Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย_ปี_2563

จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย_ปี_2563

Published by Chalermkiat Deesom, 2020-05-25 03:46:52

Description: จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย_ปี_2563

Search

Read the Text Version

จบั ตาทิศทางสขุ ภาพคนไทย ป‚ 2563 สำนกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสราŒ งเสร�มสุขภาพ (สสส.)



Thaihealth Watch 2020 จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย ปี 2563 โดย ศูนย์เรียนรสู้ ขุ ภาวะ และแผนงานสนบั สนนุ การบริหารจัดการขอ้ มูลและเทคโนโลยีสรา้ งเสรมิ สุขภาพ ส�ำนกั พฒั นาภาคีสมั พนั ธ์และวเิ ทศสมั พนั ธ์ สำ� นักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.)

รู้ล่วงหน้า ย่อมเตรียมการณ์และจัดการกับสถานการณ์ได้ดีกว่า ... ปัจจุบัน 2 ใน 3 ของโรคที่เกิดข้ึน มาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตและปัจจัยแวดล้อมทางสังคม ท่ีส่งผลต่อสุขภาพ ตัวบ่งช้ีถึงทิศทางสถานการณ์ทางสุขภาพล่วงหน้าจึงมาจากแนวโน้มภาระโรค และการบาดเจ็บของประชากรไทย รวมถึงข้อมูลสถานการณ์ที่ส�ำคัญเพ่ือเห็นแนวโน้มท่ีจะเกิดข้ึน ในอนาคต นอกจากนี้ร่องรอยทางดิจิตอล (Digital footprint) เพื่อเห็นแนวโน้มความสนใจของ คนในสังคมและเจาะลึกท�ำความเข้าใจถึงพฤติกรรมทางสุขภาพในแต่ละประเด็น Thaihealth Watch จับตาสถานการณ์สุขภาพคนไทย ในปี 2563 จึงเกิดขึน้ จากการเชื่อมโยงองค์ความรู้ใน 3 ส่วน ประกอบด้วย SOLUTION SITUATION ขอ้ แนะน�ำ ทั้งในระดบั สถานการณ์สุขภาพคนไทยจาก ปัจเจกบคุ คล และข้อเสนอแนะเชงิ รายงานภาระโรคจากปจั จยั เสยี่ ง ของประชากรไทย (Burden of นโยบายตอ่ สงั คม Disease) โดยแผนงานการพฒั นา ดัชนีภาระทางสุขภาพเพื่อการ SOCIAL TREND พฒั นานโยบาย สำ� นกั งานพฒั นา นโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ จับกระแสความสนใจทมี่ ีการพดู ถึงในสังคม รายงานสุขภาพคนไทย โดย ผ่านสอ่ื สงั คมออนไลนใ์ นรอบ 1 ปี เพือ่ ศกึ ษา สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหิดล และสถิติ แนวโน้มความสนใจของคนและเจาะลกึ ถึง สขุ ภาพทเี่ กยี่ วขอ้ งทำ� ใหเ้ หน็ แนว พฤตกิ รรมของคนไทยในแตล่ ะประเด็น โน้มโรคของคนไทยและสถิติ ภาระโรคทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

10 ประเด็น ท่ีน่าจับตาในปี 2563 วัยเด็ก 01 แค่เครยี ด หรือซมึ เศร้า 6 และเยาวชน 02 ภัยคกุ คาม ทางออนไลน์ 16 23 ย่ิงเสพติดออนไลน์ยิ่งเสย่ี งสูง 32 42 03 ทางเลอื ก-ทางรอด ของ ‘เดก็ และวยั รนุ่ ’ ในการเดนิ ทาง 52 63 04 กลัวทอ้ ง มากกว่าตดิ โรค 72 05 E-sport เสน้ แบ่งระหวา่ งตดิ เกม 82 และนักกฬี ามอื อาชีพ 96 วัยท�ำงาน 06 เปิดพฤตกิ รรมกิน อยู่ อยา่ งไทย 07 ‘กัญชา’ เมือ่ เปน็ ‘ยา’ รกั ษาโรค ผู้สูงอายุ 08 ชัวร์หรอื ม่ัว เช่ือไดห้ รอื ไม่ (Fake News สุขภาพ) ปัจจัยทางสังคม 09 ชีวติ ตดิ ฝนุ่ อนั ตราย สง่ิ แวดล้อมที่กระทบ (PM2.5 และหมอกควัน) ต่อสุขภาพ 10 ขยะอาหาร อาหารส่วนเกิน ดาวโหลดเอกสารไดท้ ่ี

1 06 1แค่เครียด หรือ ‘ซึมเศร้า’ ต้นปี พ.ศ.2562 เกิดเหตุนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย แมต้ วั เลขของ WHO จะแตกต่างจากกรมสุขภาพจติ ที่ ไทยฆ่าตัวตายต่อเนื่องนับสิบกรณี1 น�ำไปสู่ความพยายามหา ประมาณการว่าผู้ป่วยซึมเศร้าในไทยน่าจะมีอยู่ราว 1.5 ล้าน สาเหตุ และเชอ่ื มโยงวา่ เบอื้ งหลงั เรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ เกยี่ วขอ้ งกบั คน แต่ข้อมูลจากท้ังสองแหล่งก็ไปในทิศทางเดียวกัน นั่นคือ ความเจบ็ ปว่ ยทางจติ อยา่ ง ‘โรคซมึ เศรา้ ’ หรอื ไม่ มคี นไทยป่วยซึมเศรา้ ใน ‘หลกั ล้านคน’ WHO เคยน�ำเสนอข้อมูลไว้ในรายงาน ‘Depression โรคซมึ เศร้าสามารถรักษาไดห้ ลายวิธี ทัง้ พดู คุย รับฟงั and Other Common Mental Disorders: Global Health ใหค้ �ำปรกึ ษา ทำ� จิตบำ� บดั ไปจนถึงให้กินยา หลายคนอาการ Estimates’ ว่า ในปี พ.ศ.2560 ท้ังโลกมีผู้ป่วยซึมเศร้าราว ดขี ้นึ จนสามารถกลับไปใช้ชวี ติ ได้ตามปกติ แตส่ ิ่งทีน่ ่าเปน็ หว่ ง 322 ล้านคน เฉพาะประเทศไทยนา่ จะมปี ระมาณ 2.9 ลา้ นคน ก็คือ จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข มีผู้ป่วยซึมเศร้า หรอื ประมาณ 4.4% ของประชากรไทยท้งั ประเทศ เข้ารับการรักษายัง ‘ไม่ถึงคร่ึง’ โดยปี พ.ศ.2559 มีผู้เข้ารับ 1 บีบซี ไี ทย ‘ผเู้ ชย่ี วชาญห่วงพฤติกรรมเลียนแบบหลังส่อื เสนอข่าวนกั ศกึ ษาฆา่ ตวั ตายมากขน้ึ ’

07 การรกั ษา 48.5% แมผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งจะพยายามหาวธิ ที จ่ี ะเพม่ิ ราว 3 คน ใน 100 คน หรอื 3% นอ้ ยกวา่ คา่ เฉลยี่ วยั รนุ่ ทว่ั โลก อตั ราสว่ นผปู้ ว่ ยซมึ เศรา้ ทเี่ ขา้ รบั การรกั ษาใหเ้ พม่ิ ขน้ึ ปลี ะ 5% ซึ่งอยู่ระหว่าง 10-15% โดยผู้ป่วยซึมเศร้าส่วนใหญ่มักเป็น ไปใหถ้ งึ 70% ภายในปี พ.ศ.2564 กต็ าม2 ผู้สูงอายุ แต่ พญ.ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์ ผู้อ�ำนวยการสถาบัน สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ ระบุว่า ปัญหาของ ความเสย่ี งสำ� คัญของผูป้ ว่ ยเป็นโรคซมึ เศร้าคือ อาจนำ� การท่ีวัยรุ่นเป็นโรคซึมเศร้าคือ ดูออกได้ยากกว่าวัยอ่ืนๆ ไปสู่ ‘การฆ่าตัวตาย’ ได้ กรมสุขภาพจิตเคยเปิดเผยว่า ในปี “เพราะมักแสดงอาการก้าวร้าว หรือหันไปหาส่ิงที่เบี่ยงเบน พ.ศ.2561 มคี นไทยพยายามฆา่ ตวั ตายชวั่ โมงละ 6 ราย หรอื ความสนใจเพ่ือหนีจากโลกความเป็นจริง เช่น ติดเกมหรือ ทง้ั ปมี ากกวา่ 53,000 คน และเสยี ชวี ติ ราว 4,000 คน ถอื เปน็ เซก็ ซ”์ สาเหตกุ ารตายของคนไทยลำ� ดบั ตน้ ๆ รองจากโรครา้ ยแรงอนื่ เชน่ มะเรง็ หวั ใจ ปอด เบาหวาน ฯลฯ ไปจนถงึ การประสบ นอกจากนี้ยังพบแนวโน้มที่เด็กและเยาวชนเข้ารับ อบุ ตั เิ หต3ุ โดยมวี ยั รนุ่ หรอื ประชากรทอ่ี ายรุ ะหวา่ ง 15-24 ปี ทเ่ี สยี บริการปรึกษาเพิ่มขึ้นผ่านสายด่วนสุขภาพจิต 1323 จาก ชวี ติ จากการฆา่ ตวั ตายราวปลี ะ 300 คน 10,298 ครง้ั ในปี พ.ศ.2561 แตเ่ ฉพาะครงึ่ ปแี รกของปี พ.ศ. และแม้อัตราส่วนวัยรุ่นไทยท่ีเป็นโรคซึมเศร้าจะอยู่ท่ี 2562 เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งชดั เจนถงึ 13,658 ครงั้ 2 KPI ร้อยละผ้ปู ว่ ยโรคซมึ เศร้าเขา้ ถึงบริการสขุ ภาพจติ ของกระทรวงสาธารณสุข 3 สถติ จิ ำ� นวนและอัตราตายตอ่ ประชากร100,000 คน จ�ำแนกตามสาเหตทุ ่สี ำ� คัญ ปี พ.ศ.2537-2560 ของสำ� นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

08 เพราะเป็น ‘วัยรุ่น’ จงึ เจ็บปวด (และเจ็บป่วย) วัยรุ่นในสังคมไทยต้องแบกรับความรู้สึกมากมาย ไม่เพียงแค่ความคาดหวังจากครอบครัวในเร่ืองการศึกษา ทีห่ ลายๆ ครอบครวั ต้ังเป้าหมายใหพ้ วกเขาต้องเรียนให้เกง่ และ เป็นเลิศในทางวิชาการทุกด้าน หากแต่ว่าวัยรุ่นในยุคนี้ยังต้อง เผชิญกับปญั หาความสัมพันธ์กับคนรอบขา้ ง ซึ่งสง่ ผลต่อพวกเขา ด้วยเชน่ กนั ข้อมลู จากสายดว่ นสุขภาพจิต 1323 ปญั หาหลักๆ ทเ่ี ดก็ และเยาวชนโทรศัพท์มาขอค�ำปรึกษา ได้แก่ ความเครียดและ วิตกกงั วล ปัญหาความรัก ปัญหาซึมเศรา้ และปญั หาครอบครัว หนึ่งในช่องทางท่ีวัยรุ่นไทยใช้พูดถึงโรคซึมเศร้าคือ ทาง โซเชยี ลมเี ดยี โดยเฉพาะชอ่ งทางของทวติ เตอร์ ทง้ั นี้ ระหวา่ งเดอื น กรกฎาคม พ.ศ.2561 – มิถนุ ายน พ.ศ.2562 มกี ารพดู ถงึ ‘ปญั หา ซึมเศรา้ ’ ในทวิตเตอร์มากกวา่ 1.4 แสนข้อความ โดยเฉพาะหลงั เกดิ เหตนุ ักเรียนและนสิ ิตนกั ศึกษาฆา่ ตัวตายหลายคร้ัง ชว่ งเดือน มีนาคม พ.ศ.25624 ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสำ� รวจขอ้ ความบ่น ระบาย ขอคำ� ปรกึ ษาในทวติ เตอร์ พบว่า ปัจจัยสำ� คญั ทที่ ำ� ให้ เกิดภาวะเครยี ดในหมวู่ ยั รุน่ มากที่สดุ 3 ลำ� ดับแรก 60% จากสถติ ดิ ังกลา่ วสะทอ้ นไดว้ ่า วัยร่นุ ไทยจำ� นวน ไมน่ ้อยต้องการที่จะระบายความรสู้ ึก เพ่อื หลุดพ้นออก 32% จากภาวะเครียดและซึมเศร้าท่ีพวกเขาก�ำลังเผชิญหน้า 7% อยู่ โดยท่ีหลายคนได้พูดถึงความรู้สึกหมดคุณค่าใน ตวั เอง และบางคนไดร้ ะบายอารมณถ์ งึ ความรสู้ กึ ทอี่ ยาก ความสมั พนั ธ์ในครอบครัว ตาย ซง่ึ ปญั หาเหลา่ นค้ี อื เรอ่ื งใหญ่ และสงั คมไทยจำ� เปน็ หนา้ ที่การงาน/ความรบั ผดิ ชอบ ต้องหาวธิ กี ารแกไ้ ขให้ไดโ้ ดยเรว็ ปญั หาการถกู กลน่ั แกลง้ 4 ไวซไ์ ซท์

09 การ 1% 7%กล่ันแกล้ง หนา้ ที่ ความ 3กา2รง%าน 6ส0ัมพ%ันธ์

010 ทวติ เตอร์ เครอื่ งมือทรงประสิทธิภาพ เยียวยาวัยรุ่นซึมเศร้าท่ีแฝงมากับภัยเงยี บ เนอ่ื งจากทวติ เตอร์เปน็ เครื่องมอื ท่ีเขา้ ถึง เดก็ และเยาวชน เพราะสามารถระบายความรสู้ กึ ด้วยข้อความสัน้ ๆ และหลายครั้งทข่ี อ้ ความจาก คนทว่ั ๆ ไป แตก่ ระทบความรสู้ กึ ของคน จงึ ทำ� ให้ เกิดการรีทวิตในวงกว้าง ค�ำว่า ‘#โรคซึมเศร้า’ นอกจากจะชว่ ยสรา้ งกำ� ลงั ใจใหก้ บั คนทตี่ กอยใู่ น ภาวะซมึ เศรา้ แลว้ ในทางกลบั กนั ยงั เปน็ ชอ่ งทาง ให้อีกหลายคนอาสาเป็นที่ปรึกษาโรคซึมเศร้า โดยปราศจากความรู้ในการแนะน�ำที่ถูกต้องต่อ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอย่างแท้จริง นอกจากนี้พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ข อ ง วั ย รุ ่ น เ พ่ื อ ร ะ บ า ย ค ว า ม รู ้ สึ ก ใ น ภ า ว ะ ความเครียดหรือซึมเศร้า ยังพบว่า ช่วงเวลาท่ี วัยรุ่นโพสต์ข้อความ ‘อยากตาย’ ท่ีมีความถี่ มากทส่ี ดุ ในสอื่ ทวติ เตอร์ คอื ชว่ งวนั องั คาร เวลา 22.00 น. และวันศกุ ร์ เวลา 19.00 น. ซึ่งขอ้ มูล จากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พบว่า หากมีใครสักคนที่รับฟังอย่างตั้งใจ จะช่วยลดอัตราการฆ่าตัวตายส�ำเร็จได้ถึง 50% ดังนั้นการจัดก�ำลังคนผ่านสายด่วนใน ช่วงเวลาดังกล่าว หรือการโพสต์ให้ก�ำลังใจ โดยใช้ #ซมึ เศรา้ ผ่านส่อื ทวิตเตอร์ และส่อื อนื่ ๆ ท่ีเข้าถึงวัยร่นุ จะชว่ ยลดความเสยี่ งลงได้

11 ไม่ใช่แค่สารเคมีในสมอง ท่ีท�ำให้ ‘ซึมเศร้า’ มีข้อมูลมากมายที่บอกว่า สาเหตุของโรคซึมเศร้าเกิดจากสารเคมีในสมอง หรอื เปน็ เรื่องทางกรรมพันธุ์ นพ.ประเวช ตันตพิ วิ ัฒนสกุล จติ แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ และอดตี ผู้ทรงคุณวุฒจิ ากกรมสุขภาพจิต สะท้อนวา่ ยงั มอี กี 5 ปัจจัยภายนอกท่ี จะท�ำใหเ้ กดิ โรคซึมเศร้าได้ 1 ความสมั พนั ธห์ า่ งไกลกนั มากขนึ้ 4 ขาด mindset ในการจดั การ วถิ ชี วี ติ ของความเปน็ เมอื ง บา้ นเดยี วกนั ปัญหา ไม่ถูกฝึกทักษะทางความคิด ต่างมีหน้าจอของตัวเอง ท�ำให้คนเกิด และแก้ปญั หาเชิงรกุ เชน่ การฝกึ คิด ความรู้สึกเหงา ซ่ึงความเหงาเป็นตัว แง่บวกบอ่ ยๆ ว่า ทุกปญั หาจะต้องมี กระตุ้นให้เกิดโรคซึมเศร้า ขณะที่โรค ทางออกในทสี่ ดุ และเมอ่ื เราแกป้ ญั หา ซึมเศร้าก็ท�ำให้เกิดอาการเหงาเช่น นั้นได้แล้ว เราจะเก่งขึ้น เช่ือม่ันใน เดยี วกัน ตวั เองมากขึ้น 2 ค่านิยมการท�ำงานท่ีเปลี่ยนไป 5 การมปี มคา้ งในใจ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ท่ี ท�ำให้ความรู้สึกภูมิใจในตัวเองลดลง ลึกซ้ึงสุด เกิดข้ึนในระดับบุคคลใน กรณีเด็กและเยาวชนมีความรู้สึกว่า ครอบครัว เม่ือเกิดผลกระทบจาก คณุ คา่ ในตวั เองหายไป คนจบปรญิ ญาโท สังคม ขณะที่ครอบครัวก็ขาดความ จ�ำนวนมากท่ีไม่พร้อมไปท�ำงาน พร้อม อบอนุ่ ทงั้ การดดุ า่ ละเลย ไมม่ เี วลา กบั ความรสู้ กึ ไมภ่ มู ใิ จในตวั เอง ไมเ่ ชอ่ื มน่ั ให้ ล้วนเป็นปมค้างใจในเด็ก และ ต�ำแหน่งงานใหม่ที่เกิดขึ้นก็ได้คนไม่ตรง ส่งผลเปราะบางทางอารมณ์ รวมถึง ทกั ษะ เรามคี นตกงานจำ� นวนมาก ขณะ เด็กบางคนถูกละเมิดทางเพศ หรือ ท่ียังมีต�ำแหน่งงานว่างเพราะทักษะไม่ ที่บ้านทะเลาะกัน ความรุนแรงจะ ตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการ รวมถึง กระทบทเ่ี ดก็ ความทรงจำ� ทคี่ า้ งในใจ ความรสู้ กึ เปรยี บเทยี บกบั คนอนื่ ในสอ่ื โซ จะดึงเด็กเหล่านี้เข้าสู่อาการซึมเศร้า เซียล ท�ำให้ภูมิใจในตัวเองน้อยลง วธิ สี งั เกตคุ อื การมคี วามทรงจำ� ทางลบ ในเหตุการณ์และประเด็นท่ียังไม่ถูก 3 วิถีชีวิตห่างไกลจากธรรมชาติ คลค่ี ลาย การกิน การนอน การออกก�ำลังกาย เปลยี่ นไปจากเดมิ สง่ ผลตอ่ ระบบชวี ภาพ ของร่างกาย มงี านวิจัยพบว่า จุลนิ ทรีย์ ในล�ำไส้สัมพันธ์กับโรคซึมเศร้า การกิน ยาปฏชิ วี นะตา้ นเชอื้ จลุ นิ ทรยี บ์ อ่ ยๆ จะ สง่ ผลอยา่ งมาก

12 ปอ้ งกนั การฆา่ ตวั ตายใน 40 วนิ าที ค�ำแนะนำ� จาก WHO เพราะท่ัวโลกมคี นฆ่าตัวตาย ‘ทุก ๆ 40 วินาที’ หรอื ราว 8 แสนคน ต่อปี วนั สขุ ภาพจิตโลก (World Mental Health Day - 10 ตลุ าคมของ ทุกปี) ของปี พ.ศ.2562 องค์การอนามัยโลก หรือ WHO จึงแนะนำ� ค่มู อื การป้องกันการฆา่ ตวั ตาย ทำ� ได้จริงในเวลาเพยี ง 40 วินาที เช่น – หากคณุ ประสบปญั หา ใหห้ าเวลาสกั 40 วนิ าทคี ยุ กบั คนทค่ี ณุ ไวใ้ จ – หากคณุ รวู้ า่ ใครเพงิ่ เสยี คนทร่ี กั ไป หาเวลาสกั 40 วนิ าทพี ดู คยุ กบั เขา ว่าจะท�ำอะไรต่อ – ถ้าคุณท�ำงานในแวดวงศิลปะหรือส่ือดิจิทัล ให้หาเวลาสัก 40 วินาทีอธิบายวธิ ปี ้องกนั การฆา่ ตัวตาย ดเู พมิ่ เตมิ ไดท้ :ี่ https://www.who.int/docs/default-source/mental-health/suicide/flyer-40sec- onds-web.pdf?sfvrsn=5ba643c_2 ‘โซเชียลมีเดีย’ ก็อาจเป็นหนึ่งในสาเหตุ ทุกวันน้ีโซเชียลมีเดียได้เข้ามามีบทบาทต่อทั้งความ สมั พนั ธ์ และวธิ กี ารใชช้ วี ติ ของผคู้ นมากมาย เชน่ เดยี วกบั กลมุ่ วัยรุ่นท่ีชีวิตของพวกเขาได้ก่อร่างสร้างความสัมพันธ์ผ่าน ความจริงในโลกดิจทิ ลั และเตบิ โตผา่ นโลกดิจิทลั ในทกุ วัน ในทุกวัน มีข้อมูลมากมายที่ไหลท่วมโลกโซเชียลมีเดีย ผู้คนต่างใช้พื้นที่น้ีบอกเล่าตัวตน รสนิยม ความชอบ กระท่ัง ความสำ� เรจ็ ในชวี ติ ซงึ่ ไมน่ า่ ใชเ่ รอื่ งผดิ หรอื เสยี หาย หากอยใู่ น ขอบเขตทเ่ี หมาะสมและไมม่ ากล้นเกนิ ไป อย่างไรก็ตาม คนรุ่นใหม่หลายคนก็รู้สึกเจ็บปวดกับ ความจรงิ บนโลกดิจทิ ัลน้เี ช่นกนั

13 แมใ้ นสงั คมภายนอกจะมสี งิ่ ทเี่ รยี กวา่ ‘การเปรยี บเทยี บ รามาธิบดี เคยกล่าวเอาไว้ว่า ความรู้สึกขาดยอมรับในตัวเอง ทางสังคม’ ในเร่ืองฐานะและความอยู่ดีมีสุขกันอยู่แล้ว ทว่า และรกั ตวั เองนอ้ ยลง สามารถนำ� ไปสโู่ รคซึมเศรา้ ได้ โลกโซเชียลมีเดียก็น�ำพาให้การเปรียบเทียบท่ีว่าน้ีเข้มข้นกว่า ท่ีเคยเป็นมา อกี ปญั หาของของการใชโ้ ซเชยี ลมเี ดยี คอื บางครง้ั ผปู้ ว่ ย ซึมเศร้าได้รับค�ำแนะน�ำจากผู้ไม่เชี่ยวชาญบนอินเทอร์เน็ต สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ทเี่ ผยแพรผ่ า่ น Journal of Social ผลคอื ทำ� ใหอ้ าการเจบ็ ปว่ ยยง่ิ แยล่ งไปอกี and Clinical Psychology ในปี พ.ศ.2557 พบความสัมพันธ์ ระหวา่ งการใชเ้ วลาบนเฟซบกุ๊ กบั อาการซมึ เศรา้ (Depressive แต่ในปัจจุบันมีหลายหน่วยงานพยายามเข้ามาช่วย Symptoms) ซง่ึ ปจั จยั สำ� คญั มาจากการทผี่ ใู้ ชง้ านเปรยี บเทยี บ แก้ไขปัญหา โดยเฉพาะการเปิดช่องทางรับฟัง ไม่เพียง ชวี ิตของตัวเองกบั คนอ่นื ๆ ในโซเชียลมเี ดยี ดังกล่าว สายด่วนสุขภาพจิต 1323 ของกรมสุขภาพจิต ยังมีจาก ภาคเอกชน เช่น สมาคมสะมาริตันส์ หมายเลขโทรศัพท์ พญ.จิราภรณ์ อรุณากูร กุมารแพทย์เวชศาสตร์วัยรุ่น 0-2713-6793 หรอื แอปพลเิ คชนั ทร่ี บั เปน็ สอื่ กลางใหไ้ ดเ้ จอกบั ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล จิตแพทยห์ รอื นกั จิตบ�ำบดั เช่น Ooca และ Wall of Sharing แคเ่ ครยี ดหรอื ซึมเศรา้ ข้อแตกตา่ งคอื อะไร “อาการระหวา่ งโรคซมึ เศรา้ กับความเครียด ต่างกันตรงความรูส้ กึ เครยี ดจะมีอาการฟ้องทางกายออกมา ให้คนรอบข้างเห็นถึงความผิดสังเกต และสักระยะหน่ึงร่างกายและจิตใจจะปรับสมดุลกลับมาร่าเริงเป็นปกติ แตค่ นทเ่ี สยี่ งหรอื มแี วววา่ จะเปน็ โรคซมึ เศรา้ เบอ้ื งตน้ จะมคี วามรสู้ กึ ดถู กู ตวั เองอยา่ งรนุ แรง เกดิ เปน็ ความเครยี ด เรอื้ รงั จนสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบสมอง และรา่ งกายเกิดอาการรวน ชนิดที่เรียกวา่ กิน หรือนอนไม่ได้จนลามไปสู่ ความเส่ือมไปท้งั ระบบของร่างกาย” นพ.ประเวช ตนั ติพิวัฒนสกุล จติ แพทยผ์ เู้ ชีย่ วชาญ และอดตี ผู้ทรงคณุ วุฒิ จากกรมสุขภาพจติ

14 SCAN ME ทางออกและการป้องกัน โรคซมึ เศรา้ มวี ธิ รี กั ษามากมาย แตเ่ บอ้ื งตน้ เราตอ้ งรกู้ อ่ นวา่ ตวั เอง หรือคนใกล้ชดิ เปน็ โรค หรือมคี วามเสี่ยงทีจ่ ะเปน็ โรคน้หี รอื ไม่ หน่ึงในวิธีตรวจสอบก็คือการเข้าไปท�ำแบบประเมินของกรม สุขภาพจิต ทีม่ ีเพยี ง 9 ค�ำถาม หากพบว่าตัวเองเป็นหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า ในระดบั ปจั เจก - ควรพบแพทยเ์ พอื่ รบั การรกั ษา เชน่ กนิ ยาตอ่ เนอื่ งเพอื่ ลดอาการ ซึมเศร้า และหากขจดั สาเหตไุ ด้กจ็ ะชว่ ยให้หายขาดจากโรคได้ - ควรสงั เกตอาการของตัวเอง และหม่นั ใหก้ �ำลังใจตัวเอง - ไม่กินยาปฏิชีวนะหรือยาต้านแบคทีเรียโดยไม่จ�ำเป็น เพราะ มงี านวิจยั พบว่า จะทำ� ใหเ้ ชื้อจลุ นิ ทรยี ใ์ นล�ำไสถ้ กู ทำ� ลาย ระบบรา่ งกาย ของเราจะแปรปรวน สง่ ผลต่อการเกิดอาการซึมเศร้า - ออกกำ� ลังกายคร้งั ละ 30 นาที อย่างน้อย 3 ครัง้ ตอ่ สปั ดาห์ จะ ช่วยป้องกันโรคซึมเศร้าได้ ส่วนผู้ท่ีเป็นโรคซึมเศร้า ถ้าออกก�ำลังกาย ต่อเนอื่ ง 8 สปั ดาห์ จะชว่ ยรักษาอาการซึมเศรา้ ระดบั กลางได้ ในระดับครอบครัวและคนรอบขา้ ง - สมั พนั ธภาพและการสอื่ สารเชงิ บวกในครอบครวั โรงเรยี น หรอื ที่ท�ำงาน จะเป็นภูมิคุ้มกันท่ีดีที่สุด ต้องให้การยอมรับและต้ังใจรับฟัง สิ่งที่เขาบอกเล่า ต้องคิดทางบวกอยู่เสมอๆ ไม่ใช่จับผิดอยู่ตลอดเวลา ใหค้ ำ� ชน่ื ชมทกุ ครงั้ ในสง่ิ ดๆี หรอื แมค้ วามสำ� เรจ็ เพยี งเลก็ นอ้ ย เพอื่ ใหเ้ กดิ การเปิดใจ มีปัญหาจะได้กล้าพูดคุยซักถาม และท�ำให้เขาสะสมความ ภูมิใจในตัวเองเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ ซ่ึงเป็นภูมิคุ้มกันอย่างดีในการป้องกันโรค ซมึ เศรา้ - หากมคี นมาขอคำ� ปรึกษา ควรรบั ฟังสิ่งทีเ่ ขาพูดอยา่ งตง้ั ใจ มีผล การศกึ ษายืนยนั วา่ การท่ีมีผู้รับฟงั ปญั หาอยา่ งตั้งใจจะชว่ ยลดอตั ราการ ฆา่ ตัวตายส�ำเรจ็ ได้ถึง 50% - หากิจกรรมท่ีช่วยเพ่ิมคุณค่าให้กับชีวิต หรือท่ีคนในครอบครัว ได้ท�ำร่วมกนั จะเห็นวา่ ทุกคนมสี ว่ นช่วยเหลอื ผปู้ ่วยโรคซมึ เศร้าได้ ทงั้ ตัวผู้ปว่ ย เองและคนรอบข้าง โดย นพ.เกยี รติภมู ิ วงศร์ จิต อธบิ ดีกรมสขุ ภาพจติ เคยแนะน�ำใหใ้ ช้ ‘หลกั 3 ส.’ ในการป้องกันปัญหา คอื สอดส่องมองหา ใสใ่ จรับฟัง และสง่ ต่อเชอื่ มโยง

ถึงเวลา ‘ปลดล็อก’ 15 กฎหมายที่เป็นอปุ สรรค สารพัดปัจจัย ท้ังจากสารเคมีในสมอง จากพันธุกรรม สุขภาพจิตที่สามารถท�ำได้ในขณะน้ีคือ การเข้าไปรับบริการ จากปัญหาส่วนตัว ความสัมพันธ์ในครอบครัว ไปจนถึงความ ค�ำปรึกษาของผู้มีอายุไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์ไม่ถือเป็นบริการ รัก ท�ำให้เด็กและเยาวชนต้องการท่ีจะเข้ารับการบ�ำบัดรักษา บ�ำบัดรักษาตามความหมายของ พ.ร.บ.สุขภาพจิต น่ันคือ โรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ‘ด้วยตัวเอง’ มากข้ึน เด็กเยาวชนสามารถเข้ารับค�ำปรึกษาได้ เพื่อประเมินอาการ เร่อื ยๆ และรับค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ โดยบริการที่ให้น้ันต้อง ประเด็นท่ีน่าสนใจบนโลกออนไลน์จ�ำนวนไม่น้อยคือ ไมเ่ กย่ี วข้องกบั การบำ� บดั รักษาแตอ่ ย่างใด การรักษาโรคทางจิตเวชโดยไม่มีใบยินยอมจากผู้ปกครอง ทางออกจากปัญหาเหล่านี้ จึงอยู่ท่ีการหาข้อสรุปว่า เน่ืองจากส่วนหน่ึงเด็กและเยาวชนมองว่า ‘ครอบครัว’ คือ ควรมกี าร ‘ปลดลอ็ ก’ ขอ้ กฎหมายบางขอ้ เพอื่ ใหว้ ยั รนุ่ สามารถ สาเหตสุ ำ� คญั เข้ารับการรักษาจากผู้เช่ียวชาญเพ่ือเข้าสู่การรักษาหรือไม่? แมจ้ ะมวี ธิ อี น่ื คอื ใหเ้ ดก็ อายตุ ำ�่ กวา่ 18 ปี เขา้ ไป ‘ขอคำ� ปรกึ ษา’ เช่นเดียวกับข้อเรียกร้องของสภาเด็กและเยาวชนเพ่ือ จากจติ แพทย์ แทนการ ‘บ�ำบัดรักษา’ ซึ่งไม่จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมี ปลดล็อกเด็กต�่ำกว่า 18 เข้าถึงสิทธิการรักษาโรคทางจิตเวช ผู้ปกครองไปด้วย แต่นั่นก็ไม่ใช่การแก้ไขปัญหาระยะยาวท่ี โดยปราศจาคผู้ปกครอง ย่งั ยืน “การเข้าถึงบริการบ�ำบัดรักษาด้านสุขภาพจิตกลับ ขณะเดียวกัน เสียงสะท้อนจากเด็กๆ ที่มองว่า ความ ติดขัดดว้ ยกฎหมาย พ.ร.บ.สุขภาพจติ พ.ศ.2551 มาตรา 21 กดดันจากผู้ใหญ่มีส่วนส�ำคัญท�ำให้เกิดความเครียดจนอาจ วรรค 3 ทีก่ ำ� หนดว่า กรณผี ปู้ ว่ ยมีอายไุ มถ่ ึง 18 ปบี รบิ รู ณ์ ตอ้ ง กลายเป็นท่ีมาของโรคซึมเศร้า ก็อาจจะต้องผ่อนคลายลงมา ให้ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล เป็นผู้ให้ความยินยอม แต่ เพ่ือให้วัยรุ่นได้มีช่วงเวลาที่ปลอดจากความกดดัน ควรรับฟัง จากการท�ำงานดา้ นเดก็ และเยาวชน พบว่า ไมใ่ ชเ่ ดก็ ทกุ คนที่ ปัญหาหรอื ความรสู้ ึกของพวกเขาอย่างเข้าใจ กล้าบอกหรือพาพ่อแม่ไปด้วย หรือบอกไปแล้วเกิดการตีตรา หาว่าเป็นบ้า เพราะไม่ให้ความส�ำคัญหรือไม่เข้าใจในเรื่องนี้ และท่ีส�ำคัญคือ ครอบครัวเองก็มีบทบาทส�ำคัญที่จะ ท�ำใหเ้ ดก็ อายุต่�ำกว่า 18 ปี เข้าไมถ่ งึ บริการ จึงน่าจะมีบรกิ าร ช่วยใหว้ ยั รุน่ ไดม้ ี self-esteem หรอื การรักและเห็นคณุ ค่าใน เปดิ รับรองให้เดก็ และเยาวชนก่อน ส่วนการตัดสนิ ใจจะไปรับ ตวั เอง ซงึ่ วธิ กี ารแรกๆ ในระดบั เบอื้ งตน้ คอื การไมเ่ ปรยี บเทยี บ บริการด้วยตนเอง หรืออยากไปกับพ่อแม่ น่าจะให้เด็กและ เขากบั คนอื่น และยอมรับในส่ิงท่ีพวกเขาเปน็ เยาวชนเป็นคนตัดสินใจมากกว่า ควรเป็นสิทธิของวัยรุ่นเอง ที่จะเข้าถึงการรักษา” สหัสวรรษ สิงห์ลี โฆษกสภาเด็กและ เมื่อคนในสังคมเองก็เป็นส่วนหน่ึงท่ีท�ำให้คนจ�ำนวน เยาวชน กทม. ไมน่ ้อยปว่ ยเป็นโรคซึมเศรา้ ทั้งกับผใู้ หญ่และเด็ก คนในสังคม เหล่านั้นก็ควรจะเข้ามามีบาทบาทในการแก้ไขปัญหานี้ด้วย อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ ในสถานบริการด้าน เช่นกนั .

16 ภัยคกุ คามออนไลน์ 2 ย่งิ เสพติดออนไลน์ยิง่ เสีย่ งสูง สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ และอปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ทส่ี ะดวกและรวดเรว็ ของการกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอรม์ จี ำ� นวนสงู ขน้ึ เรอ่ื ยๆ2 ไมเ่ วน้ ท�ำให้ความนิยมในการใช้สื่อออนไลน์มีมากขึ้น โดยเฉพาะ แมก้ ระทง่ั เดก็ เยาวชนไทย ในกลมุ่ เดก็ เยาวชน Gen Z (อายนุ อ้ ยกวา่ 18 ป)ี ทเี่ ตบิ โตมา ข้อมูลจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการ ในโลกยคุ ไซเบอร์ ซงึ่ พบวา่ ใชเ้ วลาไปกบั อนิ เทอรเ์ นต็ เฉลย่ี 10.22 พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) โดยศูนย์ ชว่ั โมง/วนั ในชว่ งวนั เรยี น และ 11.50 ชวั่ โมง/วนั ในชว่ งวนั หยดุ ประสานงานส่งเสริมการปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนใน โดยกจิ กรรมยอดฮติ อนั ดบั 1 คอื โซเชยี ลมเี ดยี ตามดว้ ย การหา การใชส้ ือ่ ออนไลน์ หรอื โคแพท (COPAT – Child Online ขอ้ มลู และแชต หรอื โทรศพั ทอ์ อนไลน1์ Protection Action Thailand) รว่ มกบั มลู นธิ อิ นิ เทอรเ์ นต็ รว่ ม สิ่งที่น่าจับตาจากการเปิดรับส่ือออนไลน์ในกลุ่มเด็ก พัฒนาไทย ท�ำการผลส�ำรวจ “สถานการณ์เด็กไทยกับภัย เยาวชน Gen Z นั่นคือ ภัยคุกคามทางออนไลน์ มีรายงาน ออนไลน”์ ปี 2562 กลมุ่ ตวั อยา่ งอายุ 6-18 ปี จำ� นวน 15,318 ส�ำรวจหลายชิ้นบ่งบอกว่า นับจากปี 2010 เป็นต้นมา สถิติ คน จากทวั่ ประเทศ พบวา่ 1 รายงานการส�ำรวจพฤตกิ รรมผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตในประเทศไทย ปี 2561, ส�ำนกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) หรือ ETDA 2 การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร,์ สถาบันส่ือเดก็ และเยาวชน รว่ มกับ สสส.

