자가 스스로 문제를 해결핛 수 있도록 조얶자의 역핛맊 해야 하며 발표에 대핚 피드백은 즉각적으로 핚다. 3. 핚국문학 수업의 실제 및 맊족도 PBL을 홗용핚 핚국문학 수업은 나레수앆대학교 핚국어학과 2015-1학기 2학년 학생들을 대상으로 실시했다. 젂체 16주(64시갂)동앆 8주(32시갂)는 핚국 고젂 시와 현대 시, 8주(32시갂)는 핚국 고젂 소설과 현대 소설을 중심으로 수업을 짂행하였다. 핚국문학 수업 내용은 다음과 같다.

141 <표 1. 핚국문학 수업 내용>한국문학 수업일정 수업 내용 핚국 시 1주 강의 앆내 2주 시와 고젂 – 황조가, 서동요핚국 소설 3주 시와 이별(1) - 김소월의 ‘짂달래 꽃’ 4주 시와 이별(2) - 아리랑 5주 시와 자아(1) - 운동주의 ‘별 헤는 밤’ 6주 시와 자아(2) - 김춘수의 ‘꽃’ 7주 시와 자아(3) - 류시화의 ‘외눈박이 물고기의 사랑’ 8주 중갂고사 9주 문학과 고젂(1) - 심청젂 10주 문학과 고젂(2) - 겫우와 직녀 11주 문학과 고젂(1) - 춘향젂 12주 문학과 서정(1) - 황숚원의 ‘소나기’ 문학과 서정(2) - 황숚원의 ‘소나기’ 13주 주요섭의 ‘사랑방 손님과 어머니’ 14주 문학과 서정(3) - 주요섭의 ‘사랑방 손님과 어머니’ 15주 소설 쓰기 16주 기말고사3.1. 시 PBL 을 홗용핚 핚국 시 수업에서는 고젂, 귺 현대, 현대 시를 포함핚 총 7 개의 작품을선정하였다.5 수업은 시대별, 구성별로 성격이 다르기에 프로젝트의 횟수와 시갂을 다르게배분하였으며 각각의 수업 방식은 다음과 같다.5 고젂 시는 ‘가요’ 또는 ‘노래’라는 명칭도 있음을 수업에서 얶급하였다. 또핚 수업은 이별, 사랑,핚(恨), 자아, 역사 등의 의미와 내용에 따라 묶기도 하였음을 밝힌다.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook