รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย / ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ รหสั สถานศกึ ษา ๑๐๗๓๑๘๐๐๘๑ โรงเรยี นวัดศาลาตกึ สิทธชิ ัยวิศาล สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครปฐม เขต ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ส่วนที่๑ บทสรุปสำหรับผบู้ ริหาร ๑@๑โรงเรียนวัดศาลสาตึกสิทธิชัยวิศาล ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑๖ ตำบลทุ่งลูกนก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๑ เปิดสอนระดับชั้นอนบุ าล ๒ ถึง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีบุคลากรสายบริหาร จำนวน ๑ คน และมีบุคลากรครู ครูอัตราจ้าง และครู พ่เี ล้ยี ง จำนวน ๙ คน สว่ นที่ ๑ ๑.ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัยดังน้ี มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการทเี่ นน้ เด็กเปน็ สำคญั ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ระดับคุณภาพ ดีเลศิ ๑.๑ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กปฐมวัย คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ทางโรงเรยี นจึงไดจ้ ัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ Online และ On hand โดยจดั โครงการและกจิ กรรมต่างๆ ผ่านทางผปู้ กครองเป็นหลัก โดยมีครเู ป็นผแู้ นะนำแนวทางการร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนได้จัดขึ้น ซ่ึงผู้ปกครอง บางส่วนให้ความสนใจ และร่วมมือกับทางโรงเรียนเป็นอย่างดี แต่มีผู้ปกครองเด็กบางส่วนมีข้อจำกัดในการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กร่วมกับครู ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้หาแนวทางที่เหมาะสมกับผู้ปกครองโดยยึด ความแตกต่างระหว่างบคุ คล เพื่อใหเ้ ด็กปฐมวยั มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเอง ได้ ดังนน้ั โรงเรยี นจดั กจิ กรรมกิจกรรมตา่ งๆ โดยดำเนนิ โครงการ กิจกรรมดังน้ี - โครงการส่งเสริมสขุ ภาพเด็กปฐมวัย - กิจกรรมตรวจสขุ ภาพเด็กปฐมวัย
เพือ่ ให้มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม แสดงออกทางอารมณ์ได้ ดังน้นั โรงเรยี นจดั กจิ กรรม กจิ กรรมต่างๆ โดยดำเนนิ กิจกรรมดงั น้ี - กจิ กรรมหนูทำได้ - กจิ กรรมหนูเปน็ เดก็ ดี - กจิ กรรมหนนู อ้ ยคนเก่ง - กจิ กรรมหนไู ปทำบุญ เพือ่ ให้เดก็ ปฐมวยั มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง เปน็ สมาชกิ ที่ดขี องสังคม ดงั น้นั โรงเรยี นจดั กิจกรรมกจิ กรรมตา่ งๆ โดยดำเนนิ กจิ กรรมดังน้ี - กจิ กรรมหนูรกั ประชาธิปไตย - กิจกรรมจิตอาสาพาสุขใจ - กจิ กรรมเดก็ ปฐมวยั หา่ งไกลสิง่ เสพตดิ เพ่อื ให้เด็กปฐมวยั มีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สื่อสารไดม้ ีทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ได้ โรงเรียนจัดโครงการ กจิ กรรมตา่ งๆ โดยดำเนินกิจกรรมดงั น้ี - โครงการโครงงานปฐมวยั - โครงการนักวิทยาศาสตร์น้อย นอกจากนี้ยงั ไดจ้ ัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดแทรกทักษะการสอื่ สารทง้ั ในและนอกเวลาเรียนโดย จัดกิจกรรมต่างๆ โดยมุ่งส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาให้ดี ย่งิ ข้ึน ๑.๒ ผลการดำเนนิ งาน เด็กปฐมวัย มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มนี ำ้ หนกั และสว่ นสงู เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ สามารถใชก้ ล้ามเนอ้ื ใหญ่ กลา้ มเน้ือเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและ ประสานสัมพนั ธก์ นั เหมาะสมกบั สุขภาพและวัย มีสุขภาพแข็งแรงมีทกั ษะในการใช้ประสาทสมั ผสั ทั้ง ๕ และ มสี ขุ นิสยั การรกั ษาสุขภาพอนามัยทีด่ ี ดา้ นอารมณ์ จิตใจเด็กปฐมวยั มีสขุ ภาพจิตที่ดี ร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใส มคี วามสขุ มีความอารมณ์ท่ีดีต่อ ตนเอง รักการออกกำลังกาย รักดนตรี ชื่นชมศิลปะ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสนใจ ใฝ่รู้ มั่นใจใน ตนเองและกลา้ แสดงออกและมีการแสดงออกทางอารมณไ์ ดเ้ หมาะสมกับวัย ดา้ นสงั คมเด็กมีวินยั รบั ผิดชอบ เชอื่ ฟังคำสง่ั สอนของพอ่ แม่ ครูอาจารย์ มคี วามซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือ แบ่งปัน ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนเองนับถือ เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข ปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ท่ีดีของกลุ่มและของชัน้ เรียน รู้จักแบ่งปนั และชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน ตามโอกาส ดา้ นสติปัญญาเด็กปฐมวยั สนใจเรยี นรู้สงิ่ รอบตัว ซักถามอยา่ งตง้ั ใจ และรักการเรยี นรู้ มคี วามคิด รวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคุณภาพ ดเี ลศิ ๒.๑ กระบวนการพฒั นา ผู้บริหารโรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล มีการบริหารจัดการแบบกระจายอำนาจและแบ่งงานเป็น ฝ่ายต่างๆ ทำให้บุคลากรมีการพัฒนาตนในการทำงาน สามารถวางแผนและตัดสินใจในงานต่างๆ ที่ตน รับผดิ ชอบ เช่น การจดั ทำโครงการหรือกจิ กรรม ทำใหม้ ีความคล่องตัว มีประสทิ ธิภาพที่ดีส่งผลให้บุคลากรเกิด ประสบการณ์ มีความรู้ ความชำนาญในการทำงานตามความสามารถ และความถนัดของตนเอง ผู้บริหาร ตระหนักในความสำคัญของการจัดการศึกษาให้ทันสมัยสอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษาจึงได้ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาด้านความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนื่อง โดยได้จัดการอบรม/สัมมนา ส่ง บุคลากรเขา้ รบั การอบรม/สัมมนากับหน่วยงานอืน่ ทจ่ี ัดขนึ้ เชน่ จดั อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการรับประเมินคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษาระบบงานสารสนเทศ อมรมเทคนิคด้านการสอนทั้งระดับปฐมวัย ประถมศึกษา อบรม ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ปฐมวัย วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ยังได้จัดระบบ บริหารงานและการให้บริการ โดยจัดทำเอกสารแผ่นพับข่าวสารเพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารภายในโรงเรียน จัดทำแฟ้มข้อมูลของโรงเรียน ครู นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานและสามารถใช้ ประโยชนก์ ับผทู้ ม่ี าตดิ ต่อหรอื สอบถามได้ทันตามความต้องการ โดยโรงเรยี นได้จดั โครงการตา่ งๆ ดังนี้ ๑.โครงการพัฒนาบุคลากร ๒.โครงการนิเทศภายในสถานศกึ ษา ๓.โครงการจัดทำสารสนเทศการศกึ ษาปฐมวัย ๔.โครงการปรบั ปรุงสวนหยอ่ มบรเิ วณหนา้ อาคารปฐมวัย ๒.๒ ผลการดำเนินงาน บุคลากรมีการพัฒนาตนในการทำงาน สามารถวางแผนและตัดสนิ ใจในงานต่างๆ ที่ตนรับผิดชอบ มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพที่ดีส่งผลให้บุคลากรเกิดประสบการณ์ มีความรู้ ความชำนาญในการทำงาน ตามความสามารถ และความถนัดของตนเอง มีเทคนิคด้านการสอนท้ังระดับปฐมวัย ประถมศึกษา นอกจากนี้ ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจัด การศึกษา มีการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมิน ผลการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งในและนอก สถานศึกษา ทเ่ี หมาะสม เป็นระบบและตอ่ เนอ่ื งและจากการประเมนิ ความพึงพอใจของคณะครูและผเู้ ก่ียวข้อง อยูใ่ นระดับดี และมผี ลงานของผบู้ รหิ ารและสถานศึกษาดงั นี้
มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสำคญั ระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ๓.๑ ระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้จัดครทู ่ีมีความรคู้ วามเข้าใจในเป้าหมายการจดั การศกึ ษาปฐมวัย ครจู ัดทำแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกบั พฒั นาการตามวยั ของผูเ้ รียน และสนองความต้องการของเดก็ แต่ละคน ใช้เทคนิคการสอนใหม่เพื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้ส่งครูศึกษาดูงานนอก สถานที่อย่างสม่ำเสมอทางโรงเรยี นยังสนับสนุนและส่งเสริมใหค้ รูระดับปฐมวัยเข้ารับการอบรม ตามโครงการ พัฒนาบุคลากร เพื่อให้มีความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบมากยิ่งขึ้น มีความรู้ ความสามารถ มี ความเข้าใจถึงการจัดการศึกษาปฐมวัย มีการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ที่สอดคลอ้ งกับพัฒนาของเดก็ ตาม วัย และสามารถประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ครบทกุ ดา้ นอย่างเหมาะสม โรงเรียนจึงจัดโครงการข้นึ ดงั น้ี ๑ โครงการห้องเรียนของหนู ๒.โครงการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย ๔ ดา้ น ๓. โครงการวเิ คราะหผ์ ู้เรียน โรงเรยี นสง่ เสรมิ ใหค้ รูมีการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรียนรู้ของเด็ก มีการประเมินพัฒนาการของผูเ้ รียนครบ ทุกดา้ นอยา่ งเหมาะสมตามวยั และสอดคลอ้ งกับสภาพจรงิ ของการเรียนรู้ โดยใหค้ รปู ระเมินผลการการเรียน การสอนตามสภาพจริง และอิงพัฒนาการของผู้เรียน ประเมินพัฒนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล พัฒนา วิธกี ารทีห่ ลากหลายในการประเมนิ ผูเ้ รียน และนำผลการประเมินมาแก้ไขปรบั ปรุงพัฒนาผู้เรียนให้ดีขึ้น และ พัฒนาการตามวัยอย่างเหมาะสม มุ่งเน้นให้ครูได้พัฒนาการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้ สอดคล้องตามสภาพจรงิ และสามารถนพความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวัน ๓.๒ ผลการดำเนนิ งาน ครูมคี วามรู้ความเขา้ ใจในเปา้ หมายการจดั การศึกษาปฐมวัย ครูจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ท่เี หมาะสมกับพฒั นาการตามวัย และสนองความต้องการของเดก็ แต่ละคน ใชเ้ ทคนิคการสอนใหมๆ่ เพ่ือการ สอนอยา่ งมีประสิทธิภาพและเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ครูระดับปฐมวัยเขา้ รบั การอบรม ตามโครงการพัฒนา บุคลากร มีความรู้ ความสามารถ มคี วามเข้าใจถึงการจัดการศกึ ษาปฐมวยั มีการจดั กิจกรรมและ ประสบการณ์ทสี่ อดคลอ้ งกบั พฒั นาของเด็กตามวัย และสามารถประเมนิ พัฒนาการของเด็ก ครบทุกด้าน อยา่ งเหมาะสม จดุ เดน่ เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง น้ำหนักและส่วนสูงเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข สามารถใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน เหมาะสมกับสุขภาพและวัย มีสุขภาพแข็งแรงมีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ และมีสุขนิสัยการรักษา สุขภาพอนามัยที่ดี มีสุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใส มีความสุข มีความอารมณ์ที่ดีต่อตนเอง ผู้เรียน ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกทีด่ ีของกลุ่มและของชัน้ เรียนรู้จัก แบ่งปันและช่วยเหลือผู้อืน่ ตามโอกาส สนใจเรียนรู้สงิ่ รอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งตา่ ง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การ
เรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมี จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ บุคลากรมีการพัฒนาตนในการทำงาน สามารถวางแผนและตัดสินใจในงานต่างๆ ที่ตนรับผิดชอบ มี ความคล่องตัว มีประสิทธิภาพที่ดีส่งผลให้บุคลากรเกดิ ประสบการณ์ มีความรู้ ความชำนาญในการทำงานตาม ความสามารถ และความถนัดของตนเอง มเี ทคนคิ ดา้ นการสอนทัง้ ระดบั ปฐมวัย ประถมศึกษา ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา รวมไปถึงครูมีการผลิตสื่อการสอน และมีแหล่งเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้ ค้นคว้า ฝึกกระบวนการทำงาน กระบวนการเรียนรู้ และได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ รวมไปถึงการจัดการเรียน การสอนแบบสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้เรียน และยังมีการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของ ผ้เู รียนอีกดว้ ย จุดควรพัฒนา การดำเนินงานตามมาตรฐานนี้โดยเฉพาะความมั่นใจและการกล้าแสดงออกของผู้เรียนยังไม่ค่อ ย ชดั เจน ผู้เรียนบางคนยังขาดทักษะในการแกป้ ัญหา บางคนขาดความม่ันใจและการกล้าแสดงออก บางคนขาด ความมวี ินัย ความรบั ผิดชอบ รวมถงึ ความเชือ่ ฟังคำสงั่ สอนของพ่อและแม่ในขณะอยู่ท่ีบ้าน จึงได้เปิดโอกาสให้ ผ้ปู กครองไดม้ สี ว่ นร่วมในการเสนอความคดิ เหน็ ในการจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นมากขนึ้ ทกุ ขนั้ ตอนร่วมกับ ครู ขอ้ เสนอแนะ ควรมกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบสร้างองค์ความรูแ้ ละมีการวจิ ยั อย่างต่อเน่อื ง มีการใช้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นเข้ามาสอดแทรกในการจดั การเรยี นรู้ แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดบั ให้สูงขน้ึ แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี ๑ ๑. พฒั นารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ แบบ Active Learning เพอ่ื มาพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๒. จัดโครงการ กจิ กรรมให้พ่อแม่ ผปู้ กครอง ชมุ ชน และผู้เก่ยี วข้องเขา้ มามีสว่ นร่วม ๓. จดั โครงการ กิจกรรมใหม้ ีการนำภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ และปราชญ์ชาวบ้าน เข้ามามีสว่ นรว่ ม ในการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ัติงานที่ ๒ ๑. นำระบบการประกันคุณภาพมาใช้ในการบริหารโรงเรียน เพื่อยกระดับคุณภาพสถานศึกษาและ แสวงหาจุดเดน่ ของโรงเรยี นตอ่ ไป ๒. ครูปรบั กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือให้เดก็ ได้มกี ารแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง ๓. จัดหาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในระดับปฐมวัยเพื่ออำนวยความสะดวกและพัฒนาคุณภาพ ครูผู้สอนให้มีมาตรฐานเท่าเทียมกันการจัดเก็บข้อมูล ควรได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้นโดยใช้ระบบ
เก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย เพื่อสะดวกในการใช้งานประหยัดแรงงาน วัสดุอุปกรณ์รวมทั้งพื้นที่การ จัดเกบ็ ข้อมูลครบทกุ ห้อง ๒. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษา ขน้ั พ้นื ฐานดงั น้ี มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ดเี ลศิ ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น ๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน ดีเลิศ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น โรงเรียนมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ ๑ มีระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการมีส่วนร่วม เป้าหมายชัดเจน นักเรียน สามารถ อ่านคำพื้นฐาน มีความสามารถในการอ่านเขียนภาษาไทยตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยโรงเรียนจัดกิจกรรมคำ พื้นฐานออนไลน์ สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษด้วยการทักทายเพื่อนและครูด้วยคำ/ประโยคง่ายๆ นักเรียน ไดร้ ับการฝึกทักษะการคิดคำนวณ โดยมีกจิ กรรม การท่องสูตรคูณ คดิ เลขเรว็ ผา่ นการเรียนออนไลน์ นักเรียน สามารถวางแผนการคิดอย่างเป็นระบบแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแก้ปัญหาโดยการเรียนรู้รูปแบบโครงงาน เป็นฐาน ได้แก่ กิจกรรมโครงงานสอนน้องรักษ์น้ำ สามารถจัดทำหนังสือเล่มเล็ก การทำสื่อ My Mapping ได้ โรงเรียนส่งเสรมิ ผูเ้ รียนให้มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นกั เรียนสามารถ สบื คน้ ขอ้ มูลทางอนิ เทอรเ์ นต็ ครจู ัดกิจกรรมการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ วัดและประเมินผลตาม สภาพจริงดว้ ยเคร่ืองมือหลากหลาย จดั กิจกรรมทสี่ ่งเสริมความสามารถตามความถนัดและความสนใจโดยผ่าน กจิ กรรมชมรมทักษะชวี ติ โดยใหน้ กั เรียนทำกจิ กรรมรว่ มกับครอบครวั และถา่ ยรูปสง่ ในด้านการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด โดยมีผลการ ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ระดบั ดเี ยยี่ ม คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๘.๕๑ ผูเ้ รยี นมคี วาม ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ซึ่งเห็นได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญ และประเพณีต่าง ๆ ของ ชมุ ชน เปน็ ต้น ผู้เรียนยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างทหี่ ลากหลายและมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย จติ ใจ และสังคมเป็นไปตามเป้าหมายของสถานศึกษา ซึ่งเห็นได้จากความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน การสอนและการเข้ารว่ มงานชุมชน นักเรียนมนี ้ำหนกั สว่ นสงู และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี ๑ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น - โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ แผนปฏิบัติงานท่ี ๒ สง่ เสรมิ และจัดกิจกรรมรักการอา่ นและการเขยี นคำพ้ืนฐาน - โครงการพัฒนาหอ้ งสมดุ แผนปฏิบัติงานท่ี ๓ จัดกจิ กรรมการฝึกทักษะการคดิ คำนวณขนั้ พื้นฐาน แผนปฏบิ ัตงิ านที่ ๔ ศกึ ษาผู้เรยี นรายบุคคล จัดกล่มุ เพอื่ พัฒนาผเู้ รยี น - โครงการพัฒนาระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ โรงเรยี นมีผลการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานท่ี ๒ มีระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ โรงเรียน วัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาลมีการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ภายใต้วงจรคุณภาพ PDCA เป็นการ กระจายอำนาจ และการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โรงเรียนมีการประชุม ระดมความคิด วางแผน กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ที่เป็นไปตามบริบทและสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการของสถานศึกษาอย่างชัดเจน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีคุณภาพ โดยการ วิเคราะหจ์ ดุ อ่อน จุดแขง็ (S.W.O.T) จดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ี กำหนดให้ จัดโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน ๔ ฝ่าย อย่างชัดเจน พร้อมกับความร่วมมือของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การติดตามตรวจสอบผลการดำเนินงานควบคุมดูแล และบริหารความ เสี่ยง การดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการดาเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงานและจัด ประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ กยี่ วข้องในการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการสถานศึกษา ผบู้ รหิ าร ครูและ ผ้มู ีส่วนเก่ยี วข้องรับทราบถงึ การบริหารงาน การดำเนินโครงการกจิ กรรมต่างๆ ภายในโรงเรยี น ส่งเสริมบุคลากรให้มีการพัฒนาตนเองทั้งด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผลใหม้ ีความหลากหลายตามสภาพจริง และนำความรู้ที่ได้จากการอบรมนำสูห่ ้องเรียน ส่งเสริมบุคลากรให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อพัฒนาผู้เรียน จัดบุคลากรประจำกลุ่มงาน อย่างชัดเจนเหมาะสมกับความรูค้ วามสามารถ มกี ารนเิ ทศ กำกบั ติดตามการปฏิบัติหนา้ ท่ีของบุคลากรเพื่อให้ งานมีความถูกต้องและมีประสิทธิภาพ จัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและรายงงานคุณภาพ การศกึ ษาแก่ทุกภาคส่วน เพอื่ สะท้อนผลการดำเนนิ งานและปรับปรงุ พัฒนาในคราวตอ่ ไป แผนปฏบิ ตั ิงานที่ ๑ โครงการระบบประกนั คุณภาพ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ ๒ โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ แผนปฏบิ ตั งิ านที่ ๓ โครงการพฒั นาบุคลากร
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ โรงเรียนมผี ลการประเมนิ คุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ ๓ มรี ะดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ โรงเรียน มีการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครูสามารถจัดการเรียน การสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยจัดทำโครงการการจัดการเรยี นการสอนโดยเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ครูและ บุคลากรทางการศึกษาทุกคน วิเคราะห์หลักสูตร จัดทำแผนการวัดประเมินผล สื่อการเรียน โดยยึดหลักสูตร สถานศึกษาเป็นหลัก มีการประเมินหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร รายงานการใช้หลักสูตร เมื่อสิ้นปีการศึกษา มี ส่วนรวมในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและ หลักสตู รรายกลุ่มสาระ สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยี สนับสนุน ให้บุคลากรสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน โดยผลิตและใช้สื่อ DLIT / NEW DLTV ในการจัดการเรียนการ สอน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาด เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID– ๑๙) โรงเรียนได้จัดการเรียน อยา่ งหลากหลาย คือ On Hand , On Lineและ On Demand การบริหารจัดการชั้นเรียนออนไลน์ เอื้อต่อการเรียนรู้ โรงเรียนมีการจัดครูสอนไดครบชั้นและตรง ตามวิชาเอก ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการสอน การคัดกรองนักเรียน ผ่านโครงการระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี น การพฒั นาแหลง่ เรยี นรภู้ ายในให้เหมาะสมและเพียงพอ การวัดผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริงด้วย เครื่องมือและวิธีการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET และ NT โดยจัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การจัดทําเอกสาร ปพ. วัดและประเมินนักเรียน ชัดเจน สนับสนุนให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหานักเรียน ให้ครูได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง นิเทศ กำกับ ติดตามการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และสนับสนุนการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน แกไ้ ขและปอ้ งกนั นักเรียน แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี ๑ พัฒนาบุคลากร - โครงงานพฒั นาบคุ ลากร แผนปฏิบัตงิ านที่ ๒ นิเทศการจัดการศกึ ษา - โครงการนิเทศการจดั การศึกษา จุดเด่น ๑. คุณภาพของผู้เรยี น - นักเรียนมีผลการเรียน ผลสัมฤทธิ์ผลทางการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O- NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ๓ วิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย คะแนน เฉลี่ย ร้อยละ ๕๑.๒๕ วิชาคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๓๙.๖๓ และวิชาวิทยาศาสตร์ คะแนนเฉล่ีย ร้อยละ ๓๘.๗๕ การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ป.๑ การอ่านออกเสียง ร้อยละ ๘๗ การ อา่ นรู้เรือ่ ง รอ้ ยละ ๘๕ - นักเรียนมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตรงตามหลักสูตรสถานศึกษา - นักเรียนมีความสามารถในการส่ือสารและกลา้ แสดงออกทางวิชาการและเทคโนโลยี - ครมู คี วามสามารถในการใช้สอื่ เทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอน
๒. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ - โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน สอดคล้องตามความต้องการของชมุ ชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรฐั บาล และตน้ สงั กดั ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของสงั คม - บรหิ ารจัดการโดยใชก้ ระบวนการ PLC และหลกั การมสี ่วนร่วม ๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ - ครูปรับตัวและพัฒนาตนเองในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาด โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ และสอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร - ครใู ช้สอ่ื และเทคโนโลยีทีห่ ลากหลายในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน - ครมู คี วามมุ่งม่นั ตง้ั ใจพฒั นาการสอน โดยจดั กิจกรรมใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนรูจ้ ากการปฏบิ ัตจิ รงิ - เน้นทักษะกระบวนการคิด ให้นักเรียนแสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่าง ต่อเน่อื ง นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่เี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ - บรรยากาศการเรยี นการสอนเป็นไปอยา่ งเป็นกลั ยาณมติ ร - มกี ารประเมินผลตามสภาพจริงดว้ ยวิธีการหลากหลาย จุดทค่ี วรพฒั นา ๑. คุณภาพของผูเ้ รยี น - ควรยกระดบั ผลสัมฤทธิใ์ นกลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ - ควรพัฒนาระบบนเิ ทศภายในใหเ้ ป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ - ควรนำภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นใหเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมมากข้นึ ขอ้ เสนอแนะ - มีโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกวิชาทั้งระบบ ตั้งแต่ อนุบาลโดยเน้นสาระ การเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ - มกี จิ กรรมการสอนซ่อมเสรมิ ดา้ นการคิดคำนวณ และการใช้ภาษา ในระดับชั้น ป.๑- ป.๖ แผนพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดบั ให้สูงขน้ึ แผนปฏิบตั งิ านที่ ๑. การสง่ เสรมิ และสร้างความตระหนกั ให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ โดยใช้กระบวนการ PLC และการจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ รปู ธรรมอย่างมีคณุ ภาพ แผนปฏิบัติงานที่ ๒. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาครู ในการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ เก็บเป็นคลังความรู้สำหรับการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการทดสอบระดบั ชาติ O-NET RT และ NT และใชภ้ ูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ มสี ว่ นร่วม
แผนปฏิบัติงานที่ ๓. สนับสนุนความพร้อมในการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยี ทั้งด้านอุปกรณ์ สัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ให้ครู บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียนสามารถใชง้ านไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา แผนปฏิบัติงานที่ ๔. ส่งเสริมการบริหารจัดการผ่านระบบออนไลน์ เพื่อลดการแพร่ระบาดของไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ แผนปฏิบัติงานที่ ๕. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้รอบด้าน ทั้งด้านความรู้ เทคนิคกระบวนการ และความกา้ วหนา้ ทางวิชาชีพ
การใหค้ วามเห็นชอบเอกสาร รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนวดั ศาลาตึกสิทธชิ ัยวศิ าล สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๑ มติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาลครั้งที่ ๑/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล แล้วเห็นชอบในการรายงานการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ด้วยมตเิ อกฉนั ทใ์ ชร้ ายงานต่อหน่วยงานตน้ สังกัดหน่วยงานและ สาธารณชนได้ (ลงช่ือ) (นายวรี ยทุ ธ ศริ ิทองเกษตร) ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนวดั ศาลาตึกสิทธิชยั วศิ าล (ลงช่ือ) (นายอุดมศักดิ์ เตยี วต๋อย) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวดั ศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล
ก คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) โรงเรียน วัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นการสรุปผลการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทสภาพ และความต้องการของสถานศึกษา สะทอ้ นผลคณุ ภาพของการดำเนินงานของสถานศกึ ษา โดยนำเสนอข้อมูล พ้นื ฐานเบื้องต้นของสถานศึกษา และม่งุ เนน้ ตอบคำถาม ๓ ข้อ คอื ๑) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีคุณภาพอยู่ในระดับใด ๒) ข้อมูลหลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ์สนับสนุนมีอะไรบ้าง และ ๓) แนว ทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้นกว่าเดิมเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นผลสำเร็จจาก การบริหารจัดการศึกษาท่ี สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย จำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คณุ ภาพของเด็ก กระบวนการ บริหารและการจัดการ และการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และมาตรฐานการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพืน้ ฐานจำนวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพนักเรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นนักเรยี นเปน็ สำคัญ เพื่อเตรยี มความพร้อมรบั ในการประเมินภายนอก หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่า รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) จะเป็นสารสนเทศสำคัญทีส่ ถานศกึ ษาจะนำไปใช้พฒั นาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานและดียิ่งขึน้ ต่อไป โรงเรียนวดั ศาลาตึกสทิ ธชิ ัยวิศาล วันท่ี ๓๐ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕
ข สารบญั หนา้ สว่ นท่ี ๑ บทสรปุ ผู้บริหาร ก การให้ความเหน็ ชอบเอกสาร ๑ คำนำ ๑ ส่วนท่ี ๒ ข้อมูลพืน้ ฐาน ข้อมลู ทว่ั ไป ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศึกษา ๒ ขอ้ มูลผู้บริหาร ๒ ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศึกษา ๓ ข้อมูลนักเรยี น ๔ แนวโนม้ ของจำนวนนกั เรยี นท้ังหมดเปรยี บเทยี บเปน็ ปีการศึกษา ๔ ผลงานดีเดน่ ๔ ขอ้ มูลงบประมาณ ๕ ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม ๖ อาคารสถานท่ี ๖ โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ๗ แหล่งเรยี นรู้ ๘ การจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) ๘ งาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีดำเนนิ การในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๙ สรุปข้อมลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา ๑๖ ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๑๖ ขอ้ มลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั ขน้ั พน้ื ฐาน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๑๗ ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ๒๑ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ (O-NET ๒๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔) การประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ (RT) ๒๑ การประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ (NT) ๒๒ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ ว่ เิ คราะห์ และเขียน ๒๒ ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๒๒ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๒๓
สรุปผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ ค ส่วนที่ ๓ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา หน้า ผลการประเมินรายมาตรฐาน ๒๔ ระดบั การศึกษาปฐมวัย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ๒๕ สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม ระดบั การศึกษาปฐมวยั ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๒๕ สรปุ ผลการประเมินภาพรวม ๔๔ สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๕๑ ๕๖ สว่ นที่ ๔ ภาคผนวก ๗๘ หลกั ฐานข้อมูลสำคัญ เอกสารอ้างอิงต่างๆ ๘๖
๑ ส่วนที่ ๒ ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ๑. ข้อมูลท่ัวไป โรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล ที่ตั้งเลขที่ ๑๑๙ หมู่ ๑๖ ตำบลทุ่งลูกนก อำเภอ กำแพงแสน จงั หวัดนครปฐม สงั กัด สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๑ โทรศัพท์ ๐๓๒- ๒๙๑๐๕๗ โทรสาร ๐๓๒-๒๙๑๐๕๗ e-Mail [email protected] เปิดสอนระดับชน้ั อนุบาล ๒ ถงึ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เนอื้ ที่ ๘ ไร่ เขตพนื้ ทีบ่ รกิ าร หมทู่ ี่ ๙ และ หมู่ท่ี ๑๖ ตำบลทุ่งลกู นก อำเภอกำแพงแสน จังหวดั นครปฐม แผนผังโรงเรียนวดั ศาลาตึกสิทธิชยั วิศาล N พระพทุ ธรูป อาคารเรยี น โรงอาหาร บ้านพักครู หอ้ งส้วม โรงจอดรถ เรือนพยาบาล สนามกฬี า คำขวัญ ความรคู้ ูค่ ุณธรรม น้อมนำวิถีพอเพียง ปรัชญาโรงเรยี น ปญญฺ า นรานํ รตนํ ตราสญั ลกั ษณ์โรงเรยี น
๒ วสิ ัยทศั น์ (VISION) โรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล พัฒนาผู้เรียนเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานการศึกษา ก้าวหน้า เทคโนโลยี เน้นการมีส่วนร่วม ส่งเสริมคุณธรรม น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพดี สืบสาน ประเพณี รักษ์สิง่ แวดลอ้ ม พนั ธกิจ (MISSION) ๑. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษา ๒. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม และดำรงชีวิตตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. พฒั นาบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี และเปน็ ครมู ืออาชีพ ๔. พฒั นาการบริหารจัดการ และระบบการประกันคุณภาพโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ๕. พฒั นาและร่วมมือกบั ชุมชนสรา้ งเครือขา่ ยในการจัดการศกึ ษา เป้าประสงค์ (Goals) ๑. นกั เรยี นมีความรู้ และคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา ๒. นักเรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มที ักษะชวี ิต รกั ษ์ความเป็น ไทยและดำรงชวี ิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ครมู ีความรแู้ ละทกั ษะทางดา้ นวชิ าการ และจัดการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ ๔. โรงเรียนบริหารจัดการได้ตามมาตรฐานการศึกษาด้วยระบบการประกันคุณภาพ ๕. ชุมชนมีสว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ สนับสนนุ และร่วมจัดการศึกษา อตั ลกั ษณ์ “คนดี มปี ัญญา สาธารณะจติ ” เอกลักษณ์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี ๒. ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศึกษา ๒.๑ ข้อมูลผบู้ รหิ าร ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ชอ่ื -สกลุ นายอดุ มศกั ดิ์ เตียวต๋อย โทรศัพท์ ๐๙๔๘๘๔๕๖๕๖ E-Mail alanda๐๑@hotmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ศึกษามหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒ จนถึงปัจจุบัน เปน็ เวลา ๒ ปี ๔ เดือน
๓ ๒.๒ ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา ๒.๒.๑ จำนวนบุคลากร บุคลากร ผู้บริหาร ขา้ ราชการครู พนักงาน ครูอัตราจา้ ง เจ้าหนา้ ท่ี รวม ราชการ ๐ อ่นื ๆ ทงั้ หมด จำนวน ๑ ๘ ๑ ๐ ๑๐ ๒.๒.๑ ขอ้ มูลครูและบุคลากร ๑) ครปู ระจำการ ตำแหน่ง จำนวน ที่ ชอ่ื – ช่ือสกลุ อายุ อายุ / ชว่ั โมง วุฒิ วชิ าเอก สอนวิชา/ช้นั ในการ ราชการ วทิ ย สอน/ ฐานะ สปั ดาห์ ๑ นายสาธิต ขำสอน ๓๘ ๑๑ คศ.๒ ค.บ. ดนตรีศกึ ษา ศิลปะ ทุกระดบั ๑๘ ๑๘ ๒ นางวาสนา สระแพงแก้ว ๔๗ คศ.๓ ค.บ. คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ๑ - ๒ ๒๕ ๒๑ ๓ นางอรพรรณ สขุ ประเสรฐิ ๔๗ ๑๑ คศ.๒ ค.บ. ปฐมวัย อ.๒ ๒๐ ๒๕ ๔ นางชลกร นาควรสุขพิศาล ๔๔ ๑๗ คศ.๓ ค.บ. คณติ ศาสตร์ คณิต ๑,๔-๖ ๒๐ ๒๓ ๕ นางสาวนภา จนั ทร์รุ่งทรพั ย์ ๔๓ ๑๕ คศ.๓ ค.บ. ภาษาไทย ป.๓ ๖ นางวัฒนา อนิ ทเจียด ๔๒ ๑๑ คศ.๒ ค.บ. ปฐมวยั อ.๓ ๗ นางสาวสกุ าญจนา แกว้ ขาว ๓๖ ๑๐ คศ.๒ วท.บ. วทิ ยาศาสตร์น วทิ ย์ ๓-๖ ๘ นายอสิ ระ ถามะนาสาท ๒๙ ๓ คศ.๑ ค.บ. อังกฤษ องั กฤษ ทุกระดบั ๒) ครูอัตราจ้าง ประสบการณ์ จำนวนช่วั โมง จ้าง ที่ ช่อื – ช่ือสกลุ อายุ การสอน วุฒิ วชิ าเอก สอนวชิ า/ชั้น ในการสอน/ ดว้ ยเงิน สัปดาห์ ๑ นางสาวชาลณิ ี ธนวฒั นอ์ ทิ ธกิ ลุ ๓๓ ๘ ค.อ.บ. วิศวกรรม อนุบาล ๑๒ อ.บ.ต. คอมพวิ เตอร์ วิทย์ ป.๑-๒ จำนวนครทู ี่สอนวชิ าตรงเอก ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ แผนภูมิแสดงวฒุ ิการศึกษาของบุคลากรโรงเรยี น ปวส ประกาศนียบตั ร ปริญญาตรี ปริญญาโท
๔ ๓. ข้อมูลนักเรียน (ณ วนั ส้ินปีการศกึ ษาทร่ี ายงาน) จำนวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งส้ิน ๑๘๔ คน จำแนกตามระดบั ช้นั ที่เปิดสอน จำแนกตามระดบั ชนั้ ท่ีเปดิ สอน ระดับชั้นที่เปิดสอน จำนวน จำนวน(คน) หอ้ ง นกั เรียน นกั เรียน ปกติ เดก็ พเิ ศษ รวมนกั เรยี นทง้ั หมด อนบุ าล ๒ ๑ ชาย หญิง ชาย หญิง ณ วนั สนิ้ ปีการศกึ ษา อนบุ าล ๓ ๑ ๑๑ ๗ ๐ ๐ ๑๘ ๒ ๘๙๑ ๐ ๑๘ รวม ๑ ๑๙ ๑๖ ๑ ๐ ๓๖ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๑ ๑๐ ๗ ๑ ๐ ๑๘ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ ๑ ๑๕ ๒ ๐ ๐ ๑๗ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๑ ๑๓ ๘ ๒ ๑ ๒๔ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ๑ ๑๖ ๑๔ ๑ ๐ ๓๑ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑ ๑๐ ๑๘ ๑ ๑ ๓๐ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๖ ๑๒ ๑๓ ๒ ๑ ๒๘ ๗๖ ๖๒ ๗ ๓ ๑๔๘ รวม รวมท้ังหมด ๘ ๙๕ ๗๘ ๘ ๓ ๑๘๔ ๔. แนวโน้มของจำนวนนกั เรียนท้งั หมดเปรียบเทียบเปน็ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ จำนวนนักเรยี นทงั้ หมด/ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ แนวโน้ม (จำนวนนกั เรียน ณ วันสน้ิ ปกี ารศกึ ษา) (ลดลง/เพิ่มขึ้น) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๑๘๔ ลดลง ๒๐๕ ๑๙๒ ๑๘๕ เปรยี บเทียบจำนวนนักเรียนตงั้ แต่ปี กำรศกึ ษำ ๒๕๖๑- ๒๕๖๔ 205 192 185 184 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 เปรยี บเทียบจานวนนกั เรยี นตง้ั แตป่ ีการศกึ ษา 2560-2564
๕ ๕. ผลงานดีเดน่ ประเภท ชื่อรางวัลท่ีได้รับ หนว่ ยงานทีม่ อบรางวลั สถานศึกษา ๑. นวตั กรรมเพ่ือสุขภาวะทด่ี ีของนักเรยี น ประจำปี ๒๕๖๔ สพฐ. ผบู้ ริหาร สพฐ. ครู ๒. โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. กจิ กรรมที่ ๓ โรงเรยี นดีตอ้ งมีทีย่ นื สพฐ. นักเรียน ๓. โรงเรยี นคาร์บอนตำ่ ประจำปี ๒๕๖๔ กรมอนามยั ศูนย์อนามยั ๔. นวัตกรรมต้นแบบด้านโภชนาการ ท่ี ๕ ราชบรุ ี สพฐ. ๑. คุรชุ นคนคณุ ธรรม ประเภท ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ๑. โรงเรยี นคาร์บอนตำ่ ประจำปี ๒๕๖๔ สพฐ. - หมายเหตุ โรงเรยี นสามารถรวมเกียรตบิ ัตรแตล่ ะประเภทไวใ้ นไดรฟ์ แล้วทำ QR-Code แปะไวส้ ำหรบั เป็นขอ้ มลู ให้กับผูป้ ระเมนิ ได้ QR CODE ผลงานและรางวัลของโรงเรียน ๖. ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จา่ ย) รายรับ จำนวน/บาท รายจา่ ย จำนวน/บาท ๒๐๙,๖๔๐ - เงินงบประมาณรายหวั ๓๔๔,๑๐๐ งบดำเนนิ การ/เงนิ เดือน-ค่าจ้าง ๕๔๐๒๔๓ - โครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการ ๓๓๓,๗๘๓ ๗๕๘,๕๐๐ ๑,๕๐๘,๓๘๓ จดั การศกึ ษาตง้ั แต่อนบุ าลจนถึง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เงนิ นอกงบประมาณ - งบพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา เงินอ่นื ๆ (ระบุ) คา่ อาหารกลางวนั ๗๕๘,๕๐๐ งบอ่นื ๆ(ระบ)ุ ค่าจา้ งครูพ่เี ล้ยี ง ๗๒,๐๐๐ รวมรายรับ ๑,๕๐๘,๓๘๓ รวมรายจา่ ย งบดำเนินการ/เงินเดือน เงินค่าจา้ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๐ ของรายรับ งบพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๐ ของรายรับ
๖ ๗. ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม ๗.๑ เปน็ สังคมทม่ี ีประชากรกระจดั กระจายกนั เปน็ หมู่บา้ น ซงึ่ เปน็ รอยต่อ ๓ จงั หวัด คือ นครปฐม ราชบรุ ี และกาญจนบรุ ี ๗.๒ ประชาชนในกล่มุ มคี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ิด ชว่ ยเหลอื เก้ือกลู กัน ๗.๓ ระดบั การศกึ ษาค่อนขา้ งต่ำ โอกาสในการศึกษาแสวงหาความรู้ มนี อ้ ยกวา่ ในเมือง ๗.๔ ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ชาวไร่ และรบั จา้ ง ๗.๕ มีความเชื่อถือศรัทธาในศาสนา ยดึ มั่นในประเพณี ๗.๖ ประชากรมีรายไดป้ านกลางจนถงึ รายได้ต่ำ ๘. อาคารสถานท่ี อาคารเรยี นจำนวน ๒ หลงั อาคารประกอบจำนวน ๓ หลัง สว้ ม ๓ หลงั สระว่ายน้ำ ๐ สระ สนามเด็กเล่น ๑ สนาม สนามฟุตบอล ๐ สนาม สนามบาสเกตบอล ๑ สนาม สนาม อ่นื ๆ (ระบุ) - หอ้ งเรยี นปฐมวัย จำนวน ๒ หอ้ ง ๖ หอ้ ง - ห้องเรียนประถม . จำนวน ๑ ห้อง - หอ้ งพิเศษ ๑ ห้อง ๑ หอ้ ง หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ จำนวน ๑ ห้อง ๑ ห้อง ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ จำนวน ๑ ห้อง ๑ หอ้ ง ห้องสมดุ จำนวน ๑ หอ้ ง หอ้ งพยาบาล จำนวน ห้องดนตรี จำนวน ห้องกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน จำนวน ห้องสงั คมศกึ ษา จำนวน ห้องประชมุ จำนวน
๗ ๙. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับประถมศกึ ษา หลักสูตรโรงเรยี นวัดศาลาตึกสิทธิชยั วิศาล พุทธศักราช ๒๕๖๔ โรงเรียนไดจ้ ัดส่วนสาระการ เรียนรู้และเวลาเรียน ดงั แสดงในตารางต่อไปน้ี โครงสรา้ งโรงเรยี นวัดศาลาตกึ สทิ ธชิ ัยวศิ าล กล่มุ สาระการเรียนร้/ู กจิ กรรม เวลาเรยี น ระดับประถมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป.๖ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ประวัติศาสตร์ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ศิลปะ การงานอาชีพ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ รวมเวลาเรยี น(พืน้ ฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กจิ กรรมพฒั นานกั เรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. ลกู เสอื –เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๓. ชมรม ๔. กจิ กรรมเพ่อื สงั คม และสาธารณประโยชน์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รายวิชา/กจิ กรรมทสี่ ถานศกึ ษาจดั เพม่ิ เตมิ ตามความพร้อมจากจดุ เน้น หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สาร การงานเพมิ่ เติม ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๒๐ ชว่ั โมงต่อปี ๘๐ ชว่ั โมงต่อปี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑,๐๘๐ ชั่วโมง/ปี ๑,๐๔๐ ชว่ั โมง/ปี
๘ ๑๐ แหลง่ เรียนรูภ้ ายในและภายนอกโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ภายใน / ชอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ภายนอก / ชอื่ แหล่งเรยี นรู้ ๑. หอ้ งสมดุ ๑. วดั ศาลาตกึ ๒. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ๒. ชุมชนรอบๆโรงเรียน ๓. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ ๓. ฐานพลบั พลาศาลาตกึ ๔. สวนเกษตรพอเพียง ๕. ห้องดนตรีนาฏศลิ ป์ ๑๑. การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-๑๙) ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-๑๙) โรงเรยี นก็ ต้องปรับการ เรยี นการสอนตามปกติแบบวถิ ใี หม่ ในรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนทีห่ ลากหลายรปู แบบ ไมว่ ่า จะเป็น แบบ on-line ,on-hand และon –demand หรือรูปแบบอื่นๆตามความเหมาะสมกับสภาพความพร้อม ของครผู ูส้ อน และของนกั เรยี น เพอื่ ให้นักเรียนมคี ุณภาพเปน็ ไปตามหลักสูตรสถานศึกษาเตม็ ตามศกั ยภาพ ของผเู้ รยี น โรงเรียนดำเนินการ มดี งั น้ี ด้านกระบวนการ - สำรวจความพร้อมของนักเรียนและผู้ปกครองเป็นรายบุคคล ทั้งความพร้อมเรื่อง ของอุปกรณ์ การสื่อสาร ความพร้อมในด้านการใช้เครื่องมือการสื่อสาร และความพร้อมของผู้ปกครอง ในการเข้ามา มสี ่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ของนักเรยี น - สร้างภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการวางแผน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ เพื่อให้การจัด การเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพและมีความปลอดภยั ทัง้ นักเรียนผ้ปู กครองและบคุ ลากรในโรงเรยี นทกุ คน - ให้การสนับสนุนงบประมาณ สื่อการเรียนรู้ อุปกรณ์การเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการเรียน การสอน ดำเนนิ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน - จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย เหมาะสม สอดคล้องกบั วยั ของนักเรยี น ความต้องการ ศักยภาพของนักเรยี นและและความพร้อมของนักเรยี นและผปู้ กครองแตล่ ะคน - จัดการเรียนการสอนโดยเน้นการออกแบบแบบบูรณาการที่สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของ นักเรียนและมีความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียน อย่างมีความสุขในการเรียนรู้เพราะได้เรียนจากสภาพจริงในการดำเนินวิถีชีวิต เรียนจากการปฏิบัติจริง ในแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ใกล้บ้าน และผู้ปกครองก็จะมีศักยภาพพอที่จะช่วยให้คำปรึกษา ช่วยเหลือแนะนำ การเรียนรู้ให้กับนักเรยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
๙ - จัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ตามแนวทาง active learning มากกวา่ การบรรยาย ทำให้การบรรยายน้อยลง และนกั เรยี นเรยี นรจู้ ากหน้าจอลดลง - ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้มีโอกาสในการเลือกปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ และพหปุ ญั ญาของผู้เรียนรายบคุ คล เพ่ิมมากขนึ้ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับระดับความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่จะสามารถ ปฏิบตั ิกจิ กรรมเหล่านนั้ สำเรจ็ ไดด้ ว้ ยตนเอง - เลอื กใช้ส่อื การเรียนรูท้ ี่มีอยรู่ อบตัวผู้เรียนหรือสื่อของจริงท่ีอยู่รอบๆบ้าน ทนี่ กั เรียน สามารถเข้าไป เรยี นร้ไู ด้อย่างปลอดภยั - ใชส้ ื่อออนไลน์อยา่ งเหมาะสม ไม่มากเกนิ ไปจนทำให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ร่างกายและจิตใจ ของผเู้ รียน - เลือกใช้แหลง่ การเรียนรทู้ ี่มีความปลอดภัยต่อชวี ิตและสขุ ภาพของผู้เรียน หลีกเล่ยี ง ท่ีเป็นอันตราย ต่อร่างกายและชวี ิต - ออกแบบการวัดและประเมนิ ผลโดยใช้แนวทางประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรยี น ดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลาย ประเมินจากสิง่ ทผี่ ู้เรียนปฏบิ ัติไมแ่ ยกการประเมินออกจากการจดั การเรยี นรู้ ๑๒. งาน/โครงการ/กจิ กรรม ทีด่ ำเนนิ การในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ท่ี ชือ่ งาน/โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค/์ เป้าหมาย วธิ ดี ำเนนิ การ สอดคล้องกับ ผลการ กิจกรรม มาตรฐานการศึกษา ดำเนนิ งาน (ม.ฐ ท่ี / ตบช. ท่)ี ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ ระดับปฐมวัย วตั ถปุ ระสงค์ ๑.สอดแทรกคณุ ธรรม มฐ. ๑ , ๒ ๑.เดก็ ปฐมวัยมี ๑ กิจกรรมหนเู ป็นเดก็ ดี ๑.เดก็ มีวนิ ัยในการแตง่ กาย จรยิ ธรรมทกุ วนั ระเบยี บวนิ ยั มี การใชค้ ำพูด มีมารยาทดี ๒.จัดกิจกรรมการประกวด มารยาทดี มีความ ๒.เดก็ มีความซอื่ สตั ย์ มารยาท ซอ่ื สัตย์ กตญั ญู ๓.เดก็ มคี วามกตญั ญู ๓.จัดกิจกรรมการประกวด ๔.เดก็ มีความเมตตา กรณุ า การแตง่ กาย ๒.ผู้ปกครองมี เป้าหมาย ๔.ครู / ผปู้ กครอง ความพึงพอใจใน เดก็ ปฐมวยั ทกุ คนมคี ณุ ธรรม ร่วมกันประเมิน พฤตกิ รรมของเด็ก จริยธรรมและพฤติกรรมอนั ๕. สรปุ ผลการประเมนิ พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ
๑๐ ท่ี ชื่องาน/โครงการ/ วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนนิ การ สอดคลอ้ งกับ ผลการ กจิ กรรม มาตรฐานการศกึ ษา ดำเนนิ งาน (ม.ฐ ที่ / ตบช. ที่) ตามวตั ถุประสงค์ ของโครงการ ๒ โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพ วตั ถปุ ระสงค์ ๑.ให้ความรู้กบั ผปู้ กครอง มฐ. ๑ เด็กปฐมวัยมี เด็กปฐมวยั ๑.เดก็ ปฐมวัยมีอาหาร เกย่ี วกบั โภชนาการด้าน สขุ ภาพแข็งแรง กลางวันรับประทานครบ ๕ อาหาร น้ำหนักและ หมู่ และมีอาหารเสรมิ (นม) ๒.เด็กรบั ประทานอาหาร ส่วนสูงเปน็ ไปตาม ดม่ื ทุกวนั โดยมคี รู และผู้ปกครอง เกณฑม์ าตรฐาน ๒.ฝึกให้เด็กมสี ุขนิสยั และ ดูแลใหค้ ำแนะนำ มารยาททีด่ ีในการ ๓.เดก็ เกบ็ ภาชนะใส่ รับประทานอาหาร การดม่ื อาหาร ทำความสะอาด นม การออกกำลงั กาย บรเิ วณโตะ๊ อาหาร โดยครู ๓.ฝึกใหเ้ ด็กมีความ และผปู้ กครองแนะนำ รับผดิ ชอบ ๔. เดก็ ดมื่ นมทีท่ าง เป้าหมาย โรงเรียนจดั ให้ ๑.เดก็ ปฐมวัยทุกคนได้ ๕. เด็กนอนหลบั ผกั ผอ่ นที่ รับประทานอาหารกลาง บา้ นในสถานการณ์โรค วันทม่ี ีประโยชน์ตามหลัก ระบาดโควิด ๑๙ และออก โภชนาการ กำลังกายสมำ่ เสมอ ๒. เดก็ ปฐมวัยทกุ คนได้รับ ๖.สรปุ รายงาน อาหารเสรมิ (นม)และออก กำลงั กายเป็นประจำ ๓ กิจกรรมจติ อาสาพาสุขใจ วัตถปุ ระสงค์ ๑.ใหเ้ ด็กรบั ผดิ ชอบการ มฐ.๓ ๑.เดก็ ปฐมวัยมี ๑.ปลกู ฝงั เดก็ ใหส้ นใจและ ช่วยงานบ้านของ ความตง้ั ใจในการ กระตอื รือร้นในการทำงาน ผปู้ กครองอยา่ งงา่ ยๆได้ ทำงานและ ๒.เดก็ ปฐมวยั รว่ มทำ เชน่ เก็บผ้า กวาดบา้ น รด รับผิดชอบงานที่ กจิ กรรมกบั ผู้อ่นื ได้จนสำเรจ็ นำ้ ตน้ ไม้ เปน็ ตน้ ไดร้ ับมอบหมาย และภาคภูมิใจในผลงาน ๒.ครตู ดิ ตามสอบถามกบั ๒.เด็กรว่ มปฏบิ ัติ ๓.ปลูกฝงั ใหเ้ ด็กมคี วาม เดก็ และผู้ปกครอง ใน กิจกรรมดว้ ยความ รับผิดชอบต่อตนเองและ ความสนใจและ สมัครใจ สว่ นรวม กระตือรอื ร้นในการทำงาน เป้าหมาย ๓.บันทึกผลการปฏิบัติ เด็กปฐมวัยทุกคนมจี ติ สำนึก และเสนอแนะแนว ในการใหบ้ ริการด้วยความ ทางแกไ้ ขปัญหาใหแ้ กเ่ ด็ก เตม็ ใจ ๕.ใหก้ ำลังใจเด็กในการ ร่วมกิจกรรมจดิ อาสา
๑๑ ท่ี ชือ่ งาน/โครงการ/ วัตถุประสงค/์ เป้าหมาย วิธีดำเนนิ การ สอดคล้องกับ ผลการ กิจกรรม มาตรฐานการศึกษา ดำเนินงาน (ม.ฐ ท่ี / ตบช. ท)ี่ ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ ๔ โครงการบา้ น วัตถปุ ระสงค์ ๑.ศึกษาแผนการจดั มฐ. ๓ ๑.นกั เรยี นมี นกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ๑.นักเรียนมที ักษะในการใช้ ประสบการณ์ ทักษะในการใช้ ภาษาท่เี หมาะสมกับวัย ๒.เตรียมใบงานในเรอ่ื งท่ี ภาษาทเี่ หมาะสม ๒.นักเรยี นตง้ั คำถามในเรื่อง จะใหเ้ ดก็ ทำการทดลอง กบั วยั ที่สนใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผ่านการเรียนการสอน ๒.นักเรยี นต้งั ๓.นักเรียนใชจ้ ินตนาการและ onlineและon hand คำถามในเรอื่ งท่ี ความคิดสร้างสรรค์ในทางที่ พร้อมอปุ กรณเ์ พียงพอกับ สมใจได้อย่าง เหมาะสม เดก็ ทุกคน เหมาะสม ๔.นักเรยี นใชท้ ักษะ ๓.สร้างขอ้ ตกลงในการ ๓.นกั เรยี นใช้ กระบวนการ ทาง ปฏิบตั ติ นขณะทำการ จินตนาการและ วทิ ยาศาสตรใ์ นการแก้ปญั หา ทดลอง ความคดิ และคิดสรา้ งสรรค์ ๔.ดำเนนิ กิจกรรม ทดลอง สรา้ งสรรคใ์ นทาง เป้าหมาย ทางวทิ ยาศาสตร์ และ ทเี่ หมาะสม ๑. นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ มี สรปุ ผลการทดลอง ๔.นกั เรยี นใช้ ทักษะในการใช้ภาษาท่ี กระบวนการ ทาง เหมาะสมตามวัย วิทยาศาสตรใ์ น ๒.นกั เรยี นร้อยละ ๘๐ ตั้ง การแก้ปัญหาและ คำถามในเร่ืองที่สนใจได้อย่าง คดิ สร้างสรรคอ์ งค์ เหมาะสมตามวัย ความรู้ ๓.นักเรียนร้อยละ ๘๐ ใช้ จนิ ตนาการและความคิด สรา้ งสรรค์ในทางท่เี หมาะสม ๔.นักเรียนร้อยละ ๘๐ ใช้ กระบวนการ ทาง วทิ ยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา และคิดสรา้ งสรรค์องคค์ วามรู้ ๕ โครงการจดั ทำสารสนเทศ วตั ถุประสงค์ ๑.ศึกษารปู แบบการจดั ทำ มฐ. ๓ ๑.โรงเรยี นมี การศึกษาปฐมวัย ๑.เพอื่ ใหก้ ารศกึ ษาปฐมวยั มี สารสนเทศ สารสนเทศระดับ ข้อมูล และสารสนเทศท่เี ปน็ ๒.รวบรวมข้อมูลที่ การศึกษาปฐมวัย ปจั จบุ นั เกย่ี วขอ้ งกับการศึกษา เพอ่ื การรายงาน ๒.เพอื่ ให้บรกิ ารสารสนเทศ ปฐมวัยใหค้ รอบคลุมทกุ หนว่ ยเหนือ แกผ่ ู้ที่เกยี่ วขอ้ ง ด้าน ๒.โรงเรยี นมี เป้าหมาย สารสนเทศเพื่อให้
๑๒ ที่ ช่อื งาน/โครงการ/ วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนินการ สอดคลอ้ งกบั ผลการ กิจกรรม มาตรฐานการศึกษา ดำเนนิ งาน (ม.ฐ ท่ี / ตบช. ท่ี) ตามวัตถุประสงค์ ๓.จดั ทำเอกสารข้อมลู และ ๓.จัดทำข้อมลู ให้เปน็ ของโครงการ สารสนเทศระดบั การศึกษา สารสนเทศของระดับ มฐ. ที่ ๑ : ตัวบ่งชีท้ ี่ บริการแกผ่ ้ทู ม่ี ี ปฐมวัย ทเี่ ปน็ ปัจจุบัน ในปี การศึกษาปฐมวยั ๑.๑ มฐ. ที่ ๒ : ตวั บ่งช้ี ความตอ้ งการ การศึกษา ๒๕๖๔ ๔.ใหบ้ รกิ ารสารสนเทศแก่ ท่ี ๒.๑ ๓.โรงเรยี นใช้ ผู้เกยี่ วข้อง สารสนเทศเปน็ ๕.เผยแพรส่ ารสนเทศ ฐานในการบริหาร บางส่วนเพอื่ การ จัดการ ประชาสมั พนั ธ์ เป็นไปตาม ระดับขัน้ พนื้ ฐาน ๑. โรงเรียนพัฒนาหลักสตู ร การปฏิบัตงิ าน (DO) เปา้ หมาย ๑ พฒั นาหลักสตู รและวดั ผล สถานศึกษา หลกั สตู รกลุ่มสาระ ๑. กจิ กรรมพัฒนา ประเมนิ ผลผู้เรียนอยา่ ง รอบด้าน การเรยี นรู้ พ.ศ.๒๕๖๔และ หลกั สตู ร หลกั สตู รทอ้ งถ่นิ - ปรบั ปรุงและพัฒนา หลกั สตู รสถานศึกษาและ หลกั สตู ร กลมุ่ สาระการ เรียนรู้ - คณะกรรมการบรหิ าร หลักสตู รตรวจสอบความ ถกู ต้อง สมบูรณ์ และ นำเสนอหลักสูตรตอ่ คณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน - นำหลกั สตู รสู่ กระบวนการเรยี นการสอน ๒ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ ๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษา ๑.กิจกรรมพัฒนา มฐ. ท่ี ๑ ผลการทดสอบ ทางการเรยี น ปีท่ี ๑–๖ ร้อยละ ๘๐ มี ภาษาไทย ระดับชาตสิ ูงขึ้น ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนแต่ ๒.กจิ กรรมพฒั นา เปน็ ไปตาม ละกลุ่มสาระมากกว่าระดบั ๒ คณติ ศาสตร์ เป้าหมาย ผลสัมฤทธ์ิ ๓.กจิ กรรมพัฒนา ทางการเรยี นไม่ วิทยาศาสตร์
๑๓ ท่ี ชือ่ งาน/โครงการ/ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนินการ สอดคล้องกบั ผลการ กจิ กรรม มาตรฐานการศกึ ษา ดำเนินงาน (ม.ฐ ท่ี / ตบช. ที่) ตามวัตถุประสงค์ ๔.กิจกรรมพัฒนาสงั คม ของโครงการ มฐ. ท่ี ๓ เปน็ ไปตาม ศึกษา ศาสนาและ มฐ. ท่ี ๒ เป้าหมาย วฒั นธรรม มฐ. ท่ี ๒ เป็นไปตาม เปา้ หมาย ๕.กิจกรรมพฒั นาการงาน เป็นไปตาม อาชพี และเทคโนโลยี เปา้ หมาย ๖.กจิ กรรมพฒั นา เป็นไปตาม เปา้ หมาย ภาษาองั กฤษ ๗.ติวโอเน็ต ๓ การจดั การเรยี นร้ทู เ่ี นน้ เพ่ือส่งเสรมิ และพฒั นา กจิ กรรมสัปดาห์ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั กระบวนการการจดั การ วิทยาศาสตร์ ๔ พัฒนาระบบประกนั เรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย และ คุณภาพภายใน สถานศึกษา เหมาะสมกับพฒั นาการของ ๕ นเิ ทศภายใน ผเู้ รยี น โรงเรียนจัดการศึกษาได้ ๑) การประชมุ เชิง อย่างมีคณุ ภาพตามเกณฑ์ ปฏบิ ัติการจดั ทำ มาตรฐาน แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ๒) การจัดทำมาตรฐาน การศกึ ษา ๓) การจัดทำแผนพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา ๔) การจัดทำระบบบริหาร และสารสนเทศ เพอ่ื พัฒนาบคุ ลากรใหม้ คี วาม - นิเทศเย่ียมชัน้ เรียน รู ความเขา้ ใจ และทักษะ ภาคเรยี นละ ๑ คร้งั เก่ียวกบั วธิ กี ารจดั การเรยี นรทู ่ี - ครศู ึกษาเอกสารทาง เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั นำไปใช้ วิชาการอย่างน้อย ๒ ปรับปรุง พัฒนาการจกั ระบวน เร่อื ง/ภาคเรยี น การเรยี นการสอนของตนได้ - อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร เพ่อื สง่ เสรมิ ใหค้ รไู ดร้ บั การ ดา้ นการวิจยั ในชั้นเรียน พัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง และ นำมาพัฒนางานการจดั กระบวนการเรยี นการสอนได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๑๔ ที่ ชอ่ื งาน/โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วธิ ีดำเนนิ การ สอดคล้องกบั ผลการ กจิ กรรม มาตรฐานการศกึ ษา ดำเนินงาน (ม.ฐ ท่ี / ตบช. ที่) ตามวตั ถปุ ระสงค์ ของโครงการ ๖ พัฒนาข้าราชการครแู ละ ๑ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ครูและ - สง่ เสริมครูและบุคลากร มฐ. ท่ี ๓ เป็นไปตาม บุคลากรทางการศึกษา บคุ ลากรในโรงเรยี น มี ให้เขา้ รับการอบรม เปา้ หมาย ศกั ยภาพสามารถปฏบิ ตั งิ าน สมั มนา เพื่อพัฒนาตนเอง ตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างมี ประสิทธภิ าพ และเกดิ ประสิทธผิ ลจนสามารถ เผยแพร่แกส่ าธารณชนเชงิ ประจักษ์ได้ ๗ โรงเรยี นนา่ อยู่ ๑. เพ่ือพฒั นาอาคาร ๑.กจิ กรรมระบบ มฐ. ที่ ๓ เปน็ ไปตาม สถานที่ และภมู ทิ ศั น์ภายใน สาธารณปู โภค ไฟฟ้า เปา้ หมาย บรเิ วณโรงเรยี นให้รม่ ร่ืน โทรศพั ท์ สะอาด สวยงาม ที่สวยงาม ๒.กจิ กรรมปรบั ปรุงภมู ิ นา่ อยู่ มีที่น่งั พกั ผอ่ นหยอ่ น ทัศน์ ใจในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ -ปรบั ปรุงหน้าอาคาร และมบี รรยากาศท่ีเอื้อตอ่ อนบุ าล การเรยี นรู้ -ปรับปรงุ หน้าโรงเรียน -ปรับปรงุ หน้าเสาธง -จดั บอรด์ ความรหู้ น้า อาคาร ๓.กจิ กรรมซ่อมบำรงุ รกั ษาเครื่องมือ ๘ ประชาสมั พนั ธ์ ๑. โรงเรียนสามารถ ๑. กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์ มฐ. ที่ ๒ เปน็ ไปตาม ประชาสมั พันธ์ข้อมูล ภายในและภายนอก เป้าหมาย ข่าวสารและกิจกรรมผ่าน โรงเรียน ทางเวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น ๒. คณะกรรมการ วารสารแผน่ พบั และป้าย สถานศกึ ษาร่วมพฒั นา ประชาสมั พนั ธโ์ รงเรียนใน สถานศึกษา จดั กจิ กรรม โอกาสตา่ ง ๆ ประชมุ สมั มนา ๙ โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม ๑. เพอ่ื ให้โรงเรียนมรี ะบบ มฐ. ท่ี ๒ เป็นไปตาม เปา้ หมาย จริยธรรมและคา่ นิยมหลัก ดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นโดยมี ๑๒ ประการ กระบวนการ วิธีการและ เคร่ืองมือทีม่ ี คุณภาพได้
๑๕ ท่ี ช่อื งาน/โครงการ/ วัตถปุ ระสงค/์ เปา้ หมาย วธิ ีดำเนนิ การ สอดคลอ้ งกบั ผลการ กิจกรรม มาตรฐานการศึกษา ดำเนนิ งาน (ม.ฐ ท่ี / ตบช. ท่)ี ตามวตั ถุประสงค์ ของโครงการ มาตรฐาน สามารถ ตรวจสอบได้ ๒. เพ่ือสง่ เสรมิ ส่งเสรมิ ให้ ครปู ระจำชน้ั บุคลากรใน โรงเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน หนว่ ยงาน และองค์กร ภายนอกมสี ว่ นร่วมในการ ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ๑๐ ระบบดูแลชว่ ยเหลือ ๑.เพ่ือให้โรงเรียนมรี ะบบ ๑.กิจกรรมแนะแนวและ มาตรฐานที่ ๓ เป็นไปตาม นกั เรียน เป้าหมาย ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นโดยมี สง่ เสริมนกั เรียน ๑๑ เรียนฟรี ๑๕ ปี กระบวนการ วธิ ีการ ๒.กิจกรรมประชมุ และเครื่องมอื ท่มี ี คุณภาพได้ ผู้ปกครองในช้นั เรยี น มาตรฐาน สามารถ ๓.กจิ กรรมการเยยี่ มบ้าน ตรวจสอบได้ นักเรียน ๔.กิจกรรมการคัดกรอง นกั เรียน ๑.เพื่อให้นักเรียนทุกคนมี ๑) กิจกรรมจา่ ยหนังสือ มฐ. ท่ี . ๒ เปน็ ไปตาม โอกาสได้รบั การศกึ ษาโดยไม่ เรยี นฟรี เปา้ หมาย เ ส ี ย ค ่า ใช้จ ่า ย ส ำ หรับ ๒) กจิ กรรมจ่ายเงิน ร า ย ก า ร ห น ั ง ส ื อ เ ร ี ย น อุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์การเรียนเครื่องแบบ ๓) กจิ กรรมจ่ายเงินคา่ นักเรียน และค่ากิจกรรม เครือ่ งแบบนักเรยี น พัฒนาผู้เรียน ที่ภาครัฐให้ ๔) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น การสนบั สนุนสมเหตผุ ล