17 เด็กส่วนใหญ่ 89% มองว่าอินเทอร์เน็ตให้ประโยชน์ อนิ เทอรเ์ นต็ ชว่ั คราว 13% มากกว่าโทษ แต่ก็ตระหนักเร่ืองภัยอันตรายและความเสี่ยง นอกจากน้ียังพบว่า เด็ก 74% เคยพบเห็นสื่อลามก หลากหลายรปู แบบ อนาจารทางออนไลน์ 50% เคยพบเหน็ สอ่ื ลามกอนาจารเดก็ วิธีการจัดการกับปัญหาเม่ือเผชิญภัยหรือเกิดความ 6% เคยครอบครองสอ่ื ลามกอนาจารเดก็ เคยสง่ สง่ ตอ่ หรอื แชร์ เสย่ี งทางออนไลน์ พบวา่ เดก็ 54% เชอื่ วา่ เมอ่ื เกดิ กบั ตนเอง สอื่ ลามกอนาจารทางออนไลน์ ซงึ่ เปน็ การกระทำ� ผดิ กฎหมาย สามารถจดั การปญั หาดว้ ยตนเองได้ และ 86% มองวา่ สามารถ และเด็ก 2% ยอมรับว่าเคยถ่ายภาพหรือวิดีโอตนเองใน ใหค้ ำ� แนะนำ� หรอื ชว่ ยเหลอื เพอื่ นได้ ลกั ษณะลามกอนาจารแลว้ สง่ ใหค้ นอน่ื ๆ ดว้ ย โดยพฤตกิ รรม เหลา่ ในความเปน็ จรงิ เดก็ 31% เคยถกู กลนั่ แกลง้ รงั แกออนไลน์ นเี้ ปน็ ความเสย่ี งทอ่ี าจนำ� ภยั อนั ตรายมาถงึ ตวั ซง่ึ เพศทางเลอื กถกู กลนั่ แกลง้ มากทสี่ ดุ ถงึ 49% และเมอื่ ถกู กลน่ั สง่ิ ทน่ี า่ กงั วลคอื เดก็ ประมาณ 25% หรอื 3,892 คน เคย แกลง้ ทางออนไลนจ์ ะมเี ดก็ ถงึ 40% ทไ่ี มไ่ ดบ้ อกใคร นดั พบกับเพอื่ นทร่ี ู้จกั กันในโลกออนไลน์ และนัดเจอกัน เรอื่ ง ขณะเดยี วกนั เดก็ 34% เคยกลนั่ แกลง้ รงั แกคนอนื่ ทาง ท่ีเกิดตามมาคือ โดนพูดจาล้อเลียน ดูถูก และท�ำให้ เสียใจ ออนไลน์ ซง่ึ สว่ นหนงึ่ บอกวา่ เปน็ การโตต้ อบทต่ี นเอง โดนแกลง้ หลอกให้เสยี เงนิ เสียทรัพย์ ท่ีส�ำคญั ประเด็นท่ีนัดเจอกนั แล้ว สง่ิ ทเ่ี ดก็ ไดท้ ำ� เมอ่ื โดนกลนั่ แกลง้ ทางออนไลน์ อนั ดบั 1 ถูกล่วงละเมิดทางเพศเป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงมากที่สุด และ บล็อกบุคคลท่ีกระท�ำกับเรา 44% ตามด้วย 2. ลบข้อความ เกิดขึ้นจริง มี 73 คน หรือ 1.9% ตลอดจนมีความเส่ียงสูง หรอื ภาพทที่ ำ� ใหอ้ บั อาย กงั วล หรอื รสู้ กึ ไมด่ ี 38% 3. เปลย่ี นการ เพราะพอนดั เจอกนั แลว้ อาจถกู ทบุ ตี ทำ� รา้ ยรา่ งกาย หรอื ถา่ ยภาพ ตง้ั คา่ ความเปน็ สว่ นตวั 31% 4. รายงานแจง้ ปญั หาผา่ นปมุ่ แจง้ คลปิ วดิ โี อ แลว้ นำ� ไปประจาน ไปแบลก็ เมล์ ขม่ ขเู่ รยี กเงนิ ตามมา (report abuse) บนเว็บไซต์หรือเฟซบุ๊กหรือผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต 29% 5. ไม่ท�ำอะไรเลย 22% และ 6. หยุดใช้

18 ภัยคุกคามออนไลน์ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริง จากการรับแจ้งเหตุของสายด่วนไทยฮอตไลน์ มูลนิธิ อินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย (เคสที่ 1) ที่โรงเรียน จึงได้พาแม่ไปขอความช่วยเหลือที่โรงพัก เจา้ หนา้ ทช่ี ว่ ยประสานงานใหผ้ ปู้ กครองพานอ้ งผหู้ ญงิ มา ได้รับแจ้งกรณี เด็กหญิง อายุ 12 ปี ถูกล่อลวง ส่งท่ีโรงเรียน ครูพาน้องผู้หญิงไปตรวจร่างกายท่ี ละเมิดทางเพศ และถ่ายคลิปวิดีโอแชร์ทางเน็ต จึงได้ โรงพยาบาล พบรอ่ งรอยการมเี พศสมั พนั ธ์ แมจ่ งึ แจง้ ความ ประสานงานกบั ครู ซง่ึ เปน็ ครปู ระจำ� ชนั้ ของเดก็ ผมู้ าแจง้ เพ่ือด�ำเนนิ คดี เหตุ ทางไลนแ์ ละทางโทรศพั ท์ ได้ข้อมลู ดังน้ี สง่ิ ทตี่ ามมาคือ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนทราบเรื่อง ครูเลา่ วา่ เมอื่ ราว 5 โมงเยน็ ของวันเสาร์ พบแม่ แต่ไม่อยากให้ครูยุ่งเก่ียวกับคดี เน่ืองจากกลัวโรงเรียน มาตามหาลูกสาวที่โรงเรียน เกรงว่าลูกจะถูกล่อลวงไป จะเสยี ชอื่ เสยี ง สว่ นเจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจในพน้ื ทเี่ บอื้ งตน้ แจง้ กระทำ� มดิ มี ริ า้ ย เนอื่ งจากลกู หายไปทง้ั วนั แมต่ ดิ ตอ่ ไมไ่ ด้ วา่ เดก็ กระทำ� ตอ่ เดก็ คงไมส่ ามารถดำ� เนนิ คดไี ด้ และเมอื่ จนถงึ เยน็ ดว้ ยความเปน็ หว่ งจงึ มาตามหาทโ่ี รงเรยี น พบครู ลงบนั ทกึ แจง้ ความกไ็ มก่ ลา่ วถงึ คลปิ วดิ โี อทเี่ ปน็ หลกั ฐาน จงึ ไดช้ ว่ ยกนั ตามหา โดยการสอบถามเพอื่ นๆ และตรวจ ส�ำคัญในคดี ต่อมาทราบว่าแม่ไม่ทราบจะดูแลแนะน�ำ Facebook ของน้อง พบวา่ น้องน่าจะไปกบั เพื่อนชาย ลูกอย่างไร เพราะลูกอยากกลับไปคบกับเพื่อนชาย วยั 14 ปี ตา่ งโรงเรยี น นอกจากน้ี ยังพบคลิปของน้องกับ คนนัน้ อกี เพื่อนชายมีเพศสัมพันธ์กัน ถา่ ยโดยเพอื่ นๆ ซงึ่ ปรากฏ อยู่ในคลิปวิดีโอน้ันด้วย ถูกเผยแพร่อยู่ในหมู่เพื่อนๆ (เคสท่ี 2) น้อง ม.1 (13 ปี) พูดคุยกับเพ่ือนออนไลน์ นัดเพ่ือนรุ่นพ่ีผู้หญิงมาพบที่บ้าน พ่อแม่บอกว่ามีท่าทีไม่น่าไว้ใจ เหมอื นจะมาขโมยของ (ท่บี ้านติดกล้องวงจรปดิ ไว้ในหอ้ งต่างๆ) พ่อแมส่ อบถามพูดคยุ กับนอ้ งแล้วยึดโทรศพั ท์มอื ถือ มาตรวจดู จึงพบว่า น้องยังพูดคุยกับผู้ชายท่ีอ้างว่าอายุใกล้เคียงกันอีก 2-3 คนทางอินเทอร์เน็ต เป็นการพูดคุยเชิง ลามก (เชน่ ขอดอู วยั วะเพศ ชวนสำ� เรจ็ ความใคร)่ พยายามชกั ชวนใหน้ อ้ งสง่ ภาพหรือวดิ โี อทางเพศ โชวอ์ วยั วะ ฯลฯ วันท่มี าแจ้งสายด่วนไทยฮอตไลน์ มลู นิธอิ ินเทอร์เน็ตร่วมพฒั นาไทย พ่อแม่ขบั รถพาลกู สาวมาหาถึงส�ำนกั งาน พร้ินต์บทสนทนาของลูกกับเพื่อนออนไลน์มาให้ดู จากการตรวจสอบยังไม่พบภาพหรือคลิปวิดีโอลามกอนาจารของ น้อง น้องบอกแค่ว่ามีวิดีโอ facetime พูดคุยลามกกันคร้ังเดียว แต่ไม่ได้ให้อีกฝ่ายเห็นใบหน้าของตัวน้องเอง บท สนทนาทพ่ี อ่ แม่พร้นิ ต์มาใหด้ ูนั้นเขา้ ข่าย unwanted sexting (การส่งข้อความหรือสื่อลามกมาให้ โดยไมไ่ ด้รอ้ งขอ) และ grooming (การเตรียมหรือล่อลวงเด็กออนไลน์เพื่อวัตถุประสงค์ทางเพศ) กรณีนี้เจ้าหน้าที่ต้องสืบติดตาม เนื่องจากสงสัยว่าจะเป็นกลุ่มหลอกลวงเพ่ือน�ำคลิปลามกเด็กหน้าตาดี โรงเรียนดัง หรือบุตรหลานคนมีฐานะเพื่อ เอามาขม่ ขูแ่ บล็กเมล์

19 กล่ันแกล้งรังแกบนโลกไซเบอร์ หรือ Cyber Bullying วธิ กี ารคอื สง่ โพสต์ หรอื แชรข์ อ้ มลู ดา้ นลบ เปน็ เทจ็ หยาบคาย กลน่ั แกลง้ รงั แกบนโลกไซเบอร์ หรอื Cyber Bullying3 และท�ำร้ายจิตใจผู้อื่น บางกรณีการกลั่นแกล้ง เปน็ การกลน่ั แกลง้ รงั แก หรอื คกุ คามโดยเจตนาผา่ นสอื่ ดจิ ทิ ลั บนโลกไซเบอร์อาจรวมถึงการแชร์ข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่นโดย หรอื สอื่ ออนไลน์ เชน่ โทรศพั ทม์ อื ถอื คอมพวิ เตอร์ และแทบ็ เลต็ มีเจตนาเพื่อท�ำให้เจ้าตัวอับอายหรือท�ำลายช่ือเสียง อย่างไร ผกู้ ลนั่ แกลง้ จะสง่ ขอ้ ความหรอื รปู ภาพผา่ น SMS กลอ่ งขอ้ ความ กต็ ามบางครงั้ การปฏบิ ตั ติ อ่ ผอู้ น่ื โดยไมเ่ จตนาหรอื ไมส่ ภุ าพเพยี ง และแอปพลเิ คชนั หรอื สง่ ผา่ นออนไลนใ์ นโซเชยี ลมเี ดยี กระดาน ครั้งเดียว ไม่อาจถือว่าเป็นการกลั่นแกล้งได้ คุณลักษณะที่ สนทนา หรือเกมออนไลน์ที่ผู้ใช้สามารถเปิดดู มีสว่ นร่วมหรอื ส�ำคัญของการกล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์คือเป็นการกระท�ำ แบง่ ปนั เนอื้ หาได้ การกลนั่ แกลง้ ลกั ษณะนม้ี กั ทำ� ซำ�้ ๆ ไปยงั เหยอ่ื ที่จงใจ และกระท�ำต่อผู้ถูกกระท�ำซ้�ำ ๆ หลายคร้ัง ซ่ึงข้อมูล หรอื ผทู้ ่ถี กู กลัน่ แกล้งโดยผ้รู งั แกจะเปดิ เผยหรอื ปดิ บงั ตนกไ็ ด้ จาก Office of the eSafety Commissioner ของออสเตรเลยี พบว่า ในปี 2560 เด็กถึง 1 ใน 5 ได้รับผลกระทบจากการ กล่นั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ แกล้งกันบนโลกไซเบอร์ รุนแรงกว่าแกล้งกันทางกายภาพ การกลน่ั แกลง้ รงั แกบนโลกไซเบอรร์ นุ แรงกวา่ การกลนั่ แกลง้ ทางกายภาพ “รบั รใู้ นวงกว้าง ถูกกระทำ� ซ้ำ� ไมร่ ้จู บ” ทางกายภาพ (Physical Term) โลกไซเบอร (Cyber Term) - เกดิ ข้นึ ไดเ มือ่ คกู รณเี ผชญิ หนา กัน - เปนการกรทำ - เกิดขน้ึ ไดตลอดเวลา - เหย่อื หลบหลีกได ในเชิงกาวราวรุนแรง - เหย่ือหลบหลีกไมได - มีผุร ว มรับรูในวงจำกัด - เปนการกระทำที่ - มีผรุ วมรบั รูในวงกวา งผา นโลกออนไลน - ระบตุ ัวตนผกู ลนั่ แกลงได ทำซำ้ ๆ หลายครัง้ - ผูกล่ันแกลง ปกปดตวั ตนทแี่ ทจ รงิ - รบั รูถงึ ผลกระทบทเ่ี หยอื่ ไดร บั - มีความสมั พันธ - ผลกระทบทีเ่ หยอ่ื ไดร บั ไมอ าจรไู ด - แกลงไดในสถานทก่ี ายภาพ - ไมมขี อ จำกัดเง่อื นไขในเชิงพนื้ ที่ ผกู ล่นั แกลงและเหยอื่ อยใู นพืน้ ทแี่ ละ เชงิ อำนาจ ผถู กู กลัน่ แกลงเปนเปาหมายของการ เวลาเดียวกัน รงั แกไดง าย 3 มลู นธิ ิอนิ เทอรเ์ น็ตร่วมพฒั นาไทย

20 ย่งิ เสพติดออนไลน์ยิง่ เส่ยี งสูง จากการศึกษาพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทาง ผลการศึกษายงั พบว่า คนทต่ี ิดสังคมออนไลน์ ออนไลน์กับความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว ครู มากมแี นวโนม้ จะเปน็ ผกู้ ลนั่ แกลง้ ผอู้ นื่ บนโลกไซเบอร์ และเพื่อน ในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษา ในกทม. มากกวา่ คนทไี่ มต่ ดิ ออนไลนถ์ งึ 3 เทา่ ในทางกลบั กนั ปี 2562 โดยผศ.นพ.คมสนั ต์ เกยี รตริ งุ่ ฤทธ์ิ ภาควชิ า ผู้ท่ีติดสังคมออนไลน์มากก็มีแนวโน้มจะเป็นผู้ถูก จิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล กล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์และยังมีแนวโน้มท่ีจะเป็น รามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล พบว่า เด็กนกั เรยี น ผู้กดไลก์/แชร์ ข้อความรูปภาพหรือคลิปที่ก�ำลังถูก ในกทม. 1 ใน 4 เคยเป็นเหยื่อการกลั่นแกล้งทาง แกล้งบนโลกไซเบอร์มากกว่าคนท่ีไม่ติดออนไลน์ ออนไลน์ เปน็ ผกู้ ลน่ั แกลง้ (bully) 7% และเคยเป็น ถึง 2 เท่า ส่ิงที่น่าสนใจจากการศึกษาในคร้ังนี้ ทั้งเหย่ือ และผู้กลั่นแกล้ง (bully-victim) 24% คือความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างเด็กและผู้ปกครอง ในการกลนั่ แกลง้ รงั แกบนโลกไซเบอรว์ ยั รนุ่ สว่ นใหญ่ กลายเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยปกป้องเด็กและ 92% เคยพบเหน็ การรงั แกบนโลกไซเบอร์ โดยมเี พยี ง เยาวชนจากการถูกกระท�ำบนโลกออนไลน์ได้ 35% ที่เข้าไปช่วยเหลือผู้ท่ีถูกกล่ันแกล้ง ในขณะท่ี ถึง 1 เทา่ และเป็นกล่มุ ทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลือ ดว้ ยการ 26% เพิกเฉยต่อการกล่ันแกล้ง และมีถึง 28% ท่ี โพสต์ให้ก�ำลังใจผู้ท่ีถูกกลั่นแกล้งทางออนไลน์ เข้าไปซำ�้ เติมผูอ้ น่ื มากทสี่ ุด

21 หยุดพฤติกรรมเสี่ยง ใช้สอ่ื อย่างรู้เท่าทัน เด็กเยาวชนอาจเปน็ ได้ทงั้ เหยอื่ และเป็นผูก้ ลัน่ แกล้งเสียเอง เกราะป้องกันที่ส�ำคัญสิ่งแรกจึงควรหยุดพฤติกรรมเส่ียงท่ีจะถูกกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ โดยไม่เปิดเผยขอ้ มูลสว่ นตัวเพราะยิ่งเปิดมากยง่ิ เปน็ ความเสย่ี ง ไมร่ บั คนอืน่ ทไี่ มร่ ู้จักมาเป็นเพ่อื น ไมแ่ ชท หรือออกไปพบกับคนแปลกหน้า หลีกเลี่ยงการใช้รูปจริงเป็นรูปโปรไฟล์ ต้ังค่าความเป็นส่วนตัวในการ ใช้งาน ไม่ปล่อยให้ผู้อื่นรู้รหัสเข้าใช้งาน รวมถึง log out ออกทุกครั้งเมื่อใช้งานเสร็จหรือให้ผู้อื่นยืม ใช้โทรศัพท์ แตเ่ ม่ือถกู กล่ันแกล้งออนไลน์มี 8 ข้นั ตอน4 ท่ีจะรับมอื ดังน้ี 1 2 3 จำไววŒ า‹ ไม‹ใชค‹ วามผิด อยา‹ คดิ ตอบโตŒหร�อแกŒแคนŒ ของเรา อย‹าตำหนิตวั เอง การตอบโตจŒ ะทำใหŒเกิด เก็บบันทกึ หลักฐาน เมื่อถกู ผอูŒ ื่นกลั่นแกลŒง ความรุนแรงมากยง�ิ ขน้� บันทกึ หนาŒ จอหร�อ ขอŒ ความไวŒเปนš หลกั ฐาน บนโลกไซเบอร 5 6 4 ไมบ‹ อกรหัสผ‹านใหŒกับใคร บอกผูŒกล่ันแกลงŒ ใหหŒ ยุดการ ขอความชว‹ ยเหล�อ กระทำ แสดงเจตนาใหผŒ Œูกลนั่ แกลงŒ ปร�กษาเพอ่� นสนทิ หร�อ เพ่�อป‡องกนั การแอบอาŒ งตวั ตน ทราบว‹าเราไม‹ยินดีทจี่ ะอยู‹ คนที่ไวŒใจ เพ่�อเล‹า ไมค‹ วรบอกรหัสผ‹านแกใ‹ คร ในสถานการณทถี่ กู แกลงŒ 8เหตกุ ารณทเ่ี กิดข้�น บอกผปŒู กครองหรอ� ครู 7 หากไดŒรบั การข‹มข�ค‹ กุ คาม บลอ็ กผŒกู ล่นั แกลŒง เพ�อ่ ไม‹ใหŒ ดวŒ ยความรนุ แรง ควรแจŒง ถกู กระทำซำ้ ๆ ควรบล็อกบคุ คล ใหŒผมูŒ ีหนาŒ ที่เก่ียวขŒอง ที่ส‹งขŒอความกลั่นแกลŒงและ จดŒ การ รายงานผŒูใหบŒ รก� ารส่�อสงั คม ออนไลน นอกจากนย้ี งั มหี นว่ ยงานภาครฐั และเอกชน วนั รวมถงึ จดั กจิ กรรมอบรมการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ อยา่ ง เปิดบริการใหค้ ำ� ปรึกษาเดก็ เยาวชนผ่านชอ่ งทาง ปลอดภยั ผา่ นศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน โดย กระทรวงดจิ ทิ ลั • ห้องแชท “Child Chat Line” เพอ่ื ใหค้ ำ� เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม (ดอี )ี รว่ มกบั กองบังคบั การ ปรึกษากับเด็ก ๆ ท่ีมีปัญหาถูกกล่ันแกล้ง ภายใต้ ปราบปรามการกระทำ� ความผดิ เกยี่ วกบั อาชญากรรม โครงการ Safe Internet โดย ดีแทค ทางเทคโนโลยี (ปอท.) • บรกิ ารใหค้ ำ� ปรกึ ษาผา่ น “Stop Bullying • สายด่วนกรมสุขภาพจิต 1667 และ 1323 Chat Line” ในชว่ งเวลา 16.00-22.00 น.ของทกุ • มูลนธิ ิสายเด็ก ChildLine 1387 4 การกล่ันแกลง้ บนโลกไซเบอร,์ สถาบนั สื่อเด็กและเยาวชน ร่วมกับ สสส.

22 บทบาทพ่อแม่ 5 บทบาทของครู • ท�ำใจเย็นๆ รับฟังด้วยเหตุผล ไม่ใช้ • ไมเ่ พกิ เฉยตอ่ ปญั หาการขม่ เหงรงั แกกนั อารมณ์ บอกลูกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นน้ันไม่ใช่ความผิด ของเด็ก ควรแก้ไขปัญหาที่ต้นตอ โดยการมี ของเขา ให้ลูกเข้มแข็ง อดทน อย่าไปให้ความ สว่ นรว่ มของเดก็ และครอบครัว สนใจมากเพราะยิ่งท�ำให้คนแกล้งสนุกและท�ำ • ครูควรสอนทักษะรู้เท่าทันส่ือให้เด็กๆ ต่อไปเรื่อยๆ เลือกเช่ือ เลือกแชร์ข่าวสารข้อมูลที่รับมา ต้อง • ช่วยลูกแก้ไขปัญหา เช่น ปิด บล็อก ฉกุ คดิ เสยี กอ่ นวา่ หากไมใ่ ชเ่ รอื่ งจรงิ แลว้ สง่ ตอ่ กนั เพื่อนที่แกล้ง ลบข้อความหรือภาพที่โดน ไปจะเป็นการให้ร้ายหรอื ละเมดิ ซ้�ำเหยื่อหรือไม่ ตัดต่อ • ขอความช่วยเหลือจากครูหรือเจ้าหน้าที่ บทบาทของผู้ให้บรกิ าร เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก เว็บไซต์หรือโซเชียลมีเดีย • ก่อนหยิบย่ืนโทรศัพท์มือถือให้ลูก ต้อง สอนให้เข้าใจว่ามีภัยอันตรายอะไรบ้างบน • ควรมกี ฎกตกิ าเพอ่ื ตอ่ ตา้ นการกลนั่ แกลง้ โลกไซเบอร์ เช่น การรับเพ่ือนใหม่ การพูดคุย รังแกกันบนพื้นท่ีให้บริการของตน โดยประกาศ กับเพ่ือน การโพสต์ข้อมูลหรือภาพส่วนตัว ชดั เจนวา่ ห้ามท�ำและมมี าตรการด�ำเนินการกับผู้ มากเกินไป ฝา่ ฝนื ควรมปี ่มุ รบั แจ้งหรือรายงานกรณถี กู กล่ัน • ควรสอนให้ลูกรู้จักการตั้งค่าความ แกล้งรังแกเพื่อให้เด็กขอความช่วยเหลือในการ ปลอดภัยในการใช้ส่ือโซเชียลมีเดีย เช่น ใน ลบเนื้อหาที่ท�ำให้อับอายหรือเสื่อมเสีย จัดเจ้า Facebook สามารถต้ังค่าได้ว่าจะให้ใครมา หนา้ ทคี่ อยใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� ชว่ ยเหลอื เยยี วยา โพสต์อะไรบนพ้ืนที่ของเรา หรือจะให้ใครเห็น จติ ใจและความเสยี หายของเหยอื่ ประสานสง่ ตอ่ โพสต์ของเราได้บ้าง ไปยังสถานพยาบาล ด�ำเนินการกับผู้กลั่นแกล้ง รวมถึงให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ีผู้บังคับใช้ 5 มลู นธิ อิ นิ เทอร์เนต็ รว่ มพัฒนาไทย กฎหมายหรอื หน่วยงานอื่นๆหากจ�ำเปน็

23 ทางเลอื ก-ทางรอด 3 ของ ‘เด็กและวัยรุ่น’ ในการเดินทาง “ชั่วโมงละ 3 คน” ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ประมาณการ ว่าในปี ค.ศ.2018 ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตบนท้องถนน คือจ�ำนวนผู้เสียชีวิต รวมกนั 22,491 คน คดิ เปน็ 32.7 คนตอ่ ประชากรแสนคน สงู จากอบุ ัติเหตุบนท้องถนน ทสี่ ดุ ในอาเซยี น และมากกวา่ คา่ เฉลย่ี ของทง้ั โลก คอื 18.2 คน ของประเทศไทย ต่อประชากรแสนคนอยู่ ‘เกือบเท่าตัว’ โดยกว่า 74% เสียชีวิตจากยานพาหนะสองล้อและสามล้อ ซึ่งส่วนใหญ่ ใน นัน้ นา่ จะหมายถึงรถจักรยานยนต์ หรือ ‘มอเตอรไ์ ซค’์ ท้งั ใน ฐานะคนขแ่ี ละคนซอ้ น1 1 Global status report on road safety 2018 – WHO

24 แม้เราจะคุ้นชินกับช่วงเวลา ‘7 วันอันตราย’ ท่ีหน่วย ประมาณ 10.1 ล้านคน โดยเฉพาะเพศชาย อุบัติเหตุ งานของรัฐรณรงค์และกวดขันการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อลด ทางถนนเป็นสาเหตุอันดับหนึ่ง (20%) โดยเฉพาะคนในช่วง จำ� นวนอบุ ัติเหตทุ างถนน รวมไปถงึ ลดจ�ำนวนคนเจบ็ และ คน อายุ ระหว่าง 15-29 ปี คอื วยั รนุ่ จนถงึ วยั ทำ� งานตอนต้น สว่ น ตาย ทั้งในช่วงเทศกาลสงกรานต์และเทศกาลส่งท้าย เพศหญิงเป็นสาเหตุอันดับสาม (9%) เฉล่ียใกล้เคียงกัน ปีเก่า-ต้อนรับปีใหม่ แต่แท้จริงแล้วคนไทยเสียชีวิตบน ทุกชว่ งอาย2ุ ท้องถนนกนั ท้ังปี ส่ิงทนี่ ่าสนใจก็คือ สาเหตกุ ารเสียชีวติ หลังเกดิ อุบตั ิเหตุ หากดคู า่ เฉลยี่ การเสยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตทุ างถนนในชว่ ง บนทอ้ งถนนสว่ นหน่งึ เกิดจากการบาดเจ็บท่ี ‘ศีรษะ’ ของผู้ใช้ 7 วนั อนั ตราย ตอนเทศกาลปใี หม่ ค.ศ. 2018 จะอยู่ทีว่ นั ละ รถจกั รยานยนต์ มลู นธิ เิ มาไมข่ บั เคยเปดิ ขอ้ มลู วา่ ในปี พ.ศ.2559 66 คน สูงกว่าคา่ เฉลยี่ การเสียชวี ติ ท้ังปี ที่ WHO รวบรวมซ่งึ มเี ดก็ และเยาวชน ซงึ่ หมายถงึ ประชากร ไทยอายรุ ะหวา่ ง 15- อยู่ท่ี 62 คน เพยี งเลก็ นอ้ ยเท่านน้ั 25 ปี เสียชีวิตเฉลี่ยวันละ 10 คน โดย กว่า 80% เสียชีวิต ทสี่ ำ� คญั ‘อบุ ตั เิ หตทุ างถนน’ ถอื เปน็ สาเหตขุ องการ ‘เสยี เพราะไม่สวมหมวกกนั นอ็ ก ชีวิตก่อนวัยอันควร’ (หมายเหตุ: การ‘เสียชีวิตก่อนวัย ‘หมวกกนั นอ็ ก’ จงึ นา่ จะเปน็ อปุ กรณท์ ช่ี ว่ ยลดความ สญู อันควร’ (premature mortality) คือการเสียชีวิตก่อนอายุ เสียดังกล่าวได้ ผ่านการป้องกันและลดความรุนแรงจาก คาดเฉล่ยี หรือ life expectancy ซึง่ ประเทศไทย ยึดตัวเลข การบาดเจ็บที่ศีรษะ แต่ท�ำไมผู้ใช้รถจักรยานยนต์ไม่ว่าจะ เพศชาย 80 ปี และเพศหญงิ 82.5 ป)ี ลำ� ดบั ตน้ ๆ ของคนไทย ขับขเ่ี องหรือซอ้ นท้ายถึงไม่นิยม โดยขอ้ มลู ปี พ.ศ .2557 พบวา่ มคี นไทยเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อนั ควร 2 รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บ ของประชากรไทย พ.ศ.2557

25 คนไทยใส่หมวกกันน็อกไม่ถึง 50% เราสวมหมวกกันน็อกกันบ้างไหม ทุกคร้ังท่ีขึ้น จับ-ปรับ ไปจนถึงการแจกหมวกนิรภัยให้ใชฟ้ รี นับแสนใบ มอเตอรไ์ ซคร์ บั จา้ ง ขไ่ี ปบา้ นเพอ่ื นหรอื ซอื้ ของใกลบ้ า้ น – หาก แต่ข้อมูลจากการส�ำรวจโดยมูลนิธิไทยโรดส์ เครือข่าย คณุ ตอบวา่ ใสบ่ า้ งไมใ่ สบ่ า้ ง คณุ จะอยใู่ นกลมุ่ คนไทย ‘สว่ นใหญ’่ ท่ี เฝ้าระวังสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน และ สสส. ไม่ได้สวมหมวกกันน็อกเป็นประจ�ำ เวลาที่โดยสารรถ ซ่ึงจดั ทำ� ตอ่ เน่ืองระหว่างปี พ.ศ. 2553-2561 โดยส�ำรวจผใู้ ช้ จักรยานยนต์ รถจกั รยานยนต์รวม 1.53 ลา้ นคนั ครอบคลุมทั้ง 77 จงั หวัด แมว้ า่ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 และทแี่ กไ้ ข ทวั่ ประเทศพบวา่ แมแ้ นวโนม้ การสวมหมวกนริ ภยั ของคนไทย เพิ่มเติม รวมถึงกฎกระทรวง ฉบับปี พ.ศ. 2535 จะก�ำหนด มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย ยังไม่ถึงคร่ึงหน่ึงหาก นับรวมท้ังผู้ โทษ ของผู้ขับขี่และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวก ขับขแี่ ละผูโ้ ดยสาร โดยระหว่างปี พ.ศ. 2553-2561 เฉพาะผู้ กันน็อกหรือ ‘หมวกนริ ภัย’ ไว้ท่ีปรบั เงิน 500 บาท (ถ้าเป็นผู้ ขับขี่สวมหมวกนิรภัยลดลงจาก 53% เป็น 52% เฉพาะ ขับข่ีและ ไม่ให้ผู้โดยสารใส่หมวกกันน็อกจะปรับเพ่ิม ผู้โดยสารสวมหมวกนิรภัยเพ่ิมขึ้นจาก 19% เป็น 22% และ อีกเท่าตัวเป็น 1,000 บาท) รวมถึงภาครัฐออกมารณรงค์ ถ้านับรวมท้ังผู้ขับขี่และผู้โดยสารท่ีสวมหมวกนิรภัยจะเพิ่ม การสวมหมวกกนั นอ็ กอยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ เวลานบั สบิ ปี โดยเฉพาะ จาก 44% เป็น 45%3 ในปี พ.ศ. 2554 ซง่ึ รฐั บาลเดนิ หนา้ โครงการ ‘สวมหมวกนริ ภยั 100%’ ทงั้ ผา่ นการรณรงคป์ ระชาสมั พนั ธ์ การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย 3 เวบ็ ไซต์หน่วยเฝา้ ระวงั และสะทอ้ นความปลอดภยั ทางถนน http://trso.thairoads.org/statistic/helmet อัตราการสวมหมวกกันน็อกของคนไทยในปี พ.ศ. 2561 จ�ำแนกตามต�ำแหน่งที่นั่ง เฉพาะ เฉพาะ ผขู้ บั ข่ี ผ้โู ดยสาร รวมผูข้ ับข่ี 52% 22% 45%และผโู้ ดยสาร จ�ำแนกตามกลุ่มอายุ

26 เมอื่ แยกตามพน้ื ที่ เฉพาะปี พ.ศ.2561 คนในเขตชมุ ชน และหากแยกตามวยั ผูใ้ หญจ่ ะสวมหมวกนริ ภัย (48%) เมอื งหลกั (กทม.และชมุ ชนเมอื งทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ มากกว่าวัยรุ่น (22%) และเด็ก (8%) อย่างมีนัยส�ำคัญ หาก ของจงั หวดั ) จะสวมหมวกกนั นอ็ กถงึ 87% มากกวา่ เขตชมุ ชน ย้อนดูสาเหตุการเสียชีวิตของวัยรุ่นและเด็กจากอุบัติเหตุทาง เมืองรอง 45% และเขตชุมชนชนบท 31% โดยทกุ ภาค อัตรา ถนนว่าสว่ นใหญ่เกิดข้ึนเพราะ – 80% ไมส่ วมหมวกกันน็อก การสวมหมวกกนั นอ็ กเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งชา้ ๆ ยกเวน้ ภาคตะวนั ออก การไม่สวมหมวกกันน็อกเป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด เฉยี งเหนอื อันตรายถงึ ชวี ิตเมอ่ื เผชญิ กบั อุบตั ิเหตุทางถนน แล้วทำ� ไมเด็กและวัยรุ่นถึงไมค่ ่อยใสห่ มวกกันน็อก ท�ำไมไม่ใส่ ‘เคยชิน – หาซื้อยาก’ สาเหตทุ เี่ ดก็ และวยั รนุ่ ไมใ่ สห่ มวกกนั นอ็ กมอี ะไรบา้ ง จากการรวบรวมการใหค้ ำ� ตอบผา่ นโซเชยี ลมเี ดยี ซง่ึ พบวา่ มกี ารให้ เหตุผลถึงการไม่ใส่หมวกกันน็อกระหว่างวัยรุ่นและเด็กที่แตกต่างกันอยู่พอสมควร โดย Wisesight รวบรวมข้อมูลที่มี การพดู ถงึ เหตผุ ลทไ่ี มส่ วมหมวกกนั นอ็ กบนโลกออนไลน์ ระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2561 – เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ.2562 จำ� นวน 1.42 หมื่นข้อความ พบวา่ วัยรุ่น เด็ก ซึ่งมีทั้งผู้ขับขี่เองและเป็นผู้โดยสาร เหตุผลมีทั้ง ที่ส่วนมากเป็นผู้โดยสาร และมีผู้ใหญ่หรือผู้ปกครอง “เดนิ ทางในระยะใกลๆ้ ขเี้ กยี จใส”่ “ใสต่ อนกลางคนื มองทาง ขับข่ใี ห้ เหตผุ ลอันดบั 1 คือ หมวกกันนอ็ กเดก็ หาซือ้ ยาก โดย ไม่เห็น” “ใส่แล้วร้อน” “โดนขโมยหมวกกันน็อก” “ผมเสีย มีการพดู ถงึ 79% ตามดว้ ย ใส่แล้วมองไมเ่ หน็ 6% น้ำ� หนกั ไม่ ทรง/ผมเปยี ก” แตเ่ หตผุ ลบางสว่ นทนี่ า่ สนใจ กค็ อื “เปน็ ความ เหมาะกับเด็ก 6% ขนาดไม่เหมาะกับเด็ก 5% และมีท้ังการ เคยชินของเด็กต่างจังหวัดท่ีจะไม่ใส่หมวกกันน็อก”รวมไปถึง ต้ังค�ำถามว่าเด็กเล็กจ�ำเป็นต้องสวมหมวกกันน็อกจริงหรือไม่ ความเช่ือที่ว่า ถ้าอายุไม่ถึง 18 ปี ถึงถูกต�ำรวจจับสุดท้าย จนถึงต้ังค�ำถามกับเรื่องขนาดและ น้�ำหนักของหมวก กต็ ้องปล่อยตวั ออกมา กันนอ็ กทีไ่ มเ่ หมาะกับเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก หาซ้ือหมวกกันน็อกส�ำหรับเด็กยาก

27 ภาพพ่อแม่ข่ีมอเตอร์ไซค์ ข้อก�ำหนดเรอ่ื งการน่งั บนรถจักรยานยนตข์ องเด็กในชาติต่างๆ4 ไปส่งลูกเข้าโรงเรียนอาจเป็นส่ิงที่เรา เห็นได้จนชินตาทั้งใน กทม. ไปจน ออสเตรยี ตอ้ งอายเุ กนิ 12 ปี สวเี ดน ตอ้ งอายเุ กิน 7 ปี และหา้ มนงั่ ด้าน ถึงต่างจังหวัด ทว่า นพ.อดิศักดิ์ และเท้าถึงท่วี างเทา้ หนา้ ผ้ขู ี่เดด็ ขาด ผลติ ผลการพมิ พ์ ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั ออสเตรเลีย ห้ามเด็ก อายุ เบลเยยี ม ห้ามเด็กอายุต่�ำกวา่ 3 ปี น่ังเดด็ แหง่ ชาตเิ พอื่ พฒั นาเดก็ และครอบครวั ต�ำ่ กวา่ 8 ปนี งั่ เด็ดขาด ขาด อายรุ ะหวา่ ง 3-8 ปี ใหน้ ง่ั ในทน่ี งั่ พเิ ศษ มหาวิทยาลยั มหิดล สะทอ้ นประเด็น จนี – หา้ มเดก็ อายตุ ำ�่ กวา่ 12 และทุกคนต้องใส่หมวกกันนอ็ ก ท่ีน่าสนใจหน่ึงข้ึนมาว่า เด็กเล็ก ปนี ง่ั เด็ดขาด ฝรงั่ เศส เดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 5 ปตี อ้ งนง่ั ในทน่ี ง่ั ที่มีอายนุ ้อยกวา่ 6 ปี ควรจะให้ซ้อน เดนมารก์ ตอ้ งอายเุ กิน 5 ปี พิเศษซึ่งมีที่จับและท่ีวางเท้า เด็กอายุเกิน มอเตอรไ์ ซคห์ รอื ไม่ ใหน้ งั่ ตรงไหน นง่ั แต่เด็กที่สูงน้อยกว่า 135 5 ปตี อ้ งเทา้ ถงึ ทวี่ างเทา้ ทกุ คนตอ้ งใสห่ มวก ซ้อนสามได้ไหม เพราะกฎหมาย เซนติเมตร ต้องนั่งในที่นั่ง กนั นอ็ กและใสถ่ งุ มือ จราจรใหน้ ั่งมอเตอร์ไซคไ์ ดแ้ ค่ 2 คน พิเศษ ทุกคนต้องใส่หมวก เนเธอรแ์ ลนด์ ไมก่ ำ� หนดอายขุ น้ั ตำ�่ แคต่ อ้ ง เท่านั้น ถ้านั่ง 2 คนควรจะให้น่ัง กนั นอ็ ก สวมหมวกกนั นอ็ ก ดา้ นหนา้ หรอื ดา้ นหลงั ถงึ จะปลอดภยั เพราะมอเตอร์ไซค์ออกแบบมาให้น่ัง เยอรมนี เด็กอายุต�่ำกว่า สหราชอาณาจักร ไม่มีข้อก�ำหนด ซ้อนทา้ ย 7 ปตี ้องน่งั ในที่พิเศษ เรื่องอายุแต่ต้องเท้าถึงท่ีวางเท้าและต้อง “ในต่างประเทศ มีกฎหมาย อิตาลี ห้ามเด็กอายุต่�ำ สวมหมวกกนั นอ็ ก ก�ำหนดให้เด็กจะนั่งมอเตอร์ไซค์ได้ กว่า 5 ปนี ่ังเด็ดขาด สหรฐั อเมรกิ า กำ� หนดอายขุ น้ั ตำ่� ในบางรฐั ก็ต่อเมื่อเท้าถึงที่วางเท้าเท่านั้น” สเปน ต้องอายุเกิน 7 ปี เชน่ วอชงิ ตนั (5 ป)ี หลยุ เซยี นา่ (5 ป)ี เทก็ ซสั นพ.อดิศักดกิ์ ล่าว และต้องใส่หมวกกันนอ็ ก (5 ปี ยกเวน้ นงั่ มาในรถพว่ งขา้ ง) ฮาวาย (7 แม้บางคนจะดัดแปลงให้ ป)ี อารค์ นั ซอ (8 ป)ี โดยรฐั สว่ นใหญก่ ำ� หนด มอเตอร์ไซค์มีที่นั่งส�ำหรับเด็ก คล้าย วา่ ผเู้ ดนิ ทางดว้ ยรถจกั รยานยนตท์ กุ คนตอ้ ง จักรยาน แต่ผู้ผลิตก็เคยออกมา ใสห่ มวกกนั นอ็ ก ยืนยันว่า ไม่ได้สร้างมอเตอร์ไซค์ให้ ท�ำเช่นนั้นได้ เนื่องจากมอเตอร์ไซค์ จะมคี วามเร็วมากกวา่ จักรยาน คนที่ จะรอดได้เวลาเกิดอุบัติเหตุคือคนที่ หลดุ จากตวั รถเทา่ นนั้ แตถ่ า้ ยงั ตดิ อยู่ ในรถจะถูกแรงกระแทกที่หนกั ข้นึ ส่วนหมวกกันน็อกส�ำหรับ เด็กในปัจจุบัน นพ.อดิศักด์ิบอกว่า ผลติ ขน้ึ มาสำ� หรบั เดก็ ทมี่ อี ายมุ ากกวา่ 2 ปีเท่าน้ันเพราะถ้าอายุต�่ำกว่าน้ัน หมวกจะหนกั จนเกินไป 4 สหพันธ์ผู้ขับขีร่ ถจกั รยานยนต์แห่งยุโรป (FEMA) องค์การอนามัยโลก (WHO) และแหลง่ ขอ้ มลู อื่นๆ ซึ่งรวบรวมโดยผู้จดั ทำ�

28 ความเสีย่ งในการเดินทาง เพราะ สังคมเหลอ่ื มล้�ำ? T1 2543-2548 สถาบนั วจิ ยั เพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย T2 2549-2554 (TDRI) โดยณัชชา โอเจริญ ได้ประเมิน T3 2555-2560 ตัวเลขความเสียหายทางเศรษฐกิจ จาก ความสูญเสียเพราะอุบัติเหตุทางถนน เม่ือปี พ.ศ.2560 โดยประเมินจากความ เต็มใจท่ีจะจ่ายเพื่อลดอุบัติเหตุในพ้ืนที่ คิดเป็นกรณีเสียชีวิต 10 ลา้ นบาท และกรณี บาดเจบ็ 3 ล้านบาท5 และเมอื่ นำ� ตวั เลขดงั กลา่ วไปคำ� นวณ กับจ�ำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัส เพราะอุบัติเหตุทางถนน ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2556 ก็พบว่า ในแต่ละปีจะมีความ สูญเสียทางเศรษฐกิจเพราะอุบัติเหตุทาง ถนนราว 5.4 – 5.6 แสนล้านบาท คิดเป็น ตั ว เ ล ข ร า ว 6 % ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ มวลรวมของประเทศ หรือ GDP อยา่ งไรกต็ าม หากจะถอยไปมองทมี่ า ของอุบัติเหตุทางรถยนต์ส่วนหน่ึง เกิดขึ้น เพราะความเหลื่อมล้�ำในสังคมไทยโดยพบ แนวโนม้ การเสยี ชวี ติ เดก็ เยาวชนจากอบุ ตั เิ หตุ ทางมอเตอร์ไซค ์เคลื่อนย้ายจากภาคท่ีมี รายไดส้ งู ไปยงั ภาคท่มี ีรายได้ตำ่� กว่า 5 โครงการประเมนิ มาตรการความปลอดภัยทางถนน กรณีเส้นทางทา่ เรอื วดั บันได – โรงปูนทา่ หลวง และเสน้ ทางถนนมิตรภาพ – โรงปนู แก่งคอย โดยสถาบนั วิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย แสดงอัตราการตาย (/100000 คน) จากอบุ ตั ภิ ยั ทางถนนในเด็กกล่มุ อายุ 10-14 ปีในช่วงปี 2543-2560 เปรยี บเทยี บรายภาคจากภาค ที่มีรายไดจ้ ังหวัดเฉลย่ี ตำ่� สดุ (ด้านซา้ ย) ไปยงั ภาคทีม่ ีรายได้สูงสุด (ดา้ นขวา) โดยศนู ยว์ จิ ยั เพอื่ สรา้ งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเดก็ (2562)

29 รถส่วนตวั (67%) รถโดยสาร/รถตู้ (15.9%) รถเชา่ (13.5%) รถไฟ เครื่องบิน อนื่ ๆ (3.6%) การสำ� รวจพฤตกิ รรมการเดินทางท่องเท่ยี วของชาวไทย ปี 2559 (ในรอบปี 2558), สำ� นักงานสถติ ิแห่งชาติ หากดูจากรูปแบบการเดินทาง (mode of transportation) ของคนไทย ปัจจัยเชิงโคงสร้างท่ีอธิบาย อัตราอบุ ัตเิ หตแุ ละการเสยี ชวี ติ จากอุบตั เิ หตทุ างท้องถนนทีส่ งู ของคนไทย6 จะพบว่า การเดินทางด้วยระบบรางและ เครอ่ื งบนิ (ซง่ึ ถอื วา่ มคี วามปลอดภยั กวา่ ทางถนน) ของคนไทย คดิ เปน็ สดั สว่ นทต่ี ำ�่ มาก (ขอ้ มลู ปี 2558 มเี พยี งรอ้ ยละ 3.6) ที่เหลือเป็นการเดินทางทางถนนด้วย motor vehicles (ด้วยรถส่วนตัว รถโดยสาร รถเช่า) ซ่ึงแตกต่างจาก หลายประเทศพฒั นาแลว้ เชน่ ญปี่ นุ่ ซงึ่ เดนิ ทางดว้ ยระบบรถไฟฟา้ สาธารณะสงู ถงึ 72.5% ตามดว้ ยเครอื่ งบนิ 15.2% ขณะท่เี ดนิ ทางดว้ ยรถเพียง 11.8% ‘ถนนในเมืองไทยเป็นถนนท่ีอันตราย โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้าคุณเป็นคนจน’ หนังสือพมิ พช์ ่ือดงั ของสหรัฐฯ The New York Times ทำ� สกปู๊ ภาษาไทยเปน็ ครง้ั แรก เรอ่ื ง ‘Thailand’s Roads Are Deadly. Especially if You’re Poor.’ หรือแปลเป็นไทยว่า ‘ถนนใน เมืองไทยเป็นถนนท่ีอันตราย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งถ้าคุณเป็นคนจน’ เผยแพร่ในเดือน สิงหาคม พ.ศ.2562 เน้ือหาโดยสรุปคือ คนที่มี รายได้น้อยมีความเส่ียงที่จะเผชิญกับอุบัติเหตุ บนท้องถนนมากกว่าคนท่ีมีรายได้สูงกว่าด้วย เหตผุ ลหลกั 2-3 ขอ้ 1. ระบบขนส่งสาธารณะยงั ไม่ทวั่ ถึง 2. คนจนมเี งนิ พอซือ้ มอเตอรไ์ ซค์ 3. หมวกกนั น็อกดีๆ มรี าคาแพง กระทง่ั คนไทยทอ่ี าศยั อยใู่ น กทม.และปรมิ ณฑลเอง ซงึ่ มรี ะบบขนสง่ สกปู๊ ดงั กลา่ วยงั ระบดุ ว้ ยวา่ จากสถติ คิ วาม สาธารณะพร้อมที่สุดในประเทศไทย ก็มเี พยี ง 35% เทา่ นั้นทเี่ ข้าถงึ ระบบ ตายเพราะอบุ ัติเหตบุ นทอ้ งถนนของ WHO ในปี ขนสง่ สาธารณะ บางสว่ นทพ่ี อมฐี านะกเ็ ลอื กไปซอื้ รถยนตส์ ว่ นบคุ คล (40%) ค.ศ.2018 มีเพียง 12% ทีเ่ กดิ ขึ้นกับผูท้ ีโ่ ดยสาร และมีคนอีกจ�ำนวนไม่น้อยเลือกใช้รถจักรยานยนต์ส่วนตัวในการเดินทาง รถยนตส์ ว่ นบคุ คลทมี่ สี ล่ี อ้ ขน้ึ ไป สว่ นใหญม่ กั เกดิ (24%) ยานพาหนะแบบ ‘เนื้อหุม้ เหลก็ ’ และสถติ ิทพี่ ิสจู น์แล้วว่า เป็นการ ขน้ึ กับคนเดนิ เทา้ หรือผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ เดนิ ทางทมี่ ีความเส่ียงสงู 6 รายงาน ‘การเดินทางของประชาชนกรุงเทพมหานครจงั หวัดปรมิ ณฑลและพื้นท่ตี อ่ เน่อื ง’ ในปี พ.ศ.2560 ของศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศการขนสง่ และจราจร)

30 ปัญหาเร่ืองอุบัติเหตุบนท้องถนน เป็นปัญหาร่วม ท่ีเกี่ยวข้อง พัฒนาโครงสร้างถนนให้เอื้อต่อการเดินทาง ของทงั้ โลกไมใ่ ชแ่ คใ่ นประเทศไทย เพราะในแตล่ ะปี อบุ ตั เิ หตุ ฯลฯ ทางถนนจะท�ำให้มีผู้เสียชีวิตราว 1.3 ล้านคน และบาด นอกจากน้ี ยงั มขี อ้ เสนอใหใ้ ชก้ ลไกในระดบั ทอ้ งถนิ่ เจ็บระหว่าง 20-50 ล้านคน สร้างความเสียหายทั้งทาง โดยเฉพาะระดับอ�ำเภอ ในการเข้ากวดขันอ�ำเภอท่ีตาม เศรษฐกิจและสังคมอย่างมหาศาล สหประชาชาติจึง สถติ แิ ลว้ มคี วามเสย่ี งสงู มากและความเสยี่ งสงู (สแี ดงและ ประกาศใหร้ ะหว่างปี ค.ศ.2011-2020 เปน็ ทศวรรษแหง่ สสี ม้ ) ทจ่ี ะเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน จำ� นวน 283 อำ� เภอ จาก ความปลอดภยั ทางถนน (The Decade of Action for ทง้ั หมด 878 อำ� เภอ ขอ้ เสนอใหก้ วดขนั การตรวจแอลกอฮอล์ Road Safety) และยังบรรจุไว้เป็นเป้าหมายการพัฒนา ในเลอื ดของผขู้ บั ขต่ี ลอดทง้ั ปไี มใ่ ชแ่ คใ่ นชว่ งเทศกาล และ อยา่ งยงั่ ยนื (Sustainable development goals) ท่ี 3.6 ข้อเสนอให้เร่งรัดการบูรณาการข้อมูลอุบัติเหตุทางถนน ที่จะลดจ�ำนวนผู้สูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนลง 50% ทง้ั 3 ฐานขอ้ มลู (ตำ� รวจ กระทรวงสาธารณสขุ และบรษิ ทั ภายในปี ค.ศ.2020 กลาง) เพอื่ ใหเ้ กดิ ขอ้ มลู ชดุ เดยี วกนั ในการแกไ้ ขปญั หา ฯลฯ ส�ำหรับประเทศไทย รัฐบาลได้ออกมาตรการเพ่ือ ระหวา่ งน้ี เรา ในฐานะประชาชนจะมวี ธิ ใี นกาปอ้ งกนั ลดจำ� นวนอบุ ตั เิ หตบุ นทอ้ งถนนอยเู่ ปน็ ระยะ โดยปจั จบุ นั อันตรายจากการเดินทางทางถนนอย่างไร อยรู่ ะหวา่ งการบงั คบั ใช้ ‘แผนแมบ่ ทความปลอดภยั ทาง วิธีป้องกันความปลอดภัยให้กับตัวเองคือ ผู้ท่ี ถนน’ ฉบับที่ 4 ทจ่ี ะใชร้ ะหว่างปี พ.ศ.2561-2564 โดย จำ� เปน็ ตอ้ งเดนิ ทางดว้ ยรถจกั รยานยนตต์ อ้ งสวมหมวกกนั นอ็ ก ตัง้ เป้าลดจำ� นวนผูเ้ สยี ชีวิตจากอบุ ัตเิ หตุทางถนนให้เหลือ ‘ทกุ ครงั้ ’ โดย นพ.ธนะพงศ์ จนิ วงษ์ ผจู้ ดั การศนู ยว์ ชิ าการ เพียง 18.0 คน ต่อประชากรแสนคนภายในปี พ.ศ.2564 เพื่อความปลอดภัยทางถนน ให้ข้อมูลว่า จากการศึกษา (ตัวเลขปจั จบุ ัน คอื 32.7 คนต่อประชากรแสนคน) โดย โดย WHO หมวกกันน็อกที่ใส่อย่างถูกวิธีจะช่วยลดการ วธิ ดี ำ� เนนิ การ อาทิ สรา้ งกลไกปอ้ งกนั ระหวา่ งรฐั สว่ นกลาง บาดเจบ็ ศรี ษะได้ 72% ลดการเสยี ชวี ติ ได้ 39% สว่ นขอ้ มลู กับท้องถิ่น มีฐานข้อมูลอุบัติเหตุระดับชาติใน 2 ปี เพมิ่ ของประเทศไทยเอง หมวกกันน็อกช่วยลด ชวั่ โมงการเรยี นรใู้ นโรงเรยี น เพม่ิ งบประมาณและบคุ ลากร การเสยี ชวี ิตได้ 43% ในผู้ขับข่ี และลดการเสยี ชีวิตของผู้ ซอ้ นได้ 58% ตัวอยา่ ง Safety Hunter ภารกจิ พิชิตจุดเส่ียง ฝังคา่ นิยมความปลอดภยั ในวัยเรยี น สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ในโครงการภารกิจพิชิต จุดเสี่ยง “10 ทักษะความปลอดภัย : กอ่ น 10 ปี ต้องมี 10 อย่าง” โดยเปดิ รับสมคั รเด็กระดับอนุบาล 3- ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เพอื่ เรยี นรทู้ กั ษะการเอาตวั รอดเพ่ือความปลอดภัยของเดก็ สนกุ กับการฝกึ ทกั ษะความปลอดภยั 3 สถานี ( 3 ชว่ั โมงตอ่ รอบ ) สถานที ่ี 1 The Safety Hunter ภารกิจพิชิตจุดเสย่ี ง ซึ่งเปน็ การจ�ำลองสถานการณ์จดุ เสีย่ งที่เกดิ ขึน้ ทั้ง ในบ้าน การเดินทางโดยเฉพาะการเลือกสวมหมวกกันน็อก การช่วยเหลือคนตกน�้ำ บุคคลแปลกหน้า และอัคคภี ยั สถานีท่ี 2 ปฐมพยาบาลและการกู้ชีพเบอ้ื งตน้ สถานีที่ 3 ภารกิจคิดสรา้ งสรรค์ และส่ือปลอดภัย

31 ตามมาตรฐานอตุ สาหกรรมและตามกฎหมาย หมวกกนั นอ็ กท่ขี ายในประเทศไทยมอี ยู่ 3 รูปแบบ คือ - หมวกแบบเตม็ ใบปิดหนา้ - หมวกแบบเตม็ ใบและเปิดคาง - หมวกแบบครง่ึ ใบ แบบเตม็ ใบปิดหน้า แบบเต็มใบเปดิ หน้า แบบครง่ึ ใบชนดิ ท่ี 1 แบบครึ่งใบชนดิ ท่ี 2 1. เปลือกหมวก 2. รองในป้องกนั 3. รองในเพ่ือความสบาย 4. สายรดั คาง 5. กะบงั หมวก (ถา้ มี) 6. แผน่ บังลม (ถา้ มี) ภาพ-หมวกนิรภัยสำ� หรับผใู้ ชร้ ถจักรยานยนต์ 3 แบบ ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.369-2557 แม้ว่าหมวกกันน็อกแบบเต็มใบปิดหน้าจะช่วยป้องกัน ได้ดีท่สี ุด เพราะการบาดเจบ็ ไมไ่ ด้มาจากด้านบนและด้านข้าง เพยี งอยา่ งเดยี ว “แตต่ อ้ งยอมรบั หมวกกนั นอ็ กแบบครงึ่ ใบเปน็ ทนี่ ยิ มกวา่ เนอ่ื งจากสภาพอากาศ ประชาชนรสู้ กึ โปรง่ และเบา กว่า ถงึ ประสทิ ธิภาพจะสหู้ มวกกันนอ็ กแบบเตม็ ใบปิดหนา้ ไม่ ได้” นพ.ธนะพงศร์ ะบุ อกี วธิ คี อื การรณรงคใ์ หพ้ อ่ แมส่ วมหมวกกนั นอ็ กใหก้ บั ลกู ทุกคร้ังท่ีน่ังรถจักรยานยนต์ เพราะจากสถิติ มีเด็กเพียง 8% และวัยรุ่น 22% เท่าน้ันที่สวมหมวกกันน็อก นั่นแปลว่ายังมี โอกาสเพิ่มอัตราส่วนการสวมหมวกกันน็อกให้กับเด็ก ได้อีก มาก อุบัติเหตุทางถนนสร้างความสูญเสียได้ใกล้ตัวมากกว่า ทห่ี ลายคนคิด นอกจากการทำ� งานของภาครัฐดว้ ยการสร้าง ระบบขนสง่ สาธารณะใหค้ รอบคลมุ กวดขนั การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย หรือสร้างกลไกป้องกันอุบัติเหตุ ฯลฯ ภาคประชาชนก็มีส่วน ชว่ ยในการแกไ้ ขปญั หาเช่นกัน ท้ังร่วมกันป้องกนั คนใกลต้ ัว ทางเลอื ก-ทางรอดบนทอ้ งถนนของประเทศไทยยงั มอี ยู่ อยู่ท่ีว่าจะเลอื กใชก้ นั อยา่ งไร

32 4 มกลากัวกทว้อ่างตดิ โรค (เมอื่ โรคตดิ ต่อทางเพศในวัยรุ่นมีแนวโน้มสูงข้นึ ) ปัญหาเรอ่ื ง ‘แม่วยั ใส’ หรอื การต้งั ครรภใ์ นวยั รุน่ เปน็ ในปัจจุบันปัญหาน้ีเร่ิมบรรเทาเบาบางลงไปแล้ว เมื่อ ส่ิงที่ภาครัฐให้ความส�ำคัญมานาน ถึงขั้นออกกฎหมายข้ึนมา วยั รนุ่ ของไทยมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ การ จัดการปัญหานี้โดยเฉพาะ และสภาพัฒน์ต้องทำ� รายงานสรุป ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน กลับพบ สถานการณ์นเ้ี สนอต่อทปี่ ระชมุ ครม. เปน็ ประจ�ำ มกี ารจัดทำ� ปัญหาที่ไม่คาดฝันบางอย่างข้ึนมาแทน โดยเฉพาะเร่ืองของ แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ แกไ้ ขปญั หานอ้ี ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพราะการตง้ั ‘โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์’ ที่มีแนวโนม้ สงู ขนึ้ เรอ่ื ยๆ ทอ้ งโดยไมพ่ รอ้ ม มแี นวโนม้ ทจี่ ะสรา้ งปญั หาทางสงั คมอน่ื ๆ ตอ่ ไป ท้งั ดา้ นสังคม เศรษฐกจิ การศกึ ษา ไปจนถงึ สาธารณสขุ เหตุใดจึงเป็นเชน่ นั้น ทง้ั ทว่ี ิธีแก้ปญั หาท้งั 2 เร่อื ง ควร จะเป็นวิธเี ดียวกัน

33 เมอ่ื สถานการณ์ ‘แมว่ ัยใส’ เร่ิมคลีค่ ลาย ปัญหาแม่วัยใสเคยเป็นปัญหาใหญ่ท่ีผู้เก่ียวข้องต้องมา สถาบันอนามัยเจรญิ พันธุ์ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ รว่ มกนั ขบคดิ เพราะหลายครง้ั ไดส้ รา้ งปญั หาอน่ื ๆ ตามมา กระทง่ั มกี ารออก พ.ร.บ.การปอ้ งกนั และการแกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภ์ ในวยั รนุ่ พ.ศ.2559 เพอ่ื มาจดั การปญั หานโี้ ดยเฉพาะ ดว้ ยการ จัดตง้ั ‘คณะกรรมการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ น วยั รนุ่ ’ ซงึ่ มนี ายกรฐั มนตรเี ปน็ ประธาน มรี ฐั มนตรแี ละปลดั จาก กระทรวงทเ่ี กยี่ วขอ้ งรว่ มเปน็ กรรมการ นอกจากนยี้ งั มกี ารออก แผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วยั รนุ่ ระดบั ชาติ พ.ศ.2560-2569 ตามมา โดยตง้ั เปา้ หมายลด จำ� นวนแมว่ ยั ใสลงจนเหลอื ไมถ่ งึ ครง่ึ ภายในปี พ.ศ.2569 ในชว่ งเวลาหนง่ึ สถานการณแ์ มว่ ยั ใสถอื วา่ หนกั หนาสาหสั มาก มเี ดก็ ไทยอายตุ ำ่� กวา่ 20 ปี คลอดลกู วนั ละ 355 คน โดยหนง่ึ ในสามเกดิ จากการตงั้ ทอ้ งโดยไมต่ ง้ั ใจ1 ผลจากการเป็นแม่วัยใสจะท�ำให้เจ้าตัวเผชิญอุปสรรค ทางการเรยี น เจอปญั หาดา้ นหนา้ ทกี่ ารงาน ถกู ตตี ราทางสงั คม รวมถงึ เผชญิ ปญั หาชวี ติ สว่ นตวั บางครง้ั อาจเผชญิ ปญั หาสขุ ภาพ เพราะถกู กดดนั ใหท้ ำ� แทง้ บางครงั้ ถกู กดดนั ใหแ้ ตง่ งานเพอื่ รกั ษา หนา้ ของผเู้ กยี่ วขอ้ งหรอื เพอื่ หลกี เลย่ี งกระบวนการทางศาล ขณะ ที่รุ่นลูกก็เผชิญปัญหาต่างๆ ทั้งจากการเลี้ยงดูของพ่อแม่ที่ไม่ พรอ้ ม และอาจกลายเปน็ ปญั หาสงั คมในเวลาตอ่ มา2 หากดูจากสถิติการคลอดในวัยรุ่นช่วงเวลาหลัง สถานการณ์แมว่ ัยใสน่าจะมาถึงจดุ สูงสุดในปี พ.ศ.2555 เมื่อ อตั ราคลอดของเดก็ ไทยชว่ งอายุ 10-14 ปี พงุ่ แตะ 1.8 คนตอ่ ประชากรพนั คน และเดก็ ไทยชว่ งอายุ 15-19 ปี พงุ่ แตะ 53 คน ตอ่ ประชากรพนั คน หลงั จากนน้ั สถติ ทิ ง้ั 2 ชว่ งวยั กล็ ดลงอยา่ งมี นยั สำ� คญั โดยอตั ราคลอดของเดก็ ไทยในชว่ งอายุ 10-14 ปี เหลอื 1.2 คนตอ่ ประชากรพนั คน และชว่ งอายุ 15-19 ปี ลดลงเหลอื 35 คนจากประชากรพนั คน เมอื่ มาถงึ ปี พ.ศ.2561 หรอื ลดลง ประมาณ 33% ทง้ั สองชว่ งวยั 3 1 รายงาน ‘แม่วยั ใส การตง้ั ครรภใ์ นวัยรุ่น’ จดั ทำ� โดยส�ำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ.2556 2 ‘การวเิ คราะหส์ ถานการณ์การตั้งครรภใ์ นวัยรุ่นของประเทศไทย’ จดั ทำ� โดย UNICEF เมื่อปี พ.ศ.2558, สถาบนั อนามัยเจริญพนั ธ์ุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ 3 กองระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