๑๖ ๓. สรปุ ขอ้ มลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษา ๓.๑ ข้อมูลผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดบั ปฐมวยั ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ รอ้ ยละของนักเรียนระดบั ปฐมวัยทมี่ ผี ลการประเมินพัฒนาการแตล่ ะด้าน จำนวน จำนวนเด็กตามระดับคุณภาพ พัฒนาการเด็กปฐมวัย เด็กทจี่ บ ดี พอใช้ ปรับปรุง การศกึ ษา จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ๑. ดา้ นร่างกาย ชัน้ อนุบาลปีท่ี ๑ ๐ - - - - - - ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๒ ๑๘ ๑๗ ๙๔.๔๔ - - - - ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๓ ๑๙ ๑๘ ๙๔๗๓ - - - - รวม ๓๗ ๓๕ ๙๔.๕๙ - - - - ๒. ดา้ นอารมณ์-จิตใจ ชั้นอนุบาลปที ี่ ๑ ๐ - - - - - - ชน้ั อนุบาลปีที่ ๒ ๑๘ ๑๖ ๘๘.๘๙ ๒ ๑๑.๑๑ - - ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ ๑๙ ๑๗ ๘๙.๔๗ ๒ ๑๐.๕๓ - - รวม ๓๗ ๓๓ ๘๙.๑๙ ๔ ๑๐.๘๑ - - ๓. ดา้ นสงั คม ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๑ ๐ - - - - - - ชน้ั อนุบาลปที ี่ ๒ ๑๘ ๑๖ ๘๘.๘๙ ๒ ๑๑.๑๑ - - ชั้นอนุบาลปีท่ี ๓ ๑๙ ๑๗ ๘๙.๔๗ ๒ ๑๐.๕๓ - - รวม ๓๗ ๓๓ ๘๙.๑๙ ๔ ๑๐.๘๑ - - ๔. ดา้ นสติปญั ญา ชั้นอนบุ าลปที ี่ ๑ ๐ - - - - - - ชัน้ อนุบาลปีท่ี ๒ ๑๘ ๑๕ ๘๓.๓๓ ๓ ๑๖.๖๗ - - ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๓ ๑๙ ๑๗ ๘๙.๔๗ ๒ ๑๐.๕๓ - - รวม ๓๗ ๓๒ ๘๖.๔๙ ๕ ๑๓.๕๑ - -
๑๗ ๑๓. สรปุ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ๑๓.๑ ข้อมูลผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั ปฐมวยั ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ร้อยละของนักเรียนระดับปฐมวยั ทม่ี ผี ลการประเมนิ พัฒนาการแตล่ ะด้าน จำนวน จำนวนเดก็ ตามระดับคุณภาพ พฒั นาการเด็กปฐมวัย เด็กทจ่ี บ ดี พอใช้ ปรับปรุง การศึกษา จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ๑. ดา้ นรา่ งกาย ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๑ ๐ - - - - - - ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒ ๑๘ ๑๗ ๙๔.๔๔ - - - - ชน้ั อนบุ าลปที ี่ ๓ ๑๙ ๑๘ ๙๔๗๓ - - - - รวม ๓๗ ๓๕ ๙๔.๕๙ - - - - ๒. ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๑ ๐ - - - - - - ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๒ ๑๘ ๑๖ ๘๘.๘๙ ๒ ๑๑.๑๑ - - ชั้นอนบุ าลปที ่ี ๓ ๑๙ ๑๗ ๘๙.๔๗ ๒ ๑๐.๕๓ - - รวม ๓๗ ๓๓ ๘๙.๑๙ ๔ ๑๐.๘๑ - - ๓. ด้านสงั คม ชนั้ อนุบาลปีที่ ๑ ๐ - - - - - - ชัน้ อนบุ าลปีที่ ๒ ๑๘ ๑๖ ๘๘.๘๙ ๒ ๑๑.๑๑ - - ชั้นอนบุ าลปีที่ ๓ ๑๙ ๑๗ ๘๙.๔๗ ๒ ๑๐.๕๓ - - รวม ๓๗ ๓๓ ๘๙.๑๙ ๔ ๑๐.๘๑ - - ๔. ดา้ นสตปิ ัญญา ชัน้ อนุบาลปที ี่ ๑ ๐ - - - - - - ชนั้ อนุบาลปที ่ี ๒ ๑๘ ๑๕ ๘๓.๓๓ ๓ ๑๖.๖๗ - - ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๓ ๑๙ ๑๗ ๘๙.๔๗ ๒ ๑๐.๕๓ - - รวม ๓๗ ๓๒ ๘๖.๔๙ ๕ ๑๓.๕๑ - -
๑๘ ๑๓.๒ ข้อมลู ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั ขน้ั พืน้ ฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ข้อมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ จำนวน ๔ จำนวนนกั เรยี นทีม่ ผี ลการเรียนรู้ ๐ นร.ท่ีไดร้ ะดบั เรยี นรู้ นกั เรียนท่ี ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๓ ขึน้ ไป จบการศึกษา จำนวน รอ้ ยละ ภาษาไทย ๑๘ ๘ ๑ ๑ ๒ ๒ ๐ ๓ ๑ ป.๑ ๑๗ ๔ ๑ ๕ ๒ ๔ ๑ ๐ ๐ ๑๐ ๕๕.๕๕ ป.๒ ๒๔ ๙ ๓ ๓ ๐ ๓ ๒ ๔ ๐ ๑๐ ๕๘.๘๒ ป.๓ ๓๑ ๘ ๒ ๗ ๓ ๑ ๕ ๒ ๓ ๑๕ ๖๒.๕ ป.๔ ๓๐ ๘ ๓ ๖ ๒ ๒ ๐ ๙ ๐ ๑๗ ๕๔.๘๔ ป.๕ ๒๘ ๖ ๒ ๓ ๖ ๓ ๒ ๖ ๐ ๑๗ ๕๖.๖๗ ป.๖ ๑๔๘ ๔๓ ๑๒ ๒๕ ๑๕ ๑๕ ๑๐ ๒๔ ๔ ๑๑ ๓๙.๒๘ รวม ๘๐ ๕๔.๐๕ ๑๘ ๗ ๑ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๑ คณติ ศาสตร์ ๑๗ ๕ ๒ ๒ ๓ ๔ ๐ ๑ ๐ ๑๑ ๖๑.๑๑ ป.๑ ๒๔ ๗ ๓ ๓ ๒ ๑ ๔ ๔ ๐ ๙ ๕๒.๙๔ ป.๒ ๓๑ ๖ ๓ ๔ ๒ ๒ ๔ ๖ ๔ ๑๓ ๕๔.๑๖ ป.๓ ๓๐ ๔ ๒ ๐ ๖ ๓ ๔ ๑๑ ๐ ๑๓ ๔๑.๙๓ ป.๔ ๒๘ ๕ ๒ ๑ ๔ ๑ ๔ ๑๑ ๐ ๖ ๒๐ ป.๕ ๑๔๘ ๓๔ ๑๓ ๑๓ ๑๙ ๑๒ ๑๖ ๓๖ ๕ ๘ ๒๘.๕๗ ป.๖ ๖๐ ๔๐.๕๔ รวม ๑๘ ๙ ๐ ๑ ๓ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑๗ ๕ ๑ ๕ ๑ ๔ ๐ ๑ ๐ ๑๐ ๕๕.๕๕ วทิ ยาศาสตร์ ๒๔ ๔ ๑ ๓ ๓ ๓ ๔ ๖ ๐ ๑๑ ๖๔.๗๐ ป.๑ ๓๑ ๖ ๓ ๒ ๓ ๒ ๒ ๙ ๔ ๘ ๓๓.๓๓ ป.๒ ๓๐ ๕ ๑ ๒ ๘ ๕ ๑ ๘ ๐ ๑๑ ๓๕.๔๘ ป.๓ ๒๘ ๕ ๓ ๐ ๔ ๓ ๕ ๘ ๐ ๘ ๒๖.๖๖ ป.๔ ๑๔๘ ๓๔ ๙ ๑๓ ๒๒ ๑๘ ๑๔ ๓๓ ๕ ๘ ๒๘.๕๗ ป.๕ ๕๕ ๓๗.๑๖ ป.๖ รวม
สังคมศึกษา ๑๙ ป.๑ ป.๒ ๑๘ ๑๐ ๕ ๐ ๒ ๐ ๐ ๐ ๑ ๑๕ ๘๓.๓๓ ป.๓ ๑๗ ๑๑ ๑ ๔ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๙๔.๑๑ ป.๔ ๒๔ ๓ ๓ ๗ ๕ ๓ ๑ ๒ ๐ ๑๓ ๕๔.๑๗ ป.๕ ๓๑ ๑๒ ๓ ๕ ๐ ๐ ๐ ๘ ๓ ๒๐ ๖๔.๕๑ ป.๖ ๓๐ ๑๔ ๔ ๐ ๒ ๐ ๐ ๑๐ ๐ ๑๘ ๖๐ รวม ๒๘ ๗ ๒ ๓ ๒ ๓ ๓ ๘ ๐ ๑๒ ๔๒.๘๕ ๑๔๘ ๕๗ ๑๘ ๑๙ ๑๑ ๗ ๔ ๒๘ ๔ ๙๔ ๖๓.๕๑ สุขศกึ ษาฯ ป.๑ ๑๘ ๘ ๑ ๒ ๒ ๑ ๐ ๓ ๑ ๑๑ ๖๑.๑๑ ป.๒ ๑๗ ๖ ๓ ๕ ๒ ๐ ๐ ๑ ๐ ๑๓ ๗๖.๔๗ ป.๓ ๒๔ ๑๐ ๘ ๓ ๑ ๐ ๐ ๒ ๐ ๒๑ ๘๗.๕ ป.๔ ๓๑ ๘ ๔ ๓ ๒ ๓ ๔ ๓ ๔ ๑๕ ๔๘.๓๘ ป.๕ ๓๐ ๑๐ ๕ ๕ ๑ ๙ ๐ ๐ ๐ ๒๐ ๖๖.๖๖ ป.๖ ๒๘ ๙ ๓ ๔ ๑ ๔ ๐ ๗ ๐ ๑๖ ๕๗.๑๔ รวม ๑๔๘ ๕๑ ๒๔ ๒๒ ๙ ๑๗ ๔ ๑๖ ๕ ๙๗ ๖๕.๕๔ ศิลปะ ๑๘ ๑๐ ๕ ๐ ๒ ๐ ๐ ๐ ๑ ๑๕ ๘๓.๓๓ ป.๑ ๑๗ ๑๑ ๑ ๔ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๘๘.๘๘ ป.๒ ๒๔ ๑๕ ๔ ๑ ๔ ๐ ๐ ๐ ๐ ๒๑ ๘๗.๕ ป.๓ ๓๑ ๑๔ ๕ ๑ ๔ ๓ ๐ ๐ ๔ ๒๐ ๖๔.๕๑ ป.๔ ๓๐ ๖ ๙ ๓ ๑ ๑๑ ๐ ๐ ๐ ๑๘ ๖๐ ป.๕ ๒๘ ๑๕ ๑๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๒๘ ๑๐๐ ป.๖ ๑๔๘ ๗๑ ๓๗ ๙ ๑๑ ๑๕ ๐ ๐ ๕ ๑๑๗ ๗๙.๐๕ รวม ๑๘ ๙ ๐ ๑ ๑ ๒ ๑ ๓ ๑ ๑๐ ๕๕.๕๕ การงานฯ ๑๗ ๘ ๑ ๗ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๙๔.๑๑ ป.๑ ๒๔ ๑๔ ๖ ๒ ๐ ๐ ๐ ๒ ๐ ๒๒ ๙๑.๖๖ ป.๒ ๓๑ ๘ ๕ ๒ ๓ ๒ ๕ ๒ ๔ ๑๓ ๔๑.๙๓ ป.๓ ๓๐ ๑๖ ๑ ๔ ๐ ๙ ๐ ๐ ๐ ๒๑ ๗๐ ป.๔ ๒๘ ๘ ๒ ๒ ๑ ๕ ๐ ๑๐ ๐ ๑๒ ๔๒.๘๕ ป.๕ ๑๔๘ ๖๓ ๑๕ ๑๘ ๕ ๑๙ ๖ ๑๗ ๕ ๙๖ ๖๔.๘๖ ป.๖ รวม
๒๐ ภาษาองั กฤษ ป.๑ ๑๘ ๒ ๓ ๙ ๓ ๐ ๐ ๐ ๑ ๑๔ ๗๗.๗๗ ป.๒ ๑๗ ๐ ๕ ๔ ๔ ๓ ๐ ๑ ๐ ๙ ๕๒.๙๔ ป.๓ ๒๔ ๒ ๑ ๖ ๓ ๓ ๒ ๗ ๐ ๙ ๓๗.๕ ป.๔ ๓๑ ๓ ๑ ๔ ๓ ๔ ๓ ๙ ๔ ๘ ๒๕.๘๐ ป.๕ ๓๐ ๒ ๒ ๔ ๒ ๒ ๒ ๑๖ ๐ ๘ ๒๖.๖๖ ป.๖ ๒๘ ๓ ๒ ๓ ๓ ๔ ๖ ๗ ๐ ๘ ๒๘.๕๗ รวม ๑๔๘ ๑๒ ๑๔ ๓๐ ๑๘ ๑๖ ๑๓ ๔๐ ๕ ๕๖ ๓๗.๘๔ ประวตั ศิ าสตร์ ป.๑ ๑๘ ๘ ๑ ๐ ๒ ๓ ๐ ๓ ๑ ๙ ๕๐ ป.๒ ๑๗ ๔ ๕ ๒ ๑ ๔ ๑ ๐ ๐ ๑๑ ๖๔.๗๑ ป.๓ ๒๔ ๔ ๓ ๔ ๐ ๑๓ ๐ ๐ ๐ ๑๑ ๔๕.๘๓ ป.๔ ๓๑ ๘ ๒ ๔ ๓ ๒ ๓ ๕ ๔ ๑๔ ๔๕.๑๖ ป.๕ ๓๐ ๔ ๐ ๔ ๕ ๓ ๕ ๙ ๐ ๘ ๒๖.๖๖ ป.๖ ๒๘ ๗ ๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๐ ๐ ๑๐ ๓๕.๗๑ รวม ๑๔๘ ๓๕ ๑๓ ๑๕ ๑๔ ๒๖ ๑๓ ๒๗ ๕ ๖๓ ๔๒.๕๖ หน้าท่ีพลเมือง ป.๑ ๑๘ ๗ ๑ ๒ ๓ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑๐ ๕๕.๕๕ ป.๒ ๑๗ ๘ ๕ ๓ ๐ ๐ ๐ ๑ ๐ ๑๖ ๙๔.๑๑ ป.๓ ๒๔ ๑๐ ๕ ๓ ๑ ๔ ๐ ๑ ๐ ๑๘ ๗๕ ป.๔ ๓๑ ๙ ๕ ๒ ๒ ๙ ๐ ๐ ๔ ๑๖ ๕๑.๖๑ ป.๕ ๓๐ ๑๙ ๒ ๑ ๐ ๘ ๐ ๐ ๐ ๒๒ ๗๓.๓๓ ป.๖ ๒๘ ๘ ๒ ๒ ๑ ๕ ๐ ๑๐ ๐ ๑๒ ๔๒.๘๕ รวม ๑๔๘ ๖๑ ๒๐ ๑๓ ๗ ๒๗ ๑ ๑๔ ๕ ๙๔ ๖๓.๕๑
๒๑ ๑๓.๓ ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ผลการประเมิน ผลการประเมิน ผลการประเมิน ผลการประเมนิ ชุมนมุ ระดับชั้น จำนวน กจิ กรรม กจิ กรรม กิจกรรมเพ่อื สังคม และสาธารณประโยชน์ นกั เรียน แนะแนว ลูกเสือเนตรนารี ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๑๘ ผา่ น ไมผ่ ่าน ผ่าน ไมผ่ า่ น ผ่าน ไมผ่ ่าน ผ่าน ไมผ่ า่ น ๑๘ ๐ ๑๘ ๐ ๑๘ ๐ ๑๘ ๐ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๑๗ ๑๗ ๐ ๑๗ ๐ ๑๗ ๐ ๑๗ ๐ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ๒๔ ๒๔ ๐ ๒๔ ๐ ๒๔ ๐ ๒๔ ๐ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๓๑ ๓๑ ๐ ๓๑ ๐ ๓๑ ๐ ๓๑ ๐ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๓๐ ๓๐ ๐ ๓๐ ๐ ๓๐ ๐ ๓๐ ๐ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๒๘ ๒๘ ๐ ๒๘ ๐ ๒๘ ๐ ๒๘ ๐ รวม ๑๔๘ ๑๔๘ ๐ ๑๔๘ ๐ ๑๔๘ ๐ ๑๔๘ ๐ ๑๓.๔ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ (O-NET ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔) คะแนนระดับโรงเรยี น สาระการเรียนรู้ จำนวนนกั เรยี น คะแนน ส่วน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉล่ยี ชน้ั ป. ๖ เฉล่ยี เบีย่ งเบน ระดบั เขตพนื้ ท่ี ระดบั สงั กดั ระดับ มาตรฐาน ประเทศ ทัง้ หมด เข้าสอบ ๕๐.๓๘ ภาษาไทย ๒๘ ๖ ๕๑.๒๕ ๙.๙๑ ๕๔.๕๖ ๔๙.๕๔ ๓๖.๘๓ ๓๔.๔๔๑ คณติ ศาสตร์ ๒๘ ๖ ๓๙.๖๓ ๑๒.๔๕ ๓๙.๑๕ ๓๕.๘๕ ๓๙.๒๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒๘ ๖ ๓๘.๗๕ ๙.๓๓ ๓๖.๐๓ ๓๓.๖๘ ภาษาตา่ งประเทศ ๒๘ ๖ ๓๒.๘๑ ๙.๑๖ ๔๕.๕๑ ๓๕.๔๖ ๑๓.๕ การประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ (RT) ระดบั ชัน้ รายการ จำนวน คะแนน เฉลี่ย จำนวนนักเรียนตามระดบั คุณภาพ คน เฉล่ยี รอ้ ยละ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ป.๑ อา่ นออกเสยี ง ๑๐ ๘๗ ๘๗ อ่านร้เู ร่ือง ๑๐ ๘๕ ๘๕ ๘๒๐ ๐ ๙๑๐ ๐
๒๒ ๑๓.๖ การประเมนิ คุณภาพผูเ้ รยี นระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ (NT) ระดบั ช้ั จำนวน คะแนน เฉล่ยี จำนวนนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ น รายการ คน เฉลยี่ ร้อยละ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ป.๓ ด้านคณิตศาสตร์ ๑๙ ๓๘.๘๔ ๓๘.๘๔ ๐ ๕ ๙ ๕ ด้านภาษาไทย ๑๙ ๔๒.๔๒ ๔๒.๔๒ ๐ ๘ ๖ ๕ ๑๓.๗ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน จำนวน จำนวนนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ (การอา่ นคดิ วเิ คราะห์ และเขยี น) ระดบั ชน้ั นักเรียน ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ท้ังหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ป. ๑ ๑๘ ๘ ๔๔.๔๔ ๑ ๕.๕๖ ๙ ๕๐ ๐ ๐ ป. ๒ ๑๗ ๑๑ ๖๔.๗๑ ๕ ๒๙.๔๑ ๑ ๕.๘๘ ๐ ๐ ป. ๓ ๒๔ ๑๓ ๕๔.๑๖ ๕ ๒๐.๘๓ ๖ ๒๕.๐๐ ๐ ๐ ป. ๔ ๓๑ ๘ ๒๕.๕๑ ๑๐ ๓๒.๒๖ ๑๓ ๔๑.๙๓ ๐ ๐ ป. ๕ ๓๐ ๑๓ ๔๓.๓๔ ๗ ๒๓.๓๓ ๑๐ ๓๓.๓๓ ๐ ๐ ป. ๖ ๒๘ ๖ ๒๑.๔๒ ๑๓ ๔๖.๔๒ ๙ ๓๒.๑๔ ๐ ๐ รวม ๑๔๘ ๕๙ ๓๙.๘๖ ๔๑ ๒๗.๗๐ ๔๘ ๓๒.๔๔ ๐ ๐ ท้ังหมด ๑๓.๘ ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น จำนวน/ร้อยละของนกั เรียนที่มสี มรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระดับ จำนวน ตามแนวทางการพัฒนาทหี่ ลกั สตู รสถานศกึ ษากำหนด ชนั้ นักเรียน ท้ังหมด ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถ ความสามารถใน ในการสอ่ื สาร การใชเ้ ทคโนโลยี ในการคิด ในการ ในการใช้ทักษะชวี ิต แก้ปัญหา จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ป. ๑ ๑๘ ๑๘ ๑๐๐ ๑๘ ๑๐๐ ๑๘ ๑๐๐ ๑๘ ๑๐๐ ๑๘ ๑๐๐ ป. ๒ ๑๗ ๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐ ป. ๓ ๒๔ ๒๔ ๑๐๐ ๒๔ ๑๐๐ ๒๔ ๑๐๐ ๒๔ ๑๐๐ ๒๔ ๑๐๐ ป. ๔ ๓๑ ๓๑ ๑๐๐ ๓๑ ๑๐๐ ๓๑ ๑๐๐ ๓๑ ๑๐๐ ๓๑ ๑๐๐ ป. ๕ ๓๐ ๓๐ ๑๐๐ ๓๐ ๑๐๐ ๓๐ ๑๐๐ ๓๐ ๑๐๐ ๓๐ ๑๐๐ ป. ๖ ๒๘ ๒๘ ๑๐๐ ๒๘ ๑๐๐ ๒๘ ๑๐๐ ๒๘ ๑๐๐ ๒๘ ๑๐๐
๑๓.๙ ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดับ จำนวน จำนว ช้นั นักเรยี น รักชาติ ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ทง้ั หมด ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ ป. ๑ ๑๘ ๙ ๙ ๐ ๐ ๘ ๖ ๔ ๐ ป. ๒ ๑๗ ๑๗ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๑ ๐ ๐ ป. ๓ ๒๔ ๒๔ ๐ ๐ ๐ ๒๓ ๑ ๐ ๐ ป. ๔ ๓๑ ๓๑ ๐ ๐ ๐ ๑๒ ๑๙ ๐ ๐ ป. ๕ ๓๐ ๓๐ ๐ ๐ ๐ ๑๓ ๑๗ ๐ ๐ ป. ๖ ๒๘ ๒๘ ๐ ๐ ๐ ๑๓ ๑๕ ๐ ๐ รวม ๑๔๘ ๑๓๙ ๙ ๐ ๐ ๘๕ ๕๙ ๔ ๐ ๑๓.๙ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ต่อ) ระดับ จำนวน จำนวนนักเรยี นต ช้ัน นกั เรยี น มงุ่ มน่ั ทำงาน รักความเปน็ ไทย ทง้ั หมด ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม ป. ๑ ๑๘ ๙ ๙ ๐ ๐ ๘ ๖ ๔ ป. ๒ ๑๗ ๑๖ ๐ ๑ ๐ ๑๖ ๑ ๐ ป. ๓ ๒๔ ๖ ๑๑ ๗ ๐ ๒๑ ๓ ๐ ป. ๔ ๓๑ ๘ ๑๐ ๑๓ ๐ ๓๑ ๐ ๐ ป. ๕ ๓๐ ๘ ๑๑ ๑๑ ๐ ๓๐ ๐ ๐ ป. ๖ ๒๘ ๑๑ ๓ ๑๔ ๐ ๒๘ ๐ ๐ รวม ๑๔๘ ๕๘ ๔๔ ๔๖ ๐ ๑๓๔ ๑๐ ๔
๒๓ วนนักเรยี นตามระดับคณุ ภาพ (คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์) ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มวี นิ ยั ดี ผา่ น ไม่ผา่ น ดี ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น ดีเยีย่ ม เยยี่ ม ๐ ๙ ๕๔ ๐ ๙ ๕ ๔ ๐ ๙๙ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๐ ๑ ๐ ๑๖ ๐ ๒๑ ๓ ๐ ๐ ๖ ๐ ๑ ๐ ๑๖ ๑ ๐ ๐ ๐ ๘ ๑๐ ๑๓ ๐ ๘ ๐ ๖ ๒๑ ๓ ๐ ๖ ๑๒ ๖ ๐ ๗ ๑๗ ๐ ๐ ๐ ๑๓ ๙ ๖ ๐ ๙ ๐ ๗๓ ๔๘ ๒๗ ๐ ๕๔ ๑๐ ๑๓ ๐ ๒๗ ๔ ๐ ๐ ๑๔ ๑๐ ๐ ๑๓ ๑๗ ๐ ๐ ๖ ๑๓ ๐ ๑๗ ๑๑ ๐ ๐ ๔๗ ๔๗ ๐ ๘๙ ๕๙ ๐ ๐ ตามระดับคณุ ภาพ (คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์) จำนวนทผี่ ่านครบ ๘ ประการ จิตสาธารณะ ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน มผ่ ่าน ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น ๙ ๕๔ ๐ ๐ ๙๕๔ ๐ ๐ ๑๗ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๑ ๐ ๐ ๐ ๘ ๑๖ ๐ ๐ ๒๑ ๓ ๐ ๐ ๐ ๖ ๒๕ ๐ ๐ ๒๕ ๖ ๐ ๐ ๐ ๑๓ ๑๑ ๖ ๐ ๑๖ ๑๒ ๒ ๐ ๐ ๑๐ ๑๘ ๐ ๐ ๗ ๑๐ ๑๑ ๐ ๐ ๖๓ ๗๕ ๑๐ ๐ ๙๔ ๓๗ ๑๗ ๐
๒๔ ๑๔. สรปุ ผลการประเมินจากหนว่ ยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ ระดบั คุณภาพ ดี ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ดี ดี ๑๔.๑ ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ระดบั คุณภาพ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ดี มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก ดี มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดี มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการทเี่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ๑๔.๒ ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ้ รียน ๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ สว่ นที่ ๓
๒๕ สว่ นที่ ๓ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สว่ นที่ ๓ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย และ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ดงั น้ี ๑. ผลการประเมินรายมาตรฐาน ๑.๑ ระดบั การศึกษาปฐมวัยปีการศึกษา ๒๕๖๔ มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวัย ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ดเี ลศิ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ มีผลการประเมนิ ดงั นี้ ตารางท่ี ๑ แสดงคา่ ร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมนิ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๑.๑ พฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ทดี่ ี และดูแลความ ปลอดภัยของตนเองได้ มาตรฐานที่ ๑ ประเดน็ พจิ ารณา ค่าร้อยละ ๑.๑ มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยท่ี ค่า ผล สรปุ ผลการประเมิน ดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ เปา้ หมาย การประเมิน ๑. เดก็ มนี ำ้ หนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรม ๙๐ ๙๕ สูงกวา่ เป้าหมาย อนามัย ๒. เด็กทุกคนสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่าง ๘๕ ๙๐ สงู กว่าเปา้ หมาย คล่องแคล่ว ทรงตวั ไดด้ ี ใช้มือและตาประสาน สัมพันธไ์ ดด้ ีตามวยั ๓. เด็กทุกคนดูแลรักษาสุขภาพอนามยั สว่ นตนและ ๘๕ ๙๐ สงู กวา่ เป้าหมาย ปฏิบัติจนเปน็ นิสยั ๔. เด็กปฏิบตั ิตนตามข้อตกลงเกี่ยวกบั การรักษา ๘๐ ๘๕ สูงกวา่ เป้าหมาย ความปลอดภยั
๒๖ มาตรฐานที่ ๑ ประเด็นพจิ ารณา คา่ รอ้ ยละ ๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยที่ คา่ ผล สรุปผลการประเมนิ ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ (ต่อ) เป้าหมาย การประเมิน ๕. เด็กหลกี เลีย่ งสภาวะเส่ยี งตอ่ โรค สง่ิ เสพติด และ ๘๐ ๘๕ สูงกวา่ เปา้ หมาย ระวงั ภยั จากบคุ คล ส่ิงแวดล้อมและสถานการณ์ท่ี เสีย่ งอนั ตราย จากตารางที่ ๑ แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายครบทั้ง ๕ กิจกรรม กิจกรรมที่ สำเรจ็ สูงสุด คอื เดก็ มีนำ้ หนักส่วนสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ตารางที่ ๒ แสดงคา่ ร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก ประเด็นพิจารณาที่ ๑.๒ มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทาง อารมณ์ได้ มาตรฐานที่ ๑ ประเดน็ พิจารณา คา่ รอ้ ยละ ๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ คา่ ผล สรุปผลการประเมนิ แสดงออกทางอารมณ์ได้ เปา้ หมาย การ ประเมิน ๑. เด็กทกุ คน รา่ เรงิ แจม่ ใส แสดงอารมณ์ความร้สู ึกได้ ๘๕ ๙๐ สงู กว่าคา่ เปา้ หมาย อย่างเหมาะสม ๒. เดก็ ทุกคน รูจ้ กั ยบั ยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย อยู่ ๘๕ ๘๕ ตามเปา้ หมาย ในระดับ ๒ ข้ึนไป ๓. เด็กทุกคน ยอมรับและพอใจในความสามารถ และ ๘๕ ๙๐ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย ผลงานของตนเองและผอู้ น่ื มีจิตสำนกึ และค่านิยมที่ดี อยู่ในระดับ ๒ ขน้ึ ไป ๔. เดก็ ทกุ คน มีความมน่ั ใจ กล้าพดู กล้าแสดงออก ๘๐ ๘๕ สูงกว่าค่าเป้าหมาย ช่วยเหลือแบง่ ปัน ๕. เด็กทุกคน เคารพสทิ ธิ รูห้ น้าทร่ี ับผิดชอบ อดทนอด ๘๐ ๘๕ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย กล้ัน ซือ่ สัตยส์ ุจริต ๖. เดก็ ทุกคน มีคณุ ธรรม จริยธรรมตามทส่ี ถานศึกษา ๘๐ ๘๕ สูงกว่าคา่ เป้าหมาย กำหนด ๗. เด็กทกุ คน ชืน่ ชมและมคี วามสุขกับศลิ ปะ ดนตรี ๘๕ ๙๐ สูงกว่าค่าเป้าหมาย การเคลื่อนไหว
๒๗ จากตารางที่ ๒ แสดงให้เหน็ ว่าโรงเรียนดำเนนิ การได้ตามเป้าหมายครบทัง้ ๗ กิจกรรม คิดเปน็ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ถือว่า ประเด็นที่ ๑.๒ สำเร็จตามเป้าหมาย กิจกรรมที่สำเร็จสูงสุด คือ เด็กทุกคน ร่า เรงิ แจม่ ใส แสดงอารมณค์ วามร้สู ึกได้อยา่ งเหมาะสม ตารางที่ ๓ แสดงค่าร้อยละของเปา้ หมายและผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ ประเดน็ พิจารณาที่ ๑.๓ มีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดขี อง สังคม มาตรฐานที่ ๑ ประเด็นพิจารณา ค่ารอ้ ยละ ๑.๓ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และ ค่า ผล สรุปผลการประเมิน เป็นสมาชกิ ที่ดีของสงั คม เป้าหมาย การประเมิน ๑. เดก็ ทกุ คน ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบตั ิกิจวตั ร ๘๐ ๘๕ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย ประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยดั และพอเพยี ง ๒. เดก็ ทุกคน มสี ่วนร่วมดูแลรักสิง่ แวดล้อมในและ ๘๐ ๘๕ ตามเปา้ หมาย นอกห้องเรยี น ๓. เด็กทุกคน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น ๘๐ ๘๕ สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย การไหว้ การย้มิ ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับ ผใู้ หญ่ ๔. เดก็ ทุกคน ยอมรบั หรอื เคารพความแตกตา่ ง ๘๐ ๘๕ สูงกว่าค่าเปา้ หมาย ระหวา่ งบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พนื้ ฐาน ครอบครวั เชอื่ ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ๕. เดก็ ทุกคน เลน่ และทำงานรว่ มกับผูอ้ ืน่ ได้ ๘๐ ๘๕ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย ๖. เด็กทุกคน แกไ้ ขข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ ๘๐ ๘๕ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย ความรุนแรง จากตารางท่ี ๓ แสดงใหเ้ ห็นว่าโรงเรยี นดำเนนิ การสำเรจ็ ตามเป้าหมายครบทงั้ ๖ กจิ กรรม ตาม เป้าหมายต้นปที ี่ต้ัง
๒๘ ตารางที่ ๔ แสดงคา่ ร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ประเดน็ พจิ ารณาที่ ๑.๔ พัฒนาการดา้ นสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหา ความรไู้ ด้ มาตรฐานที่ ๑ ประเด็นพจิ ารณา ค่าร้อยละ ๑.๔ มพี ัฒนาการดา้ นสติปัญญา สือ่ สารได้ มี ค่า ผล สรปุ ผลการประเมิน ทกั ษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ เป้าหมาย การประเมนิ ๑. เด็กทกุ คน สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอื่ งใหผ้ ้อู ืน่ ๘๐ ๘๕ สูงกว่าคา่ เป้าหมาย เขา้ ใจ ๒. เด็กทกุ คน ตง้ั คำถามในสง่ิ ทีต่ นเองสนใจหรือ ๘๕ ๘๕ ตามเปา้ หมาย สงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ ๓. เด็กทกุ คน ความสามารถในการคิดรวบยอด การ ๘๕ ๘๕ ตามเป้าหมาย คดิ เชงิ มเี หตุผลทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ เช่น กจิ กรรมบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย กจิ กรรมจัด ประสบการณ์ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด ๔. เด็กทุกคน การคดิ แกป้ ญั หาและสามารถตัดสนิ ใจ ๘๕ ๘๕ ตามเปา้ หมาย ในเรื่องง่ายๆ ได้ ๕. เดก็ ทุกคน สรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความคิดและ ๘๕ ๙๐ สงู กว่าคา่ เป้าหมาย จนิ ตนาการ เชน่ งานศลิ ปะ การเคลอ่ื นไหวท่าทาง การเล่นอสิ ระ ๖. เดก็ ทุกคน ใช้สือ่ เทคโนโลยเี ป็นเครือ่ งมือในการ ๘๐ ๘๕ สูงกว่าคา่ เป้าหมาย เรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ เช่น แว่นขยาย แมเ่ หล็ก กล้องดจิ ติ อล จากตารางที่ ๔ แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนดำเนินการได้ตามเป้าหมาย ๖ กิจกรรม คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ถือว่า เด็กมีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ ได้ อยใู่ นเกณฑ์ที่สูงกว่าต้งั เป้าไว้
๒๙ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม กระบวนการพัฒนา และผลการดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา โรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล ใช้กระบวนการ PDCA ในกระบวนการในการพัฒนา คุณภาพเด็ก โดยได้ดำเนนิ ท้ังสิ้น ๑๐ โครงการ ๘ กิจกรรม ได้กำหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ กำหนดค่าเป้าหมาย ๘๕ มีวิธีพัฒนาคุณภาพ เด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ ตามเป้าหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยดำเนิ นงานแผนพัฒนา การจัดการศึกษาปี ๒๕๖๔ และดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๔ และจัดการศึกษา โดยยึดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒๕๖๔ และครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ ๔ สาระ จัดหน่วยประสบการณ์จำนวน ๔๐ หน่วยต่อปีการศึกษา เพอื่ ให้เด็กได้รับประสบการณ์ท้ัง ๔ ด้าน ดังน้ี ๑.๑ มีการพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง ได้ ดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ โรงเรียนวัดศาลาตกึ สทิ ธชิ ยั วศิ าล .ได้ดำเนนิ การพัฒนาเด็ก โดยจัดทำโครงการเดก็ มีพัฒนาการ ด้านร่างกาย ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง เดือนละ ๑ ครั้ง จัดให้หน่วยงานภายนอก คือ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลสิทธิชัยวิศาล เขา้ มาดำเนนิ การตรวจสุขภาพ ชงั่ น้ำหนักและวัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ให้ความรู้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยขอความรว่ มมือจากผปู้ กครองให้ชว่ ยดูแลเร่ืองโภชนาการและปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการรับประทาน อาหาร ให้กับบุตรหลานด้วย โครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เช่น จัดอาหารกลางวันที่มีคุณประโยชน์ครบ ๕ หมู่ จัดอาหารเสริม(นม) โครงการ กิจกรรมการส่งเสริม พฒั นาการดา้ นรา่ งกายเดก็ ปฐมวัย ๑.๒ มีการพัฒนาดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงงอออกทางอารมณไ์ ด้ ดำเนินการให้เด็กมีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ได้ดำเนินโดยจัดทำโครงการให้เด็กมีพัฒนาการ ดา้ นอารมณ์และจติ ใจ และมีแผนการจัดประสบการณทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ น ให้เดก็ ในแต่ละวัย อย่างเหมาะสม ความภาคภูมิใจในด้านการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน การมีโอกาสได้รับความรู้สึก ความ สนใจและความต้องการของตนเองและผู้อื่น ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการของแต่ละคนตามศักยภาพ โครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะตามแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ และ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนได้เรียนศิลปะอย่างมคี วามสุข โดยจดั กิจกรรมทห่ี ลากหลายทั้งในและนอกห้องเรยี น จัด