34 ทอ้ งนอ้ ยลง แต่ติดโรคเพมิ่ ขน้ึ หลายฝ่ายพยายามวิเคราะห์สาเหตุของการที่อัตราการ คลอดในวัยรุ่นลดลง และให้เหตผุ ลท่แี ตกต่างกันออกไป บ้างวา่ เป็นเพราะการให้ความรู้ของท้ังภาครัฐและภาคเอกชนที่ท�ำมา อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เพศสัมพนั ธ์มากขน้ึ บา้ งก็ว่าเกดิ จากการบงั คบั ใช้กฎหมายและ ยุทธศาสตร์ต่างๆ ที่ท�ำให้หน่วยงานราชการท�ำงานไปในทาง เดียวกัน หรอื ดว้ ยเหตุปจั จยั อน่ื ๆ ซ่ึงตอ้ งวเิ คราะห์กนั ตอ่ ไป แต่ในขณะที่อัตราการคลอดในวัยรุ่นลดลง ส่ิงที่เพิ่มข้ึน กลบั เปน็ การตดิ โรคทางเพศสมั พนั ธ์ จาก 41.6 ตอ่ ประชากรแสน คนในปี พ.ศ.2550 กลายมาเปน็ 169.2 คนตอ่ ประชากรแสน คนในปี พ.ศ.2561 กล่าวคือเพิ่มขึ้น ‘มากกวา่ 3 เท่าตัว’4 โดยเฉพาะ 5 โรคท่ีมีแนวโน้มสูงข้ึนในกลุ่มวัยอายุ ช่วง แต่จากสถิติ ถึงวัยรุ่นจะมีอัตราการใช้ถุงยาง อายุ 15-24 ปี ทั้งซิฟลิ ิส หนองใน หนองในเทียม แผลริมอ่อน อนามัยที่สูงขึ้น ทว่าการใช้ถุงยางอนามัย ‘อย่าง และฝมี ะมว่ ง โดยเฉพาะซิฟิลิส และหนองใน สมำ�่ เสมอ’ ยงั อยใู่ นอัตราท่ตี �ำ่ วัยรุ่นตดิ โรคเพม่ิ ข้นึ และนอกเหนอื จากโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ 5 212.66 โรคยอดนิยมทวี่ ัยรุ่นมแี นวโน้มจะเป็นสูงขนึ้ อกี โรคที่ ลมื ไมไ่ ดก้ ค็ อื การตดิ เชอ้ื HIV ทจ่ี ากสถติ ิ คนไทยในชว่ ง 169.12 อายุ 15-24 ปี ตดิ เช้ือเพิ่มจาก 93 คนต่อประชากร 127.08 143.4 161.18 แสนคน มาเปน็ 161 คนตอ่ ประชากรแสนคน หรอื เพมิ่ ขน้ึ 103.37 เกินกว่า 70% ในช่วงเวลา 5 ปเี ทา่ นนั้ แมห้ นว่ ยงานราชการจะมกี ารแจกถงุ ยางอนามยั ใหฟ้ รมี า เพราะวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใส่ถุงยาง หลายปแี ลว้ โดยสามารถไปขอรบั ไดท้ ่ีศนู ยบ์ ริการสุขภาพ ศูนย์ อนามัยอย่างเป็นประจ�ำ ท�ำให้ติดโรค...แล้วท�ำไม บริการสาธารณสุข ที่ท�ำการอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) วัยรุ่นทอ้ งนอ้ ยลง นคี่ ือคำ� ถามสำ� คญั อนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล (รพ.สต.) คลินกิ นิรนาม โรงพยาบาลของรัฐ ฯลฯ 4 กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

35 รู้จัก 5 โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ยอดฮิต ที่วัยรุ่นไทยเป็นกันมาก5 1 ซิฟิลิส (Syphilis) 2 หนองใน (Gonorrhea) เปน็ โรคอนั ตรายและเรอ้ื รงั สามารถ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียท�ำให้เกิด เป็นติดต่อยาวนานกว่า 2 ปี เร่มิ แรกจะเปน็ อาการระคายเคอื ง แสบขดั เวลาปสั สาวะ และ ก้อนแข็ง แต่ไมเ่ จ็บทีบ่ รเิ วณอวยั วะเพศ หาก มหี นองไหลออกจากทอ่ ปสั สาวะ อาจจะทำ� ให้ ไมร่ กั ษาจะกลายเปน็ ระยะทส่ี องทเ่ี รยี กวา่ เขา้ เกิดการอกั เสบในชอ่ งท้อง หรือเปน็ หมันหาก ขอ้ หรอื ออกดอก ถา้ ทงิ้ ไวน้ านจะทำ� ใหเ้ กดิ โรค ไม่ไดร้ ับการรักษา ในระบบอวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกายหลายระบบ ทั้งซิฟิลิสระบบหัวใจและหลอดเลือด ซิฟิลิส 4 แ(Cผhลaรnิมcอrอ่oนid) ระบบประสาท ท่ีส�ำคัญคือมารดาท่ีเป็นโรค ท�ำใหเ้ กดิ แผลที่อวัยวะเพศ บวม และ เจ็บ บางคนมีต่อมน�้ำเหลืองท่ีขาหนีบหรือที่ 3ซฟิ ลิ ิสจะถ่ายทอดเชอ้ื โรคสทู่ ารกในครรภไ์ ด้ ชาวบ้านเรียกไข่ดันบวม หากไม่รักษาหนอง (หCนhอlaงใmนเyทdียiaม) จะแตกออกจากตอ่ มนำ้� เหลอื ง มกั มหี ลายแผล ท�ำให้มีอาการแสบปลายท่อปัสสาวะ ขอบแผลนุ่มและไม่เรียบ ก้นแผลสกปรกมี หนอง มีเลือดออกง่าย เวลาสัมผัสเจ็บปวด ปัสสาวะขัดและมีหนองไหล และมีมูกออก มาก เล็กน้อยโดยเฉพาะในช่วงเช้า ส่วนผู้หญิง อาจมอี าการตกขาวผดิ ปกติ 5 ฝีมะม่วง (Lymphogranu- loma venereum – LGV) มีแผลท่ีอวัยวะเพศ ต่อมน้�ำเหลืองที่ ขาหนีบโต มหี นองไหลออกมา นอกจากนย้ี ัง มอี าการทอ่ ปสั สาวะอักเสบ และอาจมีหนอง และเลือดออกมาจากรูทวาร เมื่อปวดเบ่ง อุจจาระ 5 เวบ็ ไซต์ สสส. และ www.คยุ เร่ืองเพศ.com

36 ใชย้ าคมุ ได้ ก็ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพึง่ ถงุ ยางอนามยั ? จากการศกึ ษาขอ้ ความบนสอ่ื สงั คมออนไลน์ ชว่ งระหวา่ ง เดอื นกรกฎาคมของ พ.ศ.2561-เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2562 พบ ข้อความเกี่ยวกับการ ‘ไม่ใช้ถุงยางอนามัย’ รวมกันกว่า 1.7 หม่ืนขอ้ ความ เหตผุ ลหลกั ๆ ท่ีวัยรนุ่ ไมใ่ ชถ้ ุงยางอนามยั อาทิ 1. แพง มกี ารเปรยี บเทียบวา่ แพงกวา่ ค่าขา้ ว จะไปต้ัง ขายถูกๆ ในโรงเรียนก็ถูกคดั ค้าน 2. ไมก่ ลา้ ซอ้ื ถงุ ยางอนามยั โดยเฉพาะการซื้อจากรา้ น สะดวกซอ้ื เพราะเขินอายแคชเชยี ร์หรือกลัวถูกแซว จากคนอน่ื ๆ 3. ใชย้ าคุมแทนการซอ้ื ถุงยางอนามยั ท้ังยาคมุ ปกติหรอื ยาคมุ ฉุกเฉิน 4. ใส่แลว้ ไม่รูส้ ึก เป็นความเชอื่ ว่าการใส่ถงุ ยางอนามยั จะ “ไม่สนกุ เหมอื นสด” “ไม่มัน” 5. ปกตกิ ็ไม่ได้ใสถ่ ุงยางอนามยั อยู่แลว้ หรอื กระทงั่ การติดเชอ้ื HIV ในปจั จุบนั ก็มยี า PEP นอกจากน้ี วยั รนุ่ จ�ำนวนไม่นอ้ ยยงั มองว่า การใช้ถุง หรอื ยา PeRP ทใ่ี ชต้ ้านทานเชือ้ ได้อกี ยางอนามัยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั การทอ้ งมากกวา่ จะปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ ซง่ึ สว่ นใหญร่ กั ษา ไดแ้ ม้ใช้เวลานาน 60 61.5 70.6 69.2 66.4 60 56.1 55.1 47.5 50 58.5 55.0 45 32.6 60.4 53.1 52.9 44.8 22.8 29.8 14.6 14.4 สำ� นักระบาดวทิ ยา กรมควบคุมโรค

37 สำ� หรบั ขอ้ แตกตา่ งของยาทง้ั 2 ชนดิ ศนู ยว์ จิ ยั โรคเอดส์ อย่างไรก็ตาม ยาท้ัง 2 ชนดิ มีจดุ อ่อนคือ ยา PEP ต้อง สภากาชาดไทยใหข้ ้อมูลวา่ ใช้ในกรณีฉุกเฉินและต้องกินให้เร็วที่สุด แต่ก็มีผลในการ ปอ้ งกนั เชอื้ HIV เพยี ง 80% เทา่ นน้ั สว่ นยา PrEP แมจ้ ะปอ้ งกนั ยา PEP ยอ่ มาจาก Post-Exposure Prophylaxis เปน็ เชอื้ HIV ไดเ้ กือบ 100% แตไ่ ม่สามารถปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ทาง ยาปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ HIV ในกรณฉี กุ เฉนิ ทตี่ อ้ งรบั ประทานให้ เพศสมั พนั ธอ์ น่ื ๆ ได้ จงึ ต้องใชร้ ่วมกับถุงยางอนามยั ท่ีส�ำคัญ เรว็ ที่สดุ หลังสมั ผัสความเสี่ยงท่จี ะตดิ เชือ้ HIV โดยจะตอ้ งเริม่ คอื ต้องมวี ินัยในการกนิ คือรับประทานในชว่ งเวลาเดยี วกันใน รบั ประทานภายใน 72 ชวั่ โมงหลงั มคี วามเสย่ี ง และรบั ประทาน ทุกๆ วัน ตดิ ต่อกันนาน 28 วนั จะเห็นได้ว่า ท่ีสุดแล้วกระท่ังสภากาชาดไทยก็ยัง ผทู้ ่จี ะกนิ ยา PEP กค็ อื ผูท้ ี่มีเพศสมั พนั ธ์กับผู้ท่ีอาจจะ แนะน�ำให้ใช้ถุงยางอนามัย เพราะสามารถป้องกันโรคติดต่อ มเี ชอื้ HIV โดยไมไ่ ดใ้ ชถ้ งุ ยางอนามยั (หรอื ถงุ หลดุ หรอื ฉกี ขาด) ทางเพศสัมพันธ์ได้ถึง 98% (นอกเหนือจากท่ีป้องกันการตั้ง ผทู้ ่ถี กู ลว่ งละเมิดทางเพศ และผู้ท่ใี ชเ้ ขม็ ฉดี ยารว่ มกับผู้อื่น ครรภ์ไดอ้ ยแู่ ล้ว) สว่ น ยา PrEP ยอ่ มาจาก Pre-Exposure Prophylaxis คือยาทใี่ ชใ้ นการปอ้ งกันเชอื้ HIV กอ่ นการสัมผัสโรค โดยการ รับประทานยาวันละหนึ่งเมด็ ทกุ วนั ผู้ทีจ่ ะกนิ ยา PrEP มอี าทิ ชายท่ีมเี พศสัมพนั ธช์ าย ผู้ทม่ี ีเพศสมั พันธ์กบั ผทู้ ่มี เี ชอื้ HIV ผทู้ ี่ มคี นู่ อนหลายคน ผทู้ ที่ ำ� งานบรกิ ารทางเพศ ผทู้ ม่ี าขอรบั บรกิ าร ยา PEP อยูเ่ ปน็ ประจำ� โดยไมส่ ามารถลดพฤตกิ รรมเสย่ี งลงได้ ผู้ที่ใช้สารเสพติดชนิดฉีด ผู้ท่ีมีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ภายใน 6 เดอื นท่ผี ่านมา เปน็ ตน้

38 ยอ้ นรอยการผลกั ดนั ให้ใชถ้ งุ ยางฯ แมป้ ญั หาแมว่ ยั ใสจะคลคี่ ลายไปในระดบั หนง่ึ แตก่ ารให้ • ดา้ นอปุ ทานหรอื การสนบั สนนุ จดั หาและการกระจาย ความรูแ้ ก่วยั ร่นุ เพ่ือแก้ไขความเขา้ ใจผิดวา่ ถงุ ยางอนามยั ไมไ่ ด้ มีไว้เพ่ือป้องกันการต้ังครรภ์เท่าน้ัน ยังรวมถึงการป้องกันโรค พบว่า ยังมีอุปสรรคในความพยายามสนับสนุนถุงยาง ติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ โดยเฉพาะเชื้อ HIV อีกดว้ ย ผ่านช่องทางอื่นๆ เพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงถุงยาง อนามัยได้ง่ายในราคาไม่แพง ยังขาดการคาดประมาณความ จากรายงานผลการปฏิบัติงานการพัฒนาแผนกลยุทธ์ ต้องการใช้จริงของประชากรเพ่ือป้องกันโรคติดต่อทาง ถุงยางอนามัยรอบด้าน เผยแพร่เมื่อปี พ.ศ.2558 ระบุว่า เพศสัมพันธ์และการคุมก�ำเนิด การจัดหาและการกระจาย ประเทศไทยประสบความส�ำเร็จในการส่งเสริมการใช้ถุงยาง ถุงยางอนามัยยังมีความทับซ้อนระหว่างผู้ให้การสนับสนุน อนามัยในบริบทการขายบริการทางเพศ แต่กลับไมป่ ระสบ หลกั ๆ ความสำ� เรจ็ ในกลุ่มประชากรอ่นื ๆ โดยวเิ คราะหส์ าเหตุทยี่ งั ไม่ ประสบความส�ำเรจ็ ไว้ว่า • ด้านสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อตอ่ การใชถ้ ุงยางอนามัย พบว่า สังคมยังมีอคติเชิงลบต่อถุงยางอนามัย ยังขาด • ด้านนโยบายและการจัดการ กลวธิ ดี งึ ชมุ ชน สงั คมเขา้ มามสี ว่ นรว่ มอยา่ งตอ่ เนอื่ งและจรงิ จงั พบว่า ยังขาดกลไกระดบั ชาติที่มาจากทกุ ภาคส่วนเพอื่ ข้อเสนอในการแก้ไขปัญหาเชงิ โครงสรา้ ง อาทิ ผลักดนั ก�ำหนดทิศทาง วางแผนการทำ� งานเช่อื มโยงกบั ทุกภาคส่วนท่ี ไม่จ�ำกัดเฉพาะแวดวงสาธารณสุข โดยเฉพาะท้องถ่ินให้มี ให้มีกลไกท่ีทุกภาคส่วน ไม่ใช่แค่แวดวงสาธารณสุขเข้ามา บทบาทชว่ ยสนบั สนุนและเปน็ เจา้ ของมากขน้ึ รว่ มกนั แกไ้ ขปญั หา ลดอคติ เปล่ยี นภาพลกั ษณ์ถงุ ยางอนามัย ให้เป็นอุปกรณ์สุขอนามัยท่ีส่งเสริมสุขภาวะทางเพศ ส่งเสริม • ด้านอุปสงค์หรอื ความต้องการ การเขา้ ถึงถุงยางอนามัย ถุงยางอนามัยสตรี และสารหล่อลืน่ พบวา่ การใชถ้ งุ ยางในประชากรทว่ั ไปมีอัตราต่ำ� โดย อย่างท่ัวถึง โดยเฉพาะถุงยางอนามยั ฟรใี ห้กบั พนกั งานบริการ เฉพาะกับคู่ที่ไม่ใช่พนักงานบริการทางเพศ ช่องว่างดังกล่าว ทางเพศ ชายรักชาย วยั รนุ่ และเยาวชน และผูด้ ้อยโอกาสอ่นื ๆ อาจเกิดจากการขาดความรู้ การมีทัศนคติเชิงลบต่อถุงยาง พัฒนากลไกและระบบจัดการและบริการถุงยางอนามัยที่มี อนามยั การขาดความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั รวมถงึ อปุ สรรค คณุ ภาพ ดึงภาคเอกชนและภาคประชาสงั คมเขา้ มามสี ่วนร่วม ตอ่ การเขา้ ถงึ เช่น ความเชอื่ ความพงึ พอใจ ขนาดของถงุ ยาง ให้มากขนึ้ ฯลฯ ท่ไี ม่เหมาะสม เป็นต้น

39 ยอ้ นโครงการ ‘ยดื อกพกถุง’ แคมเปญรณรงคท์ เี่ ปลี่ยนทศั นคตขิ องคนไทย6 มงี านวจิ ยั หลายชนิ้ ทช่ี ว้ี า่ โครงการ ‘ยืดอกพกถุง’ ที่ภาครัฐโหมประโคม โฆษณาผา่ นสอ่ื ต่างๆ ต้ังแต่ปี พ.ศ.2550 มีผลต่อการเปล่ียนทัศนคติของคนไทย สังคมไทย ท�ำให้คนยอมรับว่าการมี เพศสัมพนั ธเ์ ป็นเรื่องปกตมิ ากขนึ้ กระท่ังบริษัทขายถุงยางอนามัยก็ ยังบอกว่า โครงการน้ีท�ำให้ตลาดขาย ถงุ ยางอนามัย “บมู มากๆ” จนปจั จบุ ันมี ถงุ ยางอนามยั ขายในเมอื งไทยมากกวา่ 30 แบรนด์ กระท่ังมาเริ่มชะลอตัวลงในปี พ.ศ.2559 เมื่อคนเปล่ียนไปป้องกันการ ตั้งครรภ์ด้วยวิธีอ่ืนแทนการใช้ถุงยาง อนามยั โดยเฉพาะการกินยาคมุ ก�ำเนิด โครงการน้ี รฐั บาลได้รับทุนจากกองทุนโลก สหประชาชาติ (UN) เพือ่ ป้องกนั การระบาดของ โรคเอดส์ จากการมเี พศสัมพันธ์แบบไมป่ ้องกัน 6 เว็บไซตก์ ระทรวงสาธารณสขุ , ค�ำใหส้ มั ภาษณ์ของกณั ห์ กุลอฐั ภญิ ญา ผูจ้ ัดการฝา่ ยการตลาด บรษิ ทั ไทยนปิ ปอนรับ เบอร์อนิ ดสั ตรี้ จ�ำกดั (มหาชน) ผู้จำ� หน่ายถุงยางอนามยั แบรนด์ ONETOUCH และ PLAYBOY และบทความ ‘ยดื อกพกถุง ยุทธวธิ ีตา้ นเอดส์: อีกกา้ วของการเปลี่ยนแปลงวฒั นธรรมทางเพศ’ โดย จรยิ าวฒั น์ โลหะพนู ตระกูล