๓๐ ให้มีมุมศิลปะในห้องเรียน จัดกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ให้ผู้ปกครองและนัดเรียนได้ทำกิจกรรมร่วมกนั ในวนั ประชุมตามโครงการการประชุมพอ่ แม่ผปู้ กครองเด็กปฐมวยั ๑.๓ มกี ารพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกทีด่ ีของสังคม ดำเนินการให้เดก็ มีทักษะชีวิตและปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยดำเนิน โครงการ กิจกรรมท่สี ่งเสริมพฒั นาการด้านสังคม เชน่ กจิ กรรมอบรมเกี่ยวกบั ระเบียบวินัย กิจกรรมทำ สมาธิก่อนเข้าเรียน กิจกรรมในวันสำคัญทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา โดย เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชน กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน กิจกรรม ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสงั คมเด็กปฐมวัย กิจกรรมปลูกจิตสำนกึ โดยเข้ารว่ มสวดมนต์ กิจกรรมการ เรียนการสอนทีส่ ่งเสรมิ คณุ ธรรม-จรยิ ธรรม ๑.๔ มีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มที กั ษะการคดิ พืน้ ฐานและแสวงหาความรู้ได้ ดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการสติปัญญา ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย โรงเรียน ได้ดำเนินการจัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เช่น กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น การวาดภาพระบายสี การปั้น การพับ การตัด การฉีกปะ การพิมพ์ ภาพ การประดิษฐ์ของเล่นจากเศษวัสดุ กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ เช่น การทำท่าประกอบเพลงตามความสนใจ กิจกรรมเสรี เช่น เล่นตามมุม มุมบล็อก มุมบ้าน มุมบทบาทสมมุติ กิจกรรมเกมการศึกษา เช่น การเล่นเกมต่างๆ เกมภาพตัดต่อ และเกมจับคู่ กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เด็กปฐมวัย โครงการสง่ เสริมการจัดประสบการณเ์ รยี นร้ทู เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ผลการดำเนินงาน โรงเรียนวัดศาลาตึกสิทธิชัยวิศาล มีผลสำเร็จของการจัดกระบวนจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ตามมาตรฐานคณุ ภาพของเดก็ ตามประเด็นพิจารณา ดังน้ี ๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ัยทีด่ ีและดูแลความปลอดภยั ของตนเอง ได้ มีจำนวนเดก็ ทอ่ี ย่ใู นระดบั ดีข้ึนไป คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๔.๕๙ อยใู่ นระดับคุณภาพดีเยย่ี ม จากการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลายพัฒนาคุณภาพเด็กด้านร่างกาย ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีพัฒนาการตามวัย มีปฏิบัติสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน การล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และดื่มน้ำสะอาด มี น้ำหนักส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายเป็นไปตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ดูแลและระมัดระวังตนเอง ในขณะเลน่ เครื่องเล่นสนามและของเลน่ ทุกคร้งั ๑.๒ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ มจี ำนวนเด็ก ท่อี ยใู่ นระดบั ดขี ้นึ ไป คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๑๙ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ จากการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลายพัฒนาคุณภาพเด็กด้านอารมณ์ จิตใจ ส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรมที่แสดงออกทางอารมณ์ จิตใจและความรู้สึกได้เหมาะสมกับวัย มีความ
๓๑ กล้าแสดงออก มั่นใจในตนเอง ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม อารมณ์ดี ร่าเริง แจม่ ใส มีสุนทรยี ภาพในการชน่ื ชมและมคี วามสุขกบั งานศิลปะด้านต่าง ๆ ๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มจี ำนวนเด็กทีอ่ ย่ใู นระดับดีข้ึนไป คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๙.๑๙ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีเลิศ จากการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลายพัฒนาคุณภาพเด็กด้านสังคม ส่งผลใหเ้ ด็กมีพฤติกรรมแสดงออกด้านสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวยั รู้จักช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัติ กิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน หรือโรงเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รู้จักแบ่งปันและช่วยเหลือผู้อื่น ยอมรับและเคารพ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและ แสวงหาความรู้ได้ มจี ำนวนเดก็ ท่อี ยใู่ นระดบั ดีขึ้นไป คิดเปน็ ร้อยละ ๘๖.๔๙ อย่ใู นระดับคุณภาพ ดีเลศิ จากการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลายพัฒนาคุณภาพเด็กด้านสติปัญญา ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิดพื้นฐาน มีความคิดรวบยอด คิดเชิงเหตุผล และรู้จักแก้ปัญหา มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มนี ิสยั รักการอ่าน ใฝร่ ูใ้ ฝเ่ รยี นและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง หลกั ฐาน รอ่ งรอยทสี่ ะท้อนกระบวนการพัฒนา และผลการดำเนนิ งาน ๑ บันทึกการวัดสว่ นสูง ช่ังนำ้ หนกั ๒. บนั ทึกประเมนิ พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ๓. บนั ทกึ การประเมินพัฒนาการดา้ นสงั คม ๔. บนั ทึกการประเมนิ พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ๕. บันทกึ การดำเนินโครงการในมาตรฐานท่ี ๑ ๖. บนั ทึกการตรวจสขุ ภาพเดก็ มสี ขุ ภาพดี ๗. บันทึกผลการจดั ประสบการณ์ ๘. แบบประเมนิ พัฒนาการเดก็ ๙. บันทกึ พฤติกรรมเดก็ ๑๐. ชน้ิ งาน / ผลงานเดก็ ๑๑. ภาพถ่าย จุดเดน่ ๑. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง เด็กได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเหมาะสมวัย ได้แก่ การดื่มนมอาหารเสริม อาหารกลางวัน เด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่ว เด็กรู้จักดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองปฏิบัติจนเป็นนิสัย
๓๒ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเข้ามาให้บริการตรวจสุขภาพรายบุคคล เด็กรู้จักเอาตัวรอด ดูแลตนเอง ตามขอ้ ปฏบิ ัตขิ อ้ ตกลงอย่างสม่ำเสมอ ผ่านกิจกรรมประจำวันทหี่ ลากหลาย เหมาะสมตามวยั ๒. เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และ ด้านสติปัญญาอย่างเหมาสมตามวัย ร่าเริงแจ่มใส ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับผู้อื่น รู้หน้าที่รับผิดชอบ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ ใจท่ีดงี ามผ่านกจิ กรรมเขา้ แถวเคารพธงชาติท่หี ลากหลาย เหมาะสมตามวยั ๓. พัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เด็กมีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน เล่นและทำงาน ร่วมกับผู้อนื่ ได้ และประพฤตติ นตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาทต่ี นนับถอื เหมาะสมตามวัย ๔. ใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้จากประสบการณ์ตรง เหมาะสมตามวยั จุดควรพัฒนา ๑. พัฒนาการการใช้ภาษา การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ รอบตัว เดก็ จำเปน็ ต้องเรียนรูภ้ าษาเพื่อใช้ในการส่ือความหมาย การคิด การจนิ ตนาการ การรบั รู้ การแสดงออก การโต้ตอบกับผู้อื่น และการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ผ่านการจัดกิจกรรมที่หลายหลายครอบคลุม ทุกด้านอย่างสมำ่ เสมอ ๒. พัฒนาการเด็กด้านสติปัญญายังไม่หลากหลาย ได้แก่ การคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา การคิดรวบยอด และทักษะการสื่อสาร ผ่านการจัดกิจกรรมเสริมทักษะประสบการณ์นักวิทยาศาสตร์ นอ้ ยอย่างสม่ำเสมอ ขอ้ เสนอแนะ ๑.จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษา การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็กใหม้ ากข้นึ กวา่ เดมิ ๒.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหา การคดิ รวบยอดและทกั ษะการส่ือสาร ๔) แนวทางการพัฒนา/แผนท่จี ะพัฒนา แผนปฏบิ ัติงานท่ี ๑. เสริมประสบการณ์ความรแู้ ละทกั ษะพื้นฐานนกั เรยี นระดบั ปฐมวยั แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี ๒. เสริมประสบการณ์ความรู้พัฒนาสนุ ทรียภาพดา้ นการเคลือ่ นไหว ดนตรีและ กีฬา แผนปฏิบัตงิ านที่ ๓. ส่งเสริมสขุ ภาพและอนามยั เด็กปฐมวัย แผนปฏบิ ตั งิ านที่ ๔. เสรมิ ประสบการณ์กิจกรรมบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อย
๓๓ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มีผลการประเมินดังน้ี ตารางที่ ๕ แสดงคา่ ร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมนิ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหาร และการจดั การ ประเด็นพจิ ารณาท่ี ๒.๑ มีหลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถ่ิน มาตรฐานท่ี ๒ ประเด็นพิจารณา คา่ ร้อยละ ๒.๑ มหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทงั้ ๔ ด้าน คา่ ผล สรปุ ผลการ สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถ่ิน เปา้ หมาย การประเมนิ ประเมนิ ๑. โรงเรียนมีการประเมิน และพัฒนาหลักสูตร ๘๐ ๘๕ สูงกวา่ คา่ สถานศึกษาที่ยดื หยนุ่ สอดคล้องกบั หลักสตู รการศึกษา เปา้ หมาย ปฐมวยั และบรบิ ทของท้องถิ่น ๒. โรงเรียนมีการออกแบบการจัดประสบการณ์ที่ ๘๐ ๘๕ สูงกว่าคา่ สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และสามารถ เป้าหมาย จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทีห่ ลากหลายสอดคล้องกับ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล และสอดคล้องกับวิถีชีวิต ของครอบครัว ชมุ ชนและท้องถ่ิน จากตารางท่ี ๕ แสดงใหเ้ ห็นว่าโรงเรยี นดำเนนิ การสำเรจ็ ตามเป้าหมายครบท้งั ๒ กิจกรรม ตามเปา้ หมายตน้ ปที ีต่ ั้ง ตารางที่ ๖ แสดงค่าร้อยละของเป้าหมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและ การจดั การ ประเด็นพจิ ารณาที่ ๒.๒ จดั ครใู ห้เพยี งพอกับชั้นเรยี น มาตรฐานท่ี ๒ ประเดน็ พิจารณา ค่าร้อยละ ๒.๒ จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ชัน้ เรยี น ค่า ผล สรปุ ผลการ เปา้ หมาย การประเมิน ประเมิน ๑. โรงเรียนจดั ครใู หเ้ หมาะสมกับภาระกิจการเรยี น ๘๐ ๘๕ สูงกว่าคา่ การสอน หรือจัดครูทีจ่ บการศึกษาปฐมวัย หรือผ่าน เป้าหมาย การอบรมการศึกษาปฐมวัยอย่างพอเพยี งกบั ชนั้ เรยี น จากตารางที่ ๖ แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมายครบทุกกิจกรรม ตามเป้าหมายต้นปีทต่ี ้ัง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106