40 ระดบั นโยบาย - สนับสนุนให้เยาวชนใช้ถุงยางทุกครั้งของการมี ทางออกและทางปอ้ งกนั เพศสัมพนั ธ์ มเี พศสมั พนั ธ์ให้ใชถ้ งุ ยางฯ7 เปน็ ยทุ ธศาสตรท์ ภ่ี าครฐั อยา่ ง สสส. และกรมควบคมุ โรค เห็นร่วมกันว่าในปี พ.ศ.2563 จะพยายามท�ำให้ หัวใจส�ำคัญของการรณรงค์แก้ไขปัญหาท้ังโรคติดต่อ คนไทย 90% เขา้ ถึงถงุ ยางอนามัย โดยการส่งเสรมิ ให้ ทางเพศสมั พนั ธแ์ ละการปอ้ งกนั ตง้ั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร มเี พยี ง เกดิ ความตระหนกั ของการปอ้ งกนั ตนเอง และการสง่ เสรมิ เรอ่ื งเดยี วเทา่ นน้ั นนั่ คอื การรณรงค์ ใหใ้ ชถ้ งุ ยางอนามยั ทกุ ครง้ั ส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ต่อการเข้าถงึ ถงุ ยางอนามัย ทีม่ เี พศสัมพันธ์ ซึ่งมีวธิ ีปฏบิ ัติอยหู่ ลายระดับ - จัดการเรียนรู้เพศวิถีศกึ ษาในสถานศกึ ษาทุกระดบั ระดบั ปจั เจก ด้วยการพัฒนาระบบและเคร่ืองมือที่ช่วยในการ - ทอ่ งใหข้ น้ึ ใจ No Condom No Sex พัฒนาครู โดยร่วมกับมูลนิธิแพธทูเฮลท์และกระทรวง การใชถ้ งุ ยางอนามยั ชว่ ยลดความเสย่ี งตอ่ โรคตดิ ตอ่ ทาง ศกึ ษาธกิ าร รวมถงึ กำ� ลงั พฒั นารปู แบบและเครอ่ื งมอื ใน เพศไดถ้ งึ 98% จงึ ควรใชท้ กุ ครง้ั ของการมเี พศสมั พนั ธ์ หนมุ่ ๆ การเสริมทักษะพ่อแม่ในสถานประกอบการ เพื่อให้มี สาว ๆ จงึ ควรพกถงุ ยางอนามยั ตดิ ตวั เผอื่ ฉกุ เฉนิ เพราะถอื เปน็ ทักษะการสื่อสารเชิงบวก และพูดคุยเร่ืองเพศกับ ‘อปุ กรณส์ ขุ อนามยั ’ ทดี่ เี ชน่ กนั ลกู หลานวยั ร่นุ ได้ - กนิ ยา ยา PrEP, PEP +ใชถ้ งุ ยางอนามยั ทกุ ครง้ั ชวั รส์ ดุ การกนิ ยา ยา PrEP หรอื PEP เปน็ เพยี งการปอ้ งกนั กอ่ น และหลังสัมผัสเชื้อ HIV แต่ไม่ได้ป้องกันโรคติดต่อทางเพศ- สมั พันธอ์ น่ื และการต้งั ครรภ์ได้ ดงั น้นั การกินยาควบคู่กับการ ใชถ้ ุงยางอนามยั ทกุ ครั้งจะปลอดภัยท่สี ดุ วิธีดแู ลถงุ ยางใหถ้ กู ตอ้ ง - ถงุ ยางอนามยั กม็ วี ันหมดอายุ ไมเ่ กนิ 5 ปี นบั จากวนั ทผี่ ลติ - ไมค่ วรเกบ็ ในทรี่ อ้ นเกนิ ไป เช่น ในรถยนต์ เพราะจะ ทำ� ให้เสือ่ มสภาพเร็วขึน้ - การสวมถงุ ยางอนามยั 2 ชนั้ เพอื่ หวงั เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ในการป้องกัน แต่ที่จริงแล้วยิ่งท�ำให้ฝืดและเสียดสีกัน เสย่ี งท�ำใหถ้ ุงยางแตกได้ หาก ‘อาย’ ท่จี ะซ้ือถุงยาง ยงั มีชอ่ งทางออนไลนท์ ่งี า่ ย ต่อการเขา้ ถงึ “มีไว้ใช้ ดีกวา่ จะใชแ้ ลว้ ไม่ม”ี 7 นติ ยสาร SOOK ฉบับที่ 15

41 - เดนิ หนา้ เปลยี่ นฐานคดิ ในสงั คมไทย ใหม้ มี มุ มองเชงิ บวก ตอ่ เรอื่ งเพศ โดยร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องกับการส่ือสารรณรงค์เพื่อปรับมุมมองเชิงบวก ต่อเร่ืองเพศ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญในการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รุ่นได้อย่างยั่งยืน สังคมไทยเคยประสบความส�ำเร็จในเปล่ียนทัศนคติ ในการใช้ถงุ ยางอนามยั มาแล้ว ถ้าตอ้ งพยายามกนั ตอ่ ไป ใหว้ ยั รนุ่ ใชถ้ งุ ยางอนามยั ใหบ้ อ่ ยขน้ึ และถขี่ นึ้ เพอื่ ปอ้ งกนั โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ด้วย ไม่ใช่แค่ป้องกันการตั้ง ครรภไ์ มพ่ รอ้ มเพยี งอยา่ งเดยี ว กไ็ มน่ า่ จะเปน็ โจทยท์ ยี่ าก เกนิ ไปนกั ท้ังหมดเริ่มต้นได้ ทั้งจากภาครัฐ ผู้มีหน้าที่เก่ียวข้อง และจากตัววยั รุ่นเอง

42 5E-Sport เสน้ แบง่ ระหวา่ งเดก็ ติดเกม และนกั กีฬาอาชพี เมอื่ E-Sport ก�ำลงั เปน็ ทนี่ ิยม ของคนรนุ่ Gen Z และ Y จาก We Are Social 2019 พบว่า เดก็ Gen Z อายุ 16-24 ปี และคนรนุ่ Gen Y อายุ 25-34 ปี ดู E-Sport ใกลเ้ คยี ง กบั การดกู ฬี าทว่ั ไปแบบฟตุ บอลเปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ย กระแสของเกม ยงั พบวา่ คนไทยไมไ่ ดด้ แู ค่ E-Sport แตด่ กู าร Cast Game สงู กวา่ ค่าเฉล่ยี โลก โดยประเทศไทยอยู่ในอนั ดับที่ 5 ของโลก ปัจจุบันวงการ E-Sport ทั่วโลกเติบโตและขยายวง กวา้ งมากขน้ึ เรอื่ ยๆ มกี ารแขง่ ขนั ในระดบั นานาชาติ กลายเปน็ ธุรกิจท่ีสร้างเม็ดเงินมหาศาล และสร้างอาชีพท่ีเกี่ยวข้อง แตใ่ นขณะเดยี วกนั ยังมีความกงั วลเกีย่ วกับ E-Sport ที่ มากมาย อยูใ่ นความสนใจของเดก็ ๆ และคนรนุ่ ใหม่ ถกเถยี งกนั อยู่ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งการตดิ เกม สขุ ภาพ และการพนนั ในรูปแบบใหมๆ่

E-SPORT 43 อยา่ งไรกต็ าม ยังมขี ้อถกเถียงเรื่องนยิ ามของค�ำวา่ กฬี า เช่น คณะกรรมการการกีฬาแห่งออสเตรเลียที่มองว่า ‘กีฬา’ ต้องเป็นกิจกรรมของมนุษยชาติท่ีใช้ความสามารถในการ กำ� หนดผลแพช้ นะ โดยต้องมีการออกกำ� ลังกาย หรอื มกี ารใช้ ทกั ษะทางรา่ งกาย ตรงจดุ นจี้ งึ ทำ� ใหค้ นบางกลมุ่ มองวา่ E-Sport ไมใ่ ชก่ ฬี า เพราะไมไ่ ดเ้ สยี เหงอื่ หรอื ออกกำ� ลงั โดยเฉพาะในสายตา ของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล หรือ IOC ท่ีมองถึงความ รุนแรงของเนอื้ หาในบางเกมการแขง่ ขัน “เกมไมเ่ ทา่ กบั กีฬา ในสายตา IOC” ดว้ ยเกมทจี่ ดั แขง่ ขนั ใน E-Sport มหี ลากหลายประเภท บ้างก็ไม่มีความรุนแรงหรือน�ำกีฬาดั้งเดิมท่ีแข่งขันกันอยู่แล้ว มาปรบั ใหเ้ ปน็ เกม แตเ่ กมอกี สว่ นกม็ คี วามรนุ แรงแฝงอยทู่ ง้ั ทาง ตรงและทางออ้ ม โดยเฉพาะการฆา่ ตวั ละครของคตู่ อ่ สเู้ พอ่ื เปน็ ผชู้ นะ ทำ� ให้ Thomas Bach ประธานคณะกรรมการโอลมิ ปิก สากล (IOC) มองว่า การแขง่ ขนั เกมทม่ี ีเนื้อหารนุ แรงคอ่ นขา้ ง ขดั แยง้ กับคณุ คา่ ของการแขง่ ขันมหกรรมกีฬาโอลมิ ปิก ท�ำให้ ทางคณะกรรมการฯ ไมส่ ามารถยอมรบั ในฐานะกฬี าอยา่ งเปน็ ทางการได้ 1 E-Sport: กฬี าหรือเกม ? แต่ก็มีผู้แย้งว่า กีฬาบางประเภท อย่างหมากรุกหรือ หมากล้อม ที่ไม่ได้ใช้สัดส่วนหรือทักษะของร่างกายในการ แข่งขัน แต่เป็นการคิด วางแผนกลยุทธ์การเดินเกมแข่งขัน ต่างๆ E-Sport ย่อมาจาก ‘Electronics Sport’ ซ่ึงถูกนยิ าม ดงั นั้น การถกเถียงกนั วา่ สรปุ แล้ว E-Sport เป็นกีฬา ความหมายที่ยอมรับกันในพจนานุกรมภาษาของสหพันธ์ หรอื ไม่ อาจเปน็ ประเดน็ ทไ่ี มม่ วี นั หาขอ้ ยตุ ไิ ด้ แตก่ ป็ ฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ อสี ปอรต์ วา่ เปน็ ‘การแข่งขันวิดีโอเกม’ หรอื ในบางครัง้ มกี าร E-Sport เป็นมากกวา่ แคก่ ารเลน่ เกมไปแลว้ นยิ ามเพมิ่ วา่ เปน็ การแขง่ ขนั เพอื่ เงนิ รางวลั หรอื ของรางวลั แต่ ยังคงมีการถกเถยี งกนั ในวงกวา้ งวา่ E-Sport เปน็ กีฬาหรือไม่ ในประเทศไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) ได้ ประกาศยอมรับ E-Sport เป็นกีฬาอย่างเป็นทางการ เมื่อปี พ.ศ.2560 และใหส้ มาคมไทยอสี ปอรต์ เปน็ ‘สมาคมกฬี าอสี ปอรต์ แห่งประเทศไทย’ นอกจากนี้ ในการแข่งขันกีฬาระดับ นานาชาตอิ ยา่ งเอเชยี นเกมส์ ในปี พ.ศ.2561 กม็ กี ารแขง่ เกม E-Sport ทง้ั หมด 5 เกม โดยเปน็ กีฬาสาธิต กอ่ นจะบรรจจุ ริง ในปี พ.ศ.2563 1 https://brandinside.asia/ioc-and-esport-aspect/

44 เลน่ เกมจนเป็นอาชีพ นกั กฬี า E-Sport ติดอันดบั ความฝนั เด็กไทย เม่อื อาชีพในวงการ E-Sport กลายเป็นอาชพี ท่ีท�ำเงนิ นักกีฬา E-Sport จึงกลายเป็นอาชีพในฝันอันดับต้น และมูลค่าไดส้ งู มีรายงานวา่ นักกฬี า E-Sport ไทยมรี ายไดถ้ งึ ของเด็กๆ หลายคนท่ีชอบเล่นเกมอยู่แล้ว ก็อยากจะ 15,000 บาท – 30,000 บาทตอ่ เดือน ขณะท่มี อื อาชีพเองก็ พัฒนาการเลน่ เกมนใ้ี ห้กลายมาเป็นอาชีพ โดยในยุคหลังพบ ทำ� ไดส้ งู กวา่ นนั้ โดยสนั ติ โหลทอง นายกสมาคมอสี ปอรต์ แหง่ วา่ อาชพี อยา่ งนกั กฬี า E-Sport และนกั แคสเกม กลายมาเปน็ ประเทศไทยเคยใหส้ ัมภาษณ์วา่ รายไดข้ องนักกีฬา E-Sport ความฝนั ของเดก็ ไทยมากขน้ึ โดยในประเทศไทย ผคู้ นมกั นยิ ม ไม่แน่นอนเสมอไป ขึ้นอยู่กับความนิยมของแต่ละเกม และ คน้ หาประเดน็ ของ E-Sport นบั ตัง้ แตเ่ ดอื นกรกฎาคม 2561 ฝมี อื ของผเู้ ลน่ ดว้ ย อยา่ ง ROV เกม MOBA ทเ่ี ปน็ ทน่ี ยิ มในไทย – มิถนุ ายน 2562 ดว้ ยข้อความวา่ นักกฬี า ที่สูงมาถงึ 3,655 รายไดข้ น้ั ตำ�่ อยทู่ ี่ 50,000 ตอ่ เดอื นในลกี อาชพี และสำ� หรบั คน ครั้ง ตามมาด้วยตดิ เกม อายุ ซึง่ ส่วนใหญจ่ ะสมั พนั ธก์ ับอายุที่ ท่ีเป็นผู้เล่นช้นั แนวหนา้ รายได้อาจจะพุง่ สูงไปถึงหกหลกั สามารถเขา้ สกู่ ารเป็นนักกีฬา สขุ ภาพ และวนิ ัย ซง่ึ พบว่าใน การค้นหา ผู้คนยังมักหาวิธีการในการเป็นนักกีฬา E-Sport นอกจากนี้ก็ยังมีอาชีพอื่นๆ ที่มากับกีฬา E-Sport ดว้ ย ไม่ว่าจะเป็นนักพากย์เกม นักวิเคราะห์เกม โค้ช หรือ แม้แต่ผจู้ ดั การทมี ท่กี ลายมาเป็นอาชพี ใหม่ๆ ในวงการน้ี จากผลสำ� รวจ ‘อาชพี ในฝันของเดก็ ไทย ปี พ.ศ.2562’ โดยกลมุ่ บริษทั อเดค็ โก้ ได้ทำ� การสอบถามเดก็ ไทย อายุ 7 - 14 E-Sport ปี จ�ำนวน 2,684 คน เก่ยี วกับอาชพี ทเ่ี ดก็ ไทยใฝ่ฝนั อยากท�ำ มากท่สี ดุ พบว่า อาชพี อย่างนักกีฬา E-Sport และนกั แคสเกม มาแรงติดหน่ึงในห้าอาชีพในฝัน โดยเด็กไทยมองว่า ชอบเล่น เกม จงึ คดิ วา่ เปน็ อาชพี ทส่ี นกุ สามารถสรา้ งรายไดจ้ ากสงิ่ ทชี่ อบ และสรา้ งชอื่ เสยี งได้ มหาวิทยาลัยไทยหลายแห่งก็เปิดการเรียนการสอนใน สาขาและวชิ าทีเ่ ก่ยี วกับ E-Sport ท้ังการบรหิ ารจดั การเกมมง่ิ คอมพวิ เตอรเ์ กมมลั ตมิ เี ดยี หรอื ออกแบบพฒั นาเกม ตามกระแส E-Sport ท่ีได้รับความนยิ มมากขน้ึ ในตลาดโลก

45 E-Sport กีฬาทมี่ วี ันหมดอายุ และไม่ใช่ทกุ คนจะเปน็ โปรเพลเยอร์ได้ แม้ว่า E-Sport จะเป็นอาชีพที่ได้รับความสนใจเป็น อย่างมากในหมู่เด็กๆ และคนรุ่นใหม่ แต่อาชีพในวงการน้ีก็ ถอื ว่าเขา้ ไปได้ยาก และไมใ่ ช่ทุกคนที่จะเป็นได้ โดยผทู้ ี่จะเปน็ นกั กีฬา E-Sport ได้ สว่ นใหญ่จะมีการฝกึ ฝนและมที กั ษะมา ตงั้ แตช่ ว่ งวยั รนุ่ ทง้ั ยงั เปน็ อาชพี ทมี่ อี ายเุ ฉลย่ี ของผเู้ ลน่ ในวงการ นอ้ ยมากๆ เม่อื เทียบกับกฬี าอืน่ ๆ E-Sport เปน็ กจิ กรรมทม่ี ชี ว่ งเวลาเพยี งไมเ่ กนิ 10-20 ปี ใหไ้ ดโ้ ชวฝ์ มี อื โดยเวบ็ ไซตร์ ายงานความเคลอื่ นไหวเกย่ี วกบั เงนิ รางวัลในแวดวงอีสปอร์ต E-Sports Earnings เผยข้อมูลว่า อายุเฉล่ียของเพลเยอร์ที่สร้างรายได้สูงสุดจากการแข่งขัน E-Sport คือช่วงอายุ 22 ปี และนักแขง่ ทท่ี ำ� เงนิ ได้มากทส่ี ดุ ใน วงการยังอยู่ในช่วงวยั 19-23 ปี ทั้งวยั น้ยี งั เป็นช่วงเวลาเฉล่ีย 3. ลงแขง่ ขันตามงานเกม โดยรวมตวั กันแล้วไปแขง่ ขนั ท่ีมีโปรเพลเยอร์มากทสี่ ดุ อกี ด้วย ตามงานต่างๆ ซงึ่ นักกฬี า E-Sport ส่วนใหญ่จะเลอื กแนวทาง น้ี เพราะไมร่ อใหโ้ อกาสมาหา แต่เป็นฝา่ ยวิง่ ไปหาโอกาสเอง การจะเขา้ ไปเปน็ นกั กฬี า E-Sport มอื อาชพี กไ็ มใ่ ชเ่ รอ่ื ง งา่ ยๆ มี 3 วธิ 2ี และไม่ใช่แค่โปรเพลเยอร์เท่าน้ันท่ีมีอายุการท�ำงานส้ัน คนอาชีพอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับแวดวง E-Sport ก็เช่นกัน 1. เล่นให้เกง่ โดยระบบ ranked (การจัดอนั ดับ) จะ จารพุ งษ์ โชตคิ ณุ ากร3 อดตี นกั พากยข์ องการนี าออนไลน์ จำ� กดั ท�ำให้ผเู้ ลน่ ทอ่ี ยู่ในลำ� ดับตน้ เปน็ ท่จี บั ตามอง และดึงตัวมารว่ ม ท่ีปัจจุบันไดผ้ ันตวั มาเปน็ ผูจ้ ดั การของทีม Evos Debut กใ็ ห้ ทมี สัมภาษณใ์ นประเดน็ นี้ว่า “E-Sport มอี ายทุ สี่ ้ันกว่ากฬี าท่ัวไป เชน่ ถา้ เปน็ นกั พากยฟ์ ตุ บอล คณุ กส็ ามารถพากยไ์ ดเ้ รอื่ ยๆ แค่ 2. รอคอยตามเวบ็ บอรด์ หรอื community ของเกมนน้ั ๆ ตามข่าวฟุตบอล แต่ถ้าเป็นเกม แล้วเกมท่ีคุณพากย์ปิดตัวลง ในทกุ เกมเมอ่ื ถงึ ชว่ งฤดกู าลแขง่ ขนั จะมกี ารประกาศหาสมาชกิ ทมี การจะพากยเ์ กมใหมเ่ ทา่ กบั ตอ้ งเรยี นรใู้ หมจ่ ากศนู ย์ และตอนนน้ั หรอื การคดั ตวั นักกฬี าเกดิ ข้นึ อาจจะมีเด็กร่นุ ใหมท่ ีพ่ ากย์ดกี วา่ เราในเกมน้ันๆ ก็ได”้ รูปภาพ : www.khaosod.co.th/game-esport 2, 3 จุลนิพนธห์ นงั สอื สารคดชี ีวิตนกั กฬี าอีสปอรต์ โดย ศุภณฐั วฒุ ิโสภณ จุลนพิ นธ์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ม.ศิลปากร ปี 2562

46 เสน้ แบง่ ระหวา่ งนกั กฬี า E-Sport กบั อาการตดิ เกม ผลสำ� รวจสถานการณเ์ ดก็ ไทยกบั ภัยออนไลน์ โดยศูนย์ ประสานงานขับเคล่ือนการส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็ก และเยาวชนในการใช้ส่ือออนไลน์ และมูลนิธิอินเทอร์เน็ต ร่วมพัฒนาไทย ปี 2561 ส�ำรวจเด็กอายุ 6-18 ปี จ�ำนวน 15,318 คน พบวา่ เด็กและเยาวชนถึง 61% มพี ฤติกรรมเสย่ี ง ติดเกมออนไลน์ โดยใช้เวลาในการเล่นเกมมากกว่า 3 ชว่ั โมง/ วัน ซ่ึงจ�ำแนกเป็นเล่นมากกว่า 3 ช่ังโมง/วัน 37.5% เล่น มากกวา่ 6 ชวั่ โมง/ วนั 15.4% เลน่ มากกวา่ 8 ชว่ั โมง/วนั 8.5% และเล่นมากกวา่ 10 ชั่วโมงต่อวัน 5.4% ความเชื่อของเด็กเยาวชนต่ออีสปอร์ตจากผลส�ำรวจ ดังกลา่ วยังพบว่า สร้างงาน/อาชพี เชน่ ทำ� ให้รูจ้ ัก สร้างกล่มุ นักแขง่ เกม นักพากษ์ ทำ� งานเปน็ ทมี พ้นื ทค่ี นท่ชี อบ เกม โค้ช ผจู้ ัดการเกม ดร.สุววฒุ ิ วงศท์ างสวสั ดิ์ นกั จิตวิทยา ผูม้ ปี ระสบการณ์ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกน่ กั กีฬา E-Sport กล่าวว่า เดก็ ตดิ เกมเขาเล่น เอาสนุก ไม่ได้วางแผนอะไร เล่นเพราะไม่อยากท�ำอย่างอื่น แบบไมอ่ ยากอ่านหนงั สือ เลยเล่นเกมประมาณนน้ั แตถ่ า้ เป็น นักกฬี า เขาตอ้ งมีการวางแผน อาจจะมเี รอ่ื งของสโมสรเขา้ มา สร้างชื่อเสียงและ มีผลต่อสขุ ภาพ เส่ียงต่อการ เกี่ยวข้อง จะพาตัวเองเข้าไปอยู่ในสโมสรท่ีชอบได้ยังไง แต่ รายไดม้ หาศาล เสยี สายตา ปวดเมื่อย เสพตดิ เกม สุดทา้ ยทกุ คนก็ต้งั ต้นมาจากความชอบเลน่ เกมน่ันแหละ หลัง ไหล่ นว้ิ ล็อก หากหมกม่นุ “กลุ่มที่จะก้าวไปสู่ E-Sport ส่วนมากเป็นกลุ่มที่มี จะเห็นได้วา่ เด็กและเยาวชนสว่ นใหญ่เชอื่ วา่ E-Sport เปา้ หมาย ความฝนั ว่าอยากจะไปแข่ง E-Sport เพราะพวกน้ี มผี ลดมี ากกวา่ ผลเสยี เดก็ เยาวชนเกนิ ครงึ่ จงึ ทมุ่ เทและใชเ้ วลา คือสงิ่ ล่อตาลอ่ ใจ สรา้ งรายได้ แตใ่ นความเป็นจรงิ อาจไมไ่ ปถงึ ไปกบั เกมไมต่ ่�ำกว่า 3 ชวั่ โมง แตก่ ็ไมใ่ ช่ทุกคนจะเป็นนักกีฬา จุดนั้นกนั ทุกคน” ดร.สวุ วฒุ ิกลา่ ว มอื อาชพี ได้ บางคนเปน็ ไดแ้ คค่ นตดิ เกมเทา่ นนั้ เสน้ แบง่ สำ� คญั ก็คอื วนิ ัยและการแบ่งเวลา เช่นเดียวกับโลกออนไลน์ท่ีมองความแตกต่างของ นกั กฬี ากบั อาการตดิ เกมอยู่ท่ี ‘การบรหิ ารเวลา’ และ ‘วนิ ัย’

47 พฤตกิ รรมอยา่ งไรถงึ เรยี กวา่ ตดิ เกม นพ.คมสันต์ เกยี รติรุ่งฤทธิ์ อาจารยส์ าขาจิตเวชศาสตร์ 1. หมกมนุ่ กบั เกม โดยใชเ้ วลาเลน่ มากกวา่ 3 ชว่ั โมงตอ่ วนั เด็กและวัยรุ่น ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี บอกถงึ เกณฑ์ในการวินิจฉยั โรคติดเกม 2. หงดุ หงดิ โกรธ เมอื่ ถกู บอกใหเ้ ลกิ เลน่ หรอื ไมส่ ามารถ ของแพทย์ โดยประเมินจากอาการท้ังหมด 9 ข้อ ซ่ึงหากมี เลน่ ได้ ลักษณะอยา่ งนอ้ ย 5 ขอ้ ในช่วง 12 เดอื นท่ีผา่ นมา จะถือวา่ มี 3. ใช้เวลาเล่นเกมนานขนึ้ เร่ือยๆ ‘อาการติดเกม’ 4. หยดุ หรือลดการเล่นไม่ได้ 5. เลิกสนใจกิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ คยชอบ 6. เลน่ อยู่ ทั้งๆ ท่ีมปี ัญหา 7. หลอกลวง ปดิ บงั การเล่นของตวั เอง 8. ต้องการเล่นเกมเพอื่ คลายเครยี ด เศรา้ หรือหลบหนี จากเร่ืองไมส่ บายใจต่างๆ 9. เลน่ เกมจนมีผลกระทบด้านลบต่อการด�ำเนนิ ชีวติ ใน ดา้ นต่างๆ เชน่ การเรียน การท�ำงานบ้าน สขุ ภาพ และความ สมั พนั ธ์ในครอบครัว เป็นต้น

48 ผลกระทบจากอาการตดิ เกม ดา้ นสขุ ภาพ อาการติดเกมส่งผลต่อท้ังสุขภาพร่างกายและสุขภาพ ซงึ่ พฤตกิ รรมการอยหู่ นา้ จอของเดก็ และวยั รนุ่ นน้ั อยทู่ เ่ี ฉลยี่ ถงึ จติ ของเดก็ และวยั รุน่ 3.10 ช่ัวโมง/วัน และมแี นวโน้มจะเพ่ิมข้ึนตอ่ เน่อื ง ทำ� ใหข้ าด กิจกรรมทางกาย มีภาวะเร่ิมอ้วนและอ้วนเพิ่มข้ึน ซ่ึงอาจน�ำ นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต อธิบดีกรมสุขภาพจิต ได้ให้ มาสปู่ ญั หาดา้ นสขุ ภาพ โดยเฉพาะแนวโนม้ ของความอว้ นทเ่ี ปน็ รายละเอยี ดวา่ ปญั หาพฤตกิ รรมเสพตดิ เกม เปน็ ปญั หาจติ เวช บ่อเกิดของโรคร้ายในกลุ่ม NCDs (โรคไม่ติดต่อเร้ือรัง) หรือ เดก็ และวยั รนุ่ ทพ่ี บบอ่ ยในอายรุ ะหวา่ ง 6-18 ปี มคี วามสมั พนั ธ์ โรคเบาหวาน นอกจากน้ียังส่งผลต่อประสิทธิภาพทางด้าน กับชนิดของเกมประเภทต่อสู้ออนไลน์แบบมีผู้ลงแข่งเป็นทีม ความจำ� และสติปัญญาในวัยเรยี นของเด็กและเยาวชนอีกด้วย เปน็ หลกั และเกดิ โรครว่ มทางจติ เวช เชน่ โรคสมาธสิ นั้ วติ กกงั วล ซมึ เศร้า อารมณ์แปรปรวน ฯลฯ องค์การอนามัยโลก (WHO) ยังได้ประกาศอย่างเป็น ทางการในการประชมุ สมชั ชาสุขภาพโลกครง้ั ที่ 72 ช่วงกลาง การศกึ ษาของสำ� นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ ปี พ.ศ.2562 ให้ภาวะติดเกมถอื ว่าเป็นโรค โดยพฤตกิ รรมการ (สช.) ยงั พบวา่ กจิ กรรม E-Sport สง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาวะเดก็ เลน่ เกมอย่างตอ่ เนอ่ื งหรอื เพ่มิ ข้ึน ทำ� ให้การให้ความสำ� คัญกับ ทั้งในทางบวกและทางลบ ใน 5 ด้าน คือ ร่างกาย จิตใจ ตัวเอง ครอบครัว สังคม การศึกษา และอาชีพการงานลดลง สตปิ ญั ญา สงั คม และอารมณ์ โดยในดา้ นบวกนน้ั จะทำ� ใหเ้ ดก็ ซึ่งเชคาร์ ซาเซนา (Shekhar Saxena) ผู้เช่ยี วชาญของ WHO ได้ผ่อนคลาย รู้สกึ สนกุ สนาน ฝกึ ไหวพรบิ และไดเ้ พอ่ื นใหมๆ่ กล่าวว่า มีรายงานวิจยั ที่ชว้ี ่า คนทเ่ี ลน่ เกมถึงวนั ละ 20 ช่วั โมง แตใ่ นขณะทดี่ า้ นลบ อาจทำ� ใหเ้ ดก็ มอี าการปวดกลา้ มเนอ้ื และ จะมีปัญหาต่อการท�ำกิจกรรมอ่ืนๆ เช่น การนอนหลับ การ ออฟฟศิ ซนิ โดรมจากการเลน่ เกมทน่ี านไป มพี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว รบั ประทานอาหาร ซง่ึ การจดั ใหอ้ าการตดิ เกมนเี้ ปน็ อาการปว่ ย จากความรุนแรงในเกม เสพติดชัยชนะ และยังมีโอกาสพบ ถอื เป็นการสง่ สญั ญาณใหป้ ้องกันผลเสียดังกลา่ วได้ ช่องทางกล่ันแกล้งออนไลน์ (cyberbullying) ขาดทักษะ การเรยี นรทู้ างสงั คม มกี ารเลยี นแบบพฤตกิ รรมในเกม ตดิ เพอ่ื น ในขณะท่ี นพ.กติ ตก์ วี โพธ์โิ น ผ้อู �ำนวยการโรงพยาบาล จนไปถึงการไม่สามารถควบคุมความโกรธ รู้สึกหงุดหงิด จิตเวชนครพนมราชนครนิ ทร์ ได้ใหข้ อ้ มูลเพ่ิมเติมวา่ ‘โรคติด เครียดง่ายดว้ ย เกม’ (Gaming Disorder) คือ โรคที่เกิดจากพฤติกรรมการ เสพตดิ ในทางสมอง มลี กั ษณะคลา้ ยกบั การตดิ สารเสพตดิ เปน็ โรคอว้ นและภาวะเรมิ่ อ้วน ก็เปน็ สงิ่ หนึง่ ที่สง่ ผลตามมา อปุ สรรคสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาสมอง พฒั นาการ และพฤตกิ รรม จากอาการตดิ เกม การสำ� รวจของส�ำนกั งานกองทนุ สนับสนุน ของเดก็ สว่ นใหญม่ สี าเหตมุ าจากการเลน่ เกมทางอนิ เทอรเ์ นต็ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ในปี พ.ศ.2558 เดก็ มพี ฤตกิ รรม ทางร่างกายท่ีน้อยลง แต่มีพฤติกรรมเนือยน่ิงที่มากข้ึน

49 การพนนั ออนไลน์ กจิ กรรมทแี่ ฝงมากบั E-Sport ในการเล่นเกม หรือชม E-Sport ในวงการนีไ้ มไ่ ดม้ แี คก่ ารเลน่ เกมและการแข่งขันเพียงอยา่ งเดยี ว ในหลายเกมได้มกี ารสอดแทรกธรุ กรรมสินค้า กจิ กรรมแนวเส่ยี งโชคการพนนั แบบดจิ ิทัล หรือการเดิมพนั ผชู้ นะ-ผู้แพใ้ นการแข่ง ซ่งึ สามารถแบ่งรปู แบบของการพนันใน E-Sport4 ได้ เปน็ 3 แบบ คอื 1 การพนนั ระหวา่ งผเู้ ล่นเกมกบั บริษัทเจา้ ของเกม ทีจ่ ะมรี ปู แบบหรอื สนิ ค้าดิจิทลั เชน่ ไอเทม ตวั ละครในเกม หรือ เคร่ืองแต่งกาย (สกิน) ให้ผู้เล่นได้เติมเงินซ้ือของ เพื่อน�ำไปเสี่ยงดวงใน ระบบตา่ งๆ ไม่วา่ จะเปน็ การเปดิ กล่องปริศนา กาชาปอง หรอื ลอตเตอร่ี ที่บางครั้งอาจจะต้องเสียเงินในหลักพัน หรือหม่ืน เพ่ือให้ได้สินค้าที่ ตอ้ งการเพยี ง 1 ช้นิ 2 การพนนั ระหวา่ งผเู้ ลน่ ด้วยกนั เอง ซ่ึงผู้เล่นจะเดิมพันสินค้าหรือของบางอย่างกับผลแพ้ชนะที่ จะเกดิ ขึ้น โดยของท่ีนยิ มน�ำมาวางเดิมพันกม็ ักจะเปน็ สนิ คา้ ในเกม ไอเทม และเงนิ ดิจิทลั ดว้ ย 3 การพนันระหว่างผูช้ มการแขง่ กับบอ่ นออนไลน์ รูปแบบนี้จะมาในการวางเดิมพันในคู่การแข่งขัน ของนกั กฬี า หรอื โปรเพลเยอรใ์ นแมตชใ์ หญ่ ซง่ึ กค็ ลา้ ยคลงึ กบั การพนันกีฬา หรอื ฟุตบอลทีม่ ีอยู่ในปัจจุบัน การพนันเหล่าน้ี หากตัวผู้เล่นไม่มีความยับย้ังช่ังใจ จะท�ำให้มีโอกาสที่จะสูญเสียเงินกับ การเติมเกม หรือใช้ไปกับเกมจ�ำนวนมากได้ เหมือนการเสพติดเกมเช่นกัน ท้ังรูปแบบของ การพนันใน E-Sport ยังมีในรูปแบบใหม่ๆ จนหลายคร้ังอาจท�ำให้ผู้เล่นลืมตัวได้ว่า ก�ำลังจะ สญู เสยี เงนิ จำ� นวนมาก ท่สี นิ คา้ ดิจทิ ัลทไี่ ด้มา อาจไม่คมุ้ คา่ กับจำ� นวนเงนิ ที่เสยี ไป 4 เอกสารประกอบความรคู้ วามเขา้ ใจการพนนั ออนไลนใ์ นอสี ปอรต์ , ศนู ยข์ อ้ มลู นโยบายสาธารณะการลดปญั หาจากการพนนั มูลนิธสิ าธารณสุขแหง่ ชาติ

50 หาทางออก ปอ้ งกนั และแก้ไข ปญั หา E-Sport5 เมอ่ื E- Sport กลายเปน็ อาชพี เป็นรายได้ และความ หาสาเหตทุ แ่ี ท้จริง เช่น เครยี ดจากโรงเรียนและทบ่ี า้ น บนั เทิงนันทนาการในชวี ติ ประจ�ำวนั ไปแล้ว แตเ่ รากห็ ลีกเลีย่ ง เป็นโรคสมาธสิ นั้ ซมึ เศร้า หรอื ขาดความภมู ใิ จในตัวเอง ไมไ่ ดว้ า่ ยงั มปี ญั หาและขอ้ ถกเถยี งในวงการ E-Sport ทท่ี กุ ฝา่ ย ควรร่วมมือช่วยกนั แกไ้ ขปอ้ งกัน ปรับเปล่ยี นวธิ ีการเลย้ี งดบู ุตรหลาน เช่น กรณฝี ากไว้ กับปู่ย่าเป็นผู้ดูแลและมีเครื่องเกมออนไลน์ให้เด็ก จึงควรน�ำ เด็กไปอยู่กับศูนย์เด็กเล็กที่มีกิจกรรมที่หลากหลาย เพ่ือลด โอกาสท่ีเดก็ เลน่ เกมออนไลน์ ดา้ นตัวผเู้ ล่นและผปู้ กครอง ตวั ชว่ ยผปู้ กครอง “Screen Time” เครอ่ื งมอื ประมวล ปรากฏการณ์เด็กติดเกมไม่ควรมองแค่เกม แต่มี ผลการใช้งานผ่านโทรศัพท์ ประมวลจ�ำนวนช่ัวโมงการใช้งาน พฤตกิ รรมทแี่ ฝงอยเู่ บอ้ื งหลงั เพราะลกึ ๆ แลว้ เดก็ เยาวชนทกุ คน จดั อนั ดบั พฤตกิ รรมการใชง้ านในโทรศพั ท์ เวบ็ ไซตแ์ ละ แอปพลเิ ค ต้องการมีตัวตนในสายตาผู้ปกครอง การส่ือสารเชิงบวกจึง ชนั ท่ีมีจ�ำนวนช่ัวโมงการใช้งานมากท่ีสุด และมีการบล็อก ช่วยใหค้ ้นพบสาเหตทุ แ่ี ท้จริงของอาการติดเกม Ratting การเข้าเว็บไซด์ท่ีไม่เหมาะสม โดยมีการลงทะเบียน Set up screen time for family (ระบบรองรบั ทงั้ แอนดรอยด์ ส่อื สารเชิงบวกเริ่มอย่างไร • สำ� รวจอาการของตัวเอง ปกติพอ่ แมเ่ วลาเหน็ ลูกเลน่ และ IOS) , กรณีใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ สามารถเข้าไปดู เกม มักจะหงุดหงดิ ใชค้ ำ� พูดไมด่ ี ตำ� หนแิ รงๆ ประชดประชัน ประวตั กิ ารเข้าเวบ็ ไซตไ์ ด้ การสอ่ื สารแบบนท้ี �ำใหเ้ ด็กไม่ชอบและย่งิ เล่นเกมมากข้นึ • ผปู้ กครองตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจวา่ การเลน่ เกมออนไลน์ ด้านผู้ผลิตเกม ตัวแทนผูน้ �ำเขา้ เกมในประเทศไทย เป็นส่วนหน่ึงของชีวิตเด็กไปแล้ว จึงต้องท�ำให้เด็กเห็นว่า ผผู้ ลิตเกมควรมีระบบคดั กรองกลุ่มผูเ้ ล่นเกม อยา่ งเช่น พอ่ แมเ่ ขา้ ใจ ภมู ใิ จในตวั เขา พรอ้ มทจ่ี ะรบั ฟงั เพราะพน้ื ฐาน กรณีประเทศจีน มกี ารตัดเมอ่ื เล่นเกินเวลา หรอื มคี �ำเตอื นว่า เด็กส่วนใหญ่อยากมีตัวตนในสายตาพ่อแม่ คณุ เร่มิ เล่นนานก่ชี ัว่ โมง • พ่อแม่เข้าไปดูว่าเด็กเล่นเกมอะไร โดยไม่ต่อว่าหรือ จับผิด เปิดโอกาสใหม้ กี ารพดู คยุ แลกเปล่ียน หน่วยงานภาครฐั • ท�ำให้เด็กมวี นิ ัยขนั้ สูง คอื การท�ำเพอื่ ตัวเองมากกวา่ การกลัวโดนลงโทษ หน่วยงานในภาครัฐต่างๆ โดยออกมาตรการป้องกัน ความปลอดภยั สำ� หรบั เดก็ และเยาวชน ในการแขง่ ขนั E-Sport • สอื่ สารเชงิ บวกเพอ่ื นำ� สกู่ ารสรา้ งความรว่ มมอื ของเดก็ โ ด ย ค ว ร มี ม า ต ร ก า ร ท า ง ก ฎ ห ม า ย ใ ห ้ ส อ ด ค ล ้ อ ง ต า ม ตั้งเป้าหมายระยะส้ันและเป้าหมายเล็กๆ ให้ค่อยๆ ปรับตัว พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กแห่งชาติ พ.ศ.2546 มี กกท.เป็นเจ้าภาพ จดั การเวลาการเลน่ เกมได้ และใชเ้ วลาในการทำ� กจิ กรรมอนื่ ๆ และสมาคมกีฬาอีสปอร์ตแห่งประเทศไทย ก�ำหนดมาตรฐาน การดูแลเด็กและเยาวชนในมิติการเข้าเล่น การเข้าชมการ สร้างวินัยในการเล่นเกม ควรสร้างวินัยต้ังแต่เด็กยัง แขง่ ขัน อาทิ ตอ้ งไม่มีการพนัน มรี ะบบคัดกรองเด็กเยาวชนที่ ไม่มสี มารท์ โฟน โดยท�ำความตกลง กำ� หนดกตกิ า และก�ำหนด จะมาเปน็ ผู้แขง่ ขนั อายุขั้นต่�ำ และประเดน็ อืน่ ๆ เวลาเล่นใหช้ ัดเจน ลดโอกาสการเขา้ ถงึ เกมออนไลนข์ องเดก็ โดยไมม่ กี าร อีกท้ังควรมีกฎหมายด้านการคุ้มครองเด็กและเยาวชน ก�ำกับดูแล อย่าให้ในบ้านมีอุปกรณ์เข้าถึงเกมออนไลน์หลาย ปกป้องดูแลเด็กและเยาวชนในการใช้สื่อออนไลน์ มีกลไลรับ เครื่อง มีการใส่รหัสผ่าน ค�ำนึงเสมอว่าเคร่ืองมือสื่อสาร แจง้ ตดิ ตาม ส่งเน้อื หา และพฤติกรรมทีไ่ มเ่ หมาะสมของเดก็ ออนไลนไ์ มเ่ ปน็ มิตรกบั การใช้โดยล�ำพังของเดก็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